The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sucharat ratchasarn, 2022-04-18 06:52:00

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

หลักสูตรสถานศึกษา 2564

208

6. เกณฑก์ ารจบการศึกษา

หลกั สูตรโรงเรียนโนนหันวิทยายน พุทธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กาหนดเกณฑ์สาหรับการจบการศึกษาดังนี้

กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประเมินตามท่ีสถานศึกษา
กาหนด

เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
(1) ผู้เรยี นเรยี นรายวชิ าพื้นฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต

และ รายวชิ าเพม่ิ เติมตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็น

รายวชิ าพน้ื ฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ไมน่ อ้ ยวา่ 11 หนว่ ยกิต
(3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ในระดับผ่านเกณฑ์

การประเมนิ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมินตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผ้เู รียนเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต

และ รายวชิ าเพ่มิ เติมตามท่ีสถานศึกษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็น

รายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกติ และรายวชิ าเพ่มิ เติม ไมน่ ้อยว่า 36 หน่วยกติ
(3) ผ้เู รยี นมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมินตามท่สี ถานศึกษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมิน

ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด

การจัดการเรยี นรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสตู รสกู่ ารปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงคข์ องผเู้ รยี น เปน็ เป้าหมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร
กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็น
สมรรถนะสาคัญให้ผูเ้ รยี นบรรลตุ ามเปา้ หมาย

209

1. หลักการจัดการเรยี นรู้

การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะ

สาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามท่กี าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โดย

ยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึด

ประโยชน์ท่ีเกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตาม

ธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเน้นให้

ความสาคัญทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรม

2. กระบวนการเรยี นรู้

การจัดการเรยี นรูท้ ี่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญผเู้ รยี นจะต้องอาศัยกระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย

เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปา้ หมายของหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน

อาทิ กระบวนการเรยี นรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้กระบวนการคิด กระบวนการทาง

สังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง

กระบวนการปฏิบัติ ลงมอื ทาจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรียนรกู้ ารเรยี นรู้

ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะนิสยั

กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา

เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึง

จาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด

กระบวนการเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
3. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สมรรถนะ

สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึง
พิจารณาออกแบบการจดั การเรียนรโู้ ดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนคิ การสอน สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ การวัด
และประเมนิ ผล เพ่ือให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายทีก่ าหนด

4. บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี น
การจัดการเรยี นรูเ้ พ่ือให้ผ้เู รียนมีคณุ ภาพตามเปา้ หมายของหลกั สูตร ทั้งผสู้ อนและผเู้ รยี นควร
มบี ทบาท ดงั นี้

4.1 บทบาทของผูส้ อน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการ

จดั การเรยี นรู้ ทท่ี ้าความสามารถของผเู้ รียน
2) กาหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะ

กระบวนการ ที่เปน็ ความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมท้งั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล

และพฒั นาการทางสมอง เพื่อนาผเู้ รียนไปสเู่ ปา้ หมาย
4) จัดบรรยากาศทเี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ และดูแลช่วยเหลือผ้เู รียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้

210

5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรยี นการสอน

6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาตขิ องวิชา
และระดับพัฒนาการของผู้เรยี น
7) วเิ คราะห์ผลการประเมนิ มาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังปรับปรุง
การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผ้เู รยี น
1) กาหนดเป้าหมายวางแผนและรับผิดชอบการเรยี นร้ขู องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถงึ แหลง่ การเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคาถาม
คดิ หาคาตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาด้วยวธิ ีการตา่ งๆ
3) ลงมือปฏิบตั ิจริง สรปุ สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รียนร้ดู ้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ใน
สถานการณต์ ่างๆ
4) มปี ฏสิ ัมพันธ์ ทางาน ทากจิ กรรมรว่ มกับกลุม่ และครู
5) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

ส่ือการเรยี นรู้

ส่อื การเรยี นรู้เป็นเครื่องมือส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรยี นเข้าถึง
ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานของหลกั สตู รไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพสือ่ การ
เรียนรู้มีหลากหลายประเภท ท้ังส่ือธรรมชาติส่ือส่ิงพิมพ์ส่ือเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ
ที่มีในท้องถ่ินการเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ที่
หลากหลายของผ้เู รียน

การจัดหาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาข้ึนเองหรือปรับปรุง
เลอื กใช้อย่างมีคณุ ภาพจากสื่อตา่ งๆ ทีม่ ีอยูร่ อบตัวเพอ่ื นามาใชป้ ระกอบในการจัดการเรยี นรู้ท่ีสามารถ
ส่งเสริมและส่ือสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้
ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรู้อย่างแทจ้ รงิ สถานศึกษาเขตพ้นื ที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและผ้มู หี นา้ ท่ี
จัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐานควรดาเนินการดังนี้

1.จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ศูนย์สื่อการเรียนรู้ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรยี นรู้ที่มีประสิทธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชนเพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษาท้องถ่นิ ชุมชน สังคมโลก

2.จัดทาและจัดหาส่ือการเรียนรู้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนเสริมความรู้ให้ผู้สอน
รวมทง้ั จดั หาส่งิ ทมี่ อี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ มาประยุกตใ์ ช้เป็นสื่อการเรยี นรู้

3.เลือกและใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพมีความเหมาะสมมีความหลากหลาย สอดคล้องกับ
วิธีการเรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี น

4.ประเมินคุณภาพของสือ่ การเรียนรทู้ ่เี ลอื กใชอ้ ย่างเปน็ ระบบ
5.ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย เพอื่ พฒั นาสอ่ื การเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน
6..จั ดให้มี การกากับติดตามประเมิ นคุ ณภ าพและประสิทธิภาพ เกี่ ยวกับส่ือและก า รใช้ส่ื อ
การเรียนร้เู ปน็ ระยะๆ และสมา่ เสมอ

211

ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศึกษาควร
คานึงถึงหลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตรวัตถุประสงค์การเรียนรู้
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเน้อื หามีความถูกต้องและทันสมัยไม่
กระทบความมั่นคงของชาติ ไมข่ ัดต่อศีลธรรมมีการใช้ภาษาท่ีถูกต้องรูปแบบการนาเสนอที่เข้าใจง่าย
และนา่ สนใจ

แนวปฏิบัตใิ นการวดั และประเมินผล

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน ซึ่ง
กาหนดส่ิงท่ีผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ซ่ึงจะประกอบด้วย ความรู้
ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมอันพึงประสงค์ เม่ือผู้เรียนไดร้ บั การพฒั นาไปแล้วนอกจาก
จะมีความร้คู วามสามารถ ตลอดจนคุณธรรมจรยิ ธรรมท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วัด
แล้ว จะนาไปสู่การมีสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการอีก
ด้วย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีหลักสูตรกาหนดน้ันต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนา ผ่านการ
จัดการเรียนการสอน การปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในลักษณะต่าง ๆ จนตกผลึกเป็นคุณธรรม
จรยิ ธรรม ซ่งึ ใชเ้ วลาในการเกบ็ ข้อมลู พฤติกรรมเพื่อนามาประเมินและตัดสิน

หลกั การดาเนินการวดั และประเมินผลการเรยี น

ข้อ 6 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นใหเ้ ป็นไปตามหลักการในตอ่ ไปนี้
6.1 โรงเรียนเป็นผู้รบั ผดิ ชอบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นของผ้เู รยี น

โดยเปิดโอกาสใหท้ กุ ฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ งมีสว่ นร่วม
6.2 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐาน

การเรียนรู้ และ ตัวช้ีวัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดในหลักสูตร และจัดให้มีการประเมินการ
อา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

6.3 การวดั และการประเมินผู้เรยี นพิจารณาจากพฒั นาการของผ้เู รียน ความ
ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในการเรียน
การสอน ตามความเหมาะสม

6.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้เป็นสว่ นหนึง่ ของกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน ต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพ่ือให้สามารถวัดและประเมินผล
ผ้เู รียนได้อยา่ งรอบด้าน ท้งั ด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่ิง
ที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดยต้ังอยู่บนพ้ืนฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม
และเชื่อถือได้

6.5 การวัดและประเมนิ ผลผเู้ รยี น มจี ุดม่งุ หมายเพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี น และเพื่อ
ตัดสินผลการเรียน

6.6 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรู้

212

6.7 ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการจัด
การศกึ ษา ตา่ ง ๆ

6.8 ให้สถานศึกษาจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเป็นหลักฐานการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษา และรับรองผลการเรยี นรู้ของ
ผู้เรียน

วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี น

ข้อ 7 สถานศึกษาตอ้ งดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผลให้ครบองค์ประกอบทง้ั 4 ดา้ น คอื
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และ
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน

7.1 การประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ั้ง 8 กลุ่มสาระ เป็นการ
ประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิด ท่ีกาหนดอยูใ่ นตัวช้ีวัดในหลักสูตร ซึ่งจะ
นาไปสูก่ ารสรปุ ผลการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ปฏิบัติดงั น้ี

7.1.1 แจ้งใหผ้ ู้เรียนทราบตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ วิธีการวดั และประเมินผล
การเรยี น เกณฑ์การผ่านแต่ละตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ และเกณฑข์ ัน้ ตา่ ของการผา่ นรายวชิ า ก่อน
สอนรายวิชาน้ันๆ

7.1.2 ผลการเรียนรจู้ ะตอ้ งครอบคลมุ ความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรม และค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์

