The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ “สารานุกรมพืช ในประเทศไทย ( ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา”

โดย สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2021-02-15 00:10:13

สารานุกรมพืช ในประเทศไทย ( ฉบับย่อ)

หนังสือ “สารานุกรมพืช ในประเทศไทย ( ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา”

โดย สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

Keywords: พืช,สารานุกรม

สารานกุ รมพชื

ในประเทศไทย
(ฉบบั ย่อ)

เฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเจรญิ พระชนมายุ 60 พรรษา

ในปรสะเาทรศานไทุกยรม(ฉบพับยชือ่ )
เฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเจรญิ พระชนมายุ 60 พรรษา

ค�ำปรารภ

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปน็ เจา้ ฟา้ นกั อนรุ กั ษข์ องปวงชนชาวไทย
พระองคไ์ มเ่ พยี งใสพ่ ระทยั ในการพฒั นาความเปน็ อยขู่ องราษฎร แตย่ งั ทรงสบื สานพระราชปณธิ าน
ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ดว้ ยความมงุ่ มนั่ ทจ่ี ะใหเ้ ปน็ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื โดยการอนรุ กั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มไปพรอ้ มกนั

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ซง่ึ มภี ารกจิ หลักในการอนุรักษ์ ฟน้ื ฟู ศึกษาวจิ ัย
ควบคุมการจัดสรร และการใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ซึง่ เปน็ ปัจจยั หลัก
ส�ำคัญประการหน่ึงท่ีส่งผลต่อความม่ันคงและความเจริญรุ่งเรืองของประเทศชาติ โดยหน่วยงาน
ภาครฐั ไดร้ ว่ มสนองพระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ และพระบรมวงศท์ กุ พระองค์
เพือ่ ความผาสขุ ของราษฎร และเนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมายคุ รบ 5 รอบ 2 เมษายน
พ.ศ. 2558 ขอทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือ “สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ)
เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระชนมายุ 60 พรรษา”
เป็นราชสักการะแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีการรวบรวมข้อมูล
ทรัพยากรพรรณพืชท่ีพบในประเทศไทย ท้ังพืชพื้นเมือง ไม้ดอกและไม้ปลูกประดับต่าง ๆ พร้อม
คำ� บรรยายและภาพประกอบ ทัง้ นี้ ในปี พ.ศ. 2558 รฐั บาลใหค้ วามสำ� คญั กบั การบริหารจดั การ
และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน การเพ่ิมมูลค่าการใช้ประโยชน์
ความหลากหลายทางชวี ภาพ ตลอดจนการสรา้ งความรว่ มมอื ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อมเพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การจัดท�ำหนังสือสารานุกรมพืชฯ ในครั้งน้ี
จึงนับเป็นการส่งเสริมข้อมูลด้านความหลากหลายทางชีวภาพโดยเฉพาะทรัพยากรพืชของ
ประเทศไทย เพ่ือเผยแพร่ความรู้ด้านพืชและเกร็ดความรู้ที่น่าสนใจให้แก่เยาวชนและประชาชน
โดยทั่วไป อันจะน�ำไปสู่ความรู้ความเข้าใจในวงกว้าง และเสริมสร้างความยั่งยืนม่ันคงของ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของไทยให้คงอยูเ่ ปน็ มรดกของประเทศไทย

พลเอก
(สรุ ศกั ด์ิ กาญจนรตั น)์

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

คำ� ปรารภ

เนือ่ งในโอกาสมหามงคลฉลองพระชนมายุ 60 พรรษา 2 เมษายน พ.ศ. 2558 สมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมพี ระวิริยะอุตสาหะ
ปฏิบัติราชกิจเพ่ือช่วยเหลือพสกนิกรชาวไทยให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี มีอาชีพและรายได้ที่ย่ังยืน
บนพน้ื ฐานการพง่ึ พาตนเองและตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ
โดยส่งเสริมให้มกี ารอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ ไปพรอ้ มกัน เพอ่ื รกั ษาสมดลุ ระบบนเิ วศ
ใหค้ งอยูส่ บื ไป

กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ขอรว่ มเทดิ พระเกยี รตแิ ละแสดงความจงรกั ภกั ดี
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสือ “สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระชนมายุ 60 พรรษา” ซงึ่ ไดร้ วบรวม
สาระเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับพืช ท้ังด้านวิชาการและความรู้ทั่วไป น�ำมาเรียบเรียงจัดตามล�ำดับ
อักษรไทย พร้อมค�ำอธิบายท่ีกระชับและเข้าใจได้ง่ายของพรรณพืชท่ีพบในประเทศไทยพร้อม
ภาพถา่ ยประกอบ ชว่ ยใหจ้ ดจำ� พรรณไมไ้ ดง้ า่ ย และไดร้ บั ความรทู้ างพฤกษศาสตร์ ทง้ั ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์
ชือ่ สกุล ชื่อวงศ์ การจัดจ�ำแนก นเิ วศวทิ ยา และเขตการกระจายพันธ์ุของพชื นน้ั ๆ นับเปน็ การร่วม
สร้างฐานความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และการปลูกจิตส�ำนึกในการร่วมพิทักษ์รักษา
ถิน่ ก�ำเนดิ ของส่งิ มีชวี ติ ต่างๆ ในระบบนิเวศป่าไม้ไทย ท่ีมคี วามหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาตสิ ูง
และเป็นศูนย์กลางการกระจายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากสายพันธุ์ มีความเชื่อมโยงและน่าสนใจ
ในการศึกษาทั้งด้านระบบนิเวศป่าไม้ ด้านวิวัฒนาการตามธรรมชาติ การพัฒนาต่อยอดเพื่อสร้าง
รายได้ อนั นำ� ไปสกู่ ารบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ซง่ึ เปน็
หนง่ึ ในพน้ื ฐานยทุ ธศาสตรท์ สี่ ำ� คญั ของกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เพอื่ สรา้ งความ
ตระหนัก จิตส�ำนึก และการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทั้งน้ี หนงั สอื สารานุกรมพืชฯ ทีจ่ ดั ทำ� โดยกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธพุ์ ืช จะเป็นสื่อในการ
เผยแพร่ขอ้ มลู คลงั ทรัพยากรพืชใหเ้ ปน็ ทีป่ ระจกั ษส์ บื ไป

(นายเกษมสันต์ จิณณวาโส)
ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

คำ� น�ำ

จากพระราชปณธิ านอนั มงุ่ มนั่ ในการสานตอ่ พระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
ดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ทรงเสียสละอุทิศพระก�ำลังปัญญา และพระวรกาย ตลอดจนทรงพระวิริยะอุตสาหะในการศึกษา
ค้นคว้าด้านป่าไม้และพรรณพืช ด้วยทรงเล็งเห็นความส�ำคัญในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์
ทรพั ยากรธรรมชาติ ทง้ั เปน็ แหลง่ ตน้ นำ�้ ลำ� ธาร แหลง่ อาหาร ยารกั ษาโรค และการสรา้ งสมดลุ ของระบบ
นเิ วศ โดยมพี ระราชดำ� รใิ หด้ ำ� เนนิ โครงการตา่ ง ๆ อาทิ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจาก
พระราชดำ� ริ ทม่ี ีการดำ� เนินงานทั้งการอนุรักษ์ ส�ำรวจ และสร้างฐานขอ้ มลู พันธกุ รรมพชื การสร้าง
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพ่ือปลูกจิตส�ำนึกให้เยาวชนเข้าใจความส�ำคัญ ผูกพัน และหวงแหน
ทรพั ยากรพรรณพชื ตลอดจนการพฒั นาปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื นอกจากน้ี ยงั มโี ครงการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร
ปา่ ต้นนำ้� โครงการศกึ ษายางรักเพือ่ อนรุ ักษภ์ ูมปิ ญั ญาไทย เป็นตน้

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื มภี ารกจิ หลกั ดา้ นหนง่ึ ในการศกึ ษาวจิ ยั ทรพั ยากรพชื
เพือ่ เป็นฐานข้อมูลประกอบการบรหิ ารจัดการ รักษาสมดลุ ระบบนิเวศ ถ่ายทอดความรู้ของต้นทนุ
ทรพั ยากร พฒั นาการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยง่ั ยนื ซง่ึ ความสำ� เรจ็ ของการปกปกั รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ
จะเกิดขึ้นได้ด้วยความรคู้ วามเขา้ ใจพร้อมความรว่ มมอื ของประชาชนชาวไทยทุกคน ดว้ ยส�ำนึกใน
พระมหากรุณาธคิ ณุ ของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ขอร่วมเทดิ พระเกียรติ
เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 จงึ จัดทำ� หนังสอื “สารานุกรมพืช
ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา” โดยรวบรวมพืชพื้นเมืองและพืชต่างถิ่นท่ีน�ำเข้ามาปลูกใน
ประเทศไทย จำ� นวน 1,612 ชนดิ รวมทกุ หน่วยอนกุ รมวธิ าน (taxa) พร้อมระบชุ ือ่ วทิ ยาศาสตรท์ ี่
เปน็ ปจั จบุ นั คำ� บรรยายลกั ษณะทางพฤกษศาสตรท์ ส่ี ำ� คญั ขอบเขตการกระจายพนั ธแ์ุ ละนเิ วศวทิ ยา
การใช้ประโยชน์ ข้อมูลด้านการจัดจ�ำแนก และภาพประกอบทุกชนิด ท้ังนี้หวังเป็นอย่างย่ิงว่า
หนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยท่ัวไป ท้ังด้านความรู้เร่ืองพรรณไม้ ระบบการจัด
จ�ำแนกพืช พร้อมสร้างความเพลิดเพลินและการตระหนักถึงคุณค่าความส�ำคัญ และร่วมอนุรักษ์
ทรพั ยากรพชื ของประเทศไทยใหค้ งอยเู่ ปน็ แหลง่ ธรรมชาตอิ นั ลำ�้ คา่ เพอื่ การใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื

(นายธญั ญา เนตธิ รรมกลุ )
อธิบดีกรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธ์พุ ชื



เจ้าฟา้ นกั อนรุ ักษ์

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นเจ้าฟ้า
นักอนุรักษ์ของปวงชนชาวไทย พระองค์ทรงตระหนักถึงความ
ส�ำคัญของการพัฒนาสภาพความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของประชาชนท่ี
จ�ำเป็นต้องเริ่มจากการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและผืนป่า

นบั แตค่ รง้ั ยงั ทรงพระเยาวเ์ รอื่ ยมา พระองคโ์ ดยเสดจ็ ตามพระบาท พระราชทานแนวทางหรือแนวพระราชด�ำริในการพัฒนาประเทศด้าน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ และสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ ต่าง ๆ ตลอดมา ดังเช่นทรงมีพระราโชวาท ณ ศูนย์การประชุม
ไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจและทรงเย่ียมราษฎรตามท้องท่ีห่างไกล นานาชาตบิ าเซโลนา นครบาเซโลนา ประเทศสเปน ในวนั ท่ี 5 ตลุ าคม
ทุรกันดารท่ัวประเทศ ได้ทอดพระเนตรเห็นชีวิตความเป็นอยู่ของ 2551 ความวา่
ประชาชน สภาพผืนป่า ผืนน้�ำ และทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจน

“ในชว่ ง 4-5 ทศวรรษทผ่ี ่านมา คนส่วนใหญม่ องพระราชกรณยี กจิ ในพระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยหู่ วั ฯ เพยี งแคง่ านพฒั นาหรอื พฒั นาชนบท แทท้ จ่ี รงิ แลว้ ทรงเหน็ เรอ่ื งการอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติเปน็ เรอ่ื งสำ� คัญท่ีสุด เพราะเปน็ กญุ แจของการพฒั นาอยา่ งย่ังยนื ”

จงึ มพี ระราชปณธิ านแนว่ แนท่ จี่ ะสนองพระราชด�ำรแิ ละ
สานต่อพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
เพื่อช่วยเหลือพสกนิกรชาวไทยให้มีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน
พงึ่ พาตนเองได้อยา่ งย่งั ยืน โดยตระหนักเหน็ ความสำ� คัญของ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือเป็นแหล่งน้�ำ อาหาร
เคร่อื งนงุ่ ห่ม และยารกั ษาโรค ใหค้ งอยสู่ บื ไป

โดยทรงมีพระราชด�ำริและด�ำเนินงานหลายอย่างที่ เช่น ช่ือพื้นเมือง ชื่อวิทยาศาสตร์ ลักษณะสัณฐานพืช การออกดอก
เก่ียวข้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ เช่น “โครงการอนุรักษ์ ออกผล การกระจายพนั ธ์ุ และความสมั พนั ธเ์ ชิงระบบนเิ วศ ตลอดจน
พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริและการจัดต้ัง ความรทู้ างภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการใชป้ ระโยชนพ์ ชื ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ เปน็
ธนาคารพชื พรรณ” ทรงสนับสนนุ ให้มกี ารรวบรวมพนั ธ์ุพืช พชื อาหาร พชื สมนุ ไพร และใชใ้ นงานหตั ถกรรม ทงั้ น้ี ไมเ่ พยี งเปน็ การ
เฉพาะถิ่น พืชหายาก และใกล้สูญพันธุ์ ท�ำการศึกษาวิจัย อนรุ กั ษพ์ นั ธพ์ุ ชื เทา่ นนั้ ยงั นบั เปน็ การอนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ใหค้ งอยู่
สภาวะทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ตลอดจนประโยชนข์ อง ต่อไปในอนาคตอีกดว้ ย
พชื ชนิดต่าง ๆ โดยทรงเลง็ เห็นว่าการจะอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
ไวไ้ ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ตอ้ งเรมิ่ ตน้ ทกี่ ารปลกู ฝงั ความเขา้ ใจ ความรกั ความผกู พนั
และการมองเหน็ ความงดงามของทรพั ยากรธรรมชาตใิ หก้ บั ประชาชน
ตงั้ แตร่ ะดบั เยาวชนเปน็ ตน้ มา จงึ ทรงสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรม
โครงการ “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” เพ่ือสร้างจิตส�ำนึกรักและ
หวงแหนทรพั ยากรในทอ้ งถน่ิ ทจ่ี ะเปน็ บอ่ เกดิ แหง่ ความรกั ชาตแิ ละแผน่ ดนิ
โดยใชเ้ ปน็ แหลง่ ศกึ ษาเรยี นรพู้ รรณพชื ในทอ้ งถนิ่ ทง้ั ความรทู้ างวชิ าการ

“โครงการรกั ษป์ า่ นา่ น” สมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงให้
ความส�ำคัญกับการรักษาป่าต้นน้�ำ ซึ่ง
นอกจากจะเป็นจุดก�ำเนิดของแม่น�้ำสาย
สำ� คญั ตา่ ง ๆ ในประเทศไทย ปา่ ตน้ นำ้� ยงั ชว่ ย
ปอ้ งกนั ปญั หานำ�้ ทว่ มและดนิ ถลม่ โดยเฉพาะ
ป่าต้นน้�ำในจังหวัดน่านท่ีพระองค์ได้เสด็จ
พระราชด�ำเนินบ่อยครั้ง ทรงทราบปัญหา
การบุกรุกถางป่าเพื่อใช้เป็นพื้นท่ีการเกษตร
สง่ ผลใหพ้ นื้ ทป่ี า่ ลดนอ้ ยลงทกุ ปี ทรงสนบั สนนุ
การด�ำเนินโครงการ “รักษ์ป่าน่าน” เพื่อลด
การตัดไม้ท�ำลายป่าต้นน้�ำน่าน ทรง
พระราชทานแนวทางโดยมุ่งเน้นให้ด�ำเนิน
การอนรุ กั ษป์ า่ ตน้ นำ้� ควบคไู่ ปกบั การอนรุ กั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตอิ น่ื ๆ รวมไปถงึ การสรา้ ง

อาชีพให้กับราษฎรในท้องที่ และการให้ความรู้แก่ประชาชนและ
เยาวชนว่าทุกสิ่งล้วนเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ทรงสนับสนุนให้ด�ำเนินการ
อนรุ กั ษป์ า่ ไม้ เพอ่ื การสบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เนอื่ งจากทรงเหน็ ปญั หา
การลดลงของตน้ รัก Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ในธรรมชาติ
ตอ้ งมีการน�ำเขา้ ยางรกั จากตา่ งประเทศ หรือใช้สารสงั เคราะหท์ ดแทน
สง่ ผลใหภ้ มู ปิ ญั ญาการใชย้ างรกั เพอื่ ผลติ งานศลิ ปหตั ถกรรมลดนอ้ ยลง
และขาดผ้สู นใจสืบทอด จึงมีพระราชด�ำริ “โครงการศึกษายางรักเพอื่
อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย” โดยส่งเสริมการปลูก
ต ้ น รั ก เ พื่ อ น� ำ ม า ผ ลิ ต เ ป ็ น ย า ง รั ก
ธรรมชาติคุณภาพดี และถือ
เป็นการส่งเสริมอาชีพให้กับ
ประชาชนอกี ด้วย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ
พระราชดำ� เนนิ มายังหอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และ
พันธุ์พืช (กรมป่าไม้เดิม) เป็นการส่วนพระองค์ครั้งแรก เม่ือวันท่ี 5
กันยายน 2537 ทรงมีพระกระแสรับสั่งให้หอพรรณไม้ กรมอุทยาน
แหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ชื กรมวชิ าการเกษตร และ
หอพรรณไม้ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เชอื่ มตอ่ ขอ้ มลู พรรณไมแ้ หง้
กบั ศนู ยข์ อ้ มลู พนั ธกุ รรมพชื ทสี่ วนจติ รลดา โดยทำ� การบนั ทกึ ขอ้ มลู ใน
ฐานข้อมูล พร้อมท้งั ถา่ ยภาพสไลด์ตวั อย่างพรรณไมแ้ หง้ บนั ทกึ ลงใน
แผน่ ซีดี ดว้ ยทรงเห็นประโยชนใ์ นการเกบ็ รกั ษาข้อมูลไว้ ณ หน่วยงาน
ต่าง ๆ ที่มีหอพรรณไม้ เพ่ือลดความเสี่ยงจากการสูญหายของข้อมูล
พร้อมทั้งพระราชทานพระราโชวาทวา่

“การมอบฐานข้อมูลทางด้านพืชในหน่วยงานต่าง ๆ นั้น หน่วยงานต่าง ๆ มีหอพรรณไม้ เช่น กรมป่าไม้ มีพืชที่นักวิชาการ
นกั วจิ ยั รนุ่ เกา่ ๆ ไดเ้ กบ็ ตวั อยา่ งพรรณพชื แหง้ เกบ็ ไวเ้ ปน็ เวลาเกอื บจะรอ้ ยปแี ลว้ ตวั อยา่ งพรรณไมเ้ หลา่ นเ้ี ปน็ สงิ่ ทม่ี คี า่ สงู จะเปน็ ประโยชน์
ในด้านการศึกษา แต่วา่ ของตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ย่อมเกา่ แก่ไปตามกาลเวลาจะเสียหายอย่างน่าเสยี ดาย แตส่ มัยนเ้ี รามีเทคโนโลยีทจ่ี ะรักษา
สงิ่ เหลา่ นเี้ พอ่ื ใหน้ กั วชิ าการไดศ้ กึ ษากข็ อใหช้ ว่ ยกนั ทำ� โครงการถา่ ยรปู และถา่ ยขอ้ มลู พรรณไม้ เพอื่ เปน็ ฐานขอ้ มลู แตก่ ารเกบ็ ฐานขอ้ มลู
ไวแ้ ห่งเดยี วอาจสญู หายไดก้ ็มีความคิดกันวา่ จะให้หน่วยงานตา่ ง ๆ ชว่ ยกันเก็บ หากทีห่ นึง่ เกดิ เหตุเสยี หายไปก็จะได้มขี อ้ มลู เอาไว้
ไม่สูญหายไปจากประเทศไทยหรือจากโลกน้ีไปหมด ฐานข้อมูลน้ีเป็นของมีค่าต้องช่วยกันดูแลให้ดีและผู้ท่ีจะมาใช้ให้ถูกต้อง ให้เป็น
ประโยชนแ์ กป่ ระเทศไทยแก่มนษุ ยชาตติ อ่ ไป โครงการแบบนีไ้ ม่ใชว่ า่ จะทำ� ส�ำเรจ็ ในเวลาสนั้ ๆ ต้องมีโครงการระยะท่ีหนึ่ง ระยะท่ีสอง
และระยะตอ่ ๆ ไป”

นอกจากนี้ ทรงมีความสนพระทัยศึกษาพืชพ้ืนเมืองของ
ประเทศไทย คราวเสด็จอุทยานแห่งชาติดอยภูคาเมื่อวันท่ี 28
กมุ ภาพนั ธ์ 2539 ไดท้ รงเกบ็ ชอ่ ดอกของตน้ ชมพภู คู า Bretschneidera
sinensis Hemsl. จำ� นวน 2 ชน้ิ และพระราชทานจดั เกบ็ เปน็ ตวั อยา่ ง
พรรณไมอ้ ้างอิง (H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn No. 1)
ณ หอพรรณไม้ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธุ์พชื

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื โดยสำ� นกั งาน
หอพรรณไม้ ส�ำนักวิจยั การอนรุ ักษ์ป่าไม้และพนั ธ์พุ ชื ดำ� เนิน
ภารกจิ ดา้ นการศกึ ษาวจิ ยั พรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทย
(Flora of Thailand) เพอ่ื ดำ� เนนิ การศกึ ษาทบทวนพรรณพชื
ทมี่ ีท่อล�ำเลียงวงศ์ตา่ ง ๆ ของประเทศไทย โดยได้รบั ความ
ร่วมมือจากนักพฤกษศาสตร์ไทยและต่างประเทศ ในการ
ประชุมพรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทย ครง้ั ที่ 12 จดั ขึน้
ระหว่างวันท่ี 25–29 พฤศจิกายน 2545 ณ หอพรรณไม้
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุ์พืช สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ สดจ็ เปน็ องคป์ ระธานเปดิ
การประชุม และร่วมฟังการบรรยายผลการศึกษาวิจัยด้าน
อนกุ รมวธิ านพืช

นอกจากน้ี พระองค์ทรงมีความสนพระทัยด้านการจัดการ
หอพรรณไมเ้ ป็นอย่างมาก และเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงเยยี่ มชม
หอพรรณไม้ที่ส�ำคัญหลายแห่งในต่างประเทศ โดยเฉพาะที่
สวนพฤกษศาสตร์คิว กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร เสด็จ
พระราชด�ำเนินไปเป็นการส่วนพระองค์บ่อยคร้ัง และได้เสด็จเป็น
องคป์ ระธานในพธิ เี ปดิ การประชมุ พรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทย
คร้ังที่ 16 ณ สวนพฤกษศาสตรค์ ิว เม่อื วนั ที่ 8 กนั ยายน 2557 พร้อมน้ี
ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเย่ียมชมธนาคารเมล็ดพันธุ์ (Millennium
Seed Bank) ณ เวคเฮิร์ต เพลส (Wakehurst Place) ซ่ึงเป็น
ศนู ยก์ ลางการเกบ็ เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ทใ่ี หญท่ สี่ ดุ ในโลก โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ปอ้ งกนั การสญู พนั ธข์ุ องพชื โดยการเกบ็ เมลด็ ไวเ้ พอื่ ใชป้ ระโยชน์
อยา่ งยั่งยนื ในอนาคตและสามารถน�ำกลบั ไปปลูก ณ แหลง่ ท่อี ยู่เดมิ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ส�ำนึกในพระมหา
กระแสรับส่ังเรื่องโครงการธนาคารเมล็ดพันธุ์ กับอธิบดีกรมอุทยาน กรุณาธิคุณ และซาบซ้ึงเป็นเกียรติอย่างยิ่งท่ีได้ร่วมสนองงานตาม
แหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื ในฐานะเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการศกึ ษา พระราชดำ� ริ ในโอกาสมหามงคลยงิ่ ทท่ี รงเจรญิ พระชนมายุ 60 พรรษา
วจิ ัยดา้ นทรัพยากรพืชว่า ปพี ทุ ธศกั ราช 2558 กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื ไดจ้ ดั ทำ�
หนังสือ “สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติ
“ประเทศไทยควรเขา้ รว่ มโครงการธนาคารเมลด็ พนั ธก์ุ บั สวน สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระชนมายุ
พฤกษศาสตร์คิว เพื่อเป็นการป้องกันการสูญพันธุ์ของเมล็ดพืช 60 พรรษา” เพอ่ื แสดงความจงรกั ภกั ดแี ละรว่ มเผยแพรพ่ ระเกยี รตคิ ณุ
พนื้ เมือง พชื ป่า และพชื หายากของประเทศไทย อกี ทง้ั สามารถ ของพระองค์ พร้อมน�ำเสนอสาระความรู้เกี่ยวกับพรรณพืชให้แก่
นำ� เมลด็ พนั ธก์ุ ลบั มาเพาะในถน่ิ อาศยั เดมิ ไดห้ ากมคี วามจำ� เปน็ ใน เยาวชน ประชาชน และผสู้ นใจทวั่ ไป ไดเ้ หน็ ความงดงาม ความนา่ สนใจ
อนาคต และให้ด�ำเนินการหาแนวทางในการร่วมกันท�ำงาน และเกดิ ความปตี ทิ จ่ี ะศกึ ษาและอนรุ กั ษพ์ ชื พรรณตามพระราชปณธิ าน
ดงั กลา่ ว” ของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ต่อไป

ทั้งน้ี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมสนอง บรรณานกุ รม
พระราชดำ� ริ โดยดำ� เนนิ การจดั ทำ� บนั ทกึ ความรว่ มมอื (Memorandum
of Collaboration) กบั สวนพฤกษศาสตร์ควิ สหราชอาณาจกั ร เมื่อ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน. (2543). กรงุ เทพฯ: โครงการอนุรกั ษ์พันธกุ รรมพืช
วนั ที่ 24 กนั ยายน 2558 เพอ่ื ตกลงความรว่ มมอื ในการเขา้ รว่ มโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี
ธนาคารเมลด็ พนั ธ์ุ รวมถงึ ความชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการ ตลอดจนวธิ กี าร
เก็บตัวอย่างเมล็ดที่ถูกต้อง เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์ทรัพยากร คณะอนกุ รรมการจัดทำ�สารานกุ รมสำ�หรบั เยาวชน เลม่ ที่ ๑ ในคณะกรรมการจดั งาน
พรรณพชื ของประเทศไทยในระยะยาวต่อไป เฉลมิ พระเกียรติ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส
ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 สภานิติบัญญตั ิแหง่ ชาต.ิ (2558).
ดว้ ยพระราชกรณยี กจิ ดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ ที่ รง พระการุณย์อนุ่ เกลา้ ชาวสยาม พระราชด�ำ รัส สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ
ปฏบิ ตั ิ ไดส้ รา้ งประโยชนน์ านปั การใหแ้ กป่ ระเทศไทย เปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ สยามบรมราชกุมาร.ี กรุงเทพฯ: บรษิ ัท อมรินทร์พรน้ิ ตงิ้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จ�ำ กัด
แลว้ ถงึ พระวริ ยิ ะอตุ สาหะ ตลอดจนพระทยั ทเี่ ปย่ี มดว้ ยความเสยี สละ (มหาชน).
เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แก่ราษฎรทกุ หมเู่ หล่า
ศิริชัย หวงั เจรญิ ตระกลู (บรรณาธกิ าร). (2551). สัมมนาวิชาการศกึ ษายางรกั เพอื่
อนุรกั ษภ์ มู ิปญั ญาไทย อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�รสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ าร.ี กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร.

บทน�ำ

ไทยเป็นประเทศในเขตร้อน มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง หนงั สอื “สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย (ฉบบั ยอ่ ) เฉลมิ พระเกยี รติ
โดยเฉพาะทรัพยากรพรรณพืช คาดกันว่าจ�ำนวนพืชท่ีมีท่อล�ำเลียง สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระชนมายุ
(vascular plants) มมี ากกวา่ 11,000 ชนิด (UNEP-WCMC, 2004) 60 พรรษา” นี้ ผเู้ รียบเรียงเป็นผู้เขียน รวบรวม และปรับปรงุ เนื้อหา
มีการศึกษาทบทวนและตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือพรรณพฤกษชาติ ทั้งหมด โดยมผี ้ใู หก้ ารสนับสนนุ ข้อมลู ตามชอ่ื ทป่ี รากฏในท้ายหนังสือนี้
ของประเทศไทย (Flora of Thailand) มาตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1970 จนถงึ ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขจากขอ้ มลู พชื ทเ่ี ผยแพรท่ างเวบไซต์
ปัจจุบัน จ�ำนวนมากกว่า 5,200 ชนิด ใน 217 วงศ์ จากจ�ำนวน ของสำ� นกั งานหอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพรรณพชื
ประมาณ 300 วงศ์ นอกจากน้ี ยงั มกี ารเผยแพร่ขอ้ มลู พรรณพชื ของ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 พฤกษภาคม 2549 จนถงึ ปจั จบุ นั และไดเ้ พม่ิ เตมิ ขอ้ มลู เพอื่
ไทยในหลายรูปแบบ ทั้งหนงั สือ วารสาร บทความวิจยั เวบไซต์ และ ให้ครอบคลุมพืชกลุ่มต่าง ๆ ให้มากข้ึน อย่างไรก็ตาม อาจมีบางชื่อที่
ส่อื สังคมออนไลน์ สามารถเขา้ ถึงได้งา่ ย นอกจากพรรณพชื ของไทยท่ี ไม่ตรงกับแหล่งอ้างอิงอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ระบุไว้ ซึ่งท่านผู้อ่าน
เป็นพืชพื้นเมืองแล้ว ยังมีพืชท่ีไม่ได้มีถ่ินก�ำเนิดในประเทศไทย แต่ สามารถสืบค้นและหาข้อมูลเพ่ิมเติมได้ด้วยตนเองจากเอกสารอ้างอิง
พบเหน็ ทว่ั ไปทงั้ ทเ่ี ปน็ ไมป้ ระดบั หรอื ถกู นำ� เขา้ มาเพอ่ื ใชป้ ระโยชนด์ า้ น และเวบไซต์ด้านการจัดจ�ำแนกพรรณพืชต่าง ๆ ที่มีอยู่จ�ำนวนมาก
ตา่ ง ๆ หรอื แมแ้ ตถ่ กู ลกั ลอบเขา้ มาทงั้ โดยทต่ี งั้ ใจและไมต่ ง้ั ใจ บางชนดิ ข้อมูลพืชท้ังหมดจะทยอยเผยแพร่ทางเวบไซต์ส�ำนักงานหอพรรณไม้
กลายเปน็ วชั พชื และคกุ คามพชื พน้ื เมอื งเดมิ จากการรวบรวมรายชอ่ื พชื เพ่ือทดแทนข้อมูลในสารานุกรมพืชเดิม หลังจากหนังสือได้จัดพิมพ์
เหลา่ นโ้ี ดยสำ� นกั งานหอพรรณไม้ และจดั พมิ พเ์ ปน็ หนงั สอื ชอื่ พรรณไม้ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว
แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557
(ราชันย์ ภู่มา และสมราน สุดด,ี 2557) มีรายชอ่ื พืชทง้ั ทม่ี ชี ่ือไทยและ รายชือ่ พืช
ไม่มีชื่อไทย ทั้งพืชพื้นเมืองและพืชต่างถ่ินจ�ำนวน 11,104 ชนิด ใน
2,465 สกุล และ 287 วงศ์ รายชื่อพืชที่มีค�ำบรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 1,612 ชนดิ
ใน 807 สกุล จำ� นวน 208 วงศ์ แยกเป็นวงศ์ที่มีข้อมลู มากท่ีสุด คอื
อย่างไรก็ตาม ข้อมูลพรรณพืชของไทยต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น Fabaceae จ�ำนวน 112 ชนิด Apocynaceae จำ� นวน 71 ชนิด และ
โดยเฉพาะที่ได้มีการศึกษาด้านอนุกรมวิธานโดยนักพฤกษศาสตร์ท่ี Malvaceae จำ� นวน 70 ชนดิ ตามล�ำดับ สำ� หรบั สกุลทีม่ คี �ำบรรยาย
เชย่ี วชาญในพชื แตล่ ะกลมุ่ มาแลว้ มกั เป็นภาษาอังกฤษ ทีม่ ีการเขียน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มจี �ำนวน 252 สกลุ และเมอ่ื รวมชือ่ พชื ที่
คำ� บรรยายโดยใชค้ �ำศพั ทท์ างดา้ นพฤกษศาสตรเ์ ปน็ สว่ นมาก นอกจากน้ี อา้ งถงึ ในเน้อื หาในรูปแบบตา่ ง ๆ มีจำ� นวน 2,287 ชนิด ใน 957 สกลุ
ยังมภี าพประกอบนอ้ ยมาก หรอื ไมม่ ีเลย ส่วนที่เผยแพรผ่ า่ นเวบไซต์ จ�ำนวน 210 วงศ์ รวมพืชพ้นื เมืองและพชื ตา่ งถิ่น แตไ่ มร่ วมถึงชอ่ื ที่
หรือส่ือสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ส่วนมากมีเพียงภาพแสดง มีชื่อทาง เปน็ ชอื่ พอ้ ง มภี าพประกอบรวมทง้ั หมด 3,678 ภาพ อนง่ึ จำ� นวนชนดิ
พฤกษศาสตร์หลายชอ่ื หรอื ไม่ตรงกนั และมกั ขาดขอ้ มูลลกั ษณะทาง ในบทน�ำนี้หมายถึงรวมทุกหน่วยอนุกรมวิธาน (taxa) คือ var.,
พฤกษศาสตร์และเขตการกระจายพันธุ์ ท�ำให้บุคคลท่ัวไปหรือแม้แต่ subsp., forma และลูกผสม (hybrid)
นักวิจัยด้านพืชในสาขาอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่นักพฤกษศาสตร์ไม่เข้าใจ หรือ
ทำ� ความรจู้ กั กบั พชื ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง นอกจากนร้ี ะบบการจำ� แนกดา้ นพชื รปู แบบการบรรยาย
มกี ารเปลยี่ นแปลงตลอดหลายปที ผ่ี า่ นมา ทำ� ใหร้ ายชอื่ พชื ในบทความ
ตา่ ง ๆ หรือแมแ้ ตใ่ นหนงั สือพรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทยมีการ เนื้อหาของพืชแตล่ ะชนดิ หรือสกุลเรียงลำ� ดับดงั ตอ่ ไปนี้
เปล่ียนและปรับปรุงมาตลอด ซึ่งผู้อ่านท่ีอาจไม่ได้รับข้อมูลความ ชื่อไทย เป็นการเรียงตามล�ำดับอักษร โดยส่วนมากจะเป็นช่ือ
เคลื่อนไหวดา้ นการจดั จำ� แนกทเี่ ปน็ ปัจจบุ นั มีความสับสนและพบว่า ทางการตามหนงั สอื ชอื่ พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เตม็ สมติ นิ นั ทน์ ฉบบั
นำ� ไปอา้ งองิ คลาดเคลอื่ น ดงั นน้ั การจดั ทำ� หนงั สอื สารานกุ รมพชื ฯ ใน แก้ไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2557 แตม่ ีบางชอ่ื ท่อี าจใช้ชอื่ อนื่ ๆ เพื่อใหก้ าร
ครง้ั น้ี จงึ คาดหวงั ทจ่ี ะใหท้ า่ นผใู้ ชห้ นงั สอื ไดร้ จู้ กั พรรณพชื ทพี่ บในไทย เรยี งลำ� ดบั ของพชื ชนดิ ตา่ ง ๆ ดงู า่ ยตามกลมุ่ พชื และสามารถเปรยี บเทยี บ
ท้งั พืชพ้ืนเมอื งและพืชตา่ งถน่ิ มชี ือ่ พฤกษศาสตรท์ ท่ี นั สมยั ตามระบบ ลกั ษณะทใ่ี ชจ้ ำ� แนกกนั ได้ สว่ นชอื่ อนื่ ๆ ทเี่ รยี กตา่ งกนั ในแตล่ ะภมู ภิ าค
การจัดจ�ำแนกล่าสุด พร้อมภาพประกอบทุกชนิด สามารถน�ำไปใช้ รวมท้ังช่ือสามัญ (common name) ไม่ไดน้ �ำมาแสดง โดยสามารถดู
ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ พร้อมสร้างความเพลิดเพลินและการ ไดจ้ ากหนงั สอื ชอื่ พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย เตม็ สมติ นิ นั ทน์ ดงั กลา่ ว
ตระหนักถึงคุณค่าความส�ำคัญและร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรพรรณพืช หรือสืบค้นขอ้ มลู ล่าสดุ ทางเวบไซตส์ �ำนกั งานหอพรรณไม้ ท่ี http://
ของประเทศไทยสบื ไป www.dnp.go.th/botany/mplant/index.aspx

ชื่อสกลุ จะแสดงเฉพาะสกุลทีม่ ีการบรรยายสกุลน้นั ๆ โดยมชี ่อื พนั ธพ์ุ ชื เพมิ่ เตมิ บางครงั้ ไมร่ ะบลุ กั ษณะทพี่ บสว่ นใหญใ่ นพชื หลายกลมุ่
ผตู้ งั้ ชอื่ สกลุ (authors) ตอ่ ทา้ ย สว่ นคำ� บรรยายประกอบดว้ ยลกั ษณะ เช่น ล�ำต้นและใบเกลี้ยง เสน้ แขนงใบแบบขนนก หรอื แบบเสน้ ขนาน
ทางพฤกษศาสตร์ของสกุล ระบบการจัดจ�ำแนกในปัจจุบัน จ�ำนวน ในพชื ใบเลยี้ งเดยี่ ว การแยกหรอื การเชอ่ื มตดิ ของกลบี เลย้ี งหรอื กลบี ดอก
ชนิดท้ังหมดในสกุล เขตการกระจายพันธุ์ จ�ำนวนชนิดท่ีพบใน ต�ำแหน่งและรูปร่างรังไข่ท่ีส่วนใหญ่ติดแบบเหนือรังไข่และขนาดเล็ก
ประเทศไทย ซงึ่ อา้ งองิ จากหนงั สอื พรรณพฤกษชาตติ า่ ง ๆ และเอกสาร หรือลักษณะผลของพืชบางกลุ่มท่ีไม่ใช่ลักษณะส�ำคัญในการจ�ำแนก
อ้างอิงแนบท้าย สว่ นที่มาของชือ่ สกลุ (etymology) สว่ นมากอ้างองิ ส่วนไม้ต่างถ่ิน ที่มีข้อมูลอ้างอิงน้อย การบรรยายลักษณะทาง
จาก Quattrocchi (2000) หรอื ทรี่ ะบไุ วใ้ นการตพี มิ พช์ อื่ สกลุ หรอื ชนดิ ใหม่ พฤกษศาสตรอ์ าจสนั้ แตค่ รอบคลมุ ลกั ษณะทสี่ ำ� คญั ทง้ั ของวงศห์ รอื สกลุ
นัน้ ๆ พชื ท่มี ีการบรรยายสกุลจะมีจ�ำนวนชนดิ มากกว่า 1 ชนิด และถา้ โดยมแี หล่งอา้ งองิ ที่ส�ำคญั คือ Staples & Herbst (2005), Flora of
ชนดิ ทม่ี ชี อ่ื ไมเ่ รยี งตอ่ จากชอื่ สกลุ จะระบใุ หด้ ขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ทสี่ กลุ นนั้ ๆ North America Editorial Committee (1993 onwards) และ
ต่อท้ายค�ำบรรยาย ดังนั้น การบรรยายชนิดดังกล่าวส่วนมากจะไม่ Lewis et al. (2005) สำ� หรบั พชื วงศ์ Fabaceae คำ� ศพั ทพ์ ฤกษศาสตร์
บรรยายลักษณะสกุลซ�้ำ เช่น การเรียงตัวของใบ ลักษณะช่อดอก ของพืช ส่วนมากอ้างอิงตามราชบัณฑิตยสถาน ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม
จ�ำนวนส่วนต่าง ๆ ของดอก ลักษณะรงั ไข่ ผล และเมล็ด เปน็ ต้น ซง่ึ พ.ศ. 2546 (พิมพ์ครง้ั ที่ 2) การเรียงล�ำดบั ลกั ษณะของสว่ นตา่ ง ๆ ใช้
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ของชนิดจึงควรดคู �ำบรรยายสกุลประกอบ เกณฑ์การบรรยายจากดา้ นนอกเข้าสดู่ ้านใน เช่น จากปลายใบจนถงึ
ก้านใบ จากกลีบเลี้ยงจนถึงรังไข่ เป็นต้น โดยกล่าวถึงลักษณะวิสัย
ชอ่ื พฤกษศาสตร์ เปน็ ชอื่ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั โดยมเี อกสารอา้ งองิ ก่อนในคำ� บรรยายแต่ละสกลุ หรือชนิด ลักษณะท่ีส�ำคญั หรอื ลกั ษณะ
และแหล่งข้อมูลรายชื่อพืชต่าง ๆ ประกอบในการตรวจสอบ ได้แก่ ท่ีใช้จ�ำแนกชนิดจะเป็นตัวเข้ม ส่วนลักษณะท่ีพิเศษหรือลักษณะเด่น
The International Plant Names Index หรือ IPNI (2012), The ที่พบในพืชบางกลุ่ม อาจมีค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษก�ำกับ เพื่อให้ผู้อ่าน
Plant List (2013), Catalogue of Life (Hassler, 2016) และ เข้าใจที่มาของรากศัพทแ์ ละความหมายที่ถูกตอ้ ง
Tropicos (2016) เปน็ ตน้ ซง่ึ อาจมบี างชอ่ื ทแ่ี หลง่ อา้ งองิ ตา่ ง ๆ ดงั กลา่ ว
ไม่ตรงกัน ผู้เรียบเรียงจะอ้างช่ือที่น่าจะถูกต้องและทันสมัยมากท่ีสุด ลักษณะวิสัย (habit) รูปรา่ งลักษณะของพืชเปน็ ไมล้ ม้ ลกุ ไม้พมุ่
โดยมีค�ำอธิบายเหตผุ ลประกอบ อย่างไรก็ตาม ระบบการจดั จ�ำแนกมี ไม้เถา ไม้ตน้ หรอื ลกั ษณะอ่ืน ๆ เช่น ราก เหงา้ หวั ใต้ดนิ ไหล เปลอื ก
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซ่ึงผู้อ่านสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้เอง ลำ� ตน้ เทยี ม มอื จบั หนาม หรอื นำ�้ ยาง พชื ลม้ ลกุ ไมไ่ ดแ้ ยกเปน็ อายปุ เี ดยี ว
เพ่ือได้ช่อืิ ทมี่ กี ารปรับปรงุ ณ ปัจจุบัน และถกู ตอ้ งสมบรู ณย์ งิ่ ขึน้ หรือหลายปี ยกเว้นหญ้า หรืออาจระบุถ่ินท่ีอยู่ของพืชร่วมด้วย เช่น
พชื องิ อาศยั ขนึ้ บนดนิ หรอื หนิ พชื น้�ำ พชื ทนนำ้� ทว่ ม หรอื อาจระบเุ ปน็
ชือ่ วงศ์ เป็นชอ่ื ไดร้ ับการยอมรบั ล่าสดุ ของพืชชนิดหรือสกุลนน้ั ๆ ไม้ผลดั ใบในไมต้ น้ บางชนิด ตามด้วยขนาดและความสงู ส�ำหรับพืชที่
ตามระบบจัดจำ� แนกของ Angiosperm Phylogeny Group III หรอื ดอกไม่สมบูรณ์เพศ ตามด้วยดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) หรอื
APG III (Stevens, 2001 onwards) ส่วนรายละเอยี ดด้านจัดจำ� แนก ดอกแยกเพศร่วมต้น (monoecious) หรอื ลกั ษณะแบบอืน่ ๆ และ
ของกลมุ่ พชื สว่ นมากจะปรากฏในค�ำบรรยายสกลุ หรอื ในสว่ นทก่ี ลา่ ว ก่อนท่ีจะบรรยายส่วนต่าง ๆ บางตอนอาจกล่าวถึงสิ่งปกคลุมหรือ
ถงึ สกลุ ของทา้ ยชนิดที่ไมม่ คี �ำบรรยายสกุล ลักษณะขนตามสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ในภาพรวม

