The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-23 22:30:45

แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.5

แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.5

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ รายวิชา ส32101 สงั คมศกึ ษา

สาระการเรยี นรู้ ภมู ิศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศักราช 2551

(ฉบบั ปรับปรุง 2560)

นางสาวรชนกี ร จนั ทรพ์ ทิ ักษ์
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โรงเรียนกุมภวาปี
อำเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อดุ รธานี
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 20

คำนำ

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา ส32101 สังคมศึกษา สาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ฉบับน้ี ได้จัดทำขึ้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) เพ่ือใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาการเรยี น
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนกุมภวาปี
สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้และทักษะที่จำเป็น
สำหรับใช้เป็นเคร่ืองมือในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนา
ตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวิต

ขอขอบคณุ ผูใ้ หค้ วามรู้ตลอดจนผ้เู ชย่ี วชาญท่ีใหค้ ำแนะนำในการจัดทำแผนการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้ ฉบับน้จี นสำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี และหวงั เปน็ อย่างยง่ิ วา่ เอกสารฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ
การจัดการเรยี นการสอนทมี่ ีความสอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) และบริบทของโรงเรยี นต่อไป

นางสาวรชนีกร จันทรพ์ ิทกั ษ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

สารบญั หนา้

คำนำ ข
สารบัญ 1
หลักสูตรระดับชัน้ เรยี น รายวิชา ส32101 สงั คมศึกษา 1
2
ความเป็นมาของการปรับสาระภมู ิศาสตร์ 2
เป้าหมายของสาระภูมศิ าสตร์ 3
การร้เู ร่ืองภูมศิ าสตร์ (geo-literacy) 3
ความสามารถทางภูมิศาสตร์ 4
กระบวนการทางภูมิศาสตร์ 5
ทักษะทางภูมิศาสตร์ 5
มาตรฐานการเรยี นรู้ 6
คุณภาพผเู้ รียน 7
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัด 8
คำอธบิ ายรายวชิ า 15
ตารางการวิเคราะห์ตวั ชว้ี ดั 17
โครงสร้างรายวิชา (ภาพรวมรายหนว่ ย) 19
โครงสร้างรายวชิ า (จำแนกตามหัวข้อเน้ือหา)
กำหนดการสอน 21
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ 36
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ 59
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก 73
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 ธรณีภาค 84
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 บรรยากาศภาค 93
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 อุทกภาค 107
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 ชีวภาค
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพที่ส่งผลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ

ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกบั ประชากรและการตั้งถิน่ ฐาน 126
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 8 โครงสรา้ งประชากร การกระจายและความหนาแน่น
ของประชากร 141
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 9 การเปล่ียนแปลงประชากรโลกและประชากรไทย 159
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 10 การตง้ั ถน่ิ ฐานและความเปน็ เมือง
178
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพกับกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ 193
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ : เกษตรกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ : อุตสาหกรรม การท่องเทย่ี วและ 214
การบรกิ าร 228
238
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ 249
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 13 ภยั พิบัติธรรมชาตทิ างธรณภี าค
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 14 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค 274
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 ภัยพิบัติธรรมชาตทิ างอทุ กภาค
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 16 ภัยพิบตั ธิ รรมชาตทิ างชวี ภาค 288

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกบั การพัฒนาทย่ี งั่ ยนื 298
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 17 สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 18 มาตรการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 19 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่ย่ังยืน

หลักสตู รระดับช้นั เรียน
รายวิชา ส32101 สังคมศกึ ษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5

สาระการเรยี นรู้ ภูมิศาสตร์

1. ความเปน็ มาของการปรับสาระภูมศิ าสตร์
กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใชหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ให

เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เมื่อวันท่ี 11 กรกฎาคม 2551 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐาน โดยสำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ไดด้ ำเนินการตดิ ตามผลการนำหลักสตู รไปสกู่ ารปฏิบัติ
อยา่ งต่อเน่ืองในหลายรปู แบบ ท้ังการประชุมรบั ฟงั ความคดิ เห็น การนิเทศติดตามผลการใชหลักสูตรของ
โรงเรียน การรับฟงั ความคิดเห็นผ่านเวบ็ ไซตของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา รายงานผลการวจิ ยั
ของหนว่ ยงานและองคกรทเ่ี กี่ยวของกบั หลักสูตรและการใชหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 ผลจากการศึกษา พบวา ปัญหาสว่ นใหญ่เกดิ จากการนำหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สูก่ ารปฏบิ ัติในสถานศึกษา และในหองเรียนอย่างไรกต็ าม ในดานของเนอื้ หา
สาระในกลุมสาระการเรยี นรูตามหลกั สูตรแกนกลางฯ พบวา มาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้ีวัดซงึ่ เปน็
เปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ยังไม่เพียงพอตอการรองรับสถานการณโลกท่ีเปลย่ี นแปลงอยางรวดเรว็
โดยเฉพาะอย่างย่งิ การเปล่ยี นแปลงทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซง่ึ เป็นหวั ใจของการวางรากฐานขดี
ความสามารถในการแขงขันของประเทศ การพฒั นาศกั ยภาพคน การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการ
เรยี นรทู ่สี อดคลองกบั การเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 ใหสามารถพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม กา้ วทันและทัดเทียม
นานาชาติ

นอกจากนี้ การศกึ ษาขอ้ มลู ทิศทางและกรอบยุทธศาสตร์ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึง่ เกิดข้ึนในชวงเวลาของการปฏิรปู ประเทศ และสถานการณโลก
ทเ่ี ปล่ยี นแปลงอยางรวดเรว็ และเช่อื มโยงใกลชิดกันมากขึน้ โดยจดั ทำบนพน้ื ฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ซงึ่ เปน็ แผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาท่ียง่ั ยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 รวมท้งั การปรับ
โครงสรา้ งประเทศไปสูป่ ระเทศไทย 4.0 ซึ่งยทุ ธศาสตร์ชาติท่ีจะใช้เปน็ กรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20
ปตอจากน้ี ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก 1. ยุทธศาสตร์ดานความม่ันคง 2. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้าง
ความสามารถในการแขงขัน 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4. ยุทธศาสตร์ด้านการ
สรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกนั ทางสังคม 5. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพ
ชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดลอม และ 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ

ภาครฐั เพ่ือมุ่งสู่วสิ ัยทศั นและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ “ความม่ันคง มัง่ ค่งั ยัง่ ยืน” เปน็ ประเทศพัฒนา
แลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กระทรวงศกึ ษาธิการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน จึงได้พจิ ารณาปรบั ปรงุ
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในสวนของมาตรฐานการเรียนรแู ละตัวช้ีวดั กล่มุ
สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สาระเทคโนโลยี และสาระภมู ิศาสตร์ ให
สอดคลองกบั แผนดังกลา่ ว เพอื่ การสรา้ งความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
รองรับการเปล่ียนแปลง โดยปรับปรุงมาตรฐานการเรยี นรูและตัวชี้วดั ใหมีความชัดเจน และมคี วามเปน็
สากลยง่ิ ข้ึน

2. เปา้ หมายของสาระภมู ศิ าสตร์
สาระภูมิศาสตรช์ ว่ ยใหผู้เรยี นเขาใจลกั ษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่ง

แวดลอมทก่ี อใหเกิดการสร้างสรรควถิ ีการดำเนินชีวติ เพ่อื ใหรูเทาทัน ปรบั ตัวตามการเปลีย่ นแปลงของสิ่ง
แวดลอม ตลอดจนสามารถใชทกั ษะ กระบวนการ ความสามารถทางภูมิศาสตร์ และเครอ่ื งมอื ทาง
ภูมศิ าสตร์ในการจดั การทรัพยากรและสง่ิ แวดลอมตามสาเหตแุ ละปัจจยั อันจะนำไปสู่การปรับใชในการ
ดำเนนิ ชวี ิต

ดังนน้ั เพ่ือใหการเรียนรสู าระภมู ิศาสตร์บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว จึงได้กำหนดทศิ ทาง
สำหรับครูผู้สอน เพื่อใชเป็นแนวทางการจดั การเรียนรทู ส่ี งผลใหผเู้ รียน มีความรู ความเขาใจ ความสามารถ
และทกั ษะกระบวนการ ทางภมู ิศาสตร์ ที่สะทอ้ นสมรรถนะสำคญั และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคของผู้เรยี น
ใหสอดคลองกบั จุดมุง่ หมายของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทม่ี ุ่งพัฒนาให
เป็นคนดี มปี ัญญา มคี วามสขุ มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ จงึ ได้กำหนดแนวทางการ
จัดการเรียนรู ซึ่งประกอบดว้ ย 1. ความรูความเขาใจทางภมู ิศาสตร์ 2. ความสามารถทางภมู ิศาสตร์ 3.
กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ 4. ทกั ษะทางภูมิศาสตร์

3. การรเู รอ่ื งภมู ศิ าสตร์ (geo-literacy)
การรูเรื่องภูมศิ าสตร์ เปน็ ความรูพืน้ ฐานของผูเ้ รียนในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 21 ในการแสวงหาความรู

และตอบคำถามที่เกยี่ วของกับทำเลท่ีต้ังหรือความสมั พันธ์ของสงิ่ ตา่ ง ๆ บนพน้ื ผิวโลก การพัฒนาใหผ้เู รียน
สามารถดำรงตนอยู่ในวิถีของการเปน็ พลเมอื งโลกท่ดี ี ตลอดจนเขาใจการเปลี่ยนแปลงของสิง่ แวดลอมได้
อยา่ งถกู ตองนั้น จำเป็นอย่างยิง่ ทจี่ ะตองทำใหผู้เรียนตระหนกั ในการรเู รือ่ งภมู ิศาสตร์ โดยจะสอดแทรกการ
รูเรอื่ งภูมิศาสตร์ในระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน การรูเร่ืองภมู ิศาสตร์เปน็ ลกั ษณะทแี่ สดง
ความสามารถในการใชความเขาใจเชงิ ภูมศิ าสตร์ (ability to use geographic understanding) และการ
ใหเหตุผลทางภูมิศาสตร์ (geographic reasoning) เพ่อื การตัดสินใจเชิงภูมศิ าสตร์อยา่ งเป็นระบบ
(systematic geographic decision) ในการแกไขปญหาและวางแผนในอนาคต (problem solving
and future planning) โดยอาศัยองคประกอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ ความสามารถทางภมู ศิ าสตร์
กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ และทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ ดังตารางตอไปนี้

ความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภมู ศิ าสตร์
- ความเขาใจระบบธรรมชาติ - การตั้งคำถามเชิงภมู ศิ าสตร์ - การสังเกต
และมนุษย์ - การรวบรวมขอ้ มูล - การแปลความขอมูลทาง
- การใหเหตผุ ลทางภมู ิศาสตร์ - การจัดการขอ้ มูล ภมู ิศาสตร์
- การตดั สนิ ใจอยา่ งเปน็ ระบบ - การวิเคราะหข์ อ้ มูล - การใชเทคนคิ และเคร่ืองมือ
- การสรปุ เพ่ือตอบคำถาม ทางภูมิศาสตร์
- การคดิ เชงิ พื้นที่
- การคดิ แบบองครวม
- การใชเทคโนโลยี
- การใชสถิติพนื้ ฐาน

4. ความสามารถทางภูมิศาสตร์
การรูเร่ืองภมู ิศาสตรจ์ ำเปน็ ต้องอาศยั ความสามารถในการใหเหตุผลเกยี่ วกับสิ่งตา่ ง ๆ บนโลกจา