7.1.3 ประเมินผลกอ่ นเรยี นเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผเู้ รยี น

7.1.4 วัดและประเมินผลระหวา่ งการเรียนการสอนแต่ละหน่วยอย่างสมา่
เสมอ เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมลู มาปรบั ปรุงการสอนให้สอดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรียน หลังการประเมิน
ต้องแจง้ ผลการประเมนิ ใหผ้ ู้เรียนทราบ เพ่อื ผู้เรียนจะได้พฒั นาตนเองไปสูเ่ ป้าหมายท่ีกาหนด

7.1.5 วดั และประเมินผลกลางภาคเรียนอย่างนอ้ ย 1 ครั้งโดยครูผสู้ อน
เป็นผู้กาหนดตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้

7.1.6 กาหนดสัดส่วนคะแนน ระหวา่ งภาคเรียน : ปลายภาคเรียน
ดงั นคี้ อื รายวชิ าในกล่มุ สาระภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ และ
ภาษาตา่ งประเทศ กาหนดใหใ้ ช้สดั สว่ น 70 : 30 ส่วนรายวชิ าในกลุม่ สาระสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ศลิ ปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี กาหนดให้ใช้สัดส่วน 80 : 20

7.1.7 ตดั สนิ ผลการเรียน โดยนาคะแนนระหวา่ งภาคเรยี นรวมกับคะแนน
ปลายภาค แลว้ นามาเปลยี่ นระดบั ผลการเรียน

7.1.8 ใชต้ วั เลขแสดงระดับผลการเรยี นในแต่ละรายวิชา ดงั นี้
4 หมายถงึ มผี ลการเรยี นดเี ยยี่ ม มีคะแนนระหวา่ ง 80-100
3.5 หมายถึง มผี ลการเรยี นดีมาก มีคะแนนระหวา่ ง 75-79
3 หมายถงึ มีผลการเรยี นดี มีคะแนนระหว่าง 70- 74

213

2.5 หมายถึง มีผลการเรียนคอ่ นข้างดี มีคะแนนระหวา่ ง 65- 69
2 หมายถงึ มีผลการเรียนปานกลาง มีคะแนนระหวา่ ง 60- 64
1.5 หมายถึง มีผลการเรียนพอใช้ มคี ะแนนระหวา่ ง 55- 59
1 หมายถึง มีผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ้นั ต่า มีคะแนนระหว่าง 50-54
0 หมายถึง มีผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ มีคะแนนระหว่าง 0-49

7.1.9 ให้ใช้ตัวอักษรแสดงผลการเรยี นทมี่ เี ง่อื นไขในแต่ละรายวิชา ดังน้ี
มส หมายถงึ ไมม่ ีสทิ ธเ์ิ ข้ารับการประเมนิ ผลปลายภาคเรียน
ร หมายถึง รอการตดั สิน หรอื ยังตัดสนิ ไม่ได้

7.1.10 กรณีท่ผี ้เู รียนมีผลการเรียน “ 0 ” “ ร ” หรือ “ มส ” ให้ดาเนนิ การ
ซอ่ มเสรมิ ปรับปรุงแก้ไขผเู้ รยี นใหเ้ สรจ็ สนิ้ ในภาคเรยี นต่อไป

7.2 การประเมนิ ความสามารถอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ใหถ้ ือปฎิบตั ิดงั นี้
7.2.1 ให้ครูผ้สู อนดาเนินการประเมนิ และนาผลการประเมินไปใชป้ รบั ปรงุ พฒั นา

ผเู้ รยี นอย่างต่อเนื่อง
7.2.2 การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน กาหนดรายการประเมินจานวน

5 ขอ้ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3
ข้อที่ 1 สามารถคัดสรรสอื่ ทต่ี ้องการอา่ นเพ่ือหาข้อมูลสารสนเทศได้ตาม

วัตถปุ ระสงค์
สามารถสรา้ งความเข้าใจและประยกุ ต์ความรจู้ ากการอ่าน

ข้อที่ 2 สามารถจบั ประเด็นสาคัญและประเดน็ สนับสนนุ โต้แย้ง
ข้อท่ี 3 สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลาดับความ
และความเปน็ ไปไดข้ องเรอ่ื งท่ีอ่าน
ขอ้ ที่ 4 สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ น
ข้อที่ 5 สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง สนับสนุน

โน้มนา้ ว โดยการเขียนส่ือสารรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผงั ความคดิ เปน็ ต้น
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6
ขอ้ ท่ี 1 สามารถอ่านเพื่อการศกึ ษาคน้ ควา้ เพม่ิ พนู ความรู้ ประสบการณ์ และการ

ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั
ขอ้ ที่ 2 สามารถจบั ประเด็นสาคญั ลาดบั เหตกุ ารณ์จากการอ่านสอื่ ที่มคี วามซบั ซอ้ น
ข้อที่ 3 สามารถวิเคราะห์สง่ิ ที่ผ้เู ขียนตอ้ งการสื่อสารกบั ผอู้ า่ น และสามารถวพิ ากษ์

ใหข้ อ้ เสนอแนะในแง่มุมตา่ ง ๆ
ข้อท่ี 4 สามารถประเมนิ ความนา่ เชื่อถือ คุณค่า แนวคิดทไี่ ดจ้ ากสงิ่ ทีอ่ ่าน

อย่างหลากหลาย
ข้อที่ 5 สามารถเขียนแสดงความคดิ เหน็ โต้แยง้ สรุป โดยมีข้อมูลอธบิ าย สนนั สนุน

อย่างเพียงพอ และสมเหตสุ มผล
7.2.3 การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน กาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น 4
ระดบั ดังนี้

214

3 หมายถึง ดีเยี่ยม ผเู้ รยี นมผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิด
วเิ คราะห์และเขยี นที่มีคุณภาพดีเลศิ อย่เู สมอ

2 หมายถึง ดี ผเู้ รียนมีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขียน ที่มีคณุ ภาพเป็นที่ยอมรับ

1 หมายถึง ผ่าน ผเู้ รียนมีผลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ
วิเคราะห์และเขียน ที่มีคณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรับ แต่ยังมขี ้อบกพรอ่ งบางประการ

0 หมายถึง ไมผ่ า่ น ผเู้ รียนไม่มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด
วเิ คราะห์ และเขียน หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานนั้นยังมขี อ้ บกพร่องท่ีตอ้ งไดร้ บั การปรบั ปรงุ แก้ไขหลาย
ประการ

7.2.4 คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
นาผลการประเมนิ ของครผู ้สู อนทกุ คน มาสรุปผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์
และเขยี น ทกุ ภาคเรยี นตามเกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกาหนด และนาผลการประเมินไปใชป้ รบั ปรุงพฒั นา
ผเู้ รยี นอย่างตอ่ เนอื่ ง

7.2.5 คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นของ
ผู้เรยี น ดาเนนิ การประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนของผเู้ รียนในปีสุดท้าย
ของการศึกษาภาคบังคบั /การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

7.3 การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ใหถ้ อื ปฎิบัตดิ ังน้ี
7.3.1 ให้ครูผูส้ อนดาเนนิ การประเมินควบคไู่ ปกบั กระบวนการเรยี นการสอน และ

นาผลการประเมนิ ไปใชป้ รับปรงุ พัฒนาผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
7.3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รยี นโรงเรียนโนนหนั วิทยายน กาหนด

รายการประเมนิ จานวน 8 ขอ้ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้
ข้อท่ี 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตัวช้วี ัด 1.1 เป็นพลเมอื งดขี องชาติ
1.2 ธารงไว้ซงึ่ ความเปน็ ชาตไิ ทย
1.3 ศรัทธา ยึดมนั่ และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศาสนา
1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ขอ้ ที่ 2 ซอื่ สัตย์สุจริต
ตวั ชีว้ ัด 2.1 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่ ตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ
2.2 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ต่อผู้อื่นทงั้ ทางกาย วาจา ใจ
ขอ้ ที่ 3 มวี นิ ยั
ตวั ชว้ี ัด 3.1 ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บข้อบงั คับของ

ครอบครวั โรงเรยี น และสังคม
ข้อที่ 4 ใฝเ่ รียนรู้
ตัวชว้ี ดั 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน และเข้ารว่ มกิจกรรมการ

เรียนรู้
4.2 แสวงหาความรตู้ ่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ย

การเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรปุ เป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
ขอ้ ท่ี 5 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง

215

ตวั ช้วี ดั 5.1 ดาเนินชวี ติ อยา่ งพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม
5.2 มภี มู ิคุ้มกันในตัวท่ดี ี ปรับตวั เพื่ออย่ใู นสงั คมได้อย่างมี

ความสขุ
ขอ้ ท่ี 6 มงุ่ มนั่ ในการทางาน
ตัวช้วี ดั 6.1 ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในหน้าท่ีการงาน
6.2 ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่ือให้งานสาเร็จ
ตามเป้าหมาย
ข้อท่ี 7 รกั ความเปน็ ไทย
ตวั ชว้ี ัด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย
และมีความกตัญญกู ตเวที
7.2 เหน็ คุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการส่อื สารได้อยา่ งถกู ต้อง
เหมาะสม
7.3 อนรุ ักษ์ และสืบทอดภมู ปิ ญั ญาไทย
ข้อที่ 8 มีจิตสาธารณะ
ตวั ชีว้ ดั 8.1 ช่วยเหลือผู้อ่ืนดว้ ยความเต็มใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน
8.2 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชมุ ชน และ

