The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-23 22:30:45

แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.5

แผนการจัดการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.5

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 239

3. การจดั การภัยพบิ ัติ

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. วเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพท่ีทำใหเ้ กิดปัญหาหรือภยั พบิ ัติธรรมชาติทางอทุ กภาคใน

ประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกได้ (K)
2. วิเคราะห์ผลกระทบทเ่ี กดิ จากภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาคได้ (K)
3. เสนอแนวทางปอ้ งกนั ในการป้องกันตนเองและระวงั ภยั พิบัติธรรมชาตทิ างอุทกภาคได้ (P)
4. สนใจศกึ ษาเกยี่ วกับภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางอทุ กภาค เพอ่ื นำมาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวันเพมิ่ มาก

ขน้ึ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้

3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

6. การร้เู รือ่ งภมู ศิ าสตร์ (Geo–Literacy)

ความสามารถทางภมู ศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทกั ษะทางภูมิศาสตร์
1. การแปลความขอ้ มลู ทาง
1. ความเขา้ ใจระบบธรรมชาติ 1. การตงั้ คำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์
2. การคดิ เชงิ พื้นที่
และมนษุ ย์ 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การคดิ แบบองค์รวม
4. การใชส้ ถิติพน้ื ฐาน
2. การใหเ้ หตุผลทางภมู ศิ าสตร์ 3. การจดั การขอ้ มลู

3. การตดั สินใจอย่างเปน็ ระบบ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล

5. การสรปุ เพ่ือตอบคำถาม

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process)
ข้นั นำ

1. ครูแจ้งใหน้ ักเรยี นทราบถงึ วธิ สี อนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process)
ช่ือเรื่องทจ่ี ะเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้

2. ครใู หน้ กั เรียนดูภาพ หรอื คลิปวดิ ีโอทเี่ ก่ยี วข้องกบั ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางอุทกภาคในประเทศ
ไทยและประเทศตา่ ง ๆ

3. ครูสอบถามนักเรยี นเกีย่ วกับสาเหตุ ความรนุ แรง และผลกระทบของภยั พบิ ัติธรรมชาติทาง
อทุ กภาค จากการดูภาพหรอื คลิปวิดีโอเพม่ิ เตมิ

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 240

ข้ันสอน
ขนั้ ท่ี 1 การตั้งคำถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครูใหน้ กั เรียนดแู ผนทีแ่ สดงพนื้ ทเี่ สยี่ งการเกิดอุทกภยั ของโลก จากหนงั สอื เรียนภูมศิ าสตร์

ม.4-6 แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับแผนที่ดงั กล่าว
2. ครใู หน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับการปฏบิ ตั ิตนในกรณปี ระสบภัยพบิ ตั ิ ท้ัง

ในชว่ งก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภยั และหลงั เกิดภัย
3. ครใู หน้ ักเรียนดูแผนทแ่ี สดงพืน้ ที่ประสบอทุ กภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 จากหนงั สือเรียน

ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 แลว้ ร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเหน็ เชอ่ื มโยงกับแผนทีแ่ สดงพนื้ ที่เสยี่ งการเกิดอทุ กภยั
ของโลก ถงึ ความเกีย่ วข้องสมั พันธ์กันในประเดน็ ตา่ ง ๆ

4. ครูกระต้นุ ให้นกั เรยี นช่วยกนั ตง้ั ประเดน็ คำถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ เชน่
4.1 ลกั ษณะทางกายภาพส่งผลให้เกดิ ปญั หา หรอื ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางอุทกภาคในประเทศ

ไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลกอย่างไรบ้าง
4.2 ภัยพิบัตธิ รรมชาติทางอุทกภาคท่ีเกดิ ขน้ึ ในภมู ภิ าคต่าง ๆ มีความเหมอื น หรือความ

แตกต่างกันอยา่ งไร
4.3 ผลกระทบสำคญั จากภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางอุทกภาคคืออะไร
4.4 แนวทางหรือวธิ ีการปอ้ งกันภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาคสามารถทำได้อยา่ งไร

ขน้ั ที่ 2 การรวบรวมขอ้ มลู
1. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม สืบค้นขอ้ มูลเก่ียวกบั ตัวอยา่ งเหตุการณ์ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางอทุ กภาค
จากแหลง่ การเรยี นรู้อืน่ ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซตใ์ นอนิ เทอรเ์ นต็ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี

1.1 ประเภทของอุทกภัย
1.2 สาเหตุการเกิดอทุ กภัย
1.3 ภัยท่เี กดิ จากอุทกภัย
1.4 การจดั การภยั พิบัตอิ ทุ กภัย
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศกึ ษาขอ้ มลู ในหวั ข้อที่รับผิดชอบ โดยนำความรู้เกี่ยวกับเคร่ืองมอื
ทางภูมิศาสตรม์ าใช้ประกอบในการศกึ ษา
3. ครูแนะนำแหล่งข้อมลู สารสนเทศที่เช่อื ถือไดใ้ ห้กับนักเรียนแต่ละกลมุ่ เพ่ิมเตมิ
ข้ันที่ 3 การจดั การขอ้ มูล
1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มนำขอ้ มูลทต่ี นไดจ้ ากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปล่ยี นความร้รู ะหว่างกนั
2. จากนนั้ สมาชกิ ในกลุ่มช่วยกนั คดั เลือกขอ้ มูลทนี่ ำเสนอเพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มูลท่ถี ูกต้อง และรว่ ม
อภปิ รายแสดงความคิดเห็นเพม่ิ เติม
ขั้นท่ี 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
1. ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกนั ยกตัวอย่างเหตุการณก์ ารเกดิ อทุ กภยั ครงั้ รุนแรงในประเทศไทยจากแหล่ง
การเรียนรู้อน่ื ๆ เชน่ เว็บไซตใ์ นอนิ เทอรเ์ นต็ เพ่ิมเติม

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 241

2. ครนู ำโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชท่ี

เกย่ี วขอ้ งกับการแกป้ ญั หาอทุ กภยั มาให้นกั เรยี นรว่ มกันวเิ คราะห์และอภิปรายแสดงความคิดเหน็ เพ่ิมเตมิ

เชน่
(ตัวอย่างโครงการในพระราชดำร)ิ

จากสภาพธรรมชาติด้งั เดิมของกรงุ เทพมหานครมีลกั ษณะลมุ่ ตำ่ ทำใหม้ ีการระบายน้ำยามเกิด
ภาวะนำ้ ทว่ มใหอ้ อกจากพนื้ ที่เป็นไปอย่างล่าชา้ คูคลองจำนวนมากมีความลาดเทนอ้ ย อีกทั้งมีจำนวน
หลายคลองที่ลำน้ำต้ืนเขิน มวี ชั พืชปกคลุมกดี ขวางทางน้ำไหล ทำใหเ้ กิดเป็นสาเหตุในหลายปัจจัยของ
การเกิดนำ้ ทว่ มขังในกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑลเป็นระยะเวลายาวนาน พระบาทสมเด็จพระ
ปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พระราชทานแนวพระราชดำริใหม้ ีระบบการบริหารจัดการด้านน้ำท่วมใน
วธิ ีการท่ีตรสั ว่า แก้มลงิ ซง่ึ ได้พระราชทานพระราชอรรถาธิบายว่า

“...ลิงโดยทว่ั ไปถ้าเราส่งกลว้ ยให้ ลิงจะรบี ปอกแลว้ เอาเขา้ ปากเคยี้ วแลว้ เอาไปเก็บไวท้ แี่ ก้ม
ลงิ จะเอากล้วยเขา้ ไปไว้ทีก่ ระพุง้ แกม้ ได้เกือบทงั้ หวี โดยเอาไปไวท้ แี่ กม้ กอ่ นแล้วจงึ นำมาเคย้ี วบริโภค
และกลนื กนิ เขา้ ไปภายหลัง...”

เปรยี บเทยี บไดก้ บั เมือ่ เกิดนำ้ ท่วมก็ขุดคลองต่าง ๆ เพ่อื ชกั นำ้ ใหม้ ารวมกนั แลว้ นำมาเกบ็ ไว้เป็น
บ่อพกั น้ำอนั เปรียบไดก้ บั แก้มลงิ แล้วจงึ ระบายนำ้ ลงทะเลเม่อื ปริมาณนำ้ ทะเลลดลง โดยลักษณะและ
วธิ กี ารของโครงการแกม้ ลิง คอื ดำเนินการระบายนำ้ ออกจากพน้ื ทีต่ อนบนให้ไหลไปตามคลองในแนว
เหนือ-ใตล้ งคลอง พักนำ้ ขนาดใหญท่ บี่ ริเวณชายทะเล เช่น คลองชายทะเลของฝง่ั ตะวันออก ซึง่ จะทำ
หน้าที่เป็นบอ่ เก็บนำ้ ทีม่ ีขนาดใหญ่ คือ แก้มลิงตอ่ ไป และเม่อื ระดับน้ำทะเลลดตำ่ ลงกวา่ ระดับน้ำใน
คลอง ก็ทำการระบายนำ้ จากคลองดงั กล่าวออกทางประตรู ะบายนำ้ โดยใช้หลักการทฤษฎแี รงโน้มถ่วง
ของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติเพือ่ สบู น้ำออกจากคลองที่ทำหนา้ ที่แก้มลิงน้ี ให้ระบายออกใน
ระดับต่ำทส่ี ุดออกสทู่ ะเล เพ่อื จะได้ทำให้น้ำตอนบนคอ่ ย ๆ ไหลมาเองตลอดเวลาส่งผลให้ปริมาณนำ้ ทว่ ม
พืน้ ที่ลดน้อยลง จากนั้นเมือ่ ระดบั น้ำทะเลสงู กวา่ ระดับน้ำในลำคลองใหท้ ำการปิดประตูระบายนำ้ เพอื่
ปอ้ งกนั มิให้นำ้ ย้อนกลับ โดยยึดหลักนำ้ ไหลทางเดียว (One Way Flow)

ท่มี า : http://www.chaipat.or.th

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 242

3. ครูถามคำถามเพอ่ื วิเคราะหค์ วามรเู้ พิ่มเติม เช่น
3.1 ลักษณะของการเกดิ อทุ กภยั ในปจั จบุ ันเปน็ อย่างไร (แนวตอบ การเกิดอุทกภยั ในพื้นทต่ี ่าง

ๆ ของโลก รวมถึงประเทศไทยในปัจจุบนั มลี ักษณะแบบฉับพลนั และมีความรนุ แรงมากกวา่ ในอดีต
เนอ่ื งจากฝนทตี่ กตอ่ เนอ่ื งเป็นเวลานานจากพายหุ มนุ เขตร้อนต่าง ๆ)

3.2 การปอ้ งกันและแกไ้ ขพืน้ ที่จากอุทกภยั สามารถทำไดอ้ ยา่ งไร จงยกตวั อย่าง (แนวตอบ ช่น
การปลกู หญ้าแฝกรมิ ตลิ่งเพอ่ื ป้องกนั การกดั เซาะของนำ้ การกำหนดพืน้ ที่ท่ไี ม่ได้ใช้ประโยชน์ใหเ้ ป็นแหลง่
กกั เก็บน้ำหรือแกม้ ลงิ การขุดลอกคูคลองเพื่อใหร้ ะบายน้ำไดอ้ ยา่ งเต็มประสทิ ธิภาพ รวมถงึ การไม่ตดั ไม้
ทำลายปา่ ซ่ึงเปน็ พืน้ ทีด่ ูดซบั และชะลอการไหลของน้ำอยา่ งด)ี

4. ครใู ห้นักเรยี นวิเคราะห์เชือ่ มโยงความรกู้ บั ประเด็นการศกึ ษาของกลมุ่ ตนเองเพ่มิ เติม
ข้นั ท่ี 5 การสรปุ เพ่อื ตอบคำถาม
1. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอข้อมูลจากการศกึ ษา พรอ้ มทั้งอภปิ รายแสดงความคิดเห็น
รว่ มกัน
2. ครูให้สมาชิกในแต่ละกลุม่ ช่วยกันสรปุ สาระสำคัญเพ่อื ตอบคำถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์
3. ครูให้นักเรยี นร่วมกนั ทำใบงานที่ 5.3 เรื่อง ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางอทุ กภาค
4. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ สมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เกี่ยวกบั ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางอทุ กภาค
โดยครูแนะนำเพม่ิ เตมิ
ขั้นสรปุ
ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้เกยี่ วกับภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางอุทกภาค ตลอดจนความสำคญั ท่ี
มีอิทธพิ ลตอ่ การดำเนินชวี ติ ของประชากร หรอื ใช้ PPT สรปุ สาระสำคญั ของเนอื้ หา
ขั้นประเมิน
1. ครูประเมินผลโดยสงั เกตจากการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำงาน และการนำเสนอผลงานหน้า
ชน้ั เรยี น
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน และแบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6

8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
1. ส่อื การเรียนรู้
- นังสอื เรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6
- แบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6
- หนงั สอื คน้ คว้าเพม่ิ เติม
⬧ โครงการตำราวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. 2557. ภมู ิศาสตร์กายภาพ.
กรงุ เทพมหานคร : ด่านสทุ ธาการพิมพ.์
⬧ ดนัย ไชยโยธา. 2554. ภมู ิศาสตรท์ วีปเอเชยี . กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
⬧ ประสิทธ์ิ ทีฆพุฒิ และศุภฤกษ์ ตันศรีรตั นวงศ์. (ม.ป.ป.). คูม่ อื เตือนภัยพบิ ตั ิทาง
ธรรมชาติ. กรงุ เทพมหานคร : ดอกหญ้า.