กองคประกอบที่สำคัญ 3 ประการ ได้แก
1) ความเขาใจระบบธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์
ความเขาใจระบบธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ผ่านปฏิสมั พันธ์ (interaction) เปน็ การเขาใจความเปน็ ไป

ของโลกผา่ นปฏสิ ัมพันธ์ของระบบธรรมชาตแิ ละระบบมนษุ ย์ โดยในระบบธรรมชาตจิ ะเปน็ เรอ่ื งที่เกย่ี วของ
กับการเขาใจระบบของโลก สง่ิ แวดลอม และนิเวศวทิ ยา ทเ่ี นนหนาทแี่ ละปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน นอกจากน้ี
ในระบบมนุษยจ์ ะเปน็ การเขาใจการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษยบ์ นพืน้ ผวิ โลก เชน การตงั้ ถิ่นฐาน
ลกั ษณะทางวัฒนธรรม กิจกรรมทางเศรษฐกิจทีก่ อใหเกิดการเคลอื่ นย้ายของคน ขอ้ มูล และข่าวสาร

2) การใหเหตุผลทางภมู ศิ าสตร์
การใหเหตุผลทางภมู ิศาสตรผ์ า่ นการเชอื่ มโยงระหวา่ งกนั (interconnection) เป็นการเขาใจการ
เกดิ ปรากฏการณในแต่ละสถานที่จากการมีปฏสิ ัมพนั ธข์ องระบบกายภาพและระบบมนษุ ย์ ดังนนั้ นอกจาก
ความเชื่อมโยงระหว่างกนั ของทั้งสองระบบแลว การรูและเขาใจความเปน็ มา สภาพทางภูมิศาสตร์ และ
สภาพทางสงั คม เป็นปจั จยั สำคญั ท่ีสามารถสงผลใหเกิดปรากฏการณท่ีแตกต่างกนั ในแต่ละสถานที่ได้
3) การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
การตดั สนิ ใจอย่างเป็นระบบตามนยั (implication) เป็นความสามารถขัน้ สูง ท่ีเกดิ จากการบรู ณา
การความรูเรือ่ งการมีปฏิสมั พนั ธ์ และการเชอื่ มโยงระหวา่ งกันของส่ิงตา่ ง ๆ มาใชประกอบการตดั สินใจ
อยา่ งเป็นระบบในการแกไขปญหาและวางแผนในอนาคตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

5. กระบวนการทางภูมศิ าสตร์
ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนภูมศิ าสตร์ให้ผเู้ รยี นเกิดการคิดอย่างเป็นระบบ เขาใจและมี

ความรู้อย่างถูกตองชัดเจน ผู้สอนอาจจะใชวิธกี ารสอนแบบแกปญหา (problem solving method) หรอื
วิธกี ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู (inquiry method) เป็นตัวกระตนุ้ ผู้เรียน โดยผานกระบวนการจดั

กิจกรรมที่สำคญั 5 ข้นั ตอน ได้แก
1) การตง้ั คำถามเชิงภมู ศิ าสตร์ เปน็ การระบปุ ระเดน็ ตา่ ง ๆ ที่ผู้ศกึ ษานำมาพจิ ารณาประกอบการ

หาคำตอบเพอ่ื ใหบรรลุจุดมุ่งหมายของการศกึ ษา โดยจะตองอยูใ่ นรูปแบบประโยคคำถาม ทก่ี ระชบั ชดั เจน
และตรงประเดน็ เชน “ปัจจยั อะไรบ้างที่มีอิทธพิ ลตอการเปล่ียนแปลงลกั ษณะของแม่นำ้ ”

2) การรวบรวมขอ้ มลู เปน็ ข้ันตอนสำคญั ขั้นตอนหน่งึ ของกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ท่ีรวบรวมข
อเทจ็ จรงิ และข้อมลู ที่เปน็ ประโยชนและคาดวาจะนำไปใชประกอบการศกึ ษา การรวบรวมข้อมูลจะตอง
อาศยั ความรูและเทคนิคต่าง ๆ เชน ประเภทของขอ้ มลู การออกแบบแบบบันทึกขอ้ มูล การตรวจสอบ
ความถูกตองของขอ้ มลู วิธีการแจงนบั ขอ้ มูล การออกแบบสอบถาม และการบันทึกการสงั เกต เป็นต้น

3) การจดั การข้อมูล เป็นการจัดระเบียบขอ้ มูลทไี่ ด้จากการรวบรวมข้อมลู เพ่อื ประกอบการศึกษา
นอกจากนี้ยังเป็นการตรวจสอบความครบถว้ นและความถกู ตอง เพ่อื ความสะดวกในการวิเคราะห์ข้อมลู

4) การวิเคราะหแ์ ละแปลผลข้อมลู เปน็ หวั ใจของกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ เมอื่ ขอมลู ผานกระ
บวนการจัดการแลว กจ็ ะง่ายตอ่ การอธบิ าย วิเคราะห์ และแปลผลข้อมลู ดังกลา่ ว ดว้ ยสถิตขิ ้ันพ้นื ฐาน

5) การสรปุ เพ่อื ตอบคำถาม เป้นการสรปุ เน้อื หาใหตรงคำถามของการศกึ ษาตามทรี่ ะบไุ วในข้นั ตน
นอกจากน้ีผูศ้ ึกษาตองวิจารณผลลพั ธ์ทไ่ี ด้เพ่อื ตอบวตั ถุประสงคของการศกึ ษา โดยผู้ศึกษาจะตองรายงานผล
ที่ได้ในแตล่ ะกระบวนการอยา่ งละเอียด ถกู ตอง และชัดเจน ตามวธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมูลที่ไดก้ ำหนดไว ซ่ึง
อาจจะตองอางองิ กรอบแนวคดิ และทฤษฎีต่าง ๆ ด้วย

6. ทกั ษะทางภูมศิ าสตร์
ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพือ่ ใหผเู้ รยี นมีการรเู ร่อื งภูมิศาสตร์น้นั ผู้สอนจำเปน็ อยา่ ง

ย่งิ ที่จะตองพฒั นาทกั ษะของผู้เรยี นทีเ่ กย่ี วของกับมุมมองทางภมู ิศาสตร์ โดยสามารถจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ดว้ ย
การสอดแทรกทกั ษะท่ีสำคัญ ดงั ตอไปนี้

1) การสงั เกต (observation) เปน็ การนำผู้เรยี นไปสังเกตการณสิ่งแวดลอมท้งั ท่ีเกดิ ข้นึ เองตาม
ธรรมชาตแิ ละมนษุ ยส์ รา้ งข้ึน เชน การสงั เกตความแตกตา่ งของสงิ่ แวดลอมระหวา่ งบา้ นกับโรงเรียน

2) การแปลความขอมูลทางภูมิศาสตร์ (interpretation of geographic data) เปน็ การแปล
ความหมายขอ้ มูลของสง่ิ ทีป่ รากฏอยู่บนพน้ื โลก ที่อา้ งอิงดว้ ยตำแหน่ง ทอี่ าจจะปรากฏอยู่ในรูปของแผนภูมิ
แผนภาพ กราฟ ตาราง รปู ถ่าย แผนที่ ภาพจากดาวเทียม และภมู ิสารสนเทศ

3) การใชเทคนิคและเครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ (using geographic technique and
equipment) เปน็ การใชวิธกี าร เชน การชกั ตัวอย่าง (sampling) การวาดภาพรา่ งในภาคสนาม การใชรูป
ถา่ ย แผนที่ และเครื่องมือตา่ ง ๆ ในการรวบรวมขอมูลทางภมู ิศาสตร์

4) การคิดเชิงพนื้ ท่ี (spatial thinking) เปน็ การคดิ ทใี่ ชความรูทางภูมศิ าสตร์ในการระบุ วิเคราะห์
และทำความเขาใจประเดน็ เกีย่ วกบั ทตี่ ัง้ ทิศทาง มาตราสวน แบบรูป พ้นื ที่ และแนวโนม้ ของความสมั พนั ธ์
ระหว่างปรากฏการณทางภมู ศิ าสตร์กบั เวลา

5) การคิดแบบองครวม (holistic thinking) เปน็ การมองภาพรวมของระบบตา่ ง ๆ ทาง
ภมู ศิ าสตร์ ที่ผ่านการวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหค์ วามสมั พันธ์ของสรรพส่งิ ทัง้ ที่เกิดข้นึ เองตามธรรมชาตแิ ละ
สิ่งที่มนุษย์สร้างขน้ึ

6) การใชเทคโนโลยี (using technology) เปน็ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมู
ลทางภมู ศิ าสตร์ผ่านอนิ เทอรเน็ต เชน การใชอินเทอรเนต็ ในการสบื คนขอมูลตา่ ง ๆ การใช Google Earth
การใชโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ประกอบการเรียนการสอน

7) การใชสถิติพ้นื ฐาน (using basic statistics) เป็นการใชสถิติอย่างง่าย เชน คาเฉล่ียเลขคณิต
คา่ มัธยฐาน และคาฐานนิยม ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล การเขาใจลักษณะการกระจาย (dispersion) และ
ความสัมพันธ์ (correlation) ของขอมูลทางภูมศิ าสตร์ และการวิเคราะห์แบบรูปของขอ้ มูลเชงิ พื้นที่
(analysis of spatial pattern)

ทัง้ นี้ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นนการรเู รื่องภมู ิศาสตร์ใหผู้เรียน จำเป็นอย่างยง่ิ ท่ี
จะต้องคำนงึ ถึงความเหมาะสมตอระดับการเรียนรูในแตล่ ะชวงชั้น การจัดกิจกรรมภาคสนาม (fieldwork)
จะเป็นการสงเสรมิ การรเู้ ร่ืองภมู ิศาสตร์ได้เป็นอยา่ งดี เนื่องจากกิจกรรมดังกลา่ วเป็นการบูรณาการความรู
ทางภมู ิศาสตร์ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ผานกระบวนการและการใชทักษะทางภมู ศิ าสตร์ ในการตอบและแกไข
ประเด็นและ/หรือปญั หาที่ผสู้ อนได้ต้ังข้นึ ด้วยการลงมือปฏิบตั จิ ริงในพ้ืนท่ีหนง่ึ ๆ

การปรบั ปรงุ หลักสตู รในครง้ั นี้ จงึ ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู คุณภาพผู้เรยี น ตวั ช้วี ดั สาระ
การเรยี นรแู กนกลาง และการรูเรอ่ื งภมู ิศาสตร์ ตวั อย่างแผนการจัดการเรยี นรู อภธิ านศพั ท์ เพ่อื ใหเกิดการ
เรยี นรภู มู ิศาสตร์อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยกำหนดประเดน็ สำคญั ๆ ดังนี้

7. มาตรฐานการเรยี นรู
มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธข์ องสรรพสิ่งซง่ึ มีผลตอ่ กนั

ใชแผนท่ีและเคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ในการคนหา วิเคราะหแ์ ละสรุปข้อมูล ตาม
กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภูมิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์กบั ส่ิงแวดลอมทางกายภาพท่กี อใหเกิดการสรา้ งสรรค์
วิถกี ารดำเนินชีวิต มีจิตสำนกึ และมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
เพ่อื การพฒั นาท่ีย่งั ยืน