สังคม
7.3.3 การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ กาหนดเกณฑก์ ารตัดสนิ เป็น 4

ระดบั ดงั นี้
3 หมายถงึ ดีเยีย่ ม ผ้เู รียนปฏิบตั ิตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสยั

และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันเพือ่ ประโยชนส์ ุขของตนเองและสงั คม
2 หมายถึง ดี ผ้เู รยี นมคี ณุ ลกั ษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

เพ่ือใหเ้ ปน็ การยอมรับของสังคม
1 หมายถึง ผ่าน ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์และเง่อื นไข

ที่สถานศึกษากาหนด
0 หมายถงึ ไมผ่ า่ น ผู้เรียนรบั รแู้ ละปฏิบัตไิ ดไ้ ม่ครบตามกฎเกณฑ์

และเงื่อนไขท่ีสถานศกึ ษากาหนด
7.3.4 คณะกรรมการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น นาผลการ

ประเมินของครผู ้สู อนทกุ คน มาสรุปผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียนทกุ ภาคเรียน
ตามเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด และนาผลการประเมนิ ไปใช้ปรับปรงุ พฒั นาคณุ ลกั ษณะผู้เรียนอยา่ ง
ตอ่ เนอื่ ง

7.3.5 คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผ้เู รียนดาเนนิ การ
ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น ในปสี ุดท้ายของการศึกษาภาคบงั คับ/การศึกษาข้นั
พน้ื ฐาน

7.4 การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ใหถ้ อื ปฏบิ ัตดิ งั นี้
7.4.1 ใหค้ รทู ี่ปรึกษากจิ กรรมเปน็ ผปู้ ระเมนิ การเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนตาม

เกณฑ์ ที่สถานศึกษากาหนด

216

7.4.2 ใหม้ กี ารวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์ของกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่
พฒั นา ปรบั ปรงุ ผูเ้ รยี น และประเมนิ เม่ือสนิ้ ภาคเรยี นเพอ่ื พิจารณาการผ่านเกณฑ์

7.4.3 ให้ประเมินและตดั สินเปน็ รายกจิ กรรม และกาหนดเกณฑ์การผา่ นกจิ กรรม
พัฒนาผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ มเี วลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม และผา่ น
จดุ ประสงคข์ องกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

7.4.4 การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น จะตอ้ งพิจารณาทัง้ เวลาการเข้าร่วม
กจิ กรรม และการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ของผเู้ รยี นตามเกณฑข์ องแต่ละกิจกรรม และให้ผลการประเมนิ
เป็นผ่าน และไม่ผ่าน

กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน มี 3 ลกั ษณะ คือ
1) กจิ กรรมแนะแนว
2) กิจกรรมนักเรียน ซ่ึงประกอบดว้ ย

(1) กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ และ
นักศึกษาวิชาทหาร โดยผู้เรียนเลือกอย่างใดอยา่ งหนึง่ 1 กจิ กรรม

(2) กจิ กรรมชมุ นมุ หรอื ชมรม อีก 1 กิจกรรม
3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

การตดั สนิ ผลการเรียน

ข้อ 8 การตัดสินผลการเรียนใหถ้ อื ปฏิบตั ดิ งั น้ี
8.1 พจิ ารณาตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวชิ า โดยประเมินผลเปน็ รายภาค

เรียน ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมดในรายวิชา
นนั้ ๆ

8.2 ผเู้ รยี นตอ้ งได้รับการประเมินผลทกุ ตัวช้วี ดั
8.3 ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รบั การตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า

8.4 ผ้เู รยี นตอ้ งได้รับการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
คุณลักษณะอนั พงึ
ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ผ่าน ทุกขอ้ ทุกกิจกรรม

217

ข้อ 9 การให้ระดบั ผลการเรยี น
9.1 การตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกล่มุ สาระการเรียนรู้ ให้ใช้ระบบตวั เลขแสดง

ระดบั ผลการเรียนเปน็ 8 ระดับ ดงั นี้

ระดับผลการเรยี น ความหมาย ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ

4 ผลการเรยี นดีเยย่ี ม 80 - 100

3.5 ผลการเรียนดมี าก 75 - 79

3 ผลการเรียนดี 70 – 79

2.5 ผลการเรียนคอ่ นข้างดี 65 - 69

2 ผลการเรียนปานกลาง 60 - 64

1.5 ผลการเรยี นพอใช้ 55 - 59

1 ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่าทกี่ าหนด 50 - 54

0 ผลการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ขัน้ ตา่ 0 - 49

ในกรณที ไี่ ม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเปน็ 8 ระดบั ไดใ้ หใ้ ช้ตัวอกั ษรระบุเงอ่ื นไขของผล

