The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ooonononza2539, 2021-04-02 04:12:42

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

1

แผนการสอน/การจัดการเรียนรแู้ บบม่งุ เน้นสมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั วิชา 20104 – 2102 วิชา อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร
ทฤษฎี 1 ปฏิบัติ 3 หนว่ ยกติ 2

 หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี  หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลงั
สาขางานช่างไฟฟา้ กาลัง

จัดทาโดย

นายศุภกร ม่ิงคา
ตาแหนง่ ครพู เิ ศษสอน
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง

วิทยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดิน
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ

2

แบบคาขออนมุ ตั ิ
แผนการสอน/การจัดการเรยี นรูแ้ บบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพ

และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รหัสวิชา 20104 - 2102 วิชา อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร

หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2557

ผู้จดั ทา

ลงช่ือ..............................................
(นายศภุ กร ม่งิ คา)
ตาแหนง่ ครพู ิเศษสอน

ผู้ตรวจสอบแผนการจดั การเรียนรู้

ลงชือ่ .............................................. ลงชื่อ..............................................
(นายธรี ะพล แก้วกลุ บตุ ร) (นายคุมดวง พรมอินทร์)
หัวหนา้ แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลัง หวั หน้างานพัฒนาหลกั สตู รฯ

ความเหน็ รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ
..........................................................................................

ลงชอื่ ..............................................
(นายทินกร พรหมอนิ ทร์)
รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ

ความเหน็ ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดิน
 อนมุ ัติ  ไมอ่ นุมตั ิ เพราะ....................................

ลงชื่อ..............................................
(นางวรรณภา พ่วงกลุ )

ผอู้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดนิ

3

คานา
แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 20104 - 2102 เล่มน้ี จัดทาขน้ึ เพือ่ เป็น
แนวทางในการสอนแต่ละสัปดาห์ จานวน 18 สัปดาห์ โดยจดั ทาเป็นหน่วยการสอน ทั้งหมด 18 สัปดาห์
ประกอบด้วย

สปั ดาหท์ ่ี 1 สารก่ึงตวั นาและไดโอด
สัปดาหท์ ่ี 2 วงจรเรยี กกระแสแบบคร่ึงคล่นื
สปั ดาหท์ ี่ 3 วงจรเรียงกระแสแบบเต็มคล่นื
สัปดาหท์ ่ี 4 วงจรเรียงกระแสเตม็ คล่นื แบบบรดิ จ์
สัปดาหท์ ี่ 5 ซเี นอร์ไดโอด (Zener diode)
สัปดาห์ที่ 6 การควบคุมแรงดันให้คงทดี่ ว้ ยซีเนอรไ์ ดโอด (Zener Regulator)
สปั ดาห์ที่ 7 ทรานซสิ เตอร์ (Transistor)
สปั ดาหท์ ี่ 8 ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ (Field Effect Transistor)
สปั ดาห์ที่ 9 ไอซตี ง้ั เวลา 555 (555 Timer I.C)
สัปดาหท์ ี่ 10 ไอซเี ร็กกูเลเตอร์
สัปดาหท์ ี่ 11 ไอซีออปแอมป์ (Op-Amp I.C)
สัปดาหท์ ่ี 12 เอส ซี อาร์ (SCR)
สปั ดาหท์ ี่ 13 เทอรม์ สิ เตอร์ และวารสิ เตอร์
สปั ดาห์ที่ 14 ไดแอก (Diac)
สปั ดาห์ท่ี 15 ไทรแอก (Triac)
สัปดาหท์ ี่ 16 ยเู จที (UJT)
สัปดาห์ท่ี 17 อุปกรณ์โพต้า (Photo Device)
สปั ดาหท์ ่ี 18 สอบปลายภาค

ในแตล่ ะหนว่ ยการสอน ประกอบด้วยหัวข้อเรอ่ื ง สาระสาคัญ เน้ือหาสาระ กจิ กรรมนักเรียนการสอน
งานท่ีมอบหมาย สือ่ การเรยี นการสอน ใบประเมินผลและบันทกึ การสอน แผนการสอนเล่มน้ียงั มีการบูรณาการ
คณุ ธรรมจริยธรรม สอดแทรกปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง นโยบาย 3 ดี ด้านประชาธปิ ไตย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ความเป็นไทย ดา้ นภูมคิ มุ้ กนั ภัยยาเสพติดเข้าไปในแผนการสอนเพื่อใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถตามจดุ ม่งุ หมาย
ทางการศกึ ษา 3 ด้าน พุทธพิสัย จิตพิสยั และทักษะพสิ ยั แผนการจัดการเรยี นรู้เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์สงู สุด กบั
นักเรยี นนักศึกษาระดบั ปวช. แผนกวชิ าชา่ งไฟฟ้ากาลัง

ลงช่ือ ...................................................
(นายศภุ กร ม่ิงคา)

ครแู ผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั

4

สารบัญ

หนา้

คานิยม

คานา 3

สารบญั 4

ลกั ษณะรายวชิ า 5

ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะการเรียนรู้ 6

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร 15

ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะรายวชิ าโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 36

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ่ี 1 สารก่ึงตวั นาและไดโอด 37

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ่ี 2 วงจรเรยี กกระแสแบบครึง่ คลื่น 57

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ่ี 3 วงจรเรยี งกระแสแบบเตม็ คล่ืน 74

แผนการจดั การเรียนรู้สปั ดาหท์ ่ี 4 วงจรเรยี งกระแสเต็มคล่ืนแบบบริดจ์ 91

แผนการจัดการเรียนรู้สปั ดาหท์ ่ี 5 ซีเนอร์ไดโอด (Zener diode) 109

แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ี่ 6 การควบคุมแรงดนั ให้คงที่ด้วยซเี นอร์ไดโอด (Zener Regulator) 127

แผนการจัดการเรยี นรู้สปั ดาหท์ ี่ 7 ทรานซสิ เตอร์ (Transistor) 143

แผนการจดั การเรียนรู้สปั ดาหท์ ี่ 8 ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) 161

