The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sucharat ratchasarn, 2022-04-18 06:52:00

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

49

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ วิชำพนื้ ฐำน

รหสั วิชำ ว22103 วทิ ยำศำสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษำปที ี่ 2 ภำคเรียนที่ 2
เวลำ 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาการเคลอื่ นท่ีของวัตถุท่ีเป็นผลของแรงลพั ธ์ท่ีเกิดจากแรงหลายแรงทีก่ ระทาต่อวัตถุในแนวเดยี วกัน
แรงที่กระทาต่อวัตถุในของเหลว แรงเสียดทานและแรงอ่ืน ๆ ท่ีกระทาต่อวัตถุ ปัจจัยที่มีผลต่อความดันของ
ของเหลว ปัจจัยท่ีมีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุน แรง

พยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลว แหลง่ ของสนามแมเ่ หลก็ สนามไฟฟ้าและสนามโน้มถว่ ง อัตราเร็ว
และความเรว็ ของการเคล่ือนท่ขี องการกระจัดและความเร็ว งานและกาลงั ทเ่ี กิดจากแรงที่กระทาต่อวัตถุ เช้ือเพลิง

ซากดึกดาบรรพ์ พลังงานทดแทน กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อนและการสะสมตัวของตะกอน ผลของ
กระบวนการทเ่ี กดิ จากการเปลีย่ นแปลงของเปลอื กโลก ดิน แหล่งน้า

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ

เรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 การสบื คน้ ข้อมูลและการอภปิ ราย
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การ

แก้ปญั หา การนาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม

รหสั ตวั ช้ีวดั
ว 2.2 ม. 2/1 - ม. 2/15
ว 2.3 ม.2/1- 2/6
ว 3.2 ม. 2/1 - ม. 2/10

รวมทง้ั หมด 31 ตวั ชี้วัด

50

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ วิชำพ้ืนฐำน
ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 3
รหัสวชิ ำ ว23101 วทิ ยำศำสตร์
ภำคเรียนท่ี 1
เวลำ 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

.............ศึกษา วเิ คราะห์ เก่ยี วกบั ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ยีน ดีเอน็ เอ และโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทาง

พนั ธกุ รรม การเกดิ จีโนโทปแ์ ละฟโี นไทป์ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส โรคทางพันธุกรรม การใช้
ประโยชน์และผลกระทบจากสงิ่ มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม การเกิดคลนื่ คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและสเปกตรัม ประโยชน์
และอันตรายจากคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า กฎการสะท้อนแสง การเคลือ่ นทข่ี องแสง การหกั เหของแสง ปรากฏการณท์ ่ี

เก่ียวกับแสง และการทางานของทศั นอุปกรณ์ ผลของความสวา่ งทม่ี ีต่อดวงตา ความสว่างท่ีเหมาะสมในการทา
กิจกรรมตา่ ง ๆ การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทติ ย์ การเกิด

ข้างขน้ึ ขา้ งแรม การขนึ้ และตกของดวงจนั ทร์ การเกดิ น้าขึน้ น้าลง การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นขอ้ มลู การสงั เกต

การวเิ คราะห์ การทดลอง การอภปิ ราย การอธบิ ายและสรุป

เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สอ่ื สารส่งิ ที่เรียนรู้ และนาความรู้
ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นหลักคดิ

หลกั ปฏบิ ตั ิในการเรียนรู้ มจี ิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม และจรยิ ธรรม

รหสั ตวั ชี้วัด
ว 1.3 ม.3/1 - ม.3/8
ว 2.3 ม.3/10 - ม.3/21
ว 3.1 ม.3/1 - ม.3/4

รวมท้ังหมด 24 ตัวช้ีวัด

51

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์ วิชำพื้นฐำน

รหสั วชิ ำ ว23102 รำยวิชำ เทคโนโลยี 3 ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี 3 ภำคเรยี นท่ี 1

เวลำ 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต

วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยีกับ
ศาสตร์อน่ื เพือ่ เป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ระบุปญั หาหรอื ความต้องการของชมุ ชนหรอื ท้องถนิ่ เพื่อ
พัฒนางานอาชพี รวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และแนวคดิ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับปญั หา โดยคานงึ ถึงความถูกต้องดา้ นทรพั ยส์ ิน
ทางปญั ญา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทยี บ และตดั สินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้เง่ือนไข
และทรัพยากรท่มี ีอยู่ และนาเสนอแนวทางการแก้ปญั หาให้ผู้อ่ืนเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีท่ีหลากหลาย วางแผน
ขัน้ ตอนการทางานและดาเนินการแกป้ ัญหาอย่างเป็นขนั้ ตอน ทดสอบ ประเมินผลและ อภปิ ลายข้อบกพรอ่ งหรือ
ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นภายใต้กรอบเง่ือนไข พร้อมแนวทางการปรับปรุงแก้ไขพร้อมนาเสนอผลการแก้ปัญหา ใช้ความรู้
และทกั ษะเกย่ี วกบั วัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟา้ หรืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ให้ถกู ตอ้ งตรงตามลักษณะงานและ
ปลอดภยั เพ่อื แก้ปัญหาหรือพฒั นางาน พฒั นาแอปพลิเคชนั ท่ีมกี ารบูรณาการกับวิชาอ่ืนอย่างสรา้ งสรรค์ รวบรวม
ข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน
อนิ เทอร์เน็ตที่หลากหลาย ประเมินความน่าเชอื่ ถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการใหข้ ่าวสารท่ีผิด
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ปฏบิ ัตติ ามกฏหมายเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์

โดยใช้ทักษะการสืบค้นข้อมูลการเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหาการทางาน การแก้ไขปัญหาด้วย
กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศผา่ นเครอื ขา่ ยได้

เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ มีสมรรถนะสาคัญ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติในการเรยี นรู้ สามารถสร้างช้ินงานจากจินตนาการ
ด้วยโปรแกรมนาเสนอข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม โดยนาภูมิปัญญาท้องถ่ินมา
ประยุกตใ์ ช้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการดารงชวี ิต

รหสั ตวั ชวี้ ดั
ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
รวมทง้ั หมด 9 ตัวช้วี ัด

52

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์ วชิ ำพ้นื ฐำน

รหสั วิชำ ว23103 วทิ ยำศำสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 3
ภำคเรยี นท่ี 2
เวลำ 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

.............ศกึ ษา วเิ คราะห์ เก่ียวกับ การเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี กฎทรงมวล ปฏิกริ ิยาดูดความรอ้ น และปฏิกริ ิยาคายความ
รอ้ น ปฏริ ยิ าการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏกิ ริ ิยาของกรดกบั โลหะ ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั เบส และปฏิกิริยาของเบสกับ
โลหะ ประโยชนแ์ ละโทษของปฏิกิรยิ าเคมีทีม่ ีต่อส่ิงมีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม วสั ดปุ ระเภทพอรล์ เิ มอร์ เซรามกิ ส์และ

วัสดผุ สม ความสัมพันธร์ ะหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน การต่อวงจรอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ยา่ งง่าย
การคานวณพลังงานไฟฟา้ การเลอื กใชเ้ ครือ่ งใช้ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั และปลอดภยั และ ปฏิสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบ

ของระบบนเิ วศ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชวี ิตในรูปแบบต่างๆ การถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธ์
ของผ้ผู ลติ ผ้บู ริโภคและผยู้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ในระบบนิเวศ การสะสมสารพิษในสิง่ มีชีวติ ในโซอ่ าหาร การรักษา
สมดลุ ของระบบนเิ วศ ความหลากหลายทางชีวภาพ

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสืบค้นขอ้ มูล การสงั เกต การ
วเิ คราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธบิ าย สรุป และออกแบบวธิ แี ก้ปญั หาในชวี ติ ประจาวันโดยใช้ความรู้

เก่ียวกบั ปฏิกิริยาเคมี โดยบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์
เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สือ่ สารส่ิงทเ่ี รียนรู้ และนาความรู้

ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลกั คดิ

หลกั ปฏบิ ัติในการเรยี นรู้ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจรยิ ธรรม

รหัสตวั ช้ีวัด
ว 1.1 ม.3/1 - ม.3/6
ว 1.3 ม.3/9 - ม.3/11

ว 2.1 ม.3/1 - ม.3/8
ว 2.3 ม.3/1 - ม.3/9

รวมทงั้ หมด 26 ตัวชี้วัด

53

คำอธบิ ำยรำยวิชำ
วชิ ำเพ่มิ เติม

54

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพิม่ เตมิ
รหัสวชิ ำ ว20201 เทคนคิ ปฏิบัตกิ ำรชวี วิทยำเบือ้ งตน้ ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี 1 ภำคเรียนที่ 1

เวลำ 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วย

ศึกษาหลักการและปฏิบัติการเก่ียวกับเทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์

แบบสเตอริโอในการศึกษาสิ่งมีชีวติ ขนาดเล็ก การศึกษาองค์ประกอบท่ีสาคัญในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การ
เตรยี มสไลดส์ ด การเก็บรักษาตัวอย่างแมลงและการเก็บตัวอย่างพรรณไมโ้ ดยวธิ กี ารตา่ งๆ

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสังเกต การสารวจตรวจสอบ การ
วิเคราะห์ และการอภิปราย การแก้ปัญหาและการให้เหตุผล และนาความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการและ
สมรรถนะสาคัญไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์

เพื่อใหเ้ ห็นคณุ ค่าและมเี จตคติท่ีดีตอ่ วิทยาศาสตร์ มีระเบียบ มีความรบั ผิดชอบ มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
มีวิจารณญาณ มีจิตสานึกในการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีคุณธรรม จริยธรรม ยึด

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิด หลักปฏิบัติในการเรียนรู้ และมีค่านิยมที่เหมาะสมสอดคล้องกับ
ทอ้ งถน่ิ

ผลกำรเรียนรู้
1. สามารถใช้และบารุงรกั ษากล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สง และกลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบสเตอริโอในการศึกษา

ส่งิ มชี ีวิตขนาดเล็กได้อย่างถกู ตอ้ งตามข้ันตอน
2. สามารถอธบิ ายองคป์ ระกอบท่ีสาคัญในเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ได้
3. สามารถเตรียมสไลด์สดและวาดภาพระบรุ ายละเอยี ดทีส่ าคญั ได้

4. เก็บรักษาตวั อย่างแมลงและตัวอย่างพรรณไมโ้ ดยวิธกี ารตา่ งๆ พร้อมทง้ั บนั ทึกข้อมลู แสดงรายละเอียด
ของตวั อย่างแมลงและพืชไดถ้ กู ต้อง

รวมทง้ั หมด 4 ตวั ชวี้ ดั

55

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพมิ่ เติม
รหสั วิชำ ว20202 วิทยำศำสตร์เสริมทกั ษะ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 1 ภำคเรียนที่ 1

เวลำ 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษา ความหมายของวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ ประเภทความรู้
วิทยาศาสตร์ ลักษณะสาคัญของนักวทิ ยาศาสตร์ ผลของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีมผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก
วธิ กี ารใชอ้ ปุ กรณ์พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ในหอ้ งปฏิบตั ิการ ขอ้ ปฏบิ ตั ิเพือ่ ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั ิการ และการ
บารงุ รักษาอุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การฝึกทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ วิธีการทาง
วทิ ยาศาสตร์ การทดลอง การหาขอ้ มูล การวัดปริมาณ การเขียนรายงานการทดลอง เครอ่ื งมือวัดอุณหภูมิ และการ
เปลย่ี นหน่วยอุณหภูมิ

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื ค้นขอ้ มลู การสงั เกต การ

วเิ คราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธบิ ายและสรุป
เพือ่ ใหเ้ ห็นคุณค่า และมคี วามสามารถในการตัดสินใจ สอื่ สารสิ่งทเ่ี รียนรู้ และนาความร้ไู ปประยุกต์ใช้ใน

ชวี ติ ประจาวนั มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ หลกั คิดหลักปฏบิ ตั ใิ นการ

เรยี นรู้ มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม และจริยธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของวิทยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้
2. สบื คน้ ข้อมูล และอธิบายความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์และประเภทความรู้วิทยาศาสตร์ได้
3. สืบคน้ ข้อมลู และอธิบายลกั ษณะสาคญั ของนกั วิทยาศาสตร์ได้
4. สบื ค้นข้อมลู และอธิบายผลของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที มี่ ผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงของโลกได้
5. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และสาธิตเทคนิควธิ กี ารใช้อุปกรณ์การทดลองวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐานต่างๆ และเลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื

และอปุ กรณใ์ นการหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตรไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม
6. สืบคน้ ข้อมลู และบอกขอ้ ควรปฏิบัตเิ พอื่ ความปลอดภยั ในห้องปฏิบตั ิการและการบารงุ รกั ษาอปุ กรณว์ ทิ ยาศาสตร์ได้
7. สบื คน้ ข้อมลู และอธบิ ายเกี่ยวกับการใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการอธิบายการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ได้
8.บนั ทกึ และอธิบายผลการสงั เกต การสารวจ ตรวจสอบ คน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ จากแหลง่ ความรตู้ ่างๆ ใหไ้ ด้ข้อมูลทเ่ี ชื่อถือได้
9. ทดลอง วเิ คราะห์ สงั เกต อธิบายและนาเสนอ ข้อมูลเกย่ี วกบั หลกั การออกแบบการทดลอง ตามหลกั การทาง

วิทยาศาสตรไ์ ด้
10. อธบิ ายการเขยี นรายงานการทดลอง ทางวิทยาศาสตร์ได้
11. อธบิ ายเครอื่ งมือวดั อณุ หภมู ิ และ เปล่ียนหนว่ ยการวดั อุณหภมู ไิ ดถ้ กู ตอ้ ง

รวมทั้งหมด 11 ข้อ

56

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพิ่มเติม
รหสั วชิ ำ ว20203 เทคนิคปฏบิ ัตกิ ำรเคมเี บ้อื งต้น ชน้ั มธั ยมศึกษำตอนต้น
เวลำ 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศกึ ษาข้อปฏิบตั ิในการทางานในหอ้ งปฏบิ ัติการเคมี ซ่ึงเก่ียวกบั ความปลอดภัยในห้องปฏิบตั กิ ารเคมี
เทคนคิ พ้นื ฐานในการวดั กระบวนการวดั ความผิดพลาดและความถกู ต้องแน่นอนของการวดั เลือกและใช้

อปุ กรณ์หรือเครอื่ งมือในการทาปฏบิ ัตกิ าร รวมทัง้ การอ่านคา่ และคานวณระบบหนว่ ยพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์
การเปล่ยี นหน่วยโดยคานงึ ถึงเลขนยั สาคัญ เทคนคิ วธิ ีการและปฏบิ ตั ิการทดลองเกีย่ วกับการแยกสารและใช้