การเรยี น ดังน้ี

“ มส ” หมายถึง ผูเ้ รยี นไม่มสี ทิ ธเิ์ ข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนอื่ งจากผู้เรียนมเี วลา

เรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นในแตล่ ะรายวชิ า และไมไ่ ด้รับการผอ่ นผนั ให้เขา้ รับการวัดผล

ปลายภาคเรยี น

“ ร ” หมายถึง รอการตดั สนิ และยงั ตดั สินผลการเรียนไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากผู้เรยี นไมม่ ีขอ้ มลู ผล

การเรียนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ไดว้ ัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรยี น ไม่ได้ส่งงานท่ี

มอบหมายให้ทา ซง่ึ งานนนั้ เป็นสว่ นหนง่ึ ของการตดั สินผลการเรียนหรือมเี หตุสดุ วสิ ยั ทีท่ าให้

ประเมนิ ผลการเรียนไมไ่ ด้

9.2 การประเมนิ ความสามารถอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ให้ครูผู้สอนดาเนินการประเมนิ

และนาผลการประเมินไปใช้ปรับปรงุ พฒั นาผู้เรียนอยา่ งต่อเน่อื ง และตัดสนิ ผลการประเมนิ เป็น 4

ระดับ ดังน้ี

3 หมายถึง ดีเยี่ยม ผู้เรียนมผี ลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน

คดิ วิเคราะห์และเขียน ที่มคี ุณภาพดเี ลศิ อยู่เสมอ

2 หมายถงึ ดี ผเู้ รยี นมผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอา่

คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน ทม่ี ีคุณภาพเป็นท่ียอมรับ

1 หมายถึง ผา่ น ผู้เรยี นมผี ลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น

คิดวิเคราะห์และเขียน ที่มคี ุณภาพเปน็ ทยี่ อมรับแตย่ ังมขี ้อบกพรอ่ งบางประการ

0 หมายถงึ ไม่ผ่าน ผู้เรยี นไมม่ ีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการ

อ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานน้นั ยังมขี ้อบกพร่องทต่ี อ้ งไดร้ ับการปรับปรุง

แก้ไขหลายประการ

9.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี น ให้ครผู ้สู อนดาเนนิ การประเมิน

218

ควบคูไ่ ปกบั กระบวนการเรยี นการสอน และนาผลการประเมินไปใช้ปรบั ปรงุ พัฒนาผู้เรยี นอย่าง
ต่อเนอ่ื งซงึ่ กาหนดเกณฑ์การตดั สินเปน็ 4 ระดบั ดังน้ี

3 หมายถึง ดีเยย่ี ม ผ้เู รยี นปฏบิ ัตติ นตามคุณลักษณะจนเปน็ นสิ ยั และ
นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันเพื่อประโยชน์สขุ ของตนเองและสงั คม

2 หมายถึง ดี ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์เพื่อใหเ้ ป็น
การยอมรับของสงั คม

1 หมายถึง ผา่ น ผูเ้ รยี นรับรู้และปฏิบัตติ ามกฎเกณฑแ์ ละเงอื่ นไขที่
สถานศกึ ษากาหนด

0 หมายถึง ไมผ่ ่าน ผูเ้ รียนรบั รแู้ ละปฏบิ ัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไข
ท่สี ถานศึกษากาหนด

9.4 การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จะต้องพจิ ารณาทง้ั เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม และ
การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ของผเู้ รยี นตามเกณฑ์ของแตล่ ะกจิ กรรม และให้ผลการประเมินเปน็ ผ่าน และไม่
ผา่ น ให้ใช้ตวั อกั ษรแสดงผลการประเมิน ดงั นี้

“ ผ ” หมายถึง ผเู้ รียนมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 ของเวลา
เรยี นแตล่ ะกจิ กรรมผเู้ รยี นจะต้องปฏิบัติกิจกรรมผ่านจุดประสงค์ของแตล่ ะกิจกรรมไม่ต่ากวา่
รอ้ ยละ 60

“ มผ ” หมายถึง ผ้เู รยี นขาดเกณฑ์ใดเกณฑห์ น่ึงจากเกณฑท์ กี่ าหนดให้ผา่ น
ในกรณีท่ผี เู้ รียนได้ผลการเรียน “ มผ ” ครูผ้สู อนต้องจัดซ่อมเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นทากิจกรรมในส่วนท่ี
ผเู้ รยี นไมไ่ ด้เข้ารว่ มหรอื ไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ น แล้วจงึ เปลยี่ นผลการเรยี นจาก “ มผ ” เป็น “ ผ ” ได้
ท้งั น้ี ดาเนนิ การให้เสรจ็ ส้นิ ภายในภาคเรยี นนั้น ๆ ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวสิ ัยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของ
สถานศึกษาท่จี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรยี น สาหรบั ภาคเรยี นท่ี 2 ต้อง
ดาเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปีการศกึ ษานัน้