แผนการจัดการเรียนรู้สปั ดาหท์ ี่ 9 ไอซีต้งั เวลา 555 (555 Timer I.C) 181

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ี่ 10 ไอซีเรก็ กูเลเตอร์ 200

แผนการจัดการเรยี นรู้สปั ดาหท์ ่ี 11 ไอซีออปแอมป์ (Op-Amp I.C) 217

แผนการจดั การเรยี นรู้สปั ดาหท์ ี่ 12 เอส ซี อาร์ (SCR) 235

แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ี่ 13 เทอร์มสิ เตอร์ และวารสิ เตอร์ 251

แผนการจัดการเรยี นรู้สปั ดาหท์ ี่ 14 ไดแอก (Diac) 268

แผนการจัดการเรียนรู้สปั ดาหท์ ่ี 15 ไทรแอก (Triac) 283

แผนการจัดการเรยี นรู้สปั ดาหท์ ่ี 16 ยเู จที (UJT) 299

แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ี่ 17 อุปกรณ์โพตา้ (Photo Device) 317

แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ่ี 18 สอบปลายภาค 332

5

ลกั ษณะรายวิชา

รหสั วิชา 20104 - 2102 ช่ือวิชา อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร
จานวนหน่วยกิต 2 หนว่ ยกิต จานวนชั่วโมงต่อสปั ดาห์ 4 ชว่ั โมง รวม 72 ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรียน

จุดประสงคร์ ายวชิ า

1. เขา้ ใจโครงสรา้ ง กรทางานและลักษณะสมบัติทางไฟฟ้าของอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์
2. มที ักษะการตรวจสอบอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ การต่อวงจร การทดสอบการทางานของวงจร
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
3. มีทักษะการวเิ คราะห์และแก้ไขจดุ บกพร่องของวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์
4. มเี จตคติและกิจนสิ ัยที่ดีในการปฏิบตั ิงาน มีความละเอยี ดรอบคอบ ปลอดภยั เปน็ ระเบียบ
สะอาดตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตยแ์ ละความรบั ผดิ ชอบ

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้าง การทางานและลักษณะสมบัติทางไฟฟา้ ของอุปกรณ์
อเิ ล็กทรอนกิ ส์

2. ตรวจสอบอปุ กรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
3. ต่อวงจรและทดสอบการทางานของวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์
4. วเิ คราะหแ์ ละแก้ไขจุดบกพร่องของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์

คาอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบตั ิเกย่ี วกับงานทดสอบคณุ สมบัติของสารกง่ึ ตวั นา ตรวจสอบอุปกรณ์ทาง
อิเลก็ ทรอนิกส์ งานตรวจสบไดโอด UJT PUT ทรานซสิ เตอร์ เฟ็ต งานตรวจสอบอุปกรณ์ไทรีสเตอร์
งานวดั อุปกรณ์เชอ่ื งโยงทางแสงด้วยมลั ติมเิ ตอร์ งานต่อ ทดสอบ วิเคราะห์และแกไ้ ขจุดบกพร่องของ
วงจรอิเลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยมัลตมิ ิเตอร์ และออสซลิ โลสโคป วงจรเรยี งกระแสด้วยไคโอด วงจรรกั ษาระดับ
แรงดนั ใหค้ งท่ี วงจรประยกุ ต์ใชง้ านอปุ กรณ์ไทรสี เตอร์ วงจรประยุกตใิ ช้อปุ กรณ์เชื่องโยงทางแส วงจร
กาเนดิ สัญญาณ วงจรรวมตั้งเวลา ด้วยไอซี วงจรขยายความแตกต่าง วงจรขยายกาลงั วงจรออปแอมป์
กรเชอ่ื มต่อ วงจรอนาลอกกับวงจรดิจิตอล การออกแบบและจดั ทาแผ่น PCB

6

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้

รหสั วิชา 20104 - 2102 ชือ่ วิชา อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร

จานวนหนว่ ยกติ 2 หนว่ ยกติ จานวนชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์ 4 ช่ัวโมง รวม 72 ช่ัวโมงต่อภาคเรยี น

หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนรู้สปั ดาหท์ ่ี 1 ดา้ นความรู้

ชือ่ หน่วยการสอน สารกง่ึ ตัวนาและไดโอด 1. อธิบายโครงสร้างพืน้ ฐานของอะตอมได้

2. บรรยายวงโคจรของอเิ ล็กตรอนได้

3. เปรยี บเทยี บสารกึง่ ตวั นาบริสทุ ธ์ิ, สารก่ึงตัวนา

ไม่บริสทุ ธิ์, สารก่งึ ตัวนาชนดิ เอน็ (N-Type),

สารกึง่ ตวั นาชนดิ พี (P-Type)ได้

4. รวบรวมไดโอดได้

ดา้ นทกั ษะและประยกุ ต์ใช้

1. สงั เกตลักษณะสมบัติของไดโอดได้

2. ทดสอบไดโอดดว้ ยโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้

3. แสดงกราฟลกั ษณะสมบัติของไดโอดได้

ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

1. จาแนกสญั ลักษณ์ของไดโอดได้

2. เลือกไบอัสตรงและไบอสั กลบั ได้

3. ทดสอบไดโอดได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ่ี 2 ดา้ นความรู้

ช่ือหน่วยการสอน วงจรเรยี กกระแสแบบคร่งึ คล่นื 1. อธบิ ายลกั ษณะวงจรกระแสแบบคร่ึงคล่ืนได้

5. เขยี นวงจรเรียงกระแสแบบครงึ่ คลื่นและ

คานวณหาแรงดนั เอาต์พตุ ดว้ ยความมีเหตุผล

ถูกต้องตามหลักการ

ดา้ นทักษะและประยกุ ต์ใช้

2. เขียนวงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคล่นื ได้

3. คานวณหาแรงดันเอาต์พุตได้

ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ไม่

หยดน่งิ ทจ่ี ะแก้ปญั หา ความซ่ือสตั ย์

7

ความรว่ มมือ

แผนการจัดการเรยี นรู้สัปดาหท์ ี่ 3 ดา้ นความรู้
ชื่อหน่วยการสอน วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคลื่น 1. อธิบายลกั ษณะวงจรเรยี งการ เต็มคล่นื แบบใช้
หม้อแปลงมีแท็ปกลางได้
ดา้ นทักษะและประยกุ ตใ์ ช้
1. ผลิตวงจรกรองแบบตัวเกบ็ ประจไุ ด้
2. ติดตามการทางานวงจรเรียงกระแสเต็มคลน่ื
แบบใช้หม้อแปลงมแี ทป็ กลางได้
3. เพ่อื ใชห้ ม้อแปลงแบบต่างๆ ในวงจรเรยี ง
กระแสแบบเต็มคลื่นได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่
หยดนง่ิ ที่จะแกป้ ัญหา ความซื่อสตั ย์
ความร่วมมือ