ชื่อพ้อง ส่วนมากจะระบุชื่อพ้องท่ีเป็นชื่อด้ังเดิม (basionym) หใู บ (stipules) โดยมากแยกเปน็ หใู บเดย่ี ว หรอื หใู บรว่ ม ลกั ษณะ
เพอ่ื ใหท้ ราบความเปลย่ี นแปลงดา้ นการจดั จ�ำแนกของพืชชนิดนัน้ ๆ ของหใู บหรือขนาด การตดิ ทนหรอื รว่ งเรว็ หรอื ไม่มหี ใู บ
พอสงั เขป ว่าเคยถกู จดั จ�ำแนกอยู่สกุลใดมาก่อน และอาจมชี ่อื พ้องท่ี
เปน็ ทร่ี จู้ กั กนั อยา่ งกวา้ งขวาง และชอื่ มกี ารจดั จำ� แนกใหมใ่ นชว่ งเวลา ใบ (leaves) พชื ส่วนมากจะเปน็ ใบเด่ยี ว (simple) จงึ ไมไ่ ดร้ ะบไุ ว้
ไม่นานมากนัก โดยเฉพาะท่ีตีพิมพ์ในหนังสือพรรณพฤกษชาติของ จะระบุเม่อื พชื มีใบเปน็ ใบประกอบ หรือรปู แบบอนื่ ๆ ดังนั้น รูปรา่ ง
ประเทศไทย หรือเป็นชื่อที่ปรากฏในเอกสารอ้างอิงประกอบในการ และขนาดของใบท่ีแสดงจึงเป็นลักษณะของใบเด่ียวหรือใบย่อย โดย
เขยี นค�ำบรรยาย เรียงการติด รูปรา่ ง ขนาด ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ แผน่ ใบ เส้นแขนงใบ
เสน้ โคนใบ หรอื เสน้ ใบยอ่ ย และความยาวกา้ นใบ ในการบรรยายขนาด
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ สว่ นมากอา้ งองิ จากพรรณพฤกษชาติ ของใบส่วนมากจะกลา่ วถึงเฉพาะความยาว โดยให้ดูรปู ร่างประกอบ
ของประเทศไทย (Larsen, 1996; Santisuk & Balslev, 2014-2015; เพอ่ื ใหท้ ราบความกวา้ งของใบพอสงั เขปจากตารางคำ� ศพั ทร์ ปู รา่ งและ
Santisuk & Larsen, 1997-2013; Smitinand & Larsen, 1970-1993) สัดส่วนความยาว/ความกวา้ ง ของส่วนต่าง ๆ ของพืช ซึง่ สามารถใช้
และ Flora of China (Wu & Raven, 1994-2001; Wu et al., กบั สว่ นอนื่ ๆ ของพชื ไดเ้ ชน่ เดยี วกนั รปู รา่ งบางลกั ษณะไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ ง
2001-2013) ซง่ึ สามารถสบื คน้ ไดท้ ี่ http://flora.huh.harvard.edu/ ดูสดั สว่ นดงั กล่าว เช่น รูปลม่ิ แคบ และรูปเส้นด้าย เป็นต้น อนึง่ ปลายใบ
china/ เป็นหลัก แต่มีการเพิ่มเติมลักษณะที่ส�ำคัญบ้างตามเอกสาร โคนใบ และจำ� นวนเสน้ แขนงใบ อาจไมป่ รากฏในคำ� บรรยายเนอื่ งจาก
อ้างอิงอื่น ๆ ท่ีแสดงท้ายค�ำบรรยาย ตลอดจนตรวจสอบและศึกษา ไม่ใช่ลกั ษณะส�ำคัญที่ใชจ้ �ำแนกชนดิ
ตัวอย่างพรรณไม้ในหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ

ตารางคำ� ศัพท์รูปร่างและสดั สว่ นความยาว/ความกว้าง ผล (fruit) ชนดิ รปู รา่ ง และขนาดของผล สว่ นมากมคี วามส�ำคญั
(ปรบั ปรุงจาก Radanachaless & Maxwell, 1994) ในการจำ� แนก แตใ่ นพชื บางกลมุ่ ไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ เนอื่ งจากมคี วามสำ� คญั
ในการจ�ำแนกชนิดนอ้ ยมาก เชน่ กลว้ ยไม้ ทีส่ ่วนมากเปน็ ผลแหง้ แตก
ความยาว/ ปลายกวา้ ง กลางกวา้ ง โคนกว้าง (capsule) นอกจากนี้ ผลแบบพเิ ศษตา่ ง ๆ เช่น ผลแบบมะเดือ่ ในพชื
ความกว้าง วงศไ์ ทร ทผ่ี ลยอ่ ยอยภู่ ายในฐานดอกทขี่ ยายใหญ่ และอวบน�้ำ เรยี กวา่
fig หรอื synconium ทใ่ี ช้ทบั ศพั ทใ์ ต้คำ� บรรยายภาพ สว่ นเมล็ดท่ีมักมี
ประมาณ 1 - รูปกลม - จ�ำนวนเทา่ ออวลุ อาจบรรยายอยา่ งใดอย่างหนึ่ง หรอื ทั้งสองอยา่ งใน
ชนดิ ทจ่ี ำ� นวนไมเ่ ทา่ กนั เและเมลด็ จะบรรยายเฉพาะในพชื บางกลมุ่ ที่
1-2 รูปไขก่ ลบั รูปรี รูปไข่ รูปร่าง ขนาด หรอื สงิ่ ปกคลุมมคี วามส�ำคญั ในการใชจ้ ำ� แนก

2-3 รูปขอบขนาน รปู ขอบขนาน รปู ขอบขนาน สำ� หรบั พชื กลมุ่ เฟนิ มกี ารบรรยายแตกตา่ งจากพชื ทว่ั ไปเลก็ นอ้ ย
แกมรูปไขก่ ลับ แกมรูปไข่ โดยระบลุ ักษณะวิสัยทข่ี ้นึ บนดิน บนหนิ หรือองิ อาศัย ลกั ษณะเหง้า
และเกล็ดทป่ี กคลุม ใบทีม่ ักจะแยกเป็นใบไม่สรา้ งสปอร์ และใบสรา้ ง
3-5 รูปใบหอกแกม รปู ใบหอก รปู ใบหอกแกม สปอร์ ลกั ษณะการแตกแขนงของเสน้ ใบ รปู รา่ งกลมุ่ อบั สปอร์ การตดิ
รูปไข่กลับ รปู ไข่ เยือ่ คลุมกลุ่มอับสปอร์ และอบั สปอร์ คำ� ศพั ท์และขอ้ มลู เฟนิ สว่ นมาก
อา้ งองิ จาก Lindsay & Middleton (2012 onwards)
5-10 หรอื - รูปแถบ -
มากกว่า การกระจายพันธุแ์ ละนเิ วศวิทยา
การกระจายพนั ธข์ุ องพชื ในทนี่ แ้ี บง่ ออกเปน็ ของสกลุ และชนดิ ซง่ึ
ช่อดอก (inflorescences) ช่อดอกของพืชส่วนมากจะมจี ำ� นวน ของสกลุ สว่ นมากระบใุ นภาพรวม เชน่ เขตรอ้ น กงึ่ เขตรอ้ น เขตอบอนุ่
ดอกหลายดอก พบนอ้ ยทลี่ ดรูปเหลอื ดอกเดยี ว พชื บางชนิดอาจระบุ หรอื ชื่อทวปี ตา่ ง ๆ สว่ นของชนิดจะระบเุ ขตการกระจายพนั ธุเ์ ฉพาะ
จำ� นวนดอกในแตล่ ะชอ่ ทเี่ ปน็ ลกั ษณะใชแ้ ยกชนดิ ในพชื กลมุ่ นนั้ ๆ สว่ น มากยิ่งข้นึ ส่วนใหญ่เปน็ ช่อื เขตภมู ศิ าสตร์พชื พรรณ หรือชื่อประเทศ
การเรียงตวั แบง่ เป็นออกตามซอกใบ ปลายก่งิ หรอื ตามล�ำตน้ การวัด ซงึ่ เรยี งลำ� ดบั จากทวปี อเมรกิ า แอฟรกิ า มาดากสั การ์ ทวปี ยโุ รป เอเชยี
ขนาดส่วนมากจะกล่าวถึงความยาวของช่อดอก ช่อแยกแขนง หรือ ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ การกระจายพนั ธใ์ุ นเอเชยี เรยี งลำ� ดบั
แยกเปน็ แกนชอ่ กา้ นชอ่ ใบประดับหรอื ใบประดับยอ่ ย จากเอเชยี ใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ สว่ นการ
กระจายพนั ธใ์ุ นประเทศไทยแบง่ ตามภาคภมู ศิ าสตรพ์ ชื พรรณ (floristic
ดอก (flowers) คำ� บรรยายแยกเปน็ กา้ นดอก ฐานดอก รวิ้ ประดบั regions) ตามหนงั สอื พรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทย และชอ่ื พรรณไม้
กลบี เล้ียง กลบี ดอก หรอื กลบี รวม และจานฐานดอก โดยระบกุ ารเรียง แหง่ ประเทศไทย เตม็ สมติ นิ นั ทน์ ฉบบั แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2557 ตาม
รูปรา่ ง จำ� นวน ขนาด สี และสง่ิ ปกคลมุ ในกรณีดอกมเี พศเดียวจะ ดว้ ยชอ่ื สถานทห่ี รอื จงั หวดั และถน่ิ ทอ่ี ยหู่ รอื นเิ วศวทิ ยาทพ่ี บ สว่ นมาก
บรรยายดอกเพศผ้กู ่อนดอกเพศเมยี สำ� หรบั รูปรา่ งและสีของดอก ใน ระบเุ ปน็ ปา่ ประเภทตา่ ง ๆ อา้ งองิ ตามหนงั สอื ปา่ ของประเทศไทย (ธวชั ชยั
ทน่ี ้ีส่วนมากหมายถึงของวงกลีบดอก (corolla) ในกรณที ่ีไมม่ กี ลีบดอก สนั ติสขุ , 2550) และความสงู ในที่นหี้ มายถงึ ความสูงเหนอื จากระดับ
อาจหมายถงึ ของวงกลบี เลยี้ ง (calyx) หรอื วงกลบี รวม (perianth) ใน นำ้� ทะเลปานกลาง (altitude) นอกจากชอื่ ประเทศ ชอ่ื สถานท่ี ชอ่ื เกาะ
พชื บางชนดิ อาจกลา่ วถงึ รปู รา่ งหรอื สขี องกลบี เลยี้ งและกลบี ดอกแยกกนั และหมเู่ กาะ ยงั มชี อื่ แบบอนื่ ๆ และชอ่ื เขตภมู ศิ าสตรพ์ ชื พรรณทแี่ สดง
ขอบเขตการกระจายพนั ธุ์ ได้แก่
วงเกสรเพศผู้ (androecium) สว่ นมากจะระบุรปู แบบและการ จนี ตอนใต้ (South China) หมายถงึ มณฑลยนู นานและใกลเ้ คยี ง
ตดิ ของกา้ นชอู บั เรณหู รอื อบั เรณใู นพชื บางกลมุ่ ความยาวกา้ นชอู บั เรณู ของประเทศจนี ซงึ่ รวมถงึ ทางภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ สว่ นไหห่ นาน และ
สว่ นอบั เรณมู กั บรรยายรปู รา่ ง แกนอบั เรณู การแตก รเู ปดิ หรอื จำ� นวน ไต้หวันได้เขยี นแยกต่างหาก
ช่องอับเรณู ในพืชบางกลุ่มที่ก้านชูอับเรณูเช่ือมติดกันเป็นเส้าเกสร เอเชยี ใต้ (South Asia) หมายถึง อินเดีย รวมหมเู่ กาะอันดามนั
(column) มกี ้านชูเกสรเพศผู้ (androphore) หรอิื มีก้านชูเกสรร่วม และนโิ คบาร์ อฟั กานิสถาน ปากสี ถาน บงั กลาเทศ ศรีลังกา เนปาล
(androgynophore) สำ� หรบั ในพชื เมลด็ เปลอื ยใชใ้ บสรา้ งอบั ไมโครสปอร์ และภฏู าน
(microsporophyll) เอเชยี ตะวนั ออก (East Asia) หมายถงึ จนี ทางตะวนั ออก รวมไตห้ วนั
เกาหลี และญ่ปี ุ่น แตไ่ มร่ วมมองโกเลีย
วงเกสรเพศเมยี (gynoecium) สว่ นใหญพ่ ชื จะมรี งั ไขเ่ หนอื วงกลบี ภมู ภิ าคอนิ โดจนี (Indochina) หมายถงึ ลาว กมั พชู า และเวยี ดนาม
ซ่ึงจะไม่กล่าวถึงในค�ำบรรยาย จะระบุกลุ่มพืชที่รังไข่ใต้วงกลีบหรือ
กง่ึ ใตว้ งกลบี จำ� นวนชอ่ งรงั ไข่ พชื บางกลมุ่ ใชค้ ารเ์ พล โดยเฉพาะทเ่ี ปน็
ผลกลุ่ม มหี นง่ึ หรอื หลายคารเ์ พล คาร์เพลเชอื่ มหรือแยกกนั ชนดิ ของ
พลาเซนตาทอี่ าจกลา่ วถงึ ในการบรรยายสกลุ จำ� นวนหรอื การตดิ ของ
ออวลุ สว่ นเกสรเพศเมยี แยกเปน็ กา้ นเกสรและยอดเกสร การเชอ่ื มตดิ กนั
และรปู รา่ งยอดเกสร พชื บางกลมุ่ มกี ารบรรยายกา้ นชวู งเกสรเพศเมยี
(gynophore) หรือ ฐานก้านยอดเกสรเพศเมีย (stylopodium)
ส�ำหรับวงเกสรเพศเมียในพืชเมล็ดเปลือยใช้ใบสร้างอับเมกะสปอร์
(megasporophyll)

ภมู ภิ าคมาเลเซยี (Malesia) หมายถงึ คาบสมทุ รมลายู และหมเู่ กาะ เอกสารอา้ งองิ
ตา่ ง ๆ ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตแ้ ผน่ ดนิ ใหญก่ บั ออสเตรเลยี การอา้ งองิ ตามเอกสารแนบทา้ ย สว่ นมากเปน็ การอา้ งองิ ดา้ นชอ่ื
ในทน่ี ีฟ้ ิลปิ ปนิ ส์ และนวิ กนิ ไี ดร้ ะบุแยกตา่ งหาก พฤกษศาสตร์ การบรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และเขตการ
กระจายพนั ธ์ุ สว่ นขอ้ มลู ดา้ นอน่ื ๆ เชน่ ระบบการจดั จำ� แนก หรอื การ
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) หมายถงึ พมา่ ไทย ใชป้ ระโยชน์ จะอา้ งองิ ตามบรรณานกุ รมทป่ี รากฏในทา้ ยบทนำ� บางชนดิ
ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม มาเลเซยี สงิ คโปร์ บรไู น อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ควรดูเอกสารอ้างอิงของสกุลประกอบ โดยเฉพาะที่เปลี่ยนสกุลใหม่
นิวกินี และตมิ อร-์ เลสเต สำ� หรบั รปู แบบการเขยี นเอกสารอา้ งองิ สว่ นมากเปน็ แบบสนั้ และการ
อา้ งองิ เวบไซต์ไมไ่ ด้ระบวุ นั ที่สืบคน้ เนอื่ งจากมีการสบื ค้นหลายครง้ั ใน
ปาปวั เซีย (Papuasia) หมายถงึ ปาปวั นิวกินี หมเู่ กาะโซโลมอน ช่วงเวลาท่ีเรียบเรียงและตรวจสอบข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม-
และหมู่เกาะ Aru ของอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นเขตภูมิศาสตร์ย่อยภายใต้ ธนั วาคม พ.ศ. 2558 สว่ นรปู แบบบรรณานกุ รมทา้ ยบทสว่ นมากเขยี น
เขตภมู ศิ าสตรเ์ มลานเี ซยี ตามท่ีแหลง่ อ้างอิงนั้น ๆ ระบุ จึงไม่เปน็ รปู แบบใดรูปแบบหน่ึง อน่งึ
ชื่อผู้แต่ง George Staples เขียนเป็น Staples, G. ยกเว้นส�ำหรับ
หมู่เกาะแปซฟิ ิก (Pacific Islands) หมายถึง หมเู่ กาะตา่ ง ๆ ทาง หนังสอื A tropical garden flora ทใี่ ช้ Staples, G.W. นอกจากเอกสาร
ตอนเหนือของออสเตรเลีย ได้แก่ ไมโครนีเซีย เมลานีเซีย (แต่ไม่รวม อา้ งองิ ทรี่ ะบแุ นบทา้ ยในพชื แตล่ ะสกลุ หรอื ชนดิ ผอู้ า่ นสามารถคน้ ควา้
นวิ กนิ )ี และโพลินเี ซยี และศกึ ษาขอ้ มลู เอกสารอา้ งองิ เพม่ิ เตมิ ไดจ้ ากหนงั สอื A bibliography
of taxonomic revisions for vascular plants in Thailand
อยา่ งไรกต็ าม เขตการกระจายพนั ธอ์ุ าจไมค่ รอบคลมุ พน้ื ทท่ี ง้ั หมด (Mauric et al., 2011) หรือสบื คน้ ไดท้ ่ี http://www.dnp.go.th/
ของพชื ชนดิ นนั้ ๆ โดยเฉพาะการกระจายพนั ธใ์ุ นประเทศไทย เนอื่ งจาก botany/Bibliography/Default.htm
มตี ัวอยา่ งพรรณไมอ้ ้างองิ สว่ นหนึง่ กระจายอยู่ตามหอพรรณไมอ้ ื่น ๆ ค�ำบรรยายภาพ
ทั้งในและต่างประเทศ รวมท้ังหอพรรณไม้ของกรมอุทยานแห่งชาติ ค�ำบรรยายใต้ภาพเกือบท้ังหมดเป็นการน�ำค�ำบรรยายลักษณะ
สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื ทยี่ งั ไมม่ กี ารศกึ ษาจากผเู้ ชยี่ วชาญในพชื กลมุ่ นนั้ ๆ พฤกษศาสตร์บางส่วนท้ังของชนิดหรือของสกุล บางชนิดท่ีไม่มีค�ำ
โดยเฉพาะตัวอย่างพรรณไม้อา้ งองิ ใหม่ ๆ บรรยายอาจระบุลักษณะท่ีเห็นได้ชัดเจนในภาพประกอบ ตามด้วย
สถานทถี่ า่ ยภาพ และชอ่ื ผถู้ า่ ยภาพเปน็ อกั ษรยอ่ ภาษาองั กฤษ ชอ่ื เตม็
การใชป้ ระโยชน์ ของผู้ถ่ายภาพระบุไว้ท้ายหนังสือ ช่ือไทยท่ีซ้�ำกันใต้ภาพจะมีช่ือ
การใชป้ ระโยชนพ์ ชื ทกี่ ลา่ วถงึ เกอื บทง้ั หมดอา้ งตาม Quattrocchi วิทยาศาสตรแ์ บบย่อก�ำกบั ไว้ในกรณีทเ่ี ปน็ ขอ้ มลู ชุดเดียวกัน
(2012) ท่ีส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์ด้านสมุนไพรการแพทย์แผน
โบราณ “Ayurveda” ของอนิ เดียทม่ี ีมายาวนานกวา่ 3000 ปี หริอื บรรณานุกรม
“Siddha” ท่มี ตี น้ ก�ำเนิดทางภาคใต้ของอินเดีย และ “Unani” ที่มี
ตน้ กำ� เนดิ ในเอเชียกลาง ตลอดจนสรรพคุณทว่ั ๆ ไป มีทงั้ สรรพคณุ ธวัชชยั สนั ติสขุ . (2550). ป่าของประเทศไทย. สำ�นักงานหอพรรณไม้ สำ�นักวจิ ัย
เชิงเด่ียวและเชิงต�ำรับ สรรพคุณต่อสัตว์เลี้ยง และบางตอนระบุถึง การอนุรักษป์ า่ ไมแ้ ละพันธุพ์ ชื กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธพ์ุ ืช.
ความเปน็ พษิ ซงึ่ รายพชื สมนุ ไพรเหลา่ นม้ี ชี อ่ื วทิ ยาศาสตรก์ ำ� กบั ชดั เจน กรงุ เทพฯ.
แมว้ า่ บางชอื่ อาจกลายเปน็ ชอื่ พอ้ ง และมเี อกสารอา้ งองิ สว่ นประโยชน์
ดา้ นสมนุ ไพรไทยไดก้ ลา่ วถงึ เฉพาะทอี่ า้ งองิ ในหนงั สอื พรรณพฤกษชาติ ราชันย์ ภ่มู า และสมราน สุดดี. (บรรณาธกิ าร). (2557). ช่อื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย
ของประเทศไทยหรือตามเอกสารอ้างอิงท้ายค�ำบรรยาย ซ่ึงผู้อ่าน เต็ม สมติ ินันท์ ฉบบั แก้ไขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2557. สำ�นักงานหอพรรณไม้ สำ�นกั วิจยั
สามารถสืบค้นได้จากหนงั สอื ด้านสมุนไพรไทยตา่ ง ๆ ท่มี ีจ�ำนวนมาก การอนรุ ักษป์ า่ ไมแ้ ละพนั ธุพ์ ืช กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธพุ์ ชื . กรงุ เทพฯ.
โดยเฉพาะต�ำราแพทย์แผนไทย ซึ่งควรเปรียบเทียบช่ือไทยกับชื่อ
วทิ ยาศาสตรใ์ หถ้ ูกตอ้ ง เนอื่ งจากมตี �ำราแพทยแ์ ผนไทยเพยี งบางสว่ น ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). ศัพท์พฤกษศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พมิ พค์ รั้งท่ี
ท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรก์ ำ� กับ 2 แก้ไขเพ่ิมเติม. ราชบัณฑิตยสถาน. กรงุ เทพฯ
นอกจากข้อมูลต่าง ๆ ดงั กล่าวขา้ งตน้ ยงั มีข้อมูลเกยี่ วกบั การจดั
จำ� แนกของชนดิ หรอื สกลุ นนั้ ๆ ปรากฏขา้ งทา้ ยตอ่ จากค�ำบรรยาย แต่ Flora of North America Editorial Committee, eds. (1993 onwards). Flora of
ไมม่ รี ายละเอยี ดลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องสกลุ เหมอื นสกลุ ทมี่ คี �ำ North America North of Mexico. 19+ vols. New York and Oxford. http://
บรรยาย และค�ำระบุชนิดอธิบายเฉพาะชื่อที่ตั้งเพื่อเทิดพระเกียรติฯ www.efloras.org
หรือตั้งตามชื่อนักพฤกษศาสตร์ของไทย ส่วนค�ำระบุชนิดที่มาจาก
ภาษาละตนิ ที่มคี วามหมาย สามารถสบื คน้ ความหมายของคำ� ศัพท์ได้ Hassler, M. (2016). World plants: Synonymic checklists of the vacular plants
ในหนงั สอื Botanical Latin (Stern, 1992) of the world. In: Species 2000 & ITIS Catawlogue of Life, 2015 Annual
Checklist (Y. Roskov, L. Abucay, T. Orrell, D. Nicolson, T. Kunze, C. Flann,
N. Baill, P. Kirk, T. Bourgoin, R.E. DeWalt, W. Decock, A. de Wever, eds).
Digital resource at www.catalogueoflife.org/col. Species 2000: Naturalis,
Leiden, the Netherlands. ISSN 2405-8858.

Larsen, K., ed. (1996). Flora of Thailand Vol. 6(2). Diamond Printing, Bangkok.
Lewis, G.P., B. Schrire, B. Mackinder and M. Lock, eds. (2005). Legumes of

the World. Royal Botanic Gardens, Kew. UK.
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and

Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Mauric, A., R. Pooma and N. Pattharahirantricin. (2011). A bibliography of

taxonomic revisions for vascular plants in Thailand. The Forest Herbarium.
Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. Bangkok.

Quattrocchi, U. (2000). CRC World dictionary of plant names: Common Wu, Z.Y. and P.H. Raven, eds. (1996). Flora of China. Vol. 15 (Myrsinaceae
names, scientific names, eponyms, synonyms, and etymology. Vol. 1-5. through Loganiaceae). Science Press, Beijing, and Missouri Botanical
CRC Press. Garden Press, St. Louis.

________. (2012). CRC World dictionary of medicinal and poisonous plants ________. (1998). Flora of China. Vol. 18 (Scrophulariaceae through Gesneriaceae).
common names, scientific names, eponyms, synonyms, and etymology. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
Vol. 1-5. CRC Press.
________. (1999). Flora of China. Vol. 4 (Cycadaceae through Fagaceae). Science
Radanachaless T. and J.F. Maxwell. (1994). Weed of soybean fields in Thailand. Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
Multiple Cropping, Center Publications. Thailand.
________. (2000). Flora of China. Vol. 24 (Flagellariaceae through Marantaceae).
Santisuk, T. and H. Balslev, eds. (2014). Flora of Thailand Vol. 11(4). Prachachon Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
Co. Ltd., Bangkok.
________. (2001). Flora of China. Vol. 8 (Brassicaceae through Saxifragaceae).
________. (2014). Flora of Thailand Vol. 12(2). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (2015). Flora of Thailand Vol. 13(1). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
Santisuk, T. and K. Larsen, eds. (1997). Flora of Thailand Vol. 6(3). Diamond Wu, Z.Y., P.H. Raven and D.Y. Hong, eds. (2001). Flora of China. Vol. 6
(Caryophyllaceae through Lardizabalaceae). Science Press, Beijing, and
Printing, Bangkok. Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (1998). Flora of Thailand Vol. 6(4). Diamond Printing, Bangkok.
________. (1999). Flora of Thailand Vol. 7(1). Diamond Printing, Bangkok. ________. (2003). Flora of China. Vol. 5 (Ulmaceae through Basellaceae). Science
________. (2000). Flora of Thailand Vol. 7(2). Diamond Printing, Bangkok. Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (2001). Flora of Thailand Vol. 7(3). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
________. (2002). Flora of Thailand Vol. 7(4). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. ________. (2003). Flora of China. Vol. 9 (Pittosporaceae through Connaraceae).
________. (2005). Flora of Thailand Vol. 8(1). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis
________. (2005). Flora of Thailand Vol. 9(1). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
________. (2007). Flora of Thailand Vol. 8(2). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. ________. (2005). Flora of China. Vol. 14 (Apiaceae through Ericaceae). Science
________. (2008). Flora of Thailand Vol. 9(2). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (2008). Flora of Thailand Vol. 9(3). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
________. (2008). Flora of Thailand Vol. 9(4). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. ________. (2006). Flora of China. Vol. 22 (Poaceae). Science Press, Beijing,
________. (2009). Flora of Thailand Vol. 10(1). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (2010). Flora of Thailand Vol. 10(2). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
________. (2010). Flora of Thailand Vol. 10(3). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. ________. (2007). Flora of China. Vol. 12 (Hippocastanaceae through Theaceae).
________. (2011). Flora of Thailand Vol. 10(4). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (2011). Flora of Thailand Vol. 11(1). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
________. (2011). Flora of Thailand Vol. 12(1). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. ________. (2007). Flora of China. Vol. 13 (Clusiaceae through Araliaceae).
________. (2012). Flora of Thailand Vol. 11(2). Prachachon Co. Ltd., Bangkok. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (2013). Flora of Thailand Vol. 11(3). Prachachon Co. Ltd., Bangkok.
Smitinand, T. and K. Larsen, eds. (1970). Flora of Thailand Vol. 2(1). The ________. (2008). Flora of China. Vol. 7 (Menispermaceae through Capparaceae).
Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
ASRCT Press, Bangkok.
________. (1972). Flora of Thailand Vol. 2(2). The ASRCT Press, Bangkok. ________. (2008). Flora of China. Vol. 11 (Oxalidaceae through Aceraceae).
________. (1975). Flora of Thailand Vol. 2(3). The ASRCT Press, Bangkok. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (1979). Flora of Thailand Vol. 3(1). The TISTR Press, Bangkok.
________. (1981). Flora of Thailand Vol. 2(4). The TISTR Press, Bangkok. ________. (2009). Flora of China. Vol. 25 (Orchidaceae). Science Press, Beijing,
________. (1984). Flora of Thailand Vol. 4(1). The TISTR Press, Bangkok. and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (1985). Flora of Thailand Vol. 4(2). The TISTR Press, Bangkok.
________. (1985). Flora of Thailand Vol. 3(2). Phonphan Printing Company, ________. (2010). Flora of China. Vol. 10 (Fabaceae). Science Press, Beijing,
and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
Bangkok.
________. (1987). Flora of Thailand Vol. 5(1). The Chutima Press, Bangkok. ________. (2010). Flora of China. Vol. 23 (Acoraceae through Cyperaceae).
________. (1988). Flora of Thailand Vol. 3(3). The Chutima Press, Bangkok. Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (1989). Flora of Thailand Vol. 3(4). The Chutima Press, Bangkok.
________. (1990). Flora of Thailand Vol. 5(2). The Chutima Press, Bangkok. ________. (2011). Flora of China. Vol. 19 (Cucurbitaceae through Valerianaceae,
________. (1991). Flora of Thailand Vol. 5(3). The Chutima Press, Bangkok. with Annonaceae and Berberidaceae). Science Press, Beijing, and Missouri
________. (1992). Flora of Thailand Vol. 5(4). The Chutima Press, Bangkok. Botanical Garden Press, St. Louis.
________. (1993). Flora of Thailand Vol. 6(1). The Rumthai Press, Bangkok.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora: Plants cultivated ________. (2011). Flora of China Vol. 20-21 (Asteraceae). Science Press,
Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
in the Hawaiian Islands and other tropical places. Bishop Museum Press,
Honolulu, Hawai`i. ________. (2013). Flora of China. Vol. 2-3 (Lycopodiaceae through Polypodiaceae).
Stern, W.T., 4th edition. (1992). Botanical Latin. David & Charles, Newton Ab- Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
bot, Devon.
Stevens, P.F. (2001 onwards). Angiosperm Phylogeny Website. Version 12,
July 2012 [and more or less continuously updated since]. http://www.
mobot.org/MOBOT/research/APweb/
The International Plant Names Index (2012). Published on the Internet. http://
www.ipni.org/
The Plant List (2013). Version 1.1. Published on the Internet. http://www.
theplantlist.org/
Tropicos.org. (2016). Missouri Botanical Garden. http://www.tropicos.org
World Conservation Monitoring Centre of the United Nations Environment
Programme (UNEP-WCMC). (2004). Species data (unpublished, September
2004).
Wu, Z.Y. and P.H. Raven, eds. (1994). Flora of China. Vol. 17 (Verbenaceae
through Solanaceae). Science Press, Beijing, and Missouri Botanical
Garden Press, St. Louis.
________. (1995). Flora of China. Vol. 16 (Gentianaceae through Boraginaceae).
Science Press, Beijing, and Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.

สารานุกรมพชื

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กกเขาสก

กกกระบอก, สกุล มีถ่ินก�ำเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ เป็นไม้ประดับท่ัวไปในเขตร้อน
แยกเปน็ ชนดิ ย่อย subsp. ciliata T. Koyama ล�ำต้นเปน็ กระจุก ใบประดบั มี
Carex L. ปน้ื สีขาวน้อยกวา่ หนึง่ ในส่ีของความยาวใบประดบั
วงศ์ Cyperaceae
สกลุ Rhynchospora Vahl มีมากกว่า 250 ชนดิ พบท้ังในเขตรอ้ นและกึง่ เขตรอ้ น
กกลม้ ลกุ ลำ� ตน้ รปู สามเหลยี่ มตามขวาง ใบเรยี งสามดา้ น ออกทโ่ี คนหรอื ตามลำ� ตน้ โดยเฉพาะในอเมริกา ในไทยเปน็ พชื พืน้ เมอื ง 9 ชนดิ ชอ่ื สกลุ มาจากภาษากรกี
กาบหุ้มล�ำต้นแห้งเป็นเส้นใย ไม่มีลิ้นกาบ วงใบประดับคล้ายใบหรือเป็นเส้น “rhynchos” จะงอย และ “sporos” เมลด็ ตามลักษณะของเมลด็ ทีม่ โี คนเกสรเพศเมยี
ชอ่ ดอกแยกแขนงแบบชอ่ กระจะ หรอื ชอ่ เชงิ ลด บางครง้ั ลดรปู มชี อ่ เดยี ว กาบชอ่ ดอก ติดทน คล้ายเป็นจะงอย
เรยี งเวียน แตล่ ะกาบมดี อกเดยี ว ดอกมเี พศเดยี ว เกสรเพศผู้ 3 อนั ดอกเพศเมยี เอกสารอา้ งอิง
มีใบประดบั ยอ่ ยคลา้ ยรูปคนโทหุ้มยกเวน้ ชว่ งปลาย มกั มจี ะงอย ไมม่ กี ลีบรวม Simpson, D.A. (1993). Rhynchospora nervosa: Cyperaceae. Curtis’s Botanical
ก้านเกสรเพศเมียต่อเนอื่ งจากรังไข่ ยอดเกสร 2-3 อนั ผลแหง้ เมลด็ ล่อน ผิวมกั มี
ปมุ่ กระจาย Magazine 10: 117-121.

สกุล Carex อยภู่ ายใตเ้ ผา่ Cariceae มมี ากกวา่ 2000 ชนดิ นบั ว่าเปน็ สกลุ กกแก้ว: ใบประดับ 4-5 อนั ปลายเรยี วแหลม พับงอกลบั สว่ นโคนสขี าวมากกว่าหน่งึ ในส่ขี องความยาว ช่อดอกแบบ
ขนาดใหญแ่ ละมมี ากทส่ี ดุ ของวงศ์ พบกระจายทั่วไปทงั้ เขตรอ้ นและเขตอบอุ่น ช่อกระจกุ แน่น ออกเดยี่ ว ๆ (ภาพ: cultivated - RP)
ในไทยมี 40 ชนิด ชื่อสกลุ เป็นภาษาละตนิ ที่ใชเ้ รยี กพืชจำ�พวกกกหรือคล้ายกก
กกเขาสก
กกกระบอก
Khaosokia caricoides D. A. Simpson, Chayam. & J. Parn.
Carex speciosa Kunth วงศ์ Cyperaceae
กกแตกกอหนาแนน่ ลำ� ตน้ คลา้ ยเป็นปกี แคบ ๆ สงู ไดถ้ งึ 45 ซม. ใบรปู แถบ
กกแตกกอหนาแน่น ตงั้ ตรงหรอื หอ้ ยลง แยกเพศตา่ งต้น ใบรูปแถบ ยาวไดถ้ งึ
กวา้ ง 1.5-6 มม. ยาวได้ถึง 60 ซม. ปลายเรียวแหลม แบนหรอื พบั จีบ กาบใบยาว 50 ซม. กาบใบยาว 8-9 ซม. ลน้ิ ใบบาง ชอ่ ดอกเพศผแู้ ละเพศเมยี คลา้ ยกนั แยกแขนง
ไดถ้ ึง 8 ซม. วงใบประดับ 1-2 วง ยาวได้ถงึ 20 ซม. ช่อดอกแบบเชงิ ลดออก ส้ัน ๆ ช่อยอ่ ยแคบ ยาว 3.5-7 ซม. มี 2-4 ขอ้ แต่ละข้อมีกาบประดบั คล้ายใบ ช่อย่อย
เดยี่ ว ๆ หรอื มี 2-3 ช่อ เรียงห่าง ๆ รปู ทรงกระบอก ยาว 0.7-3.5 ซม. ชอ่ ดอกทโ่ี คน รูปแถบ มี 3-11 ชอ่ แกนชอ่ ยาว 2-7 ซม. ชอ่ ยาว 2-2.7 ซม. กาบดา้ นล่างเปน็ หมัน
กา้ นช่อสน้ั ดอกเพศผู้อยชู่ ว่ งปลาย ส้ันกวา่ ช่วงดอกเพศเมีย กาบดอกเพศเมยี มี 7-9 กาบ รูปไข่ ยาว 3.5-4 มม. ขอบบาง วงกลบี รวมเปน็ ขนแขง็ 7 อัน ใน
สเี ขยี ว รปู ไข่ ยาว 2-3 มม. ขอบบาง เสน้ กลางกาบ 1-3 เสน้ ใบประดบั ยอ่ ยคลา้ ย ดอกเพศเมียขนาดสั้นกวา่ ในดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 3 อนั เกสรเพศเมีย 3 อนั
รปู คนโทมีสามมุม ยาวกวา่ กาบ รปู รี ยาว 2.5-3.5 มม. ปลายเปน็ จะงอย จกั 2 พู ผลเปลือกแข็งเมล็ดลอ่ น ผิวเรียบ
ยอดเกสรเพศเมยี 3 อนั ผลมีสามมุม รูปรี ยาว 3-3.5 มม. มกี า้ นสัน้ ๆ
พืชถ่นิ เดียวของไทย พบเฉพาะท่ีเขาสก สรุ าษฎรธ์ านี ขึ้นตามหน้าผาหินปนู
พบท่อี นิ เดีย เนปาล ภฏู าน พมา่ จีนตอนใต้ ภมู ภิ าคอนิ โดจีน สุมาตรา และชวา ความสงู ประมาณ 100 เมตร
ข้นึ ตามท่โี ลง่ ชายป่าดบิ เขา ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร มคี วามผนั แปรสงู
แยกเปน็ หลายชนดิ ยอ่ ยตามความกวา้ งของใบ และขนาดของกาบในดอกเพศเมยี สกุล Khaosokia D. A. Simpson, Chayam. & J. Parn. เป็นกกสกลุ พบใหม่
ยังไมส่ ามารถจำ�แนกใหอ้ ยู่ภายใตเ้ ผา่ Cariceae, Dulichieae หรือ Scirpeae
เอกสารอ้างองิ มีชนดิ เดยี ว ช่ือสกุลต้ังขึ้นตามสถานทเ่ี ก็บตัวอยา่ งพรรณไม้ต้นแบบ ค�ำ ระบุชนิด
Dai, L.K., S.Y. Liang, S. Zhang, Y. Tang, T. Koyama and G.C. Tucker. (2010). หมายถึงคลา้ ยกับกกในสกลุ Carex
Cyperaceae (Carex) In Flora of China Vol. 23: 331. เอกสารอา้ งอิง
Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol. Simpson, D.A., A.M. Muasya, K. Chayamarit, J. Parnell, S. Suddee, B. Wilde,
6(4): 449-484.
M. Jones, J. Bruhl and R. Pooma. (2005). Khaosokia caricoides, a new
กกกระบอก: ลำ� ต้นเปน็ เหลย่ี ม ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชงิ ลด ออกเด่ียว ๆ รูปทรงกระบอก ดอกเพศผู้อยชู่ ่วงปลาย ชอ่ ทีโ่ คน genus and species of Cyperaceae in Thailand. Botanical Journal of the
กา้ นช่อสน้ั กาบเพศเมียรูปไข่มีสามมมุ (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชยี งใหม่ - SSi) Linnean Society 149: 357-364.

กกแก้ว กกเขาสก: ถ่นิ ทอี่ ยู่ตามหนา้ ผาหนิ ปูน แตกกอหนาแนน่ หอ้ ยลง กาบประดับคล้ายใบ ชอ่ ดอกยอ่ ยเพศผู้รปู ทรงกระบอก
แคบ ๆ (ภาพ: เขาสก สุราษฎร์ธานี - RP)
Rhynchospora nervosa (Vahl) Boeckeler
วงศ์ Cyperaceae

ชอ่ื พอ้ ง Dichromena nervosa Vahl

กกมเี หง้า ลำ� ตน้ สูงไดถ้ งึ 70 ซม. โคนหนาคล้ายเปน็ หัว ใบรปู แถบ ยาวไดถ้ ึง
50 ซม. ปลายเรยี วแหลม แบนหรือเปน็ ร่อง บางครง้ั มีขนหยาบหรือขนครุย กาบใบ
เป็นหลอด ยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดบั 4-5 อนั รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวไดถ้ ึง
22 ซม. ปลายเรยี วแหลม พับงอ สว่ นโคนดา้ นบนสีขาวมากกวา่ หน่งึ ในสี่ของ
ความยาว ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกแนน่ ออกเด่ยี ว ๆ มี 4-16 ชอ่ ยอ่ ย ช่อยอ่ ยรูปไข่
แกมรปู ขอบขนาน ยาว 0.5-1 ซม. กาบรปู ไขก่ วา้ ง ยาว 3-5 มม. สขี าวหรอื นำ้� ตาล
เกสรเพศผู้ 2-3 อัน กา้ นชูอบั เรณยู าวไดถ้ ึง 4.5 มม. ยอดเกสรเพศเมีย 2 อัน
ยาว 1.5-3 มม. ผลแหง้ เมล็ดลอ่ น เวา้ สองด้าน รปู ไข่กวา้ ง ยาว 1-1.5 มม. โคน
ก้านเกสรเพศเมยี รูปสามเหลี่ยมโค้ง ผวิ มีรอยยน่ ตามขวาง

1

กกปากนก สารานุกรมพืชในประเทศไทย

กกปากนก กกรงั กา

Carex oedorrhampha Nelmes Cyperus involucratus Rottb.
วงศ์ Cyperaceae กกมเี หงา้ ลำ� ตน้ สน้ั แตกกอ รปู สามเหลยี่ มหรอื ตรงชว่ งโคน ใบลดรปู เปน็ กาบ

กกแตกกอแนน่ ใบสว่ นมากออกทโ่ี คน กวา้ ง 4-8 มม. ยาวไดถ้ งึ 1.2 ม. ปลาย กาบใบยาว 10-20 ซม. ปลายตดั เบยี้ ว กา้ นชอ่ ยาว 0.5-1.7 ม. มขี นสาก วงใบประดบั
เรียวแหลม พับจบี กาบใบยาว 5-17 ซม. สีน�้ำตาลแดงหรอื ม่วง วงใบประดบั ล่าง มี 15-25 อัน ยาวเทา่ ๆ กนั รปู แถบ ยาว 20-50 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อแยกแขนง
คลา้ ยใบ ยาว 30-50 ซม. ชอ่ ดอกยาว 18-25 ซม. ชอ่ ย่อยแบบชอ่ เชงิ ลด มี 4-8 ชอ่ ออกท่ียอด แผ่กว้าง 15-30 ซม. ช่อแขนงย่อยออกเป็นกระจุกคล้ายซ่รี ม่ ยาว
ช่อช่วงปลายเพศผู้ ยาว 4-8 ซม. ช่อเพศเมียออกด้านข้าง ยาว 6-12 ซม. กาบช่อ 7-10 ซม. ชอ่ แขนงรองยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกย่อยเปน็ กระจุก 3-10 ช่อ รปู รีหรอื
รปู ใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว 1.8-3 มม. ปลายมนหรอื ตดั มีหนามแขง็ ยาว 1-2 มม. รปู ขอบขนาน ยาว 3-9 มม. แบน ๆ กาบรูปไข่ สีเขยี วออ่ นหรอื มีแตม้ สนี ำ�้ ตาล
เส้นกลีบเป็นสัน 3 เส้น ใบประดับย่อยรูปคนโท ยาว 3-3.8 มม. จะงอยยาว ยาวประมาณ 2 มม. ปลายแหลม แกนกลางเปน็ สัน ดอกจ�ำนวนมาก เกสรเพศผู้
ประมาณ 1 มม. ปลายตัด ผลรูปรีแคบ รปู สามเหลยี่ มตามขวาง ยาวประมาณ 2 มม. 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อนั ผลรูปไข่ เป็นสามเหลยี่ ม ยาวประมาณ 0.8 มม.
(ดูขอ้ มูลเพมิ่ เติมที่ กกกระบอก, สกลุ ) ผิวมตี ุ่มเล็ก ๆ กระจาย

พบทอ่ี นิ เดยี ภฏู าน จนี ตอนใต้ เวยี ดนาม สมุ าตรา ในไทยพบทด่ี อยอนิ ทนนท์ มีถ่นิ กำ� เนดิ ในแอฟริกาตะวันออก และคาบสมุทรอาหรับ เปน็ ไม้นำ�้ ประดับ
และดอยเชียงดาว จังหวดั เชยี งใหม่ ข้ึนตามปา่ ดิบเขา ความสงู 1800-2500 เมตร ทวั่ ไปในเขตร้อนหรือเปน็ วัชพชื

เอกสารอา้ งองิ กกสานเสื่อ
Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.
6(4): 477. Cyperus corymbosus Rottb.
กกมีเหง้าทอดเลอ้ื ย ลำ� ตน้ ออกตามเหงา้ รปู สามเหลย่ี มมน สงู 0.9-2 ม.
กกปากนก: ใบออกทีโ่ คน ช่อดอกแบบชอ่ เชิงลด ช่วงปลายเป็นชอ่ เพศผู้ (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - SSi)
ใบมักลดรูปเปน็ กาบ หรือรปู แถบ ยาวได้ถึง 6 ซม. วงใบประดบั 2-4 อัน ยาว
กกระบาด ไม่เทา่ กนั รูปใบหอก ยาวไดถ้ งึ 3.5 ซม. ชอ่ ดอกออกเด่ยี ว ๆ หรือแยกแขนง ยาว
10-17 ซม. กวา้ ง 4-9 ซม. ชอ่ แยกแขนง 6-15 ชอ่ ยาวไดถ้ งึ 11 ซม. ช่อแขนงยอ่ ย
Cyperus michelianus (L.) Link. subsp. pygmaeus (Rottb.) Asch. ส้นั หรือช่อดอกย่อยเปน็ กระจกุ ไรก้ า้ น มี 5-15 ช่อกระจุกย่อย รูปแถบ ยาว 0.5-1.8 ซม.
& Graebn. แบนเลก็ น้อย แกนเปน็ ปกี กาบมมี ากกวา่ 9 อัน สีน�้ำตาล รปู ไข่ ยาวประมาณ 2 มม.
ปลายมน แกนกลางเปน็ สนั เกสรเพศผู้ 3 อนั ยอดเกสรเพศเมยี 3 อนั ผลรปู ทรงกระบอก
ชอื่ พ้อง Cyperus pygmaeus Rottb. เปน็ สามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. ผวิ มตี มุ่

กกล้มลุก ล�ำตน้ รูปสามเหลยี่ ม แตกกอหนาแน่น สงู 5-25 ซม. ใบรปู แถบ ยาวได้ถงึ พบทอ่ี เมริกาเขตร้อน แอฟรกิ า มาดากัสการ์ อนิ เดยี ศรีลงั กา ภมู ภิ าคอนิ โดจนี
20 ซม. กวา้ ง 1-3 มม. ปลายแหลม แบนหรือเป็นรอ่ งตามยาว กาบใบยาวได้ถึง 5 ซม. และออสเตรเลยี ตอนบน ขนึ้ ตามที่ช้ืนแฉะ ความสงู ระดบั ต�ำ่ ๆ ในไทยปลูกเพือ่ ใช้
วงใบประดบั มี 2-7 อนั ยาวไมเ่ ทา่ กนั ยาว 4-15 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แนน่ ทอเสือ่ คุณภาพสงู และสานตะกรา้
ชอ่ ยอ่ ยมหี นง่ึ หรอื หลายชอ่ เรยี งแนน่ รปู ไข่ ยาว 0.7–1.5 ซม. ชอ่ ดอกยอ่ ยจำ� นวนมาก
ออกเปน็ กระจุก รูปไขห่ รอื แกมรปู ใบหอก ยาว 3-5 มม. แบน บิดเวียน กาบชอ่ เอกสารอ้างองิ
รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2 มม. ปลายแหลมหรือมีต่ิงแหลม โค้งเล็กน้อย Dai, L.K., G.C. Tucker and D.A. Simpson. (2010). Cyperaceae (Cyperus) In
แห้งสีน้�ำตาลแดงกึ่งโปร่งแสง กลางกลีบเป็นสันมีหนามละเอียด เกสรเพศผู้ Flora of China Vol. 23: 219, 228.
1-2 อนั ยอดเกสรเพศเมยี 2-3 อนั ผลรูปขอบขนานหรือแกมรปู ไข่ เว้าสองด้าน Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.
มสี ามมุม แบน ยาวประมาณ 1 มม. โปรง่ แสง 6(4): 345-387.

พบแถบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น แอฟรกิ า เอเชยี และออสเตรเลีย ขึ้นตามท่ีชน้ื แฉะ กกระบาด: ใบประดับ ยาวไมเ่ ทา่ กัน ช่อดอกแบบชอ่ กระจกุ แน่น ชอ่ ดอกยอ่ ยเป็นกระจกุ (ภาพ: มกุ ดาหาร - PK)
และทโี่ ลง่ ความสูงถงึ ประมาณ 800 เมตร ส่วนชนิดยอ่ ย subsp. michelianus
กาบเรยี งเวยี น พบทางยุโรปตอนใต้ อนิ เดียตอนบน และจีน กกรงั กา: ใบลดรปู เปน็ กาบ สว่ นที่โผล่พน้ ดนิ ขนึ้ มาเป็นสว่ นของกา้ นช่อดอกคลา้ ยลำ� ตน้ และใบ ใบประดับคลา้ ยใบ
มี 15-25 อัน ยาวเทา่ ๆ กนั (ภาพ: cultivated - MP)
กกรังกา, สกลุ
กกสานเสื่อ: ลำ� ตน้ ออกตามเหง้า รูปสามเหลีย่ มมน ช่อดอกออกเดยี่ ว ๆ หรือแยกแขนง ใบประดับ 2-4 อัน
Cyperus L. ยาวไม่เทา่ กนั (ภาพ: ปราจนี บรุ ี - PT)
วงศ์ Cyperaceae

กกลม้ ลกุ มเี หงา้ หรอื ไหล ลำ� ตน้ ตรงหรอื รปู สามเหลย่ี ม ใบทโ่ี คนเรยี งสามดา้ น
ไมม่ ีล้นิ กาบ วงใบประดับคลา้ ยใบตดิ ที่โคนชอ่ ดอก ช่อดอกออกทยี่ อด ออกเด่ยี ว ๆ
หรือแยกแขนง ช่อย่อยแบบซี่ร่ม คล้ายน้ิวมือ ช่อเชิงลด หรือช่อกระจุกแน่น
กาบชอ่ ดอกเรียงสองแถว กาบท่โี คนไมม่ ีดอก ดอกสมบูรณเ์ พศ ไม่มกี ลบี รวม
หรอื ลดรปู เกสรเพศผสู้ ว่ นมากมี 3 อนั กา้ นเกสรเพศเมยี ตอ่ เนอื่ งจากรงั ไข่ ยอดเกสร
สว่ นมากมี 3 อัน ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ นรูปสามเหลย่ี ม

สกุล Cyperus อย่ภู ายใตเ้ ผา่ Cypereae มมี ากกว่า 500 ชนิด ส่วนมากพบใน
เขตร้อน ในไทยมี 47 ชนดิ ช่อื สกลุ มาจากภาษากรกี “kyperion” หรอื “kyperos”
เปน็ ชอื่ ท่ใี ชเ้ รียกพชื พวกกก

2

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กง

กกสามเหลยี่ ม กกอยี ปิ ต:์ ชอ่ แยกแขนงจ�ำนวนมาก ยาวเทา่ ๆ กัน สายพันธ์แุ คระสูงไมเ่ กิน 1 เมตร (ภาพ: cultivated - RP)

Actinoscirpus grossus (L. f.) Goetgh. & D. A. Simpson กง, สกลุ
วงศ์ Cyperaceae
Hanguana Blume
ชื่อพอ้ ง Scirpus grossus L. f. วงศ์ Hanguanaceae

กกมไี หล ปลายไหลมหี วั ขนาดเลก็ ลำ� ตน้ และกาบคลา้ ยฟองนำ้� มสี ามมมุ แหลม ไมล้ ้มลุก มักแตกกอหรอื มไี หลลอยน้ำ� ได้ แยกเพศต่างตน้ เสน้ แขนงใบเรียง
สงู 1-2 ม. โคนแผก่ ว้าง ใบออกจากโคน รปู แถบ ยาว 0.5-1.7 ม. กาบใบเปิด ยาว ขนานกนั มเี สน้ แขนงใบยอ่ ยตดั ขวางจำ� นวนมาก ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แยกแขนง
ได้ถงึ 30 ซม. ไมม่ ลี นิ้ กาบ วงใบประดับคลา้ ยใบ มี 3-4 อนั ยาวได้ถงึ 50 ซม. ดอกไร้กา้ น กลีบรวม 6 กลบี เรยี ง 2 วง เกสรเพศผู้ 6 อนั ติดทีโ่ คนกลีบดอก
ชอ่ ดอกออกเด่ยี ว ๆ หรอื แยกแขนง กว้างยาว 6-15 ซม. ชอ่ แยกแขนงยาวได้ถงึ 7 ซม. มเี กสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั ในดอกเพศเมยี เกสรเพศเมยี ไรก้ า้ น ยอดเกสรแยกเปน็ 3 พู
ช่อแขนงยอ่ ยรองยาว 1-4 ซม. มขี นสาก ชอ่ ดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ รูปรี ยาว 0.5-1 ซม. ติดทน ผลคลา้ ยผนังชน้ั ในแขง็ มี 1-3 เมล็ด
สีน้ำ� ตาลแดง กาบสนี �้ำตาล รูปไขค่ ล้ายเรือ ยาว 2.5-3 มม. ปลายมน ขอบมีขนครุย
แกนกลางเป็นสัน ดอกสมบรู ณเ์ พศ กลีบรวมคล้ายเสน้ ด้าย มี 5-6 อนั เกสรเพศผู้ สกลุ Hanguana เดิมอยูภ่ ายใตว้ งศ์ Flagellariaceae เป็นสกลุ เดียวของวงศ์ มี
3 อัน ก้านเกสรเพศเมียต่อเนอ่ื งจากรังไข่ ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลรปู ไขก่ วา้ ง มากกวา่ 15 ชนดิ พบท่ีศรลี ังกา ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลยี ในไทยมี 2 ชนดิ
คล้ายสามเหลีย่ ม ยาว 1-2 มม. และอาจมชี นิดใหมเ่ พิ่มหลายชนดิ (pers. comm., L.S. Wijedasa & A. Matti)
โดยเฉพาะตามพืน้ ทลี่ าดชนั ในป่าดบิ ชนื้ ทางภาคใต้ ชอ่ื สกุลเป็นภาษาอินโดนีเซยี
พบท่ัวไปในเอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ขึ้นหนาแน่น ที่เรยี กกงชนดิ H. kassintu Blume
ตามแหลง่ น�้ำ ส่วนมากพบในระดับความสูงต�่ำ ๆ เป็นทอ่ี าศัยของหนอนกอแถบ
ลายสีมว่ ง (dark-headed stem borer) ศัตรูท่ีส�ำคัญของขา้ ว เป็นกกขนาดใหญ่ กง
ลำ� ตน้ ใชท้ อเสอ่ื และสานตะกรา้ ทางภาคอสี านเรยี ก ผอื หรอื กกปรอื นา่ จะมาจาก
ชอ่ื อำ� เภอบ้านผือ จงั หวดั อุดรธานี Hanguana malayana (Jack) Merr.

สกลุ Actinoscirpus (Ohwi) Haines & Lye อยภู่ ายใต้เผ่า Scirpeae มีชนิดเดียว ชื่อพ​ อ ง Veratrum malayanum Jack
ชื่อสกลุ มาจากภาษากรีก “actino” รศั มี และสกลุ Scirpus
เอกสารอ้างองิ ไมล้ ้มลุก สูงไดถ้ ึง 3 ม. มไี หลลอยน้�ำได้ ยาวไดถ้ งึ 2.5 ม. ใบรูปใบหอก ส่วนมาก
Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol. ยาว 20-200 ซม. แผน่ ใบหนา มีกาบหุ้มล�ำตน้ ใบชว่ งล่างก้านยาวกว่าของใบช่วง
ปลายตน้ ชอ่ ดอกยาวได้ถึง 120 ซม. ดอกออกเดยี่ ว ๆ หรือเปน็ กระจุก สีเหลอื ง
6(4): 274-275. อมเขยี วหรอื ขาว ดา้ นในมจี ดุ สแี ดง ดอกเพศผกู้ ลบี รวมวงนอกยาวประมาณ 1 มม.
วงในยาวกวา่ เลก็ นอ้ ย เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 มม. ดอกเพศเมยี กลบี วงนอก
กกสามเหลยี่ ม: กกขนาดใหญ่ โคนต้นแผ่กว้าง ช่อดอกมกั แยกแขนง ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ สนี ้ำ� ตาลแดง (ภาพ: ยาวประมาณ 2 มม. วงในยาวประมาณ 3 มม. ยอดเกสรเพศเมยี แบน ติดทนท่ี
ศรสี ะเกษ - PT) ปลายผล ผลรปู รี เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 5 มม. สุกสแี ดงอมมว่ ง

กกอยี ิปต์ พบทศ่ี รลี งั กา เวียดนาม ภมู ิภาคมาเลเซีย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ออสเตรเลยี และภาคใต้
ของไทย ขน้ึ ในน�้ำตามล�ำห้วย ป่าพรุ และที่ช้นื แฉะ ความสูงระดบั ตำ่� ๆ
Cyperus papyrus L.
วงศ์ Cyperaceae กง

กกมเี หง้า ลำ� ตน้ รปู สามเหลย่ี ม สูง 1-5 ม. ใบลดรปู เปน็ กาบ วงใบประดบั มี Hanguana thailandica Wijedasa, Chamchumroon & P. C. Boyce
ได้ถงึ 12 อนั ยาวไมเ่ ทา่ กนั อันยาว ยาว 5-10 ซม. ช่อดอกออกเด่ยี ว ๆ หรอื ไม้ล้มลกุ ไมม่ ีไหล สงู ไดถ้ ึง 1 ม. ใบรปู หอก ยาวไดถ้ งึ 90 ซม. แผน่ ใบด้านลา่ ง
แยกแขนงกวา้ ง เส้นผ่านศูนยก์ ลาง 20-35 ซม. ชอ่ แยกแขนงจ�ำนวนมาก ยาว
เท่า ๆ กัน ยาว 10-30 ซม. ชอ่ แขนงยอ่ ยรองยาวประมาณ 2 ซม. ช่อกระจกุ ไร้ มีเกลด็ บาง ๆ คลา้ ยขน กา้ นใบยาวไดถ้ ึง 60 ซม. ใบประดับช่วงล่างคล้ายใบ
ก้าน ช่อเชิงลดรูปทรงกระบอก ยาว 1-3 ซม. ชอ่ ย่อยรปู แถบ ยาว 0.6-1.2 ซม. โคนโอบล�ำต้น ชอ่ ดอกยาวเท่า ๆ ใบ แยกแขนงแนวระนาบ แกนชอ่ มเี กลด็ คล้าย
แกนมีปกี แคบ ๆ กาบสนี ำ�้ ตาล มี 5-17 อัน รูปรีหรอื รปู ไข่ ยาว 2-2.5 มม. ปลายมน ขนหนาแน่น ดอกสเี ขียวอมเหลือง ขนาดเลก็ ยอดเกสรเพศเมยี สีด�ำ ตดิ เบย้ี ว
แกนกลางเปน็ สันสเี ขียว เกสรเพศผู้ 3 อัน ยอดเกสรเพศเมยี 3 อัน ผลรปู ไข่แกม พกู ว้าง 0.5 มม. ยาว 1.5 มม. ไม่แนบติดวงเกสรเพศเมีย ชอ่ ผลต้ังตรง ผลรปู กลม
สามเหล่ยี ม ยาวประมาณ 1 มม. ผวิ เรยี บ (ดูข้อมูลเพมิ่ เตมิ ท่ี กกรงั กา, สกุล) เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางประมาณ 5 มม. สกุ สีดำ�

มีถ่นิ กำ� เนดิ ในประเทศเแถบแอฟรกิ าตะวนั ออก เปน็ ไม้น้�ำประดบั ท่วั ไปในเขต พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทที่ งุ่ คา่ ย จงั หวดั ตรงั ขน้ึ ใตร้ ม่ เงาในปา่ ดบิ ชนื้ ระดบั ตำ�่ ๆ
รอ้ น โดยเฉพาะสายพนั ธแ์ุ คระ C. papyrus ‘Nanus’ ซง่ึ สว่ นมากสงู ไมเ่ กนิ 1 เมตร ทม่ี ีนำ้� ขงั หรือปา่ พรนุ ้�ำจืด
ชาวอียิปต์ในสมยั โบราณน�ำมาท�ำเปน็ กระดาษเรยี กว่า papyrus paper
เอกสารอา้ งองิ
เอกสารอา้ งองิ Larsen, K. (1972). Hanguanaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 164-166.
Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol. Wijedasa, L.S., A. Matti, V. Chamchumroom, P. Puudjaa, T. Jumruschay and
6(4): 348-349. P.C. Boyce. (in press). Hanguana thailandica (Hanguanaceae): a new forest
species from Thailand. Phytotaxa.

3

กรดน�้ำ สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

กรรณกิ าร์

Nyctanthes arbor-tristis L.
วงศ์ Oleaceae

ไมพ้ มุ่ หรือไมต้ ้น สงู ไมเ่ กิน 10 ม. กิ่งเป็นเหลยี่ ม ใบเรียงตรงขา้ ม รูปรี ยาว
6-12 ซม. แผน่ ใบมขี นขาว กา้ นใบยาวไดถ้ งึ 1 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แยกสาม
แตล่ ะกระจุกมี 3-7 ดอก ไร้กา้ น กลบี เลี้ยงรปู ระฆงั ขอบเรยี บ ดอกรูปดอกเขม็
สีขาว หลอดกลีบดอกสสี ม้ แดง ยาวประมาณ 1 ซม. มี 4-8 กลบี รูปขอบขนาน
ยาว 5-7 มม. บิดเวยี นด้านขวา ปลายจักเปน็ พู เกสรเพศผู้ 2 อัน ก้านชอู ับเรณู
สนั้ มาก ตดิ เหนอื กลบี ดอก รงั ไข่ 2 ชอ่ ง กา้ นเกสรเพศเมยี ทรงกระบอก ปลายแยก
2 พู ผลแห้งแตก คลา้ ยรปู หวั ใจ แบน ๆ เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 2 ซม.
แตล่ ะซีกมีเมล็ดเดียว

ถ่ินก�ำเนิดในอินเดยี สมุ าตรา และชวา เปน็ ไม้ประดับทวั่ ไปในเขตร้อน ดอกมี
กลิ่นหอมแรงตอนกลางคืน ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ดอก
ให้นำ้� มันหอมระเหย ดอกแห้งใช้ย้อมผา้ ใหส้ เี หลอื ง

สกุล Nyctanthes L. อยภู่ ายใต้วงศ์ยอ่ ย Myxopyreae มี 2 ชนิด อกี ชนดิ คอื
N. aculeata Craib พืชถ่นิ เดียวของไทย อนึ่ง ตน้ กรรณิการใ์ นท่นี อ้ี ินเดียเรียกว่า
Parijat ที่กลา่ วถึงในศาสนาฮินดใู นหลายเรอื่ ง และยังได้ช่อื ว่าเป็นตน้ ไม้แหง่
ความเศรา้ ตามค�ำ ระบุชนดิ “arbor-tristis” และอาจเปน็ ไมใ้ นพุทธประวตั ิ
ปาริชาต ที่มีอ้างองิ บ้างว่าหมายถึง ทองหลางลาย Erythrina variegata L.

เอกสารอ้างองิ
Moldenke, H.N. and A.L. Moldenke (1983). Nyctanthaceae. A revised handbook

to the flora of Ceylon Vol. 4: 178-181.
Rani, C., S. Chawla, M. Mangal, A.K. Mangal, S. Kajla and A.K. Dhawan.

(2012). Nyctanthes arbo-tristis Linn. (Night Jasmine): A sacred ornamental
plant with immense medicinal potentials. Indian Journal of Traditional
Knowledge 11(3): 427-435.

กง: H. malayana ถนิ่ ทอ่ี ยูต่ ามล�ำนำ้� ต้นสงู ใหญ่ (ภาพบน: บางนรา นราธิวาส - RP); กง: H. thailandica ผลสุก กรรณิการ์: หลอดกลบี ดอกสีสม้ แดง ยาวประมาณ 1 ซม. มี 4-8 กลีบ ผลคลา้ ยรปู หัวใจ แบน ๆ (ภาพ: cultivated - RP)
สีดำ� (ภาพกลาง: ทงุ่ คา่ ย ตรัง - SSi); กง: Hanguana sp. (ภาพล่าง: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi)
กรวยป่า
กรดนำ้�
Casearia grewiifolia Vent.
Scoparia dulcis L. วงศ์ Salicaceae
วงศ์ Plantaginaceae
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 20 ม. มขี นสนั้ นมุ่ ตามกงิ่ แผน่ ใบดา้ นลา่ ง กา้ นใบ กลบี เลย้ี ง
ไมล้ ม้ ลุกหรอื ไม้พุ่ม สงู ไดถ้ งึ 1 ม. มีขนตามข้อ ใบเรยี งตรงข้ามหรือรอบข้อ และรังไข่ ใบเรียงสลับระนาบเดียว รปู ขอบขนานหรือแกมรปู ไข่ ยาว 8-16 ซม.
รูปไข่หรอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว 0.5-3.5 ซม. โคนเรียวจรดกา้ นใบ ขอบจกั ซ่ีฟัน โคนเบ้ียว ขอบจกั ซฟี่ ัน กา้ นใบยาว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดยี่ ว ๆ หรอื
แผน่ ใบดา้ นลา่ งมตี อ่ มโปรง่ แสง กา้ นใบยาว 0.5-1 ซม. ดอกออกเปน็ กระจกุ 1-4 ดอก เป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็กมีหลายใบ ก้านดอกยาว 5-8 มม.
ตามข้อ ก้านดอกยาวไดถ้ งึ 1 ซม. กลีบเลย้ี ง 4 กลีบ แยกจรดโคน รปู ขอบขนาน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรยี งซ้อนเหลอื่ ม ยาว 2-3 มม. ไม่มกี ลบี ดอก เกสรเพศผู้ 8-10
แกมรปู ไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. ขยายในผล ขอบมขี นครยุ ดอกสขี าว โคนสมี ว่ งออ่ น อนั ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจกั เป็นพู รังไข่มชี ่องเดียว พลาเซนตา
มี 4 กลีบ เรียงซอ้ นเหลื่อม รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 3 มม. ปากหลอดกลีบ ตามแนวตะเขบ็ 2-4 แนว กา้ นเกสรเพศเมยี สนั้ ผลแห้งแตก รปู รี ยาว 2.5-3.5 ซม.
มขี นหนาแน่น กลบี บนขนาดใหญก่ วา่ กลบี อืน่ เล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อนั ยาวเทา่ ๆ มี 3 ซกี เมลด็ มเี ยอ่ื หุ้มสสี ้มแดง จกั ชายครยุ
กลบี ดอก รังไขม่ ี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเทา่ ๆ เกสรเพศผู้ ผลแห้งแตกเปน็ 4 ซกี
เสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 2-3 มม. เมลด็ ขนาดเลก็ จำ� นวนมาก พบทพ่ี มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ เบญจพรรณ
ป่าเตง็ รงั ป่าดิบชน้ื หรือเขาหนิ ปนู ความสงู ถึงประมาณ 1000 เมตร
พบทว่ั ไปในเขตรอ้ น เปน็ วชั พชื ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบในตำ� รบั สมนุ ไพรหลายขนาน
มสี รรพคณุ แกไ้ ขม้ าลาเรีย และตา้ นเซลล์มะเรง็ สกุล Casearia Jacq. เดิมอยภู่ ายใต้วงศ์ Flacourtiaceae มปี ระมาณ 180 ชนดิ
ในไทยมี 11 ชนดิ ช่อื สกุลตั้งตามหมอสอนศาสนาชาวดัตซ์ Johannes Casearius
สกุล Scoparia L. เดมิ อยภู่ ายใตว้ งศ์ Scrophulariaceae มปี ระมาณ 20 ชนดิ (1642-1678)
ส่วนมากพบในอเมริกาเขตร้อน ชอ่ื สกลุ เป็นภาษาละตนิ หมายถงึ คล้ายไม้กวาด
มาจากคำ�วา่ “scopa” ก่ิงหรอื ไม้กวาด เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง Harwood, B. (2015). Salicaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 20-27.
Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 217-218. Harwood, B. and N. Tathana. (2011). Two new Casearia (Salicaceae) species
from Thailand, and notes on Casearia grewiifolia var. gelonioides. Thai
กรดน�้ำ: ใบเรียงรอบขอ้ ขอบจักซี่ฟัน ดอกออกเป็นกระจุก 1-4 ดอกตามขอ้ ปากหลอดกลีบมีขนหนาแนน่ (ภาพ: Forest Bulletin (Botany) 39: 23-27.
ตะรเุ ตา สตลู - PK)

4

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย กระจดู

สกุล Pegia Colebr. อย่ภู ายใต้วงศย์ ่อย Spondioideae มี 2 ชนดิ พบทีอ่ ินเดยี
จนี ตอนใต้ ภูมิภาคอนิ โดจนี และมาเลเซีย ในไทยมีชนิดเดียว แตใ่ น Flora of
China ระบุวา่ มีชนิด P. sarmentosa (Lecomte) Hand.-Mazz. ด้วย ช่ือสกุลมา
จากภาษากรกี หรอื ละตนิ “pege” แหล่งกำ�เนดิ หรือลำ�ธาร
เอกสารอ้างอิง
Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 309-311.
Min, T. and A. Barfod. (2008). Anacardiaceae. In Flora of China Vol. 11: 342.

กรวยป่า: ดอกออกเปน็ กระจุกตามซอกใบ ไม่มกี ลบี ดอก เกสรเพศผู้ ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจกั เป็นพู กระจายเขา: ไม้เถา มขี นสน้ั นมุ่ ทั่วไป ใบประกอบปลายค่ี ใบเรียงเกือบตรงขา้ ม ผลรปู รี เบย้ี ว (ภาพ: แม่วงก์
ผลแตกเปน็ 3 ซีก เมล็ดมเี ยอื่ หมุ้ (ภาพ: เขาใหญ่ นครนายก - SSi) กำ� แพงเพชร - RP)

กระจบั เขา กระจดู

Vitex siamica F. N. Williams Lepironia articulata (Retz.) Domin
วงศ์ Lamiaceae วงศ์ Cyperaceae

ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 12 ม. ใบประกอบมใี บยอ่ ย 3-5 ใบ กา้ นใบประกอบ ชอื่ พ้อง Restio articulatus Retz.
ยาว 1.5-5 ซม. ใบยอ่ ยรูปไข่ รปู รี หรือรปู ขอบขนาน ยาวไดถ้ งึ 10 ซม. ขอบเรียบ
หรอื จกั ฟนั เลอ่ื ย เสน้ แขนงใบขา้ งละ 12-24 เสน้ ใบปลายกา้ นใบยาวไดถ้ งึ 1.5 ซม. กกแตกกอ เหง้ามเี กล็ด ล�ำต้นกลม เรยี งเปน็ แถวตามเหง้า สงู ไดถ้ งึ 1.2 ม.
ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ใบประดับคล้ายใบ ยาว 1-5 ซม. ใบประดบั ยอ่ ยขนาดเล็ก ใบลดรปู เป็นกาบ กาบใบปลายเปดิ ยาว 12-26 ซม. ปลายตัด เบย้ี ว ใบประดับมี
ก้านดอกยาว 1-5 มม. หลอดกลบี เลย้ี งยาว 2-3 มม. กลีบรูปสามเหลย่ี มขนาดเลก็ อนั เดยี วรปู ลมิ่ แคบยน่ื ตอ่ จากลำ� ตน้ ยาว 2-6 ซม. ชอ่ ดอกออกเดยี่ ว ๆ ใบประดบั ยอ่ ย
ด้านนอกมขี น ขยายในผล หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 มม. กลบี บน 4 กลีบ คล้ายกาบ รูปไข่กว้าง ยาว 3-6.5 มม. ปลายกลม พบั งอเล็กน้อย ฉกี ง่าย ชอ่ ดอกย่อย
รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบล่างรปู กลม ขอบจกั ยาวประมาณ มชี อ่ เดยี วหรอื spicoid รปู รหี รอื รปู ขอบขนาน ยาวเทา่ ๆ ใบประดบั ยอ่ ย ใบประดบั
2.5 มม. เกสรเพศผู้ยาว 1-2.5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 2-3 มม. ปลายแยกเปน็ ของดอกคลา้ ยเกล็ด มี 2 อันทโ่ี คนเรียงตรงขา้ มห้มุ เกล็ดอื่น รูปใบหอก ยาว 4-6 มม.
2 แฉก ผลสด เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 2-5 มม. สกุ สดี ำ� (ดขู อ้ มลู เพมิ่ เตมิ ท่ี ตนี นก, สกลุ ) สนั มขี นครยุ ดอกเพศเมยี มดี อกเดยี ว ดอกเพศผตู้ ดิ บนใบประดบั ใตด้ อกเพศเมยี
เกสรเพศผมู้ ีอันเดยี ว ยอดเกสรเพศเมีย 2-3 อัน ผลแห้งเมลด็ ล่อน รูปไขก่ ลับ
พบทคี่ าบสมทุ รมลายู ในไทยพบทางภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขน้ึ ตาม ยาว 3-4 มม. เว้าดา้ นข้าง ปลายมีจะงอยสน้ั ๆ
เขาหินปนู เตยี้ ๆ ความสูง 100-200 เมตร
พบทมี่ าดากสั การ์ เอเชยี เขตรอ้ น ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ในไทยสว่ นมาก
เอกสารอา้ งองิ พบทางภาคใต้ ล�ำตน้ ใชส้ านเสือ่ และตะกร้า หรอื ท�ำเปน็ ไม้แหง้ ประดบั
Chantaranothai, P. (2011). A revision of the genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand.
Tropical Natural History 11(2): 104-105. สกลุ Lepironia Rich. อยภู่ ายใต้เผา่ Mapanioideae มีชนิดเดยี ว ช่ือสกลุ มาจาก
ภาษากรกี “lepis” เกล็ด และ “lepyriodes” เปลือกลอกบาง ๆ ตามลกั ษณะกาบ
กระจบั เขา: ใบประกอบมีใบย่อย 3-5 ใบ ช่อดอกแยกแขนง กลบี ดอกรปู ปากเปดิ อบั เรณูสดี ำ� ผลสด กลีบเล้ียงตดิ ทน เอกสารอา้ งอิง
(ภาพ: ละงู สตูล - PK) Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.

กระจายเขา 6(4): 266-268.

Pegia nitida Colebr. กระจูด: ลำ� ต้นกลม เรยี งเปน็ แถวตามเหง้า ช่อดอกออกเด่ยี ว ๆ ช่อดอกยอ่ ยมีช่อเดียว ใบประดับของดอกคลา้ ยเกลด็
วงศ์ Anacardiaceae เกสรเพศผมู้ ีอันเดียว (ภาพ: นครศรีธรรมราช - PT)

ไมเ้ ถาเนอื้ แขง็ มขี นสนั้ นมุ่ สนี ำ�้ ตาลตามลำ� ตน้ แกนใบประกอบ กา้ นใบยอ่ ย
แผน่ ใบดา้ นลา่ ง และชอ่ ดอก ใบประกอบปลายคี่ ยาว 20-40 ซม. ใบย่อยมี 4-7 คู่
รปู ไข่ ยาว 4-11 ซม. โคนรูปหัวใจ เบยี้ ว ขอบจักฟนั เล่อื ย กา้ นยาว 2-3 มม. ช่อดอก
แยกแขนงยาว 20-35 ซม. ใบประดบั ยาวประมาณ 1 มม. ก้านดอกยาวประมาณ
1.5 มม. กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ รูปสามเหลย่ี ม ยาวประมาณ 1 มม. ดอกสขี าว มี 5 กลบี
รูปไขแ่ คบ ยาวประมาณ 1.5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อนั สนั้ จานฐานดอกจัก 5 พู
รงั ไข่มี 5 ช่อง สว่ นมากพัฒนาเพยี งช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมยี 5 อนั สนั้ มาก
ผลผนังชั้นในแขง็ รปู รี เบ้ยี ว ยาวประมาณ 1 ซม. สกุ สีด�ำ เมล็ดเปลอื กบาง

พบที่อินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ และภาคเหนือของไทยที่เชียงราย
ก�ำแพงเพชร ขนึ้ ตามป่าดิบแลง้ และปา่ ดิบเขา ความสูง 400-1000 เมตร

5

กระเจานา สารานกุ รมพืชในประเทศไทย

กระเจานา คารเ์ พลมขี นสน้ั นมุ่ กา้ นชอ่ ผลยาว 1.5-2 ซม. ผลยอ่ ยรปู รกี ว้าง เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ประมาณ 6 มม. สกุ สแี ดงและดำ� ก้านผลยอ่ ยยาวเทา่ ๆ กา้ นชอ่ สว่ นมากมเี มลด็ เดยี ว
Corchorus aestuans L.
วงศ์ Malvaceae พบท่ีอนิ เดีย จนี ตอนใต้ และภูมภิ าคอินโดจนี ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง
ชุมพร ข้ึนตามปา่ ดบิ แลง้ ปา่ เบญจพรรณ หรอื บนเขาหินปูน ความสูงถงึ ประมาณ
ไม้ล้มลุก สงู ไดถ้ งึ 1 ม. มขี นละเอียด หูใบ 3 อนั รูปเส้นด้ายยาวไมเ่ ทา่ กัน 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ท�ำเชอื กหรือกระสอบ ดอกใช้ท�ำนำ�้ หอม
ใบเรยี งเวียน รปู ไข่ ยาว 3-8 ซม. ขอบจกั ซี่ฟัน ค่ลู า่ งคลา้ ยรยางค์หรอื เดอื ยสน้ั ๆ
แผน่ ใบมขี นยาวทงั้ สองดา้ น เสน้ โคนใบขา้ งละ 1 เสน้ กา้ นใบยาว 1-2.5 ซม. ดอกออก เอกสารอา้ งอิง
เดยี่ ว ๆ หรอื เปน็ ชอ่ กระจกุ ตามซอกใบหรอื ตรงขา้ มใบ ใบประดบั คลา้ ยหใู บ กา้ นดอก Li, B. and M.G. Gilbert. (2011). Annonaceae. In Flora of China Vol. 19: 691, 694.
สั้น กลีบเล้ยี ง 5 กลีบ รูปคล้ายเรอื ยาว 3-5 มม. ปลายมรี ยางค์สั้น ๆ กลบี ดอก
5 กลบี รปู ไขก่ ลบั ยาวเท่า ๆ กลบี เลย้ี ง เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก ยาวประมาณ 3 มม. กระเจียน: ดอกสเี ขยี ว กลีบยาวเท่า ๆ กลบี เล้ยี ง แผน่ กลีบหนา มขี นประปราย ใบประดบั ติดทน ผลย่อยก้านยาว
รงั ไขม่ ขี น ก้านเกสรเพศเมยี เปน็ หลอด ยอดเกสรจกั 5 พู ผลแหง้ แตก ยาว 1.5-3 ซม. (ภาพ: พบพระ ตาก - PK)
มี 3-5 สัน จกั เปน็ พู ปลายพูแยก 2 แฉก เมลด็ ขนาดเล็กจ�ำนวนมาก
กระเจี๊ยบ
พบที่อเมริกา แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย เป็นวัชพืชหรือปลูกเป็นพืช
เสน้ ใย เปลอื กใช้ทำ� เชอื ก ลำ� ตน้ ใชเ้ ลย้ี งสัตว์ แกอ้ กั เสบในโรคปอดบวม Hibiscus sabdariffa L.
วงศ์ Malvaceae
สกลุ Corchorus L. เดิมอยู่ภายใตว้ งศ์ Tiliaceae ปจั จบุ ันอย่วู งศย์ ่อย Grewioideae
มปี ระมาณ 100 ชนิด ในไทยมี 4 ชนดิ รวมถึงปอกระเจา C. capsularis L. ชอ่ื สกลุ ไม้ล้มลุก สูงได้ถงึ 2 ม. ลำ� ต้นสีแดงอมมว่ ง มีขนยาวตามหใู บ ก้านใบ และ
เป็นภาษาละตนิ หมายถึงเมลด็ พชื ทข่ี น้ึ ในปา่ รว้ิ ประดบั หูใบรปู เสน้ ดา้ ย ใบท่โี คนรูปไข่ ใบตามลำ� ต้นและปลายกิง่ รปู ฝา่ มอื
เอกสารอา้ งองิ มี 3-5 แฉก ยาว 2-8 ซม. ขอบจกั ฟันเลือ่ ย แผน่ ใบมีตอ่ มกระจายด้านล่าง กา้ นใบ
Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 30. ยาว 2-8 ซม. ดอกออกเดีย่ ว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกส้ัน ร้ิวประดบั สแี ดง มี 8-12 อนั
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Tiliaceae. In Flora of China Vol. รปู ใบหอก ยาว 0.5-1.5 ซม. เชอ่ื มตดิ กนั ทโ่ี คน ปลายมรี ยางคค์ ลา้ ยหนาม กลบี เลย้ี ง
สแี ดง รูปสามเหลีย่ ม ยาว 1-2 ซม. ตดิ ทน มขี นและหนามกระจาย ดอกสีเหลืองนวล
12: 529. โคนดอกดา้ นในสีแดง ดอกบานเส้นผา่ นศูนย์กลาง 6-7 ซม. เสา้ เกสรยาวเท่า ๆ
กลบี เล้ยี ง ผลแหง้ แตก มี 5 ซกี เส้นผ่านศูนยก์ ลางประมาณ 1.5 ซม. มขี นหยาบ
กระเจานา: หใู บ 3 อัน รูปเส้นด้าย ยาวไมเ่ ท่ากัน ช่อดอกออกตามซอกใบหรือตรงขา้ มใบ ผลปลายจกั เป็นพู ปลายพู เมล็ดรปู คลา้ ยไต (ดขู อ้ มูลเพมิ่ เติมท่ี ชบา, สกุล)
แยก 2 แฉก (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
มถี ่ินกำ� เนิดในแอฟรกิ าตะวันตก ปลกู ทั่วไปในเขตร้อน กลีบเล้ยี งตากแหง้ ท�ำ
กระเจียน, สกุล เปน็ เครอ่ื งดมื่ แก้กระหาย และควบคุมความดันโลหิต ทง้ั ตน้ ใช้ขบั ปัสสาวะ คลาย
กล้ามเน้อื รกั ษาโรคเลอื ดออกตามไรฟัน และฆ่าเชอ้ื แบคทีเรยี
Polyalthia Blume
วงศ์ Annonaceae เอกสารอา้ งอิง
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
ไมพ้ ่มุ หรอื ไมต้ น้ ใบเรยี งเวียน ช่อดอกออกตามซอกใบ ตามข้อ หรือลำ� ต้น 12: 293.
กลีบเลย้ี ง 3 กลบี ขนาดเล็ก กลีบดอก 6 กลีบ เรยี ง 2 วง วงนอกและวงในยาว
เทา่ ๆ หรือไมเ่ ทา่ กนั เรยี งจรดกนั เกสรเพศผจู้ �ำนวนมาก ปลายแกนอบั เรณูตัด กระเจ๊ียบ: ใบรูปฝ่ามอื โคนดอกดา้ นในสแี ดง รวิ้ ประดบั มี 8-12 อนั ติดทน (ภาพ: cultivated - RP)
คารเ์ พลแยกกนั กา้ นเกสรเพศเมียไรก้ า้ นหรือมีก้าน ยอดเกสรเพศเมยี แผ่ขยาย
ผลกลุม่ ผลยอ่ ยมีกา้ น มี 1-5 เมล็ด มสี นั นนู ตามขวางเปน็ วง กระเจ๊ยี บมอญ, สกลุ

สกุล Polyalthia มีมากกวา่ 100 ชนิด พบในแอฟรกิ า เอเชีย ออสเตรเลยี และ Abelmoschus Medik.
หมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมมี ากกว่า 20 ชนดิ ช่อื สกุลมาจากภาษากรีก “polys” วงศ์ Malvaceae
มาก และ “althos” รกั ษา หมายถึงมีหลายชนดิ ทเ่ี ปน็ พืชสมนุ ไพร
ไม้ลม้ ลุก ใบเรียงเวยี น ขอบเรยี บหรอื จกั เปน็ พู ดอกออกเดีย่ ว ๆ ตามซอกใบ
กระเจยี น รว้ิ ประดับมี 5-15 อัน ตดิ ทน กลบี เลีย้ งรปู ใบพายแยกด้านเดียว ปลายแยกเป็น
แฉกขนาดเลก็ 5 แฉก รว่ งพร้อมกลบี ดอก กลบี ดอก 5 กลีบ มีสีเข้มตรงกลาง
Polyalthia cerasoides (Roxb.) Benth. & Hook. f ex Bedd. เสา้ เกสรสนั้ กวา่ กลบี ดอก เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก รงั ไขม่ ี 5 ชอ่ ง ออวลุ จำ� นวนมาก
ยอดเกสรเพศเมยี แยกเปน็ 5 ตมุ่ ไรก้ า้ นเกสรเพศเมยี ผลแหง้ แตกตามยาว เมลด็
ชือ่ พ้อง Uvaria cerasoides Roxb. จ�ำนวนมาก ผิวเรยี บ

ไมต้ ้น สูงได้ถงึ 20 ม. กิง่ แกม่ ีช่องอากาศ มีขนส้ันนมุ่ ตามกิ่งออ่ นและแผน่ ใบ สกลุ Abelmoschus อยภู่ ายใตว้ งศย์ ่อย Malvoideae คล้ายกับสกุล Hibiscus แต่
ดา้ นลา่ ง ใบรูปขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบส้ัน ช่อดอกออก กลบี เลยี้ งรปู ใบพายแยกจรดโคนด้านเดยี ว มปี ระมาณ 15 ชนิด ส่วนมากพบใน
ตามซอกใบส่วนมากมดี อกเดยี ว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดบั คล้ายใบ 1-2 อัน เอเชยี เขตรอ้ น ในไทยมพี ืชพืน้ เมือง 2 ชนดิ ไมต้ า่ งถ่นิ 3 ชนดิ ชอื่ สกุลมาจาก
ตดิ ใต้ก่งึ กลางก้านดอก ตดิ ทน กลบี เล้ียงรูปขอบขนานแกมรปู ไข่ ยาว 8-9 มม. ภาษาอาหรับ “abul-l-mosk” หมายถึงแหล่งของน�้ำ หอมกลิ่นชะมดที่ได้จากเมลด็
ดา้ นนอกมขี นยาว ดอกสเี ขยี ว กลบี ยาวเทา่ ๆ กลบี เลยี้ ง แผน่ กลบี หนา มขี นประปราย

6

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กระเจียวเหลืองแดง

กระเจีย๊ บมอญ กระเจียวโคก

Abelmoschus esculentus (L.) Moench Curcuma singularis Gagnep.
ไม้ลม้ ลุก สูงได้ถงึ 50 ซม. เหงา้ แยกแขนง ใบรปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก
ชอ่ื พอ้ ง Hibiscus esculentus L.
ยาว 20-35 ซม. แผน่ ใบดา้ นลา่ งมขี นละเอยี ด มกั มปี น้ื สมี ว่ งใกลเ้ สน้ กลางใบ ชอ่ ดอก
ไมล้ ม้ ลกุ สว่ นมากมขี นคลา้ ยหนามกระจาย ลำ� ตน้ กลวง หใู บรปู เสน้ ดา้ ย ใบรปู ออกจากเหงา้ กอ่ นผลิใบ ก้านช่อยาว 10-15 ซม. มีขนสัน้ นุ่ม ชอ่ ดอกสน้ั กว่าก้านช่อ
ฝา่ มอื มี 3-7 พู เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 5-30 ซม. ขอบใบจักซฟี่ นั หา่ ง ๆ กา้ นใบยาว ใบประดับสีเขยี วอมมว่ งหรอื น�้ำตาล รูปขอบขนาน ยาว 3-4 ซม. ชว่ งโคนกว้าง
7-30 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-5 ซม. ริ้วประดบั มี 7-12 อัน รูปแถบ ยาว 0.5-1.8 ซม. ดอกสขี าว กลบี รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 2 ซม. กลบี หลงั ปลายมตี ง่ิ แหลม กลบี ปาก
กลบี เลยี้ งยาว 2-3 ซม. มขี นสนั้ ละเอยี ดรปู ดาวหนาแนน่ ดอกสเี หลอื งนวล ดอกบาน รปู ขอบขนานหรือรปู ใบหอก ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแฉกลึก แผ่นเกสรเพศผู้
เสน้ ผ่านศูนย์กลาง 5-7 ซม. กลีบรูปไขก่ ลบั ยาว 3.5-5 ซม. เสา้ เกสรยาว 2-2.5 ซม. ทเ่ี ปน็ หมันรปู ไขก่ ลบั ยาวประมาณ 1.8 ซม. รังไขม่ ีขนยาว
ผลรูปทรงกระบอก ยาว 10-25 ซม. ปลายมจี ะงอย เมล็ดสนี ำ�้ ตาลอมเทา ยาว
4-5 มม. มปี ุ่มกระจาย พบทภ่ี มู ภิ าคอนิ โดจนี ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทางภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื และภาคตะวนั ออก ขนึ้ ตามปา่ เบญจพรรณ และปา่ ดบิ แลง้ ความสงู ถงึ
ถนิ่ กำ� เนดิ ในอนิ เดยี ปลกู เปน็ ผกั สวนครวั โดยเฉพาะในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ประมาณ 1000 เมตร
หรอื ขนึ้ เปน็ วชั พชื ฝกั ออ่ นรบั ประทานเปน็ ผกั มสี รรพคณุ รกั ษาโรคกระเพาะอาหาร
และลำ� ไส้ กระเจียวบัว

