The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sucharat ratchasarn, 2022-04-18 06:52:00

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

144

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ วชิ ำเพ่มิ เตมิ

รหัสวชิ ำ อ20201เพิ่มเติมภำษำองั กฤษ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 1ภำคเรียนที่ 1

เวลำ 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาภาษาทีใ่ ช้ในการสือ่ สารระหวา่ งบุคคล เช่น คาส่ัง คาขอร้อง คาชแ้ี จง และคาอธิบายง่ายๆ การ
ทกั ทาย การกลา่ วลา การขอบคุณ การแนะนาตวั เอง การแนะนาผู้อื่นใหร้ ู้จักกันการแลกเปล่ียนข้อมลู เกยี่ วกับ
สถานการณ์ต่างๆ ในชวี ติ ประจาวันและสถานการณท์ ี่นา่ สนใจ รวมท้งั สอ่ื สงิ่ พมิ พ์และส่ืออิเล็คทรอนิคส์
สามารถโต้ตอบ และแสดงความคดิ เห็น และสามารถนาเสนอผลงานผ่านทกั ษะกระบวนการการบูรณาการ

โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟงั พูด อ่าน เขยี น ทักษะการจา คิด วิเคราะห์และเขยี น สื่อความ
กระบวนการทางานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ 5 สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถใน
การคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เพือ่ ให้มคี ่านยิ มทพ่ี ึง่ ประสงค์ เปน็ ผมู้ ีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ซอื่ สัตย์สจุ ริตมี วินยั ใฝ่
เรยี นรอู้ ย่อู ยา่ งพอเพยี งมุ่งมน่ั ในการทางานรักความเป็นไทยและมจี ิตสาธารณะอนุรกั ษ์พลงั งานและ
สิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถนิ่ ชมุ ชนร่วมพัฒนายดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นหลกั คดิ
หลักปฏบิ ัติในการเรยี นรู้

ผลกำรเรียนรู้
1. พูดและปฏิบัตติ ามคาส่งั คาขอร้อง คาแนะนา คาช้แี จงและคาอธบิ ายงา่ ยๆทฟ่ี งั ได้
2. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมลู เกีย่ วกับตนเองและเรอื่ งตา่ ง ๆใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องทอ่ี ย่ใู นความ
สนใจของสงั คม และสอื่ สารอยา่ งต่อเนอื่ งและเหมาะสม
3.พูดบรรยายเกี่ยวกับตวั เอง ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ เรือ่ ง ประเดน็ ตา่ งๆทอี่ ยู่ในความสนใจของสังคม
4. เลือกใช้ภาษาน้าเสยี งและกริยาท่าทางเหมาะสมกบั บคุ คลและโอกาสตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของ
เจ้าของภาษา
5. คน้ คว้า รวบรวมและสรปุ ขอ้ มูลข้อเทจ็ จริง ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานและส่งิ แวดล้อมจากแหล่ง
เรยี นรู้อ่ืน และนาเสนอดว้ ยการพูด
6. ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการแสวงหาความรแู้ สดงความคิดเห็นทงั้ สารคดี และบนั เทิงคดี
7. มที ักษะในการใช้ภาษาในการเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ขอ้ มลู ของโรงเรยี นละชุมชนได้
8. มที กั ษะในการเรียนรู้ การทางานโดยกระบานการกลุ่มและกระบวนการทางานตามระบบ PDCA
9. มีคุณสมบัติที่พงึ ประสงคข์ องโรงเรียนและของกลมุ่ สาระภาษาต่างประเทศ

รวมทง้ั หมด 9 ผลกำรเรียนรู้

145

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ วิชำเพ่ิมเตมิ
ช้ันมธั ยมศึกษำปที ี่ 1ภำคเรยี นที่ 1
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ
รหสั วชิ ำ อ 20202 ภำษำอังกฤษเพือ่ กำรอ่ำนและเขียน1
เวลำ 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาเทคนคิ กระบวนการการเรยี นร้ใู นการอา่ นคิดวเิ คราะหแ์ ละการเขียนสือ่ ความระบหุ วั ข้อเร่ือง

(Topic) ใจความสาคญั ( Main idea) และตอบคาถามจากการอ่านบทสนทนานิทานและเรอื่ งส้ันเขียนแสดง
ความรูส้ กึ และความคิดเห็นของตนเองเก่ยี วกับเร่อื งตา่ งๆใกล้ตวั กจิ กรรมต่างๆพร้อมทง้ั ใหเ้ หตผุ ลส้นั ๆ ประกอบ

อยา่ งเหมาะสมเขียนสรปุ ใจความสาคัญแกน่ สาร( Theme) ท่ีได้จากการวเิ คราะหเ์ ร่อื งหรอื เหตุการณ์ทีอ่ ยู่ใน
ความสาคัญของสงั คมเขา้ ร่วมจัดกิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจใชภ้ าษาต่างประเทศในการ
สบื ค้นค้นคว้าความรูข้ ้อมลู จากเร่ืองและแหลง่ การเรียนรู้ต่างๆในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพและนาเสนอ

ด้วยการเขยี น
โดยใชท้ ักษะในการเรยี นรู้ดงั นี้ทกั ษะการตีความทกั ษะการสรปุ ยอ่ ทกั ษะการให้เหตุผลทักษะการวเิ คราะห์
ทักษะการสร้างความรู้และสมรรถนะ 5สมรรถนะคือความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปญั หาความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิตความสามารถในการใช้เทคโนโลยเี พ่อื ให้เป็นผู้
มีวินัยรกั ชาติศาสนก์ ษตั ริยซ์ ื่อสัตย์สุจรติ ขยนั หมั่นเพียรมงุ่ ม่ันในการทางาน ใฝ่เรยี นรู้

อยอู่ ยา่ งพอเพียงและมีจติ สาธารณะ

ผลกำรเรยี นรู้
.1อา่ นออกเสยี งข้อความขา่ วประกาศโฆษณาบทรอ้ ยกรองและบทละครสั้น( skit) ถกู ต้องตามหลกั การอา่ น
.2อธิบายและเขียนประโยคและขอ้ ความให้สมั พันธก์ ับส่ือที่ไมใ่ ชค่ วามเรียงรปู แบบต่างๆ

.3จบั ใจความสาคญั สรุปความและแสดงความคิดเห็นจากการอ่านพรอ้ มทัง้ ให้เหตุผลและยกตัวอยา่ งประกอบ
.4เขียนเพ่อื ขอและให้ขอ้ มูลบรรยายอธิบายเปรยี บเทยี บและแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เร่อื ง/ประเดน็ /

เหตุการณ์ทีอ่ ่านอยา่ งเหมาะสม
.5เขียนสรุปใจความสาคญั /แกน่ สาระทีไ่ ดจ้ ากการวิเคราะห์เร่อื งกจิ กรรมข่าวเหตุการณ์และสถานการณ์ตาม
ความสนใจ

รวมทงั้ หมด5ผลกำรเรยี นรู้

146

คำอธบิ ำยรำยวิชำ รำยวชิ ำภำษำองั กฤษเพ่ิมเตมิ 2 รหสั
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ จำนวน 1.5 หน่วยกติ

วิชำ อ20203ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 1ภำคเรยี นที่2
เวลำ 60 ชว่ั โมง

ปฏิบตั ิตามคาขอรอ้ ง คาแนะนา คาช้ีแจง และคาอธิบายง่ายๆ ตามสถานการณ์ ขอ้ ความ ข่าว
ประกาศ บทร้อยกรองสั้นๆ หลักการอา่ น หวั ข้อเรื่อง ใจความสาคญั เรื่องท่ีฟงั บทสนทนา นิทาน เรื่องส้นั

และเร่ืองจากส่ือประเภทตา่ งๆ ข้อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง เร่อื งต่างๆ ใกล้ตัว และสถานการณต์ ่างๆ ใน
ชวี ิตประจาวัน ใชภ้ าษาทีใ่ ช้ในการแสดงความตอ้ งการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธการให้

ความช่วยเหลือในสถานการณต์ า่ งๆ การแสดงความรสู้ กึ ความคิดเห็น และใหเ้ หตุผลประกอบ ขอ้ มูลเก่ียวกับ
ตนเอง กจิ วตั รประจาวนั ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ทอ่ี ยใู่ นความสนใจของสังคมและในกลมุ่ ประเทศ
อาเซียน ใจความสาคญั แกน่ สาระ หวั ขอ้ เรอ่ื ง ที่ได้จากการวิเคราะห์เร่อื ง ข่าว เหตกุ ารณ์ ทีอ่ ยูใ่ นความสนใจ

ของสงั คม ข้อมลู ขา่ วสาร ขอ้ เท็จจรงิ ทเี่ กี่ยวข้องกับกลมุ่ สาระการเรยี นร้อู ืน่ จากแหลง่ เรยี นรซู้ ่ึงอยูใ่ นกล่มุ
ประเทศอาเซียน สถานการณจ์ รงิ สถานการณ์จาลองท่เี กิดขนึ้ ในห้องเรียน สถานศกึ ษา ชุมชน

โดยใชท้ กั ษะการสอื่ สาร การฟัง การพดู การแสดงความคดิ เหน็ พรอ้ มทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างการ สนทนา
แลกเปลย่ี นเปรียบเทียบและอธิบายใชท้ ักษะกระบวนการกลมุ่ การค้นควา้ รวบรวม และนาเสนอ เผยแพร่
ประชาสมั พันธ์ กระบวนการเรียนรูต้ ามสถานการณจ์ ริง สถานการณ์จาลองท่ีเกิดขนึ้ ในสถานศึกษา และชุมชน

เพือ่ ให้เจตคติท่ีดี เป็นผูม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ซ่อื สตั ย์สุจริตมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี น
รอู้ ยู่อยา่ งพอเพียงมงุ่ ม่ันในการทางานรกความเปน็ ไทยและมีจติ สาธารณะอนุรกั ษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม สืบ

สานศิลปวฒั นธรรมท้องถิน่ ชุมชนร่วมพฒั นา ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ หลักคิดหลักปฏิบตั ิ ใน
การเรียนรู้

ผลกำรเรียนรู้
นักเรยี นสามารถ

1. อธิบายขนั้ ตอนการทาอาหาร เครือ่ งด่ืมท่ีชอบได้
2. ใชภ้ าษาเพ่อื ขอและให้ขอ้ มลู เกีย่ วกับอาหารและสุขภาพได้
3. แสดงความคดิ เหน็ และความรสู้ กึ เก่ยี วกบั เร่ืองทฟี่ ังและไดย้ ินพร้อมให้เหตผุ ลประกอบ

4. เปรยี บเทยี บความเหมอื นและแตกต่างชวี ติ ความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา กลุม่ ประเทศอาเซยี น กับของ
ไทยได้

5. บรรยายเก่ยี วกบั สถานที่ตา่ งๆได้
6. อธิบายความเป็นมาและความสาคัญของเทศกาลวันสาคญั ประเพณีของเจ้าของภาษาและกล่มุ ประเทศ
อาเซยี นได้

7. จับใจความสาคญั ของเรอ่ื งท่ีฟังได้
8. บรรยายประสบการณ์ เหตกุ ารณ์ท่ีอยูใ่ นความสนใจของสังคมได้

รวม 8 ผลกำรเรยี นรู้

147

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำต่ำงประเทศ วิชำเพมิ่ เตมิ รหัสวชิ ำ อ20204

ภำษำองั กฤษเพือ่ กำรอ่ำนและเขยี น 2 ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 1ภำคเรียนท่ี 2

เวลำ20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศกึ ษาเทคนิคกระบวนการการเรียนรู้ในการอ่านคดิ วเิ คราะห์และการเขยี นสื่อความ ระบหุ ัวข้อเรื่อง (Topic)

ใจความสาคญั (Main idea) และตอบคาถามจากการอา่ นบทสนทนา นทิ าน และเรื่องสนั้ เขยี นแสดงความร้สู กึ
และความคดิ เหน็ ของตนเองเก่ยี วกับเร่อื งต่างๆใกลต้ วั กจิ กรรมตา่ งๆพรอ้ มทง้ั ให้เหตุผลส้นั ๆ ประกอบอยา่ งเหมาะสม

เขยี นสรุปใจความสาคัญแก่นสาร (Theme) ท่ไี ดจ้ ากการวเิ คราะห์เรื่องหรอื เหตกุ ารณ์ทอี่ ย่ใู นความสาคัญของสงั คม
เขา้ รว่ มจดั กจิ กรรม ภาษา และวัฒนธรรมตามความสนใจ ใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบคน้ คน้ ควา้ ความรู้
ขอ้ มลู จากเร่อื งและแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ งๆในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพและนาเสนอดว้ ยการเขยี น

โดยใชท้ ักษะในการเรยี นรู้ ดังน้ีทกั ษะการตคี วาม ทกั ษะการสรปุ ย่อ ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ทักษะการวเิ คราะห์
ทักษะการสร้างความรู้ และสมรรถนะ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคิด 5

ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพือ่ ให้เป็นผูม้ ีวนิ ัย
รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สัตย์ สจุ ริต ขยันหมนั่ เพียร มุ่งมน่ั ในการทางาน ใฝเ่ รยี นรู้ อยูย่ ่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ

ผลกำรเรยี นรู้
.1เขียนแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับกจิ กรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์ ท้งั ในทอ้ งถิ่น สงั คม และโลก

พรอ้ มทั้งให้เหตผุ ลและยกตวั อย่างประกอบ
.2อธบิ ายอภปิ รายวถิ ชี ีวติ ความคดิ ความเชือ่ และทม่ี าของขนบธรรมเน/ียมและประเพณขี องเจา้ ของภาษา
.3ค้นคว้า สืบคน้ บนั ทกึ สรปุ และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวข้องกบั กล่มุ สาระการเรยี นรู้อ่ืน/

จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ และนาเสนอด้วยการเขยี น
.4ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ ขอ้ ม/ู ค้นควา้ รวบรวม วเิ คราะห์ และสรปุ ความรู้/ลต่างๆ จากสอ่ื และ

แหล่งการเรยี นรู้ตา่ งๆ ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ
.5เผยแพรข่ ้อมูล ขา่ วสารของโรงเรยี น ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ประเทศชาติ เปน็ ภาษาต่างประเทศ/

รวมทัง้ หมด 5 ผลกำรเรยี นรู้

148

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ วชิ ำเพ่ิมเตมิ

รหสั วชิ ำอ20205ภำษำอังกฤษเพมิ่ เติม3 ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่2ภำคเรยี นที่1

เวลำ60ชว่ั โมง จำนวน1.5หนว่ ยกติ

ศึกษาขอ้ ความรูปแบบของคาวลปี ระโยคข้อมลู ข่าวสารทง้ั ที่เป็นความเรยี งและไมเ่ ป็นความเรียงอยา่ งงา่ ยๆ

เกีย่ วกับขอ้ ความข่าวโฆษณานทิ านเพลงและบทร้อยกรองสนั้ ๆพรอ้ มทง้ั เลอื ก/ระบุ/ เขียนหวั ขอ้ เรอ่ื งใจความ

สาคัญเปรยี บเทยี บและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงโครงสร้างประโยคชวี ติ ความ

เปน็ อยู่และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากับของไทยคน้ ควา้ รวบรวมและสรุปขอ้ มลู /ข้อเท็จจรงิ ที่เกย่ี วข้องกับ

กลุ่มสาระการเรียนรอู้ ่ืนจากแหลง่ การเรยี นรู้และนาเสนอด้วยการพดู และการเขียนใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์

จรงิ /สถานการณ์จาลองทีเ่ กิดขึน้ ในหอ้ งเรยี นสถานศึกษาชุมชนและสังคม

ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ /ค้นควา้ รวบรวมและสรปุ ความรู้/ขอ้ มูลตา่ งๆจากส่ือและแหลง่ การเรียนร้ตู า่ งๆ

ในการศึกษาต่อและประกอบอาชพี เผยแพร่/ประชาสัมพันธข์ อ้ มลู ข่าวสารของโรงเรยี นชมุ ชนและท้องถน่ิ เปน็ ภาษาต่างประเทศใช้ทกั ษะ