แผนการจัดการเรยี นรู้สัปดาหท์ ่ี 4 ดา้ นความรู้
ชอ่ื หน่วยการสอน วงจรเรียงกระแสเต็มคลน่ื แบบ 1.บรรยายลักษณะวงจรเรียงกระแสเตม็ คล่ืนแบบ
บริดจ์ บรดิ จไ์ ด้
2.สรปุ การทางานของวงจรเรียงกระแสเต็มคล่นื
แบบบรดิ จไ์ ด้
ด้านทกั ษะและประยกุ ต์ใช้
1.สังเกตไดโอดบรดิ จ์แบบตา่ งๆได้
2.ฝึกคานวณหาแรงดนั สงู สดุ ด้านกลบั ได้
3.ยอมรับแรงดนั เอาต์พุตของวงจรและแรงดัน
สงู สุดดา้ นกลับได้
4.คานวณหาแรงดันสงู สุดด้านกลบั ได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ไม่
หยดนง่ิ ที่จะแกป้ ัญหา ความซ่ือสัตย์
ความร่วมมอื

8

แผนการจัดการเรียนรู้สัปดาหท์ ่ี 5 ด้านความรู้

ช่ือหน่วยการสอน ซีเนอร์ไดโอด (Zener diode) 1. อธิบายสัญลกั ษณ์และคุณสมบัตขิ องซีเนอร์

ไดโอดได้

2. รวบรวมการพงั ทลายของซีเนอร์ได้

3. ยกตัวอย่างคุณลักษณะของการพังทลายได้

4. จดั ลาดับวงจรสมมลู ของซีเนอร์ไดโอดได้

ดา้ นทักษะและประยุกต์ใช้

1. ทดลองต่อใชง้ านซีเนอรไ์ ดโอดได้

2. ติดตามตารางคุณสมบัติของซีเนอร์ไดโอดได้

3. ต่อใช้งานซเี นอร์ไดโอดด้วยความถูกต้อง

ระมัดระวงั ได้

ด้านคุณธรรมจริยธรรม

ความมวี ินยั ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ ความ

รับผิดชอบและความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ่ี 6 ดา้ นความรู้
ช่ือหน่วยการสอน การควบคุมแรงดนั ใหค้ งทีด่ ้วย 1. อธิบายการควบคุมแรงดันให้คงท่ดี ว้ ยซีเนอณื
ซีเนอรไ์ ดโอด (Zener Regulator) ไดโอดได้
ดา้ นทักษะและประยุกตใ์ ช้
1. ควบคมุ แรงดนั ให้คงท่ีดว้ ยซเี นอร์ไดโอดได้
2. ออกแบบวงจรควบคมุ แรงดนั ให้คงท่ีด้วยซเี นอร์
ไดโอดได้
3. การประพฤติตามหลกั การควบคมุ แรงดันให้
คงที่ดว้ ยซเี นอร์ไดโอดได้
4. ควบคมุ แรงดนั ให้คงทีด่ ้วยซเี นอร์ไดโอดและ
ออกแบบวงจรควบคุมแรงดันใหค้ งทีด่ ้วยซีเนอร์
ไดโอดด้วยความถกู ต้อง ถูกหลักการ
ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม
ความมีวนิ ัย ความมีมนษุ ย์สัมพันธ์ ความ
รับผดิ ชอบและความเชอื่ มนั่ ในตนเอง

9

แผนการจดั การเรียนรู้สปั ดาหท์ ี่ 7 ดา้ นความรู้
ช่ือหน่วยการสอน ทรานซสิ เตอร์ (Transistor) 1 .อธบิ ายประวัติความเป็นมาของทรานซิลเตอร์ได้
2. บรรยายขาของทรานซิสเตอรไ์ ด้
ด้านทกั ษะและประยุกตใ์ ช้
1. วัดและทดสอบทรานซลิ เตอร์ดว้ ยโอหม์ มิเตอร์
ได้
2. ชแี้ จงการใหไ้ บอัสทรานซิลเตอรไ์ ด้
3. จัดลาดบั โครงสร้างและสัญลักษณข์ องทรานซิล
เตอรไ์ ด้
4. ผสมผสานชนดิ ของทรานซิลเตอร์ได้
5. วดั และทดสอบทรานซิลเตอร์ดว้ ยโอหม์ มิเตอร์
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม
ความมีวนิ ัย ความรกั สามัคคีความคิดริเรมิ่
สรา้ งสรรค์และความพึงพอใจในผลงานทีท่ า

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ่ี 8 ด้านความรู้
ช่อื หน่วยการสอน ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ 1. เพอื่ ใหม้ ีความรู้เกีย่ วกับการอธิบายโครงสรา้ งท
(Field Effect Transistor) รานซลิ เตอร์สนามไฟฟา้ ชนิดรอยต่อได้
2. เพอ่ื ให้มีความรู้เกีย่ วกับการบรรยายเอนฮานต์
เมนต์โหมดได้
3. เพื่อใหม้ ีความร้เู ก่ียวกับการเปรียบเทียบ
สัญลกั ษณ์ของเจเฟตได้
ดา้ นทกั ษะและประยกุ ต์ใช้
1. เพือ่ ให้มีทักษะในการจัดไบอสั ให้เจเฟตได้
2. เพือ่ ให้มีทกั ษะในการวัดและทดสอบเจเฟตดว้ ย
โอหม์ มเิ ตอร์ได้
3. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติทีด่ ีในการยอมรับลักษณะสมบตั ิ
ของเจเฟตได้
4. เพ่ือให้มีเจตคติทีด่ ีในการติดตามเฟตชนดิ ออก
ไซต์ของโลหะและมอสเฟต ชนิดดพี ลที ชนั ได้