เอกสารอ้างองิ Curcuma alismatifolia Gagnep.
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol. ไมล้ ้มลกุ สงู ไดถ้ ึง 60 ซม. เหง้ายาว 3-4 ซม. โคนกาบสีแดง ใบรูปใบหอก ยาว
12: 283, 285.
20-30 ซม. โคนสอบเรยี ว เสน้ กลางมีปนื้ สมี ว่ งอมแดง ก้านใบยาว 3-10 ซม.
กระเจีย๊ บมอญ: หใู บรูปเสน้ ดา้ ย ใบรูปฝา่ มอื กลบี ดอกมสี ีเขม้ ตรงกลาง ยอดเกสรเพศเมียมี 5 ตมุ่ ผลรูปทรงกระบอก ชอ่ ดอกออกทป่ี ลายยอด กา้ นชอ่ ยาวไดถ้ งึ 50 ซม. ชอ่ ดอกยาว 15-20 ซม. ใบประดบั
(ภาพ: cultivated - RP) ชว่ งลา่ งสเี ขยี วหรอื อมชมพู รปู รี ยาว 2.5-3 ซม. ใบประดบั ชว่ งปลายชอ่ สชี มพู
อมมว่ ง รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 6-10 ซม. ดอกสขี าวอมชมพู กลบี บนขนาด
กระเจยี ว, สกลุ ใหญก่ วา่ กลบี ขา้ งเลก็ นอ้ ย ยาวเทา่ ๆ กลบี ปาก กลบี ปากสมี ว่ ง รปู รี ยาวประมาณ
2.5 ซม. ปลายจกั 2 พู มีสันนูนตามยาว 2 สัน สเี หลือง แผน่ เกสรเพศผทู้ ี่เปน็ หมนั
Curcuma L. รปู ขอบขนาน ยาวเทา่ ๆ กลีบดอก ปลายกา้ นชูอบั เรณเู วา้ เข้า
วงศ์ Zingiberaceae
พบทล่ี าว กมั พชู า ในไทยพบทางภาคตะวนั ออกและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ไมล้ ม้ ลกุ มเี หงา้ รากอวบหนา ใบเรยี งเวียน ใบท่โี คนลดรปู เปน็ กาบ ล้นิ กาบ ขึ้นเปน็ กลมุ่ หนาแน่นในปา่ เต็งรังและปา่ ดิบแลง้ ดอกออ่ นเป็นผกั สดหรอื ลวกจม้ิ
ขนาดเล็ก ชอ่ ดอกแบบช่อเชิงลดออกท่ียอดหรือเหง้า บางคร้ังออกกอ่ นผลิใบ กบั น้ำ� พรกิ เป็นไมต้ ัดดอก
ใบประดบั เชอื่ มตดิ กนั ประมาณกง่ึ หนง่ึ คลา้ ยถงุ ชอ่ ดอกยอ่ ยแบบวงแถวเดยี ว มี
2-7 ดอก ใบประดับชว่ งปลายมักมสี ีสด ส่วนมากไมม่ ชี ่อดอก ดอกมักบานคร้ังละ กระเจียวสม้
ดอกเดียว ใบประดับยอ่ ยแยกจรดโคน กลบี เลย้ี งเช่ือมตดิ กนั เปน็ หลอดสั้น ๆ แฉกลกึ
ดา้ นเดยี ว ปลายจัก 2-3 แฉก ดอกรปู แตร กลบี ดอก 3 กลีบ ยาวเท่า ๆ กนั หรือ Curcuma roscoeana Wall.
กลบี บนขนาดใหญก่ วา่ แผน่ เกสรเพศผทู้ เ่ี ปน็ หมนั ดา้ นขา้ งเชอื่ มตดิ กา้ นชอู บั เรณู
และกลบี ปากทโ่ี คน กลบี ปากกลบี กลางหนา กลบี ขา้ งบางเรยี งซอ้ นแผน่ เกสรเพศ ชื่อพ้อง Curcuma kurzii King ex Baker
ผทู้ เ่ี ปน็ หมนั กา้ นชอู บั เรณสู นั้ อบั เรณตู ดิ ไหวได้ โคนมกั มเี ดอื ย แกนอบั เรณไู มม่ ี
รยางค์ รังไขม่ ี 3 ชอ่ ง ผลแหง้ แตกเป็น 3 ซกี ไม้ลม้ ลุก สงู ได้ถงึ 90 ซม. เหงา้ ยาว 3-4 ซม. ใบรูปใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว
16-35 ซม. โคนสอบเรยี ว กลม หรือเวา้ ตืน้ ก้านใบยาว 7-25 ซม. ส่วนมากสมี ่วงแดง
สกลุ Curcuma มีประมาณ 120 ชนดิ ปจั จบุ ันไดร้ วมเอาสกุลว่านเข้าพรรษา ชอ่ ดอกออกทป่ี ลายยอด กา้ นชอ่ ยาวได้ถงึ 30 ซม. ชอ่ ดอกสน้ั หรอื ยาว 8-15 ซม.
Smithatris และสกลุ ว่านเพชรไพรวัลย์ Stahlianthus ไว้ด้วย ในไทยมกี ว่า 40 ชนิด ใบประดบั สเี ดยี วกนั สสี ม้ อมนำ�้ ตาล รปู ไขก่ ลบั ยาว 3.5-4.5 ซม. แตล่ ะใบประดบั
สว่ น C. longa L. หรอื ขม้นิ เป็นพชื สวนครัว มีถ่ินกำ�เนดิ ในอินเดยี ชอื่ สกุลมา มี 2-4 ดอก ดอกสีครมี หลอดกลบี ดอกยาว 3-3.5 ซม. กลบี บนและกลีบข้างยาว
จากภาษาอาหรบั “kurkum” หมายถึงสีเหลอื งของหวั ขมนิ้ ประมาณ 1 ซม. กลีบปากมปี ื้นสีเหลอื ง รปู รีกวา้ ง ยาวประมาณ 1.5 ซม. กวา้ งได้ถึง
2 ซม. แผน่ เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั รปู คลา้ ยสเี่ หลยี่ ม ยาว 1.2-1.5 ซม. อบั เรณไู มม่ เี ดอื ย
กระเจยี วขาว สนั อับเรณกู ลม ขนาดเล็กสเี หลืองใส

Curcuma parviflora Wall. พบทอ่ี นิ เดยี บงั กลาเทศ พมา่ ในไทยพบทางภาคเหนอื ทแ่ี มฮ่ อ่ งสอน เชยี งใหม่
ไมล้ ม้ ลุก สูง 30-50 ซม. เหง้าส้ัน มี 3-5 ใบ รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว ลำ� ปาง ตาก และภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ ก่ี าญจนบรุ ี ขน้ึ ตามปา่ เบญจพรรณ ความสงู
ถงึ ประมาณ 700 เมตร เปน็ ไม้ประดับ
ได้ถงึ 40 ซม. เกลยี้ ง ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ชอ่ ดอกออกท่ยี อด ก้านชอ่ ยาวไดถ้ งึ
30 ซม. ช่อดอกยาว 4-8 ซม. ใบประดับสเี ขยี วช่วงปลายสีขาว รูปขอบขนาน กระเจียวเหลืองแดง
ยาวไดถ้ ึง 3 ซม. ดอกสีขาว หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. กลบี ดอกรูปไข่
ยาวประมาณ 7 มม. แผน่ เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั รปู ไขก่ ลบั แกมรปู ขอบขนาน สน้ั กวา่ Curcuma bicolor Mood & Larsen
กลีบปาก กลีบปากรปู ขอบขนาน ปลายมีปืน้ สีมว่ งอมนำ้� เงนิ ขอบจักชายครยุ ไม้ลม้ ลุก สงู ได้ถึง 1 ม. เหงา้ ขนาดเลก็ มขี นยาวตามกา้ นใบ กา้ นช่อดอก และดอก
ปลายแฉกลกึ 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดอื ย รังไขเ่ กล้ยี ง
ใบรูปรหี รอื รูปขอบขนาน ยาว 20-35 ซม. โคนเวา้ ต้นื คล้ายรูปหวั ใจ ก้านใบยาว
พบทีอ่ ินเดยี พมา่ ภูมิภาคอนิ โดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค 10-23 ซม. ช่อดอกออกท่ีโคน กา้ นชอ่ สัน้ ช่อดอกยาว 7-11 ซม. ใบประดับสี
ข้ึนตามป่าเบญจพรรณ ปา่ ดิบแล้ง และป่าดิบชืน้ ดอกออ่ นเปน็ ผักสดหรือปรงุ สกุ เดยี วกัน สสี ม้ เขียวอมขาว รปู ไข่ ยาว 3-4 ซม. แตล่ ะใบประดบั มไี ด้ถงึ 4 ดอก
ดอกสเี หลอื งแดง หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 4 ซม. กลบี บนและกลบี ขา้ งรปู ใบหอก
ยาว 1.8-2 ซม. กลบี ปากรูปไวโอลนิ กว้างและยาวได้ถึง 2 ซม. แผ่นเกสรเพศผู้
ทเี่ ป็นหมนั รูปรี ยาวประมาณ 1.7 ซม. กา้ นชูอับเรณูยาวประมาณ 8 มม. อบั เรณู
มีเดอื ย รูปน้วิ มือสั้น ๆ

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื ทป่ี างมะผา้ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ขนึ้ รมิ ลำ� ธาร
ในป่าเบญจพรรณ ความสูงประมาณ 750 เมตร

7

กระชับ สารานุกรมพืชในประเทศไทย

เอกสารอ้างองิ
Mood, J. and K. Larsen. (2001). New Curcumas from South-east Asia. New
Plantsman 8(4): 210-211.
Škorničková, J. and M. Sabu. (2005). Curcuma roscoeana Wall. (Zingiberaceae)
in India. Gardens’ Bulletin Singapore 57 (Suppl.): 187-198.
Škorničková, J., O. Šída, E. Záveská and K. Marhold. (2015). History of infra-
generic classification, typification of supraspecific names and outstanding
transfers in Curcuma (Zingiberaceae). Taxon 64(2): 362-373. http://dx.doi.
org/10.12705/642.11

กระเจียวขาว: ใบประดบั ชว่ งปลายสีขาว กลบี ปากสมี ว่ ง ปลายแยก 2 แฉก ขอบจักชายครยุ (ภาพ: กาญจนบุรี - PK) กระเจียวเหลืองแดง: โคนใบเว้าตน้ื ชอ่ ดอกออกทโี่ คน ใบประดบั สีเดยี วกนั ดอกสีเหลืองแดง กลบี ปากรปู ไวโอลนิ
กระเจียวโคก: ใบประดบั รูปขอบขนาน โคนกว้าง กลีบปากแฉกลึก มสี นั นนู สีเหลือง (ภาพ: cultivated - JM) อบั เรณูมเี ดอื ยรูปนิว้ มอื สนั้ ๆ (ภาพ: ระนอง - JM)

กระชับ

Xanthium strumarium L.
วงศ์ Asteraceae

ไม้ล้มลกุ แยกเพศรว่ มต้น สูงไดถ้ ึง 1 ม. ใบเรยี งเวยี น รปู หัวใจ ยาว 9-25 ซม.
เรยี บหรอื จกั 3 พู ตื้น ๆ ขอบจักซฟ่ี นั แผ่นใบมีขนสากและตอ่ มกระจาย ก้านใบ
ยาว 3.5-10 ซม. ชอ่ กระจกุ แนน่ แยกแขนงแบบชอ่ กระจะ ชอ่ ดอกเพศผู้ ใบประดบั
6-16 อัน เรยี ง 1-2 วง รูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 มม. มีขนส้ันน่มุ หลอดกลีบดอก
ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายจักตืน้ ๆ 5 แฉก กาบยาวเท่า ๆ หลอดกลบี ดอก มขี น
สั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชอู ับเรณเู ชื่อมติดกนั ชอ่ ดอกเพศเมยี ใบประดับ
จ�ำนวนมาก เรียง 6-12 วง รปู รี ยาว 2-3 มม. มขี นคลา้ ยหนาม วงในเช่อื มตดิ กาบนอก
ปลายมตี ะขอยกเวน้ ชว่ งปลายชอ่ ดอกยอ่ ย 2 ดอก ไมม่ กี ลบี ดอก รงั ไขใ่ ตว้ งกลบี
มชี อ่ งเดยี ว กา้ นเกสรเพศเมยี แยก 2 แฉก ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น รปู กระสวย ยาว 1-1.5 ซม.
มีหนามรปู ตะขอและขนละเอียด ปลายเป็นจะงอยแหลม 2 อัน มีเมลด็ เดยี ว ไม่มี
แพปพัส

มีถนิ่ ก�ำเนดิ ในอเมริกา ขึ้นเป็นวชั พชื ท่วั ไป รากและผลมีสารพวก xanthinin
แก้แพแ้ ละแกอ้ าการอักเสบ เมลด็ ให้แปง้ แตเ่ ปน็ พษิ ต่อสัตวเ์ ลยี้ ง

สกลุ Xanthium L. อยู่ภายใต้วงศย์ ่อย Asteroideae เผา่ Heliantheae มี 2-3 ชนดิ
พบเฉพาะในอเมรกิ าเขตรอ้ น ในไทยมชี นดิ เดียว ช่ือสกลุ มาจากภาษากรีก
“xanthion” หมายถงึ พืชทใี่ ห้สยี ้อมสเี หลือง

เอกสารอ้างอิง
Chen, Y., C. and D.N. Hind. (2011). Asteraceae (Heliantheae). In Flora of
China Vol. 20-21: 876.
WHO. (1990). Medicinal plants in Viet Nam. WHO/WPRO Manila and Institute
of Materia Medica Hanoi. Tienbo Printing, Hanoi.

กระเจยี วบวั : ใบประดบั ชว่ งปลายชอ่ สีมว่ งขนาดใหญ่ กลบี ปากสีม่วง ปลายจกั 2 พู ต้นื ๆ (ภาพ: อบุ ลราชธานี - PK)

กระเจียวสม้ : ก้านใบยาว ชอ่ ดอกมีท้ังช่อสั้นและชอ่ ยาว โคนกลบี ปากมีปนื้ สีเหลอื ง (ภาพ: อุ้มผาง ตาก - RP) กระชับ: ใบเรียงเวียน จกั 3 พตู ืน้ ๆ ขอบจกั ซี่ฟัน ผลรูปกระสวย มขี นละเอยี ดและหนามเปน็ ตะขอ ปลายผลมจี ะงอย
แหลม 2 อัน (ภาพ: มุกดาหาร - PK)
8
กระชาย, สกลุ

Boesenbergia Kuntze
วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลกุ มีเหงา้ รากอวบหนา ใบเรียงเวียน ล้นิ กาบจัก 2 พู ชอ่ ดอกแบบ
ช่อเชงิ ลดออกที่ยอดระหวา่ งกาบใบหรอื ออกจากเหงา้ ใบประดับเรยี ง 2 แถว
แตล่ ะใบประดับมีดอกเดยี ว แตล่ ะดอกมใี บประดับยอ่ ยอนั เดียว ดอกบานจาก
ปลายสโู่ คน กลีบเลี้ยงเชอ่ื มติดกนั เปน็ หลอด หลอดกลบี ดอกเรียวยาว กลีบดอก
3 กลีบ ยาวเท่า ๆ กัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้างเป็นแผ่นกล้ายกลีบดอก
กลีบปากใหญ่กว่าแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน โค้งเว้า ปลายเรียบหรือเว้าต้ืน

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย กระชดิ

โคนเรียวแคบเป็นร่อง อับเรณูเรียงขนานกัน แตกตามยาวหรือมีรูเปิดท่ีปลาย กระชายเขาพงั งา: แผ่นใบด้านบนมีปนื้ สอี ่อนตามเส้นกลางใบ ด้านลา่ งสเี งนิ ดอกสขี าวอมเหลอื ง กลีบปากเป็นถงุ
ไมม่ เี ดอื ย รงั ไขม่ ี 3 ช่อง ผลแหง้ แตกเป็น 3 ซีก เมลด็ มเี ย่ือหมุ้ จกั เปน็ ครยุ ปลายกลีบมแี ถบเสน้ สแี ดง (ภาพดอก: พังงา, ภาพต้น: ระนอง; - JM)

สกลุ Boesenbergia มีมากกวา่ 60 ชนดิ พบในเอเชยี เขตร้อน ในไทยมมี ากกวา่ กระชิด
25 ชนดิ ชือ่ สกุลต้งั ตาม Clara Boesenberg น้องสาวของ Otto Kuntze (1843-1907)
นกั พฤกษศาสตร์ชาวเยอรมนั Blachia siamensis Gagnep.
วงศ์ Euphorbiaceae
กระชาย
ไมพ้ มุ่ สงู ไดถ้ งึ 5 ม. มขี นสน้ั นมุ่ ตามกา้ นใบ ชอ่ ดอก รงั ไข่ และผล ใบรปู สเี่ หลยี่ ม
Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ขา้ วหลามตดั แกมรปู ไข่ ยาว 2-4.5 ซม. ขอบมขี นครยุ เสน้ กลางใบนนู ทงั้ สองดา้ น
ช่อดอกแบบช่อซรี่ ่ม ยาว 1.5-2 ซม. ดอกเพศผ้เู ส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม. ก้านดอก
ชือ่ พอ้ ง Curcuma rotunda L. ยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลีย้ งและกลีบดอกกลม ขนาดประมาณ 1.5 มม. เกสรเพศผ้มู ี
14-21 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ดอกเพศเมียเส้นผ่านศูนย์กลาง
ไมล้ ม้ ลกุ สงู ไดถ้ งึ 1 ม. เหงา้ และรากสนี ำ�้ ตาลอมเหลอื ง รากยาวไดถ้ งึ 6 ซม. 1-3.5 มม. ก้านดอกยาว 0.5-2.3 ซม. กลบี เลี้ยงรูปสามเหลีย่ ม ยาว 2-4 มม. ขอบมี
โคนกาบใบขยายออก ใบรปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาวไดถ้ งึ 50 ซม. กา้ นใบยาว ขนครยุ ยอดเกสรเพศเมยี ยาว 5-6 มม. ผลแหง้ แตก มี 3 พู เส้นผา่ นศูนยก์ ลาง
7-16 ซม. ชอ่ ดอกออกทยี่ อด ยาวไดถ้ งึ 6 ซม. มไี ดถ้ งึ 10 ดอก ใบประดบั รปู ขอบขนาน 0.8-1 ซม. เมล็ดรปู รี ยาวประมาณ 6 มม.
ยาวประมาณ 3.5 ซม. หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 4 ซม. โคนกา้ นชอู บั เรณมู ตี อ่ ม
2 ตอ่ ม ดอกสขี าว รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 2 ซม. กลบี ปากรปู ใบพาย ยาวประมาณ พบที่ไหห่ นาน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ทชี่ ลบุรี
2 ซม. มีรอยยน่ สแี ดง ชมพู หรือมว่ ง ปลายกลบี เรยี บหรอื เวา้ ตน้ื โคนด้านในมี และภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ เ่ี พชรบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์ ขนึ้ ตามเขาหนิ ปนู หรอื หนิ แกรนติ
จุดแดง แผน่ เกสรเพศผู้ทีเ่ ปน็ หมันรปู ใบพาย ยาวประมาณ 1.5 ซม. เสน้ กลบี บางใส เต้ยี ๆ ความสูงไม่เกนิ 100 เมตร
อับเรณูโค้งเล็กนอ้ ย สันอบั เรณูรูปสามเหลยี่ มพับงอกลบั
สกุล Blachia Baill. อยูภ่ ายใต้วงศย์ ่อย Crotonoideae แยกมาจากสกุล Croton
พบในเอเชยี เขตรอ้ น เปน็ พชื อาหารและสมนุ ไพร ลกั ษณะลำ� ตน้ ใบ และสดี อก มี 12 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 2 ชนดิ อีกชนดิ คอื กระเลียงฟาน
มีความผันแปรสงู B. andamanica (Kurz) Hook. f. ก้านใบ ชอ่ ดอก รงั ไข่ และผลเกลี้ยง มีเขต
การกระจายพันธก์ุ ว้างกวา่ ชอ่ื สกลุ ต้ังตาม M. Blache เพือ่ นของ Henri Ernest
กระชายเขาพังงา Baillon (1827-1895) นกั พฤกษศาสตรช์ าวฝร่งั เศส

Boesenbergia ochroleuca (Ridl.) Schltr. เอกสารอา้ งองิ
Li, B. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Blachia). In Flora of China Vol.
ชอ่ื พอ้ ง Gastrochilus ochroleucus Ridl.
11: 269-270.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถงึ 60 ซม. ไมม่ ีเหงา้ รากยาวไดก้ ว่า 10 ซม. กาบใบยาว 3-5 ซม. Phattarahirankanok, K. and K. Chayamarit. (2005). Euphorbiaceae (Blachia). In
ลิ้นกาบยาวประมาณ 7 มม. ใบรปู ใบหอก ยาวไดถ้ ึง 17 ซม. โคนกลม แผ่นใบดา้ นบน
มปี น้ื สอี อ่ นตามเสน้ กลางใบ ดา้ นลา่ งสเี งนิ หรอื อมมว่ ง กา้ นใบยาว 3 ซม. ชอ่ ดอก Flora of Thailand Vol. 8(1): 126-130.
ออกท่ยี อด รูปกระสวย ยาวประมาณ 4 ซม. มี 7-8 ดอก ใบประดับสเี ขยี วอ่อน
รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2.8 ซม. ดอกสีขาวอมเหลือง หลอดกลีบดอกยาว
ประมาณ 2.5 ซม. กลบี รปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 1.2 ซม. กลบี ปาก
เปน็ ถงุ รปู กลม เสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 2 ซม. มแี ถบเส้นสีแดง โคนมจี ดุ สีแดง
2 จดุ ดา้ นนอกมขี นตอ่ ม ปลายกลบี พบั ลง ยน่ เสน้ กลบี โปรง่ แสง เกสรเพศผทู้ เ่ี ปน็ หมนั
รูปไขก่ ลับ ยาวประมาณ 9 มม. ด้านนอกมขี นต่อม เกสรเพศผยู้ าวประมาณ 8 มม.
สันอับเรณูเวา้ ตืน้ จกั 3 พู มขี นตอ่ ม

พชื ถนิ่ เดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่ระนอง พงั งา ขนึ้ บนเขาหนิ ปูนในปา่ ดบิ ช้นื
ความสงู ระดบั ต่ำ� ๆ

เอกสารอา้ งอิง
Larsen, K. and S.S. Larsen. (2006). Gingers of Thailand. Queen Sirikit Botanical
Garden Organization. Chiang Mai.
Sirirugsa, P. (1987). Three new species and one new combination in Boesenbergia
(Zingiberaceae) from Thailand. Nordic Journal of Botany 7: 421-425.
________. (1992). A revision of the genus Boesenbergia Kuntze (Zingiberaceae)
in Thailand. Natural History Bulletin of Siam Society 40: 67-90.

กระชดิ : ลกั ษณะวสิ ยั เปน็ ไม้พ่มุ เตย้ี ขอบใบมขี นครยุ กา้ นใบและผลมีขนสน้ั นุม่ ผลจกั 3 พู เกสรเพศเมียติดทน
(ภาพวสิ ยั : กยุ บุรี ประจวบคีรขี ันธ์ - MP; ภาพผล: หว้ ยยาง ประจวบครี ขี ันธ์ - RP)

กระชาย: ชอ่ ดอกออกทย่ี อด กลบี ปากรูปใบพาย มรี อยย่นสีแดง ชมพู หรือม่วง ปลายกลีบเวา้ ต้ืน โคนด้านในมีจุดแดง กระเลยี งฟาน: ชอ่ ดอกแบบชอ่ ซีร่ ม่ ผลเกล้ยี ง (ภาพ: ประจวบคีรีขนั ธ์; ภาพชอ่ ดอกเพศผู้ - NP, ภาพผล - RP)
อับเรณโู ค้งเล็กนอ้ ย สันอบั เรณูรูปสามเหล่ยี มพบั งอกลับ (ภาพ: cultivated - JM)
9

กระเชา้ คลองพนม สารานกุ รมพืชในประเทศไทย

กระเชา้ คลองพนม กระเช้าปากเป็ด

Aristolochia kongkandae Phuph. Aristolochia cambodiana Pierre ex Lecomte
ไมเ้ ถา ใบรปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว 5-7.5 ซม. เสน้ โคนใบขา้ งละ 2-3 เสน้
ชอื่ พอ้ ง Aristolochia kerrii Craib, A. dongnaiensis Pierre
เส้นแขนงใบขา้ งละ 2-3 เสน้ ก้านใบยาว 3-7 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ ยาว
1.5-5 ซม. ก้านชอ่ ส้นั มไี ดถ้ ึง 10 ดอก ใบประดบั รูปขอบขนาน ยาว 1-2 มม. ก้านดอก ไมเ้ ถา ใบรปู ไขแ่ กมสามเหลยี่ มหรอื รปู ขอบขนาน ยาว 5-10 ซม. แผน่ ใบด้านล่าง
ยาว 5-7 มม. ดอกสีครีมอมแดง หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1 ซม. ปลายกลีบ มขี นสน้ั นมุ่ เสน้ โคนใบขา้ งละ 2 เสน้ กา้ นใบยาว 2-4 ซม. ชอ่ ดอกออกเปน็ ชอ่ กระจกุ
บานออก รูปขอบขนาน ด้านในสมี ว่ งอมแดง ยาวประมาณ 1.5 ซม. กระเปาะรปู รี ส้ัน ๆ มี 2-8 ดอก ใบประดับรปู ขอบขนาน ยาว 0.5-1.2 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม.
ยาวประมาณ 5 มม. เส้าเกสรยาวประมาณ 1.5 มม. ผลกลม เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง ขยายในผล ดอกสมี ว่ งอมแดง หลอดกลบี ดอกยาว 3-7.5 มม. ดา้ นในสคี รมี ปลายกลบี
5-7 มม. เมลด็ รูปสามเหลย่ี มมีตมุ่ กระจาย ไมม่ ีปกี รปู คล้ายเงี่ยงลกู ศร ยาว 0.7-1.5 ซม. ปากหลอดกลบี มีขน กระเปาะรปู รีกวา้ ง
เกอื บกลม ยาว 3-4.5 มม. เส้าเกสรยาว 1-1.8 มม. ผลรปู รหี รอื รูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม.
พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทเ่ี ขาสกและคลองพนม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ขน้ึ เกาะเลอื้ ย เมลด็ รปู ไขก่ ลบั ไมม่ ีปกี ยาว 4-4.5 มม.
ตามใต้ร่มเงาหน้าผาหินปูน ความสูง 100-200 เมตร ค�ำระบุชนิดต้ังตามชื่อ
ดร.ก่องกานดา ชยามฤต นกั พฤกษศาสตรห์ อพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า พบที่กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ขน้ึ ตามปา่ เบญจพรรณ
และพนั ธ์ุพืช เขาหินปนู ความสูงถงึ ประมาณ 1300 เมตร ใบและส่งิ ปกคลมุ มีความผันแปรสูง

กระเชา้ ถงุ ทอง กระเช้าผมี ด

Aristolochia pothieri Pierre ex Lecomte Aristolochia acuminata Lam.
ไมเ้ ถา เกลย้ี ง หรอื มขี นละเอยี ดตามลำ� ตน้ กา้ นใบ และชอ่ ดอก ใบรปู ไขก่ วา้ ง
ชื่อพ้อง Aristolochia tagala Cham.
หรือจกั 3 พู ต้ืน ๆ ยาว 11-12 ซม. แผน่ ใบมขี นและต่อม เส้นโคนใบขา้ งละ 1 เส้น
กา้ นใบยาว 3.5-5.2 ซม. ช่อดอกมกั แยกแขนง ยาวไดถ้ งึ 6 ซม. ใบประดบั รูปไข่ ไมเ้ ถา มีขนสน้ั นุ่มตามลำ� ตน้ เส้นแขนงใบดา้ นล่าง กา้ นใบ กา้ นดอก และ
ยาวประมาณ 1 มม. ก้านดอกยาว 6-7 มม. ดอกสคี รีมเขียวอมนำ�้ ตาล กลบี ปาก ปากหลอดกลบี ดอก ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 9.5-16.5 ซม. เส้นโคนใบ
ดา้ นในสนี ำ�้ ตาลแดงหรอื ดำ� หลอดกลบี ดอกเรยี วแคบ ยาว 0.8-1.6 ซม. ปลายกลบี ขา้ งละ 1 เสน้ เสน้ แขนงใบขา้ งละ 3-4 เสน้ กา้ นใบยาว 3-6 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ
บานออก รูปขอบขนานหรือรูปใบพาย ยาว 1.3-1.8 ซม. กระเปาะรูปไข่กว้าง แยกแขนง ยาว 3-13 ซม. ใบประดบั รปู ไข่ ยาว 1.5-3 มม. กา้ นดอกยาว 5-8 มม.
เกอื บกลม ยาว 4-8 มม. เสา้ เกสรยาวประมาณ 2 มม. ผลรปู ไขก่ วา้ ง ยาว 4-4.5 ซม. ดอกสคี รมี ปากกลบี สแี ดงอมนำ�้ ตาล หลอดกลบี ดอกยาว 0.6-1.2 ซม. ปลายกลบี
ก้านผลยาว 3-6 ซม. เมล็ดรูปสามเหลีย่ ม ยาว 7-8 มม. รวมปีก มตี ุม่ ด้านเดยี ว รปู ขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 1.2-2.5 ซม. กระเปาะกลม เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง
5-7 มม. ผลรูปรี ยาว 3-5.5 ซม. เมลด็ รูปไขก่ ลับ ยาว 5-7.5 มม. รวมปีก มตี ่มุ ดา้ นเดียว
พบในภมู ภิ าคอินโดจนี ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเวน้ ภาคใต้ ข้ึนตามป่าเตง็ รงั
ป่าเบญจพรรณ และป่าดบิ แลง้ หรือเขาหินปนู ความสูง 100-400 เมตร พบทอี่ นิ เดยี ศรลี งั กา บงั กลาเทศ จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี
ออสเตรเลยี ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามปา่ เต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแลง้ และ
กระเช้านางพนั ธุรตั ชายปา่ ดบิ ช้นื ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร

Aristolochia phuphathanaphongiana Do กระเช้ายะลา
ไมเ้ ถาเกาะเลื้อย ใบรูปไขห่ รอื แกมรปู สามเหลยี่ ม ยาว 3-7 ซม. ปลายแหลม
Aristolochia yalaensis Phuph.
เปน็ ตงิ่ สนั้ ๆ โคนรปู หวั ใจลกึ แผน่ ใบเกลยี้ งทงั้ สองดา้ น เสน้ โคนใบขา้ งละ 2 เสน้ ไมเ้ ถาลม้ ลกุ มขี นสน้ั นมุ่ ตามลำ� ตน้ และแผน่ ใบดา้ นลา่ ง ใบรปู ไข่ ยาว 7-12 ซม.
เส้นแขนงใบข้างละ 3-4 เสน้ ก้านใบยาว 2-4 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ยาว 4-5 ซม.
กา้ นชอ่ สน้ั มี 2-8 ดอก ใบประดับรูปไข่กว้างหรอื รูปหัวใจ ไรก้ า้ น หุ้มแกนชอ่ ยาว เส้นโคนใบขา้ งละ 2-3 เสน้ กา้ นใบยาว 4-6 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ยาวได้ถงึ
0.8-1.5 ซม. กา้ นดอกยาว 5-6 มม. ดอกสมี ่วงหรอื อมนำ้� ตาลด�ำ ยาว 2.2-2.8 ซม. 4.5 ซม. ก้านช่อสั้น มี 3-5 ดอก ใบประดับรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว
หลอดกลบี ดอกยาว 6-8 มม. ปลายกลบี รปู ใบหอก ยาว 1.2-1.5 ซม. ด้านในมี 3.5-5 มม. โคนโอบรอบกา้ นดอก กา้ นดอกยาวประมาณ 5 มม. ดอกสคี รมี อมเขยี ว
ขนยาวหนาแนน่ ปากหลอดมจี ดุ สขี าว กระเปาะรปู กลม เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 3-4 มม. มีขนละเอยี ด ปากหลอดกลบี สมี ่วงอมแดง หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 4 มม.
เสา้ เกสรยาว 3-4 มม. ผลรูปไข่กวา้ งเกอื บกลม ยาว 1.3-1.4 ซม. เมล็ดรูปหวั ใจ งอขนึ้ กลีบรูปใบหอก ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายกลบี มน เวา้ ตนื้ ๆ มีขนสั้นน่มุ
ยาว 3-4 มม. ไมม่ ปี ีก ดา้ นใน กระเปาะรปู รกี ว้าง ยาวประมาณ 3 มม. เส้าเกสรยาวประมาณ 0.8 มม.
ผลอ่อนรูปขอบขนาน
พืชถิน่ เดยี วของไทย พบที่เขานางพันธรุ ัต จงั หวดั เพชรบรุ ี ขน้ึ เกาะบนหนิ ปูน
ความสงู 10-50 เมตร คำ� ระบชุ นดิ ตงั้ ตามชอื่ นางลนี า ผพู้ ฒั นพงศ์ นกั พฤกษศาสตร์ พืชถ่นิ เดยี วของไทย พบทางภาคใต้ท่ีบันนงั สตา จงั หวดั ยะลา ข้นึ เกาะเล้ือย
ของหอพรรณไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ชื ผู้ศึกษาพืชวงศก์ ระเชา้ สีดา บนเขาหินปนู เตีย้ ๆ ในป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 200 เมตร อนง่ึ ตวั อย่างพรรณไม้
(Aristolochiaceae) ของไทย จากจังหวัดยะลา (Middleton et al. 3539 - BKF) คล้ายกระเช้ายะลา แต่ชอ่ ดอก
สั้นกว่าเล็กน้อย และดอกสีม่วงอมแดง อาจจะเป็นชนิดเดียวกัน หรือเป็นชนิด
กระเชา้ ใบแคบ A. minutiflora Ridl. ex Gamble ท่ีพบในมาเลเซยี

Aristolochia perangustifolia Phuph. กระเชา้ สีดา, สกลุ
ไม้เถา ใบรปู ใบหอก ยาว 5.5-8.5 ซม. โคนเวา้ ลกึ รูปหวั ใจ แผน่ ใบดา้ นลา่ ง
Aristolochia L.
มีขนสน้ั นุ่มและตอ่ มกระจาย เสน้ โคนใบข้างละ 1-2 เสน้ ก้านใบยาว 1.5-2 ซม. วงศ์ Aristolochiaceae
ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ยาว 5.5-8 ซม. มขี นละอยี ด ใบประดบั รปู แถบ ยาว 6-8 มม.
มีขนสนั้ น่มุ กา้ นดอกยาว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีครีม หลอดกลีบดอกยาว 6-8 มม. ไมเ้ ถาล้มลกุ ไม้เถาเนือ้ แขง็ หรอื ไม้พุ่มทอดนอน ไมม่ ีหูใบ ใบเรียงเวียน เรยี บ
ปลายกลีบเรยี วแคบรปู แถบ ยาว 2-2.5 ซม. ปลายเรียวแหลม กระเปาะกลม จกั 3 พู หรอื รปู ฝ่ามือ ช่อดอกแบบช่อกระจะ ช่อกระจกุ หรือช่อแยกแขนง บางครง้ั
เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 4 มม. เส้าเกสรยาวประมาณ 1.5 มม. ระหวา่ งยอด มดี อกเดยี ว ออกตามซอกใบ ปลายก่งิ ตามกิ่ง หรือเถา กา้ นดอกเชอื่ มติดรงั ไข่
เกสรเพศเมียและอบั เรณู จกั 6 พู เปน็ สันตามยาว กลบี รวมเชือ่ มติดกัน โคนเป็นกระเปาะ ส่วนมากกลม คอดเรยี วเปน็ หลอด มักงอข้ึน
ปลายกลีบบานออก เกสรเพศผู้ 6 อัน แนบตดิ ก้านเกสรเพศเมยี เปน็ เส้าเกสร
พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทผ่ี านกเคา้ จงั หวดั ขอนแกน่ รงั ไข่ใต้วงกลบี มี 6 ช่อง ส่วนมากรูปทรงกระบอก มี 6 สนั ยอดเกสรเพศเมยี มี
ผาผ้ึง จังหวัดชัยภูมิ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ท่ีไทยประจัน จังหวัดราชบุรี 3 หรอื 6 พู ผลแตกตามรอยประสานจากโคนสูป่ ลาย โคนก้านและปลายติดกัน
ขึ้นตามเขาหนิ ปูน ความสูง 200-450 เมตร คลา้ ยกระเช้า เมลด็ จำ� นวนมาก แบน มีปกี หรอื ไม่มี ส่วนมากมีตุ่มกระจายด้าน
เดียวหรอื สองดา้ น

10

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กระเช้าหนู

สกุล Aristolochia มีประมาณ 500 ชนดิ พบในเขตร้อน ในไทยมีพชื พ้ืนเมอื ง กระเชา้ นางพันธรุ ตั : ใบรูปไข่แกมสามเหลย่ี ม ใบประดบั คล้ายรปู หวั ใจ ไรก้ ้าน ติดทน กลบี ดอกด้านในมีขนหนาแนน่
22 ชนดิ และเปน็ ไมป้ ระดบั ประมาณ 5 ชนิด ผลมีสาร Aristolochic acid มีพษิ สงู ผลรูปไขก่ ว้างเกือบกลม มี 6 สัน (ภาพ: เขานางพันธรุ ัต เพชรบรุ ี - RP)
มกี ารนำ�รากของพชื สกลุ กระเชา้ สีดาหลายชนิดมาขายเป็นสมนุ ไพรลดน�้ำ หนกั
ในชอ่ื ไคร้เครอื ใบหลายชนดิ เปน็ อาหารหนอนผเี สือ้ ช่ือกระเชา้ สดี าเปน็ ชื่อท่ี กระเชา้ ใบแคบ: กลบี รวมสีเขียวออ่ น ปากกลบี สีแดงอมน้ำ� ตาล ปลายเรยี วแคบรปู แถบ (ภาพ: ผาผึ้ง ชยั ภมู ิ - NT)
ใช้เรยี ก A. indica L. ของอนิ เดียและศรลี ังกา มีน�ำ เข้ามาปลกู บ้างในไทยแตไ่ ม่
แพร่หลายมากนัก ชือ่ สกลุ มาจากภาษากรีก “aristos” ดีท่ีสุด และ “locheia”
การกำ�เนดิ หมายถงึ พืชท่มี สี รรพคณุ ดา้ นสมุนไพรช่วยให้คลอดงา่ ย

กระเช้าหนู

Aristolochia helix Phuph.
ไม้เถาทอดเลื้อย ลำ� ตน้ เรียงซิกแซก มีขนยาวตามล�ำตน้ แผ่นใบด้านล่าง

และก้านดอก ใบรูปไข่กว้าง ยาว 0.8-1.5 ซม. โคนรปู หัวใจ แผ่นใบด้านบนสาก
เสน้ โคนใบขา้ งละ 1-2 เส้น กา้ นใบ 2-5 มม. ช่อดอกมีดอกเดยี ว ไมม่ ใี บประดบั
ก้านดอกยาว 4-5 มม. ดอกสีครีมอมน�ำ้ ตาล มีขนละเอยี ดดา้ นใน ปากหลอดกลีบ
สมี ว่ งอมแดง หลอดกลบี ดอกยาว 5-9 มม. ปลายกลบี รปู ขอบขนาน ยาว 7-8 มม.
ปลายมน กระเปาะรูปเกอื บกลม ยาว 2-2.5 มม. เสา้ เกสรยาวประมาณ 1.5 มม.
ผลรปู กลม เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 7 มม. เมลด็ คลา้ ยรปู หวั ใจ ยาวประมาณ
3 มม. เรียบหรือมตี มุ่ ประปรายดา้ นเดยี ว

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทางภาคใตท้ พี่ งั งา กระบ่ี ขน้ึ บนเขาหนิ ปนู ความสงู ระดบั
ตำ่� ๆ

เอกสารอ้างอิง
Do, T., C. Neinhuis and S. Wanke. (2014). New synonym of Aristolochia cambodiana
Pierre ex Lecomte. Thai Forest Bulletin (Botany) 42: 96-99.
Do, T., C. Neinhuis, S. Wanke and R. Pooma. (2015). Aristolochia phuphathana-
phongiana: a new species from southwestern Thailand. Nordic Journal of
Botany 33: 567-571. doi 10.1111/njb.00889
Phuphathanaphong, L. (1987). Aristolochiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 1-31.
________. (2006). New taxa of Aristolochia (Aristolochiaceae) from Thailand.
Thai Forest Bulletin (Botany) 34: 179-194.

กระเชา้ ปากเปด็ : ช่อดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ กลบี รวมสมี ว่ งอมแดง ปลายกลบี คล้ายเง่ยี งลกู ศร (ภาพ:
ดอยหวั หมด ตาก; ภาพดอก - RP; ภาพผล - PK)
กระเช้าคลองพนม: ขึ้นเกาะเล้ือยตามหน้าผาหินปนู ก้านใบยาว กลบี ดา้ นในสีเขม้ ผลขนาดเลก็ (ภาพ: เขาสก
สุราษฎร์ธานี; ภาพซ้าย - PK, ภาพขวา - RP)

กระเชา้ ผมี ด: ใบรปู ขอบขนาน เสน้ โคนใบข้างละ 1 เสน้ แผน่ ใบเกล้ยี ง ดอกสคี รีมอมนำ�้ ตาล ปากกลบี สีแดงอม
น้ำ� ตาลเรียวยาว (ภาพ: เชยี งใหม่ - RP)

กระเชา้ ถงุ ทอง: ใบรปู ไข่กวา้ ง หรือจักเป็นพตู น้ื ๆ เส้นโคนใบขา้ งละ 1 เส้น ดอกหนาแนน่ หรอื ประปราย ผลแห้ง กระเช้ายะลา: ช่อดอกแบบชอ่ กระจะ กลีบรวมสีครีมอมเขียว (ภาพซ้าย: บนั นงั สตา ยะลา - RP); ชนิดทีค่ ลา้ ยกับ
แตกคลา้ ยกระเช้า (ภาพ: เลย - PK) กระเช้ายะลา แต่ชอ่ ดอกสัน้ และดอกสมี ว่ งอมแดง หรอื อาจเป็น A. minutiflora (ภาพขวา: ยะลา - RP)

11

กระดังงา สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

กระเชา้ หนู: กง่ิ เรยี งซกิ แซก ล�ำต้นและใบมีขนยาว ชอ่ ดอกมดี อกเดียว ไม่มใี บประดบั (ภาพ: อา่ วพังงา พังงา - TP) เส้นผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 3 มม. ยอดเกสรเพศเมียจกั 3-5 พู สีเหลอื ง อนั ท่ี
เป็นหมนั สีครมี ช่วงดอกเพศผู้สขี าว ยาว 3-7 ซม. อับเรณเู ปน็ เหลี่ยม ปลายเวา้
กระดงั งา รยางคเ์ ชือ่ มติดกันคล้ายหมวก ผลรูปรี ยาวประมาณ 1.2 ซม. สุกสีสม้ อมแดง

Cananga odorata (Lam.) Hook. f. & Thomson พบท่วั ไปในเอเชยี เขตร้อน ขึ้นตามที่รกรา้ ง ทชี่ ้ืนแฉะ หรือพบเป็นไมป้ ระดับ
วงศ์ Annonaceae ส่วนต่าง ๆ มีสารไซยาโนเจน มสี รรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง

ช่อื พ้อง Uvaria odorata Lam., Canangium odoratum (Lam.) Baill. ex King สกลุ Alocasia (Schott) G. Don มีกว่า 100 ชนิด พบในเอเชียเขตรอ้ นและก่ึงเขตร้อน
ถึงออสเตรเลีย ในไทยมปี ระมาณ 12 ชนิด ชื่อสกลุ มาจากภาษากรีก “a” ไม่ และ
ไมต้ ้น สูงไดถ้ ึง 30 ม. มีขนสัน้ นุม่ ตามก่ิงอ่อน เส้นแขนงใบ ก้านใบ ชอ่ ดอก ชอ่ื สกุล Colocasia หมายถึงพชื ท่ีคลา้ ยแต่ไมใ่ ช่สกลุ Colocasia
กลีบเล้ยี ง และกลีบดอก ใบเรียงเวียน รปู รีหรือรปู ขอบขนาน ยาว 10-20 ซม. เอกสารอ้างองิ
โคนเบี้ยว ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ชอ่ ดอกออกเป็นกระจกุ สั้น ๆ ตามกิง่ หรือซอกใบ Boyce, P.C. and D. Sookchaloem. (2012). Araceae (Alocasia). In Flora of
ก้านดอกยาว 2-5 ซม. กลบี เล้ยี ง 3 กลบี รปู ไข่ พับงอกลบั ยาวประมาณ 7 มม.
กลบี ดอก 6 กลบี รปู แถบ ยาวเท่า ๆ กนั ยาว 5-7.5 ซม. ก้านกลบี สัน้ เกสรเพศผู้ Thailand Vol. 11(2): 126-127.
จ�ำนวนมาก ยาวประมาณ 3 มม. แกนอับเรณูมีรยางค์เป็นติ่ง คาร์เพลแยกกัน
ยอดเกสรเพศเมยี เปน็ ชนั้ บาง ๆ ตดิ จานฐานดอกเปน็ รปู หมวก ผลยอ่ ยรปู ขอบขนาน กระดาษ: ไมล้ ม้ ลกุ ขนาดใหญ่ ใบเรียงหนาแนน่ กา้ นชอ่ ดอกโผลพ่ ้นกาบประดบั เลก็ นอ้ ย ปลายง้มุ ลงคล้ายหมวก
ยาว 1.5-2.3 ซม. สกุ สีดำ� ก้านยาว 1.2-1.8 ซม. มี 2-12 เมล็ด เรียงสองแถว ผลสกุ สสี ้มอมแดง (ภาพ: cultivated - RP)

พบทอี่ นิ เดยี พมา่ ภมู ภิ าคมาเลเซยี และออสเตรเลยี ในไทยพบทางภาคใต้ และ กระดุมเตม็
เป็นไม้ประดบั ดอกมีกลน่ิ หอมแรง ชนดิ ยอ่ ย var. fruticosa (Craib) J. Sinclair
หรอื กระดงั งาสงขลา เปน็ ไมพ้ มุ่ กลบี ดอกหลายกลบี พบเฉพาะทปี่ ลกู เปน็ ไมป้ ระดบั Eriocaulon smitinandii Moldenke
วงศ์ Eriocaulaceae
สกุล Cananga (DC.) Hook. f. & Thomson มี 2 ชนดิ อกี ชนดิ คือ สะแกแสง
C. brandisiana (Pierre) I. M. Turner ชอื่ เดิมคอื C. latifolia (Hook. f. & Thomson) ไมล้ ม้ ลกุ คลา้ ยหญา้ ลำ� ตน้ สนั้ ใบออกเปน็ กระจกุ ทโ่ี คน รปู แถบ ยาว 1-3.5 ซม.
Finet & Gagnep. ช่อื สกลุ มาจากภาษามาเลย์ “kenanga” ทใ่ี ช้เรยี กกระดงั งา กา้ นชอ่ โดดมหี นง่ึ หรือหลายช่อ ยาวไดถ้ ึง 20 ซม. มขี นยาว กาบช่อยาว 2-4 ซม.
ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ แน่น แยกเพศรว่ มชอ่ ฐานดอกนูน ใบประดบั คล้ายเกล็ด
เอกสารอา้ งอิง มีขนยาว ดอกสีน้�ำตาลมีขนยาวสีขาว กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปรีหรือรูปใบหอก
Sinclair, J. (1955). A revision of the Malayan Annonaceae. Gardens’ Bulletin ปลายแหลม ยาวประมาณ 1.5 มม. โคนเชอ่ื มตดิ กนั ในดอกเพศผู้ กลบี ดอก 3 กลบี
Singapore 14: 323-325. เรยี วแคบ ยาวเท่า ๆ กัน ยาวประมาณ 1.3 มม. ช่วงปลายมตี ่อม เกสรเพศผู้ 6 อนั
เรียง 2 วง ติดทโี่ คนกลบี ดอก อับเรณสู เี ทาด�ำ รงั ไขม่ ี 3 ช่อง แตล่ ะช่องมีออวลุ
เมด็ เดยี ว ผลแหง้ แตก เมลด็ ขนาดเลก็ สนี �้ำตาลอมเหลอื ง

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออก
และภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ขนึ้ ตามลานหนิ ทรายทช่ี น้ื แฉะ ความสงู 100-200 เมตร

สกลุ Eriocaulon L. อยภู่ ายใตว้ งศ์ย่อย Eriocauloideae มกี วา่ 400 ชนดิ พบใน
เขตรอ้ นและกง่ึ เขตร้อน ในไทยมีประมาณ 40 ชนดิ ชอ่ื สกลุ มาจากภาษากรีก
“erion” ขนปยุ คล้ายขนแกะ และ “kaulos” ลำ�ตน้ หมายถึงพชื ล�ำ ตน้ มขี นปุย
เอกสารอา้ งอิง
Moldenke, H.N. (1959). Notes on new and noteworthy plants. Phytologia 7(2): 87.