8. คุณภาพผ้เู รยี น
จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

มคี วามรูเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปญหาทางกายภาพและภยั พบิ ัติ ซึ่งได้รับอทิ ธพิ ล
จากปัจจยั ทางภูมศิ าสตร์ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงแวดลอมทางกายภาพกับการสร้างสรรควิถกี ารดำเนินชวี ิต
ความร่วมมือดา้ นทรพั ยากรและสิ่งแวดลอมในประเทศและระหวา่ งประเทศ เพ่ือเตรียมรบั มือการ
เปลีย่ นแปลงของโลก และการจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดลอมเพอื่ การพฒั นาอยา่ งยัง่ ยืน

9. มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั
สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์

มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธ์ของสรรพสิ่งซงึ่ มผี ลตอ่
กนั ใชแผนทแี่ ละเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ในการคนหา วิเคราะห์ และสรปุ ขอมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภมู ิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ส 5.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของ
โลก ซ่งึ ได้รบั อิทธพิ ลจากปจั จัยทางภูมศิ าสตร์

ส 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพซงึ่ ทำใหเกดิ ปญหาและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
ในประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก

ส 5.1 ม.4-6/3 ใชแผนที่และเครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ในการคนหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล
ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์และนำภมู ิสารสนเทศมาใชประโยชนในชวี ิตประจำวัน

มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กับสง่ิ แวดลอมทางกายภาพทก่ี อใหเกิดการ
สรา้ งสรรควิถกี ารดำเนินชวี ิต มีจิตสำนกึ และมสี วนรว่ มในการจดั การทรัพยากร
และสิ่งแวดลอมเพ่ือการพฒั นาที่ย่ังยืน

ส 5.2 ม.4-6/1 วเิ คราะห์ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่งิ แวดลอมทางกายภาพกบั กจิ กรรมของมนุษย์
ในการสร้างสรรควถิ ีการดำเนินชวี ติ ของทองถนิ่ ทั้งในประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก และเหน็
ความสำคัญของสง่ิ แวดลอมที่มีผลตอการดำรงชีวติ ของมนุษย์

ส 5.2 ม.4-6/2 วเิ คราะห์สถานการณ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดา้ น
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอมของประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก

ส 5.2 ม.4-6/3 ระบมุ าตรการปองกันและแกไขปญหากฎหมายและดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอม บทบาทขององคการที่เก่ยี วของ และการประสาน ความร่วมมือทง้ั ในประเทศและระหว่าง
ประเทศ

ส 5.2 ม.4-6/4 วเิ คราะห์แนวทางและมีส่วนร่วมในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ
แวดลอมเพื่อการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื

10. คำอธบิ ายรายวชิ า คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
รายวชิ าสังคมศกึ ษา รหสั วิชา ส32101 ภาคเรยี นที่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5
สาระการเรียนรู้ ภมู ศิ าสตร์ จำนวน 1.0 หน่วยกติ
เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา ใชแ้ ผนทีแ่ ละเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มูลตาม
กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ และนำภมู สิ ารสนเทศมาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั การเปล่ยี นแปลงทาง
กายภาพของพน้ื ทซ่ี งึ่ ไดร้ ับอิทธิพลจากปจั จัยทางภูมศิ าสตร์ ลกั ษณะทางกายภาพซ่ึงทำใหเ้ กดิ ปัญหาหรือภัย
พิบตั ิทางธรรมชาติ และปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพกับกจิ กรรมของมนษุ ย์ในการสรา้ งสรรค์
วิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของทอ้ งถิ่นทัง้ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ความสำคัญของสิง่ แวดล้อมท่มี ี
ผลตอ่ การดำเนนิ ชวี ิตของมนษุ ย์ สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงดา้ น
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ระบมุ าตรการการป้องกัน
และแก้ไขปัญหากฎหมายและนโยบายดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม บทบาทขององคก์ ารที่
เกย่ี วข้อง การประสานความรว่ มมือทัง้ ในประเทศและระหวา่ งประเทศ วิเคราะห์แนวทางและมีส่วนรว่ มใน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมเพ่อื การพฒั นาทยี่ ัง่ ยืน

โดยใชท้ กั ษะทางภมู ิศาสตรด์ า้ นการสงั เกต การแปลความข้อมูลทางภมู ิศาสตร์ การใชเ้ ทคนิคและ
เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ การคดิ เชิงพน้ื ที่ การคิดแบบองค์รวม การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การใช้สถิติ
พน้ื ฐาน ใช้แผนที่และเครือ่ งมือทางภูมิศาสตรใ์ นการสืบค้น วเิ คราะห์และสรุปขอ้ มูลตามกระบวนการทาง
ภมู ิศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ รวมถงึ ทกั ษะดา้ นการส่ือสารและการรเู้ ท่าทันส่ือ

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มคี วามสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ทกั ษะ
ภูมิศาสตร์ และมีทกั ษะในศตวรรษที่ 21 มคี ุณลักษณะดา้ นจิตสาธารณะ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการ
ทำงาน มีสว่ นร่วมในการจดั การ พฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื

ตวั ชว้ี ัด
ส 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3
ส 5.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4
รวม 7 ตวั ชว้ี ัด

11. ตารางการวเิ คราะห์ตวั ช้ีวดั

มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลก และความสัมพนั ธข์ องสรรพส
ขอ้ มูลตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอ

ท่ี ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้ มโนทัศนส์ ำคญั
แกนกลาง

1 ส 5.1 ม.4-6/1 1. การเปลีย่ นแปลงทาง ปัจจยั ทางภูมศิ าสตร์ 1

วเิ คราะหก์ าร กายภาพ (ประกอบดว้ ย มอี ทิ ธพิ ลต่อการ ส

เปลยี่ นแปลงทาง ธรณภี าค, บรรยากาศ, เปล่ยี นแปลงทาง ท

กายภาพในประเทศ อุทกภาค, ชวี ภาค) ของ กายภาพในประเทศ อ

ไทยและภมู ิภาคต่าง พน้ื ท่ใี นประเทศไทย ไทยและภมู ภิ าค 2

ๆ ของโลก ซึ่งได้รับ และภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของ ต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ ก

อิทธพิ ลจากปัจจยั ทาง โลก ซ่งึ ไดร้ ับอทิ ธิพล ส่งผลตอ่ ภูมปิ ระเทศ ภ

ภมู ศิ าสตร์ จากปจั จัยทาง ภมู อิ ากาศ และ แ

ภูมิศาสตร์ ทรพั ยากรธรรมชาติ ใ

2. การเปล่ยี นแปลงทาง ภ

กายภาพท่สี ง่ ผลตอ่ อ

ภูมิประเทศ ภมู อิ ากาศ

และทรัพยากรธรรมชาติ

ส่งิ ซง่ึ มีผลตอ่ กัน ใช้แผนท่ีและเครอ่ื งมือทางภูมิศาสตรใ์ นการค้นหา วเิ คราะห์และสรุป
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

คำถามหลกั Geo-Literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ

1. ปจั จยั ทางภมู ิศาสตร์ที่ 1. การให้เหตุผล 1. การต้งั คำถาม 1. การแปลความ

ส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลง ทางภมู ิศาสตร์ เชิงภูมิศาสตร์ ข้อมลู ทาง

ทางกายภาพมีอะไรบ้าง 2. การตดั สนิ ใจ 2. การรวบรวม ภูมิศาสตร์

อย่างไร อย่างเป็นระบบ ข้อมลู 2. การคิดเชิงพืน้ ท่ี

2. การเปลีย่ นแปลงทาง 3. การจัดการ

กายภาพส่งผลต่อ ข้อมลู

ภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ 4. การวเิ คราะห์

และทรัพยากรธรรมชาติ ขอ้ มลู

ในประเทศไทยและ 5. การสรปุ เพื่อตอบ

ภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก คำถาม

อย่างไร

ท่ี ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ มโนทศั นส์ ำคัญ
แกนกลาง

2 ส 5.1 ม.4-6/2 ปญั หาทางกายภาพและ ลักษณะทางกายภาพ ล

วิเคราะห์ลกั ษณะทาง ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตใิ น ทแ่ี ตกตา่ งกนั ส่งผลให้ ส

กายภาพ ซงึ่ ทำให้เกดิ ประเทศและภมู ภิ าคต่าง เกดิ ปัญหาและ ภ

ปญั หาและภัยพบิ ัติ ๆ ของโลก ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ ป

ทางธรรมชาติใน ทแี่ ตกตา่ งกัน ทั้งใน ภ

ประเทศไทยและ ด้านประเภท ความถี่ ท

ภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของ และความรนุ แรง แ

โลก อ

คำถามหลัก Geo-Literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทกั ษะ

ลักษณะทางกายภาพ 1. ความเข้าใจ 1. การตั้งคำถาม 1. การแปลความ

สง่ ผลให้เกิดปญั หาและ ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ิศาสตร์ ข้อมูลทาง

ภยั พบิ ัติทางธรรมชาตใิ น และมนษุ ย์ 2. การรวบรวม ภูมศิ าสตร์

ประเทศไทยและใน 2. การใหเ้ หตุผล ขอ้ มลู 2. การคดิ เชิงพ้ืนท่ี

ภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ทางภูมศิ าสตร์ 3. การจดั การ 3. การใชส้ ถิติ

ท้งั ด้านประเภท ความถี่ ขอ้ มลู พ้นื ฐาน

และความรนุ แรงได้ 4. การวิเคราะห์

อยา่ งไร และเพียงใด ข้อมูล

5. การสรุปเพอื่ ตอบ

คำถาม

ท่ี ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้ มโนทัศน์สำคญั
แกนกลาง

3 ส 5.1 ม.4-6/3 1. แผนท่ีและ การใช้แผนที่และ ก

ใชแ้ ผนที่และ องค์ประกอบ เครื่องมือทาง ค

เคร่อื งมอื ทาง 2. การอ่านแผนทเ่ี ฉพาะ ภมู ศิ าสตร์ตาม อ

ภูมศิ าสตร์ในการ เรอ่ื ง กระบวนการทาง ด

ค้นหา วเิ คราะหแ์ ละ 3. การแปลความหมาย ภมู ิศาสตร์จะชว่ ยให้ ค

สรปุ ข้อมลู ตาม รูปถา่ ยทางอากาศและ สามารถนำภูมิ เค

กระบวนการทาง ภาพจากดาวเทยี ม สารสนเทศทีไ่ ดม้ าใช้ ม

ภมู ิศาสตร์ และนำ 4. การนำภมู ิสารสนเทศ ในชีวติ ประจำวนั ได้ ภ

ภมู สิ ารสนเทศมาใช้ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั อย่างมีประสิทธภิ าพ ป

ประโยชน์ในชวี ติ ช

ประจำวัน

คำถามหลัก Geo-Literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ

การอ่านแผนที่ การแปล 1. ความเข้าใจ 1. การต้ังคำถาม 1. การสังเกต

ความหมายรปู ถา่ ยทาง ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ิศาสตร์ 2. การแปลความ

อากาศและภาพจาก และมนุษย์ 2. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง

ดาวเทียม รวมท้งั การ 2. การให้เหตุผล ข้อมูล ภูมศิ าสตร์

คน้ หาขอ้ มูลจาก ทางภมู ิศาสตร์ 3. การจดั การ 3. การใช้เทคนิค

ครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ 3. การตดั สินใจ ข้อมูล และเครื่องมือทาง

มวี ิธีการอยา่ งไร และนำ อย่างเป็นระบบ 4. การวเิ คราะห์ ภมู ิศาสตร์

ภมู สิ ารสนเทศไปใช้ ข้อมูล 4. การคิดเชิงพนื้ ที่

ประโยชนใ์ น 5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี

ชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งไร คำถาม 6. การใช้สถติ ิ

พืน้ ฐาน

มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างมนษุ ย์กบั ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพทก่ี ่อใ
ทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื

ท่ี ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง มโนทัศนส์ ำคัญ

1 ส 5.2 ม.4-6/1 ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง วิถกี ารดำเนนิ ชวี ิตของ

วเิ คราะห์ปฏิสมั พันธ์ ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ทอ้ งถิน่ ทงั้ ในประเทศ

ระหวา่ งสง่ิ แวดลอ้ ม กบั วิถกี ารดำเนินชีวิต ไทยและภูมิภาคตา่ ง

ทางกายภาพกบั ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ๆ ของโลก เกิดจาก

กจิ กรรมของมนุษยใ์ น ไดแ้ ก่ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ ง

การสร้างสรรค์วิถี - ประชากรและการตง้ั ถนิ่ สง่ิ แวดล้อมทาง

การดำเนินชวี ติ ของ ฐาน (การกระจายและการ กายภาพกับกจิ กรรม

ทอ้ งถ่นิ ทง้ั ในประเทศ เปลย่ี นแปลงประชากร ของมนษุ ย์ นอกจากน

ไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ชมุ ชนเมอื งและชนบท กระแสโลกาภิวตั น์ ทำ

ของโลก และเหน็ และการกลายเปน็ เมอื ง ใหเ้ กิดการ

ความสำคญั ของ - การกระจายของกิจกรรม เปลยี่ นแปลง

สงิ่ แวดล้อมทมี่ ีผลตอ่ ทางเศรษฐกจิ (เกษตรกรรม สงิ่ แวดล้อมทาง

การดำรงชีวิตของ , อตุ สาหกรรมการผลติ , กายภาพและวิถกี าร

มนษุ ย์ การบรกิ าร และการ ดำเนนิ ชีวติ

ทอ่ งเท่ียว)

ให้เกดิ การสร้างสรรคว์ ถิ ีการดำเนินชวี ิต มจี ิตสำนกึ และมสี ่วนรว่ มในการจดั การ

คำถามหลัก Geo-Literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ

ง 1. ส่งิ แวดล้อมทาง 1. ความเข้าใจ 1. การตัง้ คำถาม 1. การแปลความ

กายภาพสง่ ผลตอ่ วถิ ี ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ข้อมูลทาง

การดำเนินชีวิตของ และมนุษย์ 2. การรวบรวม ภูมศิ าสตร์

มนุษยใ์ นประเทศไทย 2. การใหเ้ หตุผล ขอ้ มลู 2. การใช้เทคนคิ

และภมู ภิ าคต่าง ๆ ทางภูมศิ าสตร์ 3. การจัดการ และเครอ่ื งมอื ทาง

ของโลกอย่างไร 3. การตดั สนิ ใจ ขอ้ มูล ภูมิศาสตร์

2. วิถีการดำเนนิ ชีวิต อยา่ งเป็นระบบ 4. การวเิ คราะห์ 3. การคดิ เชงิ พืน้ ที่

นี้ ของมนษุ ยก์ อ่ ให้เกดิ ขอ้ มลู 4. การคิดแบบองค์

ำ การเปลย่ี นแปลง 5. การสรปุ เพื่อตอบ รวม

สง่ิ แวดล้อมทาง คำถาม

กายภาพในประเทศ

ไทยและภูมิภาคต่าง

ๆ ของโลกอยา่ งไร

ภายใตก้ ระแสโลกา

ภิวตั น์

ท่ี ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง มโนทัศน์สำคัญ

2 ส 5.2 ม.4-6/2 1. สถานการณ์การ กจิ กรรมของมนษุ ย์

วิเคราะห์สถานการณ์ เปลีย่ นแปลงด้าน เปน็ สาเหตุสำคัญท่ี

สาเหตุ และผลกระทบ ทรัพยากรธรรมชาติและ ทำใหเ้ กิดการ

ของการเปล่ียนแปลง สงิ่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การ เปลย่ี นแปลงด้าน

ด้านทรพั ยากร เปลย่ี นแปลงสภาพ ทรัพยากร ธรรมชาติ

ธรรมชาติและ ภมู ิอากาศ ความเสอ่ื มโทรม และสง่ิ แวดลอ้ มของ

สงิ่ แวดล้อมของ ของส่งิ แวดลอ้ ม ความ ประเทศไทยและ

ประเทศไทยและ หลากหลายทางชีวภาพ ภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของ

ภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก และภยั พิบตั ิ โลก ซ่ึงอาจสง่ ผล

2. สาเหตแุ ละผลกระทบ กระทบทงั้ ใน

ของการเปลีย่ นแปลงดา้ น ระดบั ประเทศ

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ภูมภิ าคและโลก

ส่ิงแวดลอ้ มของประเทศไทย

และภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก

3. การจดั การภัยพบิ ัติ

คำถามหลกั Geo-Literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทกั ษะ

1. การเปลีย่ นแปลง 1. ความเข้าใจ 1. การตั้งคำถาม 1. การสงั เกต

สภาพภูมิอากาศ ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ศิ าสตร์ 2. การแปลความ

ความเสือ่ มโทรมของ และมนษุ ย์ 2. การรวบรวม ขอ้ มลู ทาง

ส่งิ แวดล้อม ปัญหา 2. การใหเ้ หตุผล ข้อมลู ภูมศิ าสตร์

ความหลากหลายทาง ทางภูมิศาสตร์ 3. การจดั การ 3. การใชเ้ ทคนิค

ชวี ภาพและภยั พิบัติ 3. การตดั สนิ ใจ ข้อมลู และเคร่อื งมือทาง

มสี าเหตมุ าจากอะไร อยา่ งเปน็ ระบบ 4. การวิเคราะห์ ภมู ิศาสตร์

และมีผลกระทบ ข้อมลู 4. การคิดเชงิ พื้นท่ี

อย่างไร 5. การสรปุ เพอื่ ตอบ 5. การคิดแบบองค์

2. การจดั การภยั คำถาม รวม

พิบตั ิมีแนวทาง

อยา่ งไร

ท่ี ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง มโนทศั นส์ ำคัญ

3 ส 5.2 ม.4-6/3 1. มาตรการป้องกันและ การแก้ไขสถานการณ์

ระบมุ าตรการป้องกนั แก้ไขปญั หา ด้าน

และแก้ไขปญั หา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ทรัพยากรธรรมชาติ

กฎหมาย และนโยบาย ส่งิ แวดลอ้ มในประเทศ และส่ิงแวดล้อมตอ้ ง

ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และระหวา่ งประเทศ ตาม อาศัยการบังคบั ใช้

และสง่ิ แวดลอ้ ม บทบาท แนวทางการพฒั นาที่ย่งั ยนื กฎหมาย การกำหนด

ขององคก์ ารท่เี กย่ี วขอ้ ง ความมนั่ คงของมนุษย์และ นโยบาย และความ

และการประสานความ การบริโภคอยา่ ง รว่ มมือท้ังในและ

ร่วมมอื ทง้ั ในประเทศ รับผดิ ชอบ ระหว่างประเทศ

และระหวา่ งประเทศ 2. กฎหมายและนโยบาย

ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อมท้ังใน

ประเทศและระหว่าง

ประเทศ

3. บทบาทขององคก์ าร

และการประสานความ

รว่ มมอื ทัง้ ในประเทศและ

ระหว่างประเทศ

คำถามหลกั ความสามารถ Geo-Literacy ทักษะ
กระบวนการ 1. การคิดเชงิ พนื้ ที่
1. มาตรการปอ้ งกนั 1. ความเขา้ ใจ - 2. การคดิ แบบองค์
รวม
และแกไ้ ขปัญหา ระบบธรรมชาติ

กฎหมายและ และมนษุ ย์

นโยบายดา้ น 2. การใหเ้ หตุผล

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทางภูมศิ าสตร์

และส่ิงแวดลอ้ มมี 3. การตัดสินใจ

อะไรบ้าง อยา่ งเปน็ ระบบ

2. การประสานความ

ร่วมมอื ขององค์กร

ด้านทรัพยากร

ธรรมชาตแิ ละ

ส่ิงแวดลอ้ ม ท้ังใน

ประเทศและระหว่าง

ประเทศมีบทบาท

อยา่ งไร

ท่ี ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง มโนทัศนส์ ำคัญ

4 ส 5.2 ม.4-6/4 1. แนวทางการจดั การ การจัดการ

วิเคราะห์แนวทางและ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ทรัพยากรธรรมชาติ

มีสว่ นรว่ มในการ สงิ่ แวดล้อม และสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื

จัดการ 2. การมีสว่ นรว่ มในการ การพัฒนาท่ีย่งั ยืน

ทรัพยากรธรรมชาติ แก้ปญั หาและการดำเนิน ต้องอาศัยความ

และสง่ิ แวดล้อมเพือ่ ชวี ติ ตามแนวทางการ ร่วมมอื จากทุกภาค

การพัฒนาท่ียง่ั ยนื จดั การทรัพยากรและ ส่วนและการมี

สิ่งแวดล้อมเพอ่ื การพฒั นา ส่วนร่วมของทุกคน

ที่ยง่ั ยนื ในฐานะสมาชิกของ

พลเมืองโลก

คำถามหลัก ความสามารถ Geo-Literacy ทกั ษะ
กระบวนการ 1. การแปลความ
แนวทางในการ - 1. การตัง้ คำถาม ข้อมลู ทาง
เชิงภมู ศิ าสตร์ ภมู ิศาสตร์
จดั การ 2. การรวบรวม 2. การใชเ้ ทคนคิ
ขอ้ มลู และเคร่ืองมือทาง
ทรัพยากรธรรมชาติ 3. การจัดการ ภมู ิศาสตร์
ข้อมูล 3. การคิดเชิงพนื้ ท่ี
และส่ิงแวดล้อมเพอื่ 4. การวเิ คราะห์ 4. การคิดแบบองค์
ข้อมูล รวม
การพฒั นาทีย่ งั่ ยืนมี 5. การสรปุ เพอ่ื
ตอบคำถาม
อย่างไรบ้าง และ

นกั เรียนจะมสี ว่ นรว่ ม

อย่างไร

12. โครงสรา้ งรายวิชา

โครงสรา้ งรายวชิ า (ภาพรวมรายหน่วย)

รายวิชาสงั คมศกึ ษา รหัสวิชา ส32101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระการเรยี นรู้ ภูมศิ าสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด มโนทัศนส์ ำคญั เวลา นำ้ หนัก
1 เครื่องมอื ทาง (ชม.) คะแนน
2 ภมู ิศาสตร์
3 ส 5.1 ม.4-6/3 การใช้แผนท่ีและเครือ่ งมือทาง 4 10
การเปลยี่ นแปลงทาง
4 กายภาพของโลก ภมู ศิ าสตร์ตามกระบวนการทาง

สิง่ แวดล้อมทาง ภูมศิ าสตร์ จะชว่ ยให้สามารถนำภูมิ
กายภาพกับประชากร
และการ สารสนเทศทไี่ ดม้ าใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้
ต้งั ถ่นิ ฐาน
อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่ิงแวดลอ้ มทาง
กายภาพกบั กิจกรรม ส 5.1 ม.4-6/1 ปจั จัยทางภมู ศิ าสตร์ท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การ 10 10
ทางเศรษฐกจิ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพในประเทศไทย

และภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงสง่ ผลตอ่

ภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ และ

ทรพั ยากรธรรมชาติ

ส 5.2 ม.4-6/1 วิถกี ารดำเนินชวี ติ ของท้องถิ่นทัง้ ใน 4 10

ประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก

เกิดจากปฏิสมั พันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม

ทางกายภาพกับกจิ กรรมของมนุษย์

นอกจากน้ี กระแสโลกาภวิ ัตน์ ทำให้เกดิ

การเปล่ียนแปลงส่งิ แวดลอ้ มทาง

กายภาพและวถิ กี ารดำเนินชวี ิต

ส 5.2 ม.4-6/1 วถิ กี ารดำเนินชีวติ ของทอ้ งถิน่ ท้ังใน 56

ประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก

เกิดจากปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างสงิ่ แวดล้อม

ทางกายภาพกบั กิจกรรมของมนุษย์

นอกจากน้ี กระแสโลกาภวิ ัตน์ทำใหเ้ กิด

การเปลย่ี นแปลงสง่ิ แวดลอ้ มทาง

กายภาพและวถิ กี ารดำเนินชวี ติ

หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด มโนทศั นส์ ำคัญ เวลา น้ำหนัก
(ชม.) คะแนน

5 ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ ส 5.1 ม.4-6/2 1. ลกั ษณะทางกายภาพท่ีแตกต่างกนั 8 6

ส 5.2 ม.4-6/2 ส่งผลให้เกิดปัญหาและภัยพบิ ตั ิทาง

ธรรมชาติทแ่ี ตกต่างกนั ทง้ั ในดา้ น

ประเภท ความถ่ี และความรนุ แรง

2. กจิ กรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุท่ีสำคัญ

ทที่ ำให้เกิดการเปลยี่ นแปลงด้าน

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของ

ประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก

ซง่ึ อาจส่งผลกระทบท้ังในระดับประเทศ

ภมู ภิ าค และโลก

6 ทรัพยากรธรรมชาติ ส 5.2 ม.4-6/2 1. ลักษณะทางกายภาพท่ีแตกต่างกัน 5 8

และส่งิ แวดลอ้ มกับ ม.4-6/3 ส่งผลให้เกดิ ปัญหาและภยั พิบัติทาง

การพฒั นาทยี่ งั่ ยืน ม.4-6/4 ธรรมชาติทแี่ ตกต่างกนั ท้ังในดา้ น

ประเภท ความถ่ี และความรุนแรง

2. การแกไ้ ขสถานการณด์ า้ น

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มตอ้ ง

อาศัยการบงั คับใช้กฎหมายการกำหนด

นโยบายและความร่วมมอื ท้งั ในและ

ระหวา่ งประเทศ

3. การจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

สิง่ แวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืนต้อง

อาศัยความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน และ

การมีส่วนรว่ มของทุกคนในฐานะสมาชิก

ของพลเมอื งโลก

สอบวัดผลกลางภาค 2 25

สอบวัดผลปลายภาค 2 25

รวม 40 100

โครงสร้างรายวิชา (จำแนกตามหัวข้อเนอ้ื หา)

รายวิชาสงั คมศึกษา รหสั วิชา ส32101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระการเรยี นรู้ ภมู ิศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วย/ชื่อเรอ่ื ง ตัวชี้วัด เวลา น้ำหนกั
(ชม.) คะแนน
1 เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ 1 ตวั ชว้ี ดั
เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ส 5.1 ม.4-6/3 4 10
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ส 5.1 ม.4-6/3 25
25
2 การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลก 1 ตัวช้ีวดั 10 10
ธรณภี าค ส 5.1 ม.4-6/1 22
บรรยากาศภาค ส 5.1 ม.4-6/1 22
อุทกภาค ส 5.1 ม.4-6/1 22
ชวี ภาค ส 5.1 ม.4-6/1 22
การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพทส่ี ่งผลตอ่ ภมู ิ ส 5.1 ม.4-6/1 22
ประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
1 ตัวช้วี ัด 4 10
3 สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการ
ตงั้ ถน่ิ ฐาน ส 5.2 ม.4-6/1 24
โครงสรา้ งประชากร การกระจายและความ
หนาแนน่ ของประชากร ส 5.2 ม.4-6/1 13
การเปลีย่ นแปลงประชากรโลกและประชากรไทย ส 5.2 ม.4-6/1 13
การตงั้ ถน่ิ ฐานและความเปน็ เมือง 55
1 ตวั ชวี้ ัด 22
4 สิง่ แวดล้อมทางกายภาพกับกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ส 5.2 ม.4-6/1 33
กิจกรรมทางเศรษฐกจิ : เกษตรกรรม ส 5.2 ม.4-6/1
กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ : อตุ สาหกรรม การ
ทอ่ งเทย่ี วและการบรกิ าร

หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วย/ช่อื เร่ือง ตวั ชี้วัด เวลา นำ้ หนกั
(ชม.) คะแนน
5 ภยั พิบัติทางธรรมชาติ 2 ตัวชี้วดั
ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางธรณีภาค ส 5.1 ม.4-6/2 88
ส 5.2 ม.4-6/2 22
ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาค ส 5.1 ม.4-6/2
ส 5.2 ม.4-6/2 22
ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างอทุ กภาค ส 5.1 ม.4-6/2
ส 5.2 ม.4-6/2 22
ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค ส 5.1 ม.4-6/2
ส 5.2 ม.4-6/2 22
6 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มกบั การพฒั นาที่
ยั่งยนื 3 ตัวชว้ี ดั 57
สถานการณก์ ารเปลี่ยนแปลงด้าน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ส 5.2 ม.4-6/2 13
มาตรการป้องกนั และแก้ไขปัญหา
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ส 5.2 ม.4-6/3 22
การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มที่
ยง่ั ยืน ส 5.2 ม.4-6/4 22
กลางภาค/ปลายภาค
รวม 4 25/25
40 100

13. กำหนดการสอน

กำหนดการสอน

รายวชิ าสังคมศึกษา รหสั วิชา ส32101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สาระการเรียนรู้ ภมู ิศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ท่ี คาบท่ี เร่อื ง ตัวช้ีวัด คะแนน

1 1-2 แผนที่ 1 เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ส 5.1 ม.4-6/3 5

2 3-4 แผนที่ 2 เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ ส 5.1 ม.4-6/3 5

3 5-6 แผนท่ี 3 ธรณีภาค ส 5.1 ม.4-6/1 2

4 7-8 แผนที่ 4 บรรยากาศภาค ส 5.1 ม.4-6/1 2

5 9-10 แผนท่ี 5 อุทกภาค ส 5.1 ม.4-6/1 2

6 11-12 แผนท่ี 6 ชวี ภาค ส 5.1 ม.4-6/1 2

7 13-14 แผนท่ี 7 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพท่ีส่งผลตอ่ ส 5.1 ม.4-6/1 2

ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ

8 15-16 แผนท่ี 8 โครงสร้างประชากร การกระจายและความ ส 5.2 ม.4-6/1 4

หนาแนน่ ของประชากร

9 17 แผนที่ 9 การเปลยี่ นแปลงประชากรโลกและ ส 5.2 ม.4-6/1 3

ประชากรไทย

10 18 แผนที่ 10 การตั้งถิ่นฐานและความเปน็ เมือง ส 5.2 ม.4-6/1 3

19-20 สอบกลางภาค 3 ตวั ช้ีวัด 25

11 21-22 แผนที่ 11 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ : เกษตรกรรม ส 5.2 ม.4-6/1 2

12 23-25 แผนที่ 12 กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ : อตุ สาหกรรม ส 5.2 ม.4-6/1 3

การท่องเท่ยี วและการบริการ

13 26-27 แผนที่ 13 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางธรณีภาค ส 5.1 ม.4-6/2 2

ส 5.2 ม.4-6/2

14 28-29 แผนที่ 14 ภัยพิบัตธิ รรมชาตทิ างบรรยากาศภาค ส 5.1 ม.4-6/2 2

ส 5.2 ม.4-6/2

15 30-31 แผนที่ 15 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาค ส 5.1 ม.4-6/2 2

ส 5.2 ม.4-6/2

16 32-33 แผนท่ี 16 ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาค ส 5.1 ม.4-6/2 2

ส 5.2 ม.4-6/2

กำหนดการสอน

รายวิชาสงั คมศึกษา รหัสวิชา ส32101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สาระการเรยี นรู้ ภูมศิ าสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ท่ี คาบที่ เรื่อง ตวั ชวี้ ัด คะแนน

17 34 แผนท่ี 17 สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงด้าน ส 5.2 ม.4-6/2 3

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

18 35-36 แผนที่ 18 มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา ส 5.2 ม.4-6/3 2

ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

19 37-38 แผนที่ 19 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส 5.2 ม.4-6/4 2

สิ่งแวดล้อมท่ียั่งยนื

39-40 สอบปลายภาค 5 ตวั ชว้ี ดั 25

รวม 7 ตัวช้ีวัด 100

อตั ราส่วนคะแนน

คะแนนเกบ็ 50 คะแนน หนว่ ยท่ี 1 10 คะแนน

หน่วยท่ี 2 10 คะแนน

หน่วยที่ 3 10 คะแนน

หนว่ ยท่ี 4 5 คะแนน

หนว่ ยที่ 5 8 คะแนน

หนว่ ยที่ 6 7 คะแนน

สอบกลางภาค หน่วยท่ี 1-3 25 คะแนน

สอบปลายภาค หน่วยท่ี 4-6 25 คะแนน

รวม การตัดสนิ ระดบั ผลการเรยี น 100
คะแนน 0 คะแนน
ได้คะแนนน้อยกวา่ 50

1.0 ไดค้ ะแนนระหว่าง 50-54 คะแนน

1.5 ไดค้ ะแนนระหว่าง 55-59 คะแนน

2.0 ไดค้ ะแนนระหวา่ ง 60-64 คะแนน

2.5 ได้คะแนนระหว่าง 65-69 คะแนน

3.0 ไดค้ ะแนนระหว่าง 70-74 คะแนน

3.5 ได้คะแนนระหว่าง 75-79 คะแนน

4.0 ได้คะแนนระหวา่ ง 80-100 คะแนน

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 21

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์

รายวชิ า ส 32101 สงั คมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ เวลาเรียน 4 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง

ภาคเรียนท่ี 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ครผู ู้สอน นางสาวรชนกี ร จันทรพ์ ิทักษ์

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพส่ิงซงึ่ มผี ล
ตอ่ กัน ใช้แผนท่ีและเครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตรใ์ นการค้นหา วิเคราะห์และ
สรปุ ขอ้ มูลตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศ
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ตัวช้วี ดั ม. 4-6/3 ใชแ้ ผนท่ีและเครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มลู
ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ และนำภูมสิ ารสนเทศมาใช้ประโยชนใ์ น
ชีวติ ประจำวนั

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การใชแ้ ผนที่และเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตรต์ ามกระบวนการทางภูมิศาสตรจ์ ะชว่ ยให้สามารถนำภมู ิ

สารสนเทศมาใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

3. สาระการเรียนรู้
1. แผนที่และองค์ประกอบ
2. การอา่ นแผนทเี่ ฉพาะเรอื่ ง

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายความสำคัญและประโยชน์ของเคร่อื งมือทางภมู ิศาสตรป์ ระเภทตา่ ง ๆ ได้ (K)
2. เลอื กใช้เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรใ์ นการสบื ค้นข้อมูลอันเปน็ ประโยชน์ตอ่ การใชช้ ีวติ ประจำวันได้ (P)
3. เห็นคุณค่าของการศกึ ษาเครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์ในชีวติ เพิ่มมากขึ้น (A)