10

5. เพอื่ ให้มีเจตคติที่ดใี นการจาแนกคุณลักษณะ
การถา่ ยโอนของดมี อสเฟตได้
6. เพอื่ จดั ไบอัสใหเ้ จเฟต วัดและทดสอบเจเฟต
ด้วยโอห์มมิเตอร์อย่างถกู ต้องเหมาะสมตาม
หลกั การได้
ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ความมีวินัย ความรกั สามัคคีความคิดรเิ รมิ่
สร้างสรรคแ์ ละความพึงพอใจในผลงานทีท่ า

แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ่ี 9 ดา้ นความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน ไอซีตั้งเวลา 555 (555 1.อธบิ ายไอซีตงั้ เวลา 555
Timer I.C) 2.เขียนลาดบั วงจรอะสเตเบิ้ลโดยใช้ไอซี 555 ได้
3.เปรยี บเทยี บไอซเี บอร์ 555 ทใ่ี ชใ้ นทางการคา้
แผนการจดั การเรียนรู้สปั ดาหท์ ี่ 10 ได้
ชือ่ หน่วยการสอน ไอซเี ร็กกูเลเตอร์ ดา้ นทกั ษะและประยุกตใ์ ช้
1.ออกแบบวงจรอะสเตเบ้ิลได้
2.จาแนกคุณสมบัตขิ องไอซี 555 ได้
3.ออกแบบวงจรอะสเตเบล้ิ อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม
ความมีวนิ ัย ความรกั สามัคคีความคิดริเรม่ิ
สรา้ งสรรคแ์ ละความพงึ พอใจในผลงานที่ทา

ด้านความรู้
1.เปรียบเทียบเร็กกูเลเตอร์แบบขนานและเร็กกูเล
เตอรแ์ บบอนุกรมได้
ด้านทักษะและประยกุ ต์ใช้
1.ฝกึ ออกแบบวงจรจ่ายไฟโดยใชไ้ อซเี ร็กกูเลเตอร์
ได้
2.ชเ้ี เจงแผนผังพืน้ ฐานของเร็กกูเลเตอรแ์ บบ
อนกุ รมได้
3.ใชเ้ หตผุ ลเกี่ยวกบั ไอซเี รก็ กูเลเตอร์สามขาชนิด
จา่ ยแรงดนั คงท่ไี ด้

11

4.ออกแบบวงจรจา่ ยไฟโดยใช้ไอซีเร็กกเู ลเตอร์
อย่างถูกต้องเหมาะสม
ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม
ความมวี ินัย ความรกั สามัคคีความคิดรเิ รม่ิ
สรา้ งสรรคแ์ ละความพงึ พอใจในผลงานท่ที า

แผนการจัดการเรยี นรู้สปั ดาหท์ ่ี 11 ด้านความรู้
ชื่อหน่วยการสอน ไอซีออปแอมป์ (Op-Amp 1.เปรยี บเทียบวงจรขยายแบบกลบั เฟสและแบบ
I.C) ไมก่ ลับได้
ดา้ นทักษะและประยุกต์ใช้
1.สงั เกตวงจรบัฟเฟอรแ์ ละวงจรกรองสัญญาณ
ความถี่ตา่ ได้
2.ติดตามคุณสมบตั ิของไอซีออปแอปไ์ ด้
3.ประยุกต์ไอซีออปแอมป์ไปใช้งานอืน่ ได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม
ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม
ความมวี ินัย ความรกั สามัคคีความคดิ รเิ ร่มิ
สรา้ งสรรคแ์ ละความพงึ พอใจในผลงานที่ทา

แผนการจัดการเรยี นรู้สัปดาหท์ ่ี 12 ด้านความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน เอส ซี อาร์ (SCR) 1.สาธติ โครงสร้างและสญั ลักษณข์ องเอสซอี าร์ได้
(ด้านความรู้)
ด้านทกั ษะและประยกุ ตใ์ ช้
1.วดั และทดสอบเอสซีอาร์ด้วยโอห์มมเิ ตอรไ์ ด้
2.ตรวจสภาพของเอสซอี ารด์ ้วยโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้
3.ตดิ ตามการยอมรับสภาวะนากระแสของเอสซี
อาร์ได้
4.จัดลาดับสภาวะหยุดนากระแสของเอสซีอาร์ได้
5.เพอื่ วัด ทดสอบ และตรวจสภาพของเอสซีอาร์
ด้วยโอห์มมิเตอร์ดว้ ยความระมัดระวัง ถูกต้อง
เหมาะสม

12

ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ความมีวินัย ความรักสามัคคีความคดิ ริเร่ิม
สรา้ งสรรคแ์ ละความพึงพอใจในผลงานทที่ า

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ี่ 13 ดา้ นความรู้
ชอ่ื หน่วยการสอน เทอร์มิสเตอร์ และวารสิ เตอร์ 1.อธบิ ายโครงสรา้ งและสัญลักษณ์ของทอร์
มสิ เตอรไ์ ด้
ด้านทักษะและประยุกตใ์ ช้
1.สงั เกตวาริสเตอร์ได้
3.จาแนกชนดิ ของเทอรม์ ิสเตอรไ์ ด้
4.นาเทอรม์ ิสเตอร์และวารสิ เตอร์ไปประยุกต์ใช้
งานในตา่ งๆ ได้
ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ความมวี ินัย ความรักสามัคคีความคดิ ริเร่มิ
สร้างสรรคแ์ ละความพงึ พอใจในผลงานที่ทา

แผนการจดั การเรียนรู้สัปดาหท์ ี่ 14 ดา้ นความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน ไดแอก (Diac) 1.บรรยายโครงสรา้ ง และสัญลักษณ์ของไดแอกได้
(ด้านความรู้)
ด้านทักษะและประยกุ ตใ์ ช้
1.วัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ได้
2.ติดตามการทางานของไดแอกได้
3.วัดและทดสอบไดแอกดว้ ยโอห์มมิเตอร์ได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม
ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม
ความมีวินัย ความรักสามัคคีความคดิ ริเรม่ิ
สร้างสรรค์และความพงึ พอใจในผลงานท่ีทา