กระบวนการฟงั พูดอา่ นเขยี นทกั ษะการจาคิดวเิ คราะหส์ ังเคราะห์และเขียนสื่อความกระบวนการทางานเป็นกล่มุ /คทู่ กั ษะการสื่อสารใน

สถานการณจ์ ริงและสถานการณจ์ าลองอยา่ งเหมาะสมกับระดบั

ของบคุ คลเวลาโอกาสและสถานทถ่ี ูกต้องตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาโดยเลือกใชท้ ักษะ

กระบวนการฟงั พูดอ่านเขียนทกั ษะการจาคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนสือ่ ความกระบวนการทางานกลุ่ม/คู่

และสมรรถนะ 5 สมรรถนะคอื ความสามารถในการสอ่ื สารความสามารถในการคิดความสามารถในการแกป้ ัญหาความสามารถในการใช้

ทกั ษะชวี ติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพือ่ ใหม้ ีจิตสาธารณะเปน็ ผูม้ คี ุณลกั ษณะ

อนั พึงประสงคร์ ักชาตศิ าสนก์ ษตั ริย์ซ่อื สตั ยส์ จุ ริตมีวินยั ใฝ่เรยี นรอู้ ยู่อย่างพอเพยี งมงุ่ มนั่ ในการทางาน

รกั ความเปน็ ไทยและมีจติ สาธารณะอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสิง่ แวดล้อมสบื สานศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ชมุ ชนรว่ มพัฒนา

ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลกำรเรียนรู้
1. อา่ นออกเสยี งขอ้ ความขา่ วโฆษณาและบทร้อยกรองสั้นๆถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่าน

2. ระบุและเขียนสื่อทไ่ี มใ่ ช่ความเรียงรูปแบบตา่ งๆให้สัมพนั ธ์กบั ประโยคและข้อความท่ีฟงั หรอื
3. สนทนาและเขยี นโตต้ อบข้อมลู เกี่ยวกับตนเองเร่ืองตา่ งๆใกลต้ ัวสถานการณข์ ่าวเรอื่ งทอ่ี ยขู่ องสังคมและสื่อสาร
อยา่ งตอ่ เนื่องและเหมาะสมโดยใชโ้ ครงสรา้ งที่กาหนด

4. อา่ นและเขียนสรุปใจความสาคัญ / แก่นสาระหัวข้อเรือ่ งท่ไี ดจ้ ากการวิเคราะห์เร่ือง/ขา่ ว/เหตสุ ถานการณ์ที่อยู่ใน
ความสนใจของสังคม

5.เปรียบเทียบและอธบิ ายความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนดิ ตา่ งๆและการลาดบั คาตามโครงสรา้ งประโยค
ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

149

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ วชิ ำเพ่ิมเตมิ

รหัสวชิ ำ อ20206 ภำษำอังกฤษเพอื่ กำรสอ่ื สำร 1 ช้ันมัธยมศกึ ษำปีที่ 2ภำคเรยี นที่ 1

เวลำ 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5หน่วยกิต

ผ้เู รยี นจะไดร้ บั การพัฒนาการเรยี นรู้เร่อื งภาษาท่ใี ช้ในการสอ่ื สารระหว่างบุคคลตามมารยาทสงั คมและ
วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา การทกั ทาย การกลา่ วลา การขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย กลา่ วอวยพรการสนทนา

แลกเปลีย่ นข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง แนะนาตนเอง เพือ่ น บคุ คลใกลต้ วั การแสดงความร้สู ึกการแสดงความคดิ เห็น
การให้เหตุผล การปฏบิ ัติตามคาสงั่ คาขอร้อง คาแนะนา การบอกทิศทางการอ่านป้ายประกาศ การบรรยาย

สิง่ แวดลอ้ มใกล้ตัว การทอ่ งเท่ียวการส่ือสารท้งั ในสถานการณจ์ รงิ หรอื สถานการณ์จาลองโดยใชก้ ระบวนการ
สนทนา พูดโต้ตอบ แลกเปลี่ยนขอ้ มลู บรรยาย เล่นเกมการแสดงบทบาทสมมุติ การรอ้ งเพลงเพ่ือใหม้ ีความม่งุ มนั่
ในการฝึกฝน มวี ินยั ในการทางาน ร้จู ักการทางานเป็นทมี กลา้ แสดงออกใฝเ่ รียนรู้ ขยันอดทน มีความพยายาม

รักการคน้ ควา้ มีความคิดสรา้ งสรรค์ รักความเป็นไทย ช่างสังเกตมมี นุษยสัมพันธ์ที่ดี มีมารยาทที่ดีในสังคม
มีเจตคติทีด่ ีต่อภาษาต่างประเทศ

เพอ่ื มีการปรับตัวเขา้ กับวฒั นธรรมของเจ้าของภาษาและมคี วามสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ในการอา่ น
และมีทกั ษะการเขียนสื่อความในรูปแบบต่าง ๆ ได้ รวมท้งั รู้จกั แสวงหาความรู้ และนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
ในชีวติ ประจาวนั ได้

ผลกำรเรยี นร้ทู คี่ ำดหวัง

1. ใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสารระหวา่ งบุคคลในสถานการณต์ า่ งๆ ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
2. เข้าใจมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไดอ้ ย่างถูกต้อง
3. สนทนาแลกเปลีย่ นข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเองและบุคคลอน่ื ได้

4. ใชภ้ าษาเพื่อแสดงความรู้สึก ความคดิ เห็นและการใหเ้ หตุผลได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
5. ปฏิบตั ติ ามคาส่ัง คาขอรอ้ ง คาแนะนาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

6. อา่ นและตีความป้ายประกาศตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ ง
7. พดู หรอื บรรยายถงึ ส่ิงแวดล้อมใกล้ตัว การท่องเทีย่ ว ทิศทาง ได้อย่างถกู ตอ้ ง

รวม 7 ผลกำรเรยี นรู้

150

กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำต่ำงประเทศ คำอธิบำยรำยวิชำ
ภำษำองั กฤษเพ่ิมเตมิ 4 วิชำเพ่ิมเตมิ รหัสวชิ ำ อ 20207
เวลำ 60 ชั่วโมง
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี2ภำคเรยี นท่ี 2
จำนวน1.5 หน่วยกติ

ศึกษาเทคนิคกระบวนการการเรียนรู้ในการอ่านคิดวิเคราะห์และการเขียนสื่อความ ระบุหัวข้อเรื่อง
(Topic) ใจความสาคัญ (Main idea) และตอบคาถามจากการอ่านบทสนทนา นิทาน และเร่ืองสั้น เขียนแสดง
ความรู้สึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว กิจกรรมต่างๆพรอ้ มทั้งให้เหตุผลส้ันๆประกอบ
อย่างเหมาะสม เขียนสรุปใจความสาคัญแก่นสาร (Theme) ท่ีได้จากการวิเคราะห์เรื่องหรือเหตุการณ์ที่อยู่ใน
ความสาคัญของสงั คม เข้ารว่ มจัดกิจกรรม ภาษา และวฒั นธรรมตามความสนใจ ใชภ้ าษาต่างประเทศในการสบื ค้น
คน้ ควา้ ความรู้ ข้อมูลจากเรอ่ื งและแหล่งการเรียนรูต้ ่างๆในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี และนาเสนอด้วยการ
เขยี น

โดยเลอื กใชท้ ักษะกระบวนการฟงั พดู อา่ น เขยี น ทักษะการจา คิด วิเคราะห์และเขียน สอื่ ความ
กระบวนการทางานกลมุ่ /คู่ และสมรรถนะ 5 สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการ
คิด ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

เพ่ือให้นักเรียน เป็นผู้มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ซ่อื สัตย์สุจริตมีวนิ ัยใฝ่เรียนรู้อยู่
อย่างพอเพียงมุ่งม่ันในการทางานรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสาน
ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ชุมชนร่วมพัฒนา ยึดปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรียนรู้
1. อ่านออกเสียงขอ้ ความข่าวประกาศโฆษณาบทรอ้ ยกรอง และบทละครส้นั (skit)ถกู ต้องตามหลักการอ่าน
2. อธิบายและเขยี นประโยค และขอ้ ความใหส้ ัมพนั ธ์กับส่ือท่ีไมใ่ ช่ความเรยี งรปู แบบต่างๆ
3. จบั ใจความสาคัญ สรุปความและแสดงความคดิ เห็นจากการอา่ นพรอ้ มท้ังให้เหตผุ ลและยกตัวอย่างประกอบ
4. เขียนเพ่ือขอและใหข้ ้อมลู บรรยาย อธบิ าย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรือ่ ง/ประเด็น/เหตกุ ารณ์ท่ี
อา่ นอย่างเหมาะสม
5. เขยี นสรปุ ใจความสาคญั /แกน่ สาระที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์เรื่องกจิ กรรม ขา่ ว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
6. เขยี นแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับกจิ กรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณท์ ้ังในทอ้ งถ่ิน สังคม และโลกพร้อมทง้ั ให้เหตุผล
และยกตัวอย่างประกอบ
7. อธบิ าย/อภปิ รายวิถีชีวิตความคิดความเช่ือและทีม่ าของขนบธรรมเนยี มและประเพณีของเจา้ ของภาษา
8. คน้ คว้า/สบื ค้น บันทึก สรุปและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับข้อมูล ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรยี นร้อู ่ืนจากแหล่งเรียนรู้
ตา่ งๆ และนาเสนอด้วยการเขียน

151

9. ใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นควา้ รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความร/ู้ ขอ้ มลู ต่างๆ จากส่ือและ
แหลง่ การเรยี นร้ตู า่ งๆในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี

10. เผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ

รวมทงั้ หมด 10 ผลการเรียนรู้ คำอธบิ ำยรำยวิชำ
วชิ ำเพมิ่ เตมิ รหสั วิชำ อ20208 ภำษำอังกฤษเพอื่ กำร
กลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำตำ่ งประเทศ ชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ 2ภำคเรยี นท่ี 2
สือ่ สำร 2 จำนวน 0.5หน่วยกิต
เวลำ 20 ชั่วโมง

ผเู้ รยี นจะได้รบั การพฒั นาการเรียนรู้เรื่องภาษาท่ีใชใ้ นการสื่อสารระหว่างบุคคลตามมารยาทสังคมและ

วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา การทกั ทาย การกล่าวลา การขอบคณุ ขอโทษ ชมเชย กล่าวอวยพรการสนทนา
แลกเปลย่ี นขอ้ มูลเกยี่ วกบั ตนเอง แนะนาตนเอง เพอื่ น บุคคลใกลต้ ัว การแสดงความรู้สึกการแสดงความคิดเหน็

การให้เหตุผล การปฏบิ ัตติ ามคาสง่ั คาขอร้อง คาแนะนา การบอกทิศทางการอ่านป้ายประกาศ การบรรยาย
สง่ิ แวดลอ้ มใกล้ตัว การทอ่ งเท่ียวการส่ือสารทัง้ ในสถานการณจ์ ริงหรือสถานการณ์จาลองโดยใชก้ ระบวนการ
สนทนา พดู โต้ตอบ แลกเปลย่ี นข้อมลู บรรยาย เล่นเกมการแสดงบทบาทสมมุติ การรอ้ งเพลงเพื่อให้มีความมงุ่ ม่นั

ในการฝึกฝน มวี นิ ยั ในการทางาน รู้จกั การทางานเป็นทมี กลา้ แสดงออกใฝเ่ รียนรู้ ขยนั อดทน มีความพยายาม รกั
การคน้ คว้า มคี วามคิดสร้างสรรค์ รกั ความเปน็ ไทย ชา่ งสงั เกตมมี นษุ ยสัมพันธ์ทด่ี ี มมี ารยาทที่ดใี นสังคม มเี จตคติที่

ดีตอ่ ภาษาต่างประเทศ
เพื่อมีการปรบั ตัวเข้ากบั วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและมีความสนุกสนานเพลิดเพลินในการอ่าน และมี

ทักษะการเขียนสื่อความในรูปแบบต่าง ๆ ได้ รวมทั้งรู้จักแสวงหาความรู้ และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน

ชีวติ ประจาวันได้

ผลกำรเรยี นร้ทู ่คี ำดหวัง
1. ใชภ้ าษาเพื่อการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคลในสถานการณต์ า่ งๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
2. เข้าใจมารยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

3. สนทนาแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกบั ตนเองและบุคคลอน่ื ได้
4. ใชภ้ าษาเพื่อแสดงความรู้สกึ ความคิดเหน็ และการใหเ้ หตุผลไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

5. ปฏบิ ตั ติ ามคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนาได้อยา่ งถูกตอ้ ง
6. อ่านและตคี วามป้ายประกาศต่างๆ ได้ถกู ต้อง
7. พดู หรือบรรยายถึงสิง่ แวดลอ้ มใกล้ตวั การท่องเที่ยว ทิศทาง ได้อย่างถกู ตอ้ ง

รวม 7 ผลกำรเรียนรู้

152

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ วชิ ำเพ่ิมเติมรหัสวชิ ำ อ20209 ภำษำอังกฤษเพม่ิ เตมิ 5

ชั้นมธั ยมศึกษำปที ่ี 3ภำคเรยี นท่ี 1

เวลำ 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5หน่วยกิต

ศกึ ษา ขอ้ ความ รูปแบบของคา วลี ประโยค ข้อมูลขา่ วสารทั้งทเี่ ป็นความเรียงและไม่เปน็ ความเรียง
อย่างง่ายๆ เกยี่ วกบั ข้อความ ขา่ ว โฆษณา นิทาน เพลง และบทรอ้ ยกรองส้ันๆ พรอ้ มทั้งเลอื ก/ระบ/ุ เขียนหวั ข้อ
เรื่อง ใจความสาคญั เปรยี บเทยี บ และอธบิ ายความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งการออกเสียง โครงสรา้ ง
ประโยค ชีวติ ความเป็นอย่แู ละวฒั นธรรมของเจ้าของภาษากบั ของไทย ค้นควา้ รวบรวม และสรุปข้อมูล/
ข้อเท็จจรงิ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื จากแหลง่ การเรยี นรู้ และนาเสนอดว้ ยการพดู และการเขยี นใช้
ภาษาสื่อสารในสถานการณจ์ ริง/สถานการณ์จาลองทเี่ กิดขึน้ ในห้องเรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม ใช้
ภาษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ /ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความร/ู้ ข้อมูลตา่ งๆ จากส่อื และแหลง่ การเรียนร้ตู ่างๆ
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชพี เผยแพร่/ประชาสัมพนั ธ์ข้อมูล ขา่ วสารของโรงเรยี น ชมุ ชน และทอ้ งถิน่ เป็น
ภาษาต่างประเทศ ใช้ทักษะกระบวนการฟงั พดู อ่าน เขยี น ทกั ษะการจา คิด วเิ คราะห์ สังเคราะห์และเขยี นสื่อ
ความ กระบวนการทางานเป็นกลุ่ม/คู่ ทกั ษะการสอื่ สารในสถานการณ์จรงิ และสถานการณ์จาลองอยา่ งเหมาะสม
กบั ระดับของบุคคล เวลา โอกาส และสถานที่ ถกู ต้องตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

โดยเลอื กใช้ทักษะกระบวนการฟงั พูด อา่ น เขียน ทกั ษะการจา คิด วิเคราะหแ์ ละเขียน ส่อื ความ
กระบวนการทางานกลุ่มสมรรถนะ คือ ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการ 5 คู่ และสมรรถนะ/
า ความสามคิด ความสามารถในการแก้ปญั หารถในการใช้ทักษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

เพ่อื ใหม้ ีจิตสาธารณะ เปน็ ผู้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ซ์ อ่ื สัตย์สุจริตมีวนิ ัยใฝ่เรยี น
รูอ้ ยอู่ ย่างพอเพยี งมงุ่ มั่นในการทางานรกั ความเป็นไทยและมจี ติ สาธารณะอนุรกั ษพ์ ลังงำนและสิง่ แวดล้อม สืบ
สำนศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ชมุ ชนรว่ มพัฒนำ ยดึ ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง

ผลกำรเรียนรู้
1. อา่ นออกเสยี งข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรองสัน้ ๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน
2. ระบุและเขยี นสือ่ ท่ไี ม่ใชค่ วามเรียงรูปแบบตา่ งๆให้สมั พนั ธ์กับประโยค และข้อความที่ฟังหรอื อา่ น
3. สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกยี่ วกับตนเอง เรื่องต่างๆใกลต้ วั สถานการณ์ ข่าว เร่อื งทอี่ ย่ใู นความสนใจ

ของสงั คมและสอื่ สารอยา่ งตอ่ เนือ่ งและเหมาะสมโดยใชโ้ ครงสร้างท่ีกาหนด

153

4. อ่านและเขยี นสรุปใจความสาคัญ เหตกุ าร/ขา่ ว/เรอ่ื งแก่นสาระ หวั ข้อเรือ่ งทไ่ี ด้จากการวิเคราะห์ /ณ/
สถานการณ์ท่ีอยู่ในความสนใจของสังคม

5. เปรยี บเทยี บและอธบิ ายความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆและการลาดบั
คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย

รวมทั้งหมด 5 ผลกำรเรียนรู้

กลุม่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำตำ่ งประเทศ คำอธิบำยรำยวิชำ
นำเสนอ1
เวลำ20 ชวั่ โมง วชิ ำเพิ่มเติมรหสั วิชำ อ20210ภำษำอังกฤษเพื่อกำร
ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี 3 ภำคเรยี นที่ 1

จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษารูปแบบของข้อความ คา วลี ประโยค ข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง

บทรอ้ ยกรอง เรอ่ื งทีเ่ ป็นสารคดี และบนั เทิงคดี รวมทั้งวิถีชวี ิต ความเชอื่ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา โดยใช้
กระบวนการอา่ น การตีความ การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ และแสดงความคดิ เห็นทใี่ ช้ถ้อยคาของตนเอง นาเสนอ
ข้อมูลเร่ืองราวที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ทั้งเร่ืองราวท่ีได้จากการอ่าน แสดงความคิดเห็นต่อวัฒนธรรม ความเชื่อ

ประเพณีของเจ้าของภาษา และวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่าง รวมท้ังวิเคราะห์ สังเคราะห์ เนื้อหา
ภาษาอังกฤษที่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทกั ษะการ

จา คิด วิเคราะหแ์ ละเขียน สื่อความกระบวนการทางานกลุ่มสมรรถนะ คอื ความสามารถ 5 คู่ และสมรรถนะ/
ในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

เพื่อให้นักเรยี น เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ซ่อื สัตย์สุจริตมีวนิ ัยใฝ่เรียนรู้อยู่
อย่างพอเพียงมุ่งม่ันในการทางานรกั ความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะอนุรักษ์พลังงำนและส่ิงแวดล้อม สืบสำน

ศิลปะวฒั นธรรมท้องถ่นิ ชุมชนร่วมพัฒนำ ยึดปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลกำรเรยี นรู้
1. อา่ นออกเสยี งข้อความ ขา่ ว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสน้ั (skit)ถูกต้องตาม
หลกั การอา่ น
2. เขยี นประโยคและขอ้ ความให้สมั พนั ธ์กบั ส่ือทไี่ มใ่ ช่ความเรยี งรูปแบบตา่ งๆ ท่ีอ่าน รวมทง้ั ระบแุ ละเขียนสื่อ
ที่ไมใ่ ช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ให้สมั พนั ธก์ บั ประโยค และข้อความทฟี่ งั หรืออ่าน
3. จบั ใจความสาคัญ วิเคราะห์ความสรปุ ความ ตีความ และแสดงความคดิ เห็นจากการฟังและอ่านเรอื่ งที่เปน็
สารคดีและบันเทงิ คดีพรอ้ มทง้ั ใหเ้ หตุผลและยกตัวอยา่ งประกอบ
4. เขียนโตต้ อบขอ้ มลู เก่ียวกับตนเองและเรือ่ งต่าง ๆใกลต้ วั ประสบการณ์สถานการณ์ ขา่ ว /เหตุการณ์

ประเดน็ ทอี่ ยู่ในความสนใจของสังคมและส่ือสารอยา่ งตอ่ เนอื่ งและเหมาะสม

154

5. เขยี นแสดงความตอ้ งการ เสนอ ตอบรบั และปฏเิ สธการให้ความช่วยเหลอื ในสถานการณ์จาลองหรือ
สถานการณจ์ ริงอยา่ งเหมาะสม

6. เขียนบรรยายความร้สู ึกและแสดงความคิดเหน็ ของตนเองเกี่ยวกับ เรอื่ งต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์
และขา่ ว/เหตุการณอ์ ย่างมเี หตผุ ล

7. เขยี นเพอื่ ขอและใหข้ ้อมูลบรรยาย อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั เรอ่ื ง/ประเดน็ /
ขา่ ว/เหตุการณท์ ฟี่ ังและอ่านอยา่ งเหมาะสม

8. เขียนนาเสนอขอ้ มูลเกยี่ วกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตกุ ารณ์ เรอื่ งและประเดน็ ตา่ งๆ ตามความ
สนใจของสังคม

9. เขยี นแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั กจิ กรรม ประสบการณ์ และเหตุการณท์ ้งั ในทอ้ งถิ่น สงั คม และโลก
พรอ้ มท้ังให้เหตุผลและยกตวั อยา่ งประกอบ

10. เขยี นสรปุ ใจความสาคัญทไ่ี ด้จากการวเิ คราะหเ์ รื่อง กจิ กรรม ขา่ ว เหตกุ ารณ์และสถานการณ์ตามความ
สนใจ

รวมทง้ั หมด ผลกำรเรยี นรู้ 10

155

คำอธิบำยรำยวิชำ

กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ วชิ ำเพม่ิ เตมิ รหสั วชิ ำ อ20211 ภำษำอังกฤษเพมิ่ เติม 6

ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี 3ภำคเรียนที่ 2

เวลำ 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5หน่วยกิต

ศึกษาความสาคัญ ชนิด รูปแบบ ของโครงงาน รวมทั้ง กระบวนการจัดการ นับตั้งแต่การวางแผน คิด
วเิ คราะหอ์ ย่างมีวิจารณญาณ การดาเนนิ งาน การประเมินผล การพัฒนา และปรับปรุงผลงานตามระบบของ PDCA การ
ตั้งปัญหา สมมุติฐาน และแสวงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมถูกต้องตามหลักการ ฝึกฝนการทางานด้วย
กระบวนการกลุม่ กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการวิทยาศาสตร์ และกระบวนการบูรณาการ เพ่ือเสริมสร้างให้ผู้เรยี น
ฝึกทักษะกระบวนการคิด(Thinking Process)กระบวนการแก้ปัญหา(Problem Solving) การใช้ภาษาอังกฤษในการ
แสวงหาความรู้ นาเสนอข้อมูล คิดสร้างสรรค์ เพ่ือสร้างแนวคิดใหม่ มีความรับผิดชอบ ทางานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีมี
ความสุขและจดั กระบวนการเรียนร้ใู หส้ อดคล้องกบั วิสัยทศั นข์ องโรงเรยี น

โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจา คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความกระบวนการ
ทางานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ 5 สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถใน
การแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

เพ่ือให้มีจิตสาธารณะ เป็นผมู้ ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยใฝ่เรียนรู้อยู่
อย่างพอเพียงมุ่งมั่นในการทางานรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะชุมชนร่วมพัฒนำ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งเปน็ หลักคิดหลกั ปฏิบตั ใิ นการเรยี นรู้

ผลกำรเรยี นรู้
1. มีทักษะในการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ
2. อธิบาย/อภปิ ราย วถิ ีชีวิต ความคดิ ความเชื่อ และทมี่ าของขนบธรรมเนยี ม และประเพณีของเจา้ ของภาษา
3. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ขอ้ มูล หรอื ปญั หา ของชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ
4. เผยแพร/่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลขาวสารของโรงเรียน ชุมชน และทอ้ งถ่ิน เป็นภาษาตา่ งประเทศ
5. มที ักษะในการทางานดว้ ยกระบวนการกลุม่
6. มที ักษะในการแสวงหาความรู้ และคิดวิเคราะห์อย่างมวี ิจารณญาณ

156

7. มีคุณธรรม ที่พึงประสงค์ของผู้เรียนภาษาต่างประเทศและของโรงเรียนสาและมุ่งมั่นจะปฏิบัติตนตามแนวปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง
รวมท้งั หมด 7 ผลกำรเรยี นรู้

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ คำอธิบำยรำยวชิ ำ
วิชำเพิ่มเตมิ รหัสวิชำ อ20212ภำษำอังกฤษเพื่อกำร
นำเสนอ 2
เวลำ20 ชวั่ โมง ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี 3 ภำคเรียนที่ 2
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษำวิเครำะห์ใชภ้ าษาสื่อสารตามมารยาททางสังคม และภาษาในการสือ่ สารด้านการอา่ น เขยี น โดยใช้
เทคโนโลยีในการสรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลในการเรียน การปฏบิ ัตงิ าน การสมคั รงาน ขอและให้ข้อมูล

ความชว่ ยเหลือ และบริการผูอ้ ่ืน ถ่ายโอนขอ้ มูลทีไ่ ดอ้ า่ น และเขยี น ออกเสียง คา วลี สานวน ประโยคงา่ ยๆ คาสั่ง
ขอร้อง คาแนะนา คาอธบิ าย ข้อความที่ซับซอ้ น ข้อมูล บทอา่ น เรือ่ งราวสั้นๆ ทั้งท่ีเปน็ ความเรยี ง และไม่ใชค่ วาม
เรียง จากสือ่ ส่ิงพมิ พ์ และสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ แล้วถ่ายโอนเป็นข้อความของตนเองในรปู แบบต่างๆสรุป แสดงความ

คิดเห็น ความต้องการ ความรสู้ กึ เกี่ยวกบั ประสบการณ์ของตนเอง ในรูปแบบตา่ งๆ สรุป แสดงความคดิ เหน็ ความ
ตอ้ งการ ความรู้สึกเก่ยี วกบั ประสบการณ์ของตนเอง บทกวี บทเพลง บทละครสัน้ ๆ เปรยี บเทยี บขอ้ มลู ข่าวสาร

เหตุการณ์สาคญั ตา่ งๆในชวี ติ ประจาวนั ทอ้ งถิ่น และสงั คม ประสบการณ์สว่ นตวั การศกึ ษา การทางาน เทคโนโลยี
งานประเพณี วนั สาคญั ของชาติ ศาสนา วฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา

โดยใชก้ ระบวนกำรการเรยี นรทู้ างภาษา กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการ

จัดการและกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อน่ื
เพอ่ื ใหเ้ กิด ประโยชน์ในการเรยี นรูภ้ าษาในการแสวงหาความรู้ เหน็ คุณคา่ ของภาษาและวฒั นธรรม เข้า

ร่วมกจิ กรรมทางภาษา สามารถใช้ภาษาเป็นเครอ่ื งมอื ในการศกึ ษาต่อ

ผลกำรเรยี นรู้

1.สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง เรอ่ื งต่างๆใกล้ตวั สถานการณ์ ขา่ ว เร่อื งที่อยู่ในความสนใจของ
สังคมและสอ่ื สารอยา่ งตอ่ เนือ่ งและเหมาะสม

2.พดู และเขียนนาเสนอข้อมลู เก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆ ตามความ
สนใจของสงั คม
3.อ่านออกเสยี งขอ้ ความ ขา่ ว โฆษณา และบทรอ้ ยกรองส้นั ๆถกู ตอ้ งตามหลักการอ่าน

157

4.พดู และเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ/แก่นสาระหวั ข้อเรื่องท่ไี ดจ้ ากการวเิ คราะห์เร่อื ง/ขา่ ว/เหตุการณ์/สถานการณท์ ่ี
อยูใ่ นความสนใจของสังคม
5.พดู และเขยี นเพอ่ื ขอและใหข้ ้อมูลอธิบาย เปรยี บเทยี บและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเรื่องท่ฟี งั หรืออ่าน
6.เปรียบเทียบและอธบิ ายความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างการออกเสยี งประโยคชนดิ ต่างๆ และการลาดับ
คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
รวมทง้ั หมด 6 ตัวชวี้ ัด

กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำต่ำงประเทศ คำอธิบำยรำยวิชำ 1
รหสั วชิ ำ จ20201 รำยวิชำภำษำจนี ช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรยี นที่ 1

เวลำ 40 ชั่วโมง จำนวน 2 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทกั ษะการฟงั พูด อา่ น เขยี น เพื่อให้เข้าใจคาส่ัง คาขอรอ้ งง่าย ๆ ท่ีใชใ้ นหอ้ งเรียน
และสามารถตีความประโยคบทสนทนาสั้น ๆ ให้ข้อมลู เก่ยี วกับตนเองและสิง่ แวดล้อมใกล้ตวั การใช้ภาษาตาม
มารยาททางสงั คมของชาวจีน แสดงความตอ้ งการของตนเอง เสนอความช่วยเหลือผู้อนื่ แสดงความคดิ เหน็ ต่อ
เหตุการณ์ในชีวติ ประจาวัน การอา่ นออกเสียงคา กลุ่มคา ประโยคไดถ้ กู ต้องตามหลกั การอ่านออกเสียง ในระบบ
สทั อกั ษรภาษาจีนกลาง เรียนรวู้ ธิ กี ารเขยี นตวั อกั ษรจีน เข้ารว่ มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมจีน

โดยใชท้ กั ษะการสือ่ สารทางภาษา การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การวเิ คราะหอ์ ยา่ งมีเหตุผล ทักษะ
กระบวนการกลุ่มและกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณจ์ ริง

เพื่อใหเ้ หน็ ประโยชนข์ องภาษาจนี และสามารถใชเ้ ช่อื มโยงการเรยี นรู้ กบั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ นื่

ผลกำรเรยี นรู้

1. ระบสุ ทั อกั ษรตามระบบพินอนิ ( 拼音) อา่ นออกเสยี งและประสมเสยี งคาง่ายๆอ่านพยางคแ์ ละแปร
เสยี งวรรณยกุ ต์ไดต้ ามกฎเกณฑอ์ า่ นคาทกี่ าหนดให้ในตัวสทั อักษรไดต้ ามหลักการออกเสยี ง
2. พดู โตต้ อบดว้ ยคาส้ันๆงา่ ยๆในการกล่าวทักทายและกลา่ วลาระหวา่ งบุคคลตามแบบที่ฟัง
3. ฟังประโยคสนทนาภาษาจนี จากบทสนทนาภาษาจนี และข้อความสัน้ ๆในชัน้ เรียนแลว้ เข้าใจได้
4. อา่ นออกเสยี งเขยี นและบอกตัวเลขเปน็ ภาษาจีนได้
5. ตอบคาถามจากการฟงั หรือการอา่ นประโยคและสนทนาโต้ตอบเพอ่ื ทาการซือ้ ขายได้
6. แนะนาสมาชกิ ในครอบครวั และสงิ่ ใกล้ตวั หรือกิจกรรมตา่ งๆทีเ่ ก่ียวกับครอบครัว

158

รวม 6ผลกำรเรียนรู้

กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำต่ำงประเทศ 159
รหัสวิชำ จ20202
เวลำ 40 ชวั่ โมง คำอธบิ ำยรำยวิชำ
รำยวิชำภำษำจีน 2
ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี 1 ภำคเรยี นท่ี 2

1 หน่วยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ฝกึ ทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น เพือ่ ใหเ้ ข้าใจคาสง่ั คาขอรอ้ งงา่ ย ๆ ท่ใี ช้ในห้องเรยี น
และสามารถตคี วามประโยคบทสนทนาสน้ั ๆ ใหข้ ้อมูลเกยี่ วกบั ตนเองและสิง่ แวดล้อมใกล้ตวั การใช้ภาษาตาม
มารยาททางสังคมของชาวจีน แสดงความตอ้ งการของตนเอง เสนอความช่วยเหลอื ผู้อน่ื แสดงความคิดเหน็ ต่อ
เหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจาวัน การอา่ นออกเสียงคา กลมุ่ คา ประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักการอา่ นออกเสยี ง ในระบบ
สัทอกั ษรภาษาจนี กลาง เรียนรูว้ ธิ กี ารเขียนตวั อกั ษรจนี เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมจนี

โดยใชท้ กั ษะการสือ่ สารทางภาษา การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ทักษะ
กระบวนการกลุ่มและกระบวนการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ

เพ่ือใหเ้ หน็ ประโยชน์ของภาษาจนี และสามารถใชเ้ ชื่อมโยงการเรียนรู้ กบั กลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ ื่น

ผลกำรเรยี นรู้
1. เขียนตวั อกั ษรจนี ได้ถูกตอ้ งตามลาดบั ขีด
2. อา่ นออกเสียงประโยคขอ้ ความตามหลักการออกเสยี งเกีย่ วกบั การบอกวันทไ่ี ด้
3. ฟงั ประโยคสนทนาภาษาจนี จากบทสนทนาภาษาจีนและขอ้ ความสั้นๆเกย่ี วกบั การบอกเวลาแลว้ เข้าใจ
4. อ่านออกเสยี งเขยี นและสนทนาเกย่ี วกับการแนะนาตวั บุคคล
5. เขียนรูปประโยคอ่านออกเสียงและสนทนาเกี่ยวกับสง่ิ ทีต่ วั เองชอบ
6.ระบภุ าพตรงตามความหมายของคากลุม่ คาและประโยคจากการฟังหรอื การอ่าน

รวม 6ผลกำรเรยี นร

160

กล่มุ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำต่ำงประเทศ คำอธิบำยรำยวชิ ำ 3
รหัสวชิ ำ จ20203 รำยวิชำภำษำจีน ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี 2 ภำคเรียนท่ี 1
เวลำ 40 ชว่ั โมง
1 จำนวน หนว่ ยกติ

ศกึ ษาวิเคราะห์การฝึกทักษะการฟังพูดอ่านเขยี นเพอ่ื ให้เข้าใจคาแนะนาคาอธบิ ายสานวนข้อความที่ใช้ท้ัง
ในและนอกห้องเรียนสามารถอ่านออกเสียงประโยคข้อความได้ตามหลักการอ่านออกเสียงในระบบสัทอักษรจีน
กลางเรียนรู้ความหมายและการใช้คาศัพท์ภาษาจีนสามารถใช้ภาษาเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลตาม
มารยาททางสังคมแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกต่อเร่ืองราวในชีวิตประจาวันหรือจากสื่อต่างๆเข้าใจความ
แตกต่างระหวา่ งภาษาจนี กบั ภาษาไทยในเร่ืองสานวนและโครงสรา้ งประโยคตลอดจนวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา

โดยใช้ทักษะการสื่อสารทางภาษาการพูดการฟังการอา่ นการเขียนการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลทักษะกระบวนการ
กลุ่มและกระบวนการเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ

เพอื่ ให้เห็นประโยชน์ของภาษาจีนในการเรียนรู้สงั คมและอาชีพสามารถใช้ภาษาจีนเช่ือมโยงการเรียนรกู้ ับ
กลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่ และเตรยี มการด้านการศึกษาต่อ

ผลกำรเรยี นรู้
1.ฟงั ประโยคสนทนาภาษาจนี จากบทสนทนาทกี่ าหนดใหแ้ ล้วเข้าใจได้
2. เขียนรูปประโยคอ่านออกเสียงและสนทนาเกี่ยวกบั สภาพอากาศของแตล่ ะสถานท่ี
3. พดู โตต้ อบดว้ ยคาส้นั ๆง่ายๆในการบอกเวลาที่สอดคลอ้ งกับกจิ วัตรประจาวนั ตามแบบท่ีฟัง
4. อ่านออกเสียงเขียนและสนทนาเกีย่ วกบั งานอดิเรกที่ชอบ
5. ฟังและพูดบทสนทนาเกี่ยวกบั อาชีพในเบ้อื งตน้
6.อ่านออกเสยี งคากลุม่ คาและประโยคจากการฟงั หรือการอา่ นเกย่ี วกบั กีฬา

รวม 6ผลกำรเรียนรู้

161

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ รำยวิชำภำษำจีน 4 รหัส
วิชำ จ20204
เวลำ 40 ชั่วโมง ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี 2 ภำคเรียนท่ี 2

1 จำนวน หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์ทักษะการฟังพูดอ่านเขียนเพ่ือให้เข้าใจภาษาท่าทางน้าเสียงคาแนะนาคาอธิบายบท
สนทนานิทานสานวนสุภาษิตสามารถอ่านออกเสียงประโยคขอ้ ความที่ยาวขนึ้ ได้ถกู ต้องตามหลักการอ่านออกเสียง
ในระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางเรียนรู้เก่ียวกับความหมายและการใช้คาศัพท์ภาษาจีนสามารถนาเสนอเร่ืองราว
ใกล้ตัวหรือแสดงความคิดเห็นโดยการพูดหรือเขียนเข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒั นธรรมระหว่างของ
จนี กับของไทย

โดยใช้ทักษะการสื่อสารทางภาษาการพูดการฟังการอ่านการเขียนการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลทักษะ
กระบวนการกลุ่มและกระบวนการเรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ

เพือ่ ใหเ้ หน็ ประโยชน์ของภาษาจีนในการพัฒนาตนเองด้านการศกึ ษาและด้านอาชพี

ผลกำรเรยี นรู้
1. ฟังและอ่านออกเสยี งคาศพั ท์และรปู ประโยคเกีย่ วกับสถานท่ีแลว้ เข้าใจได้
2. อ่านออกเสียงประโยคข้อความตามหลกั การออกเสยี งเกยี่ วกบั ความใฝ่ฝันได้
3. ฟังประโยคสนทนาภาษาจีนจากบทสนทนาภาษาจีนและขอ้ ความสัน้ ๆเกีย่ วกบั การแตง่ กายแล้วเขา้ ใจ
4. ฟังหรือการอ่านประโยคและสนทนาโต้ตอบเพื่อทาการอวยพรในโอกาสตา่ งๆ
5. ตอบคาถามจากการฟังหรอื การอา่ นประโยคและสนทนาโต้ตอบเพอ่ื บอกสง่ิ ทีช่ อบทาในวันหยดุ สุด
สปั ดาห์
6.รู้และเข้าใจเทศกาลและวัฒนธรรมต่างๆของประเทศจีน

รวม 6ผลกำรเรยี นรู้

162

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ 5 รำยวิชำภำษำจีน
รหสั วชิ ำ จ20205
เวลำ 40 ช่ัวโมง ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี 3 ภำคเรยี นที่ 1

1 จำนวน หน่วยกติ

ศึกษา วเิ คราะห์ การฝกึ ทกั ษะการฟังพูดอา่ นเขยี นเพื่อให้เขา้ ใจคาอธบิ ายขอ้ ความสานวนสภุ าษิตท่ีฟงั หรอื
อา่ นสามารถอธบิ ายบรรยายเปรยี บเทียบนาเสนอเรอ่ื งราวหรอื ประสบการณ์แสดงความคิดเห็นหรอื ความรสู้ ึกตอ่
เหตกุ ารณ์สถานการณ์ต่างๆในสงั คมโดยการพูดหรือเขยี นใชภ้ าษาเพ่ือการสื่อสารปฏิสัมพนั ธ์กับบคุ คลรอบขา้ งได้
เหมาะสมตามกาลเทศะเข้าใจความแตกตา่ งระหวา่ งสานวนโครงสร้างประโยคของภาษาจนี กับภาษาไทยสนใจเข้า
รว่ มกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมจีน

โดยใชท้ ักษะการสือ่ สารทางภาษา การพูด การฟงั การอา่ น การเขยี น การวิเคราะหอ์ ยา่ งมีเหตุผล ทักษะ
กระบวนการกลมุ่ และกระบวนการเรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ

เพอื่ ใหเ้ หน็ คณุ ค่าและความสาคญั ของการใช้ภาษาจนี เพอ่ื การพฒั นาตนเองทงั้ ด้านการเรียนสังคมและ
อาชพี

ผลกำรเรียนรู้
1.ฟังประโยคสนทนาภาษาจนี จากบทสนทนาทกี่ าหนดใหแ้ ลว้ เข้าใจได้
2. เขียนรูปประโยคอา่ นออกเสยี งและสนทนาเกีย่ วกับความต้องการ
3. ฟงั ประโยคสนทนาภาษาจีนจากบทสนทนาภาษาจีนและขอ้ ความส้นั ๆเก่ียวกับทศิ ทางแลว้ เข้าใจ
4. อา่ นออกเสียงเขยี นและสนทนาเก่ียวกับวชิ าเรียนท่ชี อบ
5. ฟงั และพูดบทสนทนาเกยี่ วกบั การศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชีพในเบอื้ งตน้
6.รู้และสามารถปฏิบัตกิ ิจกรรมเกย่ี วกับวฒั นธรรมจีน

รวม 6ผลกำรเรยี นรู้

163

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ 6 รำยวิชำภำษำจนี
รหสั วิชำ จ20206
เวลำ 40 ช่ัวโมง ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 3 ภำคเรียนท่ี 2

1 จำนวน หน่วยกติ

วิเคราะห์ การฝึกทกั ษะการฟังพูดอ่านเขียนเพ่ือให้เข้าใจน้าเสยี งความรู้สึกของผู้พูดสามารถตีความสอ่ื ใน
รูปแบบต่างๆอ่านออกเสียงสานวนสุภาษิตและบทความได้ถูกต้องเหมาะสมสามารถนาเสนอเร่ืองราวแสดงความ
คิดเห็นและความรู้สึกต่อเหตุการณ์หรอื สถานการณ์ต่างๆโดยการพูดหรอื เขียนใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารปฏิสัมพันธ์
กับบุคคลรอบข้างได้เหมาะสมตามกาลเทศะเข้าใจสานวนโครงสร้างประโยคและวิธีการนาไปใช้ตลอดจนความ
เหมือนและความแตกต่างทางภาษาและวฒั นธรรมของจีนกบั ไทยสนใจเข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมจนี

โดยใช้ทักษะการสอ่ื สารทางภาษา การพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ทกั ษะ
กระบวนการกลุ่มและกระบวนการเรยี นรู้จากประสบการณจ์ ริง

เพ่อื ให้เห็นคุณค่าและความสาคญั ของการใช้ภาษาจีนเพื่อการพฒั นาตนเองและครอบครัวเพือ่ การจัดการ
ด้านการศกึ ษาต่อหรอื เตรียมการเข้าสู่อาชพี

ผลกำรเรียนรู้
1. ฟงั และอา่ นออกเสียงคาศัพท์เกย่ี วกบั ความรู้สึกแลว้ เขา้ ใจได้
2. ปฏบิ ตั ติ ามคาสัง่ และขออนุญาตจิ ากสง่ิ ที่ฟงั ได้
3. รคู้ าศัพท์กลุม่ คาและประโยคจากการฟงั หรอื การอา่ นเกี่ยวกบั การเชือ้ เชิญ
4. ฟงั หรอื การอา่ นประโยคและสนทนาโต้ตอบเพ่อื ทาการสือ่ สารเกีย่ วกับการขนสง่
5. อา่ นออกเสียงและบอกความหมายคาศพั ท์เก่ยี วกบั เทคโนโลยี
6. รู้และเขา้ ใจเทศกาลและวัฒนธรรมตา่ งๆของประเทศจนี

รวม 6ผลกำรเรยี นรู้

163

5. กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน

โรงเรียนโนนหันวิทยายน ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรง ได้ฝึกปฏิบัติจริงและค้นพบความถนัดของตนเอง สามารถค้นคว้าหาความรู้
เพ่ิมเติมตามความสนใจจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย บาเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม มีทักษะในการ
ดาเนินงาน ส่งเสริมให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สังคม ศีลธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจ
ตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสม

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาการ
เรียนรู้อย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวนิ ัย ปลูกฝังให้สร้างจติ สานึกของการทาประโยชน์
เพอื่ สังคม สามรถจักการตนเองได้และอยรู่ ว่ มกับผอู้ น่ื อยา่ งมคี วามสุขโรงเรียนโนนหนั วิทยายน ไดจ้ ัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเปน็ 3 ลักษณะ ดงั น้ี

1. กิจกรรมแนะแนว
เป็นกจิ กรรมท่ีส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนใหร้ ู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถ

คิดตดั สินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเปา้ หมาย วางแผนชีวติ ทงั้ ด้านการเรยี น และอาชพี สามารถปรบั ตน
ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยใหค้ รูรจู้ ักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้
คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีสว่ นรว่ มพฒั นาผูเ้ รียน

2 กิจกรรมนกั เรียน
เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามท่ีดี ความ

รบั ผดิ ชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตดั สินใจที่เหมาะสม ความมีเหตผุ ล การช่วยเหลือ
แบ่งปนั กนั เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
ของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน
ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้อง
กบั วฒุ ิภาวะของผู้เรยี น บรบิ ทของสถานศกึ ษาและทอ้ งถน่ิ กิจกรรมนกั เรยี นประกอบด้วย

2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชา
ทหาร

2.2 กจิ กรรมชุมนุม

3. กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
เปน็ กิจกรรมที่สง่ เสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคม ชุมชน และ

ท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถงึ ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละ
ต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม ในส่วนของ

กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์นี้ โรงเรยี นแบ่งเปน็ 2 ส่วน ดังน้ี

164

3.1 กิจกรรมตามความสนใจ โรงเรียนจัดทาคู่มือบาเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน
และสงั คมเพ่ือให้นกั เรยี นบนั ทกึ กจิ กรรมท่ีปฏบิ ตั ิ มีการตรวจสอบประเมินผลรว่ มกันระหว่างนักเรียน

ครูท่ปี รึกษา ผูป้ กครอง และผู้นาชุมชน
3.2 กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ที่โรงเรียนจัดข้ึนในโอกาสพิเศษ/สาคัญต่าง ๆ

และนักเรียนจาเป็นต้องเข้าร่วม จะมีการประเมินผลเป็นรายกิจกรรมโดยฝ่ายท่ีรับผิดชอบในแต่ละ
โครงการ ส่งผลการประเมินนักเรียนมายังครูท่ีปรึกษาเป็นผู้รวบรวม เม่ือสิ้นปีการศึกษาจะมีการ
ประมวล สรปุ ผลโดยครทู ป่ี รกึ ษา

การจัดเวลาเรียน

การกาหนดเวลาจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 ปีละ 120 ช่ัวโมง
และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จานวนรวม 360 ช่ัวโมง เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ได้จัดสรรเวลาใหผ้ เู้ รียนได้ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ดงั นี้

๒.๑ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม. 1 – 3) รวม 3 ปี จานวน 45 ชว่ั โมง

๒.๒ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม. 4 – 6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชว่ั โมง

โครงสร้างเวลาการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นในแต่ละระดบั ชัน้ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สามารถแสดงได้ ดังตารางต่อไปน้ี

กจิ กรรม ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น ชั้นมธั ยมศึกษา
ม.1 ม.2 ม.3 ตอนปลาย

๑. กจิ กรรมแนะแนว 40 ช.ม. 40 ช.ม. 40 ช.ม. 120 ช.ม.

๒. กจิ กรรมนกั เรียน 80 ช.ม. 80 ช.ม. 80 ช.ม. 240 ช.ม.

๓. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 45 ชม. 60 ช.ม.

* จัดนอกเวลาเรยี นปกติ

รวม 120 120 120 360

การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน

การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น จะตอ้ งพิจารณาทัง้ เวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงานของผู้เรยี นตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด และให้ผลการประเมินเปน็ ผา่ นและ

ไมผ่ ่าน ใหใ้ ช้ตวั อักษรแสดงผลการประเมนิ ดงั น้ี
๑. “ผ” หมายถึง ผู้เรยี นมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและมี

ผลงานตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด

๒. “มผ” หมายถึง ผู้เรยี นมีเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัตกิ ิจกรรมและ
มผี ลงานไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากาหนด

165

ทั้งนี้ ถ้าไม่เกิดคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมเพิ่มเตมิ ตามท่ีครูที่
ปรึกษากิจกรรมกาหนด หรือให้ความเห็นชอบตามที่ผู้เรียนเสนอประเมินตนเองและเพ่ือนร่วม
กิจกรรม หรือหากผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพยี งเล็กน้อย และสถานศึกษาพจิ ารณาเห็นวา่ สามารถพฒั นา
และสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้ผ่านการประเมินได้ แต่หาก
ผูเ้ รียนไม่ผ่านการประเมินเป็นจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเปน็ ปัญหาตอ่ การเรียนในระดบั ชนั้ ท่ี
สูงขึ้นหรือในรายวิชาอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาให้ผลการเรียน
เปน็ ไมผ่ า่ น ได้ ทงั้ นใ้ี ห้คานงึ ถึงวุฒภิ าวะและความร้คู วามสามารถของผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

166

คาอธบิ ายรายวชิ า
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น

167

คาอธิบายกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
กจิ กรรมลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ จานวน 40ชว่ั โมง

ภาคเรียนท่ี 1 – 2

ศกึ ษา วเิ คราะห์ ฝึกปฏิบัติ ตระหนักถึงความสาคัญของ กจิ การลูกเสือ ระเบียบแถว การสวน
สนามกฎและคาปฏิญาณ การบรรจุเครื่องหลัง การกางเตน็ ท์ การก่อไฟ และการประกบอาหารเง่ือน
และการผกู แน่น อันประกอบไปดว้ ย เง่อื นพิรอด เง่ือนขัดสมาธิ เงื่อนผูกกระหวัดไม้ เง่ือนบ่วงสายธนู

เง่ือนตะกรุดเบ็ด เงื่อนประมงเงื่อนผูกซงุ เง่ือนผูกรงั้ เงื่อนปมตาไก่ และการผูกแน่นอันประกอบด้วย
ผูกทแยง ผูกกากบาท ผูกประกบ หลักความปลอดภัยท่วั ไปรวมถึงวิชาพิเศษอันประกอบด้วย การหา

มิตร นกั สะสม นักสะกดรอย นักวา่ ยน้า และผพู้ ิทกั ษป์ ่า

วัตถปุ ระสงค์
1. มีความรูค้ วามเข้าใจ และสามารถปฏิบัตติ ามคาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จน์ของลูกเสือ
สามัญ รุน่ ใหญ่
2. มีทักษะการสงั เกต จดจา การใช้มือ เครื่องมอื การแก้ปญั หา และทกั ษะในการทางาน

ร่วมกับผู้อนื่
3. มคี วามซอื่ สตั ย์สุจรติ มีความกลา้ หาญ อดทน เชอื่ มัน่ ในตนเอง มรี ะเบียบวินยั มีความ

สามัคคี เห็นอกเหน็ ใจผ้อู ่ืน มคี วามเสยี สละ บาเพ็ญประโยชนเ์ พอ่ื สาธารณประโยชน์
4. มีการพฒั นาตนเองอยู่เสมอ สร้างสรรค์งานฝีมอื สนใจและพัฒนาเรอ่ื งของธรรมชาติ

รวมท้ังหมด 4 วัตถุประสงค์

168

คาอธบิ ายกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
กจิ กรรมลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ จานวน 40ช่ัวโมง

ภาคเรยี นท่ี 1 – 2

ศึกษา วเิ คราะห์ ฝกึ ปฏบิ ัติ ตระหนักถึงความสาคัญของ อดุ มคติ การสวนสนาม ส่ิงแวดล้อม
การบรกิ าร หน้าทีพ่ ลเมอื ง การเดนิ ทางสารวจและการบกุ เบิก การเดินทางไกล การใชแ้ ผนที่-เขม็ ทิศ
การปฐมพยาบาล อันประกอบด้วย บาดแผลธรรมดา ถกู ไฟไหม้ น้ารอ้ นลวก เป็นลม งูกดั แมงมุมกัด
แมลงกดั ตอ่ ย ผวิ หนังถลอก และเทา้ แพลง และวิชาพิเศษอนั ประกอบดว้ ย การจัดการค่าย ช่วย

ผปู้ ระสบภยั นักผจญภัย สายยงยศ

วัตถุประสงค์
1. มคี วามร้คู วามเข้าใจ และสามารถปฏบิ ัติตามคาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จนข์ องลูกเสือ
สามญั รนุ่ ใหญ่
2. มีทักษะการสังเกต จดจา การใช้มือ เคร่ืองมือ การแกป้ ญั หา และทักษะในการทางาน
ร่วมกบั ผู้อนื่

3. มีความซอื่ สตั ย์สุจรติ มีความกลา้ หาญ อดทน เช่อื ม่นั ในตนเอง มรี ะเบยี บวนิ ัย มีความ
สามัคคี เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่นื มีความเสียสละ บาเพ็ญประโยชนเ์ พอื่ สาธารณประโยชน์

4. มีการพฒั นาตนเองอย่เู สมอ สรา้ งสรรคง์ านฝมี อื สนใจและพัฒนาเรื่องของธรรมชาติ

รวมทั้งหมด 4 วัตถุประสงค์

169

คาอธบิ ายกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
กิจกรรมลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ จานวน 40ช่ัวโมง

ภาคเรยี นที่ 1 – 2

ศกึ ษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ ตระหนักถึงความสาคัญของ การฝึกเป็นผู้นา การสวนสนามการ
แสดงออกทางศิลปะกิจกรรมที่สนใจ สมรรถภาพ การบริการ และส่ิงแวดลอ้ ม อุดมคติ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง
และวิชาพิเศษ อันประกอบด้วย นักกีฬา การอนุรักษ์ธรรมชาติ การพยาบาล การพูดในท่ีสาธารณะ
และการพัฒนาชมุ ชน

วตั ถุประสงค์
1. มคี วามร้คู วามเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคาปฏิญาณ กฎ และคตพิ จน์ของลูกเสอื
สามญั รุน่ ใหญ่
2. มที กั ษะการสังเกต จดจา การใชม้ ือ เคร่อื งมือ การแกป้ ญั หา และทกั ษะในการทางาน
ร่วมกบั ผู้อื่น
3. มีความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ มีความกล้าหาญ อดทน เชอ่ื มนั่ ในตนเอง มีระเบยี บวนิ ัย มีความ
สามคั คี เห็นอกเห็นใจผ้อู ่นื มีความเสยี สละ บาเพญ็ ประโยชนเ์ พ่ือสาธารณประโยชน์
4. มกี ารพัฒนาตนเองอย่เู สมอ สรา้ งสรรค์งานฝมี อื สนใจและพัฒนาเร่ืองของธรรมชาติ

รวมท้งั หมด 4 วัตถุประสงค์

170

คาอธิบายกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

กจิ กรรมยุวกาชาด ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี
1-3 ภาคเรยี นที่ 1 – 2 จานวน 40ชว่ั โมง

ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามาตรฐาน โดยเน้นระบบหน่วย สรุปผลการ
ปฏิบัติกิจกรรม ในเรื่อง การกาชาด เคหพยาบาล บาเพ็ญประโยชน์ ระเบียบแถว อนุรักษ์ธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม การผูกเง่อื นและประโยชนข์ องเงื่อน การใช้ชวี ิตกลางแจ้ง การเดินทางสารวจ เพื่อให้

มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัตติ ามคาปฏิญาณและหลักการของกาชาด มีความซื่อสัตย์ อดทน
มีระเบียบวินัย และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบ และ

ปฏบิ ัติงานตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย รกั ษาอนามยั ของตนเองและผอู้ ่นื

วัตถุประสงค์
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะตามหลักการของกาชาดและยวุ กาชาด
2. มีสุขภาพ และสมรรถภาพที่ดี สามารถนาความรู้ไปใชเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและผอู้ น่ื
3. มเี มตตา กรุณา และมีไมตรจี ิตต่อบุคคลทว่ั ไป

4. บาเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม และเห็นคณุ ค่าในการอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม
5. มที กั ษะในการปฏิบตั กิ ิจกรรมและอย่รู ่วมกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
รวมทง้ั หมด 5 วตั ถุประสงค์

171

คาอธิบายรายวิชา

กลมุ่ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

กิจกรรมแนะแนว ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น

เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

................................................................................................................................................................

กิจกรรมแนะแนวชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสารวจความถนัด ความสนใจของ
ตนเอง รักและเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น รู้จักแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารแหล่งความรู้

ทางด้านการศึกษาและด้านอาชีพส่วนตัว สังคม มีความรู้ ทักษะการคิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหา
พัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัวในการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข มี

จิตสานึกในการรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครวั สงั คมและประเทศชาติ
การจัดกจิ กรรมแนะแนวเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ ดังนี้
๑. การจดั กจิ กรรมด้วยกระบวนการทางจิตวทิ ยาให้แก่ผู้เรยี นท้ังเปน็ รายบุคคลและ

เปน็ กลมุ่
เพื่อให้ครไู ดร้ ู้จักผูเ้ รียนมากขึ้น สามารถส่งเสรมิ และป้องกันปัญหาของผเู้ รียนทกุ คนไม่วา่ จะเปน็ กลุ่ม

ปกติหรือกลุ่มพิเศษให้ไดร้ ับการพัฒนาทักษะการดาเนินชีวติ ในด้านต่างๆ เช่น การรู้จักรักและเห็น
คุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน มีทักษะการคิดตัดสินใจ ทักษะการปรับตัว การวางแผนชีวิต รวมท้ังการ
สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่สาคัญ การจัดกิจกรรมมที ้ังจัดในห้องเรียนซึ่งใช้เวลาต่อเนื่องกันในกรณีท่ี

ตอ้ งพัฒนาทกั ษะที่สาคัญและจาเป็น หรอื จัดนอกห้องเรียนโดยให้มีบรรยากาศทเ่ี ป็นกันเองมคี รูเปน็ ที่
ปรึกษาและผู้เรียนทุกคนมสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม

๒. การจัดบริการเพ่ือให้ผู้เรียนได้สารวจตนเอง และรู้จักตนเองในทุกด้าน ให้
ข้อมูลข่าวสารสนเทศท่ีจาเป็นและทันสมัยทั้งด้านการศึกษาอาชีพและการพัฒนาบุคลิกภาพให้
สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาด้วยตนเอง ตลอดจนช่วยเหลือ แก้ไข และฝึกประสบการณ์ท่ี

เหมาะสมสาหรับผเู้ รียนไดใ้ ชเ้ ป็นแนวทางในการวางแผนการศึกษาและชวี ติ ต่อไป
๓. การบูรณาการแนะแนวในการเรียนการสอน เป็นการนาเทคนิควิธีการทาง

จิตวทิ ยาและการแนะแนวมาใช้ในการจดั การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั ธรรมชาตขิ องผเู้ รียนแตล่ ะ
คนแต่ละกลุ่ม โดยเน้นให้ครูได้รู้จักและเข้าใจผู้เรียนท้ังด้านพัฒนาการตามวัย พฤติกรรมและ
สาเหตขุ องพฤติกรรม วิธกี ารเรียนรู้ของผู้เรียน ซ่ึงจะทาให้ครูมีแนวทางในการชว่ ยเหลือและพัฒนา

ผ้เู รียนให้เห็นคุณค่าในสาระวิชาต่าง ๆ เกิดแรงจูงใจ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการเรยี นรู้เกิด
สัมฤทธิ์ผลสงู สดุ

172

คาอธบิ ายรายวชิ า

กลมุ่ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น

กจิ กรรมแนะแนว ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

................................................................................................................................................................

กจิ กรรมแนะแนวชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมุง่ เน้นให้ผู้เรียนไดเ้ รียนรูแ้ ละศกึ ษาเกี่ยวกบั การ
ยอมรับผลการกระทาของตนเอง การสารวจจุดเด่นและความสามารถพิเศษในตนเอง การสารวจ

ความชอบ ความสนใจในด้านการเรียน อาชีพและบุคลิกภาพ การมองโลกในแง่ดี การรู้จัก
แหลง่ ข้อมูลต่างๆ การเลือกรับขอ้ มลู ข่าวสาร ปัญหากับการพัฒนาตน การร้จู ักตนเองและเพอื่ น

ทักษะการสื่อสาร การสารวจและพัฒนาความฉลาดทางด้านอารมณ์ ผลกระทบของการ
ตดั สินใจ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต ทักษะการสื่อสาร การเปลย่ี นวิกฤตใิ หเ้ ป็นโอกาส คนดี
ศรีสังคม และการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลได้ มีทักษะในการ

ส่ือสารมีความสามารถในการเปล่ียนวิกฤติให้เป็นโอกาส สามารถนาคุณธรรมความดีของคนดี ศรี
สังคมไปปรับใช้กับชีวิตของตนเอง และมีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีกับบุคคลทั่วไป มีความพึงพอใจและ

ภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของตนเอง การตดั สินใจเลือกแนวทางศึกษาต่อ การยกย่องความดีงามของ
ตนเองและผู้อื่น การนาข้อมูลท่ีผ่านการวิเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การเลือกสรรข้อมูลท่ีก่อ
ประโยชนต์ ่อตนเองและสงั คม การร่วมตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ กับชุมชนและสังคม การยอมรับใน

ศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ การคิดในทางท่ีดีและมีชีวิตอยู่อย่างสร้างสรรค์ รู้วิธีเอาชนะอุปสรรค
และความมงุ่ มั่นในการทางาน ค่าของคนอยู่ทีผ่ ลของการเสยี สละและช่วยเหลือผู้อ่ืน การทางานเป็น

กลุ่ม นักเรียนมีความตระหนักในคุณค่าของตนเองและผู้อ่ืน มีความสามารถในการวิเคราะห์และ
เลือกสรรข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม การทาประโยชน์เพื่อสังคมและการอยู่ร่วมกับ
ผู้อ่ืน สามารถตัดสินใจเลือกแนวทางในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ สามารถร่วมตัดสินใจ

แก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับชุมชนและสังคมได้ มีทักษะในการคิดในทางที่ดี มีชีวิตอยู่อย่างสร้างสรรค์
เสียสละและมีความสขุ

การจัดกจิ กรรมแนะแนวเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน แบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี
๑. การจัดกิจกรรมดว้ ยกระบวนการทางจิตวิทยาใหแ้ ก่ผู้เรยี นทั้งเปน็ รายบุคคลและ

เปน็

กลุม่ เพ่ือใหค้ รูได้รู้จักผู้เรยี นมากข้ึน สามารถส่งเสริมและป้องกนั ปญั หาของผู้เรยี นทุกคนไมว่ า่ จะเป็น
กลุ่มปกติหรอื กลุ่มพิเศษให้ได้รับการพัฒนาทกั ษะการดาเนินชีวิตในด้านต่างๆ เชน่ การรูจ้ ักรักและ

เห็นคุณคา่ ในตนเองและผู้อ่ืน มีทักษะการคิดตัดสินใจ ทักษะการปรบั ตัว การวางแผนชีวิต รวมท้ัง
การสร้างคณุ ธรรม
จริยธรรมท่ีสาคัญ การจัดกิจกรรมมีทั้งจัดในห้องเรียนซ่ึงใช้เวลาต่อเน่ืองกันในกรณีท่ีต้องพัฒนา

ทกั ษะท่ีสาคญั และจาเป็น หรอื จัดนอกหอ้ งเรียนโดยใหม้ ีบรรยากาศทเี่ ป็นกนั เองมีครูเป็นที่ปรึกษาและ
ผเู้ รียนทกุ คน

มสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรม

173

๒. การจัดบริการเพื่อให้ผู้เรียนได้สารวจตนเอง และรู้จักตนเองในทุกด้าน ให้
ข้อมูลข่าวสารสนเทศที่จาเป็นและทันสมัยท้ังด้านการศึกษาอาชีพและการพัฒนาบุคลิกภาพให้
สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง ตลอดจนช่วยเหลือ แก้ไข และฝึกประสบการณ์ที่
เหมาะสมสาหรับผู้เรยี นไดใ้ ช้เป็นแนวทางในการวางแผนการศกึ ษาและชีวิตตอ่ ไป

๓. การบูรณาการแนะแนวในการเรียนการสอน เป็นการนาเทคนิควิธีการทาง
จติ วิทยาและการแนะแนวมาใช้ในการจัดการเรยี นการสอนใหส้ อดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละ
คนแต่ละกลุ่ม โดยเน้นให้ครูได้รู้จักและเข้าใจผู้เรียนท้ังด้านพัฒนาการตามวัย พฤติกรรมและ
สาเหตุของพฤตกิ รรม วธิ กี ารเรียนรู้ของผู้เรยี น ซ่ึงจะทาให้ครมู ีแนวทางในการชว่ ยเหลือและพัฒนา
ผู้เรียนให้เห็นคุณค่าในสาระวิชาต่าง ๆ เกิดแรงจูงใจ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการเรียนรู้เกิด
สมั ฤทธ์ผิ ลสูงสดุ

174

6. เกณฑก์ ารจบการศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนโนนหันวิทยายน พุทธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กาหนดเกณฑ์สาหรับการจบการศึกษาดังนี้

กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประเมินตามท่ีสถานศึกษา
กาหนด

เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
(1) ผู้เรยี นเรยี นรายวชิ าพื้นฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต

และ รายวชิ าเพม่ิ เติมตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็น

รายวชิ าพน้ื ฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ไมน่ อ้ ยวา่ 11 หนว่ ยกิต
(3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ในระดับผ่านเกณฑ์

การประเมนิ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมินตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผ้เู รียนเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต

และ รายวชิ าเพ่มิ เติมตามท่ีสถานศึกษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็น

รายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกติ และรายวชิ าเพ่มิ เติม ไมน่ ้อยว่า 36 หน่วยกติ
(3) ผ้เู รยี นมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมินตามท่สี ถานศึกษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมิน

ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด

การจัดการเรยี นรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสตู รสกู่ ารปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงคข์ องผเู้ รยี น เปน็ เป้าหมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร
กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็น
สมรรถนะสาคัญให้ผูเ้ รยี นบรรลตุ ามเปา้ หมาย

175

1. หลักการจัดการเรยี นรู้

การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะ

สาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามท่กี าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โดย

ยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึด

ประโยชน์ท่ีเกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตาม

ธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเน้นให้

ความสาคัญทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรม

2. กระบวนการเรยี นรู้

การจัดการเรยี นรูท้ ี่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญผเู้ รยี นจะต้องอาศัยกระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย

เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปา้ หมายของหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน

อาทิ กระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้กระบวนการคิด กระบวนการทาง

สังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง

กระบวนการปฏิบัติ ลงมอื ทาจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรียนรกู้ ารเรยี นรู้

ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนิสยั

กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา

เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึง

จาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด

กระบวนการเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
3. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สมรรถนะ

สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึง
พิจารณาออกแบบการจดั การเรียนรโู้ ดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนคิ การสอน สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ การวัด
และประเมนิ ผล เพ่ือให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายทีก่ าหนด

4. บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี น
การจัดการเรยี นรูเ้ พ่ือให้ผ้เู รียนมีคณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลกั สูตร ทั้งผสู้ อนและผเู้ รยี นควร
มบี ทบาท ดงั นี้

4.1 บทบาทของผูส้ อน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการ

จดั การเรยี นรู้ ทท่ี ้าความสามารถของผเู้ รียน
2) กาหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะ

กระบวนการ ที่เปน็ ความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมท้งั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล

และพฒั นาการทางสมอง เพื่อนาผเู้ รียนไปสเู่ ปา้ หมาย
4) จัดบรรยากาศทเี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ และดูแลช่วยเหลือผ้เู รียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้

176

5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรยี นการสอน

6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาตขิ องวิชา
และระดับพัฒนาการของผู้เรยี น
7) วเิ คราะห์ผลการประเมนิ มาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังปรับปรุง
การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผ้เู รยี น
1) กาหนดเป้าหมายวางแผนและรับผิดชอบการเรยี นร้ขู องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถงึ แหลง่ การเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคาถาม
คดิ หาคาตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาด้วยวธิ ีการตา่ งๆ
3) ลงมือปฏิบตั ิจริง สรปุ สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รียนร้ดู ้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ใน
สถานการณต์ ่างๆ
4) มปี ฏสิ ัมพันธ์ ทางาน ทากจิ กรรมรว่ มกับกลุม่ และครู
5) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

ส่ือการเรยี นรู้

ส่อื การเรยี นรู้เป็นเครื่องมือส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรยี นเข้าถึง
ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานของหลกั สตู รไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพสือ่ การ
เรียนรู้มีหลากหลายประเภท ท้ังส่ือธรรมชาติส่ือส่ิงพิมพ์ส่ือเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ
ที่มีในท้องถ่ินการเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ที่
หลากหลายของผ้เู รียน

การจัดหาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเองหรือปรับปรุง
เลอื กใช้อย่างมีคณุ ภาพจากสื่อตา่ งๆ ทีม่ ีอยูร่ อบตัวเพอ่ื นามาใชป้ ระกอบในการจัดการเรยี นรู้ท่ีสามารถ
ส่งเสริมและส่ือสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้
ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรู้อย่างแทจ้ รงิ สถานศึกษาเขตพ้นื ที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและผ้มู หี นา้ ท่ี
จัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐานควรดาเนินการดังนี้

1.จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ศูนย์สื่อการเรียนรู้ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชนเพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษาท้องถ่นิ ชุมชน สังคมโลก

2.จัดทาและจัดหาส่ือการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนเสริมความรู้ให้ผู้สอน
รวมทง้ั จดั หาส่งิ ทมี่ อี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ มาประยุกตใ์ ช้เป็นสื่อการเรยี นรู้

3.เลือกและใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพมีความเหมาะสมมีความหลากหลาย สอดคล้องกับ
วิธีการเรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี น

4.ประเมินคุณภาพของสือ่ การเรียนรทู้ ่เี ลอื กใชอ้ ย่างเปน็ ระบบ
5.ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย เพอื่ พฒั นาสอ่ื การเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน
6..จั ดให้มี การกากับติดตามประเมิ นคุ ณภ าพและประสิทธิภาพ เกี่ ยวกับส่ือและก า รใช้ส่ื อ
การเรียนร้เู ปน็ ระยะๆ และสมา่ เสมอ

177

ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศึกษาควร
คานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตรวัตถุประสงค์การเรียนรู้
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเน้อื หามีความถูกต้องและทันสมัยไม่
กระทบความมั่นคงของชาติ ไมข่ ัดต่อศีลธรรมมีการใช้ภาษาท่ีถูกต้องรูปแบบการนาเสนอที่เข้าใจง่าย
และนา่ สนใจ

แนวปฏิบัตใิ นการวดั และประเมินผล

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน ซึ่ง
กาหนดส่ิงท่ีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ซ่ึงจะประกอบด้วย ความรู้
ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมอันพึงประสงค์ เม่ือผู้เรียนไดร้ บั การพฒั นาไปแล้วนอกจาก
จะมีความร้คู วามสามารถ ตลอดจนคุณธรรมจรยิ ธรรมท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วัด
แล้ว จะนาไปสู่การมีสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการอีก
ด้วย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีหลักสูตรกาหนดน้ันต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนา ผ่านการ
จัดการเรียนการสอน การปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในลักษณะต่าง ๆ จนตกผลึกเป็นคุณธรรม
จรยิ ธรรม ซ่งึ ใชเ้ วลาในการเกบ็ ข้อมลู พฤติกรรมเพื่อนามาประเมินและตัดสิน

หลกั การดาเนินการวดั และประเมินผลการเรยี น

ข้อ 6 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นใหเ้ ป็นไปตามหลักการในตอ่ ไปนี้
6.1 โรงเรียนเป็นผู้รบั ผดิ ชอบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นของผ้เู รยี น

โดยเปิดโอกาสใหท้ กุ ฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ งมีสว่ นร่วม
6.2 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐาน

การเรียนรู้ และ ตัวช้ีวัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดในหลักสูตร และจัดให้มีการประเมินการ
อา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

6.3 การวดั และการประเมินผู้เรยี นพิจารณาจากพฒั นาการของผ้เู รียน ความ
ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในการเรียน
การสอน ตามความเหมาะสม

6.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้เป็นสว่ นหนึง่ ของกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน ต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผล
ผ้เู รียนได้อยา่ งรอบด้าน ท้งั ด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิง
ที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดยต้ังอยู่บนพ้ืนฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม
และเชื่อถือได้

6.5 การวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี น มจี ุดม่งุ หมายเพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี น และเพื่อ
ตัดสินผลการเรียน

6.6 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรู้

178

6.7 ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการจัด
การศกึ ษา ตา่ ง ๆ

6.8 ให้สถานศึกษาจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเป็นหลักฐานการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษา และรับรองผลการเรยี นรู้ของ
ผู้เรียน

วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี น

ข้อ 7 สถานศึกษาตอ้ งดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผลให้ครบองค์ประกอบทง้ั 4 ดา้ น คอื
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และ
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

7.1 การประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ั้ง 8 กลุ่มสาระ เป็นการ
ประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ท่ีกาหนดอยูใ่ นตัวช้ีวัดในหลักสูตร ซึ่งจะ
นาไปสูก่ ารสรปุ ผลการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ปฏิบัติดงั น้ี

7.1.1 แจ้งใหผ้ ู้เรียนทราบตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ วิธีการวดั และประเมินผล
การเรยี น เกณฑ์การผ่านแต่ละตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ และเกณฑข์ ัน้ ตา่ ของการผา่ นรายวชิ า ก่อน
สอนรายวิชาน้ันๆ

7.1.2 ผลการเรียนรจู้ ะตอ้ งครอบคลมุ ความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรม และค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์

7.1.3 ประเมินผลกอ่ นเรยี นเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผเู้ รยี น

7.1.4 วัดและประเมินผลระหวา่ งการเรียนการสอนแต่ละหน่วยอย่างสมา่
เสมอ เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมลู มาปรบั ปรุงการสอนให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรียน หลังการประเมิน
ต้องแจง้ ผลการประเมนิ ใหผ้ ู้เรียนทราบ เพ่อื ผู้เรียนจะได้พฒั นาตนเองไปสูเ่ ป้าหมายท่ีกาหนด

7.1.5 วดั และประเมินผลกลางภาคเรียนอย่างนอ้ ย 1 ครั้งโดยครูผสู้ อน
เป็นผู้กาหนดตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้

7.1.6 กาหนดสัดส่วนคะแนน ระหวา่ งภาคเรียน : ปลายภาคเรียน
ดงั นคี้ อื รายวชิ าในกล่มุ สาระภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ และ
ภาษาตา่ งประเทศ กาหนดใหใ้ ช้สดั สว่ น 70 : 30 ส่วนรายวชิ าในกลุม่ สาระสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ศลิ ปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี กาหนดให้ใช้สัดส่วน 80 : 20

7.1.7 ตดั สนิ ผลการเรียน โดยนาคะแนนระหวา่ งภาคเรยี นรวมกับคะแนน
ปลายภาค แลว้ นามาเปลยี่ นระดบั ผลการเรียน

7.1.8 ใชต้ วั เลขแสดงระดับผลการเรยี นในแต่ละรายวิชา ดงั นี้
4 หมายถงึ มผี ลการเรยี นดเี ยยี่ ม มีคะแนนระหวา่ ง 80-100
3.5 หมายถึง มผี ลการเรยี นดีมาก มีคะแนนระหวา่ ง 75-79
3 หมายถงึ มีผลการเรยี นดี มีคะแนนระหว่าง 70- 74

179

2.5 หมายถึง มีผลการเรียนคอ่ นข้างดี มีคะแนนระหวา่ ง 65- 69
2 หมายถงึ มีผลการเรียนปานกลาง มีคะแนนระหวา่ ง 60- 64
1.5 หมายถึง มีผลการเรียนพอใช้ มคี ะแนนระหวา่ ง 55- 59
1 หมายถึง มีผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ้นั ต่า มีคะแนนระหว่าง 50-54
0 หมายถึง มีผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ มีคะแนนระหว่าง 0-49

7.1.9 ให้ใช้ตัวอักษรแสดงผลการเรยี นทมี่ เี ง่อื นไขในแต่ละรายวิชา ดังน้ี
มส หมายถงึ ไมม่ ีสทิ ธเ์ิ ข้ารับการประเมนิ ผลปลายภาคเรียน
ร หมายถึง รอการตดั สิน หรอื ยังตัดสนิ ไม่ได้

7.1.10 กรณีท่ผี ้เู รียนมีผลการเรียน “ 0 ” “ ร ” หรือ “ มส ” ให้ดาเนนิ การ
ซอ่ มเสรมิ ปรับปรุงแก้ไขผเู้ รยี นใหเ้ สรจ็ สนิ้ ในภาคเรยี นต่อไป

7.2 การประเมนิ ความสามารถอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ใหถ้ ือปฎิบตั ิดงั นี้
7.2.1 ให้ครูผ้สู อนดาเนินการประเมนิ และนาผลการประเมินไปใชป้ รบั ปรงุ พฒั นา

ผเู้ รยี นอย่างต่อเนื่อง
7.2.2 การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน กาหนดรายการประเมินจานวน

5 ขอ้ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3
ข้อที่ 1 สามารถคัดสรรสอื่ ทต่ี ้องการอา่ นเพ่ือหาข้อมูลสารสนเทศได้ตาม

วัตถปุ ระสงค์
สามารถสรา้ งความเข้าใจและประยกุ ต์ความรจู้ ากการอ่าน

ข้อที่ 2 สามารถจบั ประเด็นสาคัญและประเดน็ สนับสนนุ โต้แย้ง
ข้อท่ี 3 สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลาดับความ
และความเปน็ ไปไดข้ องเรอ่ื งท่ีอ่าน
ขอ้ ที่ 4 สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ น
ข้อที่ 5 สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง สนับสนุน

โน้มนา้ ว โดยการเขียนส่ือสารรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผงั ความคดิ เปน็ ต้น
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6
ขอ้ ท่ี 1 สามารถอ่านเพื่อการศกึ ษาคน้ ควา้ เพม่ิ พนู ความรู้ ประสบการณ์ และการ

ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั
ขอ้ ที่ 2 สามารถจบั ประเด็นสาคญั ลาดบั เหตกุ ารณ์จากการอ่านสอื่ ที่มคี วามซบั ซอ้ น
ข้อที่ 3 สามารถวิเคราะห์สง่ิ ที่ผ้เู ขียนตอ้ งการสื่อสารกบั ผอู้ า่ น และสามารถวพิ ากษ์

ใหข้ อ้ เสนอแนะในแง่มุมตา่ ง ๆ
ข้อท่ี 4 สามารถประเมนิ ความนา่ เชื่อถือ คุณค่า แนวคิดทไี่ ดจ้ ากสงิ่ ทีอ่ ่าน

อย่างหลากหลาย
ข้อที่ 5 สามารถเขียนแสดงความคดิ เหน็ โต้แยง้ สรุป โดยมีข้อมูลอธบิ าย สนนั สนุน

อย่างเพียงพอ และสมเหตสุ มผล
7.2.3 การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน กาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น 4
ระดบั ดังนี้

180

3 หมายถึง ดีเยี่ยม ผเู้ รยี นมผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิด
วเิ คราะห์และเขยี นที่มีคุณภาพดีเลศิ อย่เู สมอ

2 หมายถึง ดี ผเู้ รียนมีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขียน ที่มีคณุ ภาพเป็นที่ยอมรับ

1 หมายถึง ผ่าน ผเู้ รียนมีผลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ
วิเคราะห์และเขียน ที่มีคณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรับ แต่ยังมขี ้อบกพรอ่ งบางประการ

0 หมายถึง ไมผ่ า่ น ผเู้ รียนไม่มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด
วเิ คราะห์ และเขียน หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานนั้นยังมขี อ้ บกพร่องท่ีตอ้ งไดร้ บั การปรบั ปรงุ แก้ไขหลาย
ประการ

7.2.4 คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
นาผลการประเมนิ ของครผู ้สู อนทกุ คน มาสรุปผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์
และเขยี น ทกุ ภาคเรยี นตามเกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกาหนด และนาผลการประเมินไปใชป้ รบั ปรุงพฒั นา
ผเู้ รยี นอย่างตอ่ เนอื่ ง

7.2.5 คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นของ
ผู้เรยี น ดาเนนิ การประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผเู้ รียนในปีสุดท้าย
ของการศึกษาภาคบังคบั /การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

7.3 การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ใหถ้ อื ปฎิบัตดิ ังน้ี
7.3.1 ให้ครูผูส้ อนดาเนนิ การประเมินควบคไู่ ปกบั กระบวนการเรยี นการสอน และ

นาผลการประเมนิ ไปใชป้ รับปรงุ พัฒนาผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
7.3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รยี นโรงเรียนโนนหนั วิทยายน กาหนด

รายการประเมนิ จานวน 8 ขอ้ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้
ข้อท่ี 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตัวช้วี ัด 1.1 เป็นพลเมอื งดขี องชาติ
1.2 ธารงไว้ซงึ่ ความเปน็ ชาตไิ ทย
1.3 ศรัทธา ยึดมนั่ และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศาสนา
1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ขอ้ ที่ 2 ซอื่ สัตย์สุจริต
ตวั ชีว้ ัด 2.1 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่ ตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ต่อผู้อื่นทงั้ ทางกาย วาจา ใจ
ขอ้ ที่ 3 มวี นิ ยั
ตวั ชว้ี ัด 3.1 ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บข้อบงั คับของ

ครอบครวั โรงเรยี น และสังคม
ข้อที่ 4 ใฝเ่ รียนรู้
ตัวชว้ี ดั 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน และเข้ารว่ มกิจกรรมการ

เรียนรู้
4.2 แสวงหาความรตู้ ่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ย

การเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรปุ เป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
ขอ้ ท่ี 5 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง

181

ตวั ช้วี ดั 5.1 ดาเนินชวี ติ อยา่ งพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม
5.2 มภี มู ิคุ้มกันในตัวท่ดี ี ปรับตวั เพื่ออย่ใู นสงั คมได้อย่างมี

ความสขุ
ขอ้ ท่ี 6 มงุ่ มนั่ ในการทางาน
ตัวช้วี ดั 6.1 ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในหน้าท่ีการงาน
6.2 ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่ือให้งานสาเร็จ
ตามเป้าหมาย
ข้อท่ี 7 รกั ความเปน็ ไทย
ตวั ชว้ี ัด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย
และมีความกตัญญกู ตเวที
7.2 เหน็ คุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่อื สารได้อยา่ งถกู ต้อง
เหมาะสม
7.3 อนรุ ักษ์ และสืบทอดภมู ปิ ญั ญาไทย
ข้อที่ 8 มีจิตสาธารณะ
ตวั ชีว้ ดั 8.1 ช่วยเหลือผู้อ่ืนดว้ ยความเต็มใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน
8.2 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชมุ ชน และ

สังคม
7.3.3 การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ กาหนดเกณฑก์ ารตัดสนิ เป็น 4

ระดบั ดงั นี้
3 หมายถงึ ดีเยีย่ ม ผ้เู รียนปฏิบตั ิตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสยั

และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันเพือ่ ประโยชนส์ ุขของตนเองและสงั คม
2 หมายถึง ดี ผ้เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

เพ่ือใหเ้ ปน็ การยอมรับของสังคม
1 หมายถึง ผ่าน ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์และเง่อื นไข

ที่สถานศึกษากาหนด
0 หมายถงึ ไมผ่ า่ น ผู้เรียนรบั รแู้ ละปฏิบัตไิ ดไ้ ม่ครบตามกฎเกณฑ์

และเงื่อนไขท่ีสถานศกึ ษากาหนด
7.3.4 คณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น นาผลการ

ประเมินของครผู ้สู อนทกุ คน มาสรุปผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียนทกุ ภาคเรียน
ตามเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด และนาผลการประเมนิ ไปใช้ปรับปรงุ พฒั นาคณุ ลกั ษณะผู้เรียนอยา่ ง
ตอ่ เนอื่ ง

7.3.5 คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผ้เู รียนดาเนนิ การ
ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น ในปสี ุดท้ายของการศึกษาภาคบงั คับ/การศึกษาข้นั
พน้ื ฐาน

7.4 การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ใหถ้ อื ปฏบิ ัตดิ งั นี้
7.4.1 ใหค้ รทู ี่ปรึกษากจิ กรรมเปน็ ผปู้ ระเมนิ การเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนตาม

เกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด

182

7.4.2 ใหม้ กี ารวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์ของกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่
พฒั นา ปรบั ปรงุ ผูเ้ รยี น และประเมนิ เม่ือสนิ้ ภาคเรยี นเพอ่ื พิจารณาการผ่านเกณฑ์

7.4.3 ให้ประเมินและตดั สินเปน็ รายกจิ กรรม และกาหนดเกณฑ์การผา่ นกจิ กรรม
พัฒนาผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ มเี วลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม และผา่ น
จดุ ประสงคข์ องกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

7.4.4 การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น จะตอ้ งพิจารณาทัง้ เวลาการเข้าร่วม
กจิ กรรม และการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ของผเู้ รยี นตามเกณฑข์ องแต่ละกิจกรรม และให้ผลการประเมนิ
เป็นผ่าน และไม่ผ่าน

กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน มี 3 ลกั ษณะ คือ
1) กจิ กรรมแนะแนว
2) กิจกรรมนักเรียน ซ่ึงประกอบดว้ ย

(1) กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ และ
นักศึกษาวิชาทหาร โดยผู้เรียนเลือกอย่างใดอยา่ งหนึง่ 1 กจิ กรรม

(2) กจิ กรรมชมุ นมุ หรอื ชมรม อีก 1 กิจกรรม
3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

การตดั สนิ ผลการเรียน

ข้อ 8 การตัดสินผลการเรียนใหถ้ อื ปฏิบตั ดิ งั น้ี
8.1 พจิ ารณาตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวชิ า โดยประเมินผลเปน็ รายภาค

เรียน ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมดในรายวิชา
นนั้ ๆ

8.2 ผเู้ รยี นตอ้ งได้รับการประเมินผลทกุ ตัวช้วี ดั
8.3 ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รบั การตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า

8.4 ผ้เู รยี นตอ้ งได้รับการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
คุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ผ่าน ทุกขอ้ ทุกกิจกรรม

183

ข้อ 9 การให้ระดบั ผลการเรยี น
9.1 การตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกล่มุ สาระการเรียนรู้ ให้ใช้ระบบตวั เลขแสดง

ระดบั ผลการเรียนเปน็ 8 ระดับ ดงั นี้

ระดับผลการเรยี น ความหมาย ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ

4 ผลการเรยี นดีเยย่ี ม 80 - 100

3.5 ผลการเรียนดมี าก 75 - 79

3 ผลการเรียนดี 70 – 79

2.5 ผลการเรียนคอ่ นข้างดี 65 - 69

2 ผลการเรียนปานกลาง 60 - 64

1.5 ผลการเรยี นพอใช้ 55 - 59

1 ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่าทกี่ าหนด 50 - 54

0 ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ขัน้ ตา่ 0 - 49

ในกรณที ไี่ ม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเปน็ 8 ระดบั ไดใ้ หใ้ ช้ตัวอกั ษรระบุเงอ่ื นไขของผล

การเรยี น ดังน้ี

“ มส ” หมายถึง ผูเ้ รยี นไม่มสี ทิ ธเิ์ ข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนอื่ งจากผู้เรียนมเี วลา

เรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นในแตล่ ะรายวชิ า และไมไ่ ด้รับการผอ่ นผนั ให้เขา้ รับการวัดผล

ปลายภาคเรยี น

“ ร ” หมายถึง รอการตดั สนิ และยงั ตดั สินผลการเรียนไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากผู้เรยี นไมม่ ีขอ้ มลู ผล

การเรียนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ไดว้ ัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรยี น ไม่ได้ส่งงานท่ี

มอบหมายให้ทา ซง่ึ งานนนั้ เป็นสว่ นหนง่ึ ของการตดั สินผลการเรียนหรือมเี หตุสดุ วสิ ยั ทีท่ าให้

ประเมนิ ผลการเรียนไมไ่ ด้

9.2 การประเมนิ ความสามารถอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ให้ครูผู้สอนดาเนินการประเมนิ

และนาผลการประเมินไปใช้ปรับปรงุ พฒั นาผู้เรียนอยา่ งต่อเน่อื ง และตัดสนิ ผลการประเมนิ เป็น 4

ระดับ ดังน้ี

3 หมายถึง ดีเยี่ยม ผู้เรียนมผี ลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน

คดิ วิเคราะห์และเขียน ที่มคี ุณภาพดเี ลศิ อยู่เสมอ

2 หมายถงึ ดี ผเู้ รยี นมผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอา่

คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน ทม่ี ีคุณภาพเป็นท่ียอมรับ

1 หมายถึง ผา่ น ผู้เรยี นมผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น

คิดวิเคราะห์และเขียน ที่มคี ุณภาพเปน็ ทยี่ อมรับแตย่ ังมขี ้อบกพรอ่ งบางประการ

0 หมายถงึ ไม่ผ่าน ผู้เรยี นไมม่ ีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการ

อ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานน้นั ยังมขี ้อบกพร่องทต่ี อ้ งไดร้ ับการปรับปรุง

แก้ไขหลายประการ

9.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี น ให้ครผู ้สู อนดาเนนิ การประเมิน

184

ควบคูไ่ ปกบั กระบวนการเรยี นการสอน และนาผลการประเมินไปใช้ปรบั ปรงุ พัฒนาผู้เรยี นอย่าง
ต่อเนอ่ื งซงึ่ กาหนดเกณฑ์การตดั สินเปน็ 4 ระดบั ดังน้ี

3 หมายถึง ดีเยย่ี ม ผ้เู รยี นปฏบิ ัตติ นตามคุณลักษณะจนเปน็ นสิ ยั และ
นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันเพื่อประโยชน์สขุ ของตนเองและสงั คม

2 หมายถึง ดี ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์เพื่อใหเ้ ป็น
การยอมรับของสงั คม

1 หมายถึง ผา่ น ผูเ้ รยี นรับรู้และปฏิบัตติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงอื่ นไขที่
สถานศกึ ษากาหนด

0 หมายถึง ไมผ่ ่าน ผูเ้ รียนรบั รแู้ ละปฏบิ ัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไข
ท่สี ถานศึกษากาหนด

9.4 การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะต้องพจิ ารณาทง้ั เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม และ
การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ของผเู้ รยี นตามเกณฑ์ของแตล่ ะกจิ กรรม และให้ผลการประเมินเปน็ ผ่าน และไม่
ผา่ น ให้ใช้ตวั อกั ษรแสดงผลการประเมิน ดงั นี้

“ ผ ” หมายถึง ผเู้ รียนมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 ของเวลา
เรยี นแตล่ ะกจิ กรรมผเู้ รยี นจะต้องปฏิบัติกิจกรรมผ่านจุดประสงค์ของแตล่ ะกิจกรรมไม่ต่ากวา่
รอ้ ยละ 60

“ มผ ” หมายถึง ผ้เู รยี นขาดเกณฑ์ใดเกณฑห์ น่ึงจากเกณฑท์ กี่ าหนดให้ผา่ น
ในกรณีท่ผี เู้ รียนได้ผลการเรียน “ มผ ” ครูผ้สู อนต้องจัดซ่อมเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นทากิจกรรมในส่วนท่ี
ผเู้ รยี นไมไ่ ด้เข้ารว่ มหรอื ไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ น แล้วจงึ เปลยี่ นผลการเรยี นจาก “ มผ ” เป็น “ ผ ” ได้
ท้งั น้ี ดาเนนิ การให้เสรจ็ ส้นิ ภายในภาคเรยี นนั้น ๆ ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวสิ ัยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของ
สถานศึกษาท่จี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรยี นท่ี 2 ต้อง
ดาเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปีการศกึ ษานัน้

ข้อ 10 การเปล่ียนผลการเรียน
10.1 การเปล่ยี นผลการเรยี น “ 0 ”

ให้ครผู ู้สอนดาเนนิ การพัฒนาผ้เู รียน โดยจดั สอนซ่อมเสริม ปรับปรงุ แกไ้ ข ผู้เรยี นใน
ตัวช้วี ัดท่ีผู้เรยี นสอบไม่ผา่ นเกณฑข์ ้ันตา่ แลว้ จึงให้ผเู้ รียนสอบแกต้ ัวได้ไม่เกิน 2 ครงั้ และให้ระดบั ผล
การเรยี นใหม่ไมเ่ กนิ “ 1 ” ท้งั น้ีควรดาเนินการให้เสร็จสน้ิ ภายในภาคเรยี นนนั้ ๆ สาหรับภาคเรียน
ท่ี 2 ตอ้ งดาเนินการใหเ้ สร็จสน้ิ ภายในปีการศกึ ษานนั้ ถา้ สอบแกต้ ัว 2 ครงั้ แล้ว ยงั ไดร้ ะดับผลการ
เรียน “ 0 ” อีก ให้สถานศกึ ษาแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนนิ การเก่ยี วกบั การเปลีย่ นผลการเรยี นของ
ผู้เรียน โดยปฏิบตั ิ ดงั นี้

1) ถ้าเปน็ รายวิชาพื้นฐาน ใหเ้ รยี นซ้ารายวิชาน้ัน
2) ถา้ เป็นรายวชิ าเพิ่มเติม ใหเ้ รียนซา้ หรอื เปลยี่ นรายวชิ าเรยี นใหม่ ทัง้ นใ้ี ห้อยู่ใน
ดุลยพินิจของสถานศกึ ษา ในกรณที เี่ ปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบยี นแสดงผลการ
เรยี นว่าเรียนแทนรายวิชาใด
10.2 การเปล่ียนผลการเรียน “ ร ”

การเปล่ยี นผลการเรียน “ ร ” แยกเป็น 2 กรณดี ังนี้
10.2.1 กรณีได้ผลการเรียน “ ร ” เพราะเหตุสดุ วิสยั เช่น เจ็บป่วย
ฯลฯ เม่ือ

185

ผูเ้ รยี นไดด้ าเนนิ แก้ไข “ ร ” ตามสาเหตแุ ลว้ ให้ได้ระดบั ผลการเรยี นตามปกติ (ตงั้ แต่ 0 - 4)
10.2.2 กรณไี ดผ้ ลการเรียน “ ร ” เพราะเหตุไม่สดุ วสิ ัย เม่อื ผเู้ รยี นไดเ้ ข้า

สอบหรอื สง่ งานแลว้ ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรยี นไมเ่ กิน 1
ถา้ ผู้เรยี นไมด่ าเนินการแกไ้ ข “ ร ” กรณีท่สี ง่ งานไมค่ รบ แตม่ ีผลการประเมิน

ระหว่างภาคเรยี นและปลายภาคเรยี น ให้ครผู ู้สอนนาข้อมลู ทีม่ อี ยูต่ ดั สนิ ผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุ
สุดวสิ ัย ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทีจ่ ะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอีกไม่เกนิ 1 ภาค
เรยี น สาหรบั ภาคเรยี นท่ี 2 ตอ้ งดาเนินการใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในปีการศึกษาน้นั ทัง้ นตี้ ้องดาเนินการ
ใหเ้ สร็จสิน้ ภายในปกี ารศกึ ษานั้น เมอื่ พน้ กาหนดน้แี ล้วให้เรยี นซ้า หากผลการเรยี นเป็น “ 0 ”
ใหด้ าเนนิ แกไ้ ขตามหลักเกณฑ์

10.3 การเปลย่ี นผลการเรยี น “ มส ”
การเปลี่ยนผลการเรยี น “ มส ” มี 2 กรณี ดงั น้ี

10.3.1 กรณผี เู้ รยี นได้ผลการเรยี น “ มส ” เพราะมเี วลาเรยี นไม่ถงึ ร้อย
ละ80 แต่ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของเวลาเรยี นท้ังหมด ใหส้ ถานศกึ ษาจัดให้เรยี นเพิ่มเตมิ โดยใช้
ช่วั โมงสอนซ่อมเสริมหรอื ใชเ้ วลาวา่ ง หรือใชว้ นั หยดุ หรอื มอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรยี นครบ
ตามท่กี าหนดไวส้ าหรบั รายวิชานน้ั แล้วจงึ ใหว้ ดั ผลปลายภาคเป็นกรณพี ิเศษ ผลการแก้ “ มส ” ให้
ได้ระดับผลการเรยี นไม่เกนิ “ 1 ” การแก้ “ มส ” กรณนี ้ีให้กระทาใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศกึ ษา
นั้น ถา้ ผู้เรียนไมม่ าดาเนินการแก้ “ มส ” ตามระยะเวลาทีก่ าหนดไว้นใี้ ห้เรยี นซ้า ยกเว้นมเี หตุ
สดุ วิสัย ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ มส ” ออกไปอีกไม่เกนิ 1 ภาค
เรยี น แตเ่ ม่ือพ้นกาหนดน้ีแลว้ ให้ปฏิบตั ิดงั น้ี

1) ถ้าเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ใหเ้ รียนซา้ รายวชิ าน้นั
2) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพ่ิมเติม ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้ เรยี นซ้า
หรอื เปลี่ยนรายวิชาเรยี นใหม่
10.3.2 กรณีผเู้ รียนไดผ้ ลการเรยี น “ มส ” และมีเวลาเรยี นนอ้ ยกว่า
ร้อยละ 60 ของเวลาเรยี นท้ังหมด ให้สถานศึกษาดาเนินการดังน้ี
1) ถ้าเปน็ รายวิชาพน้ื ฐานให้เรยี นซา้ รายวชิ าน้นั
2) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษา ให้เรียน
ซา้ หรอื เปลย่ี นรายวชิ าเรยี นใหมใ่ นกรณีท่ีเปล่ยี นรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบยี นแสดงผล
การเรียนว่าเรยี นแทนรายวชิ าใดการเรียนซ้ารายวชิ า หากผเู้ รยี นได้รบั การสอนซอ่ มเสรมิ และสอบแก้
ตวั 2 ครง้ั แล้วไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ให้เรยี นซ้ารายวชิ านัน้ ทั้งน้ใี ห้อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของ
สถานศึกษาในการจัดให้เรียนซา้ ในช่วงใดชว่ งหนึง่ ทสี่ ถานศกึ ษาเหน็ ว่าเหมาะสม เชน่ พกั กลางวนั
วนั หยดุ ช่วั โมงว่างหลงั เลิกเรียนหรือภาคฤดูรอ้ น ในกรณภี าคเรยี นท่ี 2 หากผเู้ รยี นยงั มีผลการเรยี น
“ 0 ” “ ร ” “ มส ” ให้ดาเนนิ การใหเ้ สร็จสิ้นก่อนเปิดเรียนปกี ารศกึ ษาถัดไป ให้สถานศกึ ษาเปดิ
การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพือ่ แกไ้ ขผลการเรยี นของผูเ้ รยี นได้
10.4 การเปล่ียนผลการเรยี น “ มผ ”
ในกรณีทผ่ี เู้ รยี นไดผ้ ลการเรยี น “ มผ ” สถานศึกษาตอ้ งจัดซอ่ มเสริมให้ผเู้ รยี น
ทากิจกรรมในสว่ นท่ีผูเ้ รยี นไมไ่ ดเ้ ขา้ รว่ ม หรอื ไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ นแล้วจึงเปลยี่ นผลการเรียนจาก

186

“ มผ ” เปน็ “ ผ ” ได้ ทัง้ น้ีดาเนินการใหเ้ สร็จส้ินภายในภาคเรยี นน้นั ๆ ยกเวน้ มเี หตสุ ดุ วิสยั ให้อยู่ใน
ดุลยพนิ จิ ของสถานศึกษาท่ีจะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่ตอ้ งดาเนนิ การ
ให้เสร็จสน้ิ ภายในปีการศึกษาน้นั

การเปลยี่ นผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั “ไม่ผา่ น ” ให้
คณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคด์ าเนินการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ปรับปรุง แกไ้ ข
หรือตามวิธกี ารท่ีคณะกรรมการกาหนด เพ่อื ให้ผเู้ รียนผา่ นเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนด

การเปลยี่ นผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั “ ไมผ่ า่ น ”
ใหค้ ณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นดาเนนิ การจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ปรบั ปรุง
แกไ้ ข หรอื ตามวธิ กี ารท่ีคณะกรรมการกาหนด เพ่ือให้ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร
ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้เปิดแผนการเรียนเพ่ิมข้ึนใหม่ คือ ห้องเรียนพิเศษ

วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์(Science-Math Classroom) จึงได้ปรับหลักสูตรสถานศึกษาในปี
การศึกษา 2564 โดยเริ่มใช้กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ในปี
การศึกษา 2564 จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยมีเป้าหมายในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์
จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
เปิดโอกาสให้โรงเรยี นสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับ
ตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ีชัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทย
แลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษ
ที่ 21 และประชาคมอาเซียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา

โรงเรียนโนนหันวทิ ยายน

พุทธศักราช 2564
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

โรงเรียนโนนหนั วทิ ยายน อาเภอชมุ แพ จงั หวัดขอนแกน่
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดขอนแก่น

สารบญั หนา้

เร่อื ง 1
1
ประกาศโรงเรยี น 2
ส่วนนา 2
3
ความนา 3
วิสยั ทศั น์ 16
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 25
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 26
โครงสร้างหลักสูตร 38
โครงสร้างหลกั สูตรชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 50
รายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ 116
คาอธบิ ายรายวิชา 138
กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย 148
กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ 159
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 171
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 197
กลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา 208
กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ 221
กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี 222
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
เกณฑ์การจบการศึกษา
ภาคผนวก
คาสงงั แต่งตัง้ กรรมการรรหิ ารหลักสตู ร

1. ส่วนนา

1.1 ความนา
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคาสงังกระทรวงศึกษาธิการทงี สพฐ. 1239/2560 ลง
วันทงี 7 สิงหาคม 2560 และคาสงังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทงี 30/2561 ลงวันทีง 5
มกราคม 2561 ให้เปลงียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ฉรัรปรัรปรุง พ.ศ.2560) โดยมีคาสงังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2561
โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีทงี 1 และ 4 ต้ังแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของ
ประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอรทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษทีง 21 เพงือให้สอดคล้องกัร
นโยรายและเป้าหมายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
โรงเรียนโนนหันวิทยายน จึงได้ทาการปรัรปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551(ฉรรั ปรัรปรุง2560) ในกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสาระภูมศิ าสตร์ในกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพืงอนาไปใช้ประโยชนแ์ ละเป็น
กรอรในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระรวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิรัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสรา้ งเวลาเรยี น
ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มคี วามสอดคล้องกัรมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรยี นสามารถ
กาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดัรตามความพรอ้ มและจุดเน้น โดยมีกรอร
แกนกลางเปน็ แนวทางทงีชดั เจนเพืงอตอรสนองนโยรายไทยแลนด์ 4.0 มคี วามพร้อมในการก้าวสสู่ ังคมคุณภาพ
มีความรูอ้ ย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษทีง 21 และประชาคมอาเซียนนั้น ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียน
ไดเ้ ปิดแผนการเรยี นเพิงมข้นึ ใหม่ คือ ห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร(์ Science-Math Classroom)
จึงได้ปรัรหลักสูตรสถานศึกษาข้ึนในปีการศึกษา 2564 โดยเริงมใช้กัรนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีทีง 1
และชน้ั มธั ยมศึกษาปที ีง 4 ในปีการศึกษา 2564
สาระของหลักสูตรสถานศกึ ษา ของโรงเรียนโนนหันวิทยายนในคร้ังน้ี ได้จดั ให้มีรายวชิ าเพมิง เติมให้มี
ความหลากหลายสอดคลอ้ งกัรแผนการจัดชนั้ เรียน ศกั ยภาพ ความถนัด และความสนใจของการพัฒนาผู้เรียน
ตามนโยรายโครงการรริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพงือพัฒนาท้องถิงน (SBMLD) โดยเน้นการจัดการเรียน
การสอนตามสภาพจรงิ เรยี นรู้ด้วยตนเองนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ หลักคิดหลักปฏิรัติใน
การเรยี นรู้ในเนอ้ื หาวชิ าทุกกลุม่ สาระเพงอื ใหเ้ ปน็ พลเมืองทีงดขี องประเทศ ประชาคมอาเซียน และพลเมอื งโลก

1.2 วสิ ัยทศั นห์ ลกั สตู ร
หลักสูตรโรงเรียนโนนหันวิทยายน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซงึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ทีงมีความ
สมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมงันในการปกครอง
ตามระรอรประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้ง เจตคติ ทงี

จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอรอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญรนพื้นฐาน
ความเชืงอว่า ทุกคนสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

1.3 สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น
หลักสูตรโรงเรียนโนนหันวิทยายน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึงงการ
พัฒนาผู้เรียนใหร้ รรลมุ าตรฐานการเรยี นรทู้ กงี าหนดนน้ั จะชว่ ยให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสือง สาร เปน็ ความสามารถในการรรั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพงือแลกเปลงียนข้อมูลข่าวสาร
และประสรการณอ์ ันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาตอ่ รองเพงอื ขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรรั หรือไม่รัรข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจน
การเลอื กใชว้ ิธกี ารสืงอสารทีงมีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทรทงีมีตอ่ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การ
คิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเป็นระรร เพงือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพงือการตดั สินใจเกียง วกัรตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ ทีง
เผชญิ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม รนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พนั ธแ์ ละการเปลีงยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามร้มู าใช้ในการ
ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาและมีการตดั สินใจทมงี ีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทรทีงเกิดขนึ้ ตอ่ ตนเอง สงั คม
และสงงิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนากระรวนการต่างๆ ไป
ใช้ในการดาเนินชวี ิตประจาวนั การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอืง ง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกัน
ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งรุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรรั ตวั ใหท้ ันตอ่ การเปลงยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จกั หลีกเลงียง
พฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ สงี ่งผลกระทรตอ่ ตนเองและผู้อืงน

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยตี า่ ง ๆ
และมที ักษะกระรวนการทางเทคโนโลยี เพืงอการพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสงือสาร การ
ทางาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสมและมคี ุณธรรม

1.4 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
หลกั สูตรโรงเรยี นโนนหันวทิ ยายน ม่งุ พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพองื ใหส้ ามารถ
อยูร่ ่วมกรั รุคคลอืนง ในสงั คมได้อย่างมีความสุขในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซองื สตั ยส์ ุจริต
3. มวี นิ ัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมงนั ในการทางาน
7. รักและภูมใิ จในทอ้ งถงินและความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

3

2. โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนโนนหนั วทิ ยายน

โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาปลาย

กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ เวลาเรยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กิจกรรม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ม. 4 – 6
ม. 1 ม. 2 ม. 3

 กลุม่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)

วิทยาศาสตร์และ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.)
เทคโนโลยี

สังคมศกึ ษา ศาสนา 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.)
40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)
และวฒั นธรรม 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 240 (6นก.)

o ประวตั ิศาสตร์ 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3นก.)
o ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
o หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม

และการดาเนินชีวิตในสังคม
o ภูมศิ าสตร์
o เศรษฐศาสตร์

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ศิลปะ 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.)

การงานอาชพี 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)

ภาษาตา่ งประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.)
1,640 (41 นก.)
รวมเวลาเรยี น (พ้นื ฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.)

 รายวชิ าเพม่ิ เติม ปลี ะ 320 ชว่ั โมง ไมน่ อ้ ยกว่า 1,600ช่ัวโมง

 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 120 120 120 360
40 40 40 120
o กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40
40 40 40 120
o กจิ กรรมนักเรียน 120
- ลูกเสอื ยวุ กาชาดฯ (20) (20) (20)
- ชมุ นุม ปลี ะ 1,200 ชั่วโมง (60)
รวม 3 ปี
- โฮมรูม/อบรมคุณธรรม ไม่น้อยกว่า 3,600 ชว่ั โมง

- ส่งเสริมวชิ าการ

o กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ
สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด
ตามท่หี ลักสตู รกาหนด

4

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
หลักสตู รหอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์(Science-Math Classroom)

ภาคเรยี นท่ี1 (หนว่ ยกติ / ภาคเรยี นท่ี 2 (หน่วยกิต/
ชม.)
รายวิชาพื้นฐาน ชม.)
ท31101 ภาษาไทย 7.5(300)
ค31101 คณิตศาสตร์ 1.0 (40) รายวชิ าพื้นฐาน 7.5(300)
ว31101 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 1.0 (40)
ว31102 เทคโนโลยี 1 (การออกแบบและเทคโนโลยี) 1.0 (40) ท31102 ภาษาไทย 1.0 (40)
ส31101 สงั คมศกึ ษา 1.0 (40)
ส31102 ประวัติศาสตร์ 1.0 (40) ค31102 คณิตศาสตร์ 1.0 (40)
พ31101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 (20)
อ31101 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40) ว31103 เทคโนโลยี2 (วทิ ยาการคานวณ) 1.0 (40)
1.0 (40)
รายวชิ าเพมิ่ เติม 8.5 (340) ส31103 สังคมศึกษา 1.0 (40)
ค30201 คณิตศาสตรว์ ิเคราะห์ 1.5 (60)
ว30201 ฟสิ กิ ส์ 1 2.0 (80) ส31104 ประวัติศาสตร์ 0.5 (20)
ว30221 เคมี 1 1.5 (60)
ว30241 ชวี วทิ ยา 1 1.5 (60) พ31102 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1.0 (40)
ว30262 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 0.5 (20)
อ30202 ภาษาองั กฤษในชวี ิตประจาวัน 1 1.0 (40) ศ31101 ศลิ ปะ (นาฏศลิ ป)์ 1.0 (40)
ส30231 หนา้ ทพ่ี ลเมือง 1 0.5 (20)
อ31102 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40)
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 40
 กิจกรรมแนะแนว 20 รายวิชาเพ่ิมเตมิ 8.5 (340)
 กจิ กรรมนักเรยี น 20
ค30202 เรขาคณิตวิเคราะห์ 1.5 (60)
- กจิ กรรมชมุ นมุ (10)
- โฮมรูม/อบรมคุณธรรม ว30202 ฟิสิกส์ 2 2.0 (80)
- ส่งเสริมวิชาการ
 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ว30222 เคมี 2 1.5 (60)

ว30242 ชวี วิทยา 2 1.5 (60)

ว30263 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 2 0.5 (20)

อ30204 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจาวัน 2 1.0 (40)

ส30232 หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 2 0.5 (20)

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 40

 กิจกรรมแนะแนว 20

 กิจกรรมนกั เรียน 20

- กิจกรรมชุมนมุ

- โฮมรมู /อบรมคุณธรรม

- ส่งเสรมิ วิชาการ
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (10)

รวมท้งั หมด 680 รวมท้ังหมด 680


Click to View FlipBook Version