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 22

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการคิด 1. มวี นิ ัย

- ทกั ษะการทำให้กระจ่าง 2. ใฝเ่ รยี นรู้

- ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

6. การรูเ้ รื่องภมู ศิ าสตร์ (Geo–Literacy)

ความสามารถทางภมู ศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ทกั ษะทางภมู ศิ าสตร์
1. การสังเกต
1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ 2. การแปลความขอ้ มลู

และมนษุ ย์ 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภมู ิศาสตร์
3. การใช้เทคนคิ และเครอ่ื งมือ
2. การใหเ้ หตุผลทางภูมศิ าสตร์ 3. การจดั การข้อมูล
ทางภมู ศิ าสตร์
3. การตัดสนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคดิ เชิงพ้ืนที่
5. การใช้เทคโนโลยี
5. การสรปุ เพื่อตอบคำถาม 6. การใชส้ ถติ ิพ้ืนฐาน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ (วธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ : Geographic Inquiry Process)
ข้นั นำ

1. ครแู จ้งให้นักเรยี นทราบถึงวิธสี อนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry
Process) ชอื่ เร่อื งทจี่ ะเรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และผลการเรียนรู้

2. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์
3. ครูนำภาพ หรือคลิปวิดีโอลกั ษณะทางกายภาพในทวีปต่าง ๆ ของโลกมาใหน้ ักเรยี นดู ซ่งึ มีทั้ง
ภูเขา ทร่ี าบสงู แม่น้ำ และทะเลทราย
4. ครถู ามคำถามกระตุน้ ความคดิ โดยใหน้ ักเรยี นรว่ มกันตอบคำถาม เชน่

4.1 ถา้ เราตอ้ งการเดินทางไปท่องเทีย่ วประเทศตา่ ง ๆ ในโลก เราควรศึกษาความรเู้ กีย่ วกบั
การเดินทาง สถานท่ีทอ่ งเท่ยี ว หรอื สภาพภมู ิประเทศ ดังนั้น จะสามารถใชเ้ คร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ใดได้บา้ ง
และประโยชน์ท่ีจะได้รบั จากเครอื่ งมือดังกลา่ วคอื อะไร (แนวตอบ เช่น แผนที่ เพราะนำเสนอขอ้ มลู ลกั ษณะ
ของสิง่ ท่ีปรากฏบนผิวโลก และทำให้ทราบไดถ้ งึ สภาพภมู ิประเทศ ตลอดจนสถานที่ท่องเทยี่ วในบรเิ วณพ้ืนที่
ต่าง ๆ บนโลกได้เปน็ อยา่ งดี)

4.2 เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์มคี วามสำคัญอยา่ งไร (แนวตอบ เปน็ เครือ่ งมอื ที่สามารถใชศ้ ึกษา
เร่อื งราวสภาพพน้ื ท่ีต่าง ๆ บนโลก เช่น ลักษณะทางกายภาพของโลก ตลอดจนการสะทอ้ นให้เหน็ ถึงสภาพ

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 23

สงั คมและการดำรงชวี ิตประจำวนั ของมนุษย์ จงึ นำมาซงึ่ ข้อมูลทม่ี ีความถูกตอ้ งและทนั สมัย รวมถึงสามารถ
นำมาประยกุ ตใ์ ช้เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวันได้)
ขน้ั สอน

ข้นั ที่ 1 การตั้งคำถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครูนำแผนทีป่ ระเภทต่าง ๆ มาให้นักเรียนดู แล้วร่วมกนั ตอบคำถามตามประเดน็ หรอื แสดง
ความคิดเห็นเพ่มิ เติมประกอบการตั้งคำถามจาก Geo Tip ในหนังสอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม. 4-6 เช่น

1.1 นกั เรียนพบเห็นส่งิ ใดจากแผนท่ีบ้าง (แนวตอบ ช่อื แผนท่ี เสน้ โครงแผนที่ สี สัญลักษณ์
มาตราสว่ น พิกัดทางภมู ิศาสตร์ ฯลฯ)

1.2 นกั เรยี นคดิ ว่า แผนท่มี ปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร (แนวตอบ เชน่ ใช้ศึกษาลกั ษณะภูมิประเทศ
ศกึ ษาลกั ษณะทรพั ยากรธรรมชาติ ศึกษาสภาพอากาศ ศึกษาเสน้ ทางการเดินทาง ศึกษาเส้นทางการ
ทอ่ งเท่ียว)

1.3 หากนกั เรยี นมีการสบื คน้ ขอ้ มลู จากแผนท่ีเชงิ เลขบนสมารต์ โฟน จะสามารถตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งไดจ้ ากสว่ นใดของแผนที่ (แนวตอบ มาตราส่วน เน่ืองจากข้อมลู ของแผนทเี่ ชิงเลขมี
ความสัมพนั ธ์ระหว่างข้อมลู พกิ ัดและสัญลักษณแ์ สดงผล โดยสามารถแสดงรายละเอียดทง้ั ทางราบและทาง
ดงิ่ ได้ จงึ มคี วามถกู ต้องทีจ่ ะสามารถพิจารณาไดต้ ามหลกั เกณฑข์ องมาตราสว่ น เชน่ เดียวกบั แผนที่ประเภท
กระดาษทว่ั ไป)

2. จากน้ันครูใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันต้ังประเดน็ คำถามเชิงภูมศิ าสตร์เกยี่ วกับแผนท่ี เพือ่ คน้ หาคำตอบ
เช่น

2.1 แผนท่ีแต่ละประเภท มีข้อแตกต่างกนั อย่างไร
2.2 การใช้ประโยชนจ์ ากแผนทีม่ ขี ้อจำกัดหรือไม่ อย่างไร
2.3 เพราะเหตใุ ด แผนที่จงึ ถกู นำมาใชใ้ นการศกึ ษาขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ในประเทศไทยและโลก
2.4 สว่ นประกอบต่าง ๆ ทีพ่ บในแผนที่มีความสมั พนั ธ์กนั หรือไม่ อย่างไร
2.5 หากในอนาคตไม่มแี ผนทเ่ี ปน็ หน่ึงในเครื่องมอื ทางภูมศิ าสตรจ์ ะส่งผลกระทบอย่างไร

ขนั้ ท่ี 2 การรวบรวมข้อมลู
1. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 4-5 คน สืบค้นข้อมลู เกย่ี วกับแผนที่ จากหนังสือเรียน
ภมู ศิ าสตร์ ม. 4-6 หรอื จากแหล่งการเรยี นรู้อื่น ๆ เช่น หนังสอื ในห้องสมุด เวบ็ ไซต์ในอินเทอรเ์ น็ต เพ่ือ
นำมาอภปิ รายร่วมกนั ในช้ันเรียนตามประเดน็ ต่อไปนี้

1.1 ประเภทของแผนที่
1.2 องค์ประกอบของแผนทเ่ี ฉพาะเร่อื ง
1.3 การอ่านและแปลความแผนท่ี
1.4 การใชป้ ระโยชน์แผนท่ี
2. ครูแนะนำแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีน่าเชื่อถือเกีย่ วกบั แผนทีแ่ ละการอา่ นแผนท่ี เพ่ือเป็นการ
รวบรวมขอ้ มูลเพิ่มเตมิ

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 24

ขน้ั ที่ 3 การจัดการขอ้ มลู
1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มนำข้อมูลท่ตี นได้จากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปลย่ี นความรรู้ ะหว่างกนั
2. จากนัน้ สมาชิกในกลมุ่ ชว่ ยกนั คัดเลอื กขอ้ มูลท่นี ำเสนอเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถกู ตอ้ ง และร่วม
อภปิ รายแสดง ความคิดเห็นเพมิ่ เตมิ
3. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาตัวอย่างองคป์ ระกอบของแผนท่ี จากแผนที่แสดงลักษณะ
ภูมิประเทศคาบสมทุ รอนิ โดจนี จากหนังสอื เรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 หรอื ใช้สมารต์ โฟนคน้ หาสัญลกั ษณท์ ่ีพบ
ในแผนท่ีเพ่มิ เตมิ แลว้ นำขอ้ มูลมาอภิปรายร่วมกนั ภายในชน้ั เรียน
ข้นั ท่ี 4 การวิเคราะหแ์ ละแปลผลข้อมลู
1. ครูสุ่มนกั เรียนเพ่อื ลองอา่ นและแปลความหมายตวั อยา่ งแผนท่ีเขตภมู อิ ากาศของทวีปแอฟริกา
จากหนงั สอื เรยี นภมู ศิ าสตร์ ม. 4-6 แล้วอภิปรายร่วมกันในกลมุ่ พร้อมทั้งประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั
2. ครใู หส้ มาชิกแต่ละกลุ่มนำข้อมูลท่รี วบรวมมาได้ทำการวเิ คราะห์ร่วมกันเพ่ืออธิบายคำตอบ
3. ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน สมาชิกกลมุ่ อื่นผลัดกันใหข้ อ้ คิดเหน็ หรอื
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ
4. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มนำความรู้ทไี่ ด้จากการศกึ ษาและวิเคราะห์ข้อมลู มาวิเคราะหแ์ ละเรยี บเรยี ง
ประเดน็ สำคัญเพ่ือรว่ มกนั ทำใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ และร่วมกันเฉลยคำตอบ
ขนั้ ที่ 5 การสรุปเพ่อื ตอบคำถาม
1. นักเรยี นในชัน้ เรียนรว่ มกนั สรุปเกย่ี วกับแผนท่ี องคป์ ระกอบของแผนที่ การอา่ นและแปลความ
แผนท่ี ตลอดจนการใชป้ ระโยชน์แผนที่ โดยอาจศึกษา Geo Tip เก่ยี วกับแอปพลิเคชันแผนทเี่ พมิ่ เติม จาก
หนังสอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม. 4-6
2. ครใู หส้ มาชกิ ในแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั สรุปสาระสำคญั เพอื่ ตอบคำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ โดยครูแนะนำ
เพ่ิมเติม
3. นักเรยี นทำแบบฝกึ สมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เรือ่ ง แผนที่ เพื่อทดสอบความรู้ท่ีไดศ้ ึกษามา
ขนั้ สรุป
ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้เกี่ยวกับแผนท่ี ตลอดจนความสำคัญของแผนที่มีอิทธพิ ลตอ่
การดำเนินชวี ิตของผู้คนในปจั จุบัน หรืออาจใช้ PPT สรุปสาระสำคญั ของเนอ้ื หา
ข้ันประเมิน
1. ครูประเมนิ ผลโดยสังเกตจากการตอบคำถาม การร่วมกันทำงาน และการนำเสนอผลงานหนา้
ชั้นเรยี น
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน และแบบฝกึ สมรรถนะฯ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 25