แผนการจัดการเรียนรู้สปั ดาหท์ ี่ 15 ด้านความรู้
ชื่อหน่วยการสอน ไทรแอก (Triac) 1.เขยี นโครงสรา้ งสัญลักษณ์ของไทรแอกได(้

13

ด้านทักษะและประยกุ ตใ์ ช้
2.จุดชนวนใหไ้ ทรแอกทางานท้งั 4 ควอนแดรนท์
ได้
3.ตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอห์มมิเตอรไ์ ด้
4.จดั ลาดบั คุณสมบตั ิของไทรแอกได้
5.ตรวจสอบและหาขาไทรแอกดว้ ยโอห์มมิเตอรไ์ ด้
อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ตามหลกั การ
ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ความมีวินัย ความรักสามัคคีความคดิ รเิ ริ่ม
สร้างสรรค์และความพงึ พอใจในผลงานที่ทา

แผนการจดั การเรียนรู้สปั ดาหท์ ี่ 16 ดา้ นความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน ยเู จที (UJT) 1. อธิบายโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจทีได้
2. สรุปความวงจรกาเนิดสัญญาณ Relaxation
แผนการจดั การเรยี นรู้สัปดาหท์ ่ี 17 โดยใชย้ ูเจทีได้
ชอื่ หน่วยการสอน อุปกรณโ์ พต้า (Photo ดา้ นทกั ษะและประยุกต์ใช้
Device) 1. วัดและทดสอบหาขายเู จทีโดยใช้โอห์มมเิ ตอรไ์ ด้
2. ตรวจสอบยูเจทีโดยใชโ้ อหม์ มเิ ตอร์ได้
3. ช้ยี อมรับคณุ สมบตั ิของยเู จทีได้
4. วัด ทดสอบ ตรวจสอบ หาขายูเจทีโดยใช้
โอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ความมวี นิ ัย ความรกั สามัคคีความคิดรเิ รมิ่
สรา้ งสรรคแ์ ละความพึงพอใจในผลงานทที่ า

ดา้ นความรู้
1.อธิบายโฟโต้ไดโอดได้
ด้านทกั ษะและประยกุ ต์ใช้
1.สงั เกตโฟโต้ดารล์ งิ ตันทรานซสิ เตอรไ์ ด้
2.ยอมรบั โฟโตท้ รานซลิ ชสเตอรไ์ ด้
3.นามาประยุกตใ์ ช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

14

แผนการจัดการเรียนรู้สปั ดาหท์ ่ี 18 ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม
ชอ่ื หน่วยการสอน สอบปลายภาค ความมีวนิ ัย ความรักสามัคคีความคิดริเร่ิม
สรา้ งสรรคแ์ ละความพึงพอใจในผลงานท่ีทา

ด้านความรู้
1.นักเรยี นสามารถนาความรู้ทีเ่ รียนตลอดภาค
เรียนใช้ในการตอบคาถามได้
ด้านทักษะและประยุกตใ์ ช้

-
ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม
นกั เรยี นมีความซอ้ื สตั ย์ต่อตนเอง

15

ตารางวิเคราะห์หลักสตู ร

รหสั วิชา..... 20104 - 2102..... วชิ า .............อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร.............. จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชัน้ ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กล่มุ วิชา/...............ชา่ งไฟฟ้ากาลงั .................. หอ้ ง.......... 3,4,5,6..........

พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ดา้ นพุทธิพิสัย

ช่อื หน่วยการสอน ความรู้ (5)
ความเ ้ขาใจ (5)
/การเรยี นรู้ นาไปใ ้ช (5)
ิวเคราะ ์ห (5)
ัสงเคราะห์ (5)
ประเ ิมนค่า (5)
ด้านทักษะพิ ัสย (5)
้ดาน ิจตพิ ัสย (5)
รวม (40)
ลา ัดบความสาคัญ
จานวน ั่ชวโมง

1.สารกึง่ ตวั นาและไดโอด

3 2 3 - - - 2 2 12 6 4

2.วงจรเรียกกระแสแบบครึ่งคลืน่ 3 3 3 - - - 3 2 14 2 4

3. วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคลน่ื 3 3 3 - - - 3 2 14 3 4

4. วงจรเรยี งกระแสเต็มคล่ืนแบบ 3 3 3 - - - 3 2 14 4 4

บริดจ์

5. ซเี นอรไ์ ดโอด (Zener 3 2 2 - - - 2 2 11 7 4

diode)

6. การควบคมุ แรงดันให้คงที่ดว้ ย 3 2 2 - - - 2 2 11 8 4

ซเี นอร์ไดโอด (Zener

Regulator)

7. ทรานซิสเตอร์ (Transistor) 2 2 2 - - - 2 2 10 9 4

8. ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ 2 2 2 - - - 2 2 10 10 4

(Field Effect Transistor)

9. ไอซตี ้ังเวลา 555 (555

Timer I.C) 2 2 2 - - - 2 2 10 11 4

10. ไอซเี ร็กกูเลเตอร์ 3 3 4 - - - 4 3 17 1 4

11. ไอซีออปแอมป์ (Op-Amp 2 2 2 - - - 2 2 10 18 4

I.C)

12.เอส ซี อาร์ (SCR) 2 2 3 - - - 3 2 12 5 4

13.เทอร์มิสเตอร์ และวารสิ เตอร์ 2 2 2 - - - 2 2 10 12 4

14.ไดแอก (Diac) 2 2 2 - - - 2 2 10 13 4

15.ไทรแอก (Triac) 2 2 2 - - - 2 2 10 14 4

16.ยูเจที (UJT) 16
17.อุปกรณ์โพตา้ (Photo
Device) 2 2 2 - - - 2 2 10 15 4
18.สอบปลายภาค 2 2 2 - - - 2 2 10 16 4

รวมคะแนน 2 2 2 - - - 2 2 10 17 4
ลาดบั ความสาคัญ 43 40 43 - - - 42 37 205 72
2 4 1 - - - 35