อปุ กรณใ์ นการแยกสาร และวดั ความเปน็ กรด – เบสของสารละลาย และปฏบิ ัติการทดลองหาปริมาณวิตามนิ ซี
จากผักและผลไม้ มีสมรรถนะสาคัญ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นหลัก
คดิ หลกั ปฏิบัตใิ นการเรียนรู้

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์การสบื เสาะหาความรู้ การสังเกต การอธบิ าย โดยการสารวจ
ตรวจสอบสืบคน้ ข้อมูลและการอภิปราย

เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจอยา่ งมีเหตุผล ส่ือสารส่ิงท่ีเรยี นรู้ มีความอยากร้อู ยากเห็น สามารถ
ตดั สนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ นาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวันมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์และจริยธรรม คณุ ธรรม
คา่ นิยมทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกบั ทอ้ งถิ่น

ผลกำรเรียนรู้

1. ระบุขอ้ ควรปฏิบตั ิและปฏิบตั ิตามข้อควรปฏบิ ัติในหอ้ งปฏิบตั กิ ารเคมีได้
2. บอกและอธิบายการปฏบิ ัติตนท่ีแสดงถงึ ความตระหนักในการทาปฏิบัตกิ ารเคมีเพอื่ ใหม้ ีความปลอดภัย
ทั้งต่อตนเอง ผอู้ ่ืน และสง่ิ แวดล้อม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตุ

3. เลอื กและใช้อุปกรณห์ รือเครือ่ งมือในการทาปฏบิ ัตกิ าร และวดั ปรมิ าณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
4. ระบหุ นว่ ยพ้ืนฐานทางวทิ ยาศาสตร์ การเปล่ยี นหนว่ ยและการคานวณโดยคานึงถงึ เลขนัยสาคัญได้

5. แปลความหมายของตัวอกั ษร ตัวเลข ทปี่ รากฏบนอปุ กรณ์ท่ีใช้ในห้องปฏิบัตกิ ารเคมีได้
6. คานวณและเตรยี มสารละลายทม่ี ีความเข้มขน้ ในหนว่ ยของร้อยละโดยมวล ร้อยละโดยปรมิ าตร และ
สว่ นในล้านส่วนได้
7. สามารถอธิบายและเลอื กใช้เทคนคิ การแยกสารและใชอ้ ปุ กรณ์ในการแยกสารได้อย่างถูกต้อง
8. สามารถวดั ความเป็นกรด – เบสของสารละลายไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

9. ปฏบิ ัตกิ ารทดสอบหาปรมิ าณวติ ามินซจี ากผักและผลไม้

รวมทั้งหมด 9 ผลกำรเรยี นรู้

57

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ วิชำเพม่ิ เติม
รหัสวิชำ ว20204 วิทยำศำสตร์เสริมทกั ษะ 2 ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี 1 ภำคเรียนท่ี 2

เวลำ 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศกึ ษา ความหมายของแรง ปรมิ าณสเกลาร์ ปรมิ าณเวกเตอร์ และประเภทของแรง ผลรวมของแรง แรง

เสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลอ่ื นที่และตาแหนง่ กบั ของวตั ถุ สมบตั ิของสาร การจาแนกสาร สารเน้ือเดยี ว
สารเนือ้ ผสม สารละลายกรด สารละลายเบส และอนิ ดเิ คเตอร์

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื ค้นขอ้ มูล การสังเกต การ

วิเคราะห์ การทดลอง การอภปิ ราย การอธิบายและสรุป
เพ่อื ใหเ้ หน็ คุณค่า และมีความสามารถในการตัดสินใจ สือ่ สารสง่ิ ทเ่ี รยี นรู้ และนาความร้ไู ปประยกุ ต์ใชใ้ น

ชีวติ ประจาวนั มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นหลกั คดิ หลักปฏบิ ัติในการ
เรยี นรู้ มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจรยิ ธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. สืบค้นข้อมูลและอธบิ ายความหมายของแรง ปริมาณสเกลาร์ ปรมิ าณเวกเตอร์ และประเภทของแรงได้
2. ทดลองและอธิบายความสัมพันธก์ ารเคล่อื นที่และตาแหน่งของวัตถไุ ด้
3. ทดลองและอธิบายเก่ียวกับแรงเสียดทานที่เกดิ จากสถานการณ์ต่างๆ และเสนอแนวคิดในการเพ่ิมหรือลด

แรงเสียดทาน เพื่อการใช้ประโยชน์ ได้
4. อธิบายหลกั การของโมเมนต์ของแรง คานวณโมเมนต์ของแรงในสถานการณ์ต่างๆ และยกตัวอยา่ ง

การนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั ได้
5. ทดลองและอธบิ ายสมบัติทางกายภาพ และจาแนกประเภทของสารเปน็ กลมุ่ ตามลักษณะของเน้ือสารและขนาด

ของอนภุ าคสารได้
6. สารวจ ทดลอง และอธบิ ายความแตกต่างระหว่างสมบัตลิ กั ษณะเนื้อสารของสารเนอื้ เดียว สารเนอ้ื ผสม ขนาด

อนุภาคของสารแขวนลอย คอลลอยด์ สารละลายได้
7. สารวจและอธบิ ายสมบตั ขิ องสารละลายกรด-เบส ที่ใช้ในชวี ติ ประจาวนั และผลที่มตี อ่ ตนเองและ สิ่งแวดลอ้ มได้
8. ตรวจสอบความเปน็ กรด-เบสของสารละลายโดยใช้อนิ ดิเคเตอร์ และอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างค่า pH กบั

ระดับความเป็นกรด-เบสของสารละลาย

รวมทัง้ หมด 8 ข้อ

58

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพิม่ เติม

รหสั วิชำ ว20205 เทคนคิ ปฏิบัติกำรฟิสกิ สเ์ บอ้ื งต้น ชั้นมัธยมศกึ ษำตอนตน้
เวลำ 40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักการและปฏิบัติการทดลองการใช้เครื่องมือวัดทางฟิสิกส์เบ้ืองต้น โดยการลงมือปฏิบัติกิจกรรม
ตา่ งๆ เพ่ือหาคาตอบด้วยตนเอง ในการทดลองแก้ปญั หาทางฟิสกิ ส์ เกยี่ วกับการวัดปริมาณต่างๆทางฟิสกิ ส์ ความ

ผดิ พลาดและขอบเขตของการวัดไดแ้ ก่ ระยะทาง เวลา อุณหภูมิ และปริมาณทางไฟฟา้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์

เปรยี บเทียบอธิบาย อภิปราย และสรุป

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
รวมทั้งทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศด้านการคิดและการแก้ปัญหา สามารถสื่อสาร

สง่ิ ที่เรียนรู้และนาความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ของตนเอง มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม

ผลกำรเรยี นรู้
1. ใชเ้ ครือ่ งมือวดั อยา่ งละเอยี ดด้วยไมโครมเิ ตอร์และเวอรเ์ นยี ร์คาลิเปอร์ได้
2. ใช้เครือ่ งมือและคานวณหาความเร็ว ความเรง่ จากแถบกระดาษเครื่องเคาะสัญญาณเวลาได้

3. ใช้เคร่อื งมอื และทดลองการวดั อณุ หภูมิโดยใช้ เทอร์โมมิเตอร์ได้
4. ใช้เคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้า ในการวัดค่าความต้านทาน กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าได้

รวมทั้งหมด 4 ผลกำรเรียนรู้

59

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ วชิ ำเพิ่มเติม

รหัสวิชำ ว20206 วิทยำศำสตร์กับควำมงำม ชัน้ มธั ยมศึกษำตอนตน้
เวลำ 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับความงาม โครงสร้างร่างกายการดูแลผิวพรรณ
เครื่องสาอางในชีวติ ประจาวนั และเครื่องสาอางในท้องตลาด การใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อความงามและสุขภาพ

เทคโนโลยีเพ่ือความงามและสุขภาพ แนวทางปฏบิ ัตเิ พ่ือดูแลความงามตามธรรมชาติทีส่ มวัย โดยใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีรู้ มีความสามารถในการ
ตดั สินใจ นาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม

ผลกำรเรยี นรู้

1. อธบิ ายโครงสร้างท่ีเก่ียวข้องกบั ความงาม ระบุปัญหาและแนวทางแกไ้ ขปญั หาความงามในวยั รุ่น
2. สืบค้นข้อมลู เกย่ี วกับเคร่อื งสาอางและผลท่ีเกิดจากการใช้เครอ่ื งสาอางในชวี ติ ประจาวนั
3. สารวจและสืบค้นขอ้ มลู เกี่ยวกับสมุนไพรและเทคโนโลยีทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับความงามและสขุ ภาพ รวมท้ังนา

ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
4. สารวจและสืบค้นข้อมลู เก่ยี วกบั เครอ่ื งสาอางทม่ี ีจาหนา่ ยในท้องตลาด และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
5. ตระหนกั ถึงความสาคญั ในการดูแลสุขภาพผวิ กาย และนาความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั มีจิต

วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสมทเี่ ก่ยี วกับความงาม

รวมท้งั หมด 5 ผลกำรเรียนรู้

60

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพิม่ เติม

รหัสวิชำ ว20207 สนุกกับโครงงำนวิทยำศำสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษำตอนตน้
เวลำ 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

................ศึกษา วเิ คราะห์ ทากิจกรรม สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ลกั ษณะสาคัญของ
โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทต่างๆ การเริม่ ตน้ ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ด้วยการตง้ั คาถามและการสืบค้น

ข้อมลู การวางแผนและการออกแบบโครงงานวทิ ยาศาสตร์ การเขยี นเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ การทา
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การเขยี นรายงาน และการนาเสนอโครงงานวทิ ยาศาสตร์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้

เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารสิง่ ที่รู้ มีความสามารถในการตัดสินใจนาความร้ไู ป
ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม

ผลกำรเรียนรู้
1. ตัง้ คาถามจากสถานการณต์ ่างๆ ตามความสนใจ โดยมีประเดน็ หรอื ตวั แปรทส่ี าคัญในการสารวจ

ตรวจสอบหรอื ศกึ ษาได้อย่างครอบคลมุ และเช่อื ถือได้
2. ออกแบบและวางแผนการสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดและควบคมุ ตัวแปรต่างๆ กาหนดนยิ ามเชงิ

ปฏบิ ตั ิการ เลอื กวิธกี ารสารวจตรวจสอบเชงิ ปริมาณ เชงิ คุณภาพท่ไี ด้ผลเท่ียงตรงและปลอดภัย โดยใช้
วสั ดุและเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสม
3. วิเคราะหแ์ ละอธิบายผลการทดลองเชอ่ื มโยงกบั สมมตฐิ าน และสถานการณ์ในชวี ติ ประจาวันได้

4. วเิ คราะหโ์ ครงงานวิทยาศาสตร์ และมีแนวคิดในการวางแผนการทดลอง รวมถงึ จัดทาเค้าโครงของ
โครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้

5. ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ตามความสนใจ โดยมขี ้ันตอนของกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ในการ
แก้ปญั หา และนาเสนอได้อยา่ งเหมาะสม

รวมท้ังหมด 5 ผลกำรเรียนรู้

61

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพ่มิ เติม

รหสั วชิ ำ ว20208 โครงงำนวทิ ยำศำสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษำตอนต้น

เวลำ 40 ช่วั โมง จำนวน 1 หน่วยกิต

สบื คน้ ข้อมูล สำรวจตรวจสอบ สงั เกต ทดลอง วิเครำะห์ อภิปรำย กำรแปลควำมหมำย

กำรแก้ปญั หำและอธิบำยเกีย่ วกับ ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ ควำมหมำยและประเภทของโครงงำน

วิทยำศำสตร์ กำรแกป้ ญั หำ กำรต้ังสมมติฐำน เลือกวัสดุ เทคนิควธิ ี อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในกำรสงั เกต กำรวดั กำร

สำรวจตรวจสอบอย่ำงถูกตอ้ งทง้ั ทำงกว้ำงและลกึ ในเชงิ ปริมำณและคุณภำพ บันทึกผลกำรสำรวจตรวจสอบอย่ำง

เปน็ ระบบถกู ต้อง ออกแบบกำรทดลอง วำงแผนกำรดำเนนิ งำน กำรเขียนเค้ำโครงของโครงงำนวทิ ยำสำสตร์

จัดแสดงผลงำน เขียนรำยงำน และผลของโครงงำนให้ผอู้ ่นื เขำ้ ใจ

โดยใชก้ ระบวนกำรทำงวิทยำศำสตรก์ ำรสบื เสำะหำควำมรโู้ ดยกำรสำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล

บันทึก รวบรวมข้อมูล จัดกระทำขอ้ มูล และกำรอภิปรำย

เพอื่ ให้เกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจอย่ำงมเี หตุผล สือ่ สำรสง่ิ ท่ีเรียนรู้ มคี วำมอยำกร้อู ยำกเหน็

สำมำรถตัดสนิ ใจอย่ำงเป็นระบบ นำควำมรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน มีจติ วิทยำศำสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และ

ค่ำนยิ มทเ่ี หมำะสมสอดคลอ้ งกับท้องถ่นิ

ผลกำรเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนสำมำรถ

1. ศกึ ษำค้นคว้ำ รวบรวมขอ้ มลู จำกแหลง่ กำรเรียนร้ตู ่ำงๆ มำศกึ ษำและแก้ปญั หำโดยใช้

ทักษะกระบวนและวธิ กี ำรทำงวิทยำศำสตร์

2. มีควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ และวธิ กี ำรทำงวิทยำศำสตร์

ในกำรศึกษำอยำ่ งเปน็ ระบบ

3. มีเจตคตทิ ำงวิทยำศำสตร์และมคี วำมสำมำรถในกำรตดั สินใจ

4. เหน็ คณุ คำ่ ของผลงำนวทิ ยำศำสตรท์ ไี่ ด้จำกกำรศกึ ษำทดลองและสำมำรถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ใน

ชีวติ ประจำวนั

5. มีควำมคิดรเิ ริม่ สรำ้ งสรรค์ในกำรเลือกหัวขอ้ และสรำ้ งผลงำนโครงงำนวทิ ยำศำสตร์

6. มีควำมสำมำรถในกำรวำงแผนกำรทำงำนเป็นทมี อยำ่ งเปน็ ระบบ

7. สำมำรถออกแบบวธิ กี ำรและดำเนนิ กำรศึกษำเพือ่ หำคำตอบหรอื แกป้ ัญหำได้อย่ำงเหมำะสม

8. เขียนรำยงำนถกู ตอ้ งตำมแบบฟอร์มกำรเขยี นรำยงำนกำรจัดทำโครงงำน

9. ใช้ภำษำเหมำะสมและถูกหลกั ไวยำกรณใ์ นกำรเขียนรำยงำน

10. จดั แสดงผลงำนโครงงำนวิทยำศำสตรไ์ ดอ้ ยำ่ งน่ำสนใจ มีควำมประณตี สวยงำม และใชว้ ัสดุ

อปุ กรณ์ประกอบกำรจัดแสดงทีเ่ หมำะสม

11. นำเสนอผลงำนด้วยกำรบรรยำยได้ครอบคลุมประเด็นท่ีศกึ ษำ

12. อภปิ รำยและตอบปญั หำข้อซกั ถำมได้ตรงประเดน็

62

รวมทัง้ หมด 12 ผลกำรเรียนรู้

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพม่ิ เติม

รหัสวิชำ ว20209 ปฏิบัติกำรดำรำศำสตร์พน้ื ฐำน ชั้นมธั ยมศึกษำตอนต้น
เวลำ 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกติ

ศึกษาและค้นคว้าเก่ียวกับประวัติศาสตร์ดาราศาสตร์ การใช้เครื่องมือทางดาราศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์
กาหนดตาแหน่งของวัตถุท้องฟ้าที่สัมพันธ์กับตาแหน่งบนโลก ทรงกลมท้องฟ้า ตาแหน่งของวัตถุท้องฟ้าบนทรง

กลมท้องฟ้า กลุ่มดาว เวลาดาราคติ เวลาสุริยคติ เวลาท้องถนิ่ และเวลามาตรฐานสากล ความสมั พันธ์ระหวา่ งดวง
อาทติ ย์ โลก และดวงจันทร์ ระบบสรุ ิยะ ดาวฤกษ์ กาแล็กซี่ เอกภพ และเทคโนโลยี

อวกาศโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วเิ คราะห์

เปรยี บเทียบอธบิ าย อภิปราย และสรปุ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

รวมทั้งทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ในดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการคิดและการแก้ปัญหา สามารถสื่อสาร
สงิ่ ท่ีเรยี นรู้และนาความร้ไู ปใชใ้ นชวี ติ ของตนเอง มีจติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม

ผลกำรเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของดาราศาสตรท์ สี่ มั พันธก์ ับชีวติ ได้

2. อธบิ ายพัฒนาการของดาราศาสตร์ต้งั แตส่ มยั เรม่ิ แรก ถึงสมัยปัจจบุ นั ได้
3. อธิบายการกาหนดตาแหน่งของวัตถทุ อ้ งฟา้ ทส่ี ัมพนั ธก์ บั ตาแหนง่ บนโลก ทรงกลมท้องฟ้า

ตาแหน่งของวตั ถทุ อ้ งฟา้ บนทรงกลมท้องฟ้าได้

4. อธิบายความหมายของเวลาดาราคติ เวลาสรุ ยิ คติ เวลาท้องถนิ่ และเวลาสากลได้
5. บอกสว่ นประกอบ สามารถติดตงั้ กลอ้ งโทรทรรศน์ และใชง้ านกลอ้ งโทรทรรศนไ์ ด้

6. อธบิ ายการเกิดและวิวฒั นาการของระบบสุรยิ ะ ดาวฤกษ์ กาแลก็ ซี และเอกภพได้
7. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทรไ์ ด้
8. สบื ค้นและอธบิ ายเกย่ี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ ในการสารวจทรพั ยากร ในการสื่อสาร

ทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา และการศกึ ษาทางดาราศาสตรไ์ ด้

รวมทงั้ หมด 8 ผลกำรเรยี นรู้

63

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วชิ ำเพ่ิมเตมิ
ชัน้ มัธยมศึกษำตอนตน้
กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 1.0 หน่วยกติ
รหสั วชิ ำ ว20210 พลงั งำนทดแทนกบั กำรใช้ประโยชน์
เวลำ 40 ชั่วโมง

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ทดลอง ตรวจสอบ เกยี่ วกบั พลงั งานแสงอาทิตย์ พลงั งานลม พลงั งานนา้
พลงั งานชวี มวล และพลงั งานนิวเคลียร์ เพอ่ื ให้มีความรู้ความเข้าใจในหลกั การทางวิทยาศาสตรข์ องพลังงาน
ดงั กล่าว และการนามาใช้เป็นพลงั งานทดแทน และตระหนกั ในบทบาทและผลกระทบของพลังงานเหลา่ นน้ั ทีม่ ตี อ่
มนษุ ยแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถ
ส่ือสารสงิ่ ท่ีเรยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ

นาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ผลกำรเรยี นรู้

1. อธบิ ายความสาคัญของพลังงานทดแทน
2. อธบิ ายหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ ในการนาพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลงั งานน้า พลงั งานชวี มวล

และพลงั งานนวิ เคลยี ร์ ไปใช้ประโยชน์
3. อธิบายการใชป้ ระโยชน์ พลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงานลม พลังงานน้า พลงั งานชีวมวลและพลังงาน

นิวเคลยี ร์ ในประเทศไทย
4. อธบิ ายขอ้ ดแี ละข้อจากัดเก่ยี วกับการใช้ประโยชนแ์ ละแนวทางการพัฒนา ของพลังงานแสงอาทิตย์

พลงั งานลม พลังงานนา้ พลงั งานชีวมวลและพลังงานนิวเคลียร์

รวมท้ังหมด 4 ผลกำรเรียนรู้

64

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพิม่ เติม

รหสั วิชำ ว 20211 เพมิ่ เตมิ คอมพวิ เตอร์ 1 (ซอฟแวร์ประยุกต)์ ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 ภำคเรียนที่ 1
เวลำ 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ และหลักการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ
เช่น โปรแกรมเอกสาร โปรแกรมตาราง/ข้อมูลทางาน โปรแกรมนาเสนองาน และโปรแกรมอื่นๆ โดยใช้การ
ปฏิบัติสร้างช้ินงานจากการใช้งานซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ ออกแบบเอกสารและการจัดทา เอกสารในสานักงานอย่าง

มืออาชีพ จัดกระทาข้อมูลระดับสูง และสร้างงานนาเสนอเกี่ยวกับโรงเรียนชาวนาอย่างมืออาชีพ ตลอดจน
สามารถประยุกต์โปรแกรมต่างๆ มาช่วยเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทางาน ในรูปแบบทีเ่ หมะสมกับลกั ษณะงาน

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้น กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
และ การสร้างสรรค์ผลงานเป็นสากล รวมถึงการฝึกปฏิบัติอย่างเข้มเพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชพี

เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เข้าใจและเห็นคุณคา่ ของซอฟต์แวร์ สามารถจัดทาชน้ิ งานจากซอฟต์แวร์ประยุกต์ มี
ความรับผิดขอบ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้และมีความมุ่งมนั่ ในการทางาน ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี จิตสานึก

และรับผิดขอบ สามารถติดต่อส่ือสาร คิดแก้ปัญหา นาช้ินงานเผยแพร่สู่สาธารณะซนได้อย่างมี คุณธรรมและ
จรยิ ธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญเกีย่ วกบั ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ตา่ งๆ

2. ปฏบิ ตั ิการออกแบบและสร้างสรรคผ์ ลงานชน้ั สงู จากโปรแกรมสร้างงานเอกสาร อยา่ งมีคณุ ธรรม
โดยไมล่ อกเลยี นผลงานของคนอนื่

3. ปฏบิ ตั ิการออกแบบและจัดการข้อมูลงานจากโปรแกรมตาราง/ขอ้ มูลทางาน

4. ปฏิบตั กิ ารออกแบบและสร้างสรรค์งานนา่ เสนอช้ันสงู จากโปรแกรมน่าเสนอ อยา่ งมีคุณธรรม โดยไมล่ อก
เลยี นผลงานของคนอืน่

รวมทัง้ หมด 4 ผลกำรเรียนรู้

65

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ วิทยำศำสตร์ วิชำเพ่มิ เติม
รหัสวิชำ ว20212 เทคโนโลยหี ุ่นยนต์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี 1
เวลำ 40 ชวั่ โมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต

ศึกษาเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี ับศาสตร์อ่นื ๆ ศกึ ษาสว่ นประกอบ โครงสร้างและหน้าที่
ของหนุ่ ยนต์ ศกึ ษาพน้ื ฐานดา้ นหุ่นยนต์เลโก้และอุปกรณ์ต่างๆ มีความร้ใู นการเลอื กใชเ้ ครื่องมอื และวัสดุในการ
ออกแบบหนุ่ ยนต์

โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบคน้ กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
และการสร้างสรรคผ์ ลงานเป็นสากล รวมถึงการฝึกปฏิบตั ิอย่างเข้มเพือ่ เป็นพนื้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ และการ
ประกอบอาชีพ

เพื่อให้พัฒนาผู้เรียนให้ใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ผลงานได้อย่างถูกวิธี ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
และมีประสิทธผิ ล สามารถน่าเสนอผลงานได้อย่างมืออาชีพ สามารถน่าความรู้และทักษะการสร้างแอนิเมชัน
ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างมจี ิตสานึกท่ีดี มีความรบั ผดิ ชอบ มีคณุ ธรรม รวมถึงใช้ทรัพยากรอยา่ ง
ประหยัดคุม้ คา่ และมีคณุ ธรรม

ผลกำรเรยี นรู้

1. อธิบายเช่อื มโยงความสมั พนั ธร์ ะหว่างเทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ ่นื ๆ
2. อธบิ ายสว่ นประกอบและหนา้ ทข่ี องหนุ่ ยนต์ได้
3. อธิบายโครงสร้างและวงจรควบคุมหุน่ ยนต์ได้
4. สามารถประกอบหุ่นยนตพ์ ืน้ ฐานตามแบบที่กาหนดให้
5. มคี วามตระหนักในการดูแลรักษาอุปกรณเ์ ทคโนโลยหี ุน่ ยนต์อย่างเหมาะสม
6 สามารถควบคมุ หุน่ ยนต์ได้

7. สามารถออกแบบและประกอบหุ่นยนต์ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดได้

8. สามารถควบคุมหุ่นยนต์เพ่ือพชิ ิตภารกิจได้

รวมทั้งหมด 8 ผลกำรเรยี นรู้

66

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพมิ่ เติม

รหัสวิชำ ว 20213 เพิ่มเตมิ คอมพวิ เตอร์ 2 (กำรสรำ้ งส่ือสง่ิ พมิ พ์) ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรยี นที่ 2

เวลำ 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาเก่ียวกับกระบวนการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีการออกแบบสิ่งพิมพ์ การใช้อุปกรณ์
ท่ีเกี่ยวข้อง การใช้เคร่ืองมือและคาส่ังการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ในโปรแกรมผลิตสื่อส่ิงพิมพ์ ปฏิบัติการสร้างส่ือส่ิงพิมพ์
ต้งั แต่การใช้เครื่องมือ การจัดข้อความ ภาพและวัตถุ รวมถึงเอกสาร สิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ และอิเล็กทรอนิกส์ได้
อย่างชานาญ การถ่ายทอดความคิดสู่ผ่านการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงาน ใช้ซอฟต์แวร์สร้างสรรค์งานส่ือ
สง่ิ พมิ พ์ประเภทแผน่ พบั ประชาสัมพันธ์โรงเรยี นชาวนา และหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์เก่ยี วกับประเทศในอาเซียนอยา่ ง
เปน็ สากลโดยใช้จินตนาการตามความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์

โดยใช้กระบวนการกล่มุ กระบวนการสืบค้น กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
และ การสร้างสรรค์ผลงานเป็นสากล รวมถึงการฝึกปฏิบัติอย่างเข้มเพื่อเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อและการ

ประกอบอาชพี

เพ่ือให้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดขอบ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้และมีความมุ่งมั่นในการทางาน สามารถ
ออกแบบส่ือส่ิงพิมพ์แบบต่างๆ และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างมืออาชีพ เผยแพร่สู่สาธารณะชนได้อย่างมี
คุณธรรมและจริยธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. อธบิ ายกระบวนการผลิตส่อื สงิ่ พิมพ์ดว้ ยคอมพิวเตอร์
2. ใชโ้ ปรแกรมผลิตส่ือสงิ่ พมิ พ์ได้อย่างชานาญ

3. เลือกใชโ้ ปรแกรมออกแบบส่งิ พมิ พใ์ หต้ รงกับวัตถุประสงคข์ องงาน
4. ปฏบิ ัตกิ ารสรา้ งสื่อสิง่ พมิ พ์ประเภทแผน่ พับประชาสัมพันธ์อย่างเปน็ สากล และมคี ุณธรรมโดยไมล่ อกเลียน

ผลงานของคนอน่ื

5. ใช้โปรแกรมผลิตหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ได้
6. สรา้ งหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับประเทศในอาเซยี นทเี่ ป็นสากลดว้ ยโปรแกรมทาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์

อย่างมคี ณุ ธรรมโดยไมล่ อกเลยี น ผลงานของคนอื่น
7. นาเสนอสอื่ ทีผ่ ลิตขึ้นไดอ้ ย่างเหมาะสม
รวมทง้ั หมด 7 ผลกำรเรยี นรู้

67

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กล่มุ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพม่ิ เตมิ
รหสั วิชำ ว20214 เทคโนโลยหี นุ่ ยนต์ 2 ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 1
เวลำ 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาการใช้งานเทคโนโลยีหุ่นยนต์และการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของหุ่นยนตอ์ ยา่ งเป็น

ขน้ั ตอน ศกึ ษาพื้นฐานด้านหุ่นยนต์เลโก้และอุปกรณ์ต่างๆ มีความรู้ในการเลือกใช้เครื่องมอื และวัสดุในการ
ออกแบบหุน่ ยนต์และเขยี นโปรแกรมเพือ่ ควบคุมอุปกรณต์ า่ งๆของหนุ่ ยนต์ เพือ่ ให้หนุ่ ยนต์ไดท้ างานตามความ

ต้องการ
โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม กระบวนการสบื ค้น กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคิดรวบ

ยอดและการสร้างสรรค์ผลงานเป็นสากล รวมถึงการฝึกปฏิบัติอย่างเข้มเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อและ

การประกอบอาชีพ
เพื่อให้พัฒนาผู้เรียนให้ใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ผลงานได้อย่างถูกวิธี ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ

และมีประสทิ ธิผล สามารถนา่ เสนอผลงานได้อย่างมืออาชีพ สามารถนา่ ความรู้และทักษะการสร้างแอนิเมชัน
ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้อยา่ งมีจิตสานึกที่ดี มีความรับผดิ ชอบ มีคณุ ธรรม รวมถึงใช้ทรัพยากรอย่าง
ประหยัดคุม้ คา่ และมคี ณุ ธรรม

ผลกำรเรียนรู้
1. ประกอบหนุ่ ยนตแ์ ละเชื่อมตอ่ กบั คอมพิวเตอรไ์ ด้
2. อธิบายส่วนประกอบและการทางานของโปรแกรม LEGO® MINDSTORMS® Education EV3

3. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ยเพอ่ื ควบคุมห่นุ ยนต์ได้
4. เขยี นโปรแกรมเพอื่ ใช้งานเซน็ เซอรไ์ ด้

5. เขยี นโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้
6 ออกแบบและนาเสนอหนุ่ ยนต์อยา่ งสร้างสรรค์

รวมทง้ั หมด 6 ผลกำรเรยี นรู้

68

คำอธิบำยรำยวิชำ

กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพ่มิ เตมิ
รหัสวชิ ำ ว 20215 เพ่ิมเติมคอมพวิ เตอร์ 3 (งำนกรำฟิกเบอ้ื งตน้ ) ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 2 ภำคเรยี นท่ี 2
เวลำ 60 ชัว่ โมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศกึ ษาเกีย่ วกับประวัติความเป็นมาของกราฟิก คณุ สมบัตขิ องงานกราฟิก บทบาทและความสาคัญของงานดา้ น
กราฟกิ กราฟกิ กบั ชวี ิตประจาวนั ความหมายและความเปน็ มาของการออกแบบกราฟิก ระบบคอมพวิ เตอร์สาหรบั งาน
กราฟิก การประยุกต์งานการออกแบบกราฟกิ อนาคตของการออกแบบกราฟกิ สี ทฤษฏสี ีกับการออกแบบงานกราฟิก

โปรแกรมสาหรับงานกราฟิก เทคนิคการสร้างภาพกราฟิก การจัดเก็บแฟ้มภาพกราฟิก ปฏิบัติการออกแบบ และ
สร้างสรรค์อย่างสากล โดยใช้ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงคาสั่งท่ีสาคัญในการ

ออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกในโปรแกรมกราฟิกได้อย่างชานาญ การนาภาพจากแหลง่ ภาพต่างๆ มาสร้างสรรค์งาน
กราฟิก ให้มีจินตนาการตามความคิดริเร่ิม ท้ังยังศึกษาหลักการออกแบบเทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบ

คอมพิวเตอร์กราฟิกได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ปฏิบัติการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกด้วยโปรแกรมกราฟิก เพ่ือนามา
ประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งานประเภทโปสเตอร์ แผ่นพับแนะนาโรงเรียนชาวนา ป้ายโฆษณากีฬาเอเชียนเกมส์
การ์ดแต่งงาน การ์ดอวยพร ปกซีดี/ดีวีดี การดัดแปลงและตกแต่งภาพถ่าย และอ่ืนๆ ท้ังที่เป็นภาษาไทยและ

ภาษาองั กฤษ
โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม กระบวนการสบื ค้น กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอดและ

การสรา้ งสรรค์ผลงานเปน็ สากล รวมถึงการฝกึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเข้มเพ่อื เปน็ พนื้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชพี
เพอื่ ให้พัฒนาผู้เรยี นสามารถใช้ซอฟต์แวร์ดา้ นกราฟกิ ออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานด้านศลิ ปะ ได้ อยา่ งเป็น

สากล ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และมปี ระสิทธิผล สามารถนาความรแู้ ละทักษะการสร้างงานกราฟิกไปประยุกตใ์ ช้
ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีจิตสานึกที่ดี มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม รวมถึงใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มค่าและมี
คุณธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. อธิบายความหมายของการออกแบบกราฟกิ และสรุปเกี่ยวกับระบบคอมพวิ เตอร์สาหรบั งาน กราฟิก
2. อธบิ ายประวตั ิ คุณสมบตั ิ บทบาทและความสาคัญของงานกราฟิก
3. จาแนกทฤษฎสี ี และหลกั การเลอื กใช้สีในคอมพวิ เตอรส์ าหรบั งานกราฟิก
4. วเิ คราะห์ประเภทของโปรแกรมกราฟกิ ชนดิ ของภาพ และการจดั เก็บแฟม้ ภาพกราฟกิ
5. ปฏบิ ตั ิการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรบั งานกราฟิกอยา่ งชานาญ
6. ปฏิบตั ิการออกแบบและสรา้ งงานกราฟกิ โดยใชโ้ ปรแกรมสาหรบั งานกราฟิก
7. สร้างสรรคผ์ ลงานกราฟกิ ประกอบดว้ ย โปสเตอร์ แผน่ พบั ปา้ ย'โฆษณา การด์ แต่งงาน การด์ อวย
พร ปกซีด/ี ดวี ีดี การดดั แปลงและตกแต่งภาพถา่ ย และอ่นื ๆ ทงั้ ท่เี ป็นภาษาไทยและ
ภาษาองั กฤษ อยา่ งมีคณุ ธรรมโดยไม่ลอกเลียนผลงานของคนอ่ืน

69

8. ทาโครงงานการสร้างสรรค์งานกราฟกิ
รวมท้ังหมด 8 ผลกำรเรียนรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพมิ่ เตมิ
รหสั วิชำ ว20216 เทคโนโลยหี ุน่ ยนต์ 3 (Gigo smart machines) ช้นั มธั ยมศึกษำปีท่ี 2
เวลำ 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาการใช้งานเทคโนโลยีหุ่นยนตแ์ ละการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหนุ่ ยนตอ์ ยา่ งเป็น
ข้นั ตอน ศึกษาพน้ื ฐานดา้ นหนุ่ ยนต์ Gigo robotics smart machines และอปุ กรณต์ ่างๆ มีความร้ใู นการ
เลอื กใช้เครือ่ งมือและวสั ดุในการออกแบบหนุ่ ยนต์และเขยี นโปรแกรมเพอ่ื ควบคมุ อุปกรณต์ ่างๆของหนุ่ ยนต์
เพือ่ ให้หุ่นยนต์ได้ทางานตามความตอ้ งการ

โดยใช้กระบวนการกลุม่ กระบวนการสบื คน้ กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคดิ รวบ
ยอดและการสร้างสรรคผ์ ลงานเป็นสากล รวมถึงการฝึกปฏิบตั อิ ย่างเขม้ เพ่อื เป็นพน้ื ฐานในการศกึ ษาตอ่ และ
การประกอบอาชีพ

เพือ่ ให้พัฒนาผเู้ รียนใหใ้ ช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งสรรค์ผลงานได้อย่างถูกวิธี ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
และมีประสทิ ธผิ ล สามารถนา่ เสนอผลงานได้อย่างมืออาชีพ สามารถน่าความรแู้ ละทกั ษะการเขียนโปรแกรม
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่างมีจติ สานึกที่ดี มีความรับผดิ ชอบ มีคณุ ธรรม รวมถงึ ใช้ทรัพยากรอย่าง
ประหยัดคุม้ ค่าและมีคณุ ธรรม

ผลกำรเรียนรู้
1. ประกอบหุ่นยนต์ Gigo Robotics smart machines Tracks&Treads และเชื่อมตอ่ กับสมารท์ โฟนได้
2. อธบิ ายส่วนประกอบและการใช้งานของแอพพลเิ คชนั่ Gigo Smart Machines ได้
3. เขยี นโปรแกรมเพื่อใช้งานอลั ตรา้ โซนคิ เซ็นเซอร์ได้

4. ประกอบห่นุ ยนต์ Gigo Robotics smart machines Hoverbots และเชือ่ มต่อกบั สมารท์ โฟนได้
5. อธิบายส่วนประกอบและการใชข้ องแอพพลเิ คช่ัน Gigo HoverBots ได้
6. เขียนโปรแกรมเพ่อื ใช้งานไจโรสโคปเซ็นเซอร์ได้

7. ออกแบบและนาเสนอหนุ่ ยนต์อยา่ งสรา้ งสรรค์

รวมท้ังหมด 7 ผลกำรเรยี นรู้

70

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

เทคโนโลยี (กำรออกแบบและเทคโนโลย)ี กลุม่ สำระกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 2 รหัส ว20217 ภำคเรียนท่ี 1 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต

ศึกษำแนวคิดหลักของเทคโนโลยี กำรเปลีย่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้น และ
ควำมสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกับศำสตรอ์ นื่ ออกแบบ สรำ้ ง หรือพฒั นำผลงำนสำหรับแก้ปัญหำทคี่ ำนงึ ถงึ
ผลกระทบต่อสงั คมในประเดน็ ท่ีเกี่ยวข้องกับสขุ ภำพและกำรบริกำรโดยใชก้ ระบวนกำรออกแบบเชิงวศิ วกรรม
ซึ่งใช้ควำมรู้ ทักษะ และเลอื กใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟำ้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพอื่ แก้ปญั หำไดอ้ ย่ำง
ถูกตอ้ ง เหมำะสม ปลอดภัย คำนงึ ถึงทรัพยส์ นิ ทำงปญั ญำ ใช้ซอฟตแ์ วร์ชว่ ยในกำรออกแบบและนำเสนอผลงำน

ผลกำรเรยี นรู้

1. วิเครำะห์ระบบทำงเทคโนโลยีและระบบยอ่ ยของเทคโนโลยี
2. วเิ ครำะห์ระบบทำงเทคโนโลยที ี่ซบั ซ้อน
3. วิเครำะห์สำเหตหุ รือปัจจัยที่ทำให้เกดิ กำรเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
4. วเิ ครำะห์ผลกระทบของเทคโนโลยีทงั้ ดำ้ นบวกและลบท่ีสง่ ผลตอ่ มนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอ้ ม
5. เสนอแนวทำงในกำรป้องกนั และแกไ้ ขปญั หำท่ีเกดิ จำกผลกระทบของเทคโนโลยี
6. วเิ ครำะห์สมบัตขิ องวสั ดุ เพอ่ื นำไปใช้ในกำรสร้ำงหรอื พัฒนำชิ้นงำนไดอ้ ยำ่ งถกู ต้องเหมำะสม
7. วิเครำะห์และเลือกเครอื่ งมือพื้นฐำน เพอื่ นำไปใช้ในกำรสร้ำงหรอื พฒั นำชน้ิ งำนได้อย่ำงถกู ต้อง เหมำะสม

และปลอดภยั
8. วเิ ครำะหก์ ลไกและกำรทำงำนของอุปกรณ์ไฟฟ้ำและอเิ ล็กทรอนกิ ส์
9. ออกแบบวิธีกำรแกป้ ัญหำหรือพัฒนำงำนโดยประยุกตใ์ ช้ควำมรู้เกี่ยวกับกลไก อปุ กรณไ์ ฟฟ้ำ และอุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่ำงถูกตอ้ งและปรอดภัย
10. อธิบำยกำรทำงำนตำมกระบวนกำรออกแบบเชงิ วศิ วกรรม
11. ใชเ้ ทคนคิ หรอื วิธีกำรเพอื่ วิเครำะหข์ อ้ มูลในกำรแก้ปัญหำตำมกระบวนกำรออกแบบเชงิ วิศวกรรม
12. ประยุกตใ์ ช้กระบวนกำรออกแบบเชิงวศิ วกรรมในกำรแกป้ ัญหำหรือพฒั นำงำนในชีวิตประจำวัน

รวมทงั้ หมด 12 ผลกำรเรยี นรู้

71

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิชำเพม่ิ เตมิ
รหสั วชิ ำ ว20218 กำรเขียนโปรแกรมเบ้อื งตน้ ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี 3

เวลำ 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาหลักการพ้ืนฐานในการเขียนโปรแกรม การเลือกซอฟแวร์ที่เหมาะสมกับลักษณะงาน การใช้

ซอฟแวร์และอุปกรณ์ดิจิตอลมาช่วยในการนาเสนองาน และการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างงานตามหลักการ
ทาโครงงาน

ปฏบิ ตั ิการเก่ียวกับการวิเคราะห์ข้ันตอนวิธกี ารแกป้ ัญหา ลาดับการทางาน ออกแบบโปรแกรม และ

เขียนโปรแกรมด้วยคาส่ังภาษาคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 1 ภาษา โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานใน
รปู แบบที่เหมาะสม โดยการใช้ทกั ษะการแสวงหาความรู้ กระบวนการกล่มุ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด

กระบวนการจัดการ กระบวนการแก้ปญั หา
เพอื่ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะในการวเิ คราะหข์ ัน้ ตอนวธิ กี ารแก้ปญั หา สามารถลาดับการ

ทางาน ออกแบบโปรแกรม และเขียนโปรแกรมไดอ้ ย่างถกู ต้อง รวมท้ังใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยสรา้ งช้ินงานจาก

จนิ ตนาการหรืองานทที่ าในชวี ิตประจาวนั ตามหลักการทาโครงงานอยา่ งมจี ิตสานึกและความรับผิดชอบ

ผลกำรเรียนรู้

1. อธบิ ายความหมายของการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ได้
2. อธิบายระดบั ของภาษาคอมพิวเตอร์ได้

3. บอกโครงสร้างของข้อมลู ได้
4. บอกขัน้ ตอนการเขยี นโปรแกรมได้
5. อธิบายความหมายของการออกแบบขั้นตอนการทางานแต่ละแบบได้

6. ออกแบบขนั้ ตอนการทางานได้
7. ใช้งานตัวแปร สตริง นิพจน์ ตวั ดาเนินการ และฟังก์ชนั ได้

8. เขยี นโปรแกรมการทางานแบบเรยี งลาดบั ได้
9. เขยี นโปรแกรมแบบการทางานแบบเลือกทาได้
10. เขียนโปรแกรมแบบวนซ้าได้

72

รวมทง้ั หมด 10 ผลกำรเรยี นรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์ วิชำเพ่มิ เตมิ

รหสั วิชำ ว20219 คอมพิวเตอร์ 4 (กำรสร้ำงงำนแอนิเมชนั ) ช้นั มธั ยมศึกษำปีที่ 2
เวลำ 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการทางานชองแอนิเมชัน ช้ันตอนการเตรยี มงานสาหรับทาแอนเิ มชนั ชัน้ ตอนในการผลิต งาน
สาหรบั ทาแอนิเมชัน สามารถใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการสรา้ งสรรคง์ านแอนเิ มชันการปฏิบตั ิการสรา้ งงาน

แอนเิ มชันสองมติ ิ หรือสามมติ อิ ย่างสากล โดยการออกแบบ สร้างสรรค์ ตามจิตนาการได้อยา่ งเหมาะสมในรูปแบบ
ชองมลั ตมิ ีเดียท่ีเกี่ยวกบั ภาพ เสยี ง ภาพเคลอื่ นไหว และการนา โปรแกรมมาประยุกตใ์ นการสร้างช้ินงานการ์ตูน
รณรงค์ลดโลกรอ้ น และการนาเสนอผลงาน รู้จกั แกป้ ัญหา อธิบาย วเิ คราะห์ และ ทางานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสบื ค้น กระบวนการออกแบบ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
และการสรา้ งสรรคผ์ ลงานเปน็ สากล รวมถงึ การฝึกปฏบิ ัตอิ ย่างเขม้ เพอ่ื เป็นพืน้ ฐานในการศึกษาต่อและการ

ประกอบอาชพี
เพอ่ื ใหพ้ ัฒนาผู้เรยี นให้ใชค้ อมพิวเตอรส์ ร้างสรรค์ผลงานไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี ทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพ และมี

ประสิทธผิ ล สามารถนาเสนอผลงานได้อยา่ งมอื อาชีพ สามารถนาความรู้และทักษะการสรา้ งแอนิเมชัน ไป

ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมจี ติ สานกึ ที่ดี มีความรบั ผิดชอบ มีคุณธรรม รวมถึงใช้ทรัพยากรอย่าง
ประหยัดคุม้ คา่ และมคี ุณธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. ผู้เรียนอธบิ ายหลกั การสร้างงานแอนเิ มชัน
2. ผเู้ รียนอธิบายชัน้ ตอนการเตรียมงานสาหรับทาแอนเิ มชนั
3. ผู้เรยี นปฏิบัติการสร้างสรรคง์ านแอนิเมชันสองมติ ิ อย่างมคี ุณธรรมโดยไมล่ อกเลียนผลงานชองคนอนื่
4. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ิการสร้างสรรคง์ านแอนิเมชันสามมิติ อย่างมีคุณธรรมโดยไม่ลอกเลยี นผลงานชองคนอ่ืน
5. ผเู้ รยี นทาโครงงานการสร้างสรรค์งานแอนิเมชนั เก่ยี วกับการลดโลกรอ้ นได้

รวมทัง้ หมด 5 ผลกำรเรียนรู้

73

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วิชำเพมิ่ เติม
รหัสวิชำ ว20220 เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ 4 (Gigo micro:bit) ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ 2
เวลำ 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการใชง้ านเทคโนโลยีหุ่นยนต์และการเขียนโปรแกรมควบคมุ การทางานของหุ่นยนต์อยา่ งเปน็
ขั้นตอน ศกึ ษาพื้นฐานด้านหุ่นยนต์ Gigo micro:bit Compatigble Robots Advanced และอปุ กรณต์ ่างๆ
มีความรู้ในการเลือกใช้เครอ่ื งมือและวัสดุในการออกแบบหุ่นยนต์และเขยี นโปรแกรมเพอื่ ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ
ของหุ่นยนต์ เพ่อื ใหห้ นุ่ ยนต์ได้ทางานตามความตอ้ งการ

โดยใชก้ ระบวนการกลุม่ กระบวนการสบื ค้น กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคดิ รวบ
ยอดและการสร้างสรรคผ์ ลงานเป็นสากล รวมถึงการฝึกปฏบิ ัตอิ ย่างเขม้ เพอ่ื เป็นพื้นฐานในการศกึ ษาตอ่ และ
การประกอบอาชพี

เพือ่ ให้พฒั นาผู้เรียนใหใ้ ช้คอมพิวเตอรส์ ร้างสรรคผ์ ลงานไดอ้ ย่างถูกวิธี ทางานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
และมปี ระสทิ ธผิ ล สามารถน่าเสนอผลงานได้อยา่ งมอื อาชพี สามารถน่าความรู้และทักษะการเขียนโปรแกรม
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมีจติ สานึกทด่ี ี มีความรับผดิ ชอบ มีคุณธรรม รวมถึงใชท้ รพั ยากรอย่าง
ประหยัดคุม้ คา่ และมีคุณธรรม

ผลกำรเรยี นรู้
1. ประกอบห่นุ ยนต์ Gigo micro:bit Compatigble Robots Advanced ตามภารกิจได้
2. อธบิ ายส่วนประกอบและการใช้งานของแอพพลเิ คช่นั makecode ได้
3. เขียนโปรแกรมเพอื่ ควบคุมมอรเ์ ตอร์ได้
4. เขียนโปรแกรมเพ่ือใช้งานเซน็ เซอร์ได้
5. เขียนโปรแกรมแกป้ ญั หาตามภารกจิ ได้
6. ออกแบบและนาเสนอหุน่ ยนต์อย่างสรา้ งสรรค์

รวมทัง้ หมด 6 ผลกำรเรียนรู้

74

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี วชิ ำเพมิ่ เติม
รหสั วิชำ ว20221 คอมพิวเตอรแ์ ละระบบปฏิบัตกิ ำร ชนั้ มธั ยมศึกษำปีที่ 3
เวลำ 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับองค์ประกอบของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ หลักการทางานของคอมพิวเตอร์และ

อปุ กรณต์ ่อพว่ งสื่อบันทึกขอ้ มูล ความหมายและหน้าทขี่ องระบบปฏิบัตกิ ารประเภทของโปรแกรมระบบปฏบิ ัติการ
การใชโ้ ปรแกรมระบบปฏบิ ัติการ การใช้โปแกรมยูทิลติ ี้

โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต การ

ติดตอ่ สื่อสารผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ทักษะการใชค้ อมพิวเตอรแ์ ก้ปญั หา
เพื่อให้มีความรคู้ วามเข้าใจ เห็นคุณคา่ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสบื คน้ ข้อมูลการเรียนรู้

การสือ่ สาร การแก้ปญั หา การทางานและอาชพี มีคณุ ธรรมและจริยธรรม มุ่งม่ันในการทางาน มีวนิ ยั ซื่อสตั ย์สจุ ริต
และอยู่อย่างพอเพียง มีสมรรถนะสาคัญ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
หลักคิดหลักปฏิบัติในการเรยี นรู้ ใช้ความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์สร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบได้

อย่างมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล

ผลกำรเรียนรู้
1. อธิบายหลกั การทางานของคอมพวิ เตอร์ได้
2. อธิบายองค์ประกอบของเครื่องคอมพวิ เตอร์ได้

3. เปรียบเทียบคุณลักษณะของคอมพิวเตอรไ์ ด้
4. อธิบายความหมายและหนา้ ที่ของระบบปฏบิ ัติการได้
5. จาแนกประเภทของระบบปฏิบัติการได้

6. ปฏบิ ัตกิ ารติดต้งั โปรแกรมระบบปฏบิ ัตกิ ารได้
7. ปฏบิ ัตกิ ารดาวน์โหลดและตดิ ต้ังไดรฟเ์ วอร์ของอุปกรณ์ได้

8. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัยและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายเก่ียวกับ
คอมพวิ เตอร์ ใชล้ ิขสิทธิข์ องผู้อ่นื โดยชอบธรรม

รวมทั้งหมด 8 ผลกำรเรยี นรู้

75

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี วชิ ำเพม่ิ เติม
รหสั วชิ ำ ว20222 เทคโนโลยหี ุน่ ยนต์ 5 (micro:bit) ช้ันมธั ยมศึกษำปีที่ 3
เวลำ 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาความเปน็ มา คุณสมบัติ และแนะนาสว่ นประกอบและการใช้งานแผงวงจร micro:bit เข้าใจพืน้ ฐาน
การเขยี นโปรแกรม micro:bit มที ักษะการใช้ Micro : bit ขัน้ ตอนการเขียนโปรแกรมเพ่อื ควบคุมหุ่นยนต์

ปฏิบัตกิ ารเขยี นโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์ การใช้เว็บไซต์ makecode.microbit.org ช่วยในการเขียน

โปรแกรมเพ่ือควบคุมหุ่นยนต์ ใช้คาสั่งการอ่านค่าเซนเซอร์ คาส่ังควบคุมมอเตอร์เด่ียว คาส่ังควบคุมมอเตอร์คู่
คาส่ังควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ คาส่ังตรวจจับความเร่ง คาส่ังตรวจวัดสนามแม่เหล็ก คาส่ังตรวจวัดอุณหภูมิ คาส่ัง

ตรวจวดั ความสว่างของแสง การสรา้ งฟงั ก์ช่นั และเรยี กใช้งานฟังก์ชั่น
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ กระบวนการเทคโนโลยี ความสามารถในการใช้งาน ปฏิบัติการ

วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
และตดั สินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้

ความรู้ ทกั ษะ ทรัพยากรเพ่ือออกแบบสร้างหรือพฒั นาผลงาน สาหรับแก้ปญั หาทีม่ ีผลกระทบตอ่ สงั คม

ผลกำรเรียนรู้

1. อธบิ ายสว่ นประกอบของบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ micro:bit ได้
2. อธบิ ายวธิ ีการเขียนโปรแกรมเพ่ือควบคมุ บอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ micro:bit ได้

3. มที กั ษะการใช้งานปุ่ม A และ B เพอื่ ควบคมุ บอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ micro:bit
4. มีทกั ษะการใชง้ านเซน็ เซอรต์ รวจจบั ความเรง่
5. มีทกั ษะการใชง้ านเซน็ เซอรต์ รวจวดั สนามแม่เหล็ก

6. มีทกั ษะการใช้งานเซน็ เซอรต์ รวจวัดอุณหภมู ิ
7. มีทกั ษะการใช้งานเซน็ เซอร์ตรวจวัดความสว่างของแสง

8. ปฏิบตั กิ ารเขยี นโปรแกรมควมคมุ บอรด์ ไมโครคอนโทรเลอร์ micro:bit ได้
9. ประดิษฐ์หุ่นยนตเ์ พื่อแก้ปญั หาตามกระบวนการเทคโนโลยี

76

รวมท้ังหมด 9 ผลกำรเรียนรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี วชิ ำเพม่ิ เตมิ
รหัสวชิ ำ ว20223 คอมพิวเตอร์ 6 (กำรสรำ้ งเว็บไซต)์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 3
เวลำ 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับหลักการ ความสาคัญ ช้ันตอนชองการออกแบบเว็บไซต์ ประโยชน์ชองโปรแกรม
ออกแบบเว็บไซต์ การเรียกใช้งานโปรแกรม หน้าต่างชองโปรแกรม การใช้คาส่ังในโปรแกรม การใช้เครื่องมือ ใน
การออกแบบ การจัดและตกแต่งข้อความ การจัดการภาพกราฟิก การใช้งานเลเยอร์เก่ียวกับเว็บไซต์ และ
โครงสร้างชองเว็บไซต์ ปฏิบัติการสรา้ งเว็บไซต์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเกี่ยวกับประเทศในอาเซียนและการเขยี น
โปรแกรมภาษาไดอ้ ย่างถูกวิธี และอย่างสรา้ งสรรค์ มีทักษะการออกแบบเว็บไซต์โดยสามารถใช้งานกบั เฟรม การ
ทางานกบั ตาราง การ ออกแบบและสร้างจุดเช่ือมโยง การออกแบบปมุ่ คลิก การนาไฟล์จากโปรแกรมอื่นมาใช้งาน
การจัดต้ังและเผยแพร่เว็บไซต์ กระบวนการออกแบบและโครงสร้างการทางานชองเว็บไซต์ โครงสร้างและ
ไวยากรณ์ของโปรแกรมและภาษา หรือกระบวนการการใช้เคร่ืองมือการสร้างเว็บไซต์ การออกแบบและกาหนด
สว่ นประกอบ ท่ีจาเปน็ ของเว็บไซต์ไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม ใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู และโปรแกรมภาษาออกแบบและ
สรา้ งเว็บไซตท์ งั้ ทเ่ี ป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบคน้ กระบวนการออกแบบ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด
และ การสร้างสรรค์ผลงานเป็นสากล รวมถงึ การฝกึ ปฏบิ ัตอิ ยา่ งเขม้ เพื่อเป็นพนื้ ฐานในการศึกษาตอ่ และการ

ประกอบอาชีพ

เพอ่ื ใหพ้ ัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะในการใชโ้ ปรแกรมภาษาเก่ยี วกับการสรา้ ง เว็บไซต์
จากจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ เพ่ือนาเสนองานต่างๆ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจาวันได้
อยา่ งมีจติ สานึกทดี่ ี มคี วามรบั ผิดชอบ มีคุณธรรม และใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า

ผลกำรเรียนรู้
1. ผู้เรียนอธบิ ายความรู้เกยี่ วกับการออกแบบและสรา้ งเว็บไซต์
2. ผู้เรียนนาเสนอกระบวนการออกแบบและสรา้ งเวบ็ ไซต์
3. ผู้เรียนเชียนกระบวนการออกแบบและโครงสรา้ งการทางานชองเวบ็ ไซต์
4. ผู้เรยี นออกแบบและกาหนดสว่ นประกอบสาคญั ชองเว็บไซต์ไดถ้ กู ต้องและเหมาะสม
5. ผ้เู รยี นเขียนโครงสร้างและไวยากรณ์ชองภาษาและโปรแกรมสรา้ งเวบ็ ไซต์

77

6. ผเู้ รียนใชเ้ คร่ืองมอื ชองโปรแกรมสรา้ งเวบ็ ไซต์อยา่ งชานาญ
7. ผู้เรียนเขยี นโปรแกรมภาษาออกแบบและสร้างเวบ็ ไซตต์ ามจินตนาการ ทัง้ ทเ่ี ปน็ ภาษาไทยและ
ภาษาองั กฤษ อยา่ งมคี ณุ ธรรมโดยไม่ลอกเลียนผลงานชองคนอื่น

รวมท้งั หมด 7 ผลกำรเรยี นรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ

กล่มุ สำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี วชิ ำเพิ่มเติม
รหสั วิชำ ว20224 เทคโนโลยีหุ่นยนต์ 6 (Arduino) ชัน้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี 3
เวลำ 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาความเป็นมา คุณสมบตั ิ และแนะนาส่วนประกอบและการใช้งานแผงวงจร Arduino เข้าใจพ้ืนฐาน
การเขียนโปรแกรมเพื่อส่ังงานบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino วธิ ีการต่อขาอินพุตและเอาต์พุต การใช้งาน

มอเตอรแ์ ลเซนเซอร์
ปฏบิ ตั กิ าร ดาวนโ์ หลดและติดตัง้ โปรแกรมเพ่อื สั่งงานบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เขยี น

โปรแกรมเพือ่ ควบคมุ ห่นุ ยนต์ อัพโหลดโปรแกรม ตอ่ ขาอินพตุ และเอาตพ์ ุต ใชค้ าสั่งการอา่ นคา่ เซนเซอร์ คาส่ัง

ควบคมุ มอเตอรเ์ ด่ยี ว คาสงั่ ควบคุมมอเตอร์คู่ คาส่ังควบคมุ เซอรโ์ วมอเตอร์ ออกแบบและพฒั นาหุ่นยนต์เพอื่ ใชง้ าน
ในชวี ติ ประจาวนั

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ กระบวนการเทคโนโลยี ความสามารถในการใช้งาน ปฏิบัติการ
วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ

และตดั สินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ประยุกต์ใช้
ความรู้ ทกั ษะ ทรพั ยากรเพอ่ื ออกแบบสร้างหรือพัฒนาผลงาน สาหรบั แกป้ ญั หาทม่ี ผี ลกระทบต่อสงั คม

ผลกำรเรียนรู้
1. อธบิ ายเครอ่ื งมือทางฮารด์ แวรแ์ ละการใชง้ านโปรแกรมไมโครคอนโทรเลอร์ Arduino ได้

2. อธิบายระบบตัวเลข การจัดการขอ้ มูล ชนดิ ข้อมูล ตัวแปร ตัวดาเนินการ การเลือกทาดว้ ยการกาหนด
เง่ือนไข การวนรอบทาซ้า ฟงั ก์ชนั และการใชง้ าน ได้

3. มที กั ษะการใชง้ านขาพอร์ตอนิ พตุ เอาต์พุตของไมโครคอนโทรเลอร์
4. มที กั ษะการใช้งานเซ็นเซอร์
5. มที ักษะการใชง้ านไมโครคอนโทรเลอร์ขับมอเตอร์

6. มีทักษะในการเขียนและการพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือควบคุมการขบั เคลอ่ื นหนุ่ ยนต์

78

7. ประดิษฐ์หุ่นยนต์เพ่อื แก้ปัญหาตามกระบวนการเทคโนโลยี
รวมทั้งหมด 7 ผลกำรเรียนรู้

78

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม วชิ ำพื้นฐำน
รหัสวชิ ำ ส 21101 สงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี 1 ภำคเรยี นที่ 1
เวลำ 60 ชัว่ โมง
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา วเิ คราะห์ มลู เหตขุ องการเกดิ ศาสนา การสงั คายนา การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศ
ไทยความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย ในฐานะท่ีเป็นศาสนาประจาชาติ และสถาบันหลักของ
สงั คมไทย สภาพแวดล้อม การพฒั นาตนเอง และครอบครัว พระพุทธประวัติ พุทธสาวก พทุ ธสาวิกาศาสนกิ ชน
ตัวอย่าง การปฏิบัติตน และวิถีดาเนินชีวิตของศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ แตกต่างกันตามความเชื่อ และคา
สอนของศาสนาน้ัน ๆ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอ่ืน ในสถานการณ์ต่าง ๆ และบุคคลใน
ท้องถิน่ หรอื ประเทศที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างหรือมผี ลงาน ด้านศาสนาสัมพนั ธ์ ประวัติความสาคญั ระเบยี บ
พิธี การปฏิบัติตนในวันสาคัญทางศาสนา และเทศกาลสาคัญ หลักธรรมการปฏิบัติตามหลักการทาง
พระพทุ ธศาสนา พุทธศาสนสุภาษิต การบรหิ ารจิตและเจริญปัญญา วิธีปฏิบตั ิและประโยชน์ของการบริหารจิต
และเจริญปัญญา และฝึกปฏิบัติการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฏฐาน นาวิธีการบริการจิตและ
เจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจาวนั พัฒนาการเรียนร้ดู ้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ หน้าทีช่ าวพุทธ วิถีชวี ิตของ
พระภิกษุในบทบาทของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประพฤติปฏิบัติตนได้อยา่ งเหมาะสมตนตอ่ พระภิกษุ และ
ปฏิบัติตนในการเข้าร่วมพิธีกรรม การกล่าวคาอาราธนาต่างๆในศาสนพิธีได้ถูกต้อง เป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี
เชื่อมั่นในพระพุทธศาสนามีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกในความเป็นไทยสามารถนาหลักธรรมไปใช้
ประโยชน์ในการดารงชีวิตต่อตนเอง ท้องถิ่นและสังคมหน้าท่ีของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยของตนเอง
และผูอ้ ่ืน โดยยึดหลักธรรมในการอยูร่ วมกัน กฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธิของบุคคล ประโยชนข์ องการปฏิบัติ
ตนตามกฎหมายคุ้มครอบสิทธิของบคุ คล บทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชนท่ีมีต่อประเทศชาติ เคารพกตกิ าสงั คม
ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ฉบับปัจจุบัน การใช้อานาจอธิปไตยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน
ความสาคัญของการเป็นพลเมืองดีท่ีมีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ความคลา้ ยคลึง และความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับ
วฒั นธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชียทนี่ าไปสู่ความสัมพนั ธ์ที่ดีมีการเป็นอยูอ่ ยา่ งพอเพียงหรอื ความเขา้ ใจผิด

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปญั หา

เพอ่ื ใหเ้ ห็นคุณค่าและศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา เช่อื มนั่ ในพระพุทธศาสนา มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มี
จติ สานึกในความเป็นไทย บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระ
ประมุข มีความศรทั ธา เคารพในความแตกต่างของบุคคลและสังคม มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความซ่ือสัตย์ มีจิต

79

สาธารณะ มีความเปน็ ธรรมทางสงั คม มีการกระทาอยา่ งรับผิดชอบ มีการเปน็ อยู่อย่างพอเพยี งและสามารถ

อยรู่ ่วมกันไดอ้ ยา่ งสันตสิ ขุ

ตัวช้ีวดั
ส 1.1 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม. 1/3 , ม. 1/4 , ม. 1/5 , ม. 1/6 , ม. 1/7 , ม. 1/8, ม. 1/9 ,
ม. 1/10 ม. 1/11
ส 1.2 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม. 1/3 , ม. 1/4 , ม. 1/5
ส 2.1 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม. 1/3, ม. 1/4
ส 2.2 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม.1/3
รวม 23 ตวั ชี้วดั

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ สังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม วิชำพนื้ ฐำน

รหสั ส21102 รำยวชิ ำประวตั ศิ ำสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 1 ภำคเรยี นที่ 1

เวลำ 20ชั่วโมง จำนวน 0.5หน่วยกติ

ศึกษาถึงความสาคัญของการนบั เวลา และการนบั ช่วงเวลาทางประวตั ศิ าสตร์ ศกึ ษาการเทยี บศักราช
ในระบบต่างๆ ศกึ ษาขัน้ ตอนวิธีทางประวตั ิศาสตร์ ลกั ษณะ ประเภท และแหลง่ ทีม่ าของหลกั ฐานทาง
ประวัติศาสตร์ไทย พัฒนาการทางสงั คมเศรษฐกิจและการเมอื งของประเทศตา่ งๆในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออก
เฉยี งใต้ แหลง่ อารยธรรมในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

โดยกระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการ
ทางาน กระบวนการสืบค้น กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ รวบรวมขอ้ มลู และจดั ระบบข้อมูลอยา่ งเป็นระบบดว้ ย
วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสบื ค้นหาเทคโนโลยสี มยั ใหม่

เพ่อื ใหต้ ระหนักถงึ ความสาคญั ในการนาวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์มาประยุกตใ์ ช้ รจู้ ักคดิ อย่างมี
วิจารณญาณ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ตระหนักในความสาคัญของมนุษย์ชาตทิ ่ี
มีตอ่ พัฒนาการและแหล่งอายธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3
ส 4.1 ม.1/1, ม.1/2
ส 4.2

รวม 5 ตวั ชี้วดั

80

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม วิชำพน้ื ฐำน
รหัสวิชำ ส21103 สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรยี นท่ี 2
เวลำ 60 ช่วั โมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภค
ของคนในสังคม ซ่ึงส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่นและประเทศ ความเป็นมา หลักการและ
ความสาคัญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตอ่ สังคมไทย บทบาทหน้าท่ีและความแตกต่างของสถาบันการเงิน
แต่ละประเภทและธนาคารกลาง การพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกนั ทางเศรษฐกิจในประเทศและภมู ิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลตอ่ การกาหนดอุปสงค์และอุปทาน และกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทางปัญญา การใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์สารวจ สืบค้น พิกัดภูมิศาสตร์เส้นแบ่งเวลาและเปรียบเทียบวัน
เวลาของโลก ลกั ษณะทางกายภาพ ทาเลท่ีต้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัจจัยทางกายภาพ
ปจั จัยทางสังคมทีม่ ีผลต่อทาเลทตี่ ้งั ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลียและโอ
เชียเนีย สาเหตุการเกดิ ภยั พิบัติ ประเด็นปญั หาจากปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งสภาพแวดล้อมทางกายภาพกบั มนษุ ย์
รวมถึงแนวทางการจดั การภยั พิบัติ การจัดการทางทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อมในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
และโอเชียเนยี

ใช้กระบวนการในการสืบค้นข้อมูล สารวจ อภิปราย สร้างความคิดรวบยอด ใช้ทักษะชีวิตในการ
แก้ปัญหา นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลกั คดิ และแนวทางในการ

81

เรียนรู้ต้ังคาถามเชิงภูมิศาสตร์ การรวบรวมข้อมูล การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปเพ่ือตอบ
คาถามอย่างเปน็ ระบบ

เพ่ือให้ตระหนักถึงความสาคัญของการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการเรียนรสู้ ภาพสิ่งต่าง ๆ บน
โลกในภูมิภาคทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนียมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 มีส่วนร่วมในการจัดการภัย
พิบัติและการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตและบริโภคในทาง
เศรษฐศาสตร์ มีจิตสานกึ ในความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ เพอ่ื การอยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ขุ

ตัวชี้วดั
ส 3.1 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม.1/3
ส 3.2 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม.1/3, ม. 1/4
ส 5.1 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม. 1/3
ส 5.2 ม. 1/1 , ม. 1/2 , ม.1/3 , ม. 1/4
รวม 14 ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ สงั คมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม วชิ ำพนื้ ฐำน

รหสั ส21104 รำยวชิ ำประวตั ศิ ำสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 ภำคเรียนท่ี 2

เวลำ 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5หนว่ ยกิต

ศึกษา วเิ คราะห์ เรอ่ื งราวทางประวตั ิศาสตร์สมยั ก่อนสโุ ขทยั ในดินแดนไทย พัฒนาการของอาณาจักร
สุโขทัยในด้านต่าง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย สมัยสุโขทัย และสังคมไทยและประเทศใน
ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ในปัจจบุ ัน

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
ทางาน กระบวนการสบื ค้น กระบวนการคิดวเิ คราะห์ รวบรวมข้อมูลและจดั ระบบข้อมูลอย่างเป็นระบบดว้ ย
วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสบื ค้นหาเทคโนโลยสี มัยใหม่

82

เพื่อให้ตระหนักถงึ คุณค่า และภาคภูมิใจ ในวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย และสังคมใน
ปัจจุบันเพ่ือปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติ
มากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง

ตัวชีว้ ัด
ส 4.2 ม.1/1, ม.1/2
ส 4.3 ม.1/1, ม.1/2,ม.1/3

รวม 5 ตัวช้ีวดั

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม วิชำพนื้ ฐำน
รหัสวิชำ ส22101 สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี 2 ภำคเรียนท่ี 1
เวลำ 60 ชว่ั โมง
จำนวน 1.5 หน่วยกิต

83

ศกึ ษา วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสงั คมไทยในฐานะเปน็ รากฐานของวัฒนธรรมเอกลักษณ์
และมรดกของชาติธรรมเนยี มปฏิบัติ วัฒนธรรมท่สี าคญั จากวดั ในทอ้ งถ่นิ ของตนการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
และการนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาของประเทศเพอื่ นบา้ นในปจั จุบนั ที่ช่วยเสรมิ สร้างความเข้าใจอนั ดกี ับประเทศ
เพอื่ นบา้ น อภปิ รายความสาคัญของพระพทุ ธศาสนากบั การพฒั นาชุมชน พร้อมการจัดระเบียบสงั คม
วเิ คราะห์ พุทธประวตั แิ ละประวตั ศิ าสดาของศาสนาทีต่ นนับถือประพฤตติ นตามแบบอย่างการดาเนินชีวติ และ
ข้อคดิ จากประวัตสิ าวก ศาสนกิ ชนตัวอยา่ งอธบิ ายโครงสร้าง และสาระสังเขปของพระไตรปิฎก รหู้ ลกั ธรรมท่ี
สาคญั ในพระรตั นตรัย ขอ้ ธรรมในกรอบอรยิ สัจ 4 มงคล 38 พุทธศาสนสุภาษติ การพฒั นาจติ เพื่อการ
เรียนรแู้ ละดาเนนิ ชวี ิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ เขา้ ใจวิธปี ฏบิ ัติสวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและเจรญิ
ปัญญาดว้ ยอานาปานสตติ ามหลักสติปัฎฐานไปใช้ในชีวิตประจาวันการปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมทางศาสนา
วเิ คราะหค์ ณุ ค่าความแตกตา่ งของศาสนพธิ ีกรรมตามแนวปฏิบัติของศาสนาอ่ืน ๆประเพณสี าคญั ในจังหวัด
ขอนแกน่ เพ่อื นาไปสูก่ ารยอมรับ และความเขา้ ใจซงึ่ กนั และกัน และปฏบิ ตั ิตนได้อยา่ งเหมาะสมตามหลกั ศา
สนพธิ ใี นวนั สาคัญตา่ งๆ ของพุทธศาสนา มีมรรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทดี่ ี เชื่อมัน่ ในพระพุทธศาสนา มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มจี ติ สานกึ ในความเปน็ ไทยวเิ คราะห์ ปฏิบัตติ ามกฎหมายท่เี ก่ยี วข้องกบั ตนเอง ครอบครัว
ชุมชนและประเทศชาติ บทบาท ความสาคัญและความสมั พนั ธ์ของสถาบันทางสงั คมอธิบายความคลา้ ยคลึง
และความแตกต่างของวฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญา
ท้องถิน่ จังหวัดขอนแกน่ วิเคราะห์กระบวนการในการตรากฎหมาย ขอ้ มูลข่าวสาร เหตกุ ารณแ์ ละการ
เปลี่ยนแปลงสาคัญของระบอบการปกครองของไทยที่มผี ลกระทบต่อสังคมไทยสมยั ปัจจุบัน

โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ กระบวนการทางานกล่มุ ให้อยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมี
ความสขุ มีการสืบเสาะแสวงหาความรโู้ ดยใช้เทคโนโลยอี ย่างถูกต้องและเหมาะสม

เพ่ือให้ตระหนักถึงคุณค่า และศรัทธาในพระพุทธศาสนา เช่ือม่ันในพระพุทธศาสนา มีคุณธรรม
จริยธรรม มีจิตสานึกในความเป็นไทย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองตามวิถีประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นพระประมุข มีความศรัทธา เคารพในความแตกต่างของบุคคลและสังคม มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความ
ซื่อสัตย์ มีจิตสาธารณะ มีความเป็นธรรมทางสังคม มีการกระทาอย่างรับผิดชอบ มีการเป็นอยู่อย่าง
พอเพียงและสามารถอยู่ร่วมกันไดอ้ ยา่ งสันตสิ ขุ

รหสั ตวั ช้วี ัด
ส1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11
ส1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ส2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส2.2 ม.2/1 ม.2/2

84

รวม 4มาตรฐาน 22ตวั ช้ีวดั

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม วชิ ำพ้ืนฐำน
รหัสวชิ ำ ส22102 ประวัตศิ ำสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 ภำคเรียนที่ 1
เวลำ 20 ช่วั โมง
จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาตัวอย่าง ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ การศึกษา
ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในท้องถ่ินของตนเองเป็นต้นวิเคราะห์ความแตกต่าง
แยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยา และธนบุรีรวมท้ัง
ความคิดเห็น ความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย อธิบายความสาคัญของการ
วิเคราะห์การตีความข้อมูลจากหลกั ฐานที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรีวิเคราะห์พัฒนาการ
ของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศในภูมิภาคเอเชยี ปัจจัยที่ส่งผลตอ่ ความมั่นคงและความเจริญรงุ่ เรืองของอาณาจักรอยุธยาการเสียกรุง
ศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และ 2 และการกู้เอกราชภูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล
ของภมู ปิ ัญญา ช่วยอนุรกั ษ์สบื ทอดภมู ปิ ญั ญาไทยและภูมิปญั ญาท้องถิน่ ยกตัวอยา่ งวีรกรรมของบรรพบุรษุ ไทย
ผลงานของบุคคลสาคัญของไทยและตา่ งชาตทิ มี่ สี ่วนสร้างสรรคช์ าตไิ ทย

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
ทางาน กระบวนการสบื ค้น กระบวนการคดิ วิเคราะห์ รวบรวมข้อมลู และจัดระบบข้อมลู อย่างเปน็ ระบบดว้ ย
วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสืบค้นหาเทคโนโลยีสมัยใหม่

เพ่ือให้ตระหนักเห็นถึงความสาคัญของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไทย เห็นความสาคัญของสถาบัน
พระมหากษัตริย์ มีความรักชาติ รักความเป็นไทย และเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย มีจิต
สาธารณะชว่ ยอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาไทยและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน

รหัสตัวชีว้ ดั
ส 4.1 ม.2/1 ม.2/2ม.2/3
ส 4.3ม.2/1 ม.2/2ม.2/3
รวม 6 ตวั ช้ีวดั

85

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วชิ ำพนื้ ฐำน
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 ภำคเรียนท่ี 2
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
รหัสวิชำ ส22103 สงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม จำนวน 1.5 หน่วยกิต
เวลำ 60 ชว่ั โมง

ศกึ ษา วิเคราะห์ ระบบเศรษฐกิจ การแขง่ ขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ การกระจาย
ของทรพั ยากรในโลกท่ีส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ยกตัวอย่างผลกระทบของการ
พ่ึงพาอาศัยกันและการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียความหมายและความสาคัญของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการ หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณธรรม
และซื่อสัตย์สุจริตกฎหมายการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ปัจจัยและปัญหาที่มีผลต่อการลงทุนการออมใน
ระบบเศรษฐกิจการเลือกใช้เทคโนโลยี วิเคราะห์หลักการผลิตสินค้าและบริการ สารวจการผลิตสินค้าและ
บรกิ ารในท้องถิน่ แนวทางการแก้ปัญหา การประยุกต์ใช้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในการพฒั นาการ
ผลิตในท้องถ่ิน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม สารวจการดารงชีวิตแบบพอเพียงในท้องถ่ินของตน
ศึกษา วิเคราะห์ สารวจ อภิปราย ความสัมพันธ์ของการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม และ
นาเสนอขอ้ มูลเกีย่ วกับลักษณะทางกายภาพ การเปล่ียนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การ
ก่อเกิดส่ิงแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปยุโรป และแอฟริกา
ระบุแนวทางการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมประเด็นปญั หาเกีย่ วกับส่งิ แวดล้อมทีเ่ กดิ ข้ึนสาเหตุ
และผลกระทบทีป่ ระเทศไทยไดร้ ับจากการเปลย่ี นแปลงของส่ิงแวดลอ้ มในทวีปยโุ รปและแอฟรกิ า

โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการทางานกลุ่มให้อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข มกี ารสืบเสาะแสวงหาความรู้โดยใช้เทคโนโลยอี ย่างถูกต้องและเหมาะสม

เพ่ือให้เกิดเห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาอนุรักษ์ทรัพยากร ส่ิงแวดล้อมใน
ท้องถิ่น ประเทศชาติ และสังคมโลกอย่างย่ังยืนนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างสร้างสรรค์ มีความ
ซ่อื สัตยส์ ุจริต ใฝ่เรียนรู้และสามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างสันติสขุ ใน
สังคมไทยและสังคมโลก

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด

86

ส3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส5.1 ม.2/1 ม.2/2
ส5.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
รวม 4 มาตรฐาน 14 ตัวชวี้ ดั

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรียนรูส้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม วิชำพนื้ ฐำน

รหสั วชิ ำ ส22104 ประวัติศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ 2 ภำคเรยี นท่ี 2

เวลำ 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ตัวอย่างประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื ของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ นลักษณะต่างๆของ
หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรเ์ อเชยี ความน่าเช่ือถอื ของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์เอเชียตัวอย่างหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตรเ์ อเชยี อธบิ ายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ และการเมอื งของภมู ิภาคเอเชียท่ีตั้งและสภาพทาง
ภูมศิ าสตรข์ องภมู ิภาคต่างๆในทวีปเอเชยี ที่มีผลต่อพฒั นาการโดยสงั เขป ระบุความสาคัญของแหลง่ ที่ต้ังของ
อารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย แหลง่ มรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชยี วเิ คราะหอ์ ิทธิพลของ
อารยธรรมโบราณทมี่ ตี อ่ ภมู ิภาคเอเชียในปัจจุบนั

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
ทางาน กระบวนการสบื ค้น กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ รวบรวมขอ้ มลู และจัดระบบขอ้ มลู อย่างเปน็ ระบบดว้ ย
วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสืบค้นหาเทคโนโลยีสมัยใหม่

เพ่อื ให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจ เหน็ ความสาคญั ของการตีความหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ท่นี า่ เช่ือถือ
แหล่งที่ตั้งของอารยธรรมโบราณในภมู ิภาคเอเชยี เชน่ แหลง่ มรดกโลกในประเทศตา่ งๆ ในภูมิภาคเอเชีย
วเิ คราะห์อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณที่มตี ่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน

มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวช้วี ัด
ส 4.1ม.2/1 , ม.2/2, ม.2/3

87

ส 4.2ม.2/1 , ม.2/2
รวม 5 ตัวชีว้ ดั

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วิชำพ้นื ฐำน
กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 ภำคเรยี นที่ 1
รหัสวชิ ำ ส23101 สงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
เวลำ 60 คำบ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา วเิ คราะหก์ ารเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ความสาคัญ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับหลกั
พระพทุ ธศาสนา สบื คน้ พุทธประวัติจากพระพทุ ธรปู ต่างๆ พุทธสาวก พระรัตนตรัย ศาสนิกชนตัวอย่าง พทุ ธ
ศาสนสุภาษิตหนา้ ท่ีของพระภกิ ษแุ ละการปฏิบัติตนต่อพระภิกษุเรยี นร้ปู ระวัตแิ ละการปฏบิ ตั ิตนในวนั สาคัญ
ทางศาสนา การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะและการรักษาศาสนสถาน การปกครองแบบต่างๆท่ใี ช้ในยุค
ปจั จบุ นั เปรยี บเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอน่ื ๆในภมู ิภาคเอเชยี ท่ีมกี ารปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบับปัจจบุ นั ในมาตราทีเ่ ก่ยี วกบั การเลอื กตั้ง การมสี ่วนรว่ มและตรวจสอบอภปิ ราย
อุปสรรคในการพฒั นาประชาธปิ ไตยของประเทศไทยแลเสนอแนวทางแกไ้ ข

88

โดยกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
ทางาน กระบวนการสืบค้น กระบวนการคิดวเิ คราะห์ รวบรวมข้อมลู และจดั ระบบข้อมูลอย่างเป็นระบบดว้ ย
วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ กระบวนการสืบค้นหาเทคโนโลยีสมยั ใหม่

เพ่ือให้เกิดตระหนักถึงความสาคัญในการปฏิบัติตนในฐานะพุทธมามกะ สามารถนาไปใช้แก้ปัญหา
และสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ เห็นคุณค่าทางวฒั นธรรม มีคา่ นิยมที่ดีงาม ยึดมัน่ ศรทั ธา
ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและดารงชีวติ อยู่ในสังคมไทยอยา่ งมีความสงบสุข

มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวช้วี ัด
ส1.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5,ม.3/6,ม.3/7,ม.3/8,ม.3/9,ม.3/10
ส1.2 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5,ม.3/6,ม.3/7
ส2.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5
ส2.2 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4

รวม 26 ตวั ชีว้ ัด

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วิชำพืน้ ฐำน
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษำปีท่ี 3 ภำคเรียนที่ 1
รหสั วชิ ำ ส23102 ประวตั ิศำสตร์
เวลำ 20 คำบ จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

89

ศกึ ษาวิเคราะห์และใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตรใ์ นการศึกษาวเิ คราะห์เร่อื งราวเหตุการณ์สาคัญทาง
ประวัตศิ าสตรไ์ ด้อย่างมเี หตุผลตามวิธีการทางประวัตศิ าสตร์และศึกษาเรอ่ื งราวท่ีเก่ียวข้องกับตนเองครอบครัว
และความเปน็ มาของทอ้ งถ่ินของตนตามความสนใจโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการ
ทางประวตั ิศาสตรข์ องไทยในสมัยรตั นโกสินทร์ในด้านต่างๆเกย่ี วกบั การสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี
ไทยปัจจัยท่ีส่งผลต่อความมนั่ คงและความเจรญิ รงุ่ เรืองในสมยั รัตนโกสนิ ทร์บทบาทของพระมหากษตั รยิ ์ไทยใน
ราชวงศ์จักรีในการสร้างสรรค์ความเจริญและความม่ันคงของชาติพัฒนาการทางด้านการเมืองการปกครอง
สังคมเศรษฐกิจและความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศกับประเทศเพือ่ นบา้ นในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้และ
ประเทศอน่ื ๆศกึ ษาวิเคราะหส์ าเหตุปัจจยั และผลของเหตุการณ์สาคัญที่มีตอ่ การพัฒนาชาติไทยศึกษาวเิ คราะห์
บทบาทขอ งไทย ใน สั งคมโลก ต้ั งแต่ เปลี่ ย น แปลงก ารปก คร อง จน ถึงปั จจุ บัน และ วิ เคร าะ ห์ภูมิปัญ ญ าและ
วัฒนธรรมไทยและภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ทีม่ อี ิทธิพลตอ่ การพฒั นาและสร้างสรรค์ชาติไทย

โดยใช้ทักษะการใช้วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์การสังเกตการสืบคน้ การสารวจการวพิ ากษข์ ้อมลู การ
วเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การสร้างความรู้ใหม่ การให้เหตุผลใช้ทักษะ การรวบรวมข้อมูล การสืบค้น การ
เชอ่ื มโยง การอธิบายการสรุปสบื ค้นเรื่องราวต่างๆอย่างเป็นระบบดว้ ยเทคโนโลยสี มยั ใหม่

เพื่อให้ตระหนักถงึ คุณค่าความเป็นมาของชาติไทยเกิดความรักและความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย
ภูมิปัญญาไทยตระหนักและเห็นความสาคัญในบรรพบุรุษไทยท่ีได้ปกป้องและสร้างสรรค์ความเจริญให้กับ
ประเทศชาติจนถึงทกุ วนั น้ี

มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั
ส 4.1 ม.3/1 , ม.3/2
ส 4.3 ม.3/1 , ม.3/2 , ม.3/3 ,ม.3/4

รวม 2 มำตรฐำน 6 ตวั ช้ีวัด

90

คำอธิบำยรำยวชิ ำ วชิ ำพ้ืนฐำน
กลุม่ สำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรยี นที่ 2
รหสั วิชำ ส23103 สงั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
เวลำ 60 คำบ จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์กลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาทอ้ งถ่ินตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ระบบสหกรณ์ อธิบายบทบาท
หน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกจิ นโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลท่ีมีตอ่ บุคคล กลุม่ คนและ
ทอ้ งถิ่นตนเองและประเทศชาติและภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ บทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางการ
แก้ปัญหา ตลอดจนศึกษาสาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ ศึกษาการใช้เครื่องมือทาง
ภมู ิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเกย่ี วกับลักษณะทางกายภาพและสังคมสาเหตุการเกิด
ภยั พบิ ตั ิและผลกระทบในทวปี อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้ การก่อเกดิ ส่งิ แวดลอ้ มใหม่ทางสังคมอนั เป็นผลจาก
การเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาตแิ ละสังคมของทวีปอเมรกิ าเหนือและอเมริกา แนวทางการจดั การภัยพิบัติและ
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้อย่างย่ังยืน สารวจและอภิปราย
ประเดน็ ปัญหาเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดขน้ึ ในทวปี อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ สาเหตแุ ละผลกระทบตอ่ เน่อื ง
จากการเปล่ยี นแปลงของสงิ่ แวดลอ้ มในทวปี อเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใตท้ สี่ ่งผลกระทบตอ่ ประเทศไทย

โดยใชก้ ระบวนการตั้งคาถามเชิงภมู ศิ าสตร์ การรวบรวมขอ้ มลู การจัดการข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มูล
การสรุปเพือ่ ตอบคาถาม ทกั ษะการใช้เทคนิค และเคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์ด้วยเทคโนโลยีสมยั ใหม่

เพอ่ื ให้เกิดความรูค้ วามเขา้ ใจระบบธรรมชาติและมนษุ ยผ์ ่านปฏิสมั พันธ์ การใหเ้ หตุผลทางภูมศิ าสตร์
ผ่านการเชอื่ มโยงระหวา่ งกัน และการตัดสินใจอย่างเป็นระบบตามนยั มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นดา้ นใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมัน่ ในการทางาน มวี นิ ัย มจี ิตสาธารณะ เหน็ คุณค่าและมีจติ สานกึ และมสี ่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาท่ีย่งั ยืน

รหสั ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.3/1 ม.3/2
ส 5.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
รวม 2 มาตรฐาน จานวน 7 ตัวชว้ี ัด

91

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม วชิ ำพนื้ ฐำน

รหสั วิชำ ส23104 ประวัตศิ ำสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 ภำคเรียนท่ี 2

เวลำ 20คำบ จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์ทต่ี งั้ และสภาพทางภูมศิ าสตรข์ องภมู ภิ าคตา่ งๆของโลกท่ีสง่ ผลตอ่ พฒั นาการทาง
การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรมของภูมิภาคตา่ งๆของโลกดว้ ยวิธีการทางประวัติศาสตร์
วิเคราะหเ์ หตุการณ์สาคัญในภูมิภาคตา่ งๆของโลก ทีม่ ผี ลกระทบตอ่ พัฒนาการและการเปลีย่ นแปลงของโลก
(ยกเวน้ เอเชยี ) อิทธพิ ลของอารยธรรมตะวันตกทมี่ ีผลต่อพฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลก ความ
รว่ มมอื แลละความขดั แยง้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 และเหตุการณ์สาคญั ทก่ี ่อใหเ้ กิดการเปลย่ี น แปลงด้านต่างๆของ
โลกจนถงึ ปจั จบุ นั

โดยใชท้ ักษะการสงั เกตการสืบค้นการสารวจการวพิ ากษ์ข้อมูลการวิเคราะห์การสังเคราะหก์ ารสรา้ ง
ความรูใ้ หมก่ ารใหเ้ หตุผลใช้ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูลการสืบค้นการเชื่อมโยงการวิเคราะหก์ ารสังเคราะห์การ
อธิบายการสรปุ ความ ทกั ษะการใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตรส์ ืบคน้ เรอ่ื งราวต่างๆอยา่ งเปน็ ระบบ

เพ่อื ใหเ้ หน็ ความสาคัญของการปรบั เปลี่ยนภมู ปิ ัญญาให้เหมาะสมกบั ชีวิตปัจจบุ ัน การอนรุ กั ษ์และ
ส่งเสรมิ ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั ทงั้ ไทยและตา่ งประเทศในสมยั ธนบรุ ีและรตั นโกสินทร์ การ
เปรยี บเทยี บ ผลงานของบคุ คลสาคัญท้งั ไทยและต่างประเทศทัง้ ท่ีมผี ลกระทบต่อประเทศไทยสมยั ธนบุรีและ
รตั นโกสินทร์

รหสั ตัวชี้วดั
ส 4.1 ม.3/1 , ม.3/2
ส 4.2ม.3/1 ,ม.3/2
รวม 2มาตรฐาน จานวน 4 ตัวชว้ี ัด

92

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วิชำเพมิ่ เตมิ
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 -3
รหัสวิชำ ส20201 จริยธรรมกับบคุ คล จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ
เวลำ 40 ชวั่ โมง

ศึกษา วิเคราะหค์ วามหมาย ความสาคญั และความรูท้ ว่ั ไปของคุณธรรม จริยธรรม คุณธรรมและ
จริยธรรมระดับบคุ คลในสังคมประชาธปิ ไตย ปัญหาคุณธรรมและจริยธรรมทางสังคมในสังคมไทย ศกึ ษา
แนวทางปฏบิ ตั ิตนโดยยดึ หลกั คุณธรรม จริยธรรม ในการพฒั นาตนเอง การสร้างสรรค์ความเจริญให้กับ
ท้องถ่นิ สังคมและประเทศชาติ ประวตั ิผลงาน และแนวคดิ ของบคุ คลที่ดารงชวี ติ บนพนื้ ฐานของคณุ ธรรม
จริยธรรม เพอ่ื ใหเ้ ป็นแบบอย่างถาวร และประพฤตปิ ฏบิ ตั ิทด่ี ี

โดยใช้ทกั ษะกระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกลุม่ การสืบคน้ ขอ้ มลู การเลอื กรับข้อมูล
ข่าวสารจากแหลง่ สบื คน้ ต่างๆ อยา่ งมจี ริยธรรม กระบวนการทางสังคม การคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ และการ
สืบเสาะแสวงหาความรมู้ าประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั

เพ่ือให้ เหน็ คุณคา่ ในการฝึกคุณธรรม จรยิ ธรรม มาเป็นหลกั ในการดาเนนิ ชวี ติ สามารถเลือก
แนวทางในการปฏบิ ตั ิตนได้อย่างเหมาะสมในอันท่ีจะพัฒนาตน ทอ้ งถน่ิ และประเทศชาติ

ผลกำรเรยี นรู้
1. อธิบายความหมาย และรู้ท่วั ไปเก่ยี วกับคณุ ธรรม จริยธรรมได้

93

2. วิเคราะหค์ วามสาคัญของคณุ ธรรม จริยธรรมกับบุคคลในการพฒั นาตนเอง การสร้างสรรค์ความ
เจริญใหก้ ับ ทอ้ งถ่ิน สงั คมและประเทศชาติได้

3. บอกแนวทางการเปน็ ประชาชนท่ีดีในสังคมประชาธปิ ไตยได้
4. วิเคราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างจรยิ ธรรมกับพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตยได้
5. สามารถวเิ คราะห์คุณธรรม แนวทางปฏิบัตแิ ละแนวคิดของบุคคลตา่ ง ๆ ท่ีมีผลต่อพัฒนาการ

ท้องถ่นิ และประเทศชาตไิ ด้
6. เหน็ ความสาคัญของ และสามารถนาความรู้คุณธรรม และจริยธรรมมาประยกุ ตใ์ ช้ใน

ชีวติ ประจาวันได้

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม วิชำเพิ่มเตมิ
รหัสวชิ ำ ส20202 อำเซยี นศึกษำ ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 1-3
เวลำ 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาประวัติความเป็นมา เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ความสาคัญ วิวัฒนาการ ของกลุ่มอาเซียนสู่
การพัฒนาเป็นประชาคมอาเซียน ศึกษาท่ีตั้ง และอาณาเขตของประเทศต่างๆ ในกลุ่มประชาคมอาเซียน ธง
อาเซียนและสัญลักษณ์อาเซียน ภาษาที่ใช้ในอาเซียน สมาชิกอาเซียนในปัจจุบัน สภาพสังคมเศรษฐกิจและ
การเมืองของประเทศสมาชกิ เพื่อเขา้ ใจถึงความเหมือนและความต่างระหวา่ งไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียน
เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างไทยกับกลุ่มอาเซียนทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ศึกษา
ความสาคัญของศาสนาประจาชาตแิ ต่ละประเทศในกล่มุ ประชาคมอาเซียนหลกั ธรรมและหลกั การดาเนินชวี ิตท่ี
สาคัญของศาสนาต่างๆเพ่ือให้ภูมิภาคอาเซียนอยู่อย่างสันติสุข ศึกษาศาสนสถานท่ีสาคัญในกลุ่มประชาคม

94

อาเซียนและการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม เช่นวัดพระศรีรัตนศาสดารามในประเทศไทย นครวัดในประเทศ
กมั พูชา บุโรพทุ โธในประเทศอินโดนีเซีย พระมหาเจดียช์ เวดากองในประเทศพม่า วัดเชียงทองในประเทศลาว
เป็นต้น การปฏิบัติตนท่ีถูกต้องในวันสาคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สาคัญต่างๆในกลุ่มประชาคมอาเซียน
ผลงานและประวัติบุคคลสาคัญที่เป็นแบบอย่างการกระทาความดี บุคคลท่ีมีบทบาทสาคัญต่ออาเซียน หรือมี
ผลงานโดดเด่นทสี่ มควรได้รบั การยกยอ่ งและน่าภาคภูมใิ จต่อการถือเป็นแบบอยา่ งในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน
รวมถึงเข้าใจความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจ และสังคมในปัจจุบัน การประชุมสุดยอดอาเซียน
บทบาทของประเทศไทยในกลมุ่ ประชาคมอาเซยี น บทบาทของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน ประโยชน์ท่ี
ไทยจะไดร้ บั และทศิ ทางสงั คมไทยตอ่ การเปลี่ยนแปลงสูส่ ังคมอาเซยี น

โดยใชท้ ักษะกระบวนการการทางานเป็นกลุ่ม ทักษะการคิดวิเคราะห์ความสาคัญของศาสนาประจา
ชาติของแต่ละประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียน และศาสนาที่สาคญั ในกลมุ่ ประชาคมอาเซยี นต่อจติ ใจและวิถี
การดาเนินชวี ิต รวมถึงการปฏิบตั ติ นไดอ้ ย่างเหมาะสมในวันสาคัญทางศาสนาและเทศกาลท่สี าคญั ตา่ งๆ รจู้ ัก
คิดประเมินคุณค่าประวัติและผลงานบุคคลสาคัญในอาเซียนท่ีน่าภาคภูมิใจต่อการถือเป็นแบบอย่างในการ
ดาเนินชีวิต มีทักษะในการสืบค้นข้อมูลและนาเสนอประวัติความเป็นมาของกลุ่มอาเซียน ความรู้เบ้ืองต้น
เกยี่ วกบั ประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึงความสัมพันธ์ของของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจ และในสังคมปจั จบุ ัน
มีทักษะในการใช้แผนท่ี/ลูกโลก การแก้ไขปัญหาด้วยหลักแห่งสันติ และทักษะการดารงชีวิตอยู่ในสังคมไทย
ประชาคมอาเซียน และสงั คมโลกได้อยา่ งสันติสขุ

เพ่ือให้เกิดคา่ นิยม เจตคติที่ดีในการเป็นสมาชิกที่ดี ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของประเทศไทย
ต่อการวมกลุ่มประชาคมอาเซียน และการปรับตัวในการพลเมืองที่ดีของอาเซียน เพื่อดารงชีวิตในยุค
โลกาภวิ ฒั นไ์ ดอ้ ย่างเหมะสม

ผลกำรเรียนรู้
1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจประวัตคิ วามเป็นมา ความสาคญั วัฒนาการ ของกลุ่มอาเซียนสู่การพัฒนาสู่

ประชาคมอาเซยี น
2. มีความรู้ความเขา้ ใจ ลกั ษณะทางสังคม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ ของประชาคมอาเซยี น สามารถปรับ

ตนเองดารงชีวิตอยใู่ นสงั คมไทย ประขาคมอาเซยี นและประชาคมโลกไดอ้ ย่างมคี วามสุข
3. อธิบายและวเิ คราะห์ความสาคญั ของศาสนาต่างๆในประชาคมอาเซียนในฐานะเป็นศาสน

ประจาชาตเิ พือ่ ใหภ้ ูมภิ าคอาเซยี นอยู่อยา่ งสันติสุข แก้ไขปญั หาภายในภมู ิภาคโดยสันตวิ ิธี
4. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ศาสนถานท่ีสาคัญอันถือเปน็ เอกลักษณข์ องชาตใิ นกลุม่ ประชาคม

อาเซียน และการปฏิบัติตนได้อยา่ งเหมาะสม
5. ชนื่ ชมบุคคลตัวอย่างการทาความดี บุคคลทม่ี ีบทบาทสาคญั ต่ออาเซยี น หรือมีผลงานโดดเดน่ ที่

สมควรได้รบั การยกยอ่ ง และน่าภาคภูมิใจต่อการถือเปน็ แบบอย่างในการดาเนนิ ชวี ิต พอสงั เขป
6. อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องกล่มุ อาเซยี นและตระหนักถงึ บทบาทของประเทศไทยในประชาคม

95

อาเซยี นในปัจจุบัน

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วิชำเพม่ิ เติม
กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ 1 ภำคเรยี นท่ี 1
รหัสวิชำ ส20231 หน้ำทพี่ ลเมอื ง 1
เวลำ 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

มสี ่วนร่วมอนุรักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสมั มาคารวะ
แสดงออกถึงความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณี

96

ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน
สถาบนั พระมหากษัตริย์ ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาทใน หลักการทรงงานในเรื่องการใชธ้ รรมชาติ
ช่วยธรรมชาติการปลูกป่าในใจคน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
ซ่ือสัตย์สุจริตขยนั หมั่นเพยี ร อดทน ใฝ่หาความรู้ และตัง้ ใจปฏิบตั ิหนา้ ท่ี

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์
กระบวนการแก้ปัญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้าง
คา่ นยิ ม และกระบวนการสรา้ งเจตคติ

เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย มีความซื่อสัตย์ความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่การมีจิตสาธารณะมี
ชีวิตพอเพียงและรักความเป็นธรรมอันจะช่วยปลูกฝังค่านิยมและจิตสานึกให้เยาวชนไทยเติบโตเป็นคนที่มี
ศักดิ์ศรีเช่ือม่ันในความสุจริตกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้องและต่อต้านการเอารัดเอาเปรียบการทุจริตคอร์รปั ชั่น
และการโกงทุกประเภท ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูน
สถาบันพระมหากษตั ริย์

ผลกำรเรยี นรู้
1. มีส่วนรว่ มในการอนุรักษม์ ารยาทไทย
2. แสดงออกถงึ ความเอ้ือเฟ้อื เผ่อื แผแ่ ละเสียสละต่อสงั คม
3. เห็นคุณคา่ และอนุรักษข์ นบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญั ญา
4. เปน็ แบบอย่างและแนะนาผอู้ นื่ ใหม้ คี วามรักชาติ ยึดม่นั ในศาสนา และ เทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์
5. ประยกุ ต์และเผยแผพ่ ระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

รวมทั้งหมด 5 ผลกำรเรยี นรู้

คำอธิบำยรำยวิชำ

97

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม วิชำเพิม่ เตมิ

รหัสวชิ ำ ส20232 หน้ำทพี่ ลเมือง 2 ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 ภำคเรียนที่ 2

เวลำ 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสังคม การ

ตัดสินใจโดยใช้เหตุผล มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน

ตรวจสอบข้อมูลเพ่ือใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ ปฏิบัตติ นเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ขยนั หม่ันเพียร

ใฝ่หาความรู้ ต้ังใจปฏิบัติหน้าที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเองยอมรับความหลากหลายทาง

สงั คมวฒั นธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ในเร่ืองวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม อยู่ร่วมกัน

อยา่ งสันตแิ ละพึง่ พาซง่ึ กันและกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรมดว้ ยการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกริ ิยาและวาจาดู

หมิ่นผู้อ่ืน ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน แบ่งปัน มีส่วนรว่ มในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง โดยสันติวิธี ในเรื่องการ

ทะเลาะววิ าท ความคิดเหน็ ไมต่ รงกัน ด้วยการเจรจาไกลเ่ กล่ยี การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแยง้ ปฏิบัติ

ตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเร่ืองความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝ่หาความรู้ ต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิด

จากการกระทาของตนเอง

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์

กระบวนการแก้ปัญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้าง

คา่ นยิ ม และกระบวนการสร้างเจตคติ

เพื่อให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วม

ทางการเมืองการปกครอง อยูร่ ่วมกบั ผู้อ่ืนอยา่ งสันติ จดั การความขดั แย้งดว้ ยสันติวิธี มีความซื่อสัตยส์ ุจริต การ

จติ สาธารณะ ความเป็นธรรมทางสังคม การกระทาอย่างรบั ผิดชอบ การเป็นอยู่อย่างพอเพียงและมีวินัยใน

ตนเอง

ผลกำรเรยี นรู้
1. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย
2. มสี ่วนรว่ มและรบั ผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจตรวจสอบขอ้ มูลเพอ่ื ใชป้ ระกอบการตัดสินใจในกิจกรรม

ต่างๆ
3. ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้อยรู่ ่วมกันอยา่ ง

สันตแิ ละพ่งึ พาซ่งึ กนั และกนั
4. มสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหาความขัดแยง้ โดยสนั ตวิ ธิ ี
5. ปฏิบัติตนเป็นผู้มวี ินัยในตนเอง

รวมท้ังหมด 5 ผลกำรเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version