The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ooonononza2539, 2021-04-02 04:12:42

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

251

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบม่งุ เน้นสมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วชิ า ..... 20104 - 2102...... วิชา ...................... อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร.............................
สัปดาหท์ ่ี ........13...... ชือ่ หน่วย เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์
ชือ่ เรอื่ ง........................................เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์.......…….………..............จานวน...4...ชั่วโมง

1. สาระสาคญั

เทอร์มสิ เตอร์ คือ ตวั ตา้ นทานชนดิ หนึ่งทม่ี ีคา่ ความตา้ นทานเปล่ยี นไปตามอุณหภมู ิ คา่ ความต้านทาน
จะเปลีย่ นไปมากหรือนอ้ ยจะขึ้นอยูก่ ับการเปลีย่ นแปลงของอุณหภมู ริ อบ ๆ คา่ ความต้านทานของเทอรม์ ิสเตอร์
จะเปลีย่ นแปลงแบบไม่เชิงเส้น กับอุณหภมู ิเทอร์มิสเตอร์แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ เทอรม์ สิ เตอรช์ นดิ สมั ประสิทธ์ิ
อุณหภมู เิ ป็นลบ เทอรม์ ิสเตอรช์ นดิ สมั ประสิทธอิ์ ณุ หภมู เิ ป็นบวก

วารสิ เตอร์ (Varistor) หรือนยิ มเรยี กชื่อย่อ VDR (Voltage Dependence Resistor) คอื ตวั ต้านทาน
ท่แี ปรคา่ ตามคา่ แรงดัน วารสิ เตอรจ์ ัดเป็นตวั ต้านทานท่ไี ม่เป็นเชงิ เส้น การใชง้ านจะใช้สาหรบั ป้องกนั แรงดนั
เกิน ลกั ษณะการทางานจะคล้ายกบั ซีเนอร์ไดโอดสองตวั ตอ่ หลังชนกัน

2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้

1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับ เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1.เพือ่ ให้มคี วามรเู้ กีย่ วกับการอธิบายโครงสรา้ งและสัญลักษณข์ องทอร์มสิ เตอร์ได้ (ดา้ นความร)ู้
2.เพอ่ื ให้มีทกั ษะในการสังเกตวารสิ เตอรไ์ ด้ (ด้านทกั ษะ)
3.เพอ่ื ให้มเี จตคติที่ดีในการจาแนกชนิดของเทอร์มสิ เตอรไ์ ด้ (ด้านจิตพสิ ยั )
4.เพ่ือนาเทอร์มิสเตอรแ์ ละวาริสเตอรไ์ ปประยุกต์ใช้งานในต่างๆ ได้ (ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/

บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง)

3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.อธิบายโครงสรา้ งและสัญลักษณ์ของทอร์มิสเตอร์ได้ (ดา้ นความรู้)
2.สังเกตวาริสเตอร์ได้ (ด้านทักษะ)
3.จาแนกชนิดของเทอร์มิสเตอร์ได้ (ดา้ นจติ พิสัย)
4.นาเทอรม์ ิสเตอรแ์ ละวารสิ เตอร์ไปประยุกต์ใช้งานในตา่ งๆ ได้ (ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณา

การเศรษฐกิจพอเพยี ง)

252

4. เน้ือหาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ดา้ นความรู้
4.1 โครงสร้างและสญั ลักษณ์ของเทอรม์ ิสเตอร์
4.2 ชนิดของเทอรม์ สิ เตอร์
4.3 วารสิ เตอร์ (Varistor)

4.2 ดา้ นทกั ษะหรือปฏบิ ตั ิ
1. การทดลองที่ 13 เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์
2. แบบทดสอบบทท่ี 13

4.3 ดา้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. นาเทอร์มิสเตอร์และวารสิ เตอร์ไปประยกุ ต์ใชง้ านในตา่ งๆ ได้

5. กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรียนรู้

ข้นั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมครู ข้นั ตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของผเู้ รียน

ขน้ั เตรียม(จานวน 30 นาที) ข้นั เตรยี ม (ใชเ้ วลา 30 นาที)
1.ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนออกมาอธบิ ายโครงสร้างและ 1.ผเู้ รยี นออกมาอธิบายโครงสรา้ งและสัญลกั ษณ์ของ
สัญลกั ษณข์ องทอร์มสิ เตอรต์ ามความเขา้ ใจของตน ทอร์มสิ เตอรต์ ามความเข้าใจของตนอง
อง 2.ผู้เรยี นทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียน
2.ผสู้ อนแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 13 ของหนว่ ยท่ี 13 เรื่อง เทอรม์ สิ เตอร์ และวาริ
เรื่อง เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์ สเตอร์
3.ผูส้ อนให้ผู้เรยี นสงั เกตวาริสเตอรโ์ ดยให้ผู้เรยี น 3.ผเู้ รยี นสงั เกตวาริสเตอรโ์ ดยใหผ้ เู้ รยี นระดม
ระดมความคดิ รว่ มกัน และนาเสนอหนา้ ชั้นเรียน ความคิดรว่ มกนั และนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
ขั้นการสอน (จานวน 180 นาท)ี ข้นั การสอน (จานวน 180 นาท)ี
1.ผู้สอนให้ผู้เรยี นเปดิ หนงั สอื วิชา อุปกรณ์ 1.ผู้เรียนเปิดหนงั สือ วิชา อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์
อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร เรือ่ ง เทอรม์ ิสเตอร์ และ และวงจร เร่อื ง เทอรม์ ิสเตอร์ และวาริสเตอร์
วารสิ เตอร์ หน่วยท่ี 13 หน้าที่ 158-162 หน่วยท่ี 13 หน้าท่ี 158-162 พร้อมจดบนั ทึก
2.ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนจาแนกชนดิ ของเทอรม์ ิสเตอร์ เน้ือหาท่ีสาคัญ
3.ผ้สู อนใหผ้ ู้เรียนทาการทดลองท่ี 13 เทอร์ 2.ผเู้ รยี นจาแนกชนิดของเทอรม์ ิสเตอร์
มสิ เตอร์ และวาริสเตอร์ หน้า 163-166 3.ผ้เู รียนทาการทดลองท่ี 13 เทอร์มสิ เตอร์ และ
4.ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนสบื ค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต วารสิ เตอร์ หนา้ 163-166
4.ผ้เู รยี นสืบคน้ ข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ น็ต

253

ขนั้ สรปุ (จานวน 30 นาท)ี ขัน้ สรุป(จานวน 30 นาท)ี
1.ผูส้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเนื้อหาท่ีได้เรยี นให้มี 1.ผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาที่ไดเ้ รยี นใหม้ ีความ
ความเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน เขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั
2.ผูส้ อนให้ผ้เู รยี นทาแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 13 หนา้ ท่ี 2.ผ้เู รยี นแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 13 หนา้ ที่ 167-168
167-168 3.ผู้เรียนศึกษาเพิม่ เติมนอกห้องเรียน ด้วย
3.ผสู้ อนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย PowerPoint ที่จดั ทาข้ึน

PowerPoint ทีจ่ ดั ทาขึน้

รวมเวลาเรียนท้ังหมด 240 นาที
หรือ 4 ช่ัวโมงเรียน

6. สอื่ การเรียนการสอน/การเรียนรู้

6.1 ส่ือส่ิงพิมพ์
1) เอกสารประกอบการเรียนวชิ าอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจรของนายชิงชยั ศรีสุรัตน์
2) แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 13 เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์
3) แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 13 เทอรม์ สิ เตอร์ และวาริสเตอร์
4) เอกสารการเรียนรูห้ น่วยท่ี 13 เทอร์มสิ เตอร์ และวาริสเตอร์
5) แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 13 เทอร์มิสเตอร์ และวารสิ เตอร์
6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ย

6.2 สื่อโสตทัศน์
1) เคร่ืองฉายภาพ (projector)
2) งานนาเสนอหนว่ ยที่ 13 เทอรม์ ิสเตอร์ และวาริสเตอร์

6.3 สอื่ ของจรงิ
1) เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์

7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมุด
2. ศนู ย์ Internet สมเด็จพระเทพฯ
3. ห้องปฏบิ ตั กิ ารเขยี นแบบเครือ่ งกลด้วยคอมพิวเตอร์

254

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. อาคารวทิ ยบริการ วิทยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดนิ

8. งานท่มี อบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. ตอบคาถามก่อนเรยี น เป็นการนาเข้าสูบ่ ทเรียน

8.2 ขณะเรยี น
1. ตอบคาถามระหวา่ งเรียน

8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
2. ทาแบบฝกึ หัดหลังเรยี น
3. ทาใบกจิ กรรมท่ี 13

9. ผลงาน/ชิน้ งาน ท่เี กดิ จากการเรียนรขู้ องผ้เู รียน

การทดลองที่ 12 เทอรม์ สิ เตอร์ และวารสิ เตอร์ แบบทดสอบบทท่ี 13

10. เอกสารอ้างอิง

1. หนงั สือเรยี นวิชาอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจรของนายชิงชัย ศรีสรุ ัตน์

11. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กับรายวชิ าอื่น

1. บูรณาการกบั วิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพดู การอ่าน การเขยี นและการฝึกปฏิบัติตนทาง
สงั คมดา้ นการเตรียมความพร้อม ความรบั ผิดชอบ ความสนใจใฝร่ ู้

2. บรู ณาการกบั วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใชท้ รัพยากรอย่างประหยัด

12. หลักการประเมนิ ผลการเรยี น

12.1 กอ่ นเรยี น
1. ตรวจสอบระดับความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนกอ่ นเร่ิมการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. ตรวจสอบความสนใจในการเรยี นของผู้เรียนโดยการถาม-ตอบคาถามในระหว่างที่เรยี น

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนพร้อมกับเปรยี บเทียบแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ตรวจแบบฝึกหดั หลังเรยี นเพ่ือประเมลิ ระดับความเข้าใจของผู้เรียน
3. ตรวจใบกิจกรรม

255

13. รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี น

จดุ ประสงคข์ ้อที่ 1 การประเมนิ ผลความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนกอ่ นเรยี น
1. วธิ ีการประเมนิ : ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรียน และถามคาถามเพ่ือประเมินระดับความรขู้ องผเู้ รยี น
2. เครือ่ งการประเมนิ : แบบทดสอบก่อนเรียน
3. เกณฑ์การประเมิน : ใช้อา้ งองิ เป็นตัวเปรียบเทียบกบั ผลการทดสอบหลงั เรียน
4. เกณฑ์การผา่ น : นกั เรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไม่น้อยกว่าครง่ึ หน่ึงของจานวนข้อของแบบ

ทดสอบทง้ั หมด
จดุ ประสงค์ข้อท่ี 2 การประเมนิ ผลความรูค้ วามเข้าใจของผูเ้ รียนหลงั เรียน
1. วธิ กี ารประเมนิ : ให้ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2. เครือ่ งการประเมนิ : แบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑ์การประเมนิ : ใช้เปรยี บเทยี บกบั ผลการทดสอบกอ่ นเรียน
4. เกณฑ์การผ่าน : นกั เรียนสามารถทาแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกวา่ การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

สปั ดาหท์ ่ี .....13.....ช่ือหนว่ ยการสอน เทอร์มิสเตอร์ และวารสิ เตอร์
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือ การประเมินผลความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรียนก่อนเรียน
ขอ้ คาถาม
คาส่ัง จงเลอื กคาตอบให้ถูกต้องท่สี ุดเพียงคาตอบเดียว

1. เทอร์มิสเตอร์มีหลักการทางานอย่างไร
ก. ค่าความต้นทานเปล่ยี นตามเวลา
ข. คา่ ความต้นทานเปล่ียนตามแรงดนั
ค. คา่ ความต้นทานเปล่ยี นตามอณุ หภมู ิ
ง. คา่ ความตน้ ทานเปลย่ี นตามแสง

2. เทอรม์ ิสเตอร์ มอี ักษรย่อคือข้อใด
ก. TR
ข. TH
ค. TO
ง. RS

256

3. ระดับแรงดันช่วงท่ีวารสิ เตอร์ที่ทาจากไททาเนียมออกไซด์
ก. ประมาณ 2 V
ข. ประมาณ 2.3 V
ง. ประมาณ 2.7 V
ค. ประมาณ 2.5 V

4. เทอร์มิสเตอรท์ นี่ ิยมใช้กนั มีอยู่ที่แบบ
ก. 1 แบบ
ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ
ง. 4 แบบ

5. NTC. หมายความว่าอยา่ งไร
ก. เทอร์มิสเตอร์ทีม่ ีค่าอณุ หภูมิเปน็ บวก
ข. เทอรม์ สิ เตอรท์ ม่ี ีค่าอุณหภมู เิ ป็นลบ
ค. เทอร์มสิ ตอรท์ ่มี ีคอ่ ุณหภมู ิปล่ยี นแปลงตลอดเวลา
ง. ไม่มีข้อถูก

6. วาริสเตอร์มีหลักการทางานอย่างไร
ก. คา่ ความตา้ นทานเปลย่ี นตามเวลา
ข. คา่ ความต้นทานเปลย่ี นตามอณุ หภูมิ
ค. ค่าความต้นทานเปลีย่ นตามแสง
ง. คา่ ความตา้ นทานเปลย่ี นตามแรงดัน

7. ค่าความตน้ ทานของเทอร์มิสเตอร์มีค่าโดยประมาณอยู่ท่ีเท่าไหร่
ก, 1Ω - 10kΩ
ข. 1Ω - 100 kΩ
ค. 100Ω - 1 MΩ
ง. 100Ω - 10 MΩ

8. วารสิ เตอร์ที่ทาจกสังกะสีออกไซด์ จะนาไปใชง้ านประเภทใด
ก. การขจัดสญั ญาณรบกวนท่ีเป็นพลั ซ์กาลงั งานสูง
ข. วงจรรกั ษาระดบั แรงดัน
ค. ปอ้ งกนั อุปกรณ์ทม่ี ีแรงดันต่า
ง. การใชง้ านตอ่ เนื่อง

257

9. การทางานของวารสิ เตอร์เหมือนอุปกรณ์ในข้อใด
ก. ไดแอกและไทรแอก ต่ออนุกรมกนั
ข. ไดแอก 2 ตัว ต่ออนุกรมกัน
ค. ซเี นอรไ์ ดโอด 2 ตวั ตอ่ หลงั ชนกนั
ง. เอสซอี าร์ 2 ตัว ต่อขนานกัน

10. การใช้วารสิ เตอรต์ ้องคานงึ ถงึ สง่ิ ใดบ้าง
ก. คา่ กระแสวาริสเตอร์สงู สุด
ข. คา่ แรงดนั สงู สุด
ค. ด่กาลังงานที่กระจายในตวั วารสิ เตอร์
ง. ถูกทุกข้อ

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

สปั ดาหท์ ่ี .....13.....ชื่อหนว่ ยการสอน เทอร์มิสเตอร์ และวารสิ เตอร์
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อ การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนกอ่ นเรยี น
ขอ้ คาถาม
คาสัง่ จงเลือกคาตอบให้ถูกต้องทีส่ ดุ เพียงคาตอบเดยี ว

1. เทอร์มสิ เตอร์มหี ลกั การทางานอย่างไร
ก. ค่าความต้นทานเปลย่ี นตามเวลา
ข. ค่าความต้นทานเปล่ียนตามแรงดัน
ค. ค่าความต้นทานเปลีย่ นตามอณุ หภมู ิ
ง. คา่ ความตน้ ทานเปลีย่ นตามแสง

2. เทอร์มิสเตอร์ มีอักษรย่อคือข้อใด
ก. TR
ข. TH
ค. TO
ง. RS

3. ระดับแรงดันช่วงที่วาริสเตอร์ที่ทาจากไททาเนียมออกไซด์
ก. ประมาณ 2 V
ข. ประมาณ 2.3 V
ง. ประมาณ 2.7 V
ค. ประมาณ 2.5 V

258

4. เทอร์มิสเตอร์ทน่ี ิยมใช้กันมีอยูท่ ี่แบบ
ก. 1 แบบ
ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ
ง. 4 แบบ

5. NTC. หมายความวา่ อยา่ งไร
ก. เทอร์มสิ เตอรท์ ี่มีค่าอณุ หภูมิเป็นบวก
ข. เทอรม์ สิ เตอรท์ มี่ ีค่าอุณหภูมิเป็นลบ
ค. เทอรม์ สิ ตอรท์ ่ีมีค่อุณหภูมิปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ง. ไมม่ ขี ้อถูก

6. วารสิ เตอร์มหี ลักการทางานอยา่ งไร
ก. ค่าความตา้ นทานเปลยี่ นตามเวลา
ข. ค่าความตน้ ทานเปลยี่ นตามอณุ หภมู ิ
ค. คา่ ความต้นทานเปลยี่ นตามแสง
ง. ค่าความต้านทานเปลีย่ นตามแรงดัน

7. ค่าความตน้ ทานของเทอร์มสิ เตอร์มคี ่าโดยประมาณอยู่ทีเ่ ท่าไหร่
ก, 1Ω - 10kΩ
ข. 1Ω - 100 kΩ
ค. 100Ω - 1 MΩ
ง. 100Ω - 10 MΩ

8. วาริสเตอร์ที่ทาจกสงั กะสีออกไซด์ จะนาไปใชง้ านประเภทใด
ก. การขจัดสัญญาณรบกวนท่ีเปน็ พลั ซ์กาลงั งานสูง
ข. วงจรรักษาระดบั แรงดนั
ค. ปอ้ งกนั อปุ กรณ์ท่ีมีแรงดนั ต่า
ง. การใช้งานต่อเนื่อง
9. การทางานของวารสิ เตอร์เหมอื นอุปกรณ์ในขอ้ ใด
ก. ไดแอกและไทรแอก ต่ออนุกรมกนั
ข. ไดแอก 2 ตวั ต่ออนุกรมกัน
ค. ซเี นอรไ์ ดโอด 2 ตัว ตอ่ หลงั ชนกัน
ง. เอสซอี าร์ 2 ตัว ตอ่ ขนานกัน

259

10. การใช้วารสิ เตอร์ตอ้ งคานึงถึงสิ่งใดบ้าง
ก. คา่ กระแสวาริสเตอร์สูงสุด
ข. ค่าแรงดันสงู สดุ
ค. ด่กาลงั งานที่กระจายในตัววารสิ เตอร์
ง. ถูกทุกข้อ

16. ใบความร้ทู ่ี ...13.....

สัปดาหท์ ี่ .....13.....ช่ือหน่วยการสอน เทอรม์ สิ เตอร์ และวารสิ เตอร์
วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ การประเมนิ ผลความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รยี นกอ่ นเรียน

16.1โครงสร้างและสัญลักษณ์ของเทอรม์ สิ เตอร์
เทอรม์ สิ เตอร์ หมายถึง ความรอ้ น ดังนนั้ เทอรม์ สิ เตอรจ์ งึ เรยี กอีกอย่างหนงึ่ ว่า “ตวั ต้านทานความ
ร้อน” เปน็ อุปกรณส์ ารกง่ึ ตวั นาทท่ี ามาจากโลหะออกไซด์

16.2ชนดิ ของเทอร์มสิ เตอร์
1. NTC (Negative Temperature Coefficient) เป็นเทอร์มิสเตอร์แบบท่ีค่าความต้านทานจะ
ลดลงเมอ่ื อณุ หภูมิสงู ข้นึ
2. PTC (Positive Temperature Coefficient) เป็นเทอร์มิสเตอร์แบบท่ีค่าความต้านทานจะเพิ่มขึ้นเม่ือ
อุณหภูมิสูงข้นึ

16.3 วาริสเตอร์ (Varistor)

วาริสเตอร์ (Varistor) หรือนิยมเรียกชื่อย่อ VDR (Voltage Dependence Resistor) คือ ตัว
ต้านทานท่ีแปรค่าตามค่าแรงดัน วาริสเตอร์จัดเป็นตัวต้านทานท่ีไม่เป็นเชิงเส้นโครงสร้างภายในลติ มาจากสาร
กึ่งตัวนา ซิลิกอนคาร์ไบด์ (Sic) , สังกะสีออกไซด์ (Zno2) หรือไททาเนียมออกไซด์ (Tio2) โดยบดสารเหล่าน้ี
ใหเ้ ป็นเซรามกิ

ลักษณะเด่นของตัวต้านทานท่ีแปรค่าตามแรงดันน้ีคือ คุณสมบัติระหว่างความต้านทานต่อแรงดันนั้น
จะสมมาตรกนั และไม่ขนึ้ กบั ข้ัวของ แรงดันดว้ ย ดังรปู ที่ 13.4 ถึงแมว้ า่ ในความเป็นจรงิ แล้วหนา้ สมั ผัสเด่ียวใดๆ
ของสารท่ีใช้ทาตัวต้านทานจะยอมให้กระแสไหลผ่านได้ทางเดียวก็ตาม แต่การกระจายอย่างไม่เป็นระเบียบ
ของหน้าสัมผัสจานวนมากซึ่งต่ออนุกรมและขนาน กันมีผลทาให้เกิดการเรียงกระแสในทิศทางตรงกันข้ามมี
จานวนเท่าๆ กัน ดังน้ันตัวต้านทานชนิดนี้จึงสามารถนาไปใช้งานที่เกี่ยวกับไฟกระแสสลับ ซึ่งไดโอดท่ีนิยม
นามาใช้ป้องกันไม่สามารถใช้งานได้ การทางานของวาริสเตอรน์ ้ันสามารถทาความเขา้ ใจได้งา่ ยโดยพิจารณาว่า

260

เป็นซีเนอร์ไดโอดสองตัวต่อหลังชนกัน เม่ือค่าแรงดันท่ีป้อนให้วาริสเตอร์ต่ากว่าค่าที่กาหนดไว้ กระแสจะไหล
ได้น้อย เน่ืองจากค่าความต้านทานท่ีสูง เม่อื แรงดันเพิ่มขึ้นค่าความตา้ นทานจะลดลงและกระแสจะเพิ่มข้ึนเป็น
ลักษณะ คลืน่ เอกซโ์ พเนนเชยี ล (Exponential) ดังรูปท่ี 13.4

ความสัมพันธ์ระหวา่ งค่าแรงดนั (V) และกระแส (I) ของวารสิ เตอรส์ ามารถอธบิ ายไดด้ ว้ ยสมการ

เมื่อ V คือ ค่าของแรงดนั ไฟฟ้า มหี นว่ ยเปน็ โวลต์ (V)

I คือ ค่ากระแสไฟฟา้ มีหน่วยเปน็ แอมแปร์ (A)

C และ เปน็ ค่าคงท่ีของสารท่ใี ช้ทาตัวต้านทาน

ในทางปฏิบตั คิ า่ ของ C อยู่ในชว่ ง 14 จนถงึ 3000 การเลือกใช้ชนิดของวารสิ เตอร์ใหเ้ หมาะสมกับ
งานน้ัน ไมจ่ าเปน็ ทเี่ ราตอ้ งรู้คณุ สมบตั ิของมนั อยา่ งแทจ้ ริงเพยี งแตร่ ขู้ ้อมลู บางอย่างเชน่

1. ระดับแรงดันช่วงท่ีวาริสเตอร์เร่ิมทางาน ซ่ึงความแหลมของช่วงแรงดันน้ีเป็นคุณสมบัติท่ีขึ้นอยู่กับ
สารท่ีใช้ทา ยกตัวอย่างเช่น วาริสเตอร์ท่ีทาจากสังกะสีออกไซด์ จะมีช่วงแรงดันที่แหลมกว่าชนิดท่ีทาจาก
ซิลิกอนคาร์ไบด์ ส่วนวาริสเตอร์ที่ทาจากไททาเนียมออกไซด์จะมีช่วงแรงดันค่อนข้างต่า ประมาณ 2.7 โวลต์
แรงดันช่วงท่ีวารสิ เตอรเ์ ร่ิมทางานนี้จะถูกกาหนดมา สาหรับค่ากระแสทเี่ หมาะสมซ่ึงขึน้ อยู่กบั ค่าของวาริสเตอร์

2. ค่าคงทีน่ ้มี ีคา่ น้อยมากสาหรับวารสิ เตอรท์ ่ีทาจากสังกะสีออกไซด์ ซ่งึ หมายความว่า ถงึ แมว้ า่ จะเพ่ิม
ค่าแรงดันเป็นจานวนนอ้ ยแต่จะก่อใหเ้ กิดการเพม่ิ ข้นึ ของกระแสอยา่ งมากมาย

3. การใช้งานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีความสาคัญเมื่อใช้วาริสเตอร์ในวงจรรักษาระดับแรงดันหรือวงจรที่มี
อตั ราการส่งพัลสอ์ ยา่ งเรว็ มาก

การประยกุ ตใ์ ช้งาน

วาริสเตอร์นนั้ ถูกนาไปใช้ในการกาจัดสญั ญาณรบกวนที่เป็นพัลสก์ าลงั งานสูง โดยเฉพาะ เช่น จากแสง
สว่าง หรือ อ่ืนๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในวงจรทม่ี ตี วั เหน่ียวนาถูกเปิดวงจร. การตดั ตอ่ นี้ อาจจะเป็นผลจากสวิตซ์ ฟวิ ส์ หรือ
จากสารก่ึงตวั นาถา้ สารก่ึงตัวนา นเี้ ปน็ ไทริสเตอร์ เราอาจจะคดิ ว่าไม่มปี ัญหาเกดิ ขึน้ เนอ่ื งจากอปุ กรณน์ จ้ี ะเปิด
วงจรเฉพาะจุดท่ีแรงดันของแหล่งจ่ายไฟเท่ากับ ศูนย์ ดังน้ัน จึงไม่น่าที่จะมีแรงดันเหน่ียวนาเกิดขึ้น ซึ่งความ
จริงแล้ว การตัดต่อ จะเกิดข้ึนในขณะเดียวกับท่ีกระแสลดลงต่ากว่า ค่ายึด ( holding value ) ซึ่งเป็น
คา่ กระแสที่จาเปน็ สาหรบั รักษาให้ไทริสเตอร์ยังคงนากระแสอยู่ ค่ากระแสยึดมคี ่าไม่เท่ากับ ศนู ย์ จงึ ทาให้เกิด
แรงเคล่ือนไฟฟ้าเหน่ียวนา จานวนเล็กน้อยข้ึน. ในหลายๆ กรณี พลังงานสนามแม่เหล็กซึ่งเท่ากับ 1 / 2 L(I
กาลัง2) จะถกู กระจายผ่านไดโอด และ ส่วนของความต้านทานท่เี กดิ จากการเหนี่ยวนาด้วยตวั เอง โดยท่ี I เป็น
ค่ากระแสใน ขณะตดั วงจร เน่ืองจากคา่ ความเหนย่ี วนาด้วยตัวเองส่วนใหญ่ แล้วจะเปน็ การควบคมุ ทาง ด้านไฟ

261

กระแสในขณะตดั วงจร และ L เป็นคา่ ความเหนีย่ วนาทั้งหมดของวงจร เนอ่ื งจากค่าความเหน่ียวนาดว้ ยตัวเอง
ส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นการควบคุมทางด้านไฟกระ แสสลับ จึงทาให้ไม่สามารใช้ไดโอดได้. ดังนั้น วาริสเตอร์จึง
เป็นหนทางเดียว ท่จี ะแก้ปญั หานไ้ี ด้

สงิ่ ที่ควรคานึงถงึ ในการเลอื กใช้วารสิ เตอร์สาหรับงานเฉพาะ คือ

1. แรงดันท่ีเป็นยอด ซึ่งอุปกรณ์ท่ีถูกป้องกันสามารถทนได้โดยไม่เกิดความเสยี หายนั้น จะต้องเลือกวาริ

สเตอร์ ทีม่ คี ่าแรงดัน เริม่ ทางานตา่ กวา่ แรงดันทีเ่ ปน็ ยอดน้ี

2. ค่าแรงดันสูงสุด ( VP) ท่ีตกคร่อมวาริสเตอร์ภายใต้เง่ือนไขปกติ ( ในงานเกี่ยวกับไฟกระแสสลับ ค่า

VP = 1.414 Vrms ) เปน็ กฏทีต่ ้องจาไว้วา่ กระแสทไี่ หลผ่านวารสิ เตอร์ที่ระดบั แรงดันขนาดนี้ จะต้อง

ต่ากว่า 1 mA

3. ค่ากระแสทรานซิสเตอรส์ ูงสดุ

4. คา่ กาลังงานทก่ี ระจายตวั ในวาริสเตอร์ ระหว่างมสี ัญญาณรบกวนเกดิ ขน้ึ เมือ่ ตวั วารสิ เตอร์

ตอ่ คร่อมตวั เหนีย่ วนาอยู่ คา่ กาลังงานน้จี ะต้องน้อยกวา่ 1 / 2 L(Iกาลัง2)

5. การกระจายกาลังงานเฉลี่ย โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้าตราส่งพัลส์มีค่าสูง หรือ ถ้าแรงดันเร่ิมทางานไมส่ ูง

เกนิ กวา่ คา่ แรงดนั ปฏบิ ัติงานในภาวะปกติ

262

17. ใบงาน
17 ใบกจิ กรรมท่ี ....13....

สัปดาห์ท่ี .....13....ช่ือหนว่ ยการสอน เทอร์มสิ เตอร์ และวาริสเตอร์
จดุ ประสงค์ เพ่ือ

1. วิเคราะห์และตีความหมาย
11. ตัง้ คาถาม
12. อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ระดมสมอง
13. การประยุกต์ความรสู้ ่งู านอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัตงิ านอาชพี
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับเทอรม์ สิ เตอร์ และวารสิ เตอร์

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรยี น เรอ่ื ง เทอร์มสิ เตอร์ และวาริสเตอร์ ทาใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้เพมิ่ เกีย่ วกบั เทอร์

มสิ เตอร์ คอื ตัวต้านทานชนดิ หนึ่งท่ีมคี ่าความต้านทานเปลยี่ นไปตามอุณหภูมิ ค่าความตา้ นทาน
จะเปลี่ยนไปมากหรือนอ้ ยจะขึน้ อยกู่ ับการเปลี่ยนแปลงของอณุ หภมู ิรอบ ๆ คา่ ความต้านทานของ
เทอรม์ ิสเตอรจ์ ะเปล่ียนแปลงแบบไม่เชิงเสน้ กบั อณุ หภมู ิเทอร์มิสเตอรแ์ บง่ เป็น 2 ชนิดคือ เทอร์
มสิ เตอรช์ นิดสัมประสทิ ธ์อิ ุณหภูมเิ ปน็ ลบ เทอรม์ ิสเตอรช์ นดิ สมั ประสทิ ธอ์ิ ุณหภมู ิเปน็ บวก วาริ
สเตอร์ (Varistor) หรือนยิ มเรียกชอื่ ยอ่ VDR (Voltage Dependence Resistor) คือ ตัวต้านทาน
ทแ่ี ปรคา่ ตามคา่ แรงดัน วารสิ เตอรจ์ ดั เป็นตวั ต้านทานท่ไี มเ่ ป็นเชิงเสน้ การใช้งานจะใชส้ าหรบั
ป้องกนั แรงดนั เกิน ลักษณะการทางานจะคลา้ ยกับ ซีเนอรไ์ ดโอดสองตวั ต่อหลังชนกัน

263

18. แบบประเมินผล
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี นรู้

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 1 อธบิ ายโครงสรา้ งและสัญลกั ษณข์ องทอร์มิสเตอร์ได้

1.วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : บรรยายลกั ษณะวงจรเรียงกระแสเต็มคลน่ื แบบบรดิ จ์ได้ จะ

ได้ 2 คะแนน

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 2 สงั เกตวารสิ เตอร์ได้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สรุปการทางานของวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์ได้ จะ

ได้ 3 คะแนน

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 3 จาแนกชนดิ ของเทอร์มิสเตอรไ์ ด้

1.วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2.เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : สังเกตไดโอดบรดิ จ์แบบตา่ งๆได้ จะได้ 2 คะแนน

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 4 นาเทอร์มิสเตอรแ์ ละวาริสเตอรไ์ ปประยุกต์ใชง้ านในตา่ งๆ

ได้

1.วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : ฝกึ คานวณหาแรงดนั สงู สุดด้านกลับได้ จะได้ 3 คะแนน

264

19. แบบฝึกหดั

1.จงอธิบายโครงสร้างและสัญลักษณ์ของทอร์มสิ เตอร์
2.วาริสเตอร์ คอื
3.เทอร์มสิ เตอร์ มกี ีช่ นิดอะไรบ้าง

265

20. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนร้แู บบม่งุ เน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจดั การเรียนรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หนว่ ยการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านจติ พิสัย

3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอื่ นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรกู้ ่อนเข้า

สอน

ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สู่บทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจ

6. จดั กจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนค้นควา้ เพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

8. จดั กิจกรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกิจกรรมการเรียนรูท้ เ่ี ชอื่ มโยงกับชีวิตจรงิ โดยนาภูมปิ ญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มีสว่ นร่วม

11. จัดกจิ กรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รยี น

14. เอาใจใสด่ ูแลผู้เรียน อยา่ งทว่ั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด

ด้านสือ่ นวัตกรรม แหลง่ การเรยี นรู้

16. ใชส้ ่ือทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรียน

17. ใชส้ ่อื แหล่งการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เปน็ ต้น

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผเู้ รยี น อย่างท่ัวถึง

266

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมินผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสัย

20. ครู ผเู้ รียน ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ี่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบัตดิ ีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไม่มกี ารปฏบิ ตั ิ เฉล่ยี

20.2 ปัญหาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา แนวทางแกป้ ัญหา

ปัญหาที่พบ
ดา้ นการเตรียมการสอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านส่ือ นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

ด้านการวัดประเมนิ ผล

ด้านอน่ื ๆ (โปรดระบุเปน็ ข้อ ๆ)

ลงชอื่ .................................................................... ครูผ้สู อน
( นายศุภกร มง่ิ คา )
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

21. บนั ทึกการนเิ ทศและตดิ ตาม 267
ชอ่ื -สกุล ผู้นิเทศ ตาแหนง่
วนั -เดือน- เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
ปี

268

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วชิ า ..... 20104 - 2102...... วชิ า ...................... อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร.............................
สัปดาหท์ ่ี ........14...... ชอ่ื หน่วย ไดแอก
ช่ือเรอ่ื ง......................................................ไดแอก......................……….………..............จานวน...4...ชวั่ โมง

1. สาระสาคัญ

ไดแอก (DIAC) หรอื “DIODE-AC” เป็นอุปกรณ์จดุ ชนวนไทรแอก ลักษณะโครงสรา้ งจะเปน็ สาร
P-N 3 ชัน้ รอยต่อเหมือนกันกบั ทรานซิสเตอร์ ไดแอกทาหนา้ ทป่ี อ้ งกนั การกระโชกของแรงดันไฟสลับทีอ่ าจ
ทาให้ไทรแอกชารดุ เสยี หาย และทาหน้าท่คี วบคุมเฟสกาหนดเวลาเร่ิมทางานของไทรแอก เมอื่ นาทั้งหมดมา
ประกอบเปน็ วงจร สามารถทาใหว้ งจรทางานหรอื หยดุ ทางานได้ตามการควบคมุ ของไดแอก

2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้

1.แสดงความรู้เกย่ี วกับ ไดแอก

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป
1.เพอ่ื ให้มีความร้เู กี่ยวกบั การบรรยายโครงสร้าง และสัญลกั ษณ์ของไดแอก (ดา้ นความร)ู้
2.เพื่อให้มีทักษะในการวัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ (ด้านทักษะ)
3.เพ่ือให้มีเจตคติท่ดี ีในการตดิ ตามการทางานของไดแอก (ดา้ นจิตพิสัย)
4.เพือ่ วดั และทดสอบไดแอกด้วยโอหม์ มิเตอร์ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม (ด้านคุณธรรม จริยธรรม)

3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1.บรรยายโครงสรา้ ง และสญั ลกั ษณ์ของไดแอกได้ (ดา้ นความร)ู้
2.วัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มิเตอรไ์ ด้ (ดา้ นทักษะ)
3.ตดิ ตามการทางานของไดแอกได้ (ด้านจติ พิสยั )
4.วัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอรไ์ ด้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม (ด้านคุณธรรม จริยธรรม)

4. เนอ้ื หาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ด้านความรู้
4.1 โครงสรา้ งและสญั ลักษณ์ของไดแอก
4.2 การทางานของไดแอก
4.3 การวดั และทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มิเตอร์

269

4.2 ดา้ นทกั ษะหรือปฏิบตั ิ
1. การทดลองท่ี 14 ไดแอก
2. แบบทดสอบบทที่ 14

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. วดั และทดสอบไดแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

5. กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรยี นรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกจิ กรรมครู ขัน้ ตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของผู้เรยี น

ขนั้ เตรยี ม(จานวน 30 นาที) ขน้ั เตรยี ม (ใชเ้ วลา 30 นาท)ี

1.ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนอา่ นสาระสาคญั หน่วยที่ 14 1.ผู้เรยี นอ่านสาระสาคญั หน่วยท่ี 14 เรื่อง ได

เรอื่ ง ไดแอก (Diac) หนา้ 169 แอก (Diac) หนา้ 169

2.ผู้สอนแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยที่ 14 2.ผเู้ รยี นทาความเขา้ ใจเก่ียวกับจุดประสงค์การเรยี น

เรอ่ื ง ไดแอก (Diac) ของหน่วยเรยี นท่ี 14 เร่อื ง ไดแอก (Diac)

3.ผ้สู อนให้ผู้เรียนบรรยายโครงสร้าง และสญั ลักษณ์ 3.ผู้เรยี นบรรยายโครงสร้าง และสญั ลกั ษณข์ องได

ของไดแอก แอก

ขนั้ การสอน (จานวน 180 นาท)ี ขน้ั การสอน (จานวน 180 นาที)

1.ผู้สอนแนะนาใหผ้ เู้ รยี นเปดิ PowerPoint และให้ 1.ผเู้ รียนศกึ ษาจาก PowerPoint และให้ผู้เรียน

ผูเ้ รียนเปดิ เอกสารประกอบการสอนวิชา อุปกรณ์ เปิดเอกสารประกอบการสอนวชิ า อุปกรณ์

อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 14 เร่ือง ไดแอก (Diac) อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจรหน่วยที่ 14 เรอ่ื ง ไดแอก

และใหผ้ เู้ รยี นศึกษารายละเอียดดว้ ยตนเอง (Diac) (Zener diode) โดยเลือกจดบนั ทึกเนื้อหา

2.ผู้สอนเปดิ โอกาส ใหผ้ ้เู รียนถามปัญหา และข้อ ทสี่ าคัญ

สงสัยจากเนือ้ หา โดยครเู ปน็ ผู้ตอบปัญหาท่ีเกิดขน้ึ 2.ผู้เรียนซักถามขอ้ สงสัยที่เกิดข้นึ และผู้เรยี นร่วมมือ

ระหว่างการเรยี นการสอน พรอ้ มวัดและทดสอบได กับผู้สอน พร้อมวัดและทดสอบไดแอกด้วยโอห์ม

แอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์ มิเตอร์

3.ผสู้ อนให้ผ้เู รียนทาการทดลองที่ 14 เรื่อง ได 3.ผ้เู รยี นทาการทดลองท่ี 14 เรอ่ื ง ไดแอก

แอก (Diac) หน้า 173-175 (Diac) หน้า 173-175

4.ผสู้ อนให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ นต็ 4.ผู้เรียนสืบค้นขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็

ข้ันสรปุ (จานวน 30 นาท)ี ข้นั สรุป(จานวน 30 นาท)ี

1.ผู้สอนและผู้เรยี นรว่ มกนั สรุปเนือ้ หาที่ได้เรียนให้มี 1.ผู้เรยี นรว่ มกันสรปุ เน้อื หาที่ไดเ้ รยี นให้มีความ

ความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน เขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน

270

2.ผสู้ อนใหผ้ ้เู รียนทาแบบทดสอบบทที่ 14 หนา้ ท่ี 2.ผเู้ รียนทาแบบทดสอบบทที่ 14 หน้าที่ 176-
176-177 177
3.ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นศกึ ษาเพิ่มเติมนอกห้องเรยี น ด้วย 3.ผู้เรียนศึกษาเพม่ิ เติมนอกห้องเรียน ด้วย
PowerPoint ท่ีจดั ทาข้ึน
PowerPoint ทีจ่ ัดทาข้นึ

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 240 นาที
หรือ 4 ชั่วโมงเรียน

6. สื่อการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สื่อสงิ่ พิมพ์
1) เอกสารประกอบการเรยี นวิชาอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจรของนายชงิ ชัย ศรสี รุ ัตน์
2) แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 14 ไดแอก
3) แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 14 ไดแอก
4) เอกสารการเรยี นร้หู น่วยท่ี 14 ไดแอก
5) แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 14 ไดแอก
6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น และแบบฝึกหัดทา้ ยหน่วย

6.2 สือ่ โสตทศั น์
1) เครือ่ งฉายภาพ (projector)
2) งานนาเสนอหน่วยท่ี 14 ไดแอก

6.3 ส่ือของจรงิ
1) เทอรม์ สิ เตอร์ และวาริสเตอร์

7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมดุ
2. ศนู ย์ Internet สมเด็จพระเทพฯ
3. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเขียนแบบเคร่อื งกลดว้ ยคอมพวิ เตอร์

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. อาคารวิทยบริการ วทิ ยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ

271

8. งานที่มอบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ตอบคาถามก่อนเรียน เปน็ การนาเข้าสู่บทเรียน

8.2 ขณะเรียน
1. ตอบคาถามระหวา่ งเรียน

8.3 หลงั เรยี น
1. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
2. ทาแบบฝึกหัดหลังเรียน
3. ทาใบกิจกรรมที่ 14

9. ผลงาน/ชน้ิ งาน ทเี่ กดิ จากการเรียนรู้ของผู้เรียน

การทดลองที่ 14 ไดแอก แบบทดสอบบทที่ 14

10. เอกสารอ้างอิง

1. หนงั สอื เรยี นวชิ าอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจรของนายชิงชัย ศรีสรุ ัตน์

11. การบูรณาการ/ความสมั พันธ์กับรายวชิ าอน่ื

1. บรู ณาการกบั วชิ าชวี ิตและวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพูด การอา่ น การเขียนและการฝกึ ปฏบิ ัตติ นทาง
สงั คมด้านการเตรยี มความพร้อม ความรับผดิ ชอบ ความสนใจใฝ่รู้

2. บูรณาการกับวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ ดา้ นการเลือกใช้ทรพั ยากรอย่างประหยัด

12. หลักการประเมินผลการเรียน

12.1 กอ่ นเรยี น
1. ตรวจสอบระดบั ความรู้ความเขา้ ใจของผู้เรียนก่อนเริ่มการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. ตรวจสอบความสนใจในการเรียนของผเู้ รยี นโดยการถาม-ตอบคาถามในระหวา่ งทเ่ี รยี น

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนพรอ้ มกับเปรียบเทยี บแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ตรวจแบบฝึกหัดหลังเรยี นเพือ่ ประเมิลระดับความเขา้ ใจของผเู้ รยี น
3. ตรวจใบกจิ กรรม

272

13. รายละเอียดการประเมินผลการเรียน

จดุ ประสงคข์ ้อที่ 1 การประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนก่อนเรยี น
1. วธิ กี ารประเมนิ : ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น และถามคาถามเพื่อประเมินระดับความรูข้ องผเู้ รยี น
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบก่อนเรียน
3. เกณฑ์การประเมนิ : ใช้อ้างอิงเปน็ ตวั เปรียบเทยี บกับผลการทดสอบหลงั เรียน
4. เกณฑ์การผา่ น : นักเรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไม่น้อยกวา่ คร่งึ หนึ่งของจานวนข้อของแบบ

ทดสอบทั้งหมด
จุดประสงคข์ ้อท่ี 2 การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผูเ้ รยี นหลงั เรียน
1. วิธีการประเมนิ : ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรยี น
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบหลังเรยี น
3. เกณฑ์การประเมิน : ใชเ้ ปรยี บเทยี บกับผลการทดสอบก่อนเรยี น
4. เกณฑ์การผา่ น : นกั เรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกว่าการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

14. แบบทดสอบก่อนเรียน

สปั ดาหท์ ี่ .....14.....ชือ่ หน่วยการสอน ไดแอก
วตั ถุประสงค์ เพ่อื การประเมินผลความร้คู วามเข้าใจของผู้เรยี นกอ่ นเรยี น
ข้อคาถาม
คาสง่ั จงเลอื กคาตอบใหถ้ ูกต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดยี ว

1. โครงสร้างของไดแอคมลี กั ษณะคล้ายกับอปุ กรณช์ นิดใด
ก. ไดโอด
ข. ทรานซสิ เตอร์
ค. ไทรแอก
ง. เอสซอี าร์

2. ไดแอคมคี ณุ สมบตั ิทาหน้าทีค่ ล้ายอะไร
ก. สวิตช์ปดิ เปิด 2 ทาง
ข. สวิตชป์ ดิ เปดิ 1 ทาง
ค. เปน็ ตัวจากดั กระแส
ง. ถูกทัง้ ก.และ ข.

273

3. จากการทดลองคา่ แรงคนั ทท่ี าให้กระแสไหลไดอ้ ยูใ่ นช่วงใด
ก. 8-10V.
ข. 10-20 V.
ค. 20 -28 V.
ง. 29-30 V.

4. ใดแอกเหมาะท่ีจะนาไปเป็นตัวกระตนุ้ กระแสให้กับอุปกรณ์ใด
ก. เฟต
ข. ยูเจที
ค. เอสซีอาร์
ง. ไทรแอก

5. ถ้าใหก้ ระแสไหลผ่านไดแอคมากเกินไปจะเกดิ อะไรขน้ึ
ก. แรงดันจะเพม่ิ มากข้นึ
ค. ไดแอกจะทางานได้ดีข้ึน
ข. ไดแอกจะพงั
ง. แรงดนั ตกคร่อมไดแอกจะเท่าเดิม

6. ในขณะทไี ดแอกนากระแสแรงคนั ตกคร่อมจะเปน็ อย่างไร
ก. เพมิ่ ข้ึนเล็กนอ้ ย
ค. ไมเ่ ปลี่ยนแปลง
ข. ลดลงเลก็ น้อย
ง. ไดแอกจะพัง

7. GT -32 แถบสแี ดง มคี ่าแรงดันอย่ใู นชว่ งใด
ก. VBo= 27 -37 V.
ข. VBo =30-40 V.
ค. VBo =38-48 V.
ง. VBo =56-70 V.

8. ถ้าป้อนไฟบวก (+) เขา้ A, และลบ (-) เขา้ A, ไดแอกจะอย่ใู นสภาวะใด
ก. ไบอสั ตรง
ข. ไบอัสกลบั
ค. สภาวะพงั ทะลาย
ง. ไดแอกนากระแส

274

9. การตรวจสอบไดแอกดว้ ยโอห์มมิเตอรเ์ ปน็ การตรวจสอบหาอะไร
ก. ตรวจหาขาของไดแอก
ข. ตรวจหาแรงดันพัง
ค. ตรวจเชค็ สภาพว่าไดแอกน้ันดีหรอื เสยี
ง. ตรวจว่าช็อตหรอื ไม่

10. ตรวจสอบไดแอกทส่ี มบูรณ์ต้องทาอยา่ งไร
ก. ป้อนแรงดันไบอสั ตรงใหก้ ับไดแอก
ข. ป้อนแรงผนั ไบอสั กลบั ให้กับไดแอก
ค. ใช้มิเตอร์วดั ในขณะทไ่ี มม่ ไี บอสั ใหก้ ับไดแอก
ง. ถูกทุกขอ้

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

สัปดาหท์ ี่ .....14.....ชอ่ื หน่วยการสอน ไดแอก
วัตถุประสงค์ เพอ่ื การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผ้เู รยี นกอ่ นเรยี น
ขอ้ คาถาม
คาสงั่ จงเลอื กคาตอบใหถ้ ูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว

1. โครงสร้างของไดแอคมลี กั ษณะคล้ายกบั อปุ กรณ์ชนดิ ใด
ก. ไดโอด
ข. ทรานซิสเตอร์
ค. ไทรแอก
ง. เอสซอี าร์

2. ไดแอคมีคณุ สมบัติทาหน้าทค่ี ลา้ ยอะไร
ก. สวิตช์ปิดเปิด 2 ทาง
ข. สวิตชป์ ดิ เปดิ 1 ทาง
ค. เป็นตัวจากัดกระแส
ง. ถูกทั้ง ก.และ ข.

3. จากการทดลองค่าแรงคันท่ีทาให้กระแสไหลได้อยใู่ นช่วงใด
ก. 8-10V.
ข. 10-20 V.
ค. 20 -28 V.
ง. 29-30 V.

275

4. ใดแอกเหมาะท่ีจะนาไปเป็นตวั กระตุ้นกระแสให้กับอุปกรณใ์ ด
ก. เฟต
ข. ยูเจที
ค. เอสซอี าร์
ง. ไทรแอก

5. ถา้ ให้กระแสไหลผ่านไดแอคมากเกินไปจะเกดิ อะไรข้นึ
ก. แรงดนั จะเพิม่ มากขึ้น
ค. ไดแอกจะทางานได้ดีข้นึ
ข. ไดแอกจะพงั
ง. แรงดนั ตกคร่อมไดแอกจะเทา่ เดมิ

6. ในขณะทไี ดแอกนากระแสแรงคนั ตกคร่อมจะเป็นอยา่ งไร
ก. เพ่มิ ขึน้ เล็กนอ้ ย
ค. ไม่เปล่ยี นแปลง
ข. ลดลงเลก็ นอ้ ย
ง. ไดแอกจะพัง

7. GT -32 แถบสีแดง มีค่าแรงดนั อยใู่ นชว่ งใด
ก. VBo= 27 -37 V.
ข. VBo =30-40 V.
ค. VBo =38-48 V.
ง. VBo =56-70 V.

8. ถา้ ป้อนไฟบวก (+) เข้า A, และลบ (-) เขา้ A, ไดแอกจะอยู่ในสภาวะใด
ก. ไบอสั ตรง
ข. ไบอสั กลับ
ค. สภาวะพงั ทะลาย
ง. ไดแอกนากระแส

9. การตรวจสอบไดแอกด้วยโอหม์ มเิ ตอร์เปน็ การตรวจสอบหาอะไร
ก. ตรวจหาขาของไดแอก
ข. ตรวจหาแรงดันพงั
ค. ตรวจเชค็ สภาพวา่ ไดแอกนั้นดีหรอื เสยี
ง. ตรวจวา่ ชอ็ ตหรือไม่

276

10. ตรวจสอบไดแอกทสี่ มบูรณ์ตอ้ งทาอยา่ งไร
ก. ป้อนแรงดนั ไบอัสตรงให้กับไดแอก
ข. ปอ้ นแรงผนั ไบอสั กลับให้กับไดแอก
ค. ใช้มเิ ตอรว์ ดั ในขณะท่ไี ม่มไี บอัสใหก้ ับไดแอก
ง. ถกู ทกุ ขอ้

16. ใบความรู้ที่ ...14.....

สปั ดาหท์ ่ี .....14.....ชื่อหนว่ ยการสอน ไดแอก
วตั ถุประสงค์ เพือ่ การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผเู้ รยี นกอ่ นเรียน
14.1 โครงสร้างและสัญลักษณ์ของไดแอก

ไดแอก ( DIAC ) หรือไดโอด-เอซี เป็นอปุ กรณ์จดุ ชนวนไทรแอก ทถ่ี ูกออกแบบให้สามารถ
นากระแสได้ 2 ทางทแ่ี รงดนั ค่าหนึง่ ลกั ษณะโครงสรา้ งจะเป็นสาร P-N-P 3 ช้นั 2 รอยต่อเหมือนกบั
ทรานซสี เตอร์ แสดงดงั รปู ท่ี 1 แต่แตกต่างจากทรานซีสเตอร์ตรงทคี่ วามเข้มของการโด๊ป ( Dope ) สาร จึงทา
ให้รอยต่อทั้งสองของไดแอกเหมือนกนั จงึ ทาใหม้ ีคณุ สมบัติเปน็ สวิตซไ์ ด้ 2 ทาง และคา่ แรงดันเร่มิ ตน้ ทจ่ี ะทาให้
ไดแอกนากระแสได้นนั้ จะอย่ใู นช่วง 29-30 โวลต์
14.2 การทางานของไดแอก

การทางานของไดแอกนั้นจะอาศัยชว่ งแรงดันพังทลาย ( Break Over Voltage ) เป็นส่วนของ
การทางาน เมอื่ ป้อนแรงดันบวก ( + ) เขา้ ท่ขี า A1 ละแรงดนั ลบ (-) เข้าทขี่ า A2 รอยต่อN และ P ตรงบริเวณ
A1 จะอยใู่ นลกั ษณะไบอสั กลับ จึงไม่มีกระแสไหลจาก A1 ไปยัง A2 ได้ เมอื่ เพ่มิ แรงดันไบอัสดงั กล่าวสูงข้ึน
เรอื่ ยๆ จนถึงคา่ แรงดนั คา่ หน่ึงจะทาให้กระแสสามารถไหลทะลผุ ่านรอยต่อ N-P มาได้ ส่วนรอยต่อตรง A2
นั้น อย่ใู นสภาวะไบอสั ตรงอยู่แล้ว ดงั น้นั กระแสที่ไหลผ่านไดแอกนจ้ี ึงเสมือนกับเปน็ กระแสทเ่ี กดิ จากการ
พังทลาย ของไดโอดและถา้ หากไม่มกี ารจากดั กระแสแลว้ แอกกส็ ามารถพงั ไดเ้ ช่นกัน ถา้ เราสลับขั้วศักย์แรงดัน
A1 และ A2 การทางานของไดแอกก็จะเป็นเช่นเดยี วกบั กรณีดังกล่าวท่ีผา่ นมา เขียนเปน็ กราฟแสดง
ความสมั พนั ธข์ องแรงดนั ตกคร่อมตวั ไดแอก และกระแสทไี่ หลผ่านไดแอกได้ ดังรปู ท่ี 14.2
จากกราฟ เม่อื ไดแอกนากระแสแรงดันตกคร่อมตวั ไดแอกจะลดค่าลงอีกเลก็ น้อย โดยปกตจิ ะลดลงจากคา่
แรงดันพงั ประมาณ 5 โวลต์
จากลกั ษณะสมบัติของไดแอก จึงเห็นได้ว่าไดแอกเหมาะสมทจ่ี ะนาไปใช้เป็นตวั ป้อนกระแสจดุ ชนวนให้กับ
อุปกรณ์ไทรแอก เพราะนากระแสได้ 2 ดา้ น
ตัวอยา่ ง คา่ แรงดนั ของไดแอกเบอรต์ า่ งๆ

GT – 32 แถบสีแดง VBO = 27-37 V
GT – 35 แถบสีส้ม VBO = 30-40 V
GT – 40 แถบสีเหลอื ง VBO = 38-48 V
GT – 50 แถบสีเขยี ว VBO = 56-70 V

277

14.3 การวดั และทดสอบไดแอกด้วยโอห์มมิเตอร์
การวัดหาขาของไดแอก พิจารณาไดจ้ ากโครงสรา้ งและสญั ลกั ษณข์ องไดแอก ดังรูปท่ี 14.3

ตัง้ โอหม์ มเิ ตอรท์ ี่ยา่ นวดั R x 10
กรณที ่ี 1 เอาสายมิเตอรศ์ ักยไ์ ฟบวกจบั ทีข่ า A1 สายมิเตอรศ์ ักยไ์ ฟลบจบั ท่ีขา A2 เข็มจะชี้ที่

ตาแหนง่
กรณที ี่ 2 ทาการกลับข้ัว ผลทไี่ ด้จะเป็น แสดงว่าไดแอกมีสภาพดี

17. ใบงาน
17 ใบกจิ กรรมท่ี ....14....

สปั ดาหท์ ี่ .....14....ชื่อหนว่ ยการสอน ไดแอก
จุดประสงค์ เพื่อ

1. วิเคราะหแ์ ละตีความหมาย
2 ตง้ั คาถาม
3 อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4 การประยุกตค์ วามรู้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
1. แสดงความรู้เก่ียวกับไดแอก

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรียน เรอ่ื ง วัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ ทาให้ผ้เู รียนมีความรเู้ พม่ิ

เก่ียวกับไดแอก (DIAC) หรอื “DIODE-AC” เปน็ อุปกรณ์จดุ ชนวนไทรแอก ลักษณะโครงสรา้ ง
จะเปน็ สาร P-N 3 ช้นั รอยต่อเหมือนกนั กบั ทรานซิสเตอร์ ไดแอกทาหน้าท่ีป้องกนั การ
กระโชกของแรงดนั ไฟสลบั ทอี่ าจทาใหไ้ ทรแอกชารดุ เสียหาย และทาหน้าที่ควบคุมเฟส
กาหนดเวลาเร่ิมทางานของไทรแอก เมอ่ื นาทง้ั หมดมาประกอบเป็นวงจร สามารถทาให้วงจร
ทางานหรอื หยุดทางานได้ตามการควบคุมของไดแอก

278

18. แบบประเมนิ ผล
รายละเอียดการประเมินผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 1 บรรยายโครงสร้าง และสญั ลักษณข์ องไดแอกได้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : บรรยายโครงสร้าง และสญั ลกั ษณ์ของไดแอกได้ จะได้ 2

คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 วัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้

1.วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2.เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : วดั และทดสอบไดแอกด้วยโอหม์ มิเตอร์ได้ จะได้ 3 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 3 ตดิ ตามการทางานของไดแอกได้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : ติดตามการทางานของไดแอกได้ จะได้ 2 คะแนน

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 4 วัดและทดสอบไดแอกด้วยโอห์มมเิ ตอร์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

เหมาะสม

1.วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : วดั และทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ได้อยา่ งถกู ต้อง

เหมาะสม จะได้ 3 คะแนน

279

19. แบบฝึกหัด

1.จงบรรยายโครงสร้าง และสญั ลักษณ์ของไดแอก
2.วดั และทดสอบไดแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์ มีเทคนคิ อย่างไร
3.การทางานของไดแอก คือ

280

20. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรแู้ บบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หนว่ ยการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมินครอบคลุมทง้ั ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านจิตพิสยั

3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอื่ นวัตกรรม กจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นร้กู ่อนเขา้

สอน

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ิธกี ารนาเขา้ สบู่ ทเรยี นท่ีนา่ สนใจ

5. มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนคน้ ควา้ เพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

8. จดั กิจกรรมที่เนน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ีเช่ือมโยงกบั ชวี ติ จรงิ โดยนาภูมปิ ญั ญา/บูรณาการเขา้ มา

มีสว่ นร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อย่างทัว่ ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทกี่ าหนด

ด้านสือ่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใชส้ ่ือทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรียน

17. ใชส้ ่อื แหล่งการเรยี นรู้อย่างหลากหลาย เช่น บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เนต็ เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผู้เรียน อย่างทั่วถึง

281

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมินผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจิตพิสยั

20. ครู ผเู้ รียน ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ่ีเกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบัตดิ ีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไม่มกี ารปฏบิ ตั ิ เฉลีย่

20.2 ปัญหาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา แนวทางแกป้ ัญหา

ปัญหาที่พบ
ดา้ นการเตรียมการสอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านส่ือ นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

ด้านการวัดประเมนิ ผล

ด้านอน่ื ๆ (โปรดระบุเปน็ ข้อ ๆ)

ลงชอื่ .................................................................... ครูผ้สู อน
( นายศุภกร มิง่ คา )
ตาแหนง่ ครพู ิเศษสอน

............../.................................../....................

21. บนั ทึกการนเิ ทศและตดิ ตาม 282
ชอ่ื -สกุล ผู้นิเทศ ตาแหนง่
วนั -เดือน- เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
ปี

283

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวิชา ..... 20104 - 2102...... วชิ า ...................... อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร.............................
สัปดาหท์ ่ี ........15...... ช่ือหน่วย ไทรแอก
ช่อื เรอ่ื ง......................................................ไทรแอก......................……….………..............จานวน...4...ชวั่ โมง

1. สาระสาคญั

ไทรแอก เป็นอุปกรณส์ ารกงึ่ ตวั นาประเภทไทริสเตอร์ ถูกพัฒนาขนึ้ มาให้ใช้งานได้กับไฟสลับเพ่ือ
แก้ไขข้อบกพรอ่ งของ เอสซีอาร์ ไทรแอกนากระแสไดส้ องทิศทาง โดยทาหน้าทีเ่ ป็นสวติ ซ์ มคี ณุ สมบัติที่
ดีกว่าสวิตซธ์ รรมดาหลายประการ คอื ทางานได้เร็ว ควบคมุ การทางานงา่ ย ไมม่ ีหนา้ สัมผัสจงึ ไมเ่ กิด
ประกายไฟ โครงสรา้ งไทรแอกเหมอื นการรวมเอสซีอารส์ องตัวไว้ดว้ ยกนั การทางานของไทรแอกต้องเลือก
สภาวะการทางานของไทรแอก โดยเลือกใช้สภาวะกระแสแอโหนดกบั กระแสเกตเสรมิ กัน ทาให้ไทรแอก
นากระแสทาได้คลา้ ยกนั กับเอสซอี าร์

2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้

1.แสดงความรเู้ กีย่ วกับ ไทรแอก

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป
1.เพอื่ ให้มีความร้เู ก่ยี วกบั การเขียนโครงสร้างสญั ลกั ษณ์ของไทรแอก(ด้านความรู้)
2.เพอ่ื ให้มีทักษะในการจุดชนวนให้ไทรแอกทางานทง้ั 4 ควอนแดรนท์ (ด้านทักษะ)
3.เพือ่ ให้มที ักษะในการตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์ (ด้านทกั ษะ)
4.เพอื่ ให้มเี จตคติทด่ี ีในการจดั ลาดับคณุ สมบตั ิของไทรแอก (ดา้ นจติ พสิ ัย)
5.เพอื่ ตรวจสอบและหาขาไทรแอกด้วยโอห์มมิเตอร์ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ตามหลกั การ (ดา้ น

คณุ ธรรม จริยธรรม)
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

1.เขียนโครงสร้างสญั ลักษณข์ องไทรแอกได้(ดา้ นความร้)ู
2.จดุ ชนวนให้ไทรแอกทางานทงั้ 4 ควอนแดรนท์ได้ (ด้านทักษะ)
3.ตรวจสอบและหาขาไทรแอกด้วยโอหม์ มิเตอร์ได้ (ด้านทักษะ)
4.จดั ลาดับคุณสมบัติของไทรแอกได้ (ดา้ นจิตพิสัย)
5.ตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ตามหลักการ (ด้าน
คณุ ธรรม จริยธรรม)

284

4. เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
4.1 โครงสรา้ งและสญั ลักษณ์ของไทรแอก
4.2 คุณสมบตั ขิ องไทรแอก
4.3 วิธกี ารตรวจสอบและการหาขาของไทรแอกด้วยโอห์มมิเตอร์

4.2 ด้านทักษะหรือปฏบิ ตั ิ
1. การทดลองที่ 15 ไทรแอก
2. แบบทดสอบบทที่ 15

4.3 ดา้ นคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ตรวจสอบและหาขาไทรแอกด้วยโอห์มมิเตอร์ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ตามหลักการ

5. กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรยี นรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมครู ขัน้ ตอนการเรียนหรอื กจิ กรรมของผเู้ รยี น

ข้ันเตรียม(จานวน 30 นาที) ขนั้ เตรยี ม (ใชเ้ วลา 30 นาท)ี

1.ผูส้ อนแจ้งวตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี น หนว่ ยที่ 15 1.ผู้เรยี นทาความเขา้ ใจเกี่ยวกับวตั ถุประสงค์ของ

เร่อื ง ไทรแอก (Triac) การเรยี น หน่วยท่ี 15 เรอ่ื ง ไทรแอก (Triac)

2.ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนอธิบายการควบคุมแรงดนั ใหค้ งที่ 2.ผู้เรยี นรว่ มมอื กบั ผู้สอนการควบคุมแรงดนั ให้คงท่ี

ด้วยซเี นอรไ์ ดโอด ดว้ ยซีเนอรไ์ ดโอด

ขนั้ การสอน (จานวน 180 นาท)ี ขนั้ การสอน (จานวน 180 นาท)ี

1.ผสู้ อนเปิด PowerPoint และให้ผู้เรยี นเปิด 1.ผเู้ รียนศึกษาวิธกี ารใช้ PowerPoint กับเอกสาร

เอกสารประกอบการสอนวิชา อุปกรณ์ ประกอบการสอน อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร

อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร หนว่ ยท่ี 15 เรอ่ื ง ไทร หน่วยท่ี 15 เร่อื ง ไทรแอก (Triac) หนา้ ที่ 179-

แอก (Triac) หน้าที่ 179-183 พรอ้ มอธบิ าย 183 พร้อมอธบิ ายเนื้อหาทลี ะส่วนโดยเลือกจด

เนือ้ หาทีละส่วน บนั ทึกเนื้อหาทีส่ าคัญ

2.ผู้สอนอธิบายความรู้เพ่มิ เติมนอกเหนือจากเอกสาร 2.ผู้เรยี นฟังอธิบายความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจาก

ประกอบการสอนวิชา อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์และ เอกสารประกอบการสอนวิชา อปุ กรณ์

วงจร และใหผ้ ู้เรยี นจดุ ชนวนใหไ้ ทรแอกทางาน อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร และใหผ้ ูเ้ รยี นจดุ ชนวนให้

ทง้ั 4 ควอนแดรนท์ ไทรแอกทางานท้ัง 4 ควอนแดรนท์

3.ผสู้ อนเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นซักถามขอ้ สงสยั ที่เกดิ ข้นึ 3.ผ้เู รียนซกั ถามขอ้ สงสัยทีเ่ กิดขน้ึ

ระหวา่ งการเรยี นการสอน และตอบขอ้ ซักถาม 4.ผู้เรียนทาการทดลองที่ 15 ไทรแอก

4.ผสู้ อนให้ผเู้ รียนทาการทดลองที่ 15 ไทรแอก (Triac)หน้า 184-187

(Triac)หนา้ 184-187 5.ผเู้ รยี นสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

285

5.ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนสืบคน้ ข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ น็ต ขน้ั สรุป(จานวน 30 นาท)ี
ข้นั สรุป(จานวน 30 นาที) 1.ผูเ้ รียนรว่ มกันสรปุ เนอื้ หาท่ีไดเ้ รยี นใหม้ ีความ
1.ผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกนั สรุปเน้อื หาท่ีได้เรยี นให้มี เขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั
ความเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั 2.ผู้เรียนทาแบบทดสอบบทท่ี 15 หนา้ ที่ 188-
2.ผสู้ อนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบบทที่ 15 หนา้ ท่ี 189
188-189 3.ผู้เรยี นศกึ ษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรยี น ด้วย
3.ผสู้ อนให้ผู้เรยี นศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ดว้ ย PowerPoint ท่ีจัดทาขึ้น
PowerPoint ท่ีจัดทาข้ึน

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 240 นาที
หรือ 4 ช่ัวโมงเรียน

6. สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้

6.1 ส่อื สงิ่ พิมพ์
1) เอกสารประกอบการเรียนวิชาอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจรของนายชงิ ชยั ศรสี รุ ตั น์
2) แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 15 ไทรแอก
3) แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 15 ไทรแอก
4) เอกสารการเรียนรู้หน่วยที่ 15 ไทรแอก
5) แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 15 ไทรแอก
6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วย

6.2 ส่อื โสตทศั น์
1) เครือ่ งฉายภาพ (projector)
2) งานนาเสนอหน่วยที่ 15 ไทรแอก

6.3 สอ่ื ของจรงิ
1) เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์

7. แหล่งการเรียนการสอน/การเรียนรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมดุ

286

2. ศนู ย์ Internet สมเดจ็ พระเทพฯ
3. ห้องปฏิบตั กิ ารเขยี นแบบเคร่ืองกลด้วยคอมพวิ เตอร์
7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. อาคารวิทยบรกิ าร วทิ ยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดนิ

8. งานท่ีมอบหมาย

8.1 กอ่ นเรยี น
1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ตอบคาถามก่อนเรียน เปน็ การนาเข้าสู่บทเรยี น

8.2 ขณะเรียน
1. ตอบคาถามระหว่างเรยี น

8.3 หลงั เรียน
1. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2. ทาแบบฝกึ หดั หลังเรียน
3. ทาใบกิจกรรมที่ 15

9. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น

การทดลองที่ 15 ไทรแอก แบบทดสอบบทที่ 15

10. เอกสารอา้ งอิง

1. หนงั สอื เรียนวชิ าอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจรของนายชงิ ชยั ศรีสุรัตน์

11. การบรู ณาการ/ความสมั พันธ์กับรายวิชาอ่ืน

1. บูรณาการกบั วิชาชีวติ และวัฒนธรรมไทย ด้านการพดู การอ่าน การเขียนและการฝึกปฏบิ ตั ิตนทาง
สังคมดา้ นการเตรียมความพร้อม ความรบั ผดิ ชอบ ความสนใจใฝ่รู้

2. บรู ณาการกับวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใช้ทรัพยากรอย่างประหยดั

12. หลักการประเมินผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรียน
1. ตรวจสอบระดบั ความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรยี นก่อนเร่ิมการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. ตรวจสอบความสนใจในการเรยี นของผเู้ รยี นโดยการถาม-ตอบคาถามในระหวา่ งทเ่ี รียน

287

12.3 หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี นพร้อมกับเปรยี บเทียบแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ตรวจแบบฝึกหัดหลังเรียนเพ่อื ประเมิลระดับความเขา้ ใจของผเู้ รียน
3. ตรวจใบกจิ กรรม

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี น

จุดประสงคข์ ้อที่ 1 การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผ้เู รยี นก่อนเรียน
1. วิธกี ารประเมนิ : ใหท้ าแบบทดสอบก่อนเรยี น และถามคาถามเพื่อประเมินระดับความรู้ของผู้เรยี น
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบก่อนเรยี น
3. เกณฑ์การประเมิน : ใชอ้ ้างอิงเป็นตวั เปรียบเทียบกบั ผลการทดสอบหลังเรียน
4. เกณฑ์การผ่าน : นกั เรียนสามารถทาแบบทดสอบได้ไม่น้อยกว่าครึ่งหน่ึงของจานวนข้อของแบบ

ทดสอบทง้ั หมด
จุดประสงคข์ ้อที่ 2 การประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผ้เู รยี นหลังเรยี น
1. วธิ ีการประเมิน : ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑ์การประเมนิ : ใชเ้ ปรยี บเทยี บกบั ผลการทดสอบก่อนเรียน
4. เกณฑ์การผ่าน : นักเรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกว่าการทาแบบทดสอบก่อนเรียน

14. แบบทดสอบก่อนเรียน

สปั ดาหท์ ี่ .....15.....ชื่อหนว่ ยการสอน ไทรแอก
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื การประเมินผลความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนก่อนเรียน
ขอ้ คาถาม
คาส่ัง จงเลอื กคาตอบให้ถูกต้องทีส่ ดุ เพยี งคาตอบเดียว

1. TRIAC ยอ่ มาจากคาว่าอะไร
ก. DIODE
ข. TRIAC-DC
ค. TRIODE - AC
ง. DIODE-AC

288

2. ไทรแอกทางานเป็นสวิตช์จะดกี ว่าสวติ ซ์แบบกลไกในขอ้ ใด
ก. ทางานไดร้ วดเร็ว
ข. ไม่มกี ารสัมผัสกันของหนา้ สัมผัส
ค. ไม่มปี ระกายไฟ
ง. ถูกทกุ ขอ้

3: คณุ สมบัตขิ องไทรแอกคล้ายกับอุปกรณช์ นดิ ใด
ก. ไดโอด
ข. เอสซีอาร์
ค. ทรานซสิ เตอร์
ง. ไดแอก

4. ไทรแอกจะยอมให้กระแสไหลไดก้ ่ีทาง
ก. 1 ทาง
ข. 2 ทาง
ค. 3 ทาง
ง. 4 ทาง

5. การให้ไบอสั ไทรแอกนากระแสข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกต้อง
ก. จา่ ยไฟบวกให้กบั A2 'จา่ ยไฟลบให้ A1และจา่ ยไฟลบให้ G
ข. จา่ ยไฟลบให้กบั A2 จา่ ยไฟบวกให้ A1และจ่ายไฟถบให้ G
ค. จ่ายไฟบวกให้กับ A2 จา่ ยไฟลบให้ A1และจ่ายไฟบวกให้ G
ง. จา่ ยไฟลบใหก้ บั A2 จ่ายไฟลบให้ A1 และจ่ายไฟบวกให้ G

6. เหตใุ ดการทดสอบกระแสโฮลคิ้งจึงต้องใชโ้ อห์มมเิ ตอร์สเกล R x 1
ก. การจุดชนวนต้องใช้แรงดนั ต่า
ข. การจุดชนวนตอ้ งใช้แรงดันสูง
ค. เพ่อื ให้กระแสจากมิเตอร์มากกวา่ กระแสโฮลดงิ้
ง. เพื่อให้กระแสจากมิเตอร์น้อยกวา่ กระแสโฮลดิง้

7. ทราบได้อย่างไรวา่ ไทรแอกถกู จดุ ชนวนแลว้
ก. คา่ ความตา้ นทานระหวา่ งขา A1 – A2 ลดลง
ข. คา่ ความตา้ นทานระหว่างขา A1 – A2 สูงขน้ึ
ค. คา่ ความต้านทานระหวา่ งขา G - A, สูงขนึ้
ง. คา่ ความตา้ นทานระหวา่ งขา A1 - K ลดลง

289

8. เมือ่ ไทรแอกนากระแสแล้วจะทาให้หยดุ นากระแสข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ตดั แหลง่ จ่ายไฟท่จี ่ายให้ขา A2 และขาA1 ออกชัว่ ขณะ
ข. ชอ็ ตขา A2 และขา A1 ช่ัวขณะ
ค. ลดกระแสไหลข้าขา A2 และขา A1 ตา่ กวา่ กระแสโฮลด้ิง
ง. ชอ็ ตขาG ลงกราวด์

9. ไทรแอกนากระแสได้กส่ี ภาวะ
ก. 1 สภาวะ
ข. 2 สภาวะ
ค. 3 สภาวะ
ง. 4 สภาวะ

10. การใชม้ ิเตอรว์ ดั ไทรแอกเพ่ือต้องการทราบอะไร
ก. วัดสภาพวา่ ดหี รอื เสีย
ข. วดั หาขาของไทรแอก
ค. วดั หากระแสรวั่ ไหล
ง. ถกู ทกุ ขอ้

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

สปั ดาหท์ ่ี .....15.....ชอ่ื หนว่ ยการสอน ไทรแอก
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื การประเมนิ ผลความร้คู วามเข้าใจของผู้เรยี นก่อนเรียน
ขอ้ คาถาม
คาสงั่ จงเลอื กคาตอบใหถ้ ูกต้องทสี่ ดุ เพยี งคาตอบเดียว

1. TRIAC ยอ่ มาจากคาว่าอะไร
ก. DIODE
ข. TRIAC-DC
ค. TRIODE - AC
ง. DIODE-AC

2. ไทรแอกทางานเปน็ สวติ ช์จะดกี ว่าสวติ ซ์แบบกลไกในขอ้ ใด
ก. ทางานได้รวดเรว็
ข. ไมม่ กี ารสัมผัสกันของหนา้ สมั ผัส
ค. ไมม่ ีประกายไฟ
ง. ถกู ทุกข้อ

290

3: คณุ สมบตั ิของไทรแอกคล้ายกบั อุปกรณ์ชนิดใด
ก. ไดโอด
ข. เอสซีอาร์
ค. ทรานซสิ เตอร์
ง. ไดแอก

4. ไทรแอกจะยอมใหก้ ระแสไหลได้กี่ทาง
ก. 1 ทาง
ข. 2 ทาง
ค. 3 ทาง
ง. 4 ทาง

5. การใหไ้ บอัสไทรแอกนากระแสขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้อง
ก. จ่ายไฟบวกใหก้ ับ A2 'จา่ ยไฟลบให้ A1และจ่ายไฟลบให้ G
ข. จา่ ยไฟลบให้กบั A2 จ่ายไฟบวกให้ A1และจา่ ยไฟถบให้ G
ค. จา่ ยไฟบวกให้กบั A2 จา่ ยไฟลบให้ A1และจา่ ยไฟบวกให้ G
ง. จา่ ยไฟลบใหก้ บั A2 จ่ายไฟลบให้ A1 และจา่ ยไฟบวกให้ G

6. เหตใุ ดการทดสอบกระแสโฮลค้ิงจึงตอ้ งใช้โอห์มมเิ ตอร์สเกล R x 1
ก. การจุดชนวนต้องใชแ้ รงดันตา่
ข. การจดุ ชนวนต้องใช้แรงดันสงู
ค. เพือ่ ให้กระแสจากมเิ ตอร์มากกวา่ กระแสโฮลด้ิง
ง. เพ่อื ให้กระแสจากมิเตอร์น้อยกว่ากระแสโฮลดิ้ง

7. ทราบได้อยา่ งไรว่าไทรแอกถูกจดุ ชนวนแล้ว
ก. คา่ ความตา้ นทานระหว่างขา A1 – A2 ลดลง
ข. คา่ ความตา้ นทานระหว่างขา A1 – A2 สูงขึน้
ค. คา่ ความตา้ นทานระหวา่ งขา G - A, สูงขน้ึ
ง. คา่ ความตา้ นทานระหว่างขา A1 - K ลดลง

8. เมื่อไทรแอกนากระแสแล้วจะทาให้หยุดนากระแสข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง
ก. ตัดแหล่งจา่ ยไฟท่ีจ่ายให้ขา A2 และขาA1 ออกชั่วขณะ
ข. ชอ็ ตขา A2 และขา A1 ชั่วขณะ
ค. ลดกระแสไหลข้าขา A2 และขา A1 ตา่ กวา่ กระแสโฮลด้ิง
ง. ช็อตขาG ลงกราวด์

291

9. ไทรแอกนากระแสได้กีส่ ภาวะ
ก. 1 สภาวะ
ข. 2 สภาวะ
ค. 3 สภาวะ
ง. 4 สภาวะ

10. การใช้มิเตอร์วดั ไทรแอกเพอ่ื ตอ้ งการทราบอะไร
ก. วดั สภาพว่าดหี รือเสยี
ข. วดั หาขาของไทรแอก
ค. วดั หากระแสรวั่ ไหล
ง. ถูกทกุ ข้อ

16. ใบความรทู้ ี่ ...15.....

สปั ดาหท์ ี่ .....15.....ชอ่ื หนว่ ยการสอน ไทรแอก
วัตถุประสงค์ เพื่อ การประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนกอ่ นเรยี น

16.1 โครงสรา้ งและสัญลกั ษณ์ของไทรแอก

ไทรแอกเป็นอุปกรณ์สารก่ึงตัวนาท่ีมีข้ัวต่อ 3 ข้ัว มีชื่อเรียกว่า A2 (แอโนด 2) , A1 (แอโนด1)
และ G (เกต) ไทรแอก (Triac) จะเป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่คล้ายๆ กับสวิตช์ไฟฟ้าสาหรับกระแสสลับ แต่มีข้อ
ดีกว่าสวิตช์ธรรมดา คือการเปิด – ปิดวงจรของไทรแอกเร็วกว่าสวิตช์ธรรมดาหลายเท่า จึงทาให้สามารถ
ควบคมุ กาลงั งานได้

16.2 คณุ สมบตั ขิ องไทรแอก

คุณสมบัติของไทรแอกนั้นมีคุณสมบัติคล้ายกับเอสซีอาร์ตรงท่ีเมื่อนากระแสแล้วก็จะนากระแส
ตลอดไปเช่นกัน แต่ไทรแอกน้ันมีข้อแตกต่างตรงที่สามารถนากระแสได้ 2 ทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นการไหลของ
กระแสจาก A1 มายัง A2 หรือกระแสไหลจากไหลจาก A2 มายัง A1 ดังนั้นจึงนิยมใช้ไทรแอกในงานควบคุม
กาลงั ไฟฟ้าทีต่ อ้ งการใชง้ านทงั้ ไซเกิลบวกและลบ (ไฟสลบั )

จากคุณสมบัติที่กล่าวมาในเรื่องของการนากระแสนน้ั เราจึงสามารถแบ่งการทางานของไทรแอก
ออกเปน็ 4 แบบหรอื 4 ควอทเดรนท์ ( Quadrant ) ดงั รูปที่ 15.2

จากกราฟแสดงลกั ษณะสมบัติของไทรแอก จะแสดงความสัมพันธ์ของกระแสที่ไหลระหว่าง A2- A1 และ
แรงดันที่ตกคร่อมทั้งบวกและลบ ในขณะให้แรงดันคร่อม A2- A1 มีค่าเป็นบวกเทียบกับ A1 และถ้ายังไม่มี

292

การจุดชนวน ( Trigger ) แล้ว จะมีค่าแรงดันระหว่าง A2- A1 ค่าๆหน่ึงท่ีทาให้มันนากระแสเองได้ แรงดันน้ี
คือแรงดันพัง เหมือนกับ SCR แต่ถ้าให้แรงดัน A2- A1 นี้มีค่าน้อยกว่าแรงดันพังทลาย แล้วการทาการ
จุดชนวน ท่ีขาเกต ( G ) ซึ่งกระแสเกตจะมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ไทรแอกจะนากระแสทันที กราฟ
ความสัมพันธ์และข้อจากัดต่างๆ จะเหมือนกับ SCR ในทานองเดียวกันถ้าให้แรงดันที่ A1 มีค่าเป็นบวกเมื่อ
เทียบกับ A2 ส่วนของกราฟคือแกน X ทางด้านลบจะมีลักษณะคล้ายกันกับด้านบวก ถ้าเพิ่มแรงดันมากข้ึน
จนถึงค่าแรงดันพังทลายก็จะทาให้ไทรแอกนากระแสเองได้ และถ้าหากว่าไม่มีการจากัดกระแสในตัวไทรแอก
แลว้ ไทรแอกจะเกิดการเสียหายได้

ในขณะท่ีไทรแอกนากระแส ถ้าลดคา่ กระแสแอโนดลงจนถงึ คา่ กระแสต่าสุดท่ียังคงทาให้ไทรแอก
นากระแสได้ คา่ กระแสต่าสุดน้ี เรียกวา่ “โฮลด้ิง” ( IH :Holding Current ) ก็จะทาใหไ้ ทรแอกหยดุ นากระแส

เน่ืองจากไทรแอก สามารถนากระแสไฟฟ้าได้ทั้งสองทาง จึงเหมาะกับการนาไปใช้กับไฟสลับมากกวา่
เอสซีอาร์ และสาหรับกระแสไฟสลับ (เป็นคลื่นรูปไซน์ )จะมีอยู่ช่วงเวลาหน่ึงช่วงกระแสตัดกับเส้นศูนย์ ของ
กราฟ ) ทกี่ ระแสตกต่ากว่ากระแสโฮลด้ิง ดังน้ันจึงทาให้ไทรแอกหยุดนากระแสเองและจะรอการจุดชนวนใหม่
อีกคร้ัง และถ้าหากคร่ึงลบของสัญญาณไฟสลับเข้ามาก็จะนากระแสทางด้านลบอีกเช่นเคย และจะหยุด
นากระแสเมอ่ื คา่ กระแสลดลงต่ากว่ากระแสโฮลดิง้ เช่นเคย

16.3 วิธีการตรวจสอบและการหาขาของไทรแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์

ใหพ้ จิ ารณาจากโครงสรา้ งพรอ้ มกบั ตารางคา่ ความต้านทานประกอบและปฏิบัติดังน้ี

1. ทาการสมมุตขิ าของไทรแอก เปน็ ขา A, B และ C หรอื ขาท่ี 1, 2 และ 3 ดงั รปู ท่ี 15.4

2. นาสายวัดของโอห์มมิเตอร์ทาการวดั ที่ขาของไทรแอกเป็นคๆู่ ดงั ตารางที่ 15.1

ผลจากตารางแสดงค่าความต้านทาน พอสรปุ ไดด้ งั นี้

1. การวัดไทรแอกท้ังหมด 6 ครั้ง จานวน 3 คู่ เราสามารถอ่านค่าความต้านทานได้ 2 คร้ังหรือ
ท่ีเรยี กวา่ “ วัด 6 ครงั้ เข็มขนึ้ 2 คร้ัง ”

2. ขั้วขาท่ไี ม่มีสว่ นเกี่ยวข้องกับค่าความต้านทานทั้ง 2 ครัง้ ดังกลา่ วจะเป็นขาแอโนด 2 หรือ ขา
A2

3. คู่ขาท่ี 2 ในการวัดน้ันจะมีค่าความต้านทานที่ใกล้เคียงกันหรือเท่าเทียมกัน เราไม่สามารถ
บอกได้วา่ ขาใดเป็นขา A1 หรอื ขา G ดงั นน้ั เราจึงตอ้ งทาการตรวจสอบในลาดับข้ันตอ่ ไป

4. ให้สมมุตวิ า่ ขาใดขาหนงึ่ เปน็ ขาเกต (G) แลว้ ทาการจุดชนวนโดยใช้ไฟจากขาแอโนด 2 (A2) เข็ม
มิเตอร์จะชี้ที่ค่าความต้านทานประมาณ 15 โอห์ม ต่อจากน้ันให้สลับขาท่ีเหลือเป็นขาเกต แล้วทาการ

293

จุดชนวนโดยใช้ไฟจากขาแอโนด 2 เข็มมิเตอร์จะช้ีท่ีค่าความต้านทานประมาณ 20 โอห์ม จากการวัดจะ
สงั เกตได้ว่าเมอื่ ทาการจดุ ชนวนที่ขาเกตได้คา่ ความต้านทานต่ากวา่ การจดุ ชนวนที่ขาแอโนด 1 (A1)

17. ใบงาน
17 ใบกจิ กรรมที่ ....15....

สปั ดาหท์ ่ี .....15....ช่อื หนว่ ยการสอน ไทรแอก
จดุ ประสงค์ เพ่ือ

1. วเิ คราะหแ์ ละตีความหมาย
2 ต้ังคาถาม
3 อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นระดมสมอง
4 การประยุกต์ความรู้สงู่ านอาชีพ

สมรรถนะการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ
1. แสดงความรูเ้ ก่ียวกับไทรแอก

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรยี นเรอ่ื ง ไทรแอก (Triac) ทาใหผ้ ู้เรยี นมีความรเู้ พิ่มเกย่ี วกบั ไทรแอก เปน็

อปุ กรณส์ ารกึง่ ตวั นาประเภทไทริสเตอร์ ถูกพัฒนาขึน้ มาใหใ้ ชง้ านไดก้ บั ไฟสลับเพอ่ื แกไ้ ข
ข้อบกพรอ่ งของ เอสซอี าร์ ไทรแอกนากระแสได้สองทิศทาง โดยทาหนา้ ทเ่ี ปน็ สวิตซ์ มี
คณุ สมบัติที่ดกี วา่ สวิตซ์ธรรมดาหลายประการ คอื ทางานไดเ้ ร็ว ควบคุมการทางานงา่ ย ไมม่ ี
หนา้ สัมผสั จึงไมเ่ กดิ ประกายไฟ โครงสร้างไทรแอกเหมือนการรวมเอสซอี ารส์ องตัวไว้ดว้ ยกัน การ
ทางานของไทรแอกตอ้ งเลือกสภาวะการทางานของไทรแอก โดยเลือกใช้สภาวะกระแสแอโหนด
กบั กระแสเกตเสริมกัน ทาใหไ้ ทรแอกนากระแสทาได้คล้ายกนั กับเอสซอี าร์

294

18. แบบประเมินผล
รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 1 เขยี นโครงสร้างสัญลกั ษณ์ของไทรแอกได้

1.วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : เขยี นโครงสร้างสัญลกั ษณข์ องไทรแอกได้ จะได้ 2

คะแนน

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 2 จดุ ชนวนให้ไทรแอกทางานทงั้ 4 ควอนแดรนทไ์ ด้

1.วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : จดุ ชนวนให้ไทรแอกทางานท้งั 4 ควอนแดรนท์ได้ จะได้ 2

คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 3 ตรวจสอบและหาขาไทรแอกด้วยโอหม์ มเิ ตอร์ได้

1.วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2.เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : ตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้ จะได้ 2

คะแนน

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ท่ี 4 ประพฤติตามหลักการควบคุมแรงดนั ใหค้ งทีด่ ้วยซเี นอร์

ไดโอดได้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : ประพฤตติ ามหลักการควบคุมแรงดันใหค้ งท่ดี ว้ ยซเี นอรไ์ ดโอด

ได้ จะได้ 2 คะแนน

295

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 5 ตรวจสอบและหาขาไทรแอกด้วยโอห์มมิเตอรไ์ ด้อยา่ ง

ถูกต้องเหมาะสม ตามหลกั การ

1.วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอห์มมิเตอรไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง

เหมาะสม ตามหลักการ จะได้ 2 คะแนน

19. แบบฝึกหดั

1.จงเขียนโครงสร้างสญั ลกั ษณ์ของไทรแอก
2.จุดชนวนใหไ้ ทรแอกทางานท้ัง 4 ควอนแดรนท์ มวี ิธีการจุดอย่างไร
3.ตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอหม์ มิเตอรไ์ ด้อยา่ งไร
4.ไทรแอกมีคณุ สมบัติอยา่ งไร

296

20. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนร้แู บบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจดั การเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หนว่ ยการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจติ พิสัย

3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอื่ นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรยี นรกู้ ่อนเข้า

สอน

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สบู่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพื่อช่วยใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนค้นควา้ เพื่อหาคาตอบดว้ ยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

8. จดั กิจกรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี ชอื่ มโยงกับชีวิตจริงโดยนาภมู ปิ ญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มีสว่ นร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อยา่ งทว่ั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด

ด้านสือ่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใชส้ ่ือทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผเู้ รียน

17. ใชส้ ่อื แหล่งการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รยี น

14. เอาใจใส่ดแู ลผู้เรียน อย่างทวั่ ถึง

297

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมินผลอย่างหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสัย

20. ครู ผเู้ รียน ผู้ปกครอง หรือ ผทู้ ี่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบตั ดิ ีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไม่มกี ารปฏบิ ตั ิ เฉล่ยี

20.2 ปัญหาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา แนวทางแกป้ ัญหา

ปัญหาที่พบ
ดา้ นการเตรียมการสอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านสอ่ื นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

ด้านการวัดประเมนิ ผล

ด้านอื่น ๆ (โปรดระบุเปน็ ข้อ ๆ)

ลงชอื่ .................................................................... ครูผ้สู อน
( นายศุภกร มง่ิ คา )
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

21. บนั ทึกการนเิ ทศและตดิ ตาม 298
ชอ่ื -สกุล ผู้นิเทศ ตาแหนง่
วนั -เดือน- เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
ปี

299

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วชิ า ..... 20104 - 2102...... วชิ า ...................... อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร.............................
สปั ดาหท์ ่ี ........16...... ชอ่ื หน่วย ยูเจที
ชื่อเรื่อง......................................................ยูเจท.ี .....................……….………..............จานวน...4...ช่ัวโมง

1. สาระสาคัญ

ยเู จที (UJT) ยอ่ มาจาก “ยูนจิ ังชน่ั ทรานซิสเตอร์” (UNIJUNCTION TRANSISTOR) เป็นอปุ กรณ์สาร
กง่ึ ตวั นาทม่ี ีโครงสร้างเป็นสารกึง่ ตวั นาชนดิ เอน็ (N) แท่งหน่ึงแล้วทาการต่อขั้วเขา้ ทีป่ ลายของสารก่งึ ตัวนาน้นั
จากนน้ั นาแท่งสารกงึ่ ตัวนาชนิดพี (P) มาต่อใหเ้ กิดรอยต่อทบ่ี ริเวณตรงกลางแทง่ สารกง่ึ ตวั นาชนดิ เอน็ (N)
คอ่ นไปทางบนเล็กน้อย ตรงรอยต่อสารกง่ึ ตัวนาชนิดเอ็น (N) และสารก่งึ ตัวนาชนิดพี (P) จะเสมือนกับเปน็
ไดโอดตวั หนงึ่ และต่อขาออกจากปลายทั้งสาม โดยขาทีต่ อ่ ออกจากสารกึง่ ตวั นาชนิด P จะเปน็ ขาอมิ ิตเตอร์
(E) สว่ นขาที่ต่อออกจากแทง่ สารกึ่งตัวนาชนิด N ทใี่ กล้กับสารกึ่งตัวนาชนดิ P เรียกว่าขาเบส2 (B2) และขาท่ี
เหลอื คอื ขาเบส1 (B1) การใช้งานจะเป็นตวั กาเนดิ สัญญาณไปกระตนุ้ เอสซีอารห์ รือไทรแอค

2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้

1.แสดงความรู้เกี่ยวกับ ยเู จที

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1.เพื่อให้มีความรู้เกยี่ วกับการอธิบายโครงสร้างและสญั ลักษณ์ของยูเจที (ดา้ นความร)ู้
2.เพ่ือให้มคี วามรเู้ ก่ียวกับการสรปุ ความวงจรกาเนดิ สัญญาณ Relaxation โดยใช้ยเู จที (ด้าน

ความร)ู้
3.เพื่อให้มที ักษะในการวดั และทดสอบหาขายูเจทีโดยใชโ้ อห์มมเิ ตอร์ (ด้านทักษะ)
4.เพอื่ ให้มที กั ษะในการตรวจสอบยเู จทโี ดยใชโ้ อหม์ มเิ ตอร์ (ดา้ นทักษะ)
5.เพ่อื ให้มีเจตคติทด่ี ีในการช้ียอมรับคุณสมบัติของยูเจที (ด้านจติ พสิ ยั )
6.เพ่อื วดั ทดสอบ ตรวจสอบ หาขายูเจทโี ดยใชโ้ อหม์ มิเตอร์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (ดา้ น

คณุ ธรรม จริยธรรม)

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจทีได้ (ดา้ นความร)ู้
2. สรปุ ความวงจรกาเนดิ สญั ญาณ Relaxation โดยใชย้ เู จทีได้ (ดา้ นความรู้)
3. วดั และทดสอบหาขายูเจทโี ดยใช้โอห์มมิเตอรไ์ ด้ (ด้านทักษะ)

300

4. ตรวจสอบยเู จทโี ดยใช้โอหม์ มเิ ตอร์ได้ (ด้านทกั ษะ)
5. ช้ียอมรบั คณุ สมบตั ิของยูเจทไี ด้ (ดา้ นจติ พสิ ยั )
6. วัด ทดสอบ ตรวจสอบ หาขายูเจทโี ดยใชโ้ อหม์ มเิ ตอร์ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม (ด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม)

4. เนอื้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ด้านความรู้
4.1 โครงสรา้ งและสัญลกั ษณ์ของยูเจที
4.2 ลักษณะสมบัตขิ องยูเจที
4.3 วงจรกาเนดิ สัญญาณ Relaxation โดยใชย้ ูเจที
4.4 การวัดและทดสอบหาขายเู จที โดยใชโ้ อหม์ มเิ ตอร์

4.2 ด้านทกั ษะหรือปฏบิ ัติ
1. การทดลองท่ี 16 ยเู จที
2. แบบทดสอบบทท่ี 16

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. วัด ทดสอบ ตรวจสอบ หาขายูเจทีโดยใช้โอหม์ มเิ ตอร์ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมครู ข้ันตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของผ้เู รียน

ขน้ั เตรยี ม(จานวน 30 นาที) ขั้นเตรยี ม (ใช้เวลา 30 นาท)ี

1.ผ้สู อนอธิบายอธิบายโครงสร้างและสญั ลกั ษณ์ของ 1.ผู้เรยี นฟังผู้สอนอธบิ ายอธบิ ายโครงสรา้ งและ

ยูเจที ใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจ สัญลกั ษณข์ องยูเจที ใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจให้เข้าใจ

2.ผสู้ อนแจ้งวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี น หน่วยท่ี 16 2.ผูเ้ รียนทาความเข้าใจเกีย่ วกับวัตถปุ ระสงค์ของ

เรือ่ ง ยเู จที (UJT) หนา้ 191 การเรยี น หนว่ ยท่ี 16 เรอื่ ง ยูเจที (UJT) หน้า

3.ผู้สอนให้ผู้เรียนสรุปความวงจรกาเนดิ สัญญาณ 191

Relaxation โดยใชย้ เู จที 3.ผูเ้ รยี นสรปุ ความวงจรกาเนิดสัญญาณ

Relaxation โดยใชย้ ูเจที

ข้นั การสอน (จานวน 180 นาที) ข้ันการสอน (จานวน 180 นาที)

1.ผู้สอนให้ผเู้ รยี นเปิดเอกสารประกอบการสอนวิชา 1.ผเู้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน วิชา

อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร หน่วยที่ 16 เร่อื ง อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร หนว่ ยที่ 16

ยเู จที (UJT) หน้าที่ 192-196 พรอ้ มอธบิ าย เรื่อง ยูเจที (UJT) หน้าที่ 192-196 พร้อม

เนอ้ื หาทลี ะส่วน อธบิ ายเนอ้ื หาทีละสว่ น


Click to View FlipBook Version