คาอธิบาย 5 หมายถงึ ระดับความสาคัญของแต่ละรายการมี 5 ระดบั คือ 1,2,3,4,5

17

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวชิ า.....20104 - 2102....... วิชา .........อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชนั้ ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟา้ กาลัง................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื่ หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสัปดาห์ที่ 1

ชื่อหน่วยการสอน สารกึ่งตวั นา

และไดโอด

1. โครงสรา้ งพ้ืนฐานของอะตอม 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 7

2. วงโคจรของอิเล็กตรอน 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 8

3. สารกง่ึ ตวั นาบรสิ ุทธิ์ 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 9

4.สารกึง่ ตวั นาไมบ่ รสิ ุทธิ์ 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 10

5.สารกึ่งตวั นาชนดิ เอน็ 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 11

6.สารกงึ่ ตวั นาชนดิ พี 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 12

7.ไดโอด 3 2 2 2 2 - - - 2 2 14 13

8.สัญลกั ษณข์ องไดโอด 3 2 3 2 2 - - - 2 2 15 5

9.ไบอัสตรง 3 3 3 2 3 - - - 3 2 16 4

10.ไบอัสกลบั 3 3 3 2 3 - - - 3 2 19 1

11.ลักษณะสมบตั ิของไอโอด 3 3 3 2 2 - - - 2 2 19 2

12.กราฟสมบัตขิ องไดโอด 2 2 2 3 2 - - - 2 2 17 3

13.ทดสอบไดโอดดว้ ยโอห์มมิเตอร์ 3 3 3 3 3 - - - 3 2 15 6

รวม 32 30 31 28 29 - - - 29 26 199

ลาดับความสาคญั 1 3 2 6 4 - - - 5 7 8

18

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั วชิ า.....20104 - 2102....... วชิ า .........อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ช้นั ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟา้ กาลงั ................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่ือนไข
ความรู้ คุณธรรม

ชอ่ื หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ที่ 2

ช่ือหน่วยการสอน วงจรเรียก

กระแสแบบครึง่ คลืน่

1. ลักษณะวงจรเรียงกระแสแบบ 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 4

ครงึ่ คล่นื

2. การทางานของวงจรเรียงกระแส 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 3

แบบครง่ึ คลน่ื

3. วงจรเรียงกระแสครึ่งคล่ืน 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 1

4. วงจรเรียบกระแสคร่ึงคลื่นลบ 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 2

รวม 11 11 8 8 11 - - - 8 8 65

ลาดบั ความสาคญั 1 2 4 5 3 - - - 6 7

19

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วิชา .........อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ชน้ั ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟ้ากาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เงือ่ นไข
ความรู้ คุณธรรม

ช่อื หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสปั ดาห์ท่ี 3
ชื่อหน่วยการสอน วงจรเรียง
กระแสแบบเต็มคล่ืน
1. วงจรเรียงกระแสเต็มคล่นื แบบ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3
ใช้หมอ้ แปลงมีแทปกลาง
2. การทางานวงจรเรยี งกระแสเต็ม 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2
คลื่นแบบใช้แบบหม้อแปลงมีเทป
กลาง
3.วงจรกรอบแบบใช้ตัวเกบ็ ประจุ 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1
(Capacitor Filter)

รวม 9 6 9 9 10 - - - 6 6 55
ลาดบั ความสาคญั 4 5 3 2 1 - - - 6 7

20

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั วิชา.....20104 - 2102....... วิชา .........อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ช้นั ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชื่อหนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสัปดาห์ท่ี 4

ชื่อหน่วยการสอน วงจรเรียง

กระแสเต็มคล่นื แบบบรดิ จ์

1. วงจรเรียงกระแสเต็มคล่นื แบบ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

บริดจ์ (Bridge Rectifier)

2. การทางานวงจรเรยี งกระแสเตม็ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

คล่ืนแบบบรดิ จ์

3.แรงดนั เอาต์พตุ ของวงจร 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

4.แรงดันสงู สดุ ด้านกลับ (Peak 2 2 3 3 3 - - - 2 2 17 4

inverse Voltage)

5.ไดโอดบริดจ์แบบต่างๆ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18

รวม 14 10 15 15 16 - - - 10 10 90

ลาดับความสาคญั 4 5 3 2 1 - - - 6 7

21

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวชิ า.....20104 - 2102....... วชิ า .........อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชัน้ ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟ้ากาลัง................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่ือนไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชื่อหน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ที่ 5

ชือ่ หน่วยการสอน ซเี นอรไ์ ดโอด

(Zener diode)

1. โครงสรา้ งและสัญลกั ษณ์ ซี 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

เนอร์ไดโอด

2. การพงั ทลายของซเี นอร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

3. คณุ ลักษณะของการพงั ทลาย 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

4. วงจรสมมลู ของซีเนอรไ์ ดโอด 2 2 3 3 3 - - - 2 2 17 5

5. ตารางคุณสมบตั ิของซีเนอร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 4

ไดโอด

6. การใชง้ านซีเนอร์ไดโอด 3 2 3 2 2 - - - 2 2 16 6

รวม 17 12 18 17 18 - - - 12 12 106

ลาดับความสาคญั 3 5 2 4 1 - - - 6 7

22

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวชิ า.....20104 - 2102....... วิชา .........อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชน้ั ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟ้ากาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงอื่ นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื่ หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ที่ 6
ชื่อหน่วยการสอน การควบคุม
แรงดนั ให้คงทดี่ ว้ ยซีเนอร์ไดโอด
(Zener Regulator)
1. การควบคุมแรงดันให้คงท่ีด้วยซี 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 1
เนอรไ์ ดโอด
2. การออกแบบวงจรซเี นอรไ์ ดโอด 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 2

รวม 4 4 4 4 4 - - - 4 4 28
ลาดับความสาคญั 7 6 5 2 1 - - - 3 4

23

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วชิ า .........อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ช้นั ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟ้ากาลงั ................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เง่อื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชือ่ หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้ม ักน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ท่ี 7

ชื่อหน่วยการสอน ทรานซิสเตอร์

(Transistor)

1 ประวตั ิความเป็นมาของทรานซิล 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

เตอร์

2 โครงสร้างและสญั ลักษณข์ อง 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