ข้อ 10 การเปล่ียนผลการเรียน
10.1 การเปล่ยี นผลการเรยี น “ 0 ”

ให้ครผู ู้สอนดาเนนิ การพัฒนาผ้เู รียน โดยจดั สอนซ่อมเสริม ปรับปรงุ แกไ้ ข ผู้เรยี นใน
ตัวช้วี ัดท่ีผู้เรยี นสอบไม่ผา่ นเกณฑข์ ้ันตา่ แลว้ จึงให้ผเู้ รียนสอบแกต้ ัวได้ไม่เกิน 2 ครงั้ และให้ระดบั ผล
การเรยี นใหม่ไมเ่ กนิ “ 1 ” ท้งั น้ีควรดาเนินการให้เสร็จสน้ิ ภายในภาคเรยี นนนั้ ๆ สาหรับภาคเรียน
ท่ี 2 ตอ้ งดาเนินการใหเ้ สร็จสน้ิ ภายในปีการศกึ ษานนั้ ถา้ สอบแกต้ ัว 2 ครงั้ แล้ว ยงั ไดร้ ะดับผลการ
เรียน “ 0 ” อีก ให้สถานศกึ ษาแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนนิ การเก่ยี วกบั การเปลีย่ นผลการเรยี นของ
ผู้เรียน โดยปฏิบตั ิ ดงั นี้

1) ถ้าเปน็ รายวิชาพื้นฐาน ใหเ้ รยี นซ้ารายวิชาน้ัน
2) ถา้ เป็นรายวชิ าเพิ่มเติม ใหเ้ รียนซา้ หรอื เปลยี่ นรายวชิ าเรยี นใหม่ ทัง้ นใ้ี ห้อยู่ใน
ดุลยพินิจของสถานศกึ ษา ในกรณที เี่ ปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบยี นแสดงผลการ
เรยี นว่าเรียนแทนรายวิชาใด
10.2 การเปล่ียนผลการเรียน “ ร ”

การเปล่ยี นผลการเรียน “ ร ” แยกเป็น 2 กรณดี ังนี้
10.2.1 กรณีได้ผลการเรียน “ ร ” เพราะเหตุสดุ วิสยั เช่น เจ็บป่วย
ฯลฯ เม่ือ

219

ผูเ้ รยี นไดด้ าเนนิ แก้ไข “ ร ” ตามสาเหตแุ ลว้ ให้ได้ระดบั ผลการเรยี นตามปกติ (ตงั้ แต่ 0 - 4)
10.2.2 กรณไี ดผ้ ลการเรียน “ ร ” เพราะเหตุไม่สดุ วสิ ัย เม่อื ผเู้ รยี นไดเ้ ข้า

สอบหรอื สง่ งานแลว้ ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรยี นไมเ่ กิน 1
ถา้ ผู้เรยี นไมด่ าเนินการแกไ้ ข “ ร ” กรณีท่สี ง่ งานไมค่ รบ แตม่ ีผลการประเมิน

ระหว่างภาคเรยี นและปลายภาคเรยี น ให้ครผู ู้สอนนาข้อมลู ทีม่ อี ยูต่ ดั สนิ ผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุ
สุดวสิ ัย ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทีจ่ ะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอีกไม่เกนิ 1 ภาค
เรยี น สาหรบั ภาคเรยี นท่ี 2 ตอ้ งดาเนินการใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในปีการศึกษาน้นั ทัง้ นตี้ ้องดาเนินการ
ใหเ้ สร็จสิน้ ภายในปกี ารศกึ ษานั้น เมอื่ พน้ กาหนดน้แี ล้วให้เรยี นซ้า หากผลการเรยี นเป็น “ 0 ”
ใหด้ าเนนิ แกไ้ ขตามหลักเกณฑ์

10.3 การเปลย่ี นผลการเรยี น “ มส ”
การเปลี่ยนผลการเรยี น “ มส ” มี 2 กรณี ดงั น้ี

10.3.1 กรณผี เู้ รยี นได้ผลการเรยี น “ มส ” เพราะมเี วลาเรยี นไม่ถงึ ร้อย
ละ80 แต่ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของเวลาเรยี นท้ังหมด ใหส้ ถานศกึ ษาจัดให้เรยี นเพิ่มเตมิ โดยใช้
ช่วั โมงสอนซ่อมเสริมหรอื ใชเ้ วลาวา่ ง หรือใชว้ นั หยดุ หรอื มอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรยี นครบ
ตามท่กี าหนดไวส้ าหรบั รายวิชานน้ั แล้วจงึ ใหว้ ดั ผลปลายภาคเป็นกรณพี ิเศษ ผลการแก้ “ มส ” ให้
ได้ระดับผลการเรยี นไม่เกนิ “ 1 ” การแก้ “ มส ” กรณนี ้ีให้กระทาใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศกึ ษา
นั้น ถา้ ผู้เรียนไมม่ าดาเนินการแก้ “ มส ” ตามระยะเวลาทีก่ าหนดไว้นใี้ ห้เรยี นซ้า ยกเว้นมเี หตุ
สดุ วิสัย ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ มส ” ออกไปอีกไม่เกนิ 1 ภาค
เรยี น แตเ่ ม่ือพ้นกาหนดน้ีแลว้ ให้ปฏิบตั ิดงั น้ี

1) ถ้าเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ใหเ้ รียนซา้ รายวชิ าน้นั
2) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพ่ิมเติม ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้ เรยี นซ้า
หรอื เปลี่ยนรายวิชาเรยี นใหม่
10.3.2 กรณีผเู้ รียนไดผ้ ลการเรยี น “ มส ” และมีเวลาเรยี นนอ้ ยกว่า
ร้อยละ 60 ของเวลาเรยี นท้ังหมด ให้สถานศึกษาดาเนินการดังน้ี
1) ถ้าเปน็ รายวิชาพน้ื ฐานให้เรยี นซา้ รายวชิ าน้นั
2) ถา้ เปน็ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษา ให้เรียน
ซา้ หรอื เปลย่ี นรายวชิ าเรยี นใหมใ่ นกรณีท่ีเปล่ยี นรายวิชาเรียนใหม่ ใหห้ มายเหตุในระเบยี นแสดงผล
การเรียนว่าเรยี นแทนรายวชิ าใดการเรียนซ้ารายวชิ า หากผเู้ รยี นได้รบั การสอนซอ่ มเสรมิ และสอบแก้
ตวั 2 ครง้ั แล้วไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ให้เรยี นซ้ารายวชิ านัน้ ทั้งน้ใี ห้อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของ
สถานศึกษาในการจัดให้เรียนซา้ ในช่วงใดชว่ งหนึง่ ทสี่ ถานศกึ ษาเหน็ ว่าเหมาะสม เชน่ พกั กลางวนั
วนั หยดุ ช่วั โมงว่างหลงั เลิกเรียนหรือภาคฤดูรอ้ น ในกรณภี าคเรยี นท่ี 2 หากผเู้ รยี นยงั มีผลการเรยี น
“ 0 ” “ ร ” “ มส ” ให้ดาเนนิ การใหเ้ สร็จสิ้นก่อนเปิดเรียนปกี ารศกึ ษาถัดไป ให้สถานศกึ ษาเปดิ
การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพือ่ แกไ้ ขผลการเรยี นของผูเ้ รยี นได้
10.4 การเปล่ียนผลการเรยี น “ มผ ”
ในกรณีทผ่ี เู้ รยี นไดผ้ ลการเรยี น “ มผ ” สถานศึกษาตอ้ งจัดซอ่ มเสริมให้ผเู้ รยี น
ทากิจกรรมในสว่ นท่ีผูเ้ รยี นไมไ่ ดเ้ ขา้ รว่ ม หรอื ไมไ่ ดท้ าจนครบถว้ นแล้วจึงเปลยี่ นผลการเรียนจาก

220

“ มผ ” เปน็ “ ผ ” ได้ ทัง้ น้ีดาเนินการใหเ้ สร็จส้ินภายในภาคเรยี นน้นั ๆ ยกเวน้ มเี หตสุ ดุ วิสยั ให้อยู่ใน
ดุลยพนิ จิ ของสถานศึกษาท่ีจะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่ตอ้ งดาเนนิ การ
ให้เสร็จสน้ิ ภายในปีการศึกษาน้นั

การเปลยี่ นผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั “ไม่ผา่ น ” ให้
คณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคด์ าเนินการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ปรับปรุง แกไ้ ข
หรือตามวิธกี ารท่ีคณะกรรมการกาหนด เพ่อื ให้ผเู้ รียนผา่ นเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนด

การเปลยี่ นผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั “ ไมผ่ า่ น ”
ใหค้ ณะกรรมการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นดาเนนิ การจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ปรบั ปรุง
แกไ้ ข หรอื ตามวธิ กี ารท่ีคณะกรรมการกาหนด เพ่ือให้ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร
ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้เปิดแผนการเรียนเพ่ิมข้ึนใหม่ คือ ห้องเรียนพิเศษ

วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์(Science-Math Classroom) จึงได้ปรับหลักสูตรสถานศึกษาในปี
การศึกษา 2564 โดยเริ่มใช้กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ในปี
การศึกษา 2564 จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยมีเป้าหมายในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์
จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
เปิดโอกาสให้โรงเรยี นสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับ
ตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ีชัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทย
แลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษ
ที่ 21 และประชาคมอาเซียน


Click to View FlipBook Version