กระดงั งา: ช่อดอกออกเปน็ กระจุกสน้ั กลบี เล้ยี งพับงอกลับ กลบี ดอกรูปแถบ ยาวเท่า ๆ กนั (ภาพซา้ ย: cultivated กระดุมเตม็ : ไมล้ ม้ ลุกคลา้ ยหญ้า ช่อดอกแบบชอ่ กระจุกแน่น มีหลายช่อ กา้ นชอ่ โดดและดอกมขี นยาวสขี าว (ภาพ:
- RP); กระดงั งาสงขลา: กลีบดอกหลายกลีบ (ภาพขวา: cultivated - RP) ภูจองนายอย อบุ ลราชธานี - PK)

กระดาษ

Alocasia macrorrhizos (L.) G. Don
วงศ์ Araceae

ช่ือพอ้ ง Arum macrorrhizon L.

ไมล้ ม้ ลกุ ลำ� ตน้ สงู ไดถ้ งึ 2 ม. มนี ำ้� ยางสขี าว ใบเรยี งหนาแนน่ ทย่ี อด รปู ไขแ่ กม
สามเหลีย่ ม ยาวไดถ้ งึ 120 ซม. โคนแฉกลกึ เป็นเงีย่ งลูกศร เส้นโคนใบขา้ งละ
1 เสน้ กา้ นใบอวบ ยาว 50-120 ซม. เป็นกาบประมาณก่ึงหน่งึ ช่อดอกแบบชอ่ เชิงลด
มกี าบ ออกเปน็ คูต่ ามซอกกาบ กาบหมุ้ ช่อดอกสีครมี ยาว 13-35 ซม. โคนกาบ
รูปไข่ ปลายเรยี วแคบรูปใบหอก ยาว 10-29 ซม. งุม้ คลา้ ยหมวก ช่อดอกสน้ั กวา่
กาบเลก็ นอ้ ย กา้ นช่อสนั้ ดอกเพศเมียอยู่ดา้ นล่าง รูปกรวย ยาว 1-2 ซม. รังไข่

12

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กระดูกไกด่ มุ

กระดมุ ทองเลอ้ื ย กระดูกไก่

Sphagneticola trilobata (L.) Pruski Euonymus indicus B. Heyne ex Wall.
วงศ์ Asteraceae วงศ์ Celastraceae

ช่อื พอ้ ง Silphium trilobatum L., Wedelia trilobata (L.) Hitchc. ชอื่ พอ้ ง Euonymus javanicus Blume

ไม้ลม้ ลุกทอดนอน มขี นสนั้ แข็งกระจาย ใบเรยี งตรงขา้ ม รปู รีหรือรูปไข่กลบั ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 20 ม. ใบเรยี งตรงขา้ ม รปู รี รปู ขอบขนาน หรอื แกม
ยาว 3-10.5 ซม. สว่ นมากจกั 3 พู ขอบจกั เส้นแขนงใบเส้นลา่ งยาวและนนู ชดั รูปไข่กลบั ยาว 5-20 ซม. ขอบเรียบหรอื จักช่วงปลาย ก้านใบยาว 5-8 มม. ดอกออก
ก้านใบสัน้ ชอ่ ดอกแบบช่อกระจุกแนน่ ออกเด่ียว ๆ ตามซอกใบ เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง เด่ยี ว ๆ หรอื เปน็ ช่อกระจกุ ส้นั ๆ ไมแ่ ยกแขนง ใบประดับขนาดเลก็ จักชายครุย
2-2.5 ซม. ก้านช่อยาวได้ถงึ 14 ซม. วงใบประดบั สีเขียว 12-15 ใบ เรียง 2 ชั้น กา้ นดอกยาว 0.5-2 ซม. กลบี ดอกและกลบี เลยี้ งจำ� นวนอยา่ งละ 5 กลบี เรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม
ดอกวงนอกเพศเมีย รูปลิน้ ยาว 1-1.5 ซม. ปลายจกั 3 พูตื้น ๆ วงในสมบรู ณเ์ พศ กลบี เลยี้ งรูปไขห่ รือรปู คลา้ ยไต ขนาดไม่เทา่ กัน กว้าง 1.5-6 มม. ดอกสเี หลอื ง
กลบี เชื่อมติด ยาว 4.5-5.5 มม. ปลายจัก 5 พู เกสรเพศผู้ 5 อนั รังไขใ่ ต้วงกลีบ อมเขยี วหรอื ชมพู โคนกลบี ดา้ นในมกั มปี น้ื แดง กลบี รปู ไขก่ ลบั กวา้ ง 3.5-6.5 มม.
ยอดเกสรเพศเมยี แยก 2 แฉก ผลแห้งเมล็ดล่อน สดี ำ� ยาวประมาณ 3 มม. ผวิ มีต่มุ ขอบจักชายครุย จานฐานดอกคล้ายเบาะ เกสรเพศผู้ 5 อัน ยาวประมาณ 2.5 มม.
แพปพัสคลา้ ยเกลด็ รงั ไขม่ ี 5 ชอ่ ง ผลแหง้ แตกรปู ไขก่ ลบั กวา้ ง จกั 5 พู ยาว 2-3.5 ซม. ปลายเปน็ จะงอย
มี 1-2 เมล็ดในแต่ละชอ่ ง โคนเมลด็ มีเย่ือห้มุ สีสม้
มีถ่นิ ก�ำเนิดในอเมรกิ ากลางและเมก็ ซิโก เปน็ ไม้ประดับคลมุ ดิน
พบทอ่ี ินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจนี คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา บอร์เนยี ว
สกุล Sphagneticola O. Hoffm. มี 4 ชนดิ พบเฉพาะในอเมริกาเขตร้อน ช่ือสกลุ ฟลิ ิปปินส์ และนวิ กนิ ี ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แล้ง ป่าดิบเขา และป่าดบิ ช้นื
มาจากภาษาละตนิ “sphagnos” มอสชนดิ หนึ่งที่มีกล่นิ หอม อาจหมายถงึ พืชที่ ความสูงถงึ ประมาณ 1500 เมตร
ขึน้ คลุมดนิ คลา้ ยพวกมอส
สกลุ Euonymus Tourn. ex L. มปี ระมาณ 130 ชนดิ พบทอ่ี เมรกิ าเหนอื มาดากสั การ์
เอกสารอา้ งองิ ยโุ รป เอเชยี และออสเตรเลยี ในไทยมี 7 ชนดิ ชอ่ื สกุลเป็นภาษากรีก “euonymon
Strother, J.L. (2006). Asteraceae (Sphagneticola). In Flora of North America dendron” หมายถึงต้นไม้ทีม่ ีชอ่ื ดี
Vol. 21: 126. http://www.efloras.org
เอกสารอ้างองิ
Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of
Thailand Vol. 10(2): 160.

กระดมุ ทองเลื้อย: ใบจักเป็นพู ขอบจักซฟี่ นั ชอ่ กระจุกแน่น กลีบดอกวงนอก รปู ล้ิน ปลายจกั 3 พูต้นื ๆ (ภาพ: กระดูกไก่: ใบเรยี งตรงขา้ ม ผลแห้งแตก รูปไข่กลับกวา้ ง จกั เปน็ พู ปลายเป็นจะงอย โคนเมล็ดมีเยอื่ หมุ้ สสี ้ม (ภาพ:
cultivated - RP) แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK)

กระดุมไพลนิ กระดูกไก่ดมุ

Centratherum punctatum Cass. Breynia discigera Müll. Arg.
วงศ์ Asteraceae วงศ์ Phyllanthaceae

ไม้ล้มลุก สูง 10-50 ซม. มีขนส้ันนุ่มตามล�ำต้นและใบ ใบเรียงเวียน ยาว ไมพ้ มุ่ หรอื รอเลอื้ ย สงู ไดถ้ งึ 5 ม. กง่ิ และใบมขี นหนาแนน่ ใบเรยี งสลบั ระนาบเดยี ว
2.5-8 ซม. ขอบจกั ซฟ่ี ันสองชัน้ เส้นแขนงใบขา้ งละ 5-8 เส้น กา้ นใบยาว 0.5-1 ซม. รูปรหี รอื รูปไข่ ยาว 1.3-5 ซม. ดา้ นลา่ งมีนวล ก้านใบยาว 1-3 มม. ดอกเพศผ้อู ยู่
มีครีบ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกแนน่ ออกเด่ยี ว ๆ ท่ปี ลายก่ิง เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง ช่วงโคนก่ิง ก้านดอกยาว 0.5-3 มม. กลบี เลยี้ งสชี มพอู มนำ�้ ตาล ยาวประมาณ
2-8 ซม. ก้านช่อยาว 5-8 ซม. วงใบประดบั ชัน้ นอกคล้ายใบ ไมม่ ดี อกย่อย ชั้นใน 1.7 มม. จกั ตน้ื ๆ เกสรเพศผเู้ ชอ่ื มตดิ กนั ประมาณ 1 มม. ดอกเพศเมยี กา้ นดอกยาว
สเี ขยี วมแี ตม้ สมี ว่ งแดง รปู ขอบขนาน ยาว 0.5-1 ซม. ดอกสมี ว่ ง ดอกยอ่ ยวงในยาว 0.5-1.5 มม. กลบี เล้ียงยาว 1.5-2 มม. ขยายในผล ดา้ นนอกมีขน รงั ไขม่ ขี น ผลกลม
0.9-1.4 ซม. วงกลีบดอกเชื่อมตดิ เป็นหลอด ด้านในมีขน มี 5 แฉกรูปขอบขนาน เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 5 มม. ปลายมกี ะบงั สกุ สแี ดง เมลด็ ยาวประมาณ 4 มม.
เกสรเพศผู้ 5 อัน รงั ไข่ใตว้ งกลีบ ยอดเกสรเพศเมยี แยก 2 แฉก ผลแห้งเมล็ดล่อน เยอื่ หุม้ สสี ม้ (ดูข้อมูลเพิม่ เตมิ ที่ ครามน�ำ้ , สกุล)
ยาว 3-5 มม. มสี ันตามยาว แพปพัสเป็นขนคลา้ ยหนามจำ� นวนมาก ยาว 1-3 มม.
พบท่คี าบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทย ขนึ้ ตามป่าชายหาด ชาย
มีถ่ินกำ� เนดิ ในอเมรกิ าเขตร้อน เป็นไมป้ ระดับและวัชพืช น�ำ้ มันที่สกดั จากใบ ปา่ ดิบช้ืน หรือป่าเสือ่ มโทรม ความสูงไมเ่ กนิ 300 เมตร ใบใชป้ ระคบบรรเทาโรคไต
เปน็ ยาปฏชิ วี นะ
เอกสารอ้างองิ
สกุล Centratherum Cass. มี 4 ชนิด พบในอเมรกิ า ออสเตรเลยี และหมู่เกาะ van Welzen, P.C. and H.-J. Esser. (2005). Euphorbiaceae (Breynia). In Flora of
แปซฟิ ิก ชือ่ สกุลมาจากภาษากรีก “kentron” หนาม และ “ather” ขนเครา ตาม Thailand Vol. 8(1): 134-136.
ลกั ษณะแพปพสั

เอกสารอ้างองิ
Strother, J.L. (2006). Asteraceae (Centratherum). In Flora of North America
Vol. 21: 206. http://www.efloras.org

กระดมุ ไพลนิ : ขอบใบจักซ่ีฟันสองชน้ั ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ แนน่ แพปพัสคลา้ ยหนาม (ภาพ: cultivated - MP) กระดกู ไก่ดมุ : ใบเรยี งสลับระนาบเดยี ว ดอกเพศผตู้ ดิ ช่วงโคนกงิ่ ก้านดอกยาว ดอกเพศเมียกา้ นดอกสนั้ ปลายผลมี
กะบัง กลีบเลย้ี งขยายในผล (ภาพ: สิงหนคร สงขลา - RP)

13

กระโดน สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กระโดน ยาว 5-7 มม. กลบี เลย้ี งหนา มี 4 กลบี รูปไข่ ยาว 0.5-1 ซม. เรียงซอ้ นเหลื่อม ติดทน
ดอกสีเขยี วอ่อน มี 4 กลีบ รปู ขอบขนานแกมรปู ไข่กลับ มว้ นงอ ยาว 1.5-3.5 ซม.
Careya arborea Roxb. เกสรเพศผู้โคนเชอ่ื มติดกันประมาณ 1 ซม. กา้ นชูอับเรณยู าว 2.5-4.5 ซม. โคนสแี ดง
วงศ์ Lecythidaceae อมชมพู จานฐานดอกเป็นวง รงั ไข่ใตว้ งกลบี มี 3-4 ช่อง เกสรเพศเมยี รูปเสน้ ดา้ ย
ยาวกว่าเกสรเพศผู้ ติดทน ผลรูปไขห่ รือรูปรี ยาว 3-4 ซม. ผนังชน้ั นอกบาง ช้นั กลาง
ชือ่ พ้อง Careya sphaerica Roxb. เปน็ เสน้ ใย มีได้ถงึ 15 เมลด็ รปู ไข่ มี 3-4 เหลีย่ ม

ไมต้ น้ ผลดั ใบ อาจสูงไดถ้ ึง 30 ม. แตกก่ิงตำ่� กงิ่ อ่อนเป็นเหล่ียม หูใบขนาดเล็ก พบทหี่ มูเ่ กาะนโิ คบารข์ องอนิ เดยี ภมู ภิ าคมาเลเซีย และนวิ กินี ในไทยพบท่ี
ร่วงเร็ว ใบเรียงเวยี น รูปไขก่ ลบั กวา้ ง ยาว 20-30 ซม. ขอบจกั ฟันเลือ่ ย เส้นแขนงใบ เบตง จงั หวดั ยะลา ข้นึ ตามชายปา่ ดบิ ชื้นใกลล้ �ำธาร ความสงู ประมาณ 300 เมตร
เรยี งจรดกนั ใกลข้ อบใบ กา้ นใบคลา้ ยเปน็ ครบี ยาว 1-3 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ใบอ่อนกินไดค้ ลา้ ยกระโดน เปลือกใช้ทาแก้โรคผิวหนัง
ตัง้ ขึ้น ออกท่ีปลายกงิ่ พร้อมผลิใบออ่ น ใบประดับ 3 ใบ ดอกไร้กา้ น กลบี เล้ียง
4 กลีบ เช่ือมตดิ กนั ประมาณกึง่ หนงึ่ เรียงซ้อนเหลือ่ ม ยาว 2-2.5 ซม. ดอกสขี าว สกลุ Planchonia Blume มี 9 ชนดิ พบทห่ี มเู่ กาะนิโคบารแ์ ละอนั ดามันของอนิ เดีย
อมเขียว ขอบสชี มพู มี 4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก ภูมภิ าคมาเลเซยี ออสเตรเลยี และหม่เู กาะโซโลมอน ในไทยมี 3 ชนิด พบเฉพาะ
เชอื่ มตดิ กันประมาณ 1 ซม. สีขาวหรอื อมแดง วงนอกยาวกว่าวงดา้ นใน วงใน ทางภาคใต้ตอนลา่ ง ชอ่ื สกลุ ตัง้ ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Jules Émile
เป็นหมนั ก้านชูอบั เรณยู าว 2-4.5 ซม. จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่ใต้วงกลบี Planchon (1823-1888)
มี 4-5 ช่อง กา้ นเกสรเพศเมียเรยี วยาว ผลสดมีหลายเมลด็ เส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 5-8 ซม.
ปลายผลมกี ลบี เลย้ี งตดิ ทน เมลด็ จำ� นวนมาก รปู ขอบขนาน แบน ยาวประมาณ 1 ซม. เอกสารอา้ งองิ
Pinard, M.A. (2002). Lecythidaceae. In Tree Flora of Sabah and Sarawak Vol.
พบทอ่ี ินเดีย อฟั กานิสถาน ศรลี ังกา พมา่ ภูมภิ าคอนิ โดจีน คาบสมทุ รมลายู 4: 124-128.
และฟลิ ปิ ปินส์ ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามปา่ เต็งรงั ป่าเบญจพรรณ และป่าดบิ แล้ง Prance, G.T. (2012). Lecythidaceae. In Flora of Peninsular Malaysia Vol. 3:
ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร เปลือกหนาทนไฟ เสน้ ใยจากเปลอื กใชท้ �ำเชือก 213-217.
เบาะรองหลงั ชา้ ง ยอ้ มผา้ ใหส้ นี ำ้� ตาลแดง ใบ ดอก และผลออ่ นเปน็ ผกั สด มปี รมิ าณ
oxalic acid สงู อาจท�ำให้เกิดน่ิวในกระเพาะปัสสาวะ เมล็ดและรากมพี ิษ

สกุล Careya Roxb. อยูภ่ ายใต้วงศย์ อ่ ย Barringtonioideae มี 3 ชนิด พบเฉพาะ
ในเอเชียเขตรอ้ น ในไทยมรี ายงานว่ามีชนิด C. herbacea Roxb. หรือ กระโดนดิน
กระจายทัว่ ไปตามท้องนา เปน็ ไมพ้ มุ่ เต้ีย รากหนาอวบ ปัจจบุ นั หายาก ส่วน C.
valida Kurz พบที่หมเู่ กาะอนั ดามันของอนิ เดยี ชอื่ สกลุ ตัง้ ตามนกั พฤกษศาสตร์
ชาวอังกฤษและเป็นหมอสอนศาสนาในอินเดีย William Carey (1761-1834)

เอกสารอ้างอิง
Prance, G.T. (1998). Careya Roxb. In Plant Resources of South-East Asia
5(3). Timber trees: Lesser-known timbers. Prosea Foundation, Bogor,
Indonesia.
________. (2012). Lecythidaceae. In Flora of Peninsular Malaysia Vol. 3: 211-213.

กระโดน: เรอื นยอดแผก่ ว้าง ผลรปู ไขห่ รือเกอื บกลม กลีบเลยี้ งตดิ ทน ช่อดอกแบบชอ่ กระจะตง้ั ขึ้น (ภาพซา้ ยบนและ กระโดนใต:้ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ออกท่ีปลายกิ่ง แกนชอ่ และก้านดอกหนา ดอกสีเขียวอ่อน เกสรเพศผู้โคนเชอ่ื ม
ภาพลา่ ง: แม่สะนาม เชยี งใหม่ - RP); กระโดนดิน: ไม้พมุ่ เตย้ี ช่อดอกออกสน้ั ๆ ทปี่ ลายกงิ่ (ภาพขวาบน: เนปาล - RP) ติดกัน โคนก้านชอู บั เรณสู แี ดงอมชมพู (ภาพ: เบตง ยะลา - RP)

กระโดนใต้ กระแตไตไ่ ม,้ สกุล

Planchonia valida (Blume) Blume Drynaria (Bory) J. Sm.
วงศ์ Lecythidaceae วงศ์ Polypodiaceae

ช่อื พ้อง Pirigara valida Blume เฟนิ ขน้ึ บนพนื้ ดนิ บนหนิ หรอื องิ อาศยั เหงา้ สนั้ หรอื ทอดเลอ้ื ย เกลด็ จกั ซฟี่ นั
ใบสว่ นมากแยกเปน็ 2 แบบ ใบประกบตน้ ไร้ก้าน ตดิ ทน เปน็ ทีก่ กั เกบ็ ซากพชื
ไม้ตน้ สูงได้ถงึ 35 ม. โคนมีพูพอน กงิ่ มกั เป็นเหลีย่ ม รอยแผลใบชัดเจน หูใบรูป คลา้ ยตะกรา้ ใบแทแ้ ฉกแบบขนนก กลุ่มอบั สปอร์ขนาดเลก็ เรียงเป็นแถวตาม
ล่ิมแคบ รว่ งเร็ว ใบเรยี งเวยี น รูปรหี รือรปู ไขก่ ลบั ยาว 10-20 ซม. ปลายแหลมยาว เสน้ แขนงใบ อบั สปอร์เกลย้ี งหรือมีต่อมขน สปอร์มหี นามหรอื ต่มุ กลม ๆ
โคนสอบจรดกา้ นใบคลา้ ยเปน็ ครบี ขอบจกั ฟนั เลอื่ ย กา้ นใบยาว 1-3 ซม. ชอ่ ดอก
แบบชอ่ กระจะต้ังข้นึ ยาว 6-13 ซม. แกนช่อและกา้ นดอกหนา ยาว 0.2-1 ซม. สกลุ Drynaria หรือ Basket ferns มีกวา่ 50 ชนิด พบในเขตรอ้ นและกงึ่ เขต
ใบประดับคลา้ ยใบ ใบประดับยอ่ ยรปู ขอบขนาน ยาว 0.7-1.5 ซม. ติดทน ฐานดอก ร้อน ในไทยมี 7 ชนดิ ชอื่ สกลุ มาจากภาษากรีก “dryinos” ต้นก่อ หมายถงึ ใบ
จักเปน็ พคู ล้ายใบก่อ หลายชนดิ มสี รรพคุณด้านสมุนไพร

กระแตไตไ่ ม้

Drynaria bonii Christ
เฟนิ เกาะอิงอาศยั เหงา้ ทอดเลอ้ื ย มเี กลด็ หนาแน่น กลางเกลด็ มีสนี ำ�้ ตาลด�ำ

ขอบสอี อ่ น รปู ไข่ ปลายยาวคลา้ ยหาง ขอบจกั ซฟี่ นั หรอื จกั ชายครยุ ใบประกบตน้
จำ� นวนมากเรยี งซ้อนเหล่ือมหมุ้ เหง้า รปู ไข่ ยาว 5-10 ซม. โคนเว้ารูปหัวใจ ใบจัก
เปน็ พแู บบขนนก ยาว 30-55 ซม. แฉกลกึ รปู ใบหอกกลบั ยาว 10-22 ซม. ปลายแหลม
หรอื ยาวคลา้ ยหาง โคนเรยี วแคบเชอ่ื มตดิ กนั คลา้ ยปกี กา้ นใบยาว 10-25 ซม. มปี กี
แคบ ๆ โคนมเี กลด็ หนาแนน่ กลมุ่ อบั สปอรร์ ปู กลม ๆ เรยี งไมเ่ ปน็ ระเบยี บ 2-4 แถว
ระหว่างเส้นแขนงใบ

พบท่ีจีน และภูมภิ าคอินโดจีน ในไทยพบแทบทกุ ภาค ยกเวน้ ภาคใต้ ข้ึนตาม
ป่าดิบแล้ง และปา่ ดิบชื้น ความสงู ถึงประมาณ 1000 เมตร

14

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กระถินณรงค์

กระแตไต่ไม้ สกลุ Leucaena Benth. อยภู่ ายใต้วงศ์ยอ่ ย Mimosoideae มปี ระมาณ 50 ชนิด
พบเฉพาะในอเมริกาเขตรอ้ น ช่อื สกุลมาจากภาษากรีก “leukos” สีขาว ตาม
Drynaria quercifolia (L.) J. Sm. ลกั ษณะของดอก
เอกสารอา้ งอิง
ช่ือพ้อง Polypodium quercifolium L. Nielsen, I.C. (1985). Legiminosae-Mimosoideae. In Flora of Thailand Vol. 4(2):

เฟินเกาะอิงอาศยั เหง้าทอดเลอ้ื ยส้ัน ๆ มีเกลด็ สนี ้�ำตาลหนาแนน่ ขอบเกลด็ 155-156.
จกั ซ่ีฟนั ใบไม่สร้างสปอรไ์ รก้ ้าน รูปไข่ ยาว 15-50 ซม. ขอบจกั เป็นพูตืน้ ๆ ยาว
ไดถ้ งึ 5 ซม. ปลายมนหรอื แหลม ใบสร้างสปอร์รปู ขอบขนาน ยาว 40-150 ซม. กระถนิ : ใบประกอบสองชัน้ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นแยกแขนงแบบช่อกระจะ (ภาพ: ประจวบคีรีขนั ธ์ - RP)
ขอบจกั เปน็ พแู บบขนนก แฉกลกึ เกอื บถงึ เสน้ กลางใบ โคนเชอ่ื มตดิ กนั คลา้ ยปกี
พรู ปู ขอบขนาน ปลายเรยี วแคบ ยาว 1-30 ซม. ปลายแหลมหรอื เรยี วแหลม มชี อ่ ง กระถนิ ณรงค์, สกลุ
รา่ งแหหนาแนน่ กา้ นใบยาว 15-35 ซม. มปี กี แคบ ๆ โคนมเี กลด็ หนาแนน่ กลมุ่ อบั สปอร์
กลม ขนาดประมาณ 2 มม. เรียง 2 แถวระหว่างเสน้ ใบแขนงใบ Acacia Mill.
วงศ์ Fabaceae
พบทอี่ นิ เดยี ศรลี งั กา จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ฟจิ ิ และ
ออสเตรเลยี ขนึ้ ตามโขดหินหรือบนต้นไม้ โดยเฉพาะความสงู ระดับต่�ำ ๆ ไมพ้ ุ่มหรอื ไมต้ ้น ต้นกลา้ เปน็ ใบประกอบ 2 ชน้ั ต้นโตกา้ นใบกลายเป็นใบ
(phyllodinous foliage) เรยี งเวยี น พบนอ้ ยทเ่ี ป็นใบประกอบ ช่อดอกแบบ
เอกสารอ้างองิ ชอ่ กระจกุ แนน่ หรอื ชอ่ เชงิ ลด กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกกลบี เชอื่ มตดิ กนั ปลายสว่ นมาก
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and แยก 5 แฉก เกสรเพศผ้จู �ำนวนมาก แยกกัน รงั ไข่มีชอ่ งเดยี ว ก้านเกสรเพศเมยี
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/ เรียวยาว ยอดเกสรขนาดเลก็ ออวุลจ�ำนวนมาก ผลเป็นฝกั ผวิ เมล็ดมีรอยรูปตวั ยู
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae. In Flora of Thailand 3(4): (pleurogram)
543-550.
Xianchun, Z. and M.G. Gilbert. (2013 ). Polypodiaceae (Drynaria). In Flora of สกุล Acacia อยู่ภายใตว้ งศย์ ่อย Mimosoideae เดมิ มมี ากกว่า 1450 ชนดิ
China Vol. 2-3: 766. ปจั จบุ นั ถูกจำ�แนกออกเปน็ อย่างน้อย 5 สกลุ เปน็ สกลุ ท่ีพบในไทย 2 สกลุ คือ
Senegalia และ Vachellia สว่ นสกุล Acacia พบเฉพาะท่ีเปน็ พืชตา่ งถิน่ ประมาณ
กระแตไตไ่ ม:้ D. bonii ใบประกบต้นหมุ้ เหง้า ใบจกั ลกึ กล่มุ อับสปอร์เรยี งไม่เป็นระเบยี บ (ภาพ: ภสู วนทราย เลย - PK) 3 ชนดิ ชอื่ สกลุ มาจากภาษากรีก “akakia” หนาม หมายถึงต้นไม้มหี นาม

กระแตไต่ไม:้ D. quercifolia เหงา้ มเี กลด็ หนาแน่น กลุม่ อับสปอร์กลม เรยี ง 2 แถวระหวา่ งเสน้ ใบแขนงใบ (ภาพ: กระถินณรงค์
พรุโตะ๊ แดง นราธวิ าส - PC)
Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth.
กระถิน ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 15 ม. แผน่ ก้านใบรปู ขอบขนาน โคง้ ปลายเรยี วแหลมทงั้ 2 ดา้ น

Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit ยาว 8-20 ซม. เสน้ ใบเรยี งขนานกันตามยาว 3-4 เสน้ ชอ่ ดอกแบบช่อเชงิ ลด
วงศ์ Fabaceae ยาว 4-10 ซม. ช่อดอกย่อยแบบชอ่ กระจุก ดอกไร้กา้ น กลีบเลยี้ งยาว 0.5-1 มม.
ขอบจัก กลีบดอกโค้งลง ยาว 1.5-2 มม. เกสรเพศผสู้ ีเหลือง ก้านชูอบั เรณยู าว
ช่ือพ้อง Mimosa leucocephala Lam. 2.5-4 มม. รังไขม่ ีขนละเอยี ด ฝกั แบน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 6-7 ซม. บดิ ม้วนเปน็ วง
ฝกั ออ่ นมนี วล มี 5-12 เมลด็ รปู ไข่หรอื รูปรี ยาว 4-6 มม.
ไมพ้ ่มุ หรือไม้ต้น สงู 5-10 ม. แกนใบประกอบยาว 15-20 ซม. มตี ่อมบนกา้ น
ใตร้ อยต่อใบประกอบย่อยชว่ งลา่ ง ใบประกอบยอ่ ยมี 4-10 คู่ ยาว 5-10 ซม. มีถ่ินกำ� เนดิ ในปาปวั นิวกินีและออสเตรเลีย น�ำเข้ามาปลูกเป็นสวนป่าเพื่อใช้
ใบย่อยมี 5-20 คู่ รูปขอบขนานถงึ รูปแถบ ยาว 0.6-2 ซม. โคนเบี้ยว แผน่ ใบดา้ นลา่ ง เปน็ เชือ้ เพลิง ท�ำกระดาษ บำ� รงุ ดิน และฟืน้ ฟสู ภาพปา่ เชน่ เดยี วกบั กระถินเทพา
มีนวล ช่อแบบชอ่ กระจกุ แน่น แยกแขนงแบบชอ่ กระจะ กา้ นช่อยาว 2-5 ซม. A. mangium Willd. ซ่ึงมเี กสรเพศผสู้ ีเหลืองครมี เสน้ ใบมี 4-5 เส้น
ชอ่ กระจุกเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5-2 ซม. ดอกมขี นประปราย หลอดกลบี เลี้ยงยาว
ประมาณ 2.5 มม. ปลายจกั 5 แฉกขนาดเล็ก กลบี ดอก 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว เอกสารอ้างองิ
4.5-5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อนั แยกกนั ยาว 0.8-1 ซม. อบั เรณมู ีขน รังไขม่ ีกา้ น Contu, S. (2012). Acacia auriculiformis. The IUCN Red List of Threatened
ก้านเกสรเพศเมยี เรยี วยาว ฝักแบนรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. มี 10-20 เมลด็ Species 2012: e.T19891902A19997222. http://dx.doi.org/10.2305/IUCN.
UK.2012.RLTS.T19891902A19997222.en
มถี น่ิ กำ� เนดิ ในเมก็ ซโิ ก ไทยนำ� เขา้ มาเพอ่ื เลยี้ งสตั ว์ ใบและเมลด็ มสี ารพษิ พวก Maslin, B.R. (2015). Synoptic overview of Acacia sensu lato (Leguminosae:
leucenine แตไ่ ม่เปน็ อันตรายแกส่ ัตว์เล้ียง Mimosoideae) in East and Southeast Asia. Gardens’ Bulletin Singapore
67(1): 231-250.

กระถินณรงค์: แผ่นคล้ายใบ (phyllodes) เส้นใบเรียงขนานกนั ชอ่ ดอกแบบช่อเชิงลด สีเหลอื ง (ภาพซา้ ย:
cultivated - PK); กระถินเทพา: ช่อดอกสขี าว ฝักแกบ่ ิดมว้ น (ภาพกลางและขวา: cultivated - RP)

15

กระถินทงุ่ สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กระถินทงุ่ , สกลุ กระถินเทศ

Xyris L. Vachellia farnesiana (L.) Wight & Arn.
วงศ์ Xyridaceae
ช่ือพ้อง Mimosa farnesiana L., Acacia farnesiana (L.) Willd.
ไม้ล้มลุก มีหัวหรือเหง้าคล้ายไหล รากฝอยจ�ำนวนมาก ใบเรียงซ้อนใน
ระนาบเดยี ว มกี าบ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แนน่ บนกา้ นชอ่ โดด ใบประดบั เรยี ง ไม้พุม่ หรอื ไม้ต้น สูงได้ถึง 8 ม. หูใบเปน็ หนาม ยาว 3-5 ซม. ใบประกอบ
ซ้อนเหลื่อม ติดทน ใบประดับท่ีมีดอกปลายมักเป็นแอ่ง (stomatal field) ออกเปน็ กระจุกสนั้ ๆ ตามกง่ิ แกนกลางยาว 4-6 ซม. กา้ นยาว 1-1.3 ซม. มตี ่อม
แตล่ ะใบประดบั มดี อกเดยี ว กลบี เลยี้ ง 3 กลบี กลบี คขู่ า้ งมสี นั กลาง ตดิ ทน กลบี กลาง ดา้ นบน ใบประกอบยอ่ ยมี 4-7 คู่ ยาว 1.5-3 ซม. กา้ นสนั้ ใบยอ่ ยมี 10-20 คู่
คลา้ ยหมวก บาง หุม้ ดอกในตาดอก ร่วงเร็ว กลีบดอก 3 กลบี สีเหลอื ง มกี า้ น รปู ขอบขนาน เบี้ยว ยาว 2-7 มม. ไรก้ ้าน ช่อดอกสเี หลอื ง ออกเป็นกระจุกแนน่
เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนกลีบดอก ก้านชอู ับเรณแู บน ๆ อบั เรณูติดทีโ่ คน ปลายแยก เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 1-1.5 ซม. ก้านช่อยาว 1.5-4.5 ซม. ใบประดบั ขนาดเลก็ 4-5 ใบ
2 แฉก โคนรปู เงยี่ งลกู ศร เกสรเพศผทู้ เ่ี ปน็ หมนั 3 อนั หรอื ไมม่ ี มรี ยางคแ์ ยก 2 แฉก ดอกไร้ก้าน ใบประดับย่อยยาวประมาณ 1 มม. มีขน กลบี เล้ยี งยาว 1.3-1.5 มม.
มขี นยาว รงั ไขเ่ หนอื วงกลบี มชี อ่ งเดยี ว ไรก้ า้ น กา้ นเกสรเพศเมยี รปู เสน้ ดา้ ย แยกเปน็ กลบี ดอกเชื่อมตดิ กันประมาณ 2.5 มม. เกสรเพศผ้ยู าว 3.5-5.5 มม. รังไขม่ ขี น
3 แฉก ยอดเกสรรูปคล้ายเกอื กม้า ผลแห้งแตก เมลด็ จ�ำนวนมาก ละเอียด ฝกั รูปทรงกระบอก ยาว 2-9 ซม. ผนงั หนา เมลด็ รูปรี ยาว 7-8 มม.

สกุล Xyris เป็นพืชใบเลย้ี งเดย่ี ว มีประมาณ 280 ชนดิ พบในเขตรอ้ นและเขต มีถน่ิ ก�ำเนดิ ในอเมรกิ ากลางและอเมริกาใต้ เป็นไม้ประดับและข้ึนเป็นวชั พืช
อบอนุ่ ในไทยมี 17 ชนดิ ชอื่ สกุลมาจากภาษากรกี “xyron” ใบมดี ตามลกั ษณะใบ ท่ัวไปในเขตรอ้ น ใบใชเ้ ลย้ี งสตั ว์ เมลด็ กนิ ได้ ใหน้ ้�ำมนั ดอกใชท้ �ำนำ้� หอม

กระถนิ ทุง่ เอกสารอ้างอิง
Maslin, B.R. (2015). Synoptic overview of Acacia sensu lato (Leguminosae:
Xyris bancana Miq. Mimosoideae) in East and Southeast Asia. Gardens’ Bulletin Singapore
ไมล้ ้มลกุ แตกกอ สูงได้ถงึ 1 ม. มเี หงา้ คล้ายไหล ใบรูปแถบ บิดเวยี น ยาว 67(1): 231-250.
Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae (Acacia farnesiana). In Flora of
30-70 ซม. กา้ นช่อดอกยาวไดถ้ งึ 1 ม. มสี ันเป็นริ้ว 1-2 เสน้ ช่อดอกรปู รีหรือ Thailand Vol. 4(2): 163-164.
รปู ทรงกระบอก ยาวไดถ้ งึ 1 ซม. ใบประดบั รปู รหี รอื รปู ไข่ ยาว 4-8 มม. ใบประดบั
ทม่ี ดี อกมแี อง่ รปู รแี กมสามเหลย่ี ม ยาวประมาณ 2.5 มม. กลบี เลย้ี งคขู่ า้ งรปู ใบหอก กระถินเทศ: หูใบเปน็ หนาม ใบประกอบ 2 ชน้ั ออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามกิ่ง ฝกั รปู ทรงกระบอก (ภาพ:
ยาว 5-8 มม. สนั ท่ปี ลายมขี นอุย กลบี ดอกรปู ไขก่ ลบั ยาว 6-9 มม. ขอบเรยี บหรอื สามรอ้ ยยอด ประจวบครี ีขันธ์ - RP)
จักชายครยุ ตน้ื ๆ อับเรณยู าว 2-2.5 มม. เกสรเพศผูท้ ีเ่ ป็นหมนั ยาวประมาณ 4 มม.
ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-4 มม. แฉกยาวประมาณ 3 มม. ผลสีน�้ำตาลเข้มหรอื ใส กระถินนา
รูปไข่กลับ ยาว 5-6 มม. เมลด็ มสี ันตามยาว 16-18 สัน แนวขวาง 5-9 สนั
Xyris indica L.
พบท่ีภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายทั่วไปทาง วงศ์ Xyridaceae
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ข้ึนตามที่ชื้นแฉะ
ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร ไมล้ ม้ ลุกออกเดยี่ ว ๆ หรอื แตกกอ สงู ไดถ้ ึง 1 ม. ใบจ�ำนวนมากรปู ดาบ ยาว
30-60 ซม. กา้ นชอ่ ดอกยาว 30-70 ซม. มีรว้ิ 6-15 เสน้ ช่อดอกรปู ไข่หรอื ทรง
เอกสารอ้างองิ กระบอก ยาว 1-3.5 ซม. ใบประดบั รูปไข่ ยาว 4-8 มม. ใบประดบั ทม่ี ดี อกมีแอ่ง
Hansen, B. (1987). Xyridaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 130-138. รปู รแี กมสามเหลยี่ มกวา้ ง ยาวประมาณ 1.5 มม. กลบี เลยี้ งคขู่ า้ งบางใส รปู ใบหอก
Phonsena, P., P. Chantaranothai and A. Meesawat. (2013). Revision of Xyris L. ยาว 1-1.2 ซม. มสี ันจักตน้ื ๆ กลีบดอกรูปไข่กวา้ ง ยาว 1.2-1.5 มม. ขอบจักชายครยุ
(Xyridaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 41: 102-139. อบั เรณูยาวประมาณ 4 มม. เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั ยาว 3-3.5 มม. กา้ นเกสรเพศเมยี
Wu, G. and R. Kral. (2000). Xyridaceae. In Flora of China Vol. 24: 7. ยาวประมาณ 7 มม. แฉกยาวประมาณ 5 มม. ผลสนี �้ำตาล รูปไขก่ ลบั ยาว 5-7 มม.
เมลด็ มีสันตามยาว 14-19 สนั สนั ตามแนวขวางมี 1-3 สนั (ดูข้อมูลเพม่ิ เตมิ ท่ี
กระถนิ ทงุ่ : ไมล้ ้มลกุ แตกกอหนาแน่น กลีบดอกจักชายครยุ ต้นื ๆ เกสรเพศผู้ท่เี ป็นหมนั มีขนหนาแน่น (ภาพ: กระถินท่งุ , สกลุ )
ภกู ระดึง เลย - PPh)
พบทอี่ นิ เดยี ศรลี งั กา พมา่ ไหห่ นาน ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ออสเตรเลยี
กระถินเทศ, สกุล ในไทยพบทกุ ภาค ขึน้ ตามที่โล่งท่ชี ืน้ แฉะ ความสูงถงึ ประมาณ 300 เมตร

Vachellia Wight & Arn. เอกสารอา้ งอิง
วงศ์ Fabaceae Phonsena, P., P. Chantaranothai and A. Meesawat. (2013). Revision of Xyris L.
(Xyridaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 41: 120-121.
ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ หใู บเปน็ หนาม ใบประกอบ 2 ชน้ั ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แนน่
กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก กลบี แตล่ ะอยา่ งเชอื่ มตดิ กนั ปลายแยกเปน็ 5 แฉกขนาดเลก็ กระถนิ นา: ไมล้ ม้ ลกุ ขึน้ หนาแนน่ ตามทีโ่ ล่งทช่ี ื้นแฉะ ใบจำ� นวนมากรูปดาบ กลีบดอกรปู ไขก่ วา้ ง ขอบจักชายครุย
เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมากแยกกนั รงั ไขม่ ชี อ่ งเดยี ว กา้ นเกสรเพศเมยี เรยี วยาว ยอดเกสร (ภาพ: บงึ กาฬ - PPh)
ขนาดเลก็ ออวลุ จำ� นวนมาก ผลเปน็ ฝกั รปู ทรงกระบอกหรอื แบนเลก็ นอ้ ย ผวิ เมลด็
มีรอยรปู ตัวยู (pleurogram)

สกลุ Vachellia เดิมอยภู่ ายใตส้ กลุ Acacia แยกออกมาตามลักษณะของใบ
ประกอบแบบ 2 ช้ัน และหใู บเปน็ หนาม มี 163 ชนดิ ส่วนมากพบในอเมรกิ า
เขตรอ้ น ในไทยมพี ืชพ้นื เมอื ง 4 ชนิด ชือ่ สกุลตัง้ ตามพระชาวอังกฤษท่ีเคยเกบ็
ตวั อยา่ งพรรณไมใ้ นจีน George Harvey Vachell (1799-1839)

16

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กระถนิ เหนอื

กระถินพมิ าน กระถินภวู วั : ใบเรียบไมม่ รี ว้ิ หัวใตด้ นิ กลม มี 2 พู ขอบกลบี ดอกจักชายครุย ใบประดบั รูปไขห่ รอื ไข่กลับ มีแอ่งรปู
สามเหลี่ยมกวา้ ง (ภาพ: ภูววั บงึ กาฬ - PPh)
Vachellia harmandiana (Pierre) Maslin, Seigler & Ebinger
วงศ์ Fabaceae กระถนิ หางกระรอก

ชอื่ พอ้ ง Acacia harmandiana (Pierre) Gagnep., Pithecellobium harmandianum Prosopis juliflora (Sw.) DC.
Pierre วงศ์ Fabaceae

ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. เปลอื กเรียบสเี ทา หูใบเป็นหนาม ยาวได้ถึง 6 ซม. ติดทน ชื่อพอ้ ง Mimosa juliflora Sw., Acacia juliflora (Sw.) Willd.
บางครง้ั ออกชดิ กนั ดคู ลา้ ยเรยี งซอ้ น ใบประกอบแกนกลางยาวไดถ้ งึ 18 ซม. กา้ นยาว
1-5 ซม. มหี รอื ไมม่ ีตอ่ มดา้ นบน ใบประกอบย่อย 1-5 คู่ ยาว 4-12 ซม. กา้ นสน้ั ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงไดถ้ ึง 10 ม. หูใบเปน็ หนาม ยาว 1-5 ซม. ใบประกอบ 2 ช้นั
ใบยอ่ ย 4-13 คู่ รูปขอบขนาน เบีย้ ว ยาว 0.6-3.5 ซม. ปลายกลมหรือตดั เวา้ ตนื้ ยาว 2-5 ซม. รวมกา้ น ใบประกอบยอ่ ยมี 1-4 คู่ ยาว 4-10 ซม. ใบยอ่ ยมี 6-29 คู่
หรอื มีตง่ิ แหลม ไรก้ ้าน ช่อดอกสีขาว แยกแขนง ใบประดับตดิ ใตก้ ง่ึ กลางกา้ นช่อ รูปใบหอก ยาว 0.6-2.3 ซม. ปลายมนมีติ่งแหลม โคนเบ้ียว กา้ นใบสั้น ชอ่ ดอกแบบ
ใบประดับยอ่ ยขนาดเล็ก กลบี เล้ยี งยาว 0.9-1.1 มม. มขี นส้ันน่มุ กลีบดอกเช่อื ม ชอ่ เชงิ ลด ยาว 5-15 ซม. กลบี เลย้ี งขนาดเลก็ เชอื่ มตดิ กนั ประมาณกง่ึ หนง่ึ มี 5 กลบี
ตดิ กนั ประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ 15-22 อนั รังไข่มขี นละเอยี ด ฝกั รูปแถบ ดอกสีครมี เปลยี่ นเปน็ สีเหลืองออ่ น มี 5 กลีบ ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้
แบน ยาว 6-13 ซม. บดิ งอ เมล็ดรปู รี ยาวประมาณ 5.5 มม. (ดขู อ้ มูลเพ่ิมเติมท่ี 10 อนั แยกกนั ยาว 5-8 มม. เกสรเพศเมียรูปเสน้ ด้าย ฝกั รูปแถบ แบนและโคง้
กระถนิ เทศ, สกุล) เล็กน้อย ยาว 8-30 ซม. ก้านยาวประมาณ 5 มม. เมล็ดรูปไข่ แบน ยาว 5-6 มม.

พบทภี่ มู ภิ าคอนิ โดจนี และอาจพบในพมา่ ในไทยพบแทบทกุ ภาค ยกเวน้ ภาคใต้ มีถ่ินกำ� เนดิ ในอเมรกิ ากลาง และหมเู่ กาะในทะเลแครบิ เบยี น เป็นวชั พืชตาม
ขนึ้ ตามปา่ เบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง จนถงึ ความสงู ประมาณ 300 เมตร นิยม ทแ่ี ห้งแลง้ ในหลายประเทศ ในไทยพบตามชายทะเลฝั่งอา่ วไทย
ใชเ้ ลย้ี งครง่ั
สกลุ Prosopis L. อย่ภู ายใต้วงศย์ ่อย Mimosoideae มปี ระมาณ 44 ชนิด ส่วนใหญ่
เอกสารอ้างองิ พบในอเมริกาเขตร้อน ในไทยข้ึนเปน็ วัชพืชชนิดเดียว ชอ่ื สกุลมาจากภาษากรกี
Maslin B.R, D.S. Seigler and J. Ebinger. (2013). New combinations in Senegalia “pros” ไปขา้ งหนา้ และ Opsis ภรรยาของเทพเจ้าแห่งความอดุ มสมบรู ณแ์ ละ
and Vachellia (Leguminosae: Mimosoideae) for Southeast Asia and China. การเกษตรกรรมของกรีกโบราณ (Saturn) ซงึ่ หมายถึงพชื สกุลนีห้ ลายชนดิ ใช้
Blumea 58(1): 39-44. ประโยชน์ในการเกษตรและเลีย้ งสตั ว์ หรือ “prosopites” ภาษากรีกโบราณท่ี
Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae (Acacia harmandiana). In Flora เรียกหญา้ เจา้ ชู้ อาจหมายถงึ ลักษณะชอ่ ดอกคล้ายหญ้า
of Thailand Vol. 4(2): 159-160. เอกสารอ้างอิง
Luckow, M. (2005). Tribe Mimoseae. In Legumes of the World. Royal Botanic
กระถินพมิ าน: เปลอื กเรยี บสเี ทา หใู บเปน็ หนาม ติดทน ใบประกอบ 2 ชัน้ ช่อดอกแยกแขนง ชอ่ ย่อยแบบชอ่
กระจกุ แน่น (ภาพ: ก�ำแพงเพชร - MP) Gardens, Kew.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
กระถินภูวัว
Press, Honolulu, Hawai`i.
Xyris bituberosa Phonsena & Chantar.
วงศ์ Xyridaceae กระถนิ หางกระรอก: หใู บเป็นหนาม ใบประกอบ 2 ชนั้ ชอ่ ดอกแบบช่อเชงิ ลด ดอกสีครมี เปลย่ี นเป็นสเี หลอื งออ่ น
ฝกั แบนและโคง้ เลก็ นอ้ ย (ภาพ: สามรอ้ ยยอด ประจวบครี ีขนั ธ์ - RP)
ไมล้ ้มลุก ลำ� ต้นออกเดย่ี ว ๆ สูง 40-75 ซม. หวั ใตด้ ินสีนำ�้ ตาลอมเหลอื ง
กลม มี 2 พู เสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 1.5-2.3 ซม. มี 2-4 ใบ รปู แถบ เรียบไมม่ ีรวิ้ บิดเวียน กระถินเหนือ
ยาว 25-37 ซม. กา้ นช่อดอกยาว 40-75 ซม. เรยี บ บิดเวียนเลก็ นอ้ ย ช่อดอกรูปรี
หรอื รปู ไข่ ยาว 1.2-1.8 ซม. ใบประดบั รูปไข่หรอื ไขก่ ลับ ยาว 4-8 มม. ใบประดบั Senegalia thailandica (I. C. Nielsen) Maslin, Seigler & Ebinger
ทม่ี ดี อกมแี อ่งรปู สามเหล่ียมกวา้ ง ยาวประมาณ 2 มม. กลบี เลย้ี งคขู่ า้ งบางใส วงศ์ Fabaceae
รปู ใบหอก ยาว 5-6 มม. ปลายไม่มีสัน กลบี ดอกรปู ไขก่ ลบั ยาว 1-1.2 ซม. ขอบ
จกั ชายครุย อบั เรณยู าว 2-3 มม. แขนงเกสรเพศผ้ทู ่ีเป็นหมนั ยาวประมาณ 4 มม. ช่ือพอ้ ง Acacia thailandica I. C. Nielsen
กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 5-6 มม. แฉกยาวประมาณ 3 มม. ผลสนี ำ้� ตาลเขม้ รปู ไขก่ ลบั
ยาว 3-3.5 มม. เมล็ดมสี ันตามยาว 13-15 สัน แนวขวาง 1-3 สนั (ดขู ้อมลู เพ่มิ เตมิ ท่ี ไม้พ่มุ หรือรอเลอ้ื ย ก่ิงมหี นาม มขี นละเอยี ดหรือขนสั้นนมุ่ หใู บขนาดเล็ก รปู ไข่
กระถนิ ทงุ่ , สกลุ ) ใบประกอบ 2 ช้นั แกนกลางยาว 3-9 ซม. ก้านใบประกอบยาว 0.5-1.5 ซม. มีตอ่ ม

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบนทบ่ี งึ กาฬ
และสกลนคร ข้นึ ตามทีช่ ้ืนแฉะในปา่ เต็งรงั ความสูง 200-450 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Phonsena, P., P. Chantaranothai and A. Meesawat. (2013). Revision of Xyris L.
(Xyridaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 41: 110-111.

17

กระโถนนางสีดา สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

ใกลโ้ คนหรอื ใต้จดุ ก่งึ กลาง ใบประกอบยอ่ ย 8-11 คู่ ยาว 1-4 ซม. มีต่อมท่ีรอยตอ่ กระโถนฤาษ,ี สกุล
ใบประกอบยอ่ ยคทู่ ่ี 4-6 กา้ นใบประกอบยอ่ ยสนั้ ใบยอ่ ยมี 17-44 คู่ รปู ขอบขนาน
เบี้ยว ยาว 2.5-5.5 มม. ปลายมีตง่ิ แหลม โคนตดั ไรก้ า้ น ชอ่ ดอกสขี าวออกเดย่ี ว ๆ Sapria Griff.
เปน็ คู่ หรือแยกแขนงตามกิง่ สนั้ ๆ ด้านขา้ ง ใบประดับยอ่ ยขนาดเลก็ รปู ใบพาย วงศ์ Rafflesiaceae
กลบี เล้ียงยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอกยาว 2.5-3 มม. รังไขม่ ขี นคล้ายก�ำมะหย่ี
ผลเปน็ ฝกั แบน กวา้ งประมาณ 2 ซม. มว้ นงอชิดกัน เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 6 มม. พชื เบยี นรากของพืชอนื่ อวบน�ำ้ มีโครงสร้างพิเศษคลา้ ยเส้นใยของเหด็ รา
(ดูขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ท่ี ส้มป่อย, สกลุ ) แทงเนอื้ เยอื่ เขา้ ไปในรากของพชื อาศยั ตาดอกพฒั นาอยใู่ นพชื อาศยั ดอกตมู โผล่
เหนือพื้นดนิ ใบประดับหุม้ ตาดอก ใบลดรูปเป็นกาบ ดอกมเี พศเดยี ว ดอกบาน
พบท่ีกัมพูชา ในไทยพบทางภาคเหนือตอนล่างท่ีนครสวรรค์ ภาคกลางที่ มกี ลนิ่ เหมน็ กลบี รวมเชอื่ มตดิ กนั ทโี่ คนคลา้ ยกระโถน มี 10 กลบี กลบี เรยี งซอ้ นเหลอื่ ม
อา่ งทอง ภาคตะวนั ออกทอี่ บุ ลราชธานี และภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ กี่ าญจนบรุ ี ขนึ้ คล้ายเรียง 2 วง วงในขนาดเลก็ กว่า มแี ผ่นคลา้ ยกะบังรอบเปน็ วง ดา้ นบนมี
ตามชายปา่ หรือแหล่งน้ำ� ความสูงระดับตำ่� ๆ แผน่ รปู เสน้ ดา้ ยคลา้ ยเกลด็ หนาแนน่ (ramenta) มชี อ่ งเปดิ กวา้ ง เสา้ เกสรรองรบั
จานฐานดอกรปู ถว้ ย ในดอกเพศเมยี เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางมากกวา่ และสงู กวา่ ในดอกเพศผู้
เอกสารอ้างองิ ขอบเปน็ สนั จานฐานดอกมขี นรปู เส้นดา้ ยหนาแน่น เกสรเพศผู้ 20 อนั ไร้กา้ น
Maslin, B.R. (2015). Synoptic overview of Acacia sensu lato (Leguminosae: เรยี งชดิ กนั บนเสา้ เกสรใตจ้ านฐานดอก ปลายอบั เรณมู รี เู ปดิ ลดรปู ในดอกเพศเมยี
Mimosoideae) in East and Southeast Asia. Gardens’ Bulletin Singapore เกสรเพศเมียติดรอบจานฐานดอก รังไข่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว พลาเซนตาตาม
67(1): 246. แนวตะเขบ็ ไม่สมำ่� เสมอ ออวลุ จำ� นวนมาก ผลรูปกลม
Nielsen, I.C. (1985). Leguminosae-Mimosoideae (Acacia thailandica). In Flora of
Thailand Vol. 4(2): 172-174. สกลุ Sapria มี 3 ชนิด พบท่ีอนิ เดีย จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ิภาคอินโดจีน ชอื่ สกุลมา
จากภาษากรกี “sapros” เน่าเปอ่ื ย หมายถงึ พืชทชี่ อบข้ึนตามซากพืช อนึง่ วงศ์
กระถินเหนอื : ไม้พุ่มรอเลื้อย ก่งิ มหี นาม ใบประกอบ 2 ชั้น ใบยอ่ ยจำ� นวนมาก ฝกั แบน มว้ นงอชิดกนั แนน่ (ภาพ: Rafflesiaceae มี 3 สกลุ Rafflesia, Rhizanthes และ Sapria มี 6 ชนิด สว่ นสกุล
อุบลราชธานี - NT) Mitrastemon ปจั จุบันอยภู่ ายใต้วงศ์ Mitrastemonaceae มี 2 ชนดิ ในไทยมี
ชนดิ เดยี วคอื M. yamamotoi Makino พบทภี่ กู ระดงึ จงั หวัดเลย
กระโถนนางสีดา
กระโถนฤๅษี
Sapria poilanei Gagnep.
พืชเบยี น ดอกบานเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 6.5-12 ซม. หลอดกลบี สงู 5-7 ซม. Sapria himalayana Griff.
พชื เบยี น ดอกบานเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 8-20 ซม. วงกลบี รวมสแี ดง มตี มุ่ หรอื
กลบี รวมสมี ว่ งอมแดงหรอื อมนำ้� ตาล รปู สามเหลย่ี มกว้าง วงนอกยาว 2.7-3.8 ซม.
วงในยาว 2.2-3.2 ซม. แคบกวา่ วงนอก มตี ุ่มและจุดสีขาวกระจาย แผ่นคลา้ ย จดุ สเี หลอื งกระจายทวั่ แผน่ กลบี หลอดกลบี ยาว 6-8 ซม. กลบี รปู สามเหลย่ี มกวา้ ง
กะบังดา้ นบนสีขาวหรอื อมเหลอื ง กวา้ ง 0.9-1.5 ซม. ช่วงกลางมีแผ่นคลา้ ยเกลด็ ปลายมน ยาว 6-8 ซม. กว้าง 4-6 ซม. แผ่นคล้ายกะบังกว้าง ดา้ นบนมแี ผ่นรูปเสน้ ด้าย
รปู เสน้ ดา้ ยหนาแนน่ ชอ่ งเปดิ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5-2.5 ซม. กวา้ งกวา่ จานฐานดอก จักเป็นพหู นาแน่น ปลายแผ่ออก ยาวไดถ้ งึ 1 ซม. ช่องเปิดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง
ในดอกเพศผู้ กว้างเทา่ ๆ จานฐานดอกในดอกเพศเมยี ด้านบนจานฐานดอกมขี น 1.8-3.7 ซม. จานฐานดอกกวา้ ง 3-5 ซม. ชว่ งลา่ งมขี นหนาแนน่ คอหลอดกลบี สแี ดง
รปู เสน้ ดา้ ยยาวประมาณ 1.5 มม. อบั เรณเู รยี งสองแถวคลา้ ยทอ่ นนู คอหลอดกลบี อมมว่ ง ดา้ นในมสี นั เปน็ รอ่ งกว้าง
มเี มด็ เล็ก ๆ สแี ดงอมม่วง ชมพู หรอื ขาว ดา้ นในมีสันเป็นริว้ ด้านกวา้ งยาวกว่า
ความสงู ของร้วิ พบทอี่ นิ เดยี จนี ตอนใต้ พมา่ เวยี ดนาม และกมั พชู า ในไทยพบทางภาคเหนอื
ท่ีเชียงใหม่ ตาก และภาคใต้ที่ระนอง สุราษฎร์ธานี ส่วนมากเบียนรากพืชสกุล
พบทีก่ มั พูชา และภาคตะวนั ออกเฉียงใตข้ องไทยที่จนั ทบุรี ขน้ึ เบยี นรากต้น Tetrastigma หลายชนิด ข้นึ ตามปา่ ดบิ เขา ความสูง 800-1200 เมตร ชื่อสามัญคือ
Tetrastigma laoticum Gagnep. ในปา่ ดบิ เขา ความสูง 1200-1400 เมตร ชือ่ Hermit’s spittoon มตี น้ ที่มจี ุดสขี าว เปน็ forma albovinosa Bänziger &
สามญั คือ Sida’s spittoon B. Hansen พบทีภ่ เู ขยี ว จังหวดั ชยั ภูมิ

กระโถนพระราม เอกสารอ้างอิง
Bänziger, H. and B. Hansen. (1997). Unmasking the real identity of Sapria
Sapria ram Bänziger & B. Hansen poilanei Gagnepain emend., and description of Sapria ram sp. n. (Raffle-
พืชเบียน ดอกบานเส้นผ่านศูนยก์ ลาง 5.5-11 ซม. หลอดกลีบสูง 6-8 ซม. siaceae). Natural History Bulletin of the Siam Society 45: 149-170.
Bänziger, H., B. Hansen and K. Kreetiyutanont. (2000). A new form of the
กลบี รวมสมี ว่ งอมแดง รปู สามเหลย่ี มกวา้ ง วงนอกยาว 2-4 ซม. วงในแคบกวา่ ชว่ งโคน hermit’s spittoon, Sapria himalayana Griffith f. albovinosa Bänziger & B.
มตี มุ่ และจดุ สขี าว ชมพู หรอื มว่ งกระจาย แผน่ คลา้ ยกะบงั ดา้ นบนสขี าวหรอื อมเหลอื ง Hansen f. nov. (Rafflesiaceae), with notes on its ecology. Natural History
กวา้ ง 0.8-1.8 ซม. แผ่นรปู เส้นดา้ ยคลา้ ยเกลด็ ยาวไดถ้ ึง 5 มม. มปี ุม่ ประปราย Bulletin of the Siam Society 48: 213-219.
ชอ่ งเปดิ กวา้ ง 1.3-3 ซม. เทา่ ๆ จานฐานดอกในดอกเพศเมยี กวา้ งกวา่ จานฐานดอก Hansen, B. (1972). Rafflesiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 182-184.
ในดอกเพศผู้ เสา้ เกสรสูงประมาณ 2 ซม. ในดอกเพศผ้กู ว้างประมาณ 5 มม. ใน
ดอกเพศเมยี กว้างประมาณ 1 ซม. จานฐานดอกสมี ว่ งอมแดง ชมพู หรือมีจดุ สขี าว กระโถนนางสีดา: ถิน่ ท่ีอยู่เบยี นรากพืชอืน่ ดอกแห้งสีดำ� กลีบดอก 10 กลบี มีตุม่ และจุดสีขาวกระจาย ดอกเพศผู้
ตรงกลาง มขี นรปู เสน้ ด้ายหนาแนน่ ยาวประมาณ 2 มม. คอหลอดกลบี สีเขม้ มี (ภาพขวาบน) ดอกเพศเมีย (ภาพขวาลา่ ง) (ภาพ: เขาสอยดาว จนั ทบรุ ี - HB)
เมด็ เลก็ ๆ กระจาย ด้านในมสี นั เป็นร้ิว สงู กวา่ ความกวา้ งร้วิ

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื ทตี่ าก ภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ กี่ าญจนบรุ ี
และภาคใต้ที่ระนอง พังงา และสุราษฎร์ธานี ข้ึนเบียนรากต้น Tetrastigma
harmandii Planch. ในปา่ ดบิ แลง้ ความสงู 100-750 เมตร ชอ่ื สามญั คอื Rama’s
spittoon

18

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กระทงิ

กระโถนพระราม: กลีบดอกมจี ดุ สีขาวชว่ งโคน แผ่นคลา้ ยกะบังด้านบนสขี าวหรืออมเหลอื ง ดอกเพศผู้ (ภาพลา่ ง กระทงลอย: ใบเรยี งตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจะ แยกแขนงเป็นคู่ ๆ (ภาพ: ไทยประจัน ราชบุรี - SSi)
ซ้าย) ดอกเพศเมยี (ภาพล่างขวา) (ภาพ: คลองนาคา ระนอง - HB)
กระทอ่ ม

Mitragyna speciosa (Korth.) Havil.
วงศ์ Rubiaceae

ชอ่ื พ้อง Stephegyne speciosa Korth.

ไมต้ ้น สงู ได้ถงึ 25 ม. หูใบรูปใบหอก ยาวได้ถึง 4 ซม. มสี นั กลาง รว่ งเร็ว ใบรปู รี
หรือรูปไข่ ยาว 12-17 ซม. ปลายเปน็ ติ่ง เส้นใบย่อยแบบขน้ั บนั ได ก้านใบยาว
2.5-5 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แนน่ ออกเดยี่ ว ๆ ทป่ี ลายกง่ิ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
1.5-2.5 ซม. ใบประดบั รปู ชอ้ นหมุ้ กลบี เลยี้ ง ยาว 4-6 มม. หลอดกลบี ยาวประมาณ
2 มม. ปลายจกั ตนื้ ๆ ดอกรปู ดอกเขม็ สชี มพู หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 5 มม.
กลบี ยาวประมาณ 3 มม. รงั ไขเ่ กล้ยี ง ยอดเกสรรปู กระบอง ยาว 1-2 มม. ผลรวมแขง็
เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 2-3 ซม. ผลย่อยรปู รี ยาว 7-9 มม. เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ
1 มม. มปี กี บางทีป่ ลายท้งั สองดา้ น (ดขู ้อมูลเพิม่ เติมท่ี กระทมุ่ นา, สกลุ )

พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอรเ์ นยี ว ฟิลปิ ปนิ ส์ และนิวกนี ี ในไทยพบ
ทางภาคใต้ ขนึ้ ตามป่าดบิ ชน้ื ระดบั ตำ่� หรือปา่ พรุ ความสงู ระดบั ต่ำ� ๆ ใบกระท่อม
มีสารเสพตดิ มีฤทธท์ิ �ำใหเ้ คลบิ เคล้ิม เคี้ยวใบสดหรอื สูบใบแหง้

เอกสารอา้ งองิ
Ridsdale, C.E. (1978). A revision of Mitragyna and Uncaria (Rubiaceae). Blumea
24: 65.

กระโถนฤๅษี: วงกลบี รวมสแี ดง มตี มุ่ หรอื จดุ สเี หลอื งกระจายท่ัวแผ่นกลบี (ภาพดอกเพศผู้ ภาพซ้ายและภาพขวาบน: กระท่อม: หใู บมีสนั กลาง ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกแนน่ ออกเดี่ยว ๆ ทป่ี ลายก่งิ (ภาพ: cultivated - RP)
ดอยสุเทพ เชยี งใหม่, ภาพดอกเพศเมยี ภาพขวาล่าง: ดอยอินทนนท์ เชยี งใหม่; - HB)
กระทงิ
กระทงลอย
Calophyllum inophyllum L.
Crypteronia paniculata Blume วงศ์ Calophyllaceae
วงศ์ Crypteroniaceae
ไมต้ น้ มกั สูงไม่เกนิ 15 ม. ชันสีเหลอื งอมเขียว ใบเรียงตรงข้าม รูปรหี รอื
ไม้ตน้ สูงได้ถงึ 30 ม. ใบเรียงตรงขา้ ม รปู รี รปู ไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว รปู ไข่กลับ ยาว 8-15 ซม. ปลายกลมหรือเวา้ ตนื้ แผ่นใบหนา เสน้ แขนงใบจ�ำนวนมาก
6-22 ซม. ปลายแหลมยาว กา้ นใบยาว 4-9 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะแยกแขนง กา้ นใบยาว 1-3 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แยกแขนงสน้ั ๆ ตามซอกใบ กา้ นดอกยาว
เปน็ คู่ ยาวไดถ้ ึง 30 ซม. ช่อกระจะยาว 7-20 ซม. ดอกสมบรู ณ์เพศหรอื มเี พศ 1.5-4 ซม. กลีบเลยี้ งคล้ายกลีบดอก มจี �ำนวนอยา่ งละ 4 กลบี สขี าว กลีบเล้ยี ง
เดยี ว ดอกสเี ขยี วหรอื อมเหลอื ง ใบประดบั ขนาดเลก็ กา้ นดอกยาว 1-3 มม. หลอด ยาวประมาณ 8 มม. คูน่ อกกลม คใู่ นรูปไข่กลับ กลบี ดอกรปู ไข่กลบั ยาว 1-1.2 ซม.
กลีบเลี้ยงกว้าง 2-3 มม. มี 5 กลีบรปู สามเหล่ยี มขนาดเลก็ ไมม่ กี ลบี ดอก เกสร ปลายกลม เกสรเพศผจู้ �ำนวนมาก กา้ นชูอับเรณยู าว 4-5 มม. อับเรณสู เี หลอื ง
เพศผู้ 5 อัน เรียงสลับกลบี เลยี้ ง ยาว 3-5 มม. เปน็ หมนั ในดอกเพศเมีย รังไขม่ ี กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 6-7 มม. ยอดเกสรรปู โล่ ผลสด มเี มลด็ เดยี ว เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
2-3 ชอ่ ง ลดรปู ในดอกเพศผู้ ผลแหง้ แตก รปู ไข่ แบน ยาว 2-4 มม. มขี นประปราย ประมาณ 2.5 ซม. สุกสีเหลอื ง เมลด็ ขนาดใหญ่
กลบี เลย้ี ง เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ติดทน เมลด็ ขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก

พบทอี่ นิ เดีย บงั กลาเทศ พม่า ภมู ิภาคอนิ โดจนี และมาเลเซยี และฟลิ ิปปนิ ส์
ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู ถงึ ประมาณ 1000 เมตร
ใบมีสรรพคุณเปน็ ยาสมาน แก้โรคผวิ หนงั

สกลุ Crypteronia Blume บางคร้งั อย่ภู ายใตว้ งศ์ Penaeaceae หรอื Lythraceae
มี 7 ชนิด พบในจนี และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมชี นิดเดยี ว ชือ่ สกลุ มา
จากภาษากรีก “krypto” ซอ่ น และ “eros” รกั อาจหมายถงึ ไมม่ กี ลบี ดอก

เอกสารอา้ งอิง
Qin, H. and A.R. Brach. (2007). Crypteroniaceae. In Flora of China Vol. 13: 292.
Santisuk, T. (1992). Crypteroniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(4): 431-432.

19

กระทืบยอบ สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

พบทแ่ี อฟรกิ า อนิ เดยี ศรลี งั กา พมา่ ไหห่ นาน ไตห้ วนั ญป่ี นุ่ กมั พชู า เวยี ดนาม 4-7 มม. ตดิ ทน ยาวกวา่ ผลได้ถงึ 2 เทา่ ดอกสเี หลอื งมกั มีเสน้ กลบี สมี ว่ ง รูปใบหอก
ภมู ภิ าคมาเลเซยี ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ในไทยพบทางภาคตะวนั ออก ยาว 5-7 มม. ปลายตดั หรอืิ เว้าตนื้ ผลรปู รี ยาว 3-4 มม. มขี นแขง็ เอนและขนตอ่ ม
เฉยี งใต้ และภาคใต้ ขนึ้ ตามชายหาด ชายปา่ ใกลช้ ายฝง่ั ทะเล ความสงู ระดบั ตำ่� ๆ ตามสนั แต่ละซีกมปี ระมาณ 3 เมล็ด
เป็นไม้ประดบั ใหร้ ม่ เงา ดอกมกี ลน่ิ หอม เมล็ดให้น้�ำมนั เรยี กวา่ Tamanu oil ใชใ้ น
อตุ สาหกรรมผลิตสบู่ ผลติ ภัณฑ์เสริมความงาม และเป็นสมนุ ไพร พบทแ่ี อฟรกิ า อนิ เดยี ศรลี งั กา จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี
ฟิลปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทกุ ภาค ข้ึนตามที่โลง่ ความสงู ถึงประมาณ 500 เมตร
สกุล Calophyllum L. เดมิ อยภู่ ายใต้วงศ์ Clusiaceae ปจั จุบันแยกมาอย่ใู นวงศ์
เดียวกบั สกลุ Mammea และ Mesua และอีกกวา่ 10 สกุล ในไทยมี 17 ชนดิ ชอื่ สกลุ กระทบื ยอบ
มาจากภาษากรีก “kalos” สวยงาม และ “phyllon” ใบ ตามลักษณะของใบ
เอกสารอ้างอิง Biophytum umbraculum Welw.
Li, X.W., J. Li and P. Stevens. (2007). Clusiacese. In Flora of China Vol. 13: 39.
ช่อื พ้อง Biophytum petersianum Klotzsch
กระทงิ : ใบเรียงตรงขา้ ม เส้นแขนงใบจำ� นวนมาก กลบี เล้ยี งและกลบี ดอกคล้ายกัน สีขาว เกสรเพศผ้จู ำ� นวนมาก
ผลสด ปลายมตี ิ่งแหลม (ภาพ: cultivated - RP) ไมล้ ้มลกุ สงู ไดถ้ ึง 15 ซม. ใบประกอบมีใบย่อย 3-9 คู่ แกนกลางยาวไดถ้ งึ
3.5 ซม. ใบยอ่ ยรปู รี รปู ไข่ หรอื เกอื บกลม เบยี้ ว ยาว 2-8 มม. เสน้ แขนงใบมจี ำ� นวน
กระทบื ยอบ, สกุล ไมม่ าก เกอื บตง้ั ฉากเสน้ กลางใบ ไรก้ า้ น ชอ่ ดอกไรก้ า้ นหรอื มกี า้ นยาวไดถ้ งึ 3 ซม.
ออกแนน่ ทยี่ อด กา้ นดอกยาว 1-3 มม. กลบี เลยี้ งรปู ใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว 3-5 มม.
Biophytum DC. ติดทน ดอกสเี หลอื งอมส้ม โคนด้านในสีเหลอื ง กลีบรูปใบหอก ยาว 0.6-1 ซม.
วงศ์ Oxalidaceae ปลายกลม ผลรปู รีหรอื รปู ไข่ ยาว 3-4 มม. แตล่ ะซีกมี 3-4 เมล็ด

ไมล้ ้มลกุ หรือไม้พุ่มขนาดเล็ก ใบประกอบปลายคู่ เรียงเวียนทปี่ ลายยอดหรือ พบทแ่ี อฟรกิ า มาดากสั การ์ อนิ เดยี จนี ตอนใต้ พมา่ เวยี ดนาม ภมู ภิ าคมาเลเซยี
ปลายกงิ่ ปลายมรี ยางค์ คูป่ ลายใหญก่ ว่าค่ลู า่ ง ไวตอ่ การสมั ผัส ช่อดอกแบบชอ่ ซีร่ ่ม นวิ กนิ ี และฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามปา่ เตง็ รงั ปา่ ดบิ แลง้ หรอื ชายปา่ ดบิ
ออกที่ยอด กลีบดอกและกลีบเลยี้ ง 5 กลีบ กลบี เลย้ี งตดิ ทน กลบี ดอกเช่ือมติดกนั ชืน้ ความสูงถงึ ประมาณ 1200 เมตร
ท่ีปลายก้านกลีบ เกสรเพศผู้ 10 อนั เรยี ง 2 วง วงนอกกา้ นชูอบั เรณสู ้ัน หนา รงั ไข่
มี 5 ชอ่ ง แตล่ ะชอ่ งมอี อวุล 3-6 เม็ด เรยี งสลบั เป็น 2 แถว เกสรเพศเมยี มี 5 อัน เอกสารอา้ งองิ
ผลแหง้ แตกกลางพู แตกจรดโคนเปน็ รปู ดาว 5 แฉก เมลด็ สว่ นมากมปี มุ่ เลก็ ๆ กระจาย Liu, Q. and M. Watson. (2008). Oxalidaceae. In Flora of China Vol. 11: 2.
Veldkamp, J.F. (1970). Oxalidaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 16-23.
สกุล Biophytum มปี ระมาณ 50 ชนิด พบทว่ั ไปในเขตร้อน ในไทยมี 5 ชนดิ
ใน Flora of China ระบุวา่ B. fruticosum Blume พบในไทยด้วย ซึง่ คลา้ ยกบั กระทบื ยอบ: B. adiantoides ลำ� ต้นแตกกิ่ง ใบย่อยจ�ำนวนมาก ดอกสีขาว โคนกลบี ด้านในสีเหลอื ง (ภาพ: สงิ หนคร
B. adiantoides Wight ex Edgew. & Hook. f. ทีต่ ้นแตกกิ่งและดอกสขี าว แต่ สงขลา - RP)
จำ�นวนใบยอ่ ยนอ้ ยกวา่ ชื่อสกุลมาจากภาษากรกี “bios” ชีวติ และ “phyton”
พืช หมายถึงใบและผลไวตอ่ การสมั ผสั หลายชนดิ มีสรรพคณุ ด้านสมนุ ไพร กระทบื ยอบ: B. sensitivum ใบย่อยปลายและโคนตดั เส้นแขนงใบจ�ำนวนมาก ชอ่ ดอกมขี นหนาแน่น ผลแหง้ แตก
เปน็ 5 ซีก (ภาพดอก: กรงุ เทพฯ, ภาพผล: เชียงใหม;่ - RP)
กระทืบยอบ
กระทืบยอบ: B. umbraculum ใบยอ่ ยโคนเบย้ี ว เส้นแขนงใบจ�ำนวนไมม่ าก ดอกแบบช่อซรี่ ม่ เปน็ กระจุกสั้น ๆ
Biophytum adiantoides Wight ex Edgew. & Hook. f. หรือมกี ้านช่อ ช่วงโคนกลบี ดอกสีเขม้ (ภาพ: ห้วยขาแขง้ อุทัยธานี - PK)
ไมพ้ ุ่ม สงู ได้ถึง 30 ซม. มกั แตกกง่ิ ดา้ นขา้ ง ใบประกอบมีใบยอ่ ย 18-27 คู่
กระทอื เมอื ก
แกนกลางใบประกอบยาว 9-22 ซม. ใบย่อยไร้ก้าน รูปรีหรือขอบขนาน เบี้ยว
ยาว 0.9-2.2 ซม. แผน่ ใบมขี นแข็งเอน ก้านชอ่ ดอกยาว 5-19.5 ซม. มขี นกระจาย Boesenbergia gelatinosa K. Larsen
ใบประดบั ขนาดเลก็ เรยี งหนาแนน่ กา้ นดอกยาว 0.5-1.7 ซม. กลบี เลยี้ งรปู ใบหอก วงศ์ Zingiberaceae
ยาว 4-6 มม. ดอกสีขาว โคนสเี หลอื ง กลบี รูปใบหอก ยาว 0.9-1 ซม. ผลรูปรี ยาว
3-4 มม. แตล่ ะซีกมี 2-3 เมล็ด ไมล้ ม้ ลุก สูง 5-10 ซม. ไมม่ รี ากสะสมอาหาร กาบใบยาว 3-4 ซม. ลิ้นกาบ
ยาว 1-2 มม. ใบรปู ใบหอก ยาว 10-18 ซม. แผ่นใบดา้ นลา่ งสแี ดงมว่ ง มขี นสน้ั นุม่
พบทพี่ มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และคาบสมทุ รมลายตู อนบน ในไทยพบทางภาคเหนอื ซอกใบและใบประดับมเี มือกใส ชอ่ ดอกสั้น ใบประดับ 6-7 ใบ ยาว 1.2-2 ซม.
และภาคใต้ สว่ นมากขน้ึ รมิ ลำ� ธารในปา่ เบญจพรรณทมี่ หี นิ ปนู และปา่ ดบิ ชนื้ ความสงู แกนชอ่ ยาวประมาณ 1 ซม. ใบประดบั ย่อยยาว 0.5-1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว
ถงึ ประมาณ 350 เมตร

กระทบื ยอบ

Biophytum sensitivum (L.) DC.

ชื่อพอ้ ง Oxalis sensitiva L.

ไมล้ ้มลุก สูงได้ถึง 35 ซม. ใบประกอบมีใบยอ่ ย 7-14 คู่ แกนกลางยาว 5-16 ซม.
ใบยอ่ ยรูปไข่กลับแกมรูปเคยี ว ยาว 0.8-1.8 ซม. ปลายและโคนตัด เส้นแขนงใบ
จำ� นวนมาก เบ้ียว กา้ นใบสั้นมาก ชอ่ ดอกยาวได้ถงึ 14 ซม. มขี นแขง็ เอนและ
ขนตอ่ มหนาแนน่ กา้ นดอกยาว 1.5-3.5 มม. กลบี เลีย้ งรูปใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว

20

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย กระทงุ บวบเหล่ยี ม

4-5 มม. หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอกรปู ไข่กลับ ยาวประมาณ กระทอื ลงิ
1 ซม. แผ่นเกสรเพศผดู้ ้านขา้ งทเี่ ป็นหมันรปู รแี คบ ยาว 1.2-1.4 ซม. กลบี ปาก
หอ่ เป็นถุง ยาวประมาณ 2.5 ซม. สีขาว มปี น้ื และจุดสีแดงกระจาย เกสรเพศผ้ยู าว Globba schomburgkii Hook. f.
ประมาณ 1 ซม. อบั เรณมู ขี นดา้ นหลงั ไมม่ สี นั อบั เรณู (ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ท่ี กระชาย, สกลุ ) วงศ์ Zingiberaceae

พืชถิ่นเดียวของไทย พบท่ีเขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี และที่แก่งกระจาน ไมล้ ม้ ลุก สงู ไดถ้ ึง 60 ซม. เหง้าขนาดเลก็ ลนิ้ กาบสน้ั ใบรูปขอบขนานหรือ
จงั หวดั เพชรบรุ ี ขนึ้ ตามสนั เขาในปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ เขา ความสงู 900-1300 เมตร รูปใบหอก ยาว 15-20 ซม. ใบชว่ งโคนตน้ ขนาดเล็ก แผ่นใบด้านล่างมีขนส้ันนุ่ม
คล้ายกับ B. parvula (Wall. ex Baker) Kuntze แตไ่ ม่มรี ากสะสมอาหาร ซอกใบ ก้านใบสัน้ ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ ส่วนมากแยกแขนง โค้งลง ยาวได้ถงึ 10 ซม.
และใบประดับมเี มอื กใสชดั เจน ใบประดบั ชว่ งโคนยาวประมาณ 1 ซม. มหี วั ยอ่ ยสขี าวผวิ เปน็ ตมุ่ ใบประดบั ชว่ งปลาย
ยาว 5-6 มม. แต่ละช่อแขนงมี 4-5 ดอก เรียง 2 แถว ใบประดับยอ่ ยรปู รี ยาว
กระทือลิง 3-6 มม. ก้านดอกส้ัน กลีบเลี้ยงยาว 4-6 มม. ปลายตัด จักตนื้ ๆ 3 แฉก ดอกสสี ม้
หลอดกลีบดอก ยาว 1-1.5 ซม. มีขนสน้ั นุ่ม กลบี ดอก 3 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม.
Boesenbergia parvula (Wall. ex Baker) Kuntze แผน่ เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 1.2 ซม. กลบี ปากรปู สามเหลยี่ ม
กางออกสองขา้ ง โคนมจี ุดสีสม้ เกสรเพศผู้ โคง้ ลง ยาวประมาณ 2.5 ซม. ปลาย
ช่อื พอ้ ง Gastrochilus parvulus Wall. ex Baker อบั เรณแู ฉกรูปดาวขา้ งละ 2 แฉก ผลจกั 3 พู ผิวขรขุ ระ ยาวประมาณ 6 มม.
(ดูขอ้ มูลเพม่ิ เติมที่ ว่านทับทิมสยาม, สกุล)
ไมล้ ม้ ลกุ รากสะสมอาหารเรยี วยาว ยาวไดถ้ งึ 13 ซม. ลำ� ตน้ สน้ั กาบใบคลา้ ย
ลกู ฟูก ล้นิ กาบยาว 5 มม. ใบรปู ไข่ ยาวได้ถงึ 10 ซม. แผน่ ใบด้านบนมกั มปี ื้นสเี ขม้ พบทอ่ี นิ เดีย พม่า จนี ตอนใต้ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และคาบสมทุ รมลายู ข้นึ ตาม
ดา้ นลา่ งบางครั้งมีปืน้ สมี ่วงอมแดง ไรก้ ้านหรือกา้ นยาวไดถ้ งึ 2 ซม. ชอ่ ดอกออก ป่าเบญจพรรณ และปา่ ดิบเขา ความสงู ถึงประมาณ 1000 เมตร
ตามซอกกาบ รปู กระสวย ยาวไดถ้ งึ 4 ซม. มเี มอื ก ดอกสขี าว ใบประดบั รปู ใบหอก
ยาวประมาณ 3 ซม. หลอดกลบี ดอกยาว 2.5-3.5 ซม. กลบี ดอกรปู ไข่ ยาวประมาณ เอกสารอ้างอิง
1 ซม. กลบี ปากเปน็ ถุงรปู รีกวา้ ง ยาวประมาณ 2.5 ซม. มปี นื้ สีแดงช่วงปลาย Larsen K. (1972). Studies in the genus Globba in Thailand. Notes from the
และจดุ สแี ดงชว่ งโคน มถี ว้ ยรองอบั เรณู แผน่ เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั ดา้ นขา้ งรปู ไขก่ ลบั Royal Botanic Garden, Edinburgh 31: 237.
ยาวประมาณ 7 มม. เกสรเพศผยู้ าวประมาณ 9 มม. อบั เรณมู ขี นตอ่ ม ไมม่ สี นั อบั เรณู Sabu, M. (2006). Zingiberaceae and Costaceae of South India. Kerala, India.
(ดูขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ท่ี กระชาย, สกลุ ) Indian Association for Angiosperm Taxonomy, Calicut University.
Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 359.
พบท่พี ม่า ลาว ในไทยส่วนมากพบทางภาคเหนือ และภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้
ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดบิ เขา ความสูงถงึ ประมาณ 1500 เมตร

เอกสารอ้างองิ
Larsen, K. (1997). Further studies in the genus Boesenbergia (Zingiberaceae).
Nordic Journal of Botany 17(4): 361-363.
Sirirugsa, P. (1992). A revision of the genus Boesenbergia Kuntze (Zingiberaceae)
in Thailand. Natural History Bulletin of the Siam Society 40: 84.

กระทอื เมอื ก: แผน่ ใบดา้ นล่างสแี ดงม่วง ชอ่ ดอกส้นั ภายในใบประดับมเี มอื กใส กลีบปากมปี ้ืนและจุดสีแดง (ภาพ: กระทอื ลิง: ชอ่ ดอกแบบกระจะ แยกแขนง โค้งลง ดอกเรียง 2 แถว หัวย่อยสขี าวผวิ เปน็ ตมุ่ ปลายอับเรณแู ฉกรปู ดาว
แก่งกระจาน เพชรบรุ ี - PK) ข้างละ 2 แฉก (ภาพ: กาญจนบรุ ี - PK)

กระทอื ลิง: ลำ� ตน้ ส้นั กาบใบคลา้ ยลูกฟกู แผน่ ใบด้านบนมีป้ืนสเี ข้ม ดา้ นลา่ งสมี ว่ งอมแดง กลีบปากเป็นถงุ รูปรกี วา้ ง กระทุงบวบเหล่ียม
มีปื้นแดงชว่ งปลายและจุดแดงช่วงโคน (ภาพช่อดอกและลำ� ตน้ : เชียงใหม่, ภาพถน่ิ ท่ีอย่:ู พมา่ ; - JM)
Aristolochia baenzigeri B. Hansen & Phuph.
วงศ์ Aristolochiaceae

ไม้เถาเนอื้ แขง็ เปลอื กเป็นคอรก์ ล�ำตน้ มสี นั นนู ใบออกตามข้อ รปู หัวใจ ยาว
14-23.5 ซม. แผ่นใบด้านลา่ งมขี นอยุ เส้นโคนใบข้างละ 2 เสน้ เส้นแขนงใบข้างละ
3-4 เสน้ เสน้ แขนงใบยอ่ ยแบบร่างแห กา้ นใบยาว 7.5-12.5 ซม. มีขนสน้ั นุม่ ไมม่ ี
หใู บเทียม ชอ่ ดอกส่วนมากออกท่ีโคนต้น มี 2-3 ดอก กา้ นชอ่ ยาว 0.5-1.5 ซม.
กา้ นดอกยาว 1.5-2 ซม. เชอ่ื มตดิ รงั ไขท่ ี่ยาว 2.5-3 ซม. มขี นสนั้ นมุ่ หนาแน่น
ดอกดา้ นนอกมเี สน้ รา่ งแหสชี มพอู มแดง มขี นสนั้ นมุ่ กลบี ดา้ นในสแี ดงสด โคนดา้ นใน
หลอดกลบี สเี หลอื งออ่ น กระเปาะยาว 5.5-6 ซม. กวา้ ง 3 ซม. หลอดกลบี ยาวประมาณ
2 ซม. ปลายแผ่ออกกวา้ ง จกั เว้าตนื้ ๆ 3 พู เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 8 ซม.
เส้าเกสรยาวประมาณ 7 มม. ยอดเกสรเพศเมยี จกั 3 พู ผลรูปแถบ ยาวไดถ้ ึง 34 ซม.
มี 6 สัน สีน�ำ้ ตาลอมเทา เมลด็ ไมม่ ีปกี ยาวประมาณ 1 ซม. (ดูข้อมลู เพม่ิ เตมิ ท่ี
กระเช้าสดี า, สกลุ )

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนอื ทอี่ ำ� เภอปาย จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
ข้ึนตามปา่ ดิบแล้ง ความสูง 800-1000 เมตร ชื่อชนดิ ตงั้ ตาม Dr. Hans Bänziger
ชาวสวติ เซอร์แลนด์ อาจารยป์ ระจ�ำภาควชิ ากฏี วทิ ยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เอกสารอา้ งองิ
Hansen, B. and L. Phuphathanaphong. (1999). Two new species of Aristolochia
(Aristolochiaceae) from Thailand. Nordic Journal Botany 19(5): 575-579.

21

กระทมุ่ สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กระทุงบวบเหลย่ี ม: ลำ� ต้นเปลอื กเปน็ คอรก์ ชอ่ ดอกออกสน้ั ๆ ทโ่ี คนตน้ ดอกด้านในสแี ดงสด โคนหลอดกลีบสี กระทุ่มนา, สกุล
เหลืองอ่อน ผลรปู แถบ มสี ันนนู 6 สัน (ภาพ: ปาย แมฮ่ อ่ งสอน - HB)
Mitragyna Korth.
กระทมุ่ วงศ์ Rubiaceae

Neolamarckia cadamba (Roxb.) Bosser ไม้ตน้ หูใบร่วงเรว็ ใบเรียงตรงขา้ ม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเปน็ ช่อ
วงศ์ Rubiaceae กระจุกหรอื ชอ่ ซรี่ ม่ ใบประดบั คล้ายใบ ดอกไรก้ า้ น กลีบเล้ยี งจกั ไม่ชัดเจน หรอื
แยกเปน็ 5 แฉก ตดิ ทน ดอกรูปดอกเข็ม มี 5 กลีบ เรียงจรดกันในตาดอก เกสรเพศผู้
ชือ่ พอ้ ง Anthocephalus cadamba (Roxb.) Miq., Nauclea cadamba Roxb. 5 อนั ตดิ ใกลค้ อหลอดกลบี ดอก กา้ นชอู บั เรณสู นั้ อบั เรณตู ดิ ทฐี่ าน ยน่ื พน้ ปากหลอด
กลบี ดอก รงั ไข่ 2 ชอ่ ง ออวลุ จำ� นวนมาก พลาเซนตารอบแกนร่วม ยอดเกสรเพศเมยี
ไม้ตน้ สูงได้ถึง 45 ม. กง่ิ ออกตง้ั ฉากกับลำ� ต้น หูใบรูปสามเหล่ียมแคบ ยาว ยน่ื พน้ ปากหลอดกลบี ดอก ผลยอ่ ยแหง้ แตกตามยาว เมลด็ ขนาดเลก็ จำ� นวนมาก
1-2.5 ซม. รว่ งเร็ว ใบเรียงตรงขา้ ม รูปไข่ รูปรี หรอื รปู ขอบขนาน ยาว 12-25 ซม. ปลายมีปีกทัง้ สองขา้ ง
โคนมน กลม หรอื เวา้ ตน้ื แผน่ ใบด้านล่างมกั มขี นละเอียด ก้านใบยาว 2-3.5 ซม.
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแนน่ ออกเดย่ี ว ๆ ทป่ี ลายกง่ิ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 4-5 ซม. สกลุ Mitragyna มี 7 ชนิด พบในเอเชยี เขตรอ้ นและแอฟรกิ า ในไทยมี 5 ชนดิ
กา้ นชอ่ ยาว 1.5-4 ซม. ดอกรปู ดอกเขม็ สคี รมี อดั กนั แนน่ กา้ นดอกสน้ั มาก ใบประดบั ชื่อสกลุ มาจากภาษากรกี “mitra” หมวกของพระ และ “gyne” เพศเมีย หมายถึง
1-3 คู่ หลอดกลบี เล้ยี งยาวประมาณ 2 มม. มี 5 กลีบ รปู ช้อน ยาวเท่า ๆ หลอดกลบี ลกั ษณะของยอดเกสรเพศเมียและรงั ไขค่ ล้ายหมวก
ตดิ ทน หลอดกลบี ดอกยาว 5-9 มม. ปลายแยกเปน็ 5 กลบี รปู ใบหอก ยาว 2-3 มม.
เกสรเพศผู้ 5 อนั อับเรณูรปู แถบ ยาวประมาณ 2 มม. ยืน่ พ้นปากหลอดกลบี ดอก กระทมุ่ นา
เล็กนอ้ ย รงั ไข่ใตว้ งกลีบ มี 2 ชอ่ ง ออวลุ จำ� นวนมาก ก้านเกสรเพศเมียรวมยอด
เกสรรปู กระบอง ยาว 1.5-2 ซม. ผลกล่มุ เปน็ กระจุกกลม เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 3-4 ซม. Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil.
ผลยอ่ ยแยกกนั ยาวประมาณ 3 มม. เมล็ดรปู สามเหลี่ยม
ชื่อพ้อง Nauclea diversifolia Wall. ex G.Don
พบทอี่ นิ เดยี เนปาล บงั กลาเทศ ศรลี งั กา พมา่ จนี ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี
ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และนวิ กนิ ี ขนึ้ ตามชายปา่ ตามหบุ เขาหรอื รมิ ลำ� ธาร ความสงู ถงึ ประมาณ ไม้ตน้ สงู 8-15 ม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. มีสนั กลาง ใบรูปไขห่ รอื
1300 เมตร ดอกมกี ลน่ิ หอม เป็นไมโ้ ตเร็วมาก เนอื้ ไมล้ ะเอยี ด นำ้� หนักเบา ใช้ทำ� เยื่อ รูปรี ยาว 5-16 ซม. มีตุม่ ใบเป็นขน เส้นแขนงใบเรียงจรดกัน ก้านใบยาว 1-2.5 ซม.
กระดาษ นยิ มปลูกเปน็ ไม้สวนป่า รจู้ กั กันในชื่อ ตะกหู รอื ตะกูยักษ์ ชอ่ ดอกเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5-2 ซม. มขี น ใบประดบั ยอ่ ยรปู เสน้ ดา้ ย ยาว 2-3 มม.
หลอดกลบี เลยี้ งยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายจกั ตนื้ ๆ หลอดกลบี ดอกยาว 3-4 มม.
สกุล Neolamarckia Bosser มี 2 ชนดิ พบในเอเชียใตแ้ ละเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ กลบี รปู สามเหลีย่ ม ยาว 2.5-3.5 มม. โคนดา้ นในมีขน ก้านชูอบั เรณสู น้ั อับเรณู
ในไทยมีชนดิ เดียว ซ่ึงเดมิ เข้าใจว่าชอ่ื วทิ ยาศาสตร์คอื Anthocephalus chinensis ยาวประมาณ 2 มม. รังไข่เกลยี้ ง กา้ นและยอดเกสรเพศเมียยาว 6-7 มม. ชอ่ ผล
(Lam.) A. Rich. ex Walp. ที่ปัจจบุ นั เป็นชอื่ พ้องของ Breonia chinensis (Lam.) เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.3-1.8 ซม. ผลย่อยรูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม.
Capuron ชอ่ื ชนิดมาจากภาษาบาลี “กทมั พ” และเป็นท่มี าของช่อื กระทุม่ ชื่อสกลุ
น่าจะมาจากเมล็ดคลา้ ยหญา้ ในสกุล Lamarckia พบท่ีจนี ตอนใต้ พม่า ภมู ภิ าคอินโดจีน คาบสมทุ รมลายู ชวา และฟลิ ปิ ปนิ ส์
เอกสารอา้ งองิ ขนึ้ ตามป่าเบญจพรรณ ปา่ เต็งรัง และทุง่ นา ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
Chen, T. and C.M. Taylor. (2001). Rubiaceae (Neolamarckia). In Flora of China
เอกสารอ้างอิง
Vol. 19: 254. Chen, T. and C.M. Taylor. (2001). Rubiaceae (Mitragyna). In Flora of China
Vol. 19: 218-219.
กระทุ่ม: ใบเรยี งตรงขา้ ม ชอ่ ดอกแบบช่อกระจุกแนน่ ออกเด่ียว ๆ ท่ีปลายกิง่ ดอกย่อยจำ� นวนมาก แยกกัน
ยอดเกสรเพศเมยี รปู กระบอง (ภาพ: ระนอง - RP) กระทมุ่ นา: ช่อกระจุกแน่นออกเป็นช่อซ่รี ่ม เกสรเพศผูแ้ ละเพศเมียยนื่ พ้นปากหลอดกลบี ดอก (ภาพ: นนทบุรี - MP)

กระเทียมตน้

Scorodocarpus borneensis (Baill.) Becc.
วงศ์ Strombosiaceae

ชื่อพอ้ ง Ximenia borneensis Baill.

ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ใบเรียงเวยี น รปู รีถึงรปู ใบหอก ยาว 7-22 ซม. แผน่ ใบ
ดา้ นบนเปน็ มันวาว มีปมุ่ กระจาย กา้ นใบยาว 1-2 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะส้นั ๆ
ออกตามซอกใบ มีขนละเอียด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรอื เป็นกลมุ่ 2-3 ดอก ก้านดอกยาว
ประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบเลย้ี งจักตน้ื ๆ 4-5 กลีบ กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปใบหอก
ยาว 0.8-1 ซม. มีขนยาวน่มุ คล้ายแปรงด้านใน ปลายพบั งอกลบั เกสรเพศผู้
จำ� นวน 2 เทา่ ของกลบี ดอก ตดิ เปน็ คดู่ า้ นลา่ งกลบี ดอก กา้ นชอู บั เรณสู นั้ อบั เรณู
รปู แถบ ยาว 3-4 มม. รงั ไข่มี 3-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมยี ยาวเทา่ ๆ เกสรเพศผู้
ยอดเกสรจกั 3-4 พู ผลผนงั ชน้ั ในแขง็ กลมหรอื คลา้ ยรปู ลกู แพร์ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
3-7 ซม. มีรว้ิ จำ� นวนมาก กา้ นผลหนา ผนังด้านในหนา 2-2.5 ซม. มเี สน้ ใย
หนาแนน่ มีเมล็ดเดยี ว

พบทคี่ าบสมทุ รมลายู บอรเ์ นยี ว และภาคใตต้ อนลา่ งของไทย ขน้ึ ตามปา่ ดบิ ชน้ื
ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ใบ เปลือก และผล มีกลิ่นคล้ายกระเทียม ใน
มาเลเซยี ใชป้ รงุ อาหารแทนกระเทยี ม ผลใชบ้ รรเทาพษิ ทเี่ กดิ จากยางนอ่ ง Antiaris
toxicaria Lesch.

22

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย กระบกกรงั

สกลุ Scorodocarpus Becc. มเี พียงชนดิ เดียว บางข้อมลู ใหอ้ ยภู่ ายใตว้ งศ์ กระบก
Olacaceae ช่อื สกุลมาจากภาษากรกี “skorodon” กระเทยี ม และ “karpos” ผล
หมายถึงผลที่มีกลิน่ คล้ายกระเทยี ม Irvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn.
เอกสารอา้ งองิ วงศ์ Irvingiaceae
Sleumer, H. (1984). Olacaceae. In Flora Malesiana Vol. 10: 15-17.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ หูใบเรียวยาวหุ้มยอด ยาว
กระเทียมต้น: ใบเรียงเวยี น แผ่นใบเขียวเปน็ มนั ดา้ นบน ผลแบบผนงั ชน้ั ในแข็ง กา้ นผลหนา (ภาพ: บนั นังสตา 1.5-3 ซม. รว่ งเร็ว ใบเรยี งเวยี น รูปรี รปู ขอบขนาน หรอื แกมรปู ไข่ ยาว 3-20 ซม.
ยะลา - RP) โคนเบย้ี วเลก็ นอ้ ย เสน้ แขนงใบยอ่ ยแบบขน้ั บนั ไดกง่ึ รา่ งแหละเอยี ด กา้ นใบยาว
0.5-2 ซม. เปน็ สนั ดา้ นบน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 5-15 ซม. ใบประดับ
กระเทียมเถา รปู ไขข่ นาดเลก็ กา้ นดอกยาว 1-3 มม. ดอกสขี าวอมเขยี ว กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก
อย่างละ 5 กลีบ เรยี งซ้อนเหล่อื ม กลบี เลีย้ งยาวประมาณ 1 มม. กลบี ดอกยาว
Mansoa hymenaea (DC.) A. H. Gentry กว่าเลก็ นอ้ ย เกสรเพศผู้ 10 อัน กา้ นชอู ับเรณยู าวประมาณ 3 มม. จานฐานดอก
วงศ์ Bignoniaceae รปู เบาะ ขอบจกั ตื้น ๆ รังไขม่ ี 2 ช่อง แตล่ ะคาร์เพลมอี อวลุ 1 เม็ด ผลรูปรหี รือ
รูปไข่ ยาว 3-6 ซม. ผนงั ช้ันนอกเปน็ เส้นใย ผนงั ชั้นในแข็งหนาประมาณ 5 มม.
ชือ่ พอ้ ง Bignonia hymenaea DC., Pachyptera hymenaea (DC.) A. H. Gentry
พบในอนิ เดยี พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี คาบสมทุ รมลายู สมุ าตรา และบอรเ์ นยี ว
ไมเ้ ถา มีมอื จบั แยกเป็น 3 แฉก ใบประกอบมี 2 ใบย่อย กา้ นยาว 1-2 ซม. ในไทยพบทุกภาค ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร ไม้ท�ำถ่านให้ความร้อนสูง
ใบย่อยออกตรงข้าม รปู ไข่ ยาว 5-10 ซม. เสน้ โคนข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง เมลด็ ให้นำ�้ มันใช้ในอตุ สาหกรรมทำ� สบูแ่ ละเทียนไข น�ำไปควั่ รับประทานได้
1 ซม. ชอ่ ดอกแบบแยกแขนงเป็นกระจุกสนั้ ๆ ตามปลายกง่ิ ที่แยกออกจากเถา
กลีบเลีย้ งคล้ายรปู ถ้วย ยาว 4-6 มม. ปลายตดั หรอื จักตนื้ ๆ 5 พู ดอกรปู แตร ยาว สกุล Irvingia Hook. f. เคยอยู่ภายใตว้ งศ์ Simaroubaceae หรอื Ixonanthaceae
3.5-5 ซม. หลอดกลีบดอกเรยี วแคบ ปลายบานออกแยกเป็น 5 กลบี รูปไข่กลบั กวา้ ง มีประมาณ 7 ชนดิ ส่วนใหญพ่ บในแอฟรกิ า หลายชนดิ มีสรรพคณุ ด้านสมุนไพร
ยาวประมาณ 1.5 ซม. เรยี งซ้อนเหล่ือม กลบี บน 2 กลีบ กลบี ล่าง 3 กลบี ปลายกลีบ ในไทยมีชนดิ เดียว ชอ่ื สกลุ ตง้ั ตามศลั ยแพทย์และนกั พฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์
เป็นตง่ิ แหลม เกสรเพศผู้ 4 อัน อยู่ภายในหลอดกลีบดอก ผลแห้งแตก แบน รูปแถบ Edward George Irving (1816-1855)
ขอบมสี ัน เมล็ดบางมี 2 ปีก เอกสารอา้ งองิ
Nooteboom, H.P. (1972). Simaroubaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 223-226
มถี ่ินกำ� เนิดในอเมรกิ าเขตร้อน จากเมก็ ซโิ กถึงบราซลิ เป็นไมป้ ระดับ เปน็ ซุ้ม Phengklai, C. (1981). Irvingiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 398-399.
หรือท�ำรั้ว ทนแล้ง
กระบก: หใู บเรยี วยาว หุ้มยอด เสน้ แขนงใบย่อยแบบขน้ั บันไดกึง่ รา่ งแหละเอยี ด (ภาพ: มุกดาหาร - PK)
สกุล Mansoa DC. มีประมาณ 12 ชนดิ พบเฉพาะในอเมรกิ าเขตร้อน ช่ือสกุล
ตัง้ ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวบราซิล A.L.P. da Silva Mansao (1788-1848) พชื กระบกกรัง
สกุลนห้ี ลายชนดิ ใบเมือ่ ขยี้มีกลิ่นกระเทยี ม มสี รรพคุณแก้ไข้ และไขห้ วดั
เอกสารอ้างอิง Hopea helferi (Dyer) Brandis
Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae (Pachyptera hymenaea). In Flora of Thailand วงศ์ Dipterocarpaceae

Vol. 5(1): 63-64. ชอ่ื พอ้ ง Vatica helferi Dyer
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
ไมต้ น้ สงู 15-40 ม. กงิ่ มชี ่องอากาศ มีขนกระจกุ รูปดาวสั้น ๆ ตามก่งิ อ่อน
Press, Honolulu, Hawai`i. หูใบ ก้านใบ และชอ่ ดอก ใบรปู ขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 20 ซม. แผน่ ใบ
ด้านล่างมีเกล็ดสีเงิน เสน้ แขนงใบขา้ งละ 12-20 เสน้ ก้านใบยาว 0.7-1.5 ซม.
กระเทยี มเถา: ชอ่ ดอกออกตามกง่ิ ทีแ่ ยกออกมาจากเถา กลบี ดอกรูปแตร ผลรูปแถบ แบน ขอบมสี นั (ภาพ: ชอ่ ดอกยาว 5-15 ซม. กลบี เลยี้ งรปู สามเหลีย่ ม ยาว 1-2 มม. ดอกสีเหลืองครมี
cultivated - RP) กลีบรูปใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว 3-4 มม. เกสรเพศผู้ 15 อนั ก้านชอู ับเรณยู าวกว่า
อบั เรณเู ลก็ น้อย แกนปลายอับเรณูปลายมีรยางค์รปู เสน้ ด้ายยาว 2-3 เทา่ ของ
อบั เรณู รงั ไขแ่ ละฐานกา้ นยอดเกสรเพศเมยี รปู กรวยคอดเวา้ มขี นสนั้ นมุ่ ผลรปู ไข่
ยาวประมาณ 8 มม. ปกี ยาว 2 ปกี รูปใบพาย ยาว 5-6 ซม. ปีกสน้ั 3 ปกี รปู ไข่
ยาว 3-5 มม. (ดขู ้อมลู เพ่มิ เติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)

พบทห่ี มเู่ กาะอนั ดามนั ของอนิ เดยี พมา่ กมั พชู า และคาบสมทุ รมลายู ในไทย
พบกระจายหา่ ง ๆ แทบทุกภาค ยกเวน้ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
ข้ึนตามปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ ชนื้ ความสงู ถงึ ประมาณ 400 เมตร

เอกสารอ้างองิ
Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. In Flora of
Cambodia, Laos and Vietnam 25: 65.

23

กระบาก สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กระบกกรงั : กลีบเล้ียงขยายเปน็ ปีกยาว 2 ปีก รปู ใบพาย ปีกสั้น 3 ปกี (ภาพ: เขาใหญ่ นครนายก - MP) มขี นประปราย กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 2-2.5 มม. ยอดเกสรจกั 3 พู หลอดกลีบมี
ขนประปราย ปกี ยาว ยาว 11-13 ซม. ปกี สน้ั ยาว 1-1.5 ซม. ผลเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
กระบาก, สกุล 1-1.3 ซม. มีขนหรอื เกล้ยี ง

Anisoptera Korth. พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่
วงศ์ Dipterocarpaceae นราธวิ าส ข้ึนกระจายห่าง ๆ ในปา่ ดบิ ชื้น ความสงู 150-900 เมตร คล้ายกบั ช้ามว่ ง
แตจ่ �ำนวนเส้นแขนงใบมนี ้อยและเส้นใบไม่ชัดเจนเทา่ ช้ามว่ ง
ไมต้ น้ ขนาดใหญ่ โคนตน้ มพี พู อน เปลอื กในเรยี งเปน็ ชนั้ ชนั ใส หใู บรปู ใบหอก
ร่วงเร็ว ใบเรยี งเวยี น เสน้ แขนงใบมกั เรียงจรดกนั เป็นเส้นขอบใน ช่อดอกแบบ กระบากทอง
ช่อแยกแขนง กา้ นดอกสน้ั กลบี เลยี้ งเชือ่ มตดิ กันเป็นหลอด กลีบค่นู อกยาวและ
แคบกวา่ 3 กลบี ในเลก็ นอ้ ย เรยี งซอ้ นเหลอ่ื มทโี่ คน ดอกสคี รมี หรอื สขี าว มี 5 กลบี Anisoptera curtisii Dyer ex King
รว่ งแยกกนั เกสรเพศผูส้ ่วนมากมี 15-40 อัน เรยี ง 3 วง ก้านชอู บั เรณูส้ัน รปู เสน้ ดา้ ย ไมต้ น้ สงู ไดก้ วา่ 40 ม. มเี กลด็ รงั แค ตอ่ ม และขนรปู ดาวสนี ำ้� ตาลอมเหลอื ง
อับเรณูคู่ในส้ันกว่าคู่นอก แกนอับเรณูมีรยางค์เป็นต่ิงส้ัน ๆ หรือรูปเส้นด้าย
รงั ไขก่ ง่ึ ใตว้ งกลบี ฐานกา้ นยอดเกสรเพศเมยี (stylopobium) รปู ทรงกระบอก ตามกงิ่ อ่อน ตาใบ หใู บ แผ่นใบด้านลา่ ง ชอ่ ดอก และกลีบเลีย้ ง หูใบยาว 3-7 มม.
หรอื คล้ายจาน กา้ นเกสรเพศเมยี แยก 3 แฉก หรือยอดเกสรจัก 3 พู ผลเปลือกแข็ง ใบรูปรถี งึ รูปใบหอก ยาว 5-15 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 12-25 เสน้ ก้านใบยาว
เมล็ดเดยี ว ปลายมีต่งิ หลอดกลบี เล้ยี งห้มุ เกอื บทงั้ ผล กลีบเลย้ี งขยายเปน็ ปีกยาว 1-2.5 ซม. ช่อดอกยาว 5-10 ซม. กลบี เลย้ี งยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบดอกรูปใบหอก
2 ปกี มเี ส้นปกี 3 เสน้ ปกี สัน้ 3 ปีก โคนเรยี งจรดกนั แกมรูปไข่ ยาวประมาณ 7 มม. เกสรเพศผ้มู ี 25 อัน รยางค์ยาวประมาณ 3 เทา่
ของอบั เรณู ฐานกา้ นเกสรเพศเมยี รปู ทรงกระบอก ยาวประมาณ 1 มม. มขี นรปู ดาว
สกลุ Anisoptera อยู่ภายใตเ้ ผ่า Dipterocarpeae ท่ีโคนกลบี เลีย้ งในผลเรยี งจรดกนั สน้ั ๆ กา้ นเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ปีกยาว ยาว 7-12 ซม. ปีกสัน้ ยาว 1.3-3 ซม.
แยกเปน็ sect. Anisoptera (กระบาก และกระบากทอง) และ sect. Glabrae กา้ นผลยาว 3-5 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.3 ซม. ผวิ เกลยี้ งหรอื แตกระแหง
(กระบากแดง และชา้ ม่วง) ตามความยาวของรยางค์ท่แี กนอับเรณู ก้านและฐาน เปน็ สะเกด็ เล็กนอ้ ย มีขนสั้นนุม่
กา้ นเกสรเพศเมีย มปี ระมาณ 10 ชนดิ พบทบี่ ังกลาเทศ พม่า ภมู ิภาคอนิ โดจนี
และมาเลเซีย ในไทยมี 4 ชนิด ช่อื สกุลมาจากภาษากรีก “anisos” ไม่เทา่ กนั และ พบท่ีพม่าตอนล่าง คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่
“pteros” ปกี ตามลกั ษณะของปีกที่ไม่เทา่ กนั ยะลา นราธวิ าส และสตลู ขนึ้ หนาแนน่ ในปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู ถงึ ประมาณ 850 เมตร
บางคร้ังมีรายงานลูกผสมระหว่างกระบากและกระบากทองที่คาบสมุทรมลายู
กระบาก อยา่ งไรก็ตาม ทางภาคใต้ตอนล่างพบเฉพาะกระบากทอง

Anisoptera costata Korth. เอกสารอ้างอิง
ไมต้ ้น สูงไดถ้ ึง 50 ม. กง่ิ อ่อนมเี กลด็ รงั แคหนาแนน่ หูใบยาวไดถ้ งึ 1 ซม. ใบรูปรี Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 327-337.
Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
หรอื รปู ขอบขนาน ยาว 5-18 ซม. แผน่ ใบดา้ นลา่ งมขี นรปู ดาวสเี ขยี วเทาหนาแนน่ Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 112-116.
หรือประปราย เสน้ แขนงใบข้างละ 12-25 เสน้ ก้านใบส่วนมากยาว 1-2.5 ซม. Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
ชอ่ ดอกยาวไดถ้ งึ 20 ซม. แตล่ ะชอ่ ยอ่ ยมปี ระมาณ 5 ดอก กลบี เลย้ี งยาวประมาณ Cambodge, du Laos et du Vietnam 25: 11-16.
3 มม. ด้านนอกมขี น กลีบดอกรปู ขอบขนาน ยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผมู้ ี 25-40 อัน
อับเรณูยาวประมาณ 1 มม. รยางคย์ าว 2-4 เทา่ ของอับเรณู ฐานก้านเกสรเพศเมีย กระบาก: ช่อดอกแบบชอ่ แยกแขนง กลบี เล้ยี งเรียงซ้อนเหลอื่ มท่โี คน แกนอบั เรณูมรี ยางค์ยาว ฐานกา้ นเกสรเพศเมยี
รปู ทรงกระบอก ยาวประมาณ 3 มม. มขี นรปู ดาวสน้ั กา้ นเกสรเพศเมยี แยก 3 แฉก รปู ทรงกระบอก ก้านเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก (ภาพดอก: สังขละบุรี กาญจนบุรี - MP; ภาพผล: บึงกาฬ - NS)
หลอดกลบี เลย้ี งมขี น ปกี ยาว ยาว 10-15 ซม. ปกี สน้ั ยาว 1-2.5 ซม. ผลเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ประมาณ 1 ซม. มขี นส้นั นมุ่ กระบากทอง: เส้นแขนงใบจำ� นวนมาก เรียงจรดกันเปน็ เส้นขอบใน แผน่ ใบดา้ นลา่ งมีเกล็ดรงั แคสนี ้�ำตาลอมเหลอื ง
(ภาพซา้ ย: นราธวิ าส - MP); กระบากแดง: แผ่นใบดา้ นลา่ งมเี กล็ดสีน้�ำตาลแดง เส้นแขนงใบขา้ งละ 10-14 เสน้ หลอด
พบทพ่ี มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี คาบสมทุ รมลายู บอรเ์ นยี ว สมุ าตรา ชวา และฟลิ ปิ ปนิ ส์ กลีบเลีย้ งหุม้ ผลจนมดิ ปกี ยาว 2 ปกี เส้นปกี 3 เส้น ปกี ส้นั 3 ปกี (ภาพขวา: นราธวิ าส - MP)
ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดบิ แล้งและปา่ ดบิ ช้นื ข้นึ หนาแน่นบางพืน้ ท่ี ความสูง
ถงึ ประมาณ 700 เมตร มีความผนั แปรสูงโดยเฉพาะสงิ่ ปกคลุม

กระบากแดง

Anisoptera laevis Ridl.
ไมต้ น้ สูงไดถ้ งึ 40 ม. กิ่งเกล้ียง หูใบยาว 5-7 มม. ใบรูปรถี ึงรปู ใบหอก หรอื

แกมรปู ไข่ ยาว 5.5-10 ซม. แผ่นใบดา้ นลา่ งมีเกล็ดสีน�้ำตาลแดง เสน้ แขนงใบ
ขา้ งละ 10-14 เส้น เรียงจรดกันไม่ชัดเจนใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1.5-2 ซม.
ชอ่ ดอกยาว 7-13 ซม. กลีบเลยี้ งยาว 1-2 มม. ดา้ นนอกมขี น กลีบดอกรูปรี ยาว
4-5 มม. เกสรเพศผมู้ ี 15 อัน รยางค์เปน็ ติ่งแหลม ฐานกา้ นเกสรเพศเมยี รูปจาน

24

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กระปรอกเลก็

กระเบา, สกุล กระเบากลกั : ขอบใบจกั ซี่ฟนั ห่าง ๆ เกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก ผลรปู กลม มีขนส้ันน่มุ สีด�ำหนาแน่น (ภาพดอกเพศผ้:ู
เขาสอยดาว จันทบรุ ี - BH; ภาพผล: ชมุ พร - RP)
Hydnocarpus Gaertn.
วงศ์ Achariaceae กระปรอกนมแมว

ไม้ตน้ สว่ นมากแยกเพศตา่ งต้น หใู บร่วงเร็ว ใบเรยี งเวยี น ปลายก้านใบหนา Leptochilus pedunculatus (Hook. & Grev.) Fraser-Jenk.
ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ สัน้ ๆ หรอื ลดรปู เป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนาด วงศ์ Polypodiaceae
เล็กหรอื ไม่มี กลบี เล้ียงส่วนมากมี 4 กลบี เรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม ไมต่ ดิ ทน กลีบดอก
4-15 กลีบ แยกกนั เชอื่ มติดกันทีโ่ คนหรือเปน็ หลอด โคนด้านล่างกลบี มเี กลด็ ช่ือพ้อง Ceterach pedunculatum Hook. & Grev.
เกสรเพศผมู้ ี 5 อนั หรอื จำ� นวนมาก แยกกนั เปน็ หมนั ในดอกเพศเมยี รงั ไขม่ ชี อ่ งเดยี ว
พลาเซนตาเรยี ง 3-6 แถว ออวุลจ�ำนวนมาก ก้านเกสรเพศเมยี 3-6 อนั ยอดเกสรแบน เฟนิ องิ อาศยั หรอื ขน้ึ บนหนิ เหงา้ สนี ำ�้ ตาลเขม้ ทอดขนาน เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ผลสดเปลอื กแขง็ บางครงั้ ผนงั ชน้ั นอกเปน็ เสน้ ใย ชนั้ กลางแขง็ ชน้ั ในนมุ่ เมลด็ 2-5 มม. เกลด็ สนี �้ำตาล รปู คล้ายสามเหลีย่ มแคบ ยาว 2.5-4 มม. ขอบจกั ฟันเล่ือย
รูปไข่แกมสามเหลย่ี ม ใบไม่สรา้ งสปอรร์ ูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 14-35 ซม. ขอบเรียบ แผ่นใบบาง
เส้นแขนงใบแบบร่างแห กา้ นใบยาว 5-22 ซม. โคนกา้ นมีครีบคลา้ ยปีก มเี กลด็
สกลุ Hydnocarpus เดมิ อยภู่ ายใตว้ งศ์ Flacourtiaceae มีประมาณ 40 ชนดิ กระจาย ใบสร้างสปอร์รปู ขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-24 ซม. ขอบเรียบ
พบเฉพาะในเอเชยี เขตร้อน ในไทยมี 7 ชนิด ช่ือสกลุ มาจากภาษากรีก “hydno” ก้านใบยาว 13-30 ซม. กลุ่มอบั สปอรร์ ูปแถบ เรยี งเปน็ แถวระหวา่ งเส้นแขนงใบ
หวั และ “karpos” ผล ตามลกั ษณะของผลท่ดี ูคล้ายเป็นหัวขนาดใหญ่ กว้างประมาณ 4 มม. ยกเวน้ บรเิ วณเสน้ กลางใบและเสน้ แขนงใบ ไมม่ เี ยอื่ คลมุ
กลมุ่ อบั สปอร์
กระเบา
พบท่ีอินเดีย จีนตอนใต้ พมา่ ลาว เวยี ดนาม คาบสมทุ รมลายู สมุ าตรา ชวา
Hydnocarpus castaneus Hook. f. & Thomson ในไทยพบแทบทกุ ภาค ยกเวน้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคตะวนั ออก ขนึ้ ตาม
ปา่ ดิบแลง้ และปา่ ดิบช้นื ความสูงถงึ ประมาณ 1100 เมตร
ชือ่ พอ้ ง Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness.
สกลุ Leptochilus Kaulf. มีประมาณ 25 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี
ไม้ต้น สงู ได้ถงึ 30 ม. แยกเพศร่วมต้น มีขนรปู ดาวส้ัน ๆ ประปรายตามก่ิง 7 ชนิด ช่อื สกุลมาจากภาษากรีก “leptos” บาง เรยี ว และ “chilos” กลีบปาก
แผน่ ใบด้านลา่ ง ชอ่ ดอก กา้ นดอก และกลีบเล้ยี ง ใบรปู ขอบขนาน รปู ใบหอก ตามลกั ษณะของใบสรา้ งสปอร์
หรอื แกมรปู ไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมยาว ขอบเรียบ ก้านใบยาวได้ถงึ 2 ซม. เอกสารอ้างองิ
กา้ นดอกยาวได้ถงึ 6 ซม. กลีบเล้ียงรูปไข่ ยาวประมาณ 8 มม. ดอกสคี รีม กลบี รูปรี Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
ยาวไดถ้ ึง 1.4 ซม. เกล็ดท่ีโคนเรยี วแคบ ขอบมขี นครยุ เกสรเพศผู้ 5 อนั ก้านชูอบั เรณู
ยาวประมาณ 4 มม. เกลี้ยง อับเรณูยาวประมาณ 3 มม. เป็นหมนั ในดอกเพศเมยี Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
รงั ไขม่ ขี นหนาแนน่ เปน็ หมนั ในดอกเพศผู้ ออวลุ มขี นยาว ผลรปู กลม เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Pteridophytes (Colysis pedunculata). In
ยาวไดถ้ งึ 12 ซม. มขี นสนั้ นมุ่ สนี ำ�้ ตาลหนาแนน่ ผนงั ผลชนั้ กลางหนาประมาณ 1 ซม.
เมลด็ ยาวประมาณ 2 ซม. มีขนยาว Flora of Thailand 3(4): 538.
Xianchun, Z. and H.P. Nooteboom. (2013). Polypodiaceae (Leptochilus). In
พบท่พี ม่า ภูมิภาคอนิ โดจนี คาบสมทุ รมลายู บอรเ์ นยี ว และสุมาตรา ในไทย
พบกระจายทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ดบิ เขา และปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู ถงึ ประมาณ Flora of China Vol. 2-3: 833-834.
1600 เมตร สารสกัดจากเมล็ดใช้ทาแกโ้ รคผิวหนงั หลายชนดิ รวมทั้งโรคเร้ือน
กระปรอกนมแมว: ใบแบบทวสิ ณั ฐาน กล่มุ อบั สปอร์เรยี งตวั เปน็ แถวระหวา่ งเสน้ แขนงใบ ยกเว้นบรเิ วณเส้นกลาง
กระเบากลกั ใบและเส้นแขนงใบ (ภาพ: แกง่ กระจาน เพชรบุรี - PK)

Hydnocarpus ilicifolius King กระปรอกเล็ก
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 30 ม. แยกเพศตา่ งตน้ ใบรปู ไข่ รปู ไขก่ ลบั หรอื แกมรปู ขอบขนาน
Drynaria rigidula (Sw.) Bedd.
ยาว 9-22 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบเรียบหรือจักซฟ่ี ันห่าง ๆ กา้ นใบ วงศ์ Polypodiaceae
ยาวได้ถงึ 1.5 ซม. ชอ่ ดอกมขี นสีนำ้� ตาลแดงหนาแนน่ ก้านดอกยาวได้ถงึ 2 ซม.
กลีบเลี้ยงรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 9 มม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกสีเขียวอ่อน ชอื่ พอ้ ง Polypodium rigidulum Sw.
กลบี เช่อื มติดกนั เปน็ หลอด ยาวได้ถึง 8 มม. ด้านนอกมีขนประปราย เกลด็ ทโ่ี คน
เชือ่ มตดิ กัน เกสรเพศผูย้ ่นื พน้ ปากหลอดกลบี ดอกเลก็ นอ้ ย กา้ นชอู ับเรณมู ีขน รังไข่ เฟนิ เกาะอิงอาศยั ลำ� ตน้ เปน็ เหงา้ ทอดเลอ้ื ย ยาวไดก้ ว่า 3 ม. มีเกล็ดสนี �ำ้ ตาล
มขี นหนาแนน่ ไม่มีรงั ไข่ท่ีเปน็ หมันในดอกเพศผู้ ผลรูปกลม เส้นผา่ นศูนย์กลาง หนาแนน่ ขอบเกลด็ มขี นประปราย ใบประกบตน้ ไรก้ า้ นรปู ขอบขนานหรอื คลา้ ย
ยาวไดถ้ งึ 8 ซม. มขี นสั้นนมุ่ สดี �ำหนาแน่น ผนงั ผลช้ันกลางหนาประมาณ 3 มม. รปู สามเหล่ียม ยาว 10-35 ซม. ขอบใบจักเปน็ พูลกึ ยาวได้ถึง 3 ซม. ใบสร้างสปอร์
เมล็ดยาวประมาณ 2.5 ซม. เปน็ ใบประกอบ รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาวไดถ้ งึ 2 ม. กา้ นใบสนี ำ้� ตาลอมมว่ ง
ยาว 15-40 ซม. ใบยอ่ ยจำ� นวนมาก รปู ใบหอกถงึ รปู แถบ ยาว 8-25 ซม. โคนเบย้ี ว
พบทภ่ี มู ภิ าคอนิ โดจนี และคาบสมทุ รมลายู ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้ ไร้ก้าน ขอบใบเรยี บหรอื จกั ฟนั เลือ่ ย เสน้ กลางใบนูนท้ังสองด้าน กล่มุ อบั สปอรม์ ี
และป่าดิบชื้นท่ีเปน็ หนิ ปูน ความสงู ถึงประมาณ 800 เมตร แถวเดยี วทงั้ ดา้ นบนและดา้ นลา่ งขอบใบ นนู ขนึ้ ด้านบนแผน่ ใบ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ประมาณ 1 มม. (ดขู อ้ มลู เพ่ิมเติมที่ กระแตไตไ่ ม,้ สกุล)
เอกสารอ้างอิง
Harwood, B. and B. Webber. (2015). Achariaceae. In Flora of Thailand Vol.
13(1): 2-12.

กระเบา: ใบเรียงเวยี น โคนเบ้ยี ว ขอบเรียบ กลบี ดอกสคี รมี รปู รี เกสรเพศผู้ 5 อัน ผลรปู กลม มีขนสัน้ นุ่มสนี �้ำตาล
หนาแนน่ (ภาพ: เขาช่อง ตรัง; ภาพดอก - SG, ภาพผล - AS)

25

กระปรอกสิงห์ สารานุกรมพืชในประเทศไทย

พบทพ่ี ม่า ลาว กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซยี ถึงออสเตรเลยี เกาะตามต้นไม้ ขอบดิน แกมรปู ไข่ ยาว 2-2.5 มม. กลบี ขา้ งเวา้ ลงคลา้ ยทอ้ งเรอื กลางกลบี มสี นั หรอื ครบี
หรอื ลานหินในป่าดิบแลง้ ป่าดบิ ช้นื และชายปา่ พรุ ความสูงระดบั ต�่ำ ๆ กลบี ดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2 มม. กลบี ปากรปู สามเหลยี่ มแกมรูปไข่
ปลายเรยี วแหลม ขอบโคง้ กลบั เส้าเกสรสน้ั ปลายแยก 3 แฉก
เอกสารอ้างองิ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and พบท่ีอนิ เดีย เนปาล จีนตอนใต้ พมา่ เวยี ดนาม ภมู ภิ าคมาเลเซยี ฟิลิปปินส์
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/ นวิ กินี และหมู่เกาะแปซิฟกิ ในไทยพบทุกภาค ความสงู ถึงประมาณ 2500 เมตร
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae. In Flora of Thailand Vol.
3(4): 550. สกุล Thelasis Blume อยูภ่ ายใตว้ งศ์ยอ่ ย Epidendroideae มปี ระมาณ 20 ชนิด
ในไทยมี 4 ชนิด ช่อื สกุลมาจากภาษากรกี “thele” หวั นม ตามลักษณะของดอก

เอกสารอา้ งองิ
Chen, X. and J.J. Wood. (2009). Orchidaceae (Thelasis). In Flora of China Vol.
25: 365-366.

กระปรอกเล็ก: ใบประกบต้นไร้กา้ น ขอบใบจักเปน็ พูลึก ใบสรา้ งสปอร์เป็นใบประกอบ กลมุ่ อบั สปอร์ เกดิ ใกลเ้ สน้ กระสุนพระอินทร:์ ใบมีสองขนาด ช่อดอกแบบช่อกระจะ ดอกเรียงหนาแนน่ กลีบเล้ียงกลีบข้างเวา้ ลงคลา้ ยทอ้ งเรอื
กลางใบ กลมุ่ อบั สปอร์มแี ถวเดียวทัง้ ดา้ นบนและด้านลา่ งขอบใบ นูนดา้ นบน (ภาพ: ภหู นิ ร่องกล้า พิษณโุ ลก - PK) กลางกลบี มีสันหรอื ครีบ (ภาพ: เขานัน นครศรธี รรมราช - NT)

กระปรอกสิงห์ กรายดำ�

Microsorum punctatum (L.) Copel. Hopea oblongifolia Dyer
วงศ์ Polypodiaceae วงศ์ Dipterocarpaceae

ชื่อพ้อง Acrostichum punctatum L. ไม้ตน้ สูง 10-25 ม. โคนต้นมีพพู อนต้ืน ๆ เปลือกเรยี บ บางครั้งมีรากอากาศ
กิง่ มีชอ่ งอากาศ มีขนสัน้ นุ่มกระจายตามกงิ่ ออ่ น หใู บ กลบี เลี้ยง และช่อดอก
เฟนิ องิ อาศยั หรอื ขนึ้ บนหนิ เหงา้ ทอดนอน สนี ำ้� ตาลเขม้ มนี วล เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ใบรูปขอบขนานหรอื แกมรูปไข่ เบีย้ วเล็กนอ้ ย ยาว 12-24 ซม. เสน้ แขนงใบขา้ งละ
3-7 มม. เกล็ดสนี �้ำตาล รูปขอบขนานแกมรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. 8-10 เสน้ กา้ นใบยาว 2-2.5 ซม. กา้ นดอกยาวประมาณ 1 มม. กลบี เลย้ี งรปู สามเหลยี่ ม
ขอบจกั ซฟ่ี นั ใบรปู ขอบขนานถงึ รปู ใบหอก ยาว 20-80 ซม. โคนสอบ แผอ่ อกเปน็ ครบี ยาวประมาณ 3 มม. ขอบมขี นครยุ ดอกสชี มพู มสี ขี าวเปน็ รว้ิ กลบี รปู ขอบขนาน
บนกา้ นใบ ขอบเรียบ แผน่ ใบหนาเปน็ มนั เสน้ แขนงใบแบบร่างแห ไมช่ ัดเจน ก้านใบ ยาวประมาณ 6 มม. ขอบมขี นครยุ เกสรเพศผู้ 15 อนั รยางคร์ ปู เสน้ ดา้ ยยาวไดเ้ กอื บ
สเี ขยี วหรือสนี ำ�้ ตาลอ่อน ยาว 1-13 ซม. โคนมเี กล็ดสนี ้�ำตาล กลุม่ อบั สปอร์เรยี ง 1 ซม. รังไขแ่ ละฐานก้านเกสรเพศเมยี เรียว ยาวประมาณ 4 มม. ปกี ยาว 2 ปกี ยาว
กระจดั กระจายทวั่ ทง้ั แผน่ ใบด้านลา่ งหรือครึ่งหน่ึงของแผน่ ใบด้านปลาย ไมม่ ี 6-12 ซม. ปกี ส้นั 3 ปีก ยาว 2.5-3.5 ซม. ผลรูปไข่ ยาว 2-2.3 ซม. ปลายเปน็ ตง่ิ แหลม
เย่อื คลุมกลมุ่ อบั สปอร์ (ดูข้อมลู เพิม่ เติมท่ี กูดเยอื่ , สกุล) (ดูข้อมูลเพ่ิมเตมิ ที่ ตะเคียนทอง, สกุล)

พบในแอฟริกา เอเชยี หมเู่ กาะแปซิฟกิ และออสเตรเลยี ในไทยพบทุกภาค พบที่พมา่ ตอนล่าง และภาคใต้ของไทยท่ีชุมพร ระนอง สรุ าษฎร์ธานี พงั งา
ขน้ึ ตามท่โี ลง่ หรือร�ำไร ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร และกระบ่ี ขนึ้ รมิ ลำ� ธารในปา่ ดบิ ชนื้ ความสงู 50-300 เมตร มชี นดิ ทคี่ ลา้ ยกนั และ
ข้นึ ใกล้ ๆ กัน มขี นส้นั นุม่ หนาแนน่ ซึ่งอาจเป็นชนดิ H. mollissima C. Y. Wu
เอกสารอา้ งอิง ท่ปี จั จุบันเป็นช่อื พ้องของ H. chinensis (Merr.) Hand.-Mazz.
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/ เอกสารอา้ งองิ
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae. In Flora of Thailand Vol. Kerala Forest Research Institute. (1985). Dipterocarp of South Asia. RAPA
3(4): 528. Monograph 1985/4. FAO Regional Office for Asia and the Pacific. Bangkok.
Pooma, R. (2002). Further note on Thai Dipterocarpaceae. Thai Forest Bulletin
(Botany) 30: 9-10.

กระปรอกสงิ ห:์ โคนใบสอบเรียว แผ่นใบหนาเป็นมนั กลุม่ อับสปอร์เรียงตัวกระจัดกระจาย ไมม่ เี ยอื่ คลมุ กลุ่มอบั สปอร์ กรายดำ� : โคนต้นมพี ูพอนตืน้ ๆ เปลือกเรียบ ใบรปู ขอบขนาน เบ้ยี วเลก็ นอ้ ย กลบี เลย้ี งขยายเปน็ ปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น
(ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบรุ ี - PK) 3 ปีก (ภาพ: ศรพี ังงา พงั งา - RP)

กระสุนพระอินทร์

Thelasis pygmaea (Griff.) Lindl.
วงศ์ Orchidaceae

ชอ่ื พ้อง Euproboscis pygmaea Griff.

กลว้ ยไมอ้ งิ อาศยั หวั เทยี มรูปกลมแป้น กวา้ ง 0.7-1.8 ซม. ใบรูปขอบขนาน
ถงึ รูปใบหอก ขนาดใหญ่ 1 ใบ ยาว 4-12 ซม. ใบขนาดเลก็ 1-2 ใบ ยาว 0.7-1.5 ซม.
กา้ นใบสน้ั มาก แผน่ ใบหนาอวบ ปลายมน แหลม หรอื เวา้ ตนื้ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ
ออกท่ีโคนหัวเทียม ต้ังตรง ยาว 6-30 ซม. ก้านช่อยาว 0.3-1 ซม. ดอกเรียงแนน่
ใบประดับรูปไข่ขนาดเล็ก ยาวประมาณ 2 มม. ติดทน ก้านดอกรวมรังไข่ยาว
ประมาณ 3 มม. ดอกสเี ขยี วออ่ น กลบี เลย้ี งรปู ไขเ่ ชอื่ มกนั ทโ่ี คนกลบี กลบี บนรปู ใบหอก

26

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กล้วย

กฤษณา, สกุล กฤษณานอ้ ย

Aquilaria Lam. Gyrinops vidalii P. H. Hô
วงศ์ Thymelaeaceae วงศ์ Thymelaeaceae

ไมพ้ ุ่มหรอื ไม้ตน้ เปลอื กในบางมีเส้นใยเหนยี ว ใบเรียงเวียน ช่อดอกส่วนมาก ไม้ตน้ สงู 10-15 ม. เปลือกด้านในเปน็ เสน้ ใยสเี งนิ ใบรูปขอบขนาน หรอื
แบบชอ่ ซีร่ ่ม ออกสัน้ ๆ ตามซอกใบหรือปลายกง่ิ ก้านดอกเป็นขอ้ กลีบเล้ยี งเช่อื ม รปู ใบหอก ยาว 4-7.5 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง ยาว 1-2 ซม เส้นใบจำ� นวนมาก
ติดกนั ทโี่ คน มี 5 กลีบ ติดทน กลบี ดอก 10 กลีบ เป็นแผน่ เกล็ดคล้ายรยางค์ แยก เรียงจรดกนั เปน็ เสน้ ขอบใน กา้ นใบยาวประมาณ 5 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ
หรอื เชอ่ื มตดิ กนั ทโ่ี คนเปน็ วงทป่ี ากหลอดกลบี เลยี้ ง เกสรเพศผู้ 10 อนั ตดิ ระหว่าง คล้ายชอ่ ซีร่ ม่ 2-3 ดอกในแต่ละช่อ มขี นสน้ั นุม่ กา้ นดอกยาวประมาณ 5 มม.
กลบี ดอก กา้ นชอู บั เรณสู น้ั หรอื ไรก้ า้ น อบั เรณรู ปู แถบ ตดิ ดา้ นหลงั รงั ไขเ่ หนอื วงกลบี กลบี เล้ยี งสคี รีม มขี นสัน้ นมุ่ ประปราย หลอดกลีบยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยก
มี 2 ชอ่ ง กา้ นเกสรเพศเมยี สน้ั ยอดเกสรเปน็ ตมุ่ ผลแหง้ แตกเปน็ 2 ซกี เปลอื กหนา เปน็ 5 กลบี ยาว 1.5-2 มม. ตดิ ทน กลบี ดอก 5 กลบี ติดทีป่ ากหลอดกลีบเล้ียง
มี 1-2 เมลด็ ติดบนกระจกุ ข้ัว เปน็ รยางคค์ ลา้ ยเกล็ด ขนาดประมาณ 0.5 มม. มขี นส้นั นุม่ เกสรเพศผู้ 5 อนั
ตดิ ตรงขา้ มกลบี ดอก ไรก้ า้ น อบั เรณรู ปู ใบหอกยาวประมาณ 1.5 มม. รงั ไขม่ ี 2 ชอ่ ง
สกุล Aquilaria มปี ระมาณ 15 ชนดิ พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 5 ชนิด อกี 3 ชนดิ ผลแหง้ แตกเป็น 2 ซีก รูปกระสวย ยาวไดถ้ ึง 3 ซม. กา้ นผลยาวประมาณ 2 ซม.
ไดแ้ ก่ จะแน A. hirta Ridl. พบทางภาคใต้ตอนล่าง A. rugosa K. Le-Cong &
Kessler พบตามทสี่ ูงทางภาคเหนอื และก�ำ แย A. subintegra Ding Hou พบทาง พบทล่ี าว และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบนของไทยทภ่ี วู วั จงั หวดั บงึ กาฬ
ภาคใต้ แทบทุกชนิดเนอื้ ไม้ทนปลวก มกี ลน่ิ หอมเมื่อมเี ชือ้ รา Cystosphaera ข้ึนตามปา่ ดิบแลง้ ความสงู 200-300 เมตร เน้อื ไมม้ ีคณุ สมบตั เิ ชน่ เดยี วกับกฤษณา
mangiferae Died. ทำ�ใหเ้ กดิ สีดำ� เรียกว่า กฤษณา น�ำ มาเผาไฟอบหอ้ งใหก้ ล่ินหอม
หรอื กลั่นเปน็ น้ำ�มันหอมระเหย ผงกฤษณาใชผ้ สมยาสมนุ ไพร กฤษณาทกุ ชนดิ สกลุ Gyrinops Gaertn. มี 9 ชนิด พบท่ศี รีลังกา อนิ เดยี ภูมภิ าคอินโดจีนและ
รวมถงึ กฤษณาน้อย (Gyrinops spp.) อยใู่ นบญั ชีท่ี 2 ของ CITES ช่ือสกลุ ใน มาเลเซีย ในไทยมชี นิดเดยี ว ต่างจากสกุล Aquilaria ท่จี �ำ นวนเกสรเพศผูม้ ี 5 อัน
ภาษาละตินหมายถงึ นกอนิ ทรี เปน็ ทม่ี าของชื่อสามัญ eaglewood ชือ่ สกุลมาจากภาษากรีก “gyrinos” ลูกกบ และ “ops” คล้าย ตามลกั ษณะผล
เอกสารอ้างองิ
กฤษณา Hou, D. (1960). Thymelaeaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 1-15.
Hô, P.H. (1992). Thymelaeaceae. In Flore du Cambodge du Laos et du
Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 30 ม. มขี นสนั้ นมุ่ ตามกงิ่ ออ่ น กา้ นใบ กา้ นชอ่ ดอก และกา้ นดอก Viêtnam 26: 38-81.

ใบรูปรีหรอื รูปไข่กลบั ยาว 6-12 ซม. แผ่นใบมีขนประปรายตามขอบใบและเส้น กฤษณานอ้ ย: ปลายใบยาวคลา้ ยหาง ดอกออกเป็นชอ่ กระจุกส้นั ๆ คล้ายช่อซ่ีรม่ มี 2-3 ดอก หลอดกลีบเล้ยี งเรยี วยาว
กลางใบ กา้ นใบยาว 3-7 มม. กา้ นชอ่ ดอกยาว 3-5 มม. มี 4-6 ดอกในแต่ละชอ่ ตดิ ทน ผลรปู กระสวย (ภาพ: ภวู วั บึงกาฬ - RP)
กา้ นดอกยาว 0.5-1 ซม. กลบี เลยี้ งมขี นประปราย รปู รี ยาว 3-4 มม. ขยายในผล
กลบี ดอกยาว 1-1.5 มม. มขี นยาวหนาแนน่ รงั ไขม่ ขี นประปราย ผลรปู รเี กอื บกลม กลว้ ย, สกลุ
ยาว 2.5-3.5 ซม. มขี นประปราย เมล็ดรปู รี ยาวประมาณ 1 ซม.
Musa L.
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยส่วนมากพบที่เขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรีและ วงศ์ Musaceae
นครนายก และทางภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ข้นึ ตามปา่ ดบิ แล้ง และป่าดบิ ชน้ื ความสูง
ถงึ ประมาณ 1000 เมตร ไม้ล้มลุกอายุหลายปีหรือออกผลครั้งเดียว (monocarpic) เจริญด้านข้าง
จากเหง้า ล�ำต้นเทยี มประกอบดว้ ยกาบใบ ใบขนาดใหญ่ กา้ นใบยาว ชอ่ ดอกหรอื
กฤษณา ปลกี ลว้ ยออกทยี่ อดตง้ั ขนึ้ หรอื หอ้ ยลง ใบประดบั หลากสี ชว่ งโคนเปน็ ดอกเพศเมยี
ทเ่ี กสรเพศผเู้ ปน็ หมนั หรอื ดอกสมบรู ณเ์ พศ ชว่ งปลายเปน็ ดอกเพศผทู้ เี่ กสรเพศ
Aquilaria malaccensis Lam. เมยี เปน็ หมัน ดอกสว่ นมากเรยี ง 1-2 แถว กลบี รวมไม่สมมาตร เรยี ง 2 วง ๆ ละ
ไมต้ น้ สงู ได้ถงึ 40 ม. มีขนสน้ั น่มุ ตามก่ิงออ่ น เส้นแขนงใบดา้ นลา่ ง กา้ นใบ 3 กลีบ วงใน 1 กลบี แยกออก 2 กลบี เชอื่ มตดิ กันเปน็ หลอด แยกจรดโคนด้านเดยี ว
ปลายจกั ตนื้ ๆ 5 จัก เกสรเพศผู้ 5 อัน รงั ไข่ใต้วงกลบี มี 3 ช่อง ออวลุ จำ� นวนมาก
กา้ นชอ่ ดอก และกา้ นดอก ใบรปู รหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 5-15 ซม. แผน่ ใบเกลย้ี ง ตดิ แบบคว�ำ่ พลาเซนตารอบแกน ผลสดมีหลายเมลด็ เมลด็ แขง็
ทงั้ สองด้าน กา้ นใบยาว 3-6 มม. กา้ นชอ่ ดอกยาว 0.4-2 ซม. มี 8-10 ดอก ก้านดอก
ยาว 2-5 ซม. กลบี เล้ียงมีขนประปราย หลอดกลบี เลยี้ งยาว 3-5 มม. กลีบรูปรี ยาว สกุล Musa เป็นหนงึ่ ในสองสกุลของวงศ์ อีกสกุลคือ Ensete สว่ นสกลุ Musella
2-3 มม. ขยายในผลเพยี งเลก็ นอ้ ย กลบี ดอกเปน็ แผน่ คลา้ ยเกลด็ ยาว 1-1.5 มม. ถูกยุบใหอ้ ยภู่ ายใตส้ กลุ Ensete สกลุ Musa มปี ระมาณ 30 ชนดิ ส่วนมากพบใน
มขี นยาว รงั ไข่มีขนสัน้ นุ่ม ผลรูปรี ยาว 2.5-4 ซม. มขี นประปราย เมลด็ รูปไข่ ยาว เอเชยี เขตร้อน ในไทยมพี ชื พืน้ เมอื งประมาณ 10 ชนิด สว่ นกล้วยทไ่ี ด้รบั การ
ประมาณ 1 ซม. มขี นสนี ำ้� ตาลแดงปกคลมุ จะงอยยาวประมาณ 4 มม. รยางคบ์ ดิ เวยี น ปรับปรุงพนั ธมุ์ มี ากกว่า 100 สายพันธ์ุ สว่ นมากเกิดจากการผสมระหวา่ งสายพนั ธุ์
หรือผสมขา้ มระหว่างกล้วยปา่ M. acuminata Colla กับกล้วยตานี M. balbisiana
พบทอี่ ินเดยี พมา่ ตอนใต้ คาบสมุทรมลายู สมุ าตรา บอรเ์ นยี ว ฟิลิปปินส์ และ Colla กลว้ ยเหล่านไ้ี ด้แก่ กล้วยนำ้�ว้า กลว้ ยไข่ กลว้ ยเล็บมอื นาง กล้วยหก กล้วยหอม
ภาคใตข้ องไทยที่ตรงั ยะลา และนราธิวาส ข้ึนตามปา่ ดบิ ช้ืน ความสูงระดบั ต�่ำ ๆ และกล้วยหกั มุก เปน็ ตน้ ชอ่ื สกุลมาจากภาษากรีก “mauz” ซ่ึงแปลวา่ กลว้ ยใน
ภาษาอาหรับ
เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างองิ
Peterson, B. (1997). Thymelaeaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3): 226-232. ราชบัณฑติ ยสถาน. (2547). อนุกรมวิธานพชื อกั ษร ก. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2. ราชบัณฑติ ยสถาน,
Wang, Y., L.I. Nevling and M.G. Gilbert. (2007). Thymelaeaceae. In Flora of
China Vol. 13: 214. กรุงเทพฯ.
Wu, D. and W.J. Kress. (2000). Musaceae. In Flora of China Vol. 24: 314-315.
กฤษณา: A. crassna กลีบเล้ียงขยายในผล (ภาพซา้ ย: cultivated - SSi); กฤษณา: A. malaccensis กลบี เล้ียง
ขยายในผลเพียงเลก็ นอ้ ย (ภาพขวา: ยะลา - RP)

27

กลว้ ยกบ สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กล้วยกบ กลว้ ยกบ: มขี นสั้นสีน้ำ� ตาลแดงหนาแนน่ ตามลำ� ตน้ แผ่นใบดา้ นบนยน่ ใบประดบั เชอ่ื มตดิ กนั คล้ายรปู ถ้วยท่ขี อบ
ดา้ นเดียว ขอบจกั ฟนั เลือ่ ย ดอกสขี าว โคนมแี ถบสมี ่วงแดง ผลรูปทรงกระบอก ติดเปน็ กระจุก (ภาพ: นราธิวาส - MP)
Cyrtandra wallichii (C. B. Clarke) B. L. Burtt
กลว้ ยกระแต: มีขนยาวสนี �้ำตาลแดงหนาแนน่ ตามก่งิ ออ่ น แผ่นใบด้านล่าง ปลายกลบี เลยี้ งยาวคล้ายหาง ตดิ ทน
ช่ือพ้อง Cyrtandra decurrens de Vriese var. wallichii C. B. Clarke ดา้ นนอกมขี นกระจาย ปลายผลเรียวแหลม เกลย้ี งหรือมขี นส้นั ประปราย (ภาพ: ยะลา - RP)

ไมล้ ม้ ลกุ หรอื ไมพ้ มุ่ เตย้ี สว่ นมากสงู 30-60 ซม. มขี นสนั้ สนี ำ�้ ตาลแดงหนาแนน่ กลว้ ยคุนหมงิ
ตามก่งิ ออ่ น แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ และกลบี เลีย้ ง ใบรปู ใบหอกกลบั ยาว
17-33 ซม. ขอบจักฟนั เล่ือยถ่ี โคนสอบเรยี ว แผ่นใบด้านบนย่น มขี นประปราย Ensete lasiocarpum (Franch.) Cheesman
ไรก้ า้ น กา้ นชอ่ ดอกและกา้ นดอกสนั้ ใบประดบั สเี ขยี วหรอื มว่ งแดงหรอื อมเขยี ว วงศ์ Musaceae
เชอื่ มตดิ กนั คลา้ ยรปู ถว้ ยทข่ี อบดา้ นเดยี ว แผน่ ใบประดบั รปู ไขก่ วา้ ง ยาว 1-2 ซม.
ขอบจักฟันเลื่อย ด้านนอกมีตุ่มหนาแน่น ย่น กลีบเลี้ยงสีเดียวกับใบประดับ ชือ่ พอ้ ง Musa lasiocarpa Franch., Musella lasiocarpa (Franch.) C. Y. Wu ex
หลอดกลบี ยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยก 2 แฉก รูปไข่กวา้ ง ยาวประมาณ 5 มม. H. W. Li
ปลายเรยี วแหลม ดอกสขี าว โคนมจี ุดหรือแถบสมี ่วงแดง หลอดกลบี ดอกยาว
1.5-2 ซม. ด้านนอกมีขนคลา้ ยไหมสีนำ้� ตาลหนาแน่น กลีบรูปไข่ ยาว 4-7 มม. ไมล้ ม้ ลกุ แตกกอ เหงา้ ทอดนอน สงู ไมเ่ กนิ 60 ซม. ลำ� ตน้ เทยี มเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
เกสรเพศผูย้ าวประมาณ 1 ซม. กา้ นชอู บั เรณูคดงอ อันที่เปน็ หมนั ยาว 1-2 มม. ประมาณ 15 ซม. กาบตดิ ทน ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถงึ 50 ซม.
ผลรูปทรงกระบอก ยาว 1.2-2.5 ซม. ตดิ เป็นกระจุก 2-5 ฝกั ผิวมีตมุ่ ปลายแหลม โคนกลม แผ่นใบด้านลา่ งมนี วล ช่อดอกต้ังขนึ้ ยาว 20-25 ซม. โคน
แผก่ ว้าง ใบประดบั ส่วนมากมสี ีเหลอื ง ปลายแหลม ตดิ ทน แต่ละใบประดับมี
พบท่ีคาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ข้ึนตามริม 8-10 ดอก เรยี ง 2 แถว กลบี รวมทเี่ ชอื่ มตดิ กนั รปู ไขแ่ กมรปู ขอบขนาน ปลายแยก
ลำ� ธารหรอื โขดหินในป่าดบิ ชน้ื ความสูงถงึ ประมาณ 300 เมตร เปน็ 5 แฉก ตื้น ๆ กลบี รวมทีแ่ ยกปลายเว้าตื้น มตี ิง่ แหลม ผลรปู ไข่ ยาวประมาณ
3 ซม. มีขนหนาแน่น เมลด็ จำ� นวนมาก สีนำ�้ ตาลเข้ม เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 6-7 มม.
กลว้ ยกระแต, สกุล ขว้ั เมล็ดสีขาว (ดขู ้อมูลเพม่ิ เตมิ ที่ กล้วยผา, สกุล)

Cyrtandra J. R. Forst. & G. Forst. ถิ่นก�ำเนิดในจีนแถบมณฑลยูนนาน ข้ึนทีค่ วามสูง 1500-2500 เมตร ในไทย
วงศ์ Gesneriaceae พบปลูกเปน็ ไม้ประดับ ทงั้ ต้นใชเ้ ลย้ี งสกุ ร แยกเป็น var. rubribracteata Zhen
Ghong Li & H. Ma (ภายใต้สกลุ Musella) ปลีสแี ดง แตกหนอ่ และมีผลนอ้ ย
ไม้พุ่มหรือไมล้ ้มลุก ใบส่วนมากเรียงตรงขา้ ม พบนอ้ ยทเี่ รยี งเวยี น บางคร้ัง กวา่ ต้นท่ีมีปลสี เี หลือง
ใบตรงขา้ มขนาดไม่เท่ากนั หรอื ลดรูป ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ ซอ้ น ออกตามซอกใบ
ใบประดบั มี 1 คู่ แยกหรอื เชื่อมตดิ กัน กลบี เล้ยี งเช่อื มตดิ กนั เป็นหลอดยาว มี 5 แฉก เอกสารอา้ งองิ
บางครงั้ เชอื่ มตดิ กนั คลา้ ยมี 2-3 แฉก ดอกรปู หลอดหรอื รปู แตร แยกเปน็ กลบี บน Wu, D. and W.J. Kress. (2000). Musaceae (Musella lasiocarpa). In Flora of
2 กลีบ กลบี ล่าง 3 กลีบ เกสรเพศผทู้ ี่สมบรู ณ์มี 2 อนั อันทีเ่ ป็นหมัน 3 อนั China Vol. 24: 315.
จานฐานดอกรปู ถว้ ย รงั ไขม่ ชี อ่ งเดยี ว พลาเซนตาตามแนวตะเขบ็ กา้ นเกสรเพศเมยี
เรียวยาว ยอดเกสรจัก 2 พู ตน้ื ๆ ตดิ ทน ผลสดมหี ลายเมลด็ แหง้ ไม่แตก เมลด็ กล้วยคนุ หมงิ : ชอ่ ดอกส้นั ตั้งขึน้ ใบประดับสเี หลอื ง ปลายแหลม ดอกเรียง 2 แถว (ภาพ: cultivated - RP)
ขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก

สกุล Cyrtandra อยภู่ ายใต้วงศ์ยอ่ ย Didymocarpoideae มมี ากกวา่ 600 ชนดิ
นับว่าเปน็ สกุลขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในวงศ์ Gesneriaceae พบท่ีหมเู่ กาะนิโคบาร์ของ
อินเดยี ไตห้ วัน ญี่ปนุ่ ภูมภิ าคมาเลเซีย ออสเตรเลีย และหม่เู กาะแปซฟิ ิก ในไทย
มีประมาณ 8 ชนดิ พบเฉพาะทางภาคใต้ โดยเฉพาะทางตอนลา่ ง ช่อื สกุลมาจาก
ภาษากรกี “kyrtos” โคง้ และ “andros” เพศผู้ หมายถึงก้านชอู ับเรณูหดตวั โคง้ งอ
และด้านหลังอบั เรณูแตกออก

กล้วยกระแต

Cyrtandra dispar DC.
ไม้พุม่ สูง 1-2 ม. มขี นยาวสนี ้ำ� ตาลแดงหนาแน่นตามกง่ิ อ่อน เส้นแขนงใบ

ดา้ นล่าง ช่อดอก และใบประดบั กงิ่ แกม่ ีสะเก็ดสนี ำ�้ ตาล ใบตรงขา้ มลดรปู เป็น
เกล็ดดคู ลา้ ยเรียงเวียน ใบรูปใบหอกกลับ โค้งเล็กน้อย เบยี้ ว ยาว 16-31 ซม.
ปลายแหลมยาว ขอบจักซ่ีฟันหา่ ง ๆ มีติง่ หนาม โคนรูปล่มิ เบี้ยว ก้านใบยาว 1-1.5 ซม.
ชอ่ ดอกสนั้ ก้านดอกยาว 0.6-1 ซม. ใบประดบั สีเขียวอมเหลืองโคนไม่เชอื่ มตดิ กนั
รูปไข่หรอื แกมรูปใบหอก ยาว 5-7 มม. หลอดกลบี เล้ยี งยาว 4-5 มม. กลีบยาว
3-5 มม. ปลายกลีบยาวคล้ายหาง ติดทน ด้านนอกมีขนหนาแน่น ดอกสีขาว
กลางกลบี มแี ถบสสี ม้ อมนำ�้ ตาล หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 1 ซม. ดา้ นนอก
มีขนกระจาย กลีบยาว 1.4-1.6 ซม. ปลายกลบี กลม เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 3-4 มม.
เกสรเพศผยู้ าวประมาณ 6 มม. อนั เปน็ หมนั ยาวประมาณ 1 มม. ผลรูปรี ยาว 1-1.5 ซม.
ปลายเรียวแหลม เกลย้ี งหรือมีขนส้ันประปราย

พบทค่ี าบสมทุ รมลายู สมุ าตรา และภาคใตข้ องไทยทน่ี ครศรธี รรมราช พทั ลงุ ตรงั
ยะลา และนราธิวาส ขึน้ ตามรมิ ลำ� ธารในปา่ ดบิ ชนื้ ความสูง 100-600 เมตร

เอกสารอ้างอิง
Bramley, G.L.C., A. Weber and Q.C.B. Cronk. (2004). The genus Cyrtandra
(Gesneriaceae) in Peninsular Malaysia and Singapore. Edinburgh Journal
of Botany 60(3): 331-360.
Burtt, B.L. (2001). Thailand: annotated checklist of Gesneriaceae. Thai Forest
Bulletin (Botany) 29: 90.

28

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กลว้ ยบวั สีชมพู

กล้วยจะกา่ หลวง กล้วยบัว

Globba winitii C. H. Wright Musa laterita Cheesman
วงศ์ Zingiberaceae วงศ์ Musaceae

ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 70 ซม. ใบรูปขอบขนานหรือรปู ใบหอก ยาว 15-25 ซม. ไมล้ ้มลุก แตกหน่อไกลจากตน้ แม่ ลำ� ต้นเทียมสูง 1-2.5 ม. ใบกว้างไดถ้ งึ 40 ซม.
โคนรปู หวั ใจแคบ ๆ แฉกลกึ ใบออ่ นมขี น กา้ นใบยาว 5-7 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ยาวไดถ้ ึง 1.5 ม. เส้นกลางใบเป็นรอ่ งลึก มีสแี ดง กา้ นใบยาว 40-50 ซม. ชอ่ ดอก
แยกแขนง ยาว 8-15 ซม. โค้งลง ใบประดบั รปู ไข่กว้างหรอื แกมรูปขอบขนาน สีขาว ตง้ั ข้ึน ก้านช่อมขี นละเอยี ด ใบประดบั สสี ม้ อมแดง ยาว 20-30 ซม. ในช่อดอกเพศเมยี
อมมว่ ง ชมพู หรอื มว่ งเขม้ ยาว 1-3 ซม. ชอ่ แขนงมี 2-3 ดอก ใบประดบั ยอ่ ยขนาด มีประมาณ 4 ใบ แต่ละใบประดบั มี 4-6 ดอก ดอกยาว 7-8 ซม. กลีบรวมที่ติด
เลก็ กวา่ ใบประดบั กลบี เลยี้ งยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยก 3 แฉก หลอดกลบี ดอก กนั ยาวเทา่ ๆ รงั ไข่ กลบี รวมทแี่ ยกกนั สนั้ ใบประดบั ชอ่ ดอกเพศผแู้ ตล่ ะใบมี 6-10 ดอก
ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบดอกยาวประมาณ 5 มม. แผน่ เกสรเพศผู้ที่เปน็ หมนั กลีบรวมท่เี ชอ่ื มติดกันยาว 3-4 ซม. พับงอ กลบี รวมทีแ่ ยกกนั รปู เรอื บางใส ยาว
รปู ใบหอก ยาวเทา่ ๆ หลอดกลบี ดอก กลบี ปากรปู สามเหลย่ี ม กางออกสองขา้ ง ประมาณ 1 ซม. ยอดเกสรเพศเมียคลา้ ยกระบอง ยาวประมาณ 3 มม. จกั 3 พูตน้ื ๆ
กา้ นชูอับเรณูโค้งลง ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายอบั เรณแู ผ่รูปดาวข้างละ 2 แฉก ผลย่อยรปู ทรงกระบอกเป็นเหลีย่ ม ยาว 8-10 ซม. เมลด็ สดี ำ� ด้าน เรียบ (ดูขอ้ มูล
ก้านเกสรเพศเมียรปู เส้นดา้ ย ยอดเกสรรปู ถ้วย ผลรปู ไข่ ยาวประมาณ 7 มม. จัก 3 พู เพม่ิ เติมที่ กลว้ ย, สกุล)
ตืน้ ๆ ผวิ ขรขุ ระ มี 6 เมล็ด (ดขู อ้ มลู เพ่มิ เตมิ ท่ี วา่ นทับทมิ สยาม, สกุล)
พบที่อนิ เดยี พม่า และภาคเหนือของไทย ข้นึ ตามชายป่าเบญจพรรณ ที่โล่ง
พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบกระจายหา่ ง ๆ ทางภาคเหนอื และภาคกลาง ขนึ้ ตาม ความสูง 300-700 เมตร ค�ำระบุชนิดหมายถึงใบประดับสีคล้ายดินลูกรัง อน่ึง
ปา่ เบญจพรรณ และป่าดบิ เขา ความสงู ถงึ ประมาณ 1000 เมตร คำ� ระบชุ นิดต้งั กลว้ ยบวั ชนดิ นม้ี ชี อ่ื ในตลาดตน้ ไม้ M. ornata ‘Bronze’ หรอื M. ornata ‘Red
ตามชื่อพระยาวินิจวนนั ดร (โต โกเมศ) Salmon’ และเคยเข้าใจว่ากลายพันธุม์ าจากกล้วยบัวสีชมพู M. ornata Roxb.
ซ่ึงมีล�ำตน้ ชิดกัน เหงา้ ส้ันกว่า ก้านช่อดอกไม่มขี น และใบประดบั มสี ชี มพู
เอกสารอ้างอิง
Craib, W.G. (1926). Contributions to the Flora of Siam. Bulletin of Miscellaneous กล้วยบัวสีชมพู
Information Kew 1926: 173.
Larsen, K. (1972). Studies in the genus Globba in Thailand. Notes from the Musa ornata Roxb.
Royal Botanic Garden, Edinburgh 31: 237. ไมล้ ้มลุก แตกกอชิดกัน สูง 1-3 ม. ใบยาวได้ถงึ 2 ม. โคนดา้ นหนงึ่ มน อีกด้าน

กล้วยจะก่าหลวง: โคนใบรปู หวั ใจแคบ ๆ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะแยกแขนง โค้งลง ช่อแขนงมี 2-3 ดอก ใบประดับ เรยี วแหลม แผน่ ใบมนี วลเลก็ นอ้ ย เสน้ กลางใบมกั สแี ดง กา้ นใบยาวไดถ้ งึ 60 ซม.
สีม่วงเขม้ หรอื ขาวอมมว่ ง (ภาพ: ตาก - RP) ชอ่ ดอกตัง้ ตรง ก้านชอ่ ยาว 2-3 ซม. เกล้ียง ใบประดบั สีชมพู ของดอกเพศเมีย
อยู่ชว่ งลา่ ง มปี ระมาณ 7 ใบ แตล่ ะใบประดับมี 3-6 ดอก เรยี งแถวเดยี ว กลีบรวม
กล้วยนวล ท่ตี ิดกันยาวประมาณ 3.5 ซม. กลีบที่แยกกันสัน้ กวา่ เลก็ น้อย ปลายจัก 5 พู ตนื้ ๆ
พับงอ เกสรเพศผูท้ ีเ่ ปน็ หมันยาว 1-2 ซม. ก้านเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ 3 ซม.
Ensete glaucum (Roxb.) Cheesman ในดอกเพศผกู้ ลบี รวมท่ีตดิ กันยาว 3.5-4 ซม. กลบี ทแ่ี ยกกันยาว 3-3.5 ซม. ผลเรียง
วงศ์ Musaceae ชดิ กนั คลา้ ยนวิ้ มอื ผลยอ่ ยเปน็ เหลย่ี ม ยาว 6-8 ซม. เมลด็ สดี ำ� แบน เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ประมาณ 5 มม. (ดขู ้อมูลเพิ่มเติมที่ กลว้ ย, สกลุ )
ช่ือพ้อง Musa glauca Roxb.
มีถ่ินกำ� เนิดในอนิ เดีย พม่า และบังกลาเทศ เปน็ ไมป้ ระดับทั่วไป ซ่งึ พบปลูก
ไมล้ ม้ ลกุ สงู ไดถ้ ึง 5 ม. ล�ำตน้ เด่ียว โคนแผ่กวา้ ง มจี ดุ สีด�ำม่วงกระจาย น�้ำยาง เปน็ ไมป้ ระดับก่อนท่จี ะมกี ารตง้ั ชือ่ วิทยาศาสตรใ์ นปี ค.ศ. 1824 ทำ� ใหม้ กี ารใช้
สีเหลืองอมสม้ ใบกวา้ ง 50-60 ซม. ยาว 1.4-1.8 ม. ปลายยาวคลา้ ยหาง แผน่ ใบ ชอ่ื วทิ ยาศาสตรห์ ลายชือ่ มากอ่ น เช่น M. rosacea Jacq., M. speciosa Ten.,
เกล้ยี ง กา้ นใบสน้ั ชอ่ ดอกรูปกรวย ห้อยลง ยาวได้ถึง 2.5 ม. ใบประดับสีเขยี ว M. carolinae A. Sterler และ M. rosea Baker นอกจากนีย้ งั มีพนั ธผ์ุ สมหลาก
ดา้ นในมนี วล แตล่ ะใบประดบั มี 10-20 ดอก กลบี รวมทเ่ี ชอื่ มตดิ กนั ยาวประมาณ หลายสายพนั ธุ์ ใบประดบั หลากสี
2.5 ซม. ปลายแยก 3 แฉก กลบี รวมท่ีแยกกนั รูปหัวใจ สั้นกวา่ กลีบรวมทเี่ ช่ือมตดิ กนั
ปลายเปน็ ตง่ิ ผลสกุ สมี ว่ งเขม้ มนี วล รปู ขอบขนานแกมรปู ไขก่ ลบั ยาวไดถ้ งึ 9 ซม. เอกสารอา้ งอิง
เมลด็ สดี ำ� ผวิ เรยี บ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1-1.2 ซม. (ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ท่ี กลว้ ยผา, สกลุ ) Cheesman, E.E. (1949). The classification of the bananas. Kew Bulletin 1949:
24-28, 265-267.
พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พมา่ และภมู ิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปนิ ส์ นวิ กนิ ี Liu, Ai-Zhong, W.J. Kress and De-Zhu Li. (2010). Phylogenetic analyses of the
ในไทยพบทุกภาค และเปน็ ไมป้ ระดับ ใช้เลย้ี งสกุ ร ยางจากตน้ แกโ้ รคผิวหนัง banana family (Musaceae) based on nuclear ribosomal (ITS) and chloroplast
(trnL-F) evidence. Taxon 59(1): 20-28.
เอกสารอ้างอิง Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Wu, D. and W.J. Kress. (2000). Musaceae. In Flora of China Vol. 24: 314. Press, Honolulu, Hawai`i.

กล้วยนวล: ล�ำต้นเดยี่ ว โคนแผ่กว้าง ช่อดอกห้อยลง ใบประดบั สเี ขยี ว ดา้ นในมีนวล (ภาพ: ปาย แม่ฮ่องสอน - PK) กลว้ ยบวั : ชอ่ ดอกต้ังข้ึน ใบประดบั สสี ม้ อมแดง ในดอกเพศเมยี แต่ละใบประดบั มี 4-6 ดอก กลบี รวมเช่อื มติดกัน
เปน็ หลอด ผลเป็นเหลยี่ มเล็กนอ้ ย (ภาพ: แม่สอด ตาก - PK)

29

กล้วยผา สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

กลว้ ยบัวสชี มพ:ู โคนใบด้านหนงึ่ มน ด้านหนงึ่ เรียวแหลม ชอ่ ดอกตงั้ ขนึ้ ใบประดบั สีชมพอู มมว่ ง ๆ ดอกเรยี งแถวเดียว กล้วยมว่ ง
ผลเรยี งชิดกันคล้ายน้ิวมือ (ภาพ: cultivated - RP)
Musa gracilis Holttum
กลว้ ยผา, สกลุ วงศ์ Musaceae

Ensete Bruce ex Horan. ไมล้ ้มลุกแตกหนอ่ สงู 0.5-2 ม. ล�ำต้นเทยี มเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 8-10 ซม.
วงศ์ Musaceae มีปน้ื สมี ่วงทวั่ ไป ใบกว้าง 25-35 ซม. ยาว 90–150 ซม. ก้านใบยาว 30-70 ซม.
แผ่นใบด้านล่างมนี วล เส้นกลางใบเปน็ ร่อง ชอ่ ดอกตงั้ ตรง ยาวไดถ้ ึง 1 ม. มขี น
ไมล้ ม้ ลกุ ลำ� ตน้ เดยี่ วโคนกวา้ ง กาบโอบกนั แนน่ เปน็ ลำ� ตน้ เทยี ม ใบรปู ขอบขนาน หนาแน่น ใบประดับรปู ขอบขนาน สมี ่วงอมชมพู ยาวไดถ้ งึ 15 ซม. ดอกเพศเมีย
โคนเรยี วแคบเปน็ กา้ นใบ ชอ่ ดอกคลา้ ยชอ่ กหุ ลาบซอ้ น ออกทป่ี ลายยอดหอ้ ยลง เรียงเป็นกระจกุ 3-8 แถว แถวละ 2-4 ดอก กลบี รวมทเ่ี ชือ่ มติดกนั แยกจรด
ใบประดบั เรยี งซ้อนเหล่ือม ติดทน ดอกเรยี ง 2 แถว ในแต่ละกาบ ดอกเพศเมีย โคนดา้ นหนงึ่ ปลายจกั เปน็ 5 แฉก ตน้ื ๆ ผลตรง ยาวไดถ้ งึ 10 ซม. เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
หรอื ดอกสมบรู ณเ์ พศออกชว่ งโคน ดอกเพศผอู้ ยชู่ ว่ งปลาย กลบี รวมทเ่ี ชอื่ มตดิ กนั 2-2.5 ซม. มี 3-4 เหลย่ี ม ก้านผลยาว 1-2 ซม. ผลออ่ นมีขนกระจาย เมลด็ กลม
เป็นหลอดรปู แถบ ปลายส่วนมากแยก 3 แฉก ไม่มจี กั ระหว่างกลบี กลีบรวมท่ี หรอื รี แบน ๆ (ดูข้อมูลเพมิ่ เตมิ ท่ี กล้วย, สกุล)
แยกกนั ตดิ บนกลบี รวมตรงขา้ มกนั กวา้ งและสนั้ กวา่ กลบี รวมทเ่ี ชอ่ื มตดิ กนั ปลายแยก
3 แฉก ผลคอ่ นข้างใหญ่ เมลด็ จำ� นวนมาก พบทคี่ าบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทยทยี่ ะลา และนราธวิ าส ขนึ้
ริมลำ� ธารในปา่ ดบิ ชื้น ความสงู 50-300 เมตร
สกุล Ensete ปัจจุบนั ไดร้ วมเอาสกลุ Musella ที่มชี นดิ เดียว ทำ�ให้สกลุ กล้วยผา
มี 10-11 ชนดิ ส่วนมากพบในแอฟริกา ในไทยมี 2 ชนดิ และเป็นไม้ประดบั 1 ชนดิ เอกสารอ้างองิ
คือกลว้ ยคนุ หมิง E. lasiocarpum (Franch.) Cheesman ชือ่ สกุลเปน็ ภาษา Cheesman, E.E. (1950). Classification of the Bananas. Kew Bulletin 5: 154.
เอธโิ อเปียทีใ่ ชเ้ รียกพืชในสกุลน้ี
กลว้ ยมว่ ง: ถิน่ ทอี่ ย่รู มิ ล�ำธารในป่าดบิ ชื้น ช่อดอกต้งั ขึน้ ยาวไดถ้ งึ 1 เมตร ใบประดบั สมี ว่ งอมชมพู ดอกยอ่ ยเรยี ง
กลว้ ยผา เป็นแถว (ภาพซา้ ย: แว้ง นราธิวาส - MP; ภาพขวา: cultivated - RP)

Ensete superbum (Roxb.) Cheesman กล้วยฤาษี

ช่อื พ้อง Musa superba Roxb. Diospyros glandulosa Lace
วงศ์ Ebenaceae
ไมล้ ้มลุก ล�ำตน้ เดี่ยว สูงได้ถงึ 4 ม. ล�ำตน้ เทยี มโคนขยายใหญค่ ล้ายเป็นหัว
กาบมนี วล ใบกวา้ ง 60-90 ซม. ยาว 1-3 ม. ปลายแหลม กา้ นใบยาวได้ถงึ 50 ซม. ไม้ต้น สงู ไดถ้ งึ 15 ม. มีขนสนั้ นุ่มตามกิง่ อ่อน กา้ นใบ ชอ่ ดอก กลบี เล้ียง และ
เปน็ รอ่ งกวา้ ง กา้ นและเสน้ กลางใบบางครง้ั มสี แี ดง ดอกตง้ั ขน้ึ ปลายโคง้ ลง ใบประดบั ก้านดอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสาก
สนี ำ�้ ตาลอมแดงหรอื มว่ ง รปู ไขก่ ลบั กวา้ งเกอื บกลม แตล่ ะใบประดบั มี 20-30 ดอก เส้นแขนงใบขา้ งละ 4-7 เส้น กา้ นใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศผเู้ ปน็ ช่อ
กลีบรวมที่เชอื่ มตดิ กันสคี รมี ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลบี ท่แี ยกกนั ส้นั กว่ากลบี ที่ กระจกุ ส้นั ๆ ก้านดอกส้ัน กลีบเลย้ี ง 4-5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 4-6 มม. มขี นครุย
เชอื่ มตดิ กันประมาณ 5 เท่า บางใส ผลรูปทรงกระบอก ยาว 2-4 ซม. เป็นเหล่ียม ดอกรปู คนโท ยาว 6-8 มม. มี 4 กลบี โคนเชือ่ มตดิ กนั เสน้ กลางกลบี มขี น
เมล็ดสดี ำ� เรยี บ เสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 6-8 มม. เกสรเพศผู้ 14-30 อนั เส้นกลางอบั เรณมู ีขนคลา้ ยไหม เปน็ หมนั ในดอกเพศเมีย
ดอกเพศเมียกา้ นดอกยาว 2-5 มม. รงั ไขม่ ี 8 ชอ่ ง มีขนสัน้ นุ่ม ผลรปู กลม ๆ
พบทอี่ นิ เดยี และพมา่ ในไทยพบทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 2.5-4 ซม. สกุ สแี ดง มขี นคลา้ ยไหม กลบี เลยี้ งแฉกลกึ จรดโคน
ข้นึ ตามปา่ เบญจพรรณ โดยเฉพาะตามหน้าผาเขาหินปูนเตย้ี ๆ ทำ� ให้มีชือ่ สามญั ขอบเปน็ คลน่ื มขี นสน้ั นมุ่ ทง้ั สองดา้ น ไมพ่ บั งอกลบั เอนโดสเปริ ม์ เรยี บ (ดขู อ้ มลู
คอื rock banana หรือ cliff banana เมลด็ บดใชร้ กั ษาโรคนวิ่ เพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)

เอกสารอ้างอิง พบทอี่ นิ เดยี พม่า และภมู ภิ าคอนิ โดจนี ในไทยพบกระจายทว่ั ไปทางภาคเหนอื
Wu, D. and W.J. Kress. (2000). Musaceae. In Flora of China Vol. 24: 314. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นตามชายป่าดิบเขา ความสูง
700-1700 เมตร นยิ มใช้เปน็ ต้นตอในการทาบก่งิ มะพลบั D. kaki L. f.

เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 339.

กลว้ ยผา: กล้วยลำ� ตน้ เด่ยี ว ข้ึนตามหนา้ ผา บางครั้งก้านและเสน้ กลางใบมสี แี ดง ใบประดบั สีม่วงหรือน้�ำตาลอมแดง กล้วยฤๅษ:ี ดอกเพศผ้อู อกเป็นกระจกุ มีขนส้นั นมุ่ ผลมขี นคลา้ ยไหม กลบี เลย้ี งแฉกลกึ จรดโคน ขอบเป็นคลนื่
ดอกเรียง 2 แถว (ภาพซ้าย: อมุ้ ผาง ตาก - PK; ภาพขวา: เชยี งใหม่ - RP) (ภาพดอก: ชยั ภูมิ - MT; ภาพผล: เชียงใหม่ - RP)

30


Click to View FlipBook Version