ทรานซิสเตอร์

3 ชนิดของทรานซลิ เตอร์ 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

4 ขาของทรานซิลเตอร์ 2 2 3 3 3 - - - 2 2 17 5

5 การทางานของทรานซลิ เตอร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 4

6 การใหไ้ บอสั ทรานซลิ เตอร์ 3 2 3 2 2 - - - 2 2 16 6

รวม 17 12 18 17 18 - - - 12 12 106
ลาดับความสาคัญ 3 5 2 4 1 - - - 6 7

24

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วชิ า .........อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์และวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกิต

ชั้น ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่อื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื่ หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสัปดาห์ท่ี 8

ชอ่ื หน่วยการสอน ทรานซสิ เตอร์

สนามไฟฟา้ (Field Effect

Transistor)

1. โครงสร้างทรานซสิ เตอร์สา 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 9

ชนามไฟฟ้าชนดิ รอยต่อเจเฟต

2. การจัดไบอสั ใหเ้ จเฟต 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 8

3. สญั ลักษณ์ของเจเฟต 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 7

4. ลักษณะสมบัตขิ องเจเฟต 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 6

5. เฟตชนิดออกไซดข์ องโลหะ 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 5
(มอสเฟต)

6. มอสเฟตชนดิ ดีพลที ชนั 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 4

7. เอนฮานซ์เมนตโ์ หมด 3 2 2 2 2 - - - 2 2 14 3
(Enhancement Mode)

8. คณุ ลักษณะการถา่ ยโอนของ 25
ดีมอสเฟต 3 2 3 2 2 - - - 2 2 15 2

9.การวัดและทดสอบเจเฟตด้วย 3 3 3 2 3 - - - 3 2 16 1
โอหม์ มิเตอร์

รวม 21 19 20 18 19 - - - 19 18 135
ลาดบั ความสาคัญ 1 3 2 6 4 - - - 5 7

26

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วิชา .........อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชนั้ ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เงอื่ นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ช่อื หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ท่ี 9

ชอื่ หน่วยการสอน ไอซีตง้ั เวลา

555 (555 Timer I.C)

1. ไอซีตั้วเวลา 555 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

2. คณุ สมบตั ขิ องไอซี 555 แต่ละ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

ขา

3. วงจรอะสเตเบล้ิ โดยใชไ้ อซี 555 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

4. การเลอื กใชต้ ัวต้านทานและตัว 2 2 3 3 3 - - - 2 2 17 5
เก็บประจใุ นวงจรตั้งเวลา

5. ไอซีเบอร์ 555 ทใี่ ชใ้ นทาง 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 4
การค้า

รวม 14 10 15 15 16 - - - 10 10 90
ลาดบั ความสาคัญ 4 5 3 2 1 - - - 6 7

27

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วชิ า .........อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ช้ัน ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงือ่ นไข
ความรู้ คุณธรรม

ชือ่ หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ที่ 10

ชือ่ หน่วยการสอน ไอซีเรก็ กูเล

เตอร์

1. เร็กกเู ลเตอรแ์ บบขนาน 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 4

(Shunt Regulator)

2. เร็กกูเลเตอรแ์ บบอนุกรม 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 3

(Series Regulator)

3. แผนผงั วงจรพื้นฐานของเร็กกเู ล 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 1

เตอรแ์ บบอนกุ รม

4. ไอซีเรก็ กูเลเตอร์สามขาชนิดจา่ ย 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 2

แรงดันคงที่การเลือกใชต้ ัวตา้ นทาน

และตวั เกบ็ ประจุในวงจรตัง้ เวลา

รวม 11 11 8 8 11 - - - 8 8 65
ลาดับความสาคัญ 1 2 4 5 3 - - - 6 7

28

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วชิ า.....20104 - 2102....... วชิ า .........อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชั้น ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่อื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ช่ือหน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสัปดาห์ท่ี 11

ช่ือหน่วยการสอน ไอซีออปแอมป์

(Op-Amp I.C)

1 คุณสมบตั ิของออปแอมป์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

2 วงจรขยายแบบกลบั เฟส 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

(Inverting Amplifier)

3 วงจรขยายแบบไมก่ ลับเฟส 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

(Non-Inverting Amplifier)

4 วงจรบัฟเฟอร์ (Buffer) 2 2 3 3 3 - - - 2 2 17 5

5 วงจรกรองสญั ญาณความถ่ีตา่ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 4

(Low Pass Filter)

รวม 14 10 15 15 16 - - - 10 10 90

ลาดับความสาคัญ 4 5 3 2 1 - - - 6 7

29

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วิชา .........อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชั้น ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟ้ากาลงั ................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3ห่วง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื่ หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสปั ดาห์ที่ 12

ชื่อหน่วยการสอน เอส ซี อาร์

(SCR)

1. โครงสรา้ งและสญั ลกั ษณ์ของ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

เอสซอี าร์

2. สภาวะนากระแสของเอสซีอาร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

3. สภาวะหยุดนากระแสของเอสซี 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

อาร์

4. การนาเอสซีอาร์ไปใชง้ าน 2 2 3 3 3 - - - 2 2 17 5

5. การวดั และทดสอบเอสซีอาร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 4

ด้วยโอห์มมเิ ตอร์

รวม 14 10 15 15 16 - - - 10 10 90

ลาดบั ความสาคัญ 4 5 3 2 1 - - - 6 7

30

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วชิ า.....20104 - 2102....... วชิ า .........อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกิต

ชั้น ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้ คุณธรรม

ช่อื หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ท่ี 13

ชื่อหน่วยการสอน เทอร์มิสเตอร์

และวาริสเตอร์

1. โครงสรา้ งและสัญลกั ษณข์ อง 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

เทอร์มิสเตอร์

2. ชนดิ ของเทอร์มสิ เตอร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

3. วารสิ เตอร์ (Varistor) 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

รวม 9 6 9 9 10 - - - 6 6 55

ลาดบั ความสาคญั 4 5 3 2 1 - - - 6 7

31

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวิชา.....20104 - 2102....... วิชา .........อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ชนั้ ...............ปวช................. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟา้ กาลงั ................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่ือนไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอ่ื หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสัปดาห์ท่ี 14