8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
1. ส่ือการเรียนรู้
- หนงั สือเรยี น เศรษฐศาสตร์ ม. 4- ม.6
- หนังสือค้นคว้าเพมิ่ เติม
⬧ นราทพิ ย์ ชตุ ิวงศ์และชลดา จามรกุล. พื้นฐานเศรษฐศาสตร์จุลภาค.
กรงุ เทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2541.
⬧ พอพนั ธ์ อุยยานนท.์ พฒั นาการเศรษฐกิจไทย ในประมวลสาระชดุ วิชาไทย
ศกึ ษา หนว่ ยท่ี 3 สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.
นนทบุรี : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2546.
⬧ รัตนา สายคณติ . การพัฒนาเศรษฐกจิ ในเอกสารการสอนชดุ วชิ าสังคมศกึ ษา 3 :
เศรษฐศาสตร์สำหรับครู หน่วยที่ 14 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. นนทบุรี :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2546.
⬧ รัตนา สายคณิต และคณะ. พืน้ ฐานเศรษฐศาสตร์มหภาค. กรงุ เทพมหานคร :
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2540.
⬧ วันรกั ษ์ ม่ิงมณีนาคิน. หลกั เศรษฐศาสตรม์ หภาค. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 14.
กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์,2550.
- ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ความสำคัญและเปา้ หมายของเศรษฐศาสตร์
- ใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง วิเคราะห์ปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ
- ใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง กจิ กรรมทางดา้ นเศรษฐศาสตร์
2. แหล่งการเรยี นรู้
- ห้องสมุด
- แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
⬧ http://www.mof.go.th
⬧ http://www.idis.ru.ac.th
⬧ http://www.mfa.go.th/business/1092.php
⬧ http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 26

9. การวัดและการประเมินผล

รายการวดั วธิ ีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ

1. การวัดและประเมินผล - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ - รอ้ ยละ 60

ก่อนเรียน กอ่ นเรยี น กอ่ นเรียน ผ่านเกณฑ์

- แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

เรือ่ ง เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์

2. การวัดและประเมินผล

ระหว่างการจดั กิจกรรม

การเรยี นรู้

- เลือกใชเ้ คร่อื งมอื ทาง - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานท่ี 1.1 - ร้อยละ 60

ภูมศิ าสตรใ์ นการสบื ค้นขอ้ มูล ผา่ นเกณฑ์

อนั เปน็ ประโยชน์ต่อการใช้

ชีวติ ประจำวันได้

- การนำเสนอผลงาน - ประเมินการ - แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพ 2

นำเสนอผลงาน นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

- พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2

รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์

- พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2

การทำงานกล่มุ การทำงานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์

- คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2

ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์

3. การรูเ้ ร่ืองภมู ศิ าสตร์ - ประเมนิ การใช้ - แบบประเมินการใช้ - ระดบั คุณภาพ 2

เครอื่ งมือ เครอ่ื งมือทาง ผ่านเกณฑ์

ทางภูมศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 27

10. บนั ทึกผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ผลการเรียนรู้
1.1 นกั เรยี นท่ีผา่ นตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้
มจี ำนวน............................................คน คิดเป็นร้อยละ.............................................
1.2 นกั เรยี นทไ่ี มผ่ ่านตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้
มจี ำนวน............................................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.............................................
คือ...............................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
พฤติกรรมการเรยี นร.ู้ ..................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.3 นกั เรยี นทม่ี ีความสามารถพเิ ศษ คอื
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
แนวทางการส่งเสริม....................................................................................................
....................................................................................................................................
1.4 นักเรียนไดร้ บั ความรู้
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.5 นกั เรียนเกดิ ทักษะกระบวนการ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.6 นกั เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 28

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................ผสู้ อน
(นางสาวรชนีกร จันทร์พทิ ักษ์)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
วันที่........... เดอื น.........................พ.ศ. ..............

11. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้/ผ้ทู ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
()

ตำแหน่ง........................................................
วันที.่ .......... เดือน......................... พ.ศ. ..............

12. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา/ผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ...................................................................
()

ตำแหนง่ ................................................................
วันท่ี........... เดือน......................... พ.ศ. ..............

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 29

แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1
เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

คำชแี้ จง : ใหก้ า  ทับตวั อกั ษรหน้าข้อความที่เปน็ คำตอบทีถ่ ูกที่สดุ เพียงขอ้ เดียว

1. เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์มคี วามสำคญั อยา่ งไร

ก. ใชเ้ ป็นข้อมูลในการแกป้ ญั หา ข. ช่วยใหม้ นุษย์มองเหน็ โลกได้สวยงาม

ค. ใช้เปน็ ชอ่ งทางการติดตามธุรกิจพืน้ บา้ น ง. ใช้เป็นขอ้ มูลในการยดึ ครองมาทำประโยชน์

2. ขอ้ ใดเป็นเครื่องมอื สำคญั ในการศกึ ษาภูมิศาสตร์ทีม่ นษุ ย์สร้างข้นึ เพือ่ จำลองสงิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ โดยสร้างบนแผน่

แบนราบ ย่อขนาดใหเ้ ล็กลงตามอตั ราสว่ น

ก. ลกู โลก ข. เขม็ ทิศ

ค. แผนท่ี ง. ภาพถา่ ยทางอากาศ

3. วัตถปุ ระสงค์ของการใช้แผนที่ คือข้อใด

ก. ศกึ ษาฤดูกาล ข. หาตำแหน่งท่ีตง้ั

ค. ศกึ ษาพนื้ ทข่ี องโลก ง. เทยี บเวลาของโลก

4. แผนทเี่ ลม่ เกดิ จากการรวบรวมแผนท่ีประเภทใด

ก. ลูกโลกและแผนท่เี ฉพาะเรอื่ ง ข. แผนทีภ่ ูมิประเทศกบั แผนทภ่ี มู อิ ากาศ

ค. แผนที่เฉพาะเร่ืองกับรปู ถา่ ยทางอากาศ ง. แผนที่เฉพาะเร่อื งกบั แผนที่ภมู ปิ ระเทศ

5. มกุ ดาวางแผนการไปท่องเทีย่ วประเทศองั กฤษ มุกดาควรใช้เครื่องมอื ทางภูมศิ าสตรข์ อ้ ใด

ก. ภาพจากดาวเทียม ข. เขม็ ทิศ

ค. แผนท่ี ง. ภาพถา่ ยทางอากาศ

6. ข้อใดกำหนดความหมายระยะทางบนแผนที่กับระยะทางจริงบนพนื้ ผวิ โลก

ก. ทิศ ข. มาตราสว่ น

ค. สัญลกั ษณ์ ง. ขอบระวาง

7. แผนทีแ่ สดงจุดเสีย่ งภัยแผน่ ดินไหว จดั เป็นแผนทป่ี ระเภทใด

ก. แผนทท่ี ่ัวไป ข. แผนที่อา้ งอิง

ค. แผนที่เฉพาะเรอื่ ง ง. แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ

8. บุคคลในข้อใดเป็นผู้ใช้แผนท่ไี ด้ชำนาญท่ีสุด

ก. โป้งมีความรเู้ รื่องแผนที่เป็นอยา่ งดี

ข. กลางรวบรวมแผนที่เฉพาะเรอื่ งไวอ้ ยา่ งหลากหลาย

ค. นางสอบไดค้ ะแนนสูงสุดในเรอื่ งแผนทท่ี างภมู ิศาสตร์

ง. กอ้ ยใช้แผนท่ใี นการเรียนและการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 30

9. ปจั จัยสำคญั ท่ีทำใหน้ ิยมใชร้ ปู ถา่ ยทางอากาศแนวดงิ่ มาจดั ทำแผนท่ีคอื ข้อใด

ก. ความชัดเจน ข. ความสวยงาม

ค. มาตราส่วนคงที่ ง. สแี ละรปู รา่ งต่าง ๆ

10. ความรู้พ้นื ฐานทมี่ ีส่วนช่วยใหม้ นุษย์ประดษิ ฐ์ดาวเทยี ม คืออะไร

ก. ดาวหางและอุกกาบาต ข. ดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์

ค. เทหวัตถฟุ ากฟา้ ประเภทต่าง ๆ ง. ดวงจันทร์ของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์

11. ขอ้ มลู ที่ใช้ในการพยากรณอ์ ากาศของพนื้ ที่หนึง่ ๆ มาจากหลักการทำงานของดาวเทยี มในขอ้ ใด

ก. ดาวเทยี มคงที่ ข. ดาวเทียมพลงั งานธรรมชาติ

ค. ดาวเทียมพลงั งานคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ง. ดาวเทียมโคจรรอบโลกในแนวเหนือ-ใต้

12. บรเิ วณท่ีเสน้ ขนานละติจูดกับเสน้ เมริเดยี นตดั กัน โดยจะกำหนดเป็นค่าละติจดู และค่าลองจจิ ูด เรียกว่า

อะไร

ก. พกิ ัดภมู ศิ าสตร์ ข. ระนาบภูมิศาสตร์

ค. แนวภูมิศาสตร์ ง. เส้นทางภูมศิ าสตร์

13. ข้อใดถูกตอ้ ง

ก. เสน้ ลองจิจูด 180 องศา เป็นแนวแบ่งเขตวัน

ข. เวลาทางซกี โลกตะวันตกเร็วกวา่ ซกี โลกตะวนั ออก

ค. ประเทศไทยใชเ้ วลาท้องถิน่ 180 องศาตะวันออก

ง. ประเทศไทย ลาว เวียดนาม เวลาชา้ กว่ากัน 30 นาที

14. ทุกขอ้ จัดเปน็ เทคโนโลยีทางภมู ิศาสตร์ ยกเวน้ ขอ้ ใด

ก. การสมั ผสั ระยะไกล ข. การจำลองภาพใหป้ รากฏ

ค. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ง. ระบบกำหนดตำแหนง่ ทางภูมิศาสตร์

15. เส้นเมรเิ ดยี นแรก (0 องศา) มีความสำคญั อย่างไร

ก. ใช้แบง่ ซกี โลกเหนอื และใต้ ข. ใชเ้ รม่ิ ต้นการแบง่ เวลาทอ้ งถนิ่

ค. ใช้กำหนดตำแหนง่ บนพน้ื โลก ง. ใช้กำหนดเวลามาตรฐานสากล

16. ถ้าธงชัยเดินทางจากเส้นเมริเดยี นแรก (0 องศา) ไปทางซา้ ยมอื จะมีเวลาเปลยี่ นแปลงอย่างไร

ก. เปลี่ยนแปลงโดยจะมเี วลาเร็วกว่าทีเ่ ส้นเมรเิ ดียนแรก

ข. เปลี่ยนแปลงโดยจะมีเวลาช้ากว่าที่เส้นเมริเดียนแรก

ค. ไม่เปล่ียนแปลงเพราะใช้เขตเวลามาตรฐานเหมือนกัน

ง. ไม่เปลย่ี นแปลงเพราะใช้เวลามาตรฐานสากลเดียวกนั

17. ระบบกำหนดตำแหน่งบนพนื้ โลกเกิดจากกิจการด้านใด

ก. การทหาร ข. การสำรวจทิศทาง

ค. การป้องกันภัยพบิ ัติ ง. การช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 31

18. การหาพน้ื ทเ่ี สย่ี งภัยน้ำทว่ มในจงั หวดั สมุทรปราการ ควรใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตรข์ ้อใดทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ

มากที่สุด

ก. Remote Sensing ข. รูปถ่ายทางอากาศ

ค. GIS ง. GPS

19. ถา้ ตอ้ งการศกึ ษาวา่ ประเทศไทยมีเมอื งโบราณจำนวนเท่าใด และกระจายอยู่ในภาคใดบ้าง ควรเลอื ก

เครอ่ื งมอื ประเภทใดเหมาะสมท่ีสดุ

ก. ภาพจากดาวเทียม ข. ภาพถ่ายทางอากาศ

ค. แผนที่ภูมิประเทศและการสำรวจภาคสนาม ง. แผนท่ีประวตั ศิ าสตรแ์ ละฐานข้อมลู ทางโบราณคดี

20. ข้อใดเป็นเครื่องมอื และเทคโนโลยีทใี่ ช้ประโยชนใ์ นการเตอื นภยั แผ่นดินไหว

ก. บารอมิเตอร์ ข. อะนิโมมิเตอร์

ค. ไซสโมกราฟ ง. ไฮโกรกราฟ

ข้อ 1 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 9 10
เฉลย ก เร่อื ง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ คข

2345678
คขงคขคง

ข้อ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
เฉลย ก ก ก ข ง ค ก ก ข ค

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 32

ใบงานที่ 1.1
เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์

ตอนท่ี 1 : ให้นกั เรยี นบอกช่อื ประเทศตามพกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ทก่ี ำหนดให้

ท่ี ตำแหนง่ ละตจิ ูด ตำแหน่งลองจจิ ดู ชือ่ ประเทศ
1 60 องศาเหนือ 60 องศาตะวนั ออก

2 55 องศาเหนอื 0 องศา

3 20 องศาใต้ 135 องศาตะวนั ออก

4 45 องศาเหนอื 105 องศาตะวนั ออก

5 35 องศาใต้ 60 องศาตะวันตก

6 48 องศาเหนือ 5 องศาตะวันตก

7 60 องศาเหนอื 140 องศาตะวนั ออก

8 26 องศาเหนอื 78 องศาตะวันออก

9 40 องศาเหนอื 35 องศาตะวนั ตก

10 30 องศาใต้ 65 องศาตะวันตก

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 33

ตอนที่ 2 : ใหน้ กั เรยี นใชเ้ ครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์สบื ค้นขอ้ มูลเกี่ยวกับภูมิประเทศของประเทศต่าง ๆ
ในภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ตามหวั ขอ้ ทีก่ ำหนด

1. ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสืบคน้ มีสาระสำคัญอะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

2. เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์ที่ใชส้ ืบค้นคืออะไร มีวิธกี ารดำเนนิ การอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

3. เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ทใี่ ช้ประกอบการนำเสนอขอ้ มลู คอื อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 34

เฉลยใบงานที่ 1.1
เรอ่ื ง เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร์

ตอนที่ 1 : ใหน้ ักเรยี นบอกชอื่ ประเทศตามพิกดั ทางภมู ิศาสตร์ท่ีกำหนดให้

ท่ี ตำแหนง่ ละติจดู ตำแหนง่ ลองจิจูด ชื่อประเทศ
1 60 องศาเหนอื 60 องศาตะวันออก รสั เซีย
อังกฤษ
2 55 องศาเหนอื 0 องศา
ออสเตรเลยี
3 20 องศาใต้ 135 องศาตะวันออก มองโกเลยี
ปารากวยั
4 45 องศาเหนือ 105 องศาตะวันออก ฝร่งั เศส
รสั เซีย
5 20 องศาใต้ 60 องศาตะวนั ตก อนิ เดยี
ฟนิ แลนด์
6 48 องศาเหนือ 3 องศาตะวนั ออก อารเ์ จนตนิ า

7 60 องศาเหนอื 140 องศาตะวนั ออก

8 26 องศาเหนือ 78 องศาตะวนั ออก

9 65 องศาเหนอื 28 องศาตะวนั ตก

10 30 องศาใต้ 65 องศาตะวนั ตก

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 35

ตอนท่ี 2 : ให้นกั เรียนใชเ้ ครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์สืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับภูมปิ ระเทศของประเทศตา่ ง ๆ
ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ตามหวั ข้อท่กี ำหนด

1. ข้อมูลที่ไดจ้ ากการสืบคน้ มีสาระสำคญั อะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

2. เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ทใ่ี ชส้ บื ค้นคอื อะไร มวี ิธกี ารดำเนินการอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

3. เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตรท์ ่ใี ชป้ ระกอบการนำเสนอขอ้ มูล คอื อะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

(หมายเหตุ พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน)

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 36

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ

รายวิชา ส 32101 สังคมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ เวลาเรยี น 4 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง

ภาคเรียนที่ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ครผู สู้ อน นางสาวรชนกี ร จนั ทร์พิทักษ์

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซงึ่ มผี ล
ตอ่ กนั ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์และ
สรปุ ขอ้ มูลตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภมู สิ ารสนเทศ
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตัวชี้วดั ม. 4-6/3 ใชแ้ ผนที่และเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มูล
ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ และนำภมู สิ ารสนเทศมาใช้ประโยชนใ์ น
ชวี ติ ประจำวนั

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การใช้แผนทีแ่ ละเครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์จะช่วยใหส้ ามารถนำภมู ิ

สารสนเทศมาใช้ในชีวติ ประจำวันได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

3. สาระการเรียนรู้
1. การแปลความหมายรูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม
2. การนำภมู สิ ารสนเทศไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสำคัญและประโยชนข์ องเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศได้ (K)
2. ประยุกตค์ วามรู้เกี่ยวกบั เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ (P)
3. เห็นคุณคา่ ของการศึกษาเทคโนโลยีภมู ิสารสนเทศเพ่ือการใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตเพ่ิมมากขึน้ (A)

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 37

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการคดิ 1. มวี นิ ัย

- ทกั ษะการทำให้กระจา่ ง 2. ใฝ่เรียนรู้

- ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน

2. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

6. การรู้เรอื่ งภมู ศิ าสตร์ (Geo–Literacy)

ความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภมู ศิ าสตร์
1. การสังเกต
1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การต้ังคำถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ 2. การแปลความข้อมูล

และมนษุ ย์ 2. การรวบรวมขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์
3. การใช้เทคนคิ และเครอื่ งมอื
2. การใหเ้ หตุผลทางภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล
ทางภูมศิ าสตร์
3. การตัดสินใจอย่างเปน็ ระบบ 4. การวเิ คราะห์ข้อมลู 4. การคดิ เชิงพนื้ ท่ี
5. การใช้เทคโนโลยี
5. การสรุปเพอื่ ตอบคำถาม 6. การใชส้ ถิตพิ น้ื ฐาน

7. กิจกรรมการเรียนรู้ (วธิ สี อนแบบกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ : Geographic Inquiry Process)
ขัน้ นำ

1. ครูให้นักเรียนเล่นเกมแขง่ ขนั การใชส้ มาร์ตโฟนค้นหาเส้นทางไปยงั สถานที่ที่นกั เรียนสนใจใน
ทวีปตา่ ง ๆ จำนวน 10 แห่ง ภายในเวลาที่กำหนด จากน้ันอภิปรายแสดงความคิดเหน็ รว่ มกนั

2. ครูสนทนาประกอบการซักถามเกย่ี วกบั เทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศในความรคู้ วามเข้าใจเบ้ืองต้น
ของนักเรยี นเพมิ่ เตมิ เชน่

2.1 เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศไดแ้ กส่ ่งิ ใด (แนวตอบ เช่น รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม
GPS GIS)

2.2 ในปัจจบุ นั เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมปี ระโยชน์อยา่ งไรบา้ ง (แนวตอบ เชน่ มปี ระโยชนใ์ น
ดา้ นการสำรวจ การสืบค้นขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลการบริหาร การวางแผนในพนื้ ทที่ ี่มีขอ้ จำกดั ทั้งในด้าน
ระยะทาง หรือการเข้าถงึ ตลอดจนเป็นการอำนวยความสะดวกในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในชวี ิตประจำวนั
เพิม่ มากข้นึ )

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 38

ขั้นสอน
ขน้ั ที่ 1 การต้ังคำถามเชิงภูมศิ าสตร์
1. ครนู ำรูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมสวย ๆ มาให้นักเรียนดู จากน้ันให้นกั เรยี นลอง

บอกสิง่ ที่เหน็ จากสายตา
2. ครูกระตนุ้ ให้นักเรียนช่วยกันตัง้ ประเดน็ คำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ เชน่
2.1 เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศทนี่ ำมาใช้ในการหาเสน้ ทางการเดนิ ทางไปยงั เปา้ หมาย เรยี กว่า

ระบบอะไร
2.2 เทคโนโลยีภมู ิสารสนเทศแต่ละประเภท มีความเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร
2.3 นอกจากเครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตรอ์ ยา่ งลกู โลก แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจาก

ดาวเทียม แล้วยังมีเครือ่ งมือใดอีกบา้ งท่ีใชศ้ ึกษาข้อมูลทางภมู ิศาสตร์ และใหข้ ้อมูลเกยี่ วกบั อะไร
3. ครอู าจให้นักเรยี นศึกษา Geo Tip เกยี่ วกบั ดาวเทยี มสำรวจทรพั ยากร จากหนงั สือเรยี น

ภมู ิศาสตร์ ม.4-6 ประกอบการตงั้ ประเด็นคำถามเชงิ ภูมศิ าสตร์เพ่มิ เตมิ
ขนั้ ท่ี 2 การรวบรวมขอ้ มลู
1. ครใู ห้นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 4 คน โดยให้นักเรียนในแตล่ ะกลมุ่ มหี มายเลขประจำตวั คอื

หมายเลข 1 2 3 และ 4 เรียกวา่ กลุ่มแมบ่ ้าน
2. นกั เรยี นกลุม่ แมบ่ ้านแยกย้ายไปรวมกนั ตามหมายเลขเดียวกัน เรียกว่า กลุ่มผู้เช่ียวชาญ
3. สมาชกิ ในกลุม่ ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมกนั สบื ค้นความรู้ เรอ่ื ง เทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ จากหนงั สือ

เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 และสรปุ ความรูล้ งในใบงาน ตามประเด็นต่อไปน้ี
3.1 หมายเลข 1 ทำใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง การรบั รูจ้ ากระยะไกล
3.2 หมายเลข 2 ทำใบงานที่ 1.3 เร่ือง ระบบกำหนดตำแหนง่ บนพน้ื โลก
3.3 หมายเลข 3 ทำใบงานท่ี 1.4 เรื่อง ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์
3.4 หมายเลข 4 ทำใบงานท่ี 1.5 เร่อื ง การใชป้ ระโยชน์เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ
4. สมาชกิ ในกลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญแตล่ ะหมายเลขทำการรวบรวมและอภิปรายขอ้ มลู จากการทำใบงาน

ขน้ั ท่ี 3 การจดั การขอ้ มลู
1. สมาชกิ ในกลุ่มผ้เู ช่ียวชาญแตล่ ะหมายเลขกลบั ไปยงั กลมุ่ แม่บา้ นของตนเอง
2. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มนำข้อมูลท่ีตนได้จากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปลย่ี นความรรู้ ะหวา่ งกนั
3. จากนน้ั สมาชิกในกลุ่มช่วยกนั คดั เลอื กข้อมูลท่ีนำเสนอเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลทถ่ี ูกต้อง
ขั้นที่ 4 การวิเคราะหแ์ ละแปลผลข้อมูล
1. สมาชิกแต่ละกลมุ่ นำข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการศึกษามาทำการวเิ คราะห์ และรว่ มกนั ตรวจสอบความ
ถกู ตอ้ งของขอ้ มูล โดยครชู ่วยช้แี นะเพิ่มเตมิ
2. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ใช้ความรู้เรอื่ ง เทคโนโลยีสารสนเทศทน่ี ำมาใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวนั มาประกอบการนำเสนอเพ่ิมเติมตามประเดน็ ดังน้ี

2.1 กลุม่ ที่ 1 เร่อื ง การรับรู้จากระยะไกล
2.2 กลุ่มที่ 2 เรอ่ื ง ระบบกำหนดตำแหน่งบนพ้ืนโลก


Click to View FlipBook Version