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 243

⬧ ไพบูลย์ บญุ ไชย. 2550. ภูมิศาสตร์ภูมภิ าค. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
- เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ ได้แก่ แผนท่ี ลกู โลกจำลอง รปู ถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม
- ใบงานท่ี 5.3 เรอื่ ง ภยั พิบัติธรรมชาติทางอทุ กภาค
2. แหล่งการเรยี นรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ

⬧ http://earth.google.co.th
⬧ http://maps.google.co.th
⬧ http://www.dmr.go.th
⬧ https://www.tmd.go.th
⬧ http://www.ndwc.go.th
⬧ https://www.thairath.co.th

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 244

9. การวัดและการประเมินผล

รายการวัด วิธีวดั เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน

1. การวดั และประเมินผลระหวา่ ง - ใบงานที่ 5.3 - ร้อยละ 60
ผา่ นเกณฑ์
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ - แบบประเมนิ
การนำเสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2
- วเิ คราะห์ลกั ษณะทางกายภาพที่ - ตรวจใบงานท่ี 5.3 - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานรายบุคคล - ระดับคณุ ภาพ 2
ทำให้เกิดปัญหาหรือภยั พิบัติ - แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
การทำงานกล่มุ - ระดับคุณภาพ 2
ธรรมชาติทางอุทกภาคในประเทศ - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
คุณลกั ษณะ - ระดบั คุณภาพ 2
ไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกได้ อันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
- แบบประเมนิ การใช้ - ระดับคุณภาพ 2
- วิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกิดจากภยั เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ผา่ นเกณฑ์

พบิ ัติธรรมชาติทางอุทกภาคได้ง

- เสนอแนวทางปอ้ งกันในตนเอง

และระวงั ภัยพิบัติธรรมชาติทาง

อุทกภาคได้

- การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ

ผลงาน

- พฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤตกิ รรม

การทำงานรายบุคคล

- พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สังเกตพฤติกรรม

การทำงานกลุม่

- คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - สงั เกตความใฝ่เรียนรู้

และมงุ่ ม่ันใน

การทำงาน

2. การรู้เร่อื งภูมิศาสตร์ - ประเมินการใช้

เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 245

10. บนั ทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้
1.1 นักเรียนทผี่ ่านตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้
มีจำนวน............................................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.............................................
1.2 นกั เรยี นท่ีไมผ่ า่ นตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้
มจี ำนวน............................................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.............................................
คอื ...............................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
พฤติกรรมการเรยี นรู้...................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.3 นักเรยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ คือ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
แนวทางการสง่ เสรมิ ....................................................................................................
....................................................................................................................................
1.4 นกั เรยี นไดร้ บั ความรู้
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.5 นกั เรียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.6 นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
2. ปญั หาและอปุ สรรค
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 246

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชอื่ .......................................................ผูส้ อน
(นางสาวรชนีกร จันทร์พิทกั ษ์)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
วนั ท.่ี .......... เดอื น.........................พ.ศ. ..............

11. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงช่ือ.........................................................
()

ตำแหน่ง........................................................
วันที่........... เดือน......................... พ.ศ. ..............

12. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศึกษา/ผ้ทู ่ีไดร้ บั มอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................................
()

ตำแหนง่ ................................................................
วันที่........... เดอื น......................... พ.ศ. ...............

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 247

ใบงานที่ 5.3
เร่ือง ภัยพิบัติธรรมชาติทางอทุ กภาค

คำชแ้ี จง : ให้นักเรียนสืบคน้ ขา่ วทีเ่ ก่ยี วกับภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางอุทกภาคทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย
แล้วตอบคำถามในประเด็นตอ่ ไปน้ี

แหล่งทมี่ าของขา่ ว ………………………………………….………

ขา่ วนี้ คือ………………...……………………………………………………………………………………………………………………………...
1. ลักษณะทางกายภาพมผี ลต่อการเกิดภัยพบิ ตั ิตามขา่ วอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ภยั พิบตั ิทีเ่ กดิ ขน้ึ ส่งผลกระทบอยา่ งไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เราสามารถปอ้ งกันตนเองและระวงั ภยั จากภัยพบิ ัติน้ีไดอ้ ย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 248

เฉลยใบงานท่ี 5.3
เร่อื ง ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางอทุ กภาค

คำช้แี จง : ให้นักเรยี นสืบคน้ ขา่ วท่ีเกี่ยวกบั ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางอทุ กภาคทเ่ี กิดข้นึ ในประเทศไทย
แลว้ ตอบคำถามในประเด็นตอ่ ไปนี้

แหลง่ ทมี่ าของข่าว ………เ…ว…บ็ ไ…ซ…ต…ม์ ต…ชิ …น…อ…อน…ไ…ล…น…์ .………

ข่าวน้ี คือ……………ข่า…ว…น…้ำท…่ว…ม…ท…่ีจัง…ห…วัด…พ…ร…ะ…น…คร…ศ…ร…อี ย…ธุ …ย…า …………………………………………...………………………………...
1. ลกั ษณะทางกายภาพมีผลต่อการเกิดภยั พิบตั ิตามขา่ วอย่างไร
…เป…น็ …ท…รี่ …าบ…ล…ุ่ม…แ…ละ…ใ…กล…แ้ …ห…ล…ง่ น…ำ้ …เ…ม…ือ่ ถ…งึ …ฤ…ดูฝ…น…จ…ึงท…ำ…ใ…ห้ม…ีน…้ำ…จ…ำน…ว…น…ม…าก…เอ…่อ…ล…น้ …จา…ก…แ…ม…่น้ำ…ไ…หล…ม…า…รว…ม…ก…นั …ท…ี่บร…เิ …วณ…น้ีและ
…ม…กี …าร…ส…ร้า…ง…ถน่ิ…ฐ…า…น…ร…วม…ถ…ึง…ส่ิง…ก…่อ…สร…า้ …งต…า่ …ง…ๆ…ข…ว…าง…ท…า…งผ…่า…นข…อ…ง…น…้ำท…ำ…ให…น้ …ำ้ …ไม…่ส…า…มา…ร…ถร…ะ…บ…าย…ไ…ด…้ จ…น…เก…ดิ …น…ำ้ ท…่ว…ม…ข้นึ…
2. ภัยพิบัตทิ ีเ่ กิดขึ้นสง่ ผลกระทบอย่างไรบ้าง
…ก…ระ…ท…บ…ต…่อ…กา…ร…ด…ำเ…น…ินช…ีว…ิต…แล…ะ…ป…ร…ะก…อ…บ…อ…าช…ีพ…ท…ำ…ใ…ห้เ…ด…นิ …ทา…ง…ล…ำบ…า…ก…ข…าด…แ…ค…ล…น…อา…ห…า…ร …น…้ำด…่มื …ย…า…รัก…ษ…า…โร…ค…แ…ล…ะ…
…ข…อ…งย…งั …ชพี…อ…่ืน…ๆ……รว…ม…ถ…งึ ท…ำ…ให…้เ…กดิ…โ…รค…ร…ะ…บ…าด…อ…กี …ด…ว้ ย….……………………………………………………………………………………
3. เราสามารถปอ้ งกนั ตนเองและระวงั ภัยจากภยั พิบตั ิน้ไี ด้อย่างไร
…ห…ล…ีกเ…ล…่ยี ง…ก…าร…ส…ร…า้ ง…ท…อ่ี …ย่อู…า…ศ…ยั ท…ี่ใ…ก…ล้ก…ับ…ท…า…งผ…า่ …น…ขอ…ง…น…้ำ…ต…ิด…ตา…ม…ส…ถา…น…ก…าร…ณ…น์ …ำ้ …ท…่วม…อ…ย…่าง…ใ…กล…้ช…ิด…เ…ตร…ีย…ม…อ…าห…า…ร……
…เค…ร…ื่อ…งด…่ืม…ย…า…รัก…ษ…า…โร…ค…แ…ล…ะ…สิง่…ข…อ…งจ…ำ…เป…็น…ต…า่ ง…ๆ……น…อก…จ…า…กน…ี้…ต…้อง…ร…ะม…ัด…ร…ะ…วงั …โร…ค…ระ…บ…า…ด…ท่ีอ…า…จ…มา…ก…บั …น…ำ้ ท…่ว…ม…………

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 249

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางชีวภาค

รายวชิ า ส 32101 สงั คมศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ เวลาเรียน 8 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางชีวภาค เวลาเรยี น 2 ช่วั โมง

ภาคเรยี นท่ี 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ครผู ูส้ อน นางสาวรชนกี ร จันทร์พทิ กั ษ์

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธข์ องสรรพส่งิ ซง่ึ มผี ลต่อกัน
ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมลู
ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ตวั ชีว้ ดั ม. 4-6/2 วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพซ่ึงทำให้เกิดปัญหาและภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติใน
ประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก
มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างมนษุ ย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพทกี่ ่อให้เกดิ
การสรา้ งสรรค์วิถกี ารดำเนินชีวติ มจี ิตสำนึกและมีสว่ นร่วมในการจัดการ
ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม เพอื่ การพัฒนาที่ยง่ั ยืน
ตัวชว้ี ดั ม. 4-6/2 วิเคราะหส์ ถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงดา้ น
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
1. ลกั ษณะทางกายภาพท่ีแตกตา่ งกันส่งผลให้เกิดปัญหาและภยั พบิ ัติธรรมชาติทางชีวภาคท่ี

แตกตา่ งกนั ท้ังในดา้ นประเภท ความถ่ี และความรุนแรง
2. กจิ กรรมของมนุษยเ์ ป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

ส่งิ แวดล้อมของประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบทัง้ ในระดับประเทศ ภูมิภาค
และโลก

3. สาระการเรยี นรู้
1. ปญั หาทางกายภาพและภยั พิบัติทางธรรมชาตใิ นประเทศและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก
2. สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ได้แก่ การเปล่ียนแปลง

สภาพภมู ิอากาศ ความเสื่อมโทรมของส่งิ แวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชีวภาพ และภยั พบิ ตั ิ

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 250

3. การจดั การภัยพบิ ัติ

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. วิเคราะหล์ ักษณะทางกายภาพท่ีทำให้เกิดปัญหา หรือภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาคในประเทศ

ไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกได้ (K)
2. วเิ คราะหผ์ ลกระทบที่เกิดจากภยั พบิ ัตธิ รรมชาติทางชวี ภาคได้ (K)
3. เสนอแนวทางป้องกันในการป้องกันตนเองและระวังภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาคได้ (P)
4. สนใจศกึ ษาเกี่ยวกับภัยพิบัตธิ รรมชาติทางชีวภาคเพือ่ นำมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพม่ิ มากขนึ้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

6. การรเู้ ร่อื งภมู ิศาสตร์ (Geo–Literacy)

ความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ทกั ษะทางภูมศิ าสตร์
1. การแปลความข้อมลู ทาง
1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การต้งั คำถามเชิงภมู ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์
2. การคิดเชิงพืน้ ท่ี
และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การคิดแบบองค์รวม
4. การใช้สถติ ิพน้ื ฐาน
2. การใหเ้ หตุผลทางภมู ศิ าสตร์ 3. การจัดการข้อมลู

3. การตัดสนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล

5. การสรปุ เพ่อื ตอบคำถาม

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนแบบกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process)
ข้ันนำ

1. ครูแจง้ ให้นกั เรียนทราบถงึ วธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Inquiry
Process) ช่อื เรือ่ งที่จะเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้

2. ครใู หน้ กั เรยี นดูสัญลักษณ์สามเหลยี่ มไฟจากหนงั สอื เรยี นภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 แลว้ ร่วมกนั
อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ เกีย่ วกับสญั ลักษณ์ดงั กลา่ ว

3. ครใู หน้ กั เรยี นดภู าพ หรือคลิปวิดโี อที่เก่ยี วขอ้ งกับภัยพบิ ัติธรรมชาติทางชีวภาคในประเทศไทย
และประเทศตา่ ง ๆ เชน่

- ภยั แล้งคุกคามแอฟริกาตะวนั ออก เปน็ ภยั แลง้ ท่ีรุนแรงในรอบ 60 ปี
- ภัยแลง้ ใน 44 จงั หวดั ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556-2557

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 251

4. ครถู ามคำถามกระตุ้นความคดิ โดยให้นกั เรียนรว่ มกันตอบคำถามเพ่ิมเตมิ
ขั้นสอน

ข้ันท่ี 1 การตั้งคำถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครใู ห้นักเรียนดูแผนที่แสดงพืน้ ทีเ่ สย่ี งการเกิดไฟปา่ ของโลก จากหนงั สอื เรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6
แล้วร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั แผนที่ดังกล่าว
2. ครูสมุ่ ถามนักเรียนถึงตวั อยา่ งเหตุการณ์การเกิดไฟป่าท่ีเกดิ ขนึ้ ในโลกตามความรจู้ ักของ
นักเรยี น รวมถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นจากเหตุการณ์ดังกล่าวเพม่ิ เตมิ
3. ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับการปฏิบตั ิตนในกรณีประสบภัยพิบัติ ทั้ง
ในช่วงกอ่ นเกดิ ภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกดิ ภัย
4. ครูให้นกั เรยี นดูแผนท่ีแสดงพื้นที่เสย่ี งการเกดิ ไฟป่าในประเทศไทย จากหนงั สอื เรียนภมู ศิ าสตร์
ม.4-6 แล้วรว่ มกันอภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติม
5. ครกู ระตุ้นให้นกั เรยี นช่วยกันต้งั ประเด็นคำถามเชิงภูมิศาสตร์ เชน่

5.1 ลกั ษณะทางกายภาพส่งผลให้เกิดปญั หา หรอื ภยั พิบัติธรรมชาติทางชวี ภาคในประเทศไทย
และภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกอย่างไรบา้ ง

5.2 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาคท่ีเกิดข้ึนในภูมภิ าคตา่ ง ๆ มีความเหมือนหรอื ความแตกตา่ ง
กันอย่างไร

5.3 ผลกระทบสำคญั จากภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาคคืออะไร
5.4 แนวทางหรอื วิธกี ารป้องกันภยั พบิ ัติธรรมชาติทางชีวภาคสามารถทำได้อย่างไร
6. ครูอาจใหน้ ักเรยี นศึกษา Geo Question จากหนงั สือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 ประกอบการตัง้
คำถามทางภูมศิ าสตรเ์ พ่มิ เติม
ขัน้ ที่ 2 การรวบรวมขอ้ มลู
1. ครใู หน้ ักเรียนแบ่งกล่มุ สืบค้นขอ้ มูลเกี่ยวกับภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค จากหนงั สือเรยี น
ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนร้อู ่นื ๆ เช่น หนงั สือในหอ้ งสมุด เวบ็ ไซต์ในอนิ เทอรเ์ นต็ ใน
ประเด็นต่อไปนี้
1.1 ภัยแลง้
1.2 ไฟปา่
2. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาข้อมูลในหัวขอ้ ที่รบั ผดิ ชอบ โดยนำความรู้เก่ยี วกับเคร่ืองมือ
ทางภูมศิ าสตร์มาใช้ประกอบในการศึกษา โดยครแู นะนำแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศที่เชอื่ ถอื ไดเ้ พ่มิ เตมิ
3. ครอู าจใหน้ ักเรยี นศึกษา Geo Tip เก่ียวกับปัจจยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความรนุ แรงของภัยแล้ง และเสน้
เวลาแสดงภัยแล้งของประเทศไทยในชว่ ง พ.ศ. 2520-2560 จากหนังสือเรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6
ประกอบการรวบรวมข้อมูลเพิม่ เตมิ

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 252

ขน้ั ที่ 3 การจัดการข้อมูล
1. สมาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ นำขอ้ มูลท่ตี นได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรรู้ ะหวา่ งกนั
2. จากน้ันสมาชกิ ในกลุม่ ชว่ ยกันคดั เลอื กข้อมูลท่ีนำเสนอเพ่อื ให้ไดข้ ้อมูลทถี่ ูกต้อง และร่วม
อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เพิม่ เติม
ข้ันที่ 4 การวเิ คราะห์และแปลผลขอ้ มลู
1. ครใู ห้นกั เรียนดูภาพตวั อยา่ งทีก่ ำหนดให้ แลว้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพมิ่ เตมิ

2. ครถู ามคำถามเพื่อวิเคราะหค์ วามร้เู พ่มิ เติม เช่น
2.1 การเกดิ ความแห้งแล้งในประเทศไทยเกยี่ วขอ้ งกับปฏสิ มั พันธ์ทางภูมศิ าสตรใ์ นด้านใด

และมีลกั ษณะอยา่ งไร (แนวตอบ การเกิดความแห้งแล้งในประเทศไทยเกย่ี วขอ้ งกบั ปฏสิ มั พันธท์ าง
ภมู ศิ าสตร์ในส่วนของบรรยากาศภาค กลา่ วคือ ช่วงเวลาการปกคลมุ พนื้ ทีข่ องลมมรสุมมีอิทธิพลอย่างยง่ิ ต่อ
การเกิดความแหง้ แล้งในประเทศไทย เม่ือลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใตอ้ อ่ นกำลงั ลงปกคลมุ พนื้ ท่ใี นระยะเวลา
สั้นลง หรือลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ท่นี ำความหนาวเย็นแหง้ แลง้ จากตอนเหนือของทวีปทม่ี ีกำลงั แรง
หรือพัดมาเร็วกว่าปกติ ก็ทำให้เกดิ ความแห้งแลง้ ขึ้นได้ นอกจากน้ี การเกิดพายุหมนุ เขตร้อนที่มีอทิ ธิพลต่อ
ปรมิ าณนำ้ ฝนในประเทศไทยนอ้ ยกว่า 2 ลกู ก็อาจสง่ ผลใหใ้ นปีนัน้ เกิดความแห้งแลง้ ข้ึนได้)

2.2 พน้ื ทีบ่ ริเวณใดของประเทศไทยทีม่ กั ประสบปัญหาความแหง้ แล้ง และมสี าเหตมุ าจากส่งิ
ใด (แนวตอบ พื้นท่ที ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากภัยแลง้ มาก ไดแ้ ก่ บริเวณภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนกลาง
เพราะเปน็ บรเิ วณทอี่ ิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เขา้ ไปไมถ่ ึง และถ้าปีใดที่ไม่มพี ายหุ มนุ เขตร้อน
เคลอ่ื นผ่านในแนวดังกลา่ วแล้ว จะกอ่ ใหเ้ กิดภยั แล้งรุนแรงมากยงิ่ ขึ้น)

2.3 ไฟป่าสามารถเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตไิ ดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ ไฟป่าสามารถเกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ โดยมีสาเหตุ เชน่ การเกิดฟ้าผ่าทำให้ต้นไมเ้ กิดไฟไหม้ มักเกิดขน้ึ มากในปา่ ไมเ้ ขตอบอนุ่
ของสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา การเสียดสีกันของกงิ่ ไมแ้ หง้ ในชว่ งเวลาทีอ่ ากาศรอ้ นและแห้งแล้ง
มักเกิดข้ึนในพนื้ ทปี่ ่าทม่ี ีไมข้ นึ้ อยู่หนาแนน่ เชน่ ป่าไผ่และป่าสน)

2.4 ไฟปา่ กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างไรบ้าง อธบิ ายพรอ้ มยกตวั อยา่ งพอสงั เขป
(แนวตอบ ไฟป่ามีผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศหลายประการ เนื่องด้วยป่าไมเ้ ปน็ แหล่งของความสมั พนั ธ์ของ
ส่งิ มชี ีวิตท้ังพชื และสัตว์ต่าง ๆ ตวั อย่างของผลกระทบ เช่น การสญู พนั ธุ์ของพชื จากการถกู เผาไหม้ การสญู
พันธุข์ องสตั ว์จากการถูกทำลายทอี่ ยู่อาศยั และแหลง่ อาหาร การเกดิ มลพิษทางอากาศจากแก๊สและเถ้าถ่าน

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 253

ของการเผาไหม้ การขาดแหลง่ ป่าไมท้ ี่เป็นต้นนำ้ ลำธาร และการสญู เสียความอุดมสมบูรณ์ของดนิ จากการท่ี
หนา้ ดินถกู เผาทำลาย)

3. ครูให้นักเรียนวเิ คราะหเ์ ช่ือมโยงความรู้กับประเด็นการศึกษาของกลุ่มตนเองเพมิ่ เติม
ข้นั ที่ 5 การสรปุ เพ่ือตอบคำถาม
1. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นำเสนอขอ้ มูลจากการศกึ ษา พร้อมทงั้ อภิปรายแสดงความคดิ เหน็
รว่ มกัน
2. ครูใหส้ มาชกิ ในแต่ละกล่มุ ช่วยกันสรุปสาระสำคัญเพื่อตอบคำถามเชงิ ภูมิศาสตร์
3. ครูให้นักเรยี นรว่ มกันทำใบงานที่ 5.4 เรื่อง ภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างชีวภาค
4. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6 เก่ียวกับภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาค
โดยครแู นะนำเพิ่มเติม
5. ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนทำช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ด้วยการทำรายงานสรุปผลการสืบค้น
ขอ้ มลู เรอ่ื ง ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ โดยใช้ความรู้เรื่องภูมศิ าสตรส์ รุปด้วยประเดน็ ตอ่ ไปนี้

5.1 สรุปผลการสืบค้นลักษณะทางกายภาพซึ่งทำให้เกิดปัญหาหรือภัยพบิ ัติทางธรรมชาตใิ น
ประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก

5.2 การดำเนนิ การตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์
5.3 การใช้เทคนคิ และเครื่องมอื ทางภูมิศาสตรส์ ืบคน้ และรวบรวมขอ้ มลู ลกั ษณะทางกายภาพ
ซ่ึงทำให้เกดิ ปัญหาหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ และเสนอแนวทางการป้องกันระวงั ภัย
6. ใหน้ ักเรียนทำแบบวดั ฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เก่ยี วกับเรอื่ งภยั พิบัตทิ างธรรมชาติเพ่ือทดสอบ
ความรทู้ ไี่ ด้ศึกษามา โดยจัดทำเปน็ การบ้านเพอ่ื ส่งครใู นชั่วโมงถัดไป
ขนั้ สรปุ
ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้เก่ยี วกบั ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ ตลอดจนความสำคัญทมี่ ี
อิทธิพลตอ่ การดำเนนิ ชีวิตของประชากร หรอื ใช้ PPT สรปุ สาระสำคัญของเน้อื หา
ข้ันประเมิน
1. ครปู ระเมนิ ผลโดยสังเกตจากการตอบคำถาม การรว่ มกนั ทำงาน และการนำเสนอผลงานหนา้
ชัน้ เรียน
2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงาน และแบบฝกึ สมรรถนะฯ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6
3. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 เรือ่ ง ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ

8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ส่ือการเรียนรู้
- หนงั สอื เรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6
- แบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6
- หนังสือค้นควา้ เพิ่มเติม

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 254

⬧ โครงการตำราวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์มลู นธิ ิ สอวน. 2557. ภูมิศาสตร์กายภาพ.
กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์.

⬧ ดนยั ไชยโยธา. 2554. ภมู ิศาสตรท์ วีปเอเชยี . กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
⬧ ประสทิ ธิ์ ทฆี พุฒิ และศุภฤกษ์ ตนั ศรีรตั นวงศ์. (ม.ป.ป.). คู่มอื เตือนภยั พิบตั ทิ าง

ธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : ดอกหญา้ .
⬧ ไพบูลย์ บญุ ไชย. 2550. ภมู ิศาสตรภ์ มู ิภาค. กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์.
- เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ แผนที่ ลกู โลกจำลอง รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม
- ใบงานท่ี 5.4 เรอื่ ง ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางชวี ภาค
2. แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมดุ
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
⬧ http://earth.google.co.th
⬧ http://maps.google.co.th
⬧ http://www.dmr.go.th
⬧ https://www.tmd.go.th
⬧ http://www.ndwc.go.th
⬧ https://www.thairath.co.th

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 255

9. การวัดและการประเมินผล

รายการวดั วิธีวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน

1. การวัดและประเมนิ ผลระหว่าง - ใบงานที่ 5.4 - รอ้ ยละ 60
ผ่านเกณฑ์
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - แบบประเมนิ
การนำเสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2
- วเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพที่ - ตรวจใบงานที่ 5.4 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานรายบุคคล - ระดบั คุณภาพ 2
ทำใหเ้ กิดปญั หาหรือภัยพบิ ัติ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
การทำงานกลุ่ม - ระดบั คุณภาพ 2
ธรรมชาติทางชีวภาคในประเทศ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์
คณุ ลกั ษณะ - ระดับคุณภาพ 2
ไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลกได้ อนั พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
- แบบทดสอบหลงั เรยี น - ร้อยละ 60
- วิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีเกิดจากภยั ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมินการใช้
พบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาคได้ เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ - ระดับคณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
- เสนอแนวทางป้องกันตนเองและ

ระวงั ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค

ได้

- การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ

ผลงาน

- พฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรม

การทำงานรายบคุ คล

- พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สังเกตพฤตกิ รรม

การทำงานกลุม่

- คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - สงั เกตความใฝ่เรยี นรู้

และมุ่งมัน่ ใน

การทำงาน

2. การวัดและประเมนิ ผล - ตรวจแบบทดสอบ

หลังเรียน หลงั เรยี น

- แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วย

การเรยี นรู้ที่ 5 เร่ือง ภัยพบิ ัติทาง

ธรรมชาติ

3. การรู้เรื่องภมู ิศาสตร์ - ประเมินการใช้

เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 256

10. บนั ทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้
1.1 นักเรียนทผี่ ่านตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้
มีจำนวน............................................คน คดิ เป็นร้อยละ.............................................
1.2 นกั เรยี นท่ีไมผ่ า่ นตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้
มจี ำนวน............................................คน คิดเปน็ ร้อยละ.............................................
คอื ...............................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
พฤติกรรมการเรียนรู้...................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.3 นักเรยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ คือ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
แนวทางการสง่ เสรมิ ....................................................................................................
....................................................................................................................................
1.4 นกั เรยี นไดร้ บั ความรู้
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.5 นกั เรียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.6 นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
2. ปญั หาและอปุ สรรค
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 257

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชอื่ .......................................................ผูส้ อน
(นางสาวรชนีกร จันทร์พิทกั ษ์)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ
วนั ท.่ี .......... เดอื น.........................พ.ศ. ..............

11. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงช่ือ.........................................................
()

ตำแหน่ง........................................................
วันที่........... เดือน......................... พ.ศ. ..............

12. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศึกษา/ผ้ทู ่ีไดร้ บั มอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................................
()

ตำแหนง่ ................................................................
วันที่........... เดอื น......................... พ.ศ. ...............

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 258

แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5
เรอ่ื ง ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ

คำชีแ้ จง : ให้กา  ทับตัวอักษรหนา้ ขอ้ ความท่เี ปน็ คำตอบทถ่ี ูกทีส่ ดุ เพียงขอ้ เดยี ว

1. พายทุ อรน์ าโดในประเทศสหรฐั อเมรกิ ามักจะเกิดบรเิ วณที่มีลกั ษณะภูมิประเทศแบบใด

ก. ภูเขาสงู ข. เนินเขาเตยี้

ค. ท่ีราบกวา้ งใหญ่ ง. ที่ราบสงู ระหวา่ งภเู ขา

2. บคุ คลใดปฏบิ ัติตนเหมาะสมเม่ือเกิดวาตภัย

ก. นุ้ยผูกเรือแพไว้ท่เี สาบา้ น

ข. กฟ๊ิ เก็บของมีคา่ ไว้บนท่ีสงู

ค. ผงึ้ เปิดวิทยแุ ละอุปกรณ์ส่อื สารทุกชนดิ

ง. ปลาเตรยี มตะเกยี งไฟฉายและไมข้ ีดไฟไวใ้ หพ้ รอ้ ม

3. เพราะเหตใุ ดบริเวณพ้ืนท่รี าบล่มุ จงึ มกั เกดิ ปัญหาน้ำทว่ มอยู่บ่อยครงั้

ก. แม่น้ำตื้นเขนิ ข. พนื้ ที่มีขนาดกว้างขวาง

ค. พื้นดนิ เปน็ ดนิ เหนียวอมุ้ นำ้ ง. เป็นพื้นท่ีต่ำทำให้ระบายน้ำไมท่ ัน

4. การตดั สะพานไฟและปิดแก๊สหุงต้ม เป็นการปฏิบัติตนเพ่ือรับสถานการณ์ใด

ก. ไฟป่า ข. ภยั แล้ง

ค. อุทกภยั ง. ภเู ขาไฟปะทุ

5. ขอ้ ใดเป็นเหตใุ ห้ประชาชนละทงิ้ ถ่ินฐาน

ก. ไฟป่า ข. ภัยแล้ง

ค. อทุ กภยั ง. ภูเขาไฟปะทุ

6. การทีป่ ระเทศไทยประสบปญั หาภยั แลง้ เกิดจากสาเหตุใด

ก. ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ข. บรรยากาศช้ันโอโซนถกู ทำลาย

ค. ระดับนำ้ ในแมน่ ้ำลดลงอย่างตอ่ เนอื่ ง ง. การเปลีย่ นแปลงของระดับอณุ หภมู ลิ ดลง

7. การเกิดไฟป่าลกุ ลามอย่างรนุ แรงและรวดเรว็ ส่วนใหญ่เกดิ บรเิ วณพ้ืนท่ีแบบใด

ก. ทรี่ าบสูง ข. ทีล่ าดชัน

ค. ทแี่ ห้งแลง้ แบบทะเลทราย ง. ที่ราบลุ่ม

8. เพราะเหตใุ ดประเทศออสเตรเลยี จงึ มักเกิดปัญหาจากสถานการณ์ไฟไหม้ป่าเป็นประจำ

ก. ภาวะโลกร้อน ข. ปรากฏการณเ์ อลนีโญ

ค. ลักษณะกายภาพอยู่ในเขตแหง้ แล้ง ง. ลกั ษณะทางธรรมชาติของพืชที่ติดไฟง่าย

9. จดุ เสี่ยงตอ่ การเกิดแผน่ ดนิ ไหว มักจะเกดิ ข้ึนบริเวณใด

ก. หุบเขาลกึ ข. เชิงเขาลาดชัน

ค. ทะเลทรายแห้งแลง้ ง. บริเวณรอยเลอ่ื นของแผน่ เปลอื กโลก

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 259

10. ถ้าเกิดแผน่ ดนิ ไหวในขณะทีน่ กั เรยี นอยบู่ นอาคารสงู ควรปฏิบัตติ นอย่างไร

ก. มดุ เข้าใตโ้ ต๊ะภายในอาคาร ข. รบี ลงช้ันล่างโดยใชล้ ิฟต์ในอาคาร

ค. รีบวิ่งลงบันไดตามทางออกฉุกเฉิน ง. ไปทห่ี นา้ ตา่ งเพอ่ื ขอความชว่ ยเหลือ

11. เพราะเหตุใดก่อนภเู ขาไฟระเบดิ มกั จะมีแผ่นดินไหว

ก. หินหนดื เคล่อื นตัว ข. เกิดคลืน่ ลมในทะเล

ค. การปรับตวั ของชั้นหนิ ง. หินหนืดแต่ละชน้ั ขยายตวั ตา่ งกัน

12. ข้อใดกล่าวถึงแหล่งเกิดภเู ขาไฟปะทไุ ด้ถกู ตอ้ ง

ก. ภูเขาไฟเมอราปี– มาเลเซีย ข. ภเู ขาไฟมาโยน–ฟิลิปปินส์

ค. ภูเขาไฟกรากะตัว–จาการ์ตา ง. ภเู ขาไฟเตอร์เรียลบา–อินโดนเี ซีย

13. การลดระดับของนำ้ ทะเลอยา่ งรวดเรว็ มโี อกาสเกดิ ภยั พิบตั ิในขอ้ ใด

ก. พายุ ข. ไฟป่า

ค. สนึ ามิ ง. แผ่นดินไหว

14. บุคคลใดป้องกนั ตนจากคล่นื สนึ ามิได้เหมาะสมที่สดุ

ก. นำ้ สรา้ งบ้านใกลช้ ายฝ่งั ทะเล ข. ทัดชอบดำนำ้ ดูปะการงั ใต้ทะเล

ค. ดลติดตามข่าวอากาศอยา่ งใกล้ชดิ ง. อรคอยจบั ปลาเม่อื นำ้ ทะเลลดระดับ

15. สถานการณก์ ารเกิดแผ่นดนิ ถล่มในตา่ งประเทศและในประเทศไทยส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุใดมากทส่ี ุด

ก. ฝนตกหนกั ข. แผน่ ดนิ ไหว

ค. การกดั เซาะของฝ่ังแมน่ ้ำ ง. การขดุ ดินบริเวณไหลเ่ ขา

16. กจิ กรรมใดของมนุษย์ เปน็ ปจั จัยท่ีทำให้เกิดสถานการณ์แผน่ ดนิ ถลม่ เพ่มิ มากข้ึน

ก. การทำฝนเทยี ม ข. การทำไรเ่ ล่อื นลอย

ค. การสร้างเขื่อนกนั้ น้ำ ง. การเกบ็ ของป่าและลา่ สตั ว์

17. ข้อใดเป็นสาเหตขุ องการเกิดสึนามแิ ละแผ่นดินไหว

ก. การปะทุของหนิ หนืด ข. การเกดิ แรงโน้มถ่วงโลก

ค. การทดลองระเบดิ นิวเคลียร์ ง. การเปล่ยี นแปลงของน้ำใต้ดิน

18. เพราะเหตใุ ดบรเิ วณรอยตอ่ ของแผ่นเปลอื กโลก จงึ มีโอกาสเกดิ แผ่นดินไหวมากกว่าบรเิ วณอ่ืน

ก. การเคล่ือนทขี่ องหนิ หนืด ข. แรงสนั่ สะเทือนของภเู ขาไฟระเบิด

ค. เปลอื กโลกมกี ารเคลือ่ นท่ีตลอดเวลา ง. โครงสรา้ งของหินหนืดมคี วามแตกตา่ งกนั

19. ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาตใิ นประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก เกิดจากปัจจยั ทางกายภาพข้อใด

ก. ลม ดนิ น้ำ ข. บรรยากาศภาค

ค. ธรณภี าค อทุ กภาค ง. ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ

20. อุทกภัยประเภทใดท่ีเปน็ สาเหตุทำให้เกดิ โรคระบาดในพนื้ ท่ีมากท่ีสดุ

ก. นำ้ ท่วมขงั ข. นำ้ ล้นตลิ่ง

ค. นำ้ ท่วมฉบั พลัน ง. น้ำปา่ ไหลหลาก

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 260

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5
เรือ่ ง ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ

ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เฉลย ค ง ง ค ข ก ข ง ง ก

ข้อ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
เฉลย ก ข ค ค ก ข ค ค ง ก

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 261

ใบงานท่ี 5.4
เร่อื ง ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางชวี ภาค

คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนสบื คน้ เหตุการณ์ภยั พิบัติธรรมชาติทางชวี ภาค จัดทำในรูปแบบภาพวาดแผนที่
แสดงตำแหน่งท่ีเกดิ เหตกุ ารณ์ พร้อมทั้งบอกสาเหตุ ผลกระทบ และการจัดการภยั พิบัติดงั กล่าว

1. เหตุการณ์ภัยพบิ ัติดงั กล่าวคือเหตุการณ์ใด เกิดขึ้นในบริเวณใด และมสี าเหตุจากสิง่ ใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ภัยพิบัติทเ่ี กิดขึ้นส่งผลกระทบอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. แนวทางการจัดการและระวังภัยจากภยั พิบัตินี้สามารถทำไดอ้ ยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 262

เฉลยใบงานท่ี 5.4
เรื่อง ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางชีวภาค

คำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นสืบคน้ เหตกุ ารณ์ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาค จดั ทำในรปู แบบภาพวาดแผนที่
แสดงตำแหนง่ ทีเ่ กิดเหตุการณ์ พร้อมท้งั บอกสาเหตุ ผลกระทบ และการจัดการภยั พบิ ตั ิดังกลา่ ว
(ตวั อย่าง)

1. เหตกุ ารณ์ภัยพิบัตดิ ังกล่าวคอื เหตกุ ารณ์ใด เกิดขึ้นในบรเิ วณใด และมสี าเหตุจากสงิ่ ใด
…เ…ห…ตุก…า…รณ……ภ์ ัย…แ…ล…ง้ ค…ร…ัง้ …ให…ญ…ใ่ …นท…ว…ปี …แ…อ…ฟร…ิก…า…พ….ศ….…2…55…4…เ…ก…ดิ ข…้ึน…บ…ร…เิ ว…ณ…จ…ะง…อ…ย…แอ…ฟ…ร…กิ …า…เ…ชน่……ใน…แ…ถ…บ…ป…ระ…เท…ศ…จ…ิบ…ูตี
…โ…ซ…มา…เล…ยี …เ…อ…ธิโ…อ…เป…ีย…เ…คน…ย…า…ม…ีส…า…เห…ต…จุ า…ก…ป…รา…ก…ฏ…ก…าร…ณ…ล์ …า…นญี……า …ท…ำใ…ห…้ฝน…ไ…ม…่ตก…ต…า…ม…ฤด…กู …า…ล………………………………

2. ภยั พบิ ตั ทิ ่ีเกิดขึน้ สง่ ผลกระทบอย่างไร
……ทำ…ใ…ห้ป…ร…ะ…ช…าช…น…ใน…แ…ถ…บ…จะ…ง…อ…ยแ…อ…ฟ…ร…ิกา…ข…า…ดแ…ค…ล…น…อา…ห…า…รแ…ล…ะ…น…้ำเ…ป…็นจ…ำ…น…วน…ม…า…ก…ม…ผี …ู้เส…ยี …ช…วี ิต…ก…ว…า่ …1…แ…สน…ค…น………
……เก…ิด…กา…ร…อพ…ย…พ…อ…อ…ก…จา…ก…พ…น้ื …ท…แ่ี ล…ะ…ต…อ้ ง…ป…ร…ะส…บ…ก…บั …ป…ัญ…ห…าโ…รค…ร…ะ…บ…าด…เป…็น…จ…ำ…น…วน…ม…า…ก…………………………………………

3. แนวทางการจดั การและระวงั ภัยจากภัยพิบัตินี้สามารถทำได้อยา่ งไร
…อ…า…จ…มีก…า…ร…เต…รีย…ม…ส…ร…้าง…ระ…บ…บ…ก…ัก…เก…บ็ …น…ำ้ ใ…ห…เ้ พ…ยี …งพ…อ……ตดิ…ต…า…ม…สภ…า…พ…อ…าก…า…ศ…ร…ณ…ร…งค…ใ์ ห…้ม…กี …า…รใ…ช…้น…ำ้ อ…ย…่าง…ป…ร…ะห…ย…ดั …ห…ร…อื
…อ…า…จ…วา…ง…แผ…น…ก…าร…แ…ก…ป้ …ัญ…ห…าร…ะ…ยะ…ย…า…วโ…ด…ยพ…ฒั……นา…พ…น้ื …ท…ี่ล…มุ่ น…ำ้ …เ…พ…อ่ื ช…่ว…ย…ให…้ม…คี …ว…าม…ช…้นื …ม…าก…พ…อ…ท…จ่ี ะ…ท…ำ…ให…้เ…กิด…ฝ…น…แ…ละ……
…เ…ก…็บก…ัก…น…ำ้ …ไว…ใ้ น…พ…้ืน…ด…นิ ………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 263

ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด
กจิ กรรม Mini Project การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเองเก่ียวกับภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ

คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นเลือกศึกษาและจัดทำโครงการการสร้างสรรคแ์ บบจำลองแสดงการเกดิ ภัยพิบัตทิ าง
ธรรมชาติและการเตือนภยั ทก่ี ลุม่ ของตนเองสนใจมา 1 ประเภท ตามรูปแบบข้ันตอนที่
กำหนดให้ พรอ้ มทั้งอธิบายลักษณะการเกิดภยั พิบัติและการเตือนภยั หรอื การจัดการกบั ภยั พิบัติ
ประกอบการนำเสนอเพมิ่ เติม

1. ชอ่ื โครงการ
……………………………………………………………………………...................………………………………………………………..
2. หลกั การและเหตผุ ล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. เป้าหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ขัน้ ตอนการจดั กิจกรรม (กิจกรรมกลุ่ม : ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กัน)

ขั้นท่ี 1 ตั้งประเดน็ คำถาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 264

ขน้ั ท่ี 2 สบื ค้นความรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขั้นที่ 3 สรุปองค์ความรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขน้ั ที่ 4 สื่อสารและนำเสนอ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ภาพตวั อย่างและหลักการทำงานของแบบจำลอง)

ขั้นท่ี 5 บริการสังคมและสาธารณะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 265

ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด
กิจกรรม Mini Project การศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเกีย่ วกับภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ

คำช้แี จง : ใหน้ ักเรียนเลือกศึกษาและจัดทำโครงการการสรา้ งสรรค์แบบจำลองแสดงการเกิดภยั พิบัตทิ าง
ธรรมชาติและการเตอื นภัย ทกี่ ลุ่มของตนเองสนใจมา 1 ประเภท ตามรูปแบบขนั้ ตอนที่
กำหนดให้ พร้อมทั้งอธบิ ายลักษณะการเกดิ ภัยพบิ ัติและการเตอื นภยั หรือการจดั การกับภยั พิบัติ
ประกอบการนำเสนอเพ่มิ เติม

1. ชื่อโครงการ (ตวั อย่าง)

…แ…บ…บ…จ…ำล…อ…ง…แผ…น่ …ด…ิน…ไห…ว…………………………………………………………………………………………………..

2. หลกั การและเหตผุ ล

…ก…า…รใ…ช…ค้ …วา…ม…ร้แู…ล…ะ…ค…วา…ม…ค…ิดส…ร…้าง…ส…ร…รค…เ์ พ…อื่…ส…ร…้าง…แ…บ…บ…จำ…ล…อ…งแ…ผ…น่ …ดนิ…ไ…ห…ว…เป…น็ …แ…น…วท…า…ง…หน…่งึ…ท…ี่ท…ำใ…ห…้เย…า…วช…น…เก…ิด

…ค…ว…าม…ร…ู้ ค…ว…า…มเ…ข…้าใ…จ…แล…ะ…ได…เ้ …ข้า…ม…า…มีส…ว่ …น…ร่ว…ม…ใ…นก…า…ร…วิเ…คร…า…ะ…ห์ถ…ึง…ส…าเ…ห…ตุแ…ล…ะ…ผ…ลก…ร…ะ…ทบ……ท…่ีสา…ม…า…รถ…เ…ช่อื…ม…โย…ง…ให…้

…เ…ห…็นถ…งึ …ป…ฏ…สิ มั…พ…นั …ธ…ร์ ะ…ห…ว…า่ ง…ม…น…ษุ …ย์ก…ับ…ส…ิ่ง…แว…ด…ล…้อ…มท…า…ง…กา…ย…ภ…าพ……ท…ก่ี ่อ…ใ…ห…้เก…ดิ …กา…ร…เป…ล…ีย่ …น…แป…ล…ง…ด้า…น…………………

…ท…ร…พั …ย…าก…ร…ธร…ร…ม…ชา…ต…ิแ…ละ…ส…ง่ิ …แว…ด…ล…้อม…ข…อ…ง…ปร…ะ…เท…ศ…ไท…ย…แ…ล…ะภ…ูม…ิภ…า…ค…ตา่…ง…ๆ…ข…อ…ง…โล…ก……………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. วตั ถุประสงค์ของโครงการ

…1…. เ…พ…อื่ …ให…ไ้ ด…ใ้…ช…้คว…า…ม…รู้ …ค…วา…ม…เข…้า…ใจ…แ…ล…ะ…ค…วา…ม…ค…ดิ ส…ร…้าง…ส…ร…รค…ใ์ …นก…า…ร…สร…า้ …งแ…บ…บ…จ…ำล…อ…ง…แผ…น่ …ด…นิ …ไห…ว…จ…าก…ว…ัสด…ใุ…ก…ล้ตัว

………ท…่ีสา…ม…า…รถ…ห…า…ได…ง้ า่…ย………………………………………………………………………………………………………………………

…2…. เ…พ…่ือ…ให…้เก…ิด…ค…ว…าม…ร…ู้ ค…ว…าม…เ…ขา้…ใ…จ…ก…าร…ม…จี ติ…ส…ำ…น…ึก…แ…ละ…ก…า…รม…ีส…่ว…น…ร่ว…ม…ใน…ก…า…รจ…ัด…ก…าร…แ…ล…ะร…ับ…ม…อื …กบั…แ…ผ…่น…ด…ินไ…ห…ว

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. เปา้ หมาย

…เก…ิด…ค…ว…าม…ร…ู้ ค…ว…าม…เ…ข้า…ใ…จเ…ก…ีย่ ว…ก…ับ…ส…าเ…ห…ตุแ…ล…ะ…ผล…ก…ร…ะ…ทบ…ข…อ…ง…แผ…น่ …ด…นิ …ไห…ว…ต…ล…อ…ดจ…น…เ…หน็…ค…ว…า…มส…ำ…ค…ัญ…ขอ…ง…ก…าร……

…ม…สี …ว่ น…ร…ว่ …มใ…น…ก…าร…ร…บั …มือ……ห…รอื …จ…ัด…กา…ร…เม…ื่อ…เก…ิด…เห…ต…กุ …าร…ณ…์แ…ผ…น่ …ด…นิ ไ…ห…ว…ห…ร…อื อ…า…จ…พฒั……นา…แ…บ…บ…จำ…ล…อ…งต…อ่ …ย…อ…ดเ…ป…็น…

…ส…นิ …ค…า้ จ…ดั …จ…ำห…น…า่ …ยใ…น…ฐา…น…ะ…ส…ื่อก…า…ร…จดั …ก…า…รเ…รีย…น…ร…ู้ ห…ร…ือก…า…ร…เต…ือ…น…ภยั……เพ…ื่อ…ส…ร้า…ง…รา…ย…ได…ใ้ …หแ้…ก…ต่ …น…เอ…ง…แล…ะ…ช…ุม…ชน…ต…่อไป

…ใ…นอ…น…า…ค…ต………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม (กจิ กรรมกลมุ่ : ให้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั )

ข้นั ที่ 1 ต้งั ประเด็นคำถาม

…1…. ว…สั …ด…ใุ ด…บ…้าง…ท…สี่ …าม…า…ร…ถน…ำ…ม…า…สร…า้ …งเ…ป…็นแ…บ…บ…จ…ำล…อ…ง…แผ…น่ …ด…นิ …ไห…ว…ได…้โ…ด…ยใ…ช…ง้ บ…ป…ร…ะม…า…ณ…น…อ้ …ย…………

…2…. แ…บ…บ…จ…ำล…อ…ง…แผ…่น…ด…ิน…ไห…ว…ก…อ่ ใ…ห…เ้ ก…ิด…ป…ระ…โ…ยช…น…์ต…่อ…ช…วี ิต…ป…ร…ะจ…ำ…ว…ัน…ช…มุ ช…น……แล…ะ…ส…ังค…ม…อ…ย…า่ ง…ไร…………

………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 266

ขนั้ ที่ 2 สบื คน้ ความรู้
…ด…ำ…เน…ิน…กา…ร…ส…ืบ…ค้น…ข…้อ…ม…ูลเ…ก…ี่ยว…ก…ับ…ก…าร…จ…ดั …ทำ…แ…บ…บ…จำ…ล…อ…งแ…ผ…น่ …ด…ินไ…ห…ว…จา…ก…แ…ห…ลง่ …ก…าร…เร…ีย…น…รู้……………
…ห…ร…อื แ…ห…ล…่ง…ภมู…ิส…า…รส…น…เท…ศ…ท…่ีเช…่อื …ถ…อื …ได…้ …………………………………………………………………………………

ข้ันที่ 3 สรปุ องค์ความรู้
……………น…ำ…คว…า…ม…รู้ท…ีไ่ …ด…้จา…ก…ก…าร…ส…บื …ค้น…ม…า…อ…ภิป…ร…า…ยร…่ว…ม…ก…ัน…แ…ล้ว…ว…เิ ค…ร…าะ…ห…เ์ พ…่ือ…น…ำ…ไป…ส…ู่ก…าร…ส…ร…ปุ อ…ง…ค…์
…คว…า…ม…รู้เ…กย่ี…ว…ก…ับ…แผ…่น…ด…นิ …ไห…ว…เ…ช…น่ …แ…ผ่น…ด…ิน…ไ…หว…เ…ป็น…ป…ร…า…กฏ…ก…า…รณ……ธ์ ร…ร…มช…า…ต…ิท…ีเ่ ก…ดิ …จา…ก…ก…าร…ส…นั่ …สะ…เ…ท…ือน
…ขอ…ง…เป…ล…อื …กโ…ล…ก…เน…ื่อ…ง…จ…าก…ก…าร…เ…คล…่ือ…น…ต…ัวข…อ…ง…รอ…ย…เล…ื่อ…น…ม…ีพ…ลงั…ซ…งึ่ …ม…ที …ง้ั ข…น…า…ดเ…ล…็กแ…ล…ะ…ขน…า…ด…ให…ญ…่ ……
…นอ…ก…จ…าก…น…้ี …กา…ร…เก…ิด…ภ…เู ข…า…ไฟ…ป…ะ…ท…ใุ ต…ม้ …ห…าส…ม…ุท…รล…ึก……ก็เ…ป…็น…อกี…ห…น…ง่ึ …สา…เห…ต…ุท…กี่ …่อ…ให…้เก…ดิ …แ…ผ…่น…ดนิ…ไ…ห…วท…ี่ …
…รุน…แ…ร…งไ…ด…้ ………………………………………………………………………………………………………………………
……………ผ…ล…กร…ะ…ท…บ…ท…่เี ก…ิด…จา…ก…แ…ผ่น…ด…ิน…ไ…หว…ข…น…าด……1-…5….9…จ…ะ…ท…ำใ…ห…้อา…ค…า…รเ…ก…ดิ ก…า…รส…่ัน…ไ…ห…ว …ผู้ค…น…ร…ู้ส…กึ ไ…ด้
…มสี…่งิ …ข…อง…แ…ก…ว่ง…ห…ร…ือต…ก…พ…นื้ …แ…ต…่ห…าก…เ…ปน็…แ…ผ…น่ …ด…นิ ไ…ห…ว…ขน…า…ด…6…ข…้ึน…ไ…ป…จ…ะเ…ก…ดิ ก…า…ร…สั่น…ไ…ห…วร…ุน…แ…รง…อ…า…ค…าร
…ทไี่…ม…แ่ …ข็ง…แ…รง…เ…กดิ…ก…า…รท…ร…ดุ …แล…ะ…ถ…ล…ม่ …อ…าจ…ท…ำ…ให…้ม…ีผ…ู้เส…ีย…ชีว…ติ …ไ…ฟ…ไห…ม…้ …สึน…า…ม…ิ ห…ร…ือ…ทำ…ใ…ห้ส…ภ…า…พ…ภ…มู ิ………
…ปร…ะ…เท…ศ…เป…ล…ี่ย…น…แ…ปล…ง…ไป………………………………………………………………………………………………………
……………ก…า…รร…บั …ม…อื ก…ับ…แ…ผ…น่ …ดนิ…ไ…ห…วใ…น…ช…ว่ ง…ก…่อน…เ…ก…ิดภ…ัย…ค…ว…รม…กี …า…รต…ดิ …ต…าม…ข…่า…วส…า…ร…เต…ร…ยี …มอ…า…ห…าร……น้ำ…
…สง่ิ…ข…อ…งท…่จี …ำเ…ป…็น…ห…ร…อื …สัง…เก…ต…จ…าก…ส…ญั …ญ…า…ณ…ภ…ัย…พ…ิบตั…ิต…่า…ง…ๆ…แ…ล…ะใ…น…ข…ณ…ะท…เ่ี…ก…ดิ ภ…ยั……หา…ก…อ…ยใู่…น…อ…าค…า…รใ…ห้
…ระ…ว…งั ส…งิ่ …ข…อง…ต…ก…ใส…่ แ…ต…่ห…าก…อ…ย…ู่น…อ…กอ…า…ค…าร…ค…วร…อ…ย…หู่ …่าง…จ…าก…อ…า…คา…ร…ส…ูง …กำ…แ…พ…ง…ห…รอื…เ…สา…ไ…ฟ…ฟา้……รว…ม…ถ…งึ
…หล…งั …จ…าก…ท…่เี ก…ดิ …ภ…ยั …ค…ว…รต…ร…ว…จส…อ…บ…รา่…ง…ก…าย…ข…อ…งต…น…เอ…ง…ห…ร…อื …ผ้ทู…ีอ่ …ย…ใู่ ก…ล…้เค…ีย…ง…แ…ล…ะค…ว…ร…ออ…ก…จ…าก…อ…า…ค…าร
…ทนั…ท…ี ………………………………………………………………………………………………………………………………

ขั้นท่ี 4 ส่อื สารและนำเสนอ
…น…ำ…เส…น…อ…แบ…บ…จ…ำ…ลอ…ง…แ…ผ่น…ด…ิน…ไ…หว…ป…ร…ะก…อ…บ…ก…าร…บ…ร…รย…า…ย…………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………

หลกั การทำงานของแบบจำลอง
ติดมอเตอร์ไว้ที่พื้นโต๊ะด้านลา่ ง เช่อื มตอ่ ระบบ
ไฟฟา้ กบั สวติ ซ์ท่ีปรบั ระดบั ความแรงได้และเสา
รับความสัน่ สะเทอื นท่ีทำการต้งั คา่ ระดบั ความ
สนั่ สะเทือนไว้ เม่ือมอเตอรท์ ำงาน โตะ๊ จะส่นั ทำ
ใหบ้ ้านเรอื นค่อย ๆ เสยี หายจากแรงสั่นสะเทอื น
และเมือ่ ระดับสั่นสะเทอื นมคี วามรุนแรงมากตาม
คา่ ส่ันสะเทอื นทตี่ ้งั ไว้จะทำใหไ้ ฟทหี่ อ
สนั่ สะเทอื นติด เพอื่ เป็นสญั ญาณในการบอก
ระดับความรุนแรงท่ีเรม่ิ อนั ตราย

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 267

ข้นั ท่ี 5 บริการสังคมและสาธารณะ
…นำ…เ…สน…อ…แ…บ…บ…จำ…ล…อ…งแ…ผ…่น…ดิน…ไ…ห…วเ…ผ…ยแ…พ…ร…่ส…ูส่ ัง…ค…ม…ผา่…น…ร…ะ…บบ…อ…ิน…เท…อ…ร…์เน…็ต…ห…ร…ือ…ส…ื่อโ…ซ…เช…ยี …ลม…ีเ…ดยี……เช…น่
…yo…u…tu…b…e…f…ac…e…b…o…ok……in…st…ag…r…am……ฯ…ล…ฯ…เพ…อื่ …เป…น็…ก…า…รเ…ผ…ยแ…พ…ร…ค่ …วา…ม…ร้ใู…ห…ก้ …ับ…บคุ…ค…ล…ใน…ส…ัง…คม…ต…อ่ …ไป……

………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 268

แบบประเมนิ คณุ ภาพการจดั ทำโครงการ

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ระดับคุณภาพ
1. การตัง้ (4) (1) ดีมาก
ประเดน็ คำถาม ต้ังไดด้ ว้ ยตนเอง (3) (2) ดี
มคี วามชดั เจน สร้างสรรค์ ใชค้ ำถามท่คี รูช้แี นะมา พอใช้
2. การสบื ค้น เช่ือมโยงกบั สงั คมและ ตัง้ ได้โดยมีครูคอยช้แี นะ มี ตง้ั ได้โดยมคี รูคอยช้แี นะ มี กำหนดประเด็นคำถาม ปรบั ปรุง
ความรู้ นำไปสู่การแสวงหาคำตอบ
3. การสรุป วางแผนสืบค้นข้อมลู จาก ความชดั เจน สร้างสรรค์ ความเช่ือมโยง กบั สงั คม ไมม่ ีการวางแผนสืบค้น
องค์ความรู้ แหลง่ เรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย ข้อมูล หรือวางแผน
และบนั ทึกอยา่ งเปน็ ระบบ เช่อื มโยงกับสงั คมและ แตไ่ มค่ รอบคลุม แตป่ ฏิบตั ิไมไ่ ด้จริง
4. การสื่อสาร สงั เคราะห์ สรปุ สังเคราะหอ์ งค์ความรู้
และนำเสนอ องคค์ วามรู้ไดช้ ัดเจน เสนอ นำไปสกู่ ารแสวงหาคำตอบ ไมไ่ ด้ และไมม่ ีการ
แนวคิด วิธีการแกป้ ญั หา นำเสนอแนวคิด
5. การบรกิ าร อยา่ งเป็นระบบ วางแผนสืบคน้ ข้อมูลจาก วางแผนสบื ค้นข้อมูลจาก เกยี่ วกบั การแกป้ ัญหา
สังคมและ เรียบเรยี งและถ่ายทอด เรยี บเรียงและถ่ายทอด
สาธารณะ ความคดิ โดยเลอื กรูปแบบ แหล่งเรียนรทู้ ี่หลากหลาย แหล่งใดแหลง่ หน่งึ เพยี ง ความคิด
น่าสนใจ ไม่เปน็ ระบบ
แบ่งโครงสร้างเนือ้ หาอยา่ ง แหลง่ เดียว ไม่มกี ารแบ่งโครงสร้าง
เปน็ ระบบ และใชส้ อ่ื
ประกอบท่ีเหมาะสม สังเคราะห์ สรุป สงั เคราะห์ สรุป ไม่ไดน้ ำองคค์ วามรู้
นำความรู้ไปเผยแพร่ตอ่ ที่ได้ ไปประยุกตใ์ ชส้ ร้าง
สังคมดว้ ยรูปแบบ องค์ความร้ไู ดช้ ดั เจน เสนอ องคค์ วามรู้ได้ไม่ชดั เจน ไม่ ประโยชน์ให้แก่สงั คม
ทน่ี ่าสนใจประสานงาน
เพื่อให้ใชป้ ระโยชน์จาก แนวคดิ เก่ยี วกับการ นำเสนอแนวคดิ เก่ยี วกบั
องคค์ วามรู้ได้
อย่างยงั่ ยืน แก้ปญั หายงั ไม่ชัดเจน การแก้ปัญหา

เรียบเรยี งและถา่ ยทอด เรียบเรียงและถา่ ยทอด

ความคดิ โดยเลอื กรูปแบบ ความคดิ โดยเลอื กรปู แบบ

เหมาะสม ท่ีถนัด

แบ่งโครงสร้างเน้ือหาอย่าง แบ่งโครงสรา้ งเนื้อหาไม่

เป็นระบบ ชดั เจน

นำความรูไ้ ปเผยแพรต่ ่อ นำความรู้ไปเผยแพร่ตอ่
สงั คมดว้ ยรปู แบบ สังคมแต่ไมม่ กี าร
ท่เี หมาะสมประสานงาน ประสานงาน เพอื่ ใหใ้ ช้
เพอื่ ให้ใชป้ ระโยชน์ ประโยชน์
จากองค์ความรู้ได้ จากองคค์ วามรู้

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 269

แบบประเมนิ การรเู้ รอ่ื งภูมศิ าสตร์
รายงานการสรปุ ผลการสบื คน้ ขอ้ มูล
กิจกรรม Mini Project การศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองเก่ยี วกบั ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ

เกณฑ์การประเมิน

รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ระดบั คณุ ภาพ
1. ความสามารถ
(4) (3) (2) (1)
ทางภมู ศิ าสตร์
สรุปผลการสืบคน้ การ สรปุ ผลการสบื คน้ การ สรุปผลการสืบคน้ การ สรปุ ผลการสืบค้นการ
2. กระบวนการทาง
ภมู ศิ าสตร์ เปลีย่ นแปลงทาง เปล่ยี นแปลงทาง เปลย่ี นแปลงทาง เปลย่ี นแปลงทาง ดมี าก

3. ทกั ษะทาง กายภาพของพ้นื ทใี่ น กายภาพของพื้นทใ่ี น กายภาพของพื้นที่ใน กายภาพของพ้ืนทใี่ น
ภูมศิ าสตร์
ประเทศไทยและภมู ภิ าค ประเทศไทยและภมู ิภาค ประเทศไทยและภูมภิ าค ประเทศไทยและภูมิภาค

ต่าง ๆ ของโลก ซึ่งได้รบั ตา่ ง ๆ ของโลก ซง่ึ ได้รับ ต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ ได้รับ ต่าง ๆของโลก ซงึ่ ได้รับ ดี

อิทธพิ ลปัจจยั ทาง อิทธิพลปจั จัยทาง อทิ ธพิ ลปจั จัยทาง อิทธพิ ลปัจจัยทาง

ภูมศิ าสตรไ์ ด้ถูกต้อง ภมู ิศาสตรไ์ ด้ถกู ตอ้ งเป็น ภมู ศิ าสตร์ไดถ้ กู ตอ้ ง ภูมศิ าสตรไ์ ด้บางส่วน แต่

ครบถว้ น ส่วนใหญ่ บางสว่ น ไมถ่ กู ต้อง พอใช้

ดำเนินการตาม ดำเนนิ การตาม ดำเนนิ การตาม ดำเนนิ การตาม

กระบวนการทาง กระบวนการทาง กระบวนการทาง กระบวนการทาง

ภูมิศาสตรไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ภมู ศิ าสตรไ์ ด้ถูกต้องและ ภูมิศาสตรไ์ ดถ้ ูกต้อง ภูมิศาสตรไ์ ด้ถูกตอ้ ง ปรบั ปรงุ

ครบทกุ ขน้ั ตอน ส่วนใหญ่เปน็ ไปตาม บางสว่ น แตไ่ มค่ รบทกุ บางส่วน แตไ่ มเ่ ปน็ ไป

ข้นั ตอน ข้นั ตอน ตามข้นั ตอน

ใช้เทคนคิ และเครอื่ งมือ ใชเ้ ทคนคิ และเครื่องมือ ใช้เทคนคิ และเคร่ืองมือ ใช้เทคนิคและเคร่อื งมือ

ทางภมู ศิ าสตรส์ ืบค้น ทางภูมศิ าสตรส์ ืบค้นและ ทางภูมศิ าสตรส์ บื ค้น ทางภูมศิ าสตรส์ ืบค้น

และรวบรวมขอ้ มลู การ รวบรวมขอ้ มูล การ และรวบรวมขอ้ มูล การ และรวบรวมขอ้ มูล การ

เปล่ยี นแปลงทาง เปลีย่ นแปลงทางกายภาพ เปลีย่ นแปลงทาง เปลย่ี นแปลงทาง

กายภาพของพน้ื ท่ใี น ของพื้นทใี่ นประเทศไทย กายภาพของพื้นที่ใน กายภาพของพน้ื ที่ใน

ประเทศไทยและภูมิภาค และภูมภิ าคต่าง ๆ ของ ประเทศไทยและภูมภิ าค ประเทศไทยและภูมภิ าค

ต่าง ๆ ของโลก ซ่งึ ได้รับ โลก ซ่งึ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจาก ตา่ ง ๆ ของโลก ซ่ึงได้รับ ต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงไดร้ ับ

อทิ ธพิ ลจากปจั จยั ทาง ปัจจัยทางภมู ศิ าสตรไ์ ด้ อทิ ธพิ ลจากปจั จยั ทาง อทิ ธิพลจากปจั จยั ทาง

ภมู ศิ าสตร์ไดค้ รบถว้ น เป็นส่วนใหญ่ ภมู ิศาสตร์ได้เป็น ภูมศิ าสตรไ์ ดบ้ างสว่ นแต่

ชดั เจน บางส่วน ไมช่ ดั เจน

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

9-12 ดี

6-8 พอใช้

ต่ำกว่า 6 ปรบั ปรุง

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 270

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมินผลการนำเสนอผลงานของนักเรยี นตามรายการ แล้วขดี ✓ลงในช่องที่
ตรงกบั ระดับคะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
321

1 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา
2 การลำดับขนั้ ตอนของเรื่อง
3 วิธีการนำเสนอผลงานอยา่ งสรา้ งสรรค์
4 การใชเ้ ทคโนโลยีในการนำเสนอ
5 การมีส่วนร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ

รวม

ลงช่อื ...................................................ผ้ปู ระเมนิ
.............../................./................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางส่วน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

12-15 ดี

8-11 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรุง

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 271

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล

คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกบั ระดบั คะแนน

ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
321

1 การแสดงความคิดเหน็
2 การยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื
3 การทำงานตามหนา้ ท่ีทีไ่ ด้รับมอบหมาย
4 ความมีน้ำใจ
5 การตรงตอ่ เวลา

รวม

ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............../.................../...............

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

12-15 ดี

8-11 พอใช้

ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 272

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ

คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่

ตรงกับระดบั คะแนน

การมี

ลำดบั ที่ ช่ือ – สกลุ การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี ส่วนรว่ มใน รวม
ของนักเรยี น ความ ฟงั คนอืน่ ตามท่ีไดร้ ับ น้ำใจ การ 15
คิดเห็น มอบหมาย คะแนน
ปรับปรุง
ผลงานกลุ่ม

321321321321321

ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ
............../.................../..............

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

12-15 ดี

8-11 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรุง

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 273

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่

ตรงกับระดับคะแนน

คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงค์ด้าน 32 1

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติ

1.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทสี่ ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์

ตอ่ โรงเรียน

1.3 เข้าร่วมกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา

1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี ก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริยต์ ามท่ีโรงเรียนจัดข้นึ

2. ซอ่ื สตั ย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถี่ กู ต้องและเป็นจริง

2.2 ปฏิบตั ิในสิ่งท่ถี กู ตอ้ ง

3. มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับ

3.2 มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจำวัน

4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัติได้

4.2 ศึกษาคน้ คว้าความรู้จากสอ่ื และเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งสมำ่ เสมอ

5. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ และส่ิงของของตนเองและส่วนรวมอยา่ งประหยัด

5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอยา่ งประหยดั และรคู้ ุณคา่

5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเก็บออมเงิน

6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

7. รักความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย

7.2 เห็นคุณคา่ และปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย

8. มีจติ สาธารณะ 8.1 อาสาทำงาน ชว่ ยคดิ ชว่ ยทำกจิ กรรมเพอ่ื สว่ นรวม

8.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรม เพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

ลงช่อื ...................................................ผูป้ ระเมิน
……........../................./...............

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิบางครง้ั

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 274

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 17 สถานการณ์การเปลย่ี นแปลง

ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

รายวิชา ส 32101 สงั คมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมกับการพัฒนาทย่ี ่ังยนื เวลาเรยี น 5 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 17 สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ครูผ้สู อน นางสาวรชนกี ร จันทร์พิทักษ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพทก่ี ่อใหเ้ กิด
การสรา้ งสรรค์วิถกี ารดำเนนิ ชวี ติ มจี ิตสำนึกและมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ
ทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม เพือ่ การพัฒนาท่ยี งั่ ยืน
ตวั ช้ีวดั ม. 4-6/2 วเิ คราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมของประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
กจิ กรรมของมนษุ ย์เปน็ สาเหตสุ ำคญั ทีท่ ำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบทั้งในระดบั ประเทศ ภูมิภาค
และโลก

3. สาระการเรยี นรู้
1. สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การเปล่ียนแปลง

สภาพ ภูมิอากาศ ความเส่อื มโทรมของสงิ่ แวดล้อม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภยั พบิ ตั ิ
2. สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มของ

ประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. วิเคราะหส์ ถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ทัง้ ในดา้ น

สาเหตุ ผลกระทบและแนวทางแกไ้ ขได้ (K)

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 275

2. เลือกใชเ้ ครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตรใ์ นการศกึ ษาสถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงดา้ น
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ทง้ั ในด้านสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแกไ้ ขได้ (P)

3. เหน็ คณุ ค่าในการศกึ ษาสถานการณ์การเปล่ียนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
ทงั้ ในดา้ นสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขเพิ่มมากขึ้น (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

6. การรูเ้ ร่อื งภมู ศิ าสตร์ (Geo–Literacy)

ความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ทกั ษะทางภูมิศาสตร์
1. การสังเกต
1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ 2. การแปลความขอ้ มูลทาง
ภมู ศิ าสตร์
และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและเครอื่ งมือ
ทางภมู ศิ าสตร์
2. การใหเ้ หตุผลทางภมู ิศาสตร์ 3. การจัดการขอ้ มลู 4. การคดิ เชิงพ้ืนที่
5. การคดิ แบบองค์รวม
3. การตัดสนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ 4. การวิเคราะหข์ อ้ มูล

5. การสรปุ เพ่ือตอบคำถาม

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนแบบกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process)
ข้ันนำ

1. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบถึงวิธีสอนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry
Process) ช่ือเรอื่ งทีจ่ ะเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้

2. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรื่อง สถานการณ์การ
เปลี่ยนแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

3. ครใู ห้นักเรยี นดูภาพ หรือคลิปวิดีโอทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกใน
ดนิ แดนต่าง ๆ เชน่

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 276

(ภาพตวั อย่าง)

การละลายของธารนำ้ แขง็ สภาพพน้ื ดนิ ท่ีแห้งแล้ง ป่าไม้ถูกทำลาย
แตกระแหง

มลพิษทางอากาศ ปญั หาในการกำจัดขยะ นาขัน้ บันได

4. ครถู ามคำถามกระตนุ้ ความคิดโดยใหน้ กั เรียนรว่ มกนั ตอบคำถามเก่ียวกบั การเปลี่ยนแปลงและ
ผลกระทบที่เกิดขนึ้ จากภาพหรือคลิปวดิ ีโอดังกลา่ ว
ขัน้ สอน

ข้นั ที่ 1 การต้ังคำถามเชิงภมู ิศาสตร์
1. ครูใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์ร่วมกนั ถงึ พฤตกิ รรมในชีวติ ประจำวนั ของนกั เรยี นและบคุ คลใน
ครอบครวั ที่ก่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ อากาศ
ดนิ นำ้ ป่าไม้ สตั ว์ป่า แรแ่ ละพลังงาน อาหาร รวมไปถึงขยะต่าง ๆ
2. ครูสมุ่ นกั เรียนเพื่อนำเสนอพฤติกรรมทกี่ ่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อมในดา้ นต่าง ๆ จำนวน 5-6 คน จากน้นั ใหอ้ ภิปรายถึงพฤติกรรมดังกลา่ วรว่ มกนั
3. ครใู หน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพม่ิ เติมจากพฤติกรรมในชีวิตประจำวนั ของนักเรียนและบคุ คล
ในครอบครัวท่กี อ่ ใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ เชน่ อากาศ
ดนิ น้ำ ปา่ ไม้ สัตวป์ ่า แรแ่ ละพลงั งาน อาหาร รวมไปถงึ ขยะตา่ ง ๆ เกยี่ วกับผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึนจาก
พฤติกรรมดังกล่าว พรอ้ มท้ังเสนอแนวทางแก้ไขในเบื้องต้นร่วมกนั
4. ครูให้นักเรยี นดูภาพหรือคลิปวิดีโอตวั อยา่ ง เช่น

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 277

(ภาพตวั อย่าง)

5. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เติมเช่อื มโยงกับภาพหรือคลิปวดิ ีโอ

ตวั อยา่ งว่ามคี วามเกีย่ วขอ้ งกับความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มประเภทใด

6. ครกู ระต้นุ ให้นักเรียนชว่ ยกันต้ังประเดน็ คำถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ เชน่

6.1 การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเสือ่ มโทรมของส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาความ

หลากหลายทางชีวภาพและภยั พบิ ัติ มีสาเหตมุ าจากอะไร และมผี ลกระทบอย่างไรบา้ ง

6.2 การดำเนินชีวิตของมนุษยก์ ่อใหเ้ กิดสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงดา้ น

ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอยา่ งไร

ขน้ั ท่ี 2 การรวบรวมขอ้ มลู

1. ครใู หน้ กั เรยี นแบ่งกล่มุ จำนวน 6 กล่มุ สืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงและความเสอ่ื ม

โทรมของทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ตลอดจนสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแกไ้ ข จากหนงั สอื

เรียน ภูมศิ าสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรอู้ ื่น ๆ เช่น หนังสอื ในห้องสมดุ เวบ็ ไซต์ในอนิ เทอร์เน็ตใน

ประเด็นต่อไปนี้

1.1 สภาพภมู ิอากาศ 1.2 ดนิ

1.3 น้ำ 1.4 ปา่ ไม้และสตั วป์ ่า

1.5 แร่และพลงั งาน 1.6 ขยะและของเสียอนั ตราย

2. นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันศกึ ษาข้อมลู ในหัวขอ้ ท่รี ับผิดชอบ โดยนำความรู้เก่ยี วกบั เครอ่ื งมือ

ทางภูมิศาสตร์มาใช้ประกอบในการศกึ ษาด้วย

3. ครแู นะนำแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศทนี่ า่ เชอื่ ถอื ให้กับนกั เรยี นเพ่มิ เติม

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 278

ขน้ั ที่ 3 การจดั การขอ้ มลู
1. สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ นำข้อมูลทีต่ นไดจ้ ากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลยี่ นความรู้
ระหวา่ งกนั
2. จากนน้ั สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันคดั เลอื กขอ้ มูลทนี่ ำเสนอเพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มูลที่ถกู ตอ้ ง และร่วม
อภิปรายแสดงความคิดเหน็ เพิม่ เติม
ขน้ั ท่ี 4 การวิเคราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มูล
1. ครใู ห้นักเรียนใช้ภาพประกอบจากหนงั สือเรยี นภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 มาเชือ่ มโยงการวิเคราะห์
ข้อมูลเพม่ิ เตมิ
2. ครูสนทนากบั นักเรียนถงึ ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การเปล่ียนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ
ซง่ึ ถอื ได้ว่าเป็นปัญหาหลักท่เี กิดขนึ้ ในทว่ั ทุกภูมิภาคของโลก รวมถึงเปน็ ปัจจัยท่ีก่อใหเ้ กดิ ปญั หา
ทรัพยากรธรรมชาตอิ น่ื ๆ ตามมา เชน่ ดิน น้ำ อากาศ
3. ครูสมุ่ นักเรยี นจำนวน 2-3 คน เพ่อื อธิบายความรูเ้ บือ้ งตน้ เก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงความ
หลากหลายทางชีวภาพท่ีหน้าชน้ั เรยี น
4. ครูถามคำถามเพื่อวเิ คราะหค์ วามรูเ้ พิม่ เตมิ เชน่

4.1 แร่เช้ือเพลงิ และพลังงานที่สำคญั ของประเทศไทยมคี วามเหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์
ทา่ มกลางวิกฤตการณ์ภาวะโลกร้อนหรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ แร่เชอ้ื เพลิงและพลังงานที่สำคัญของ
ประเทศไมเ่ หมาะสมตอ่ การใช้ประโยชน์ทา่ มกลางภาวะโลกรอ้ นในปจั จุบนั เท่าที่ควร เน่ืองจากก่อให้เกดิ
แกส๊ เรือนกระจกข้นึ สูบ่ รรยากาศ ทง้ั การเผาไหม้ถา่ นหนิ ชนดิ ลกิ ไนต์ ซงึ่ มีคุณภาพไมด่ ี ก่อให้เกิดควันและ
แก๊สต่าง ๆ จำนวนมาก รวมถงึ การใช้เช้ือเพลงิ จากนำ้ มันและแกส๊ ธรรมชาติดว้ ย อยา่ งไรก็ตาม ประเทศไทย
ไดล้ ดการใชแ้ ร่เชอื้ เพลงิ และพลงั งานจากสาเหตุต่าง ๆ ทง้ั การใกล้จะหมดไปของถา่ นหนิ ความพยายามใน
การพัฒนาพลังงานสะอาดของรัฐบาลและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งเพื่อการอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม)

4.2 สถานการณน์ ้ำมนั ของโลกเป็นอยา่ งไร (แนวตอบ ทรัพยากรนำ้ มันของโลกมีแนวโน้มที่จะ
หมดไปในอนาคตอนั ใกล้ โดยแหลง่ นำ้ มันทส่ี ำคัญของโลกอยูใ่ นบรเิ วณตะวนั ออกกลาง เชน่ ในประเทศ
ซาอดุ ีอาระเบีย อิหร่าน อริ กั คูเวต ซ่ึงประเทศผู้ส่งออกน้ำมนั ทส่ี ำคัญของโลกไดม้ ีการรวมกลุ่มกนั เป็นกลุม่
โอเปก (OPEC) ทงั้ น้ี เพอ่ื กำหนดปรมิ าณการผลิตรว่ มกนั ซึ่งเป็นการกำหนดราคานำ้ มนั โดยทางอ้อม)

5. ครสู นทนากบั นักเรียนเกย่ี วกบั ตัวอยา่ ง สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ ม จากหนังสอื เรยี นภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 หรอื จากแหลง่ การเรียนร้อู ่ืน ๆ เชน่ เว็บไซตใ์ น
อินเทอร์เน็ตเพิม่ เติม

ขนั้ ที่ 5 การสรปุ เพอื่ ตอบคำถาม
1. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอขอ้ มูลจากการศกึ ษา พรอ้ มทัง้ อภิปรายแสดงความคดิ เหน็
รว่ มกนั เกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม และความหลากหลายทางชวี ภาพ
2. ครูให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มช่วยกนั สรุปสาระสำคญั เพื่อตอบคำถามเชิงภูมิศาสตร์
3. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกนั ทำใบงานที่ 6.1 เรอื่ ง สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงดา้ น
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 279

4. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เกย่ี วกับเรอ่ื งสถานการณ์การ
เปลยี่ นแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำสง่ ครใู นชวั่ โมงถัดไป

ขั้นสรุป
ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้ ตลอดจนการใชเ้ ครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ และเคร่ืองมือด้าน
เทคโนโลยใี นการสืบค้นเก่ยี วกบั สถานการณ์การเปลยี่ นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม หรอื
ใช้ PPT สรปุ สาระสำคัญของเน้ือหา
ขัน้ ประเมนิ
1. ครูประเมินผลโดยสงั เกตจากการตอบคำถาม การรว่ มกันทำงาน และการนำเสนอผลงานหนา้
ชั้นเรียน
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน และแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

8. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้

1. ส่อื การเรียนรู้

- หนังสอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม.4-6

- แบบฝกึ สมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6

- หนังสือค้นคว้าเพม่ิ เตมิ

⬧ โครงการตำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรม์ ูลนธิ ิ สอวน. 2557. ภูมิศาสตรก์ ายภาพ.

กรงุ เทพมหานคร : ดา่ นสุทธาการพิมพ์.

⬧ โครงการตำราวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรม์ ลู นิธิ สอวน. 2557. ภมู ศิ าสตรม์ นุษย์.

กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพมิ พ์.

⬧ นติ ยา โพธิ์นอก. 2557. ชมุ ชนกบั สิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม.

กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั พระปกเกลา้ .

⬧ ไพบูลย์ บญุ ไชย. 2550. ภูมศิ าสตร์ภมู ภิ าค. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

⬧ อุทศิ กฏุ อินทร.์ 2556. การใช้ที่ดนิ และการจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน.

กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

- เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ แผนที่ ลูกโลกจำลอง รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม

- ใบงานที่ 6.1 เรอื่ ง สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

2. แหลง่ การเรยี นรู้

- ห้องสมดุ

- แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

⬧ http://earth.google.co.th ⬧ http://maps.google.co.th

⬧ http://news.thaipbs.or.th ⬧ https://news.mthai.com

⬧ https://www.thairath.co.th ⬧ http://www.onep.go.th

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 280

9. การวดั และการประเมนิ ผล วิธีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ
รายการวดั - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - รอ้ ยละ 60
ก่อนเรยี น ผ่านเกณฑ์
1. การวัดและประเมนิ ผล - ใบงานที่ 6.1
ก่อนเรยี น - ตรวจใบงานท่ี 6.1 - ร้อยละ 60
- แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วย - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์
การเรยี นรู้ท่ี 6 เร่อื ง สถานการณ์ - ประเมนิ การนำเสนอ การนำเสนอผลงาน
การเปลย่ี นแปลงด้าน ผลงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทรพั ยากรธรรมชาติและ - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
ส่งิ แวดล้อม การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
2. การวดั และประเมินผลระหว่าง - สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การทำงานกลมุ่ - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2
- วเิ คราะห์สถานการณ์การ - สงั เกตความใฝ่เรียนรู้ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์
เปลี่ยนแปลงด้าน และมุง่ ม่ันใน อนั พึงประสงค์ - ระดับคุณภาพ 2
ทรัพยากรธรรมชาติและ การทำงาน - แบบประเมนิ การใช้ ผา่ นเกณฑ์
ส่ิงแวดลอ้ ม ทั้งในดา้ นสาเหตุ - ประเมนิ การใช้ เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์
ผลกระทบและแนวทางแก้ไขได้ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ - ระดบั คุณภาพ 2
- การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

- พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

- พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

- คุณลักษณะอันพึงประสงค์

3. การรู้เรือ่ งภมู ศิ าสตร์

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 281

10. บนั ทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้
1.1 นกั เรียนทผี่ ่านตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้
มีจำนวน............................................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.............................................
1.2 นกั เรียนทไ่ี มผ่ ่านตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้
มีจำนวน............................................คน คิดเป็นร้อยละ.............................................
คอื ...............................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
พฤตกิ รรมการเรยี นร.ู้ ..................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.3 นกั เรียนทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษ คือ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
แนวทางการส่งเสริม....................................................................................................
....................................................................................................................................
1.4 นกั เรียนไดร้ บั ความรู้
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.5 นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการ
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
1.6 นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
2. ปญั หาและอปุ สรรค
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ส32101 สังคมศกึ ษา ม.5 282

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชือ่ .......................................................ผู้สอน
(นางสาวรชนีกร จันทรพ์ ิทักษ์)

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
วนั ท.ี่ .......... เดือน.........................พ.ศ. ..............

11. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้/ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
()

ตำแหน่ง........................................................
วนั ท่ี........... เดือน......................... พ.ศ. ..............

12. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา/ผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................................
()

ตำแหน่ง................................................................
วันที่........... เดอื น......................... พ.ศ. ...............

ส32101 สงั คมศกึ ษา ม.5 283

แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6
เร่ือง ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มกบั การพัฒนาท่ีย่งั ยืน

คำชี้แจง : ใหก้ า  ทับตัวอักษรหน้าขอ้ ความทเ่ี ป็นคำตอบท่ถี กู ท่สี ุดเพียงขอ้ เดยี ว

1. การประทขุ องภูเขาไฟส่งผลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมในขอ้ ใดมากที่สุด

ก. มีแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศเพิม่ ขนึ้

ข. อุณหภมู ใิ นบรเิ วณใกลเ้ คยี งสงู ข้ึนในชว่ งเวลานาน

ค. มีลาวาไหลออกมาทบั ถมบริเวณใกล้เคียงเปน็ จำนวนมาก

ง. เกดิ ฝนุ่ ละอองในบรรยากาศเพ่มิ มากข้ึน บางส่วนบดบังแสงอาทติ ย์

2. ประเทศทีม่ ีปญั หาอุทกภยั มาก และบ่อยครัง้ จะส่งผลกระทบในเรื่องใดมากที่สุด

ก. เศรษฐกจิ ข. การพัฒนาประเทศ

ค. สังคมและวฒั นธรรม ง. การเมืองและการปกครอง

3. การทำนาแบบขน้ั บันไดมผี ลดีในขอ้ ใดมากท่ีสุด

ก. การใช้ทีด่ ินใหเ้ หมาะกับชนดิ ของพืช ข. แก้ไขวิกฤตการณ์การพงั ทลายของดนิ

ค. การปลกู พืชให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของดนิ ง. การปรับปรุงสภาพหนา้ ดนิ ใหอ้ ุดมสมบูรณ์

4. ผลกระทบของน้ำทะเลที่เกิดขึ้นจากวกิ ฤตการณ์ทรัพยากรน้ำ คือขอ้ ใด

ก. ฝนตกนอ้ ย อากาศแหง้ แล้ง ข. นำ้ ทะเลมกี ารปนเปอื้ นจากสารพิษ

ค. มแี หลง่ น้ำสกปรกเนา่ เหมน็ อยู่ใกล้โรงงาน ง. นำ้ จากแผน่ ดนิ ระบายออกสู่ทะเลได้ช้าลง

5. การสรา้ งเข่อื นและอ่างเก็บนำ้ มผี ลตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างไร

ก. สตั ว์ปา่ ขาดแคลนอาหาร ข. การพังทลายของดินมากขึน้

ค. พื้นดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ์ ง. ทรพั ยากรปา่ ไม้บางส่วนถกู ทำลาย

6. ข้อใดจัดเป็นมาตรการสำคัญในการปอ้ งกนั การตัดไม้และบกุ รุกพื้นทปี่ า่

ก. ชมุ ชนต้องเขม้ แขง็

ข. ใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเครง่ ครดั

ค. ปลกู จติ สำนกึ ให้สมาชกิ ในสังคมรักต้นไม้

ง. ราษฎรท่ีอยู่ใกลบ้ ริเวณป่าไมช้ ่วยเหลือเจ้าหนา้ ที่

7. องคก์ รพัฒนาเอกชนดา้ นส่งิ แวดลอ้ มในข้อใดที่ก่อตั้งข้ึนเพื่อส่งเสรมิ และสนับสนนุ ประชาชนทอี่ ยู่ใน

บรเิ วณใกล้เคยี งได้ตระหนักถึงความสำคญั ของการอนรุ กั ษ์ปา่ ไมแ้ ละสตั วป์ ่า

ก. มูลนิธิโลกสเี ขยี ว ข. มูลนธิ สิ บื นาคะเสถยี ร

ค. สมาคม THINK EARTH ง. กรนี พซี (Greenpeace)

8. ประเทศบราซิลใชพ้ ลังงานนำ้ ในการผลติ กระแสไฟฟา้ เป็นการแกป้ ญั หาดา้ นใด

ก. ด้านการเกษตร ข. ด้านอตุ สาหกรรม

ค. วกิ ฤตการณ์ด้านภาวะโลกร้อน ง. วกิ ฤตการณท์ รพั ยากรแร่และพลงั งาน

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 284

9. อนสุ ญั ญาไซเตส มคี วามสำคญั อย่างไร

ก. อนุรักษพ์ ้ืนทีช่ มุ่ น้ำท่วั โลก

ข. การควบคุมความเข้มข้นของแก๊สเรอื นกระจก

ค. ควบคุมการคา้ สัตวป์ ่าและพืชปา่ ทีใ่ กล้สูญพันธุ์

ง. คุม้ ครองสขุ ภาพอนามัยของมนุษยแ์ ละสง่ิ แวดล้อมจากของเสยี อันตราย

10. การใช้ถุงผา้ แทนถุงพลาสติก จัดเปน็ แนวทางการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มตามข้อใด

ก. การถนอมรักษา ข. การปฏเิ สธการใช้

ค. การซอ่ มแซมฟ้นื ฟู ง. การนำไปผลิตขึ้นใหม่

11. ปรากฏการณใ์ ดท่ีชี้ใหเ้ ห็นอยา่ งชัดเจนวา่ เกิดการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศบนโลก

ก. การเห็นแสงเหนือบริเวณขวั้ โลก

ข. ระดบั น้ำทะเลขยายตวั และเพ่มิ สงู ข้นึ

ค. โลกหมนุ รอบดวงอาทติ ย์ใช้เวลานานขึน้

ง. การเกิดฝนกรดกระจายไปทั่วภูมิภาคของโลก

12. สาเหตุหลกั ที่ทำใหเ้ กดิ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ คอื สิง่ ใด

ก. การบกุ รกุ ตัดไมท้ ำลายพื้นทีป่ ่าและผลติ ผลจากป่า

ข. การใช้เทคโนโลยีระดบั สงู เพื่อการพฒั นาผลิตภณั ฑ์

ค. การขยายตัวของโรงงานอตุ สาหกรรมเครื่องจกั รกล

ง. การใชท้ รพั ยากรแร่และพลงั งานในปริมาณท่สี งู และฟุ่มเฟอื ย

13. สถานการณ์การเปลย่ี นแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเร่ืองใดทจี่ ัดว่าเปน็ ปญั หาระดบั

โลกของประเทศไทย

ก. วิกฤตการณเ์ ก่ียวกับนำ้

ข. วกิ ฤตการณเ์ กย่ี วกบั อาหาร

ค. วิกฤตการณเ์ กย่ี วกบั แร่และพลงั งาน

ง. วิกฤตการณเ์ กย่ี วกับขยะและของเสียอันตราย

14. ขอ้ ใดให้ความหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยนื ได้ครบถว้ น ชดั เจน ถูกตอ้ งมากทีส่ ุด

ก. การพัฒนาทม่ี ุง่ เนน้ การลงทนุ สูง ได้ผลกำไรสูงสุด

ข. การพฒั นาทใ่ี หค้ วามสำคัญกบั ความเจริญด้านจติ ใจ

ค. การพัฒนาที่คำนงึ ถงึ ความตอ้ งการพ้นื ฐานของประชากร

ง. การพัฒนาเพ่ือสรา้ งความเจริญก้าวหนา้ ใหท้ ัดเทียมกับชาติตะวนั ตก

15. ข้อใด ไมจ่ ดั เปน็ แนวทางการผลิตและการบริโภคอย่างยัง่ ยนื ตามหลกั ของการใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ

ก. สมจติ ขับรถไปรบั เพอื่ นทีไ่ ปทำงานในเส้นทางเดยี วกัน

ข. สมบตั นิ ำเศษอาหารและเศษผกั ผลไม้ใสร่ วมไว้ในถังขยะ

ค. สมพรนำกระเป๋าผ้าเก่าของคุณแมม่ าซ่อมแซมเพ่ือใช้ใหม่

ง. สมศักดนิ์ ำจกั รยานเกา่ มาซอ่ มแซมและทาสีใหม่เพือ่ ใช้ขไี่ ปโรงเรียน

ส32101 สังคมศึกษา ม.5 285

16. องค์กรทเ่ี ขา้ มามีบทบาทในการเคลอื่ นไหวคัดค้านการสรา้ งโรงไฟฟ้าถา่ นหนิ ที่ อ.บอ่ นอก จ.

ประจวบครี ขี นั ธ์ คือข้อใด

ก. ยเู นสโก ข. กรีนพีซ

ค. มลู นธิ สิ ืบนาคะเสถยี ร ง. มูลนธิ ิคุม้ ครองสตั ว์ป่า

17. ประเทศไทยต้องดำเนนิ การในฐานะสมาชกิ ตามอนสุ ัญญาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยการเปลี่ยนแปลงสภาพ

ภูมอิ ากาศ ในเรอื่ งใด

ก. ควบคุมบรรยากาศภายในประเทศตามเกณฑ์

ข. ควบคมุ การเกดิ แกส๊ เรือนกระจกภายในประเทศ

ค. บรหิ ารการผลิตด้านอตุ สาหกรรมทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ ขยะ

ง. ส่งเสริมความหลากหลายทางระบบนิเวศตามกฎหมาย

18. กฎหมายระหว่างประเทศวา่ ด้วยการควบคมุ การเคลื่อนยา้ ยข้ามแดนของของเสียอันตรายและการกำจัด

คืออนุสญั ญาฉบบั ใด

ก. อนสุ ัญญาบาเซลิ ข. อนุสัญญาไซเตส

ค. อนุสญั ญาแรมซาร์ ง. อนุสัญญาเวียนนา

19. ขอ้ ใดเปน็ แนวทางการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มทม่ี ีบญั ญัติในรัฐธรรมนูญแห่ง

ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560

ก. ตอ้ งคำนึงถงึ การใชง้ บประมาณ

ข. ตอ้ งบรหิ ารจดั การโดยคนจากส่วนกลาง

ค. ต้องได้รับความเหน็ ชอบจากการปกครองทอ้ งถน่ิ

ง. ต้องมีการศกึ ษาและประเมนิ ผลต่อสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน

20. ขอ้ ใดเป็นแนวทางการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมท่ีต้องคำนงึ ถงึ เปน็ อนั ดับแรก

ก. การลงทุนของภาครฐั และเอกชน ข. การสง่ เสรมิ คุณภาพชีวิตของประชาชน

ค. การใช้เทคโนโลยีระดับสูงในการจัดการ ง. การศึกษาสำรวจแหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 10
เรือ่ ง ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มกับการพัฒนาทย่ี ั่งยืน ข
ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
เฉลย ง ก ข ข ง ข ข ง ค

ข้อ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
เฉลย ข ก ง ค ข ข ข ก ง ข

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 286

ใบงานท่ี 6.1
เร่อื ง สถานการณ์การเปลย่ี นแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนสบื คน้ ขา่ วท่แี สดงถงึ การเปลี่ยนแปลงหรือวิกฤตการณ์ด้านส่ิงแวดลอ้ มและ
ทรัพยากรธรรมชาติในภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลกหรือของประเทศไทย นำมาวิเคราะห์ แลว้ ตอบคำถาม

1. สถานการณ์ข่าวมปี ระเด็นสำคญั เก่ยี วกบั เรื่องใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จากสถานการณ์ข่าว มีสาเหตจุ ากสงิ่ ใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. จากสถานการณ์ขา่ ว ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. นกั เรียนคดิ วา่ จากสถานการณ์ข่าว มีแนวทางป้องกนั และแก้ไขอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 287

เฉลยใบงานท่ี 6.1
เร่ือง สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

คำชแี้ จง : ให้นกั เรยี นสืบค้นขา่ วท่ีแสดงถงึ การเปล่ียนแปลงหรอื วิกฤตการณด์ ้านสง่ิ แวดลอ้ มและ
ทรพั ยากรธรรมชาติในภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลกหรือของประเทศไทย นำมาวิเคราะห์ แล้วตอบคำถาม

ผ้วู า่ ฯ กาฬสินธส์ุ ่ังแก้ “ขยะไฮเทค” ทะลกั ชมุ ชน 2 หม่ืนตันต่อปี

(ตัวอย่าง)

ผู้วา่ ฯ กาฬสินธ์สุ ั่งสอบปัญหาการคัดแยกขยะอิเลก็ ทรอนิกสใ์ นชุมชน อ.ฆ้องชยั พบขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทะลกั กว่า
20,000 ตันต่อปี จนขาดสถานท่จี ดั เกบ็ ขยะและสง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพชาวบ้าน

ผสู้ อื่ ข่าวรายงานวา่ ขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ ทัง้ โทรทัศน์ พดั ลม ต้เู ย็น คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์มอื ถือ ถูกนำมาคัดแยก
ชนิ้ ส่วนขายเปน็ อาชีพหลกั ของชาวบา้ นทง้ั 12 หม่บู ้าน ใน ต.โคกสะอาด อ.ฆ้องชยั จ.กาฬสินธุ์ เจ้าหนา้ ที่พบขอ้ มูลวา่ มขี ยะ
อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ข้ามาในพ้ืนทมี่ ากกว่า 1,200 ตันต่อเดอื น เฉลยี่ ปีล่ะกวา่ 20,000 ตัน ทำใหป้ ระสบปัญหาการกำจดั ขยะทีไ่ ม่ถูก
วธิ ี และขาดสถานท่จี ดั เก็บ ลา่ สุด พื้นทบี่ ่อฝังกลบขยะอิเล็กทรอนิกส์ขององค์การบริหารสว่ นตำบลโคกสะอาดทั้ง 23 ไร่ ไม่
เพียงพอทจ่ี ะรองรบั การฝงั กลบขยะแล้ว

นายวิจิตร มูลเอก นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลโคกสะอาด เรียกรอ้ งทางภาครฐั ท่เี คยรบั ปากวา่ จะสรา้ งเตาเผา
ขยะเม่อื หลายปีก่อน ให้เรง่ ดำเนินการเพื่อแก้ปญั หา เนื่องจากท่ผี า่ นมาการคัดแยกขยะท่ไี มถ่ กู วธิ ีส่งผลตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม และ
กระทบต่อสุขภาพประชาชน เนอ่ื งจากทำใหเ้ กิดสารพษิ ปนเปื้อนและเข้าสู่รา่ งกาย ด้านนายไกรสร กองฉลาด ผู้วา่ ราชการ
จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ สง่ั การใหฝ้ ่ายปกครอง ร่วมกับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ เร่งตรวจสอบและแก้ปัญหาท้งั ระยะสั้น และ
กำหนดแนวทางแกไ้ ขในระยะยาว

ที่มา : http://news.thaipbs.or.th/content/272648

1. สถานการณข์ ่าวมีประเดน็ สำคัญเกี่ยวกับเรอ่ื งใด
………ปัญ……หา…ก…า…รเ…ก็บ…แ…ล…ะ…ท…ำล…า…ยข…ย…ะ…อ…เิ ล…็ก…ทร…อ…น…กิ …ส์…………………………………………………………………………………………
2. จากสถานการณ์ข่าว มีสาเหตุจากส่งิ ใด
……ข…ย…ะอ…ิเ…ล…ก็ ท…ร…อ…น…ิกส…ม์ …มี …า…กจ…น…เก…นิ …ไ…ป…ร…วม…ถ…งึ …มกี…า…ร…กำ…จ…ัด…ทไี่…ม…ถ่ …กู ว…ิธ…ี แ…ล…ะ…สถ…า…น…ท…ใ่ี น…ก…าร…จ…ัด…เก…บ็ …ห…รือ…ท…ำ…ล…าย……………
……ม…ไี …มเ่…พ…ีย…งพ…อ…ต…่อ…คว…า…ม…ต้อ…ง…ก…าร…………………………………………………………………………………………………………………
3. จากสถานการณ์ข่าว ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งไร
……อ…า…จท…ำ…ให…เ้…ก…ดิ ก…า…รป…น…เ…ป…อ้ื น…ข…อ…งส…า…ร…พ…ษิ ส…่สู …ิง่ …แว…ด…ล…้อ…ม…ท…งั้ ใ…น…พ…้นื …ทท่ี…เ่ี…ป…น็ …แห…ล…ง่ …น…้ำ …ท…่ีดนิ……ห…รอื …อ…า…กา…ศ…ร…ว…ม…ไป…ถ…งึ ……
……อ…า…จเ…ป…็น…แห…ล…่ง…ใน…ก…าร…เ…พ…าะ…พ…ัน…ธุ์เ…ช…้ือโ…ร…ค…ต…ล…อด…จ…น…แ…มล…ง…ส…าบ……แม…ล…ง…วัน……แล…ะ…ห…น…ู ซ…่งึ …เป…น็ …ส…ตั ว…พ์ …า…ห…นะ…น…ำ…โร…ค…………
……น…ำ…ม…าซ…ง่ึ …โร…ค…ระ…บ…า…ด…ห…รือ…โ…รค…เ…ก่ีย…ว…ก…ับ…ระ…บ…บ…ท…าง…เด…ิน…ห…า…ยใ…จ…ขอ…ง…ค…น…ใน…ช…มุ …ชน…ห…ร…ือ…พ…น้ื …ทใ่ี…ก…ลเ้…ค…ยี …ง ………………………
4. นักเรียนคดิ ว่า จากสถานการณ์ขา่ ว มีแนวทางป้องกันและแกไ้ ขอย่างไร
……ล…ดก…า…ร…ทง้ิ…ข…ย…ะอ…เิ …ล็ก…ท…ร…อ…นิก…ส…์ ห…า…แ…น…วท…า…ง…ใน…ก…าร…น…ำ…ขย…ะ…อ…ิเล…ก็ …ท…รอ…น…ิก…ส…ม์ …าแ…ป…ร…สภ…า…พ…เพ…ือ่ …ใช…้ใ…ห…ม่…ห…รือ…ห…า…ว…สั ด…ุท…ด…แทน
……ใน…ก…า…รผ…ล…ิต…อปุ…ก…ร…ณ…์อ…ิเล…็ก…ท…รอ…น…ิก…ส…์ท…่ยี อ่…ย…ส…ล…าย…ง…า่ ย……เพ…ื่อ…เป…น็ …ก…าร…ล…ด…ปร…มิ …า…ณ…ข…ยะ…อ…ิเล…ก็ …ท…ร…อน…ิก…ส…์ได…้ม…า…กย…ิง่ …ข…้นึ ………

ส32101 สงั คมศึกษา ม.5 288

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 18 มาตรการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

รายวชิ า ส 32101 สังคมศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มกับการพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื เวลาเรียน 5 ชัว่ โมง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 18 มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ครผู ู้สอน นางสาวรชนกี ร จันทร์พทิ ักษ์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด
มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กับสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพท่กี ่อให้เกดิ
การสรา้ งสรรค์วถิ ีการดำเนนิ ชวี ิต มจี ิตสำนึกและมสี ว่ นร่วมในการจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพือ่ การพฒั นาท่ยี ั่งยืน
ตัวชว้ี ดั ม. 4-6/3 ระบุมาตรการป้องกัน และแก้ไขปญั หากฎหมายและนโยบายดา้ น
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม บทบาทขององคก์ ารท่เี กยี่ วข้องและ
การประสานความรว่ มมอื ทัง้ ในประเทศและระหว่างประเทศ

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การแกไ้ ขสถานการณด์ ้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมต้องอาศยั การบงั คับใช้กฎหมาย

การกำหนดนโยบาย และความรว่ มมอื ทง้ั ในและระหว่างประเทศ

3. สาระการเรยี นรู้
1. มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในประเทศและระหวา่ ง

ประเทศ ตามแนวทางการพัฒนาท่ียั่งยนื ความม่ันคงของมนษุ ย์ และการบรโิ ภคอยา่ งรับผิดชอบ
2. กฎหมายและนโยบายดา้ นทรัพยากร ธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มทงั้ ในประเทศและระหวา่ ง

ประเทศ
3. บทบาทขององคก์ ร และการประสานความรว่ มมอื ท้ังในประเทศและระหวา่ งประเทศ

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายมาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ (K)
2. อธิบายกฎหมายและนโยบายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มได้ (K)


Click to View FlipBook Version