ชือ่ หน่วยการสอน ไดแอก (Diac)

1. โครงสร้างและสัญลกั ษณ์ของได 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

แอก

2. การทางานของไดแอก 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

3. การวดั และทดสอบไดแอกดว้ ย 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

โอห์มมเิ ตอร์

รวม 9 6 9 9 10 - - - 6 6 55

ลาดับความสาคัญ 4 5 3 2 1 - - - 6 7

32

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วชิ า.....20104 - 2102....... วิชา .........อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ช้ัน ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟ้ากาลัง................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่อื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอื่ หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสัปดาห์ท่ี 15

ชอื่ หน่วยการสอน ไทรแอก

(Triac)

1. โครงสร้างและสญั ลักษณข์ อง 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

ไทรแอก

2. คณุ สมบัตขิ องไทรแอก 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

3. วิธกี ารตรวจสอบและการหาขา 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

ของไทรแอกดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์

รวม 9 6 9 9 10 - - - 6 6 55
ลาดับความสาคญั 4 5 3 2 1 - - - 6 7

33

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั วิชา.....20104 - 2102....... วชิ า .........อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ชนั้ ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟา้ กาลงั ................ หอ้ ง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชือ่ หนว่ ยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวชิ า ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสัปดาห์ท่ี 16

ช่ือหน่วยการสอน ยเู จที (UJT)

1. โครงสร้างและสญั ลกั ษณข์ องยู 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 4

เจที

2. ลักษณะสมบตั ิของยเู จที 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 3

3. วงจรกาเนดิ สัญญาณ 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 1

Relaxation โดยใชย้ เู จที

4. การวัดและทดสอบหาขายเู จที 3 3 2 2 3 - - - 2 2 17 2

โดยใชโ้ อหม์ มิเตอร์

รวม 11 11 8 8 11 - - - 8 8 65

ลาดับความสาคัญ 1 2 4 5 3 - - - 6 7

34

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า

โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหสั วิชา.....20104 - 2102....... วิชา .........อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร......... จานวน.......2......หน่วยกติ

ชน้ั ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ช่างไฟฟ้ากาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เง่อื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ช่อื หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หน่วยการสอนสปั ดาห์ที่ 17

ช่อื หน่วยการสอน อุปกรณโ์ พตา้

(Photo Device)

1. โฟโตไ้ ดโอด 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 3

2. โฟโตท้ รานซิลเตอร์ 3 2 3 3 3 - - - 2 2 18 2

3. โฟโตด้ าร์ลงิ ตนั ทรานซิลเตอร์ 3 2 3 3 4 - - - 2 2 19 1

รวม 9 6 9 9 10 - - - 6 6 55
ลาดบั ความสาคัญ 4 5 3 2 1 - - - 6 7

35

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชา

โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวชิ า.....20104 - 2102....... วชิ า .........อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร......... จานวน.......2......หนว่ ยกติ

ชน้ั ...............ปวช................. สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/.............ชา่ งไฟฟา้ กาลัง................ ห้อง...... ชฟ.1/3-6.....

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงอ่ื นไข
ความรู้ คณุ ธรรม

ชอ่ื หน่วยการสอน/ สมรรถนะ พอประมาณ (5)
ีมเห ุตผล (5)
รายวิชา ีมภู ิมคุ้มกัน (5)
รอบรู้ (5)
รอบคอบ (5)
ระ ัมดระ ัวง (5)
่ซือ ัสตย์ ุสจริต (5)
ข ัยนอดทน (5)
ีมส ิตปัญญา (5)
แบ่งปัน (5)
รวม (50)
ลาดับความสาคัญ

หนว่ ยการสอนสปั ดาห์ท่ี 18

ชือ่ หน่วยการสอน สอบปลายภาค

1. สอบปลายภาค 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14 1

รวม 2 2 2 2 2 - - - 2 2 14

ลาดับความสาคัญ 7 6 5 2 1 - - - 3 4 28

36

โครงการสอนหรือโครงการจัดการเรยี นรู้แบบมุง่ เนน้ สมรรถนะอาชพี
และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวชิ า ....... 20104 - 2102...... วิชา ........อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร........จานวน.......2......หน่วยกิต
ชั้น ..........ปวช............ สาขาวชิ า/กลมุ่ ..................................3,4,5,6...............................................................

สปั ดาห์ท่ี ชอื่ หน่วยการสอน/รายการสอน จานวนชัว่ โมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1 สารกึง่ ตวั นาและไดโอด
2 วงจรเรยี กกระแสแบบคร่ึงคล่ืน 13
3 วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คล่ืน 13
4 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์ 13
5 ซเี นอร์ไดโอด (Zener diode) 13
6 การควบคุมแรงดันให้คงท่ีดว้ ยซเี นอร์ไดโอด (Zener 13
13
Regulator)
7 ทรานซสิ เตอร์ (Transistor) 13
8 ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) 13
9 ไอซตี ้ังเวลา 555 (555 Timer I.C) 13
10 ไอซเี ร็กกเู ลเตอร์ 13
11 ไอซีออปแอมป์ (Op-Amp I.C) 13
12 เอส ซี อาร์ (SCR) 13
13 เทอร์มิสเตอร์ และวาริสเตอร์ 13
14 ไดแอก (Diac) 13
15 ไทรแอก (Triac) 13
16 ยเู จที (UJT) 13
17 อุปกรณโ์ พตา้ (Photo Device) 13
18 สอบปลายภาค 13

รวม 18 54
72
รวมท้ังส้ิน

37

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบม่งุ เน้นสมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัสวิชา ..... 20104 - 2102...... วิชา ...................... อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร.............................
สปั ดาหท์ ่ี ........1...... ชื่อหน่วย สารก่ึงตัวนาและไดโอด
ชอ่ื เรือ่ ง................สารก่ึงตัวนาและไดโอด……………………..............................................จานวน...4...ชวั่ โมง

1. สาระสาคญั

สสารต่างๆ ประกอบด้วยโมเลกุล และแตล่ ะโมเลกลุ ประกอบด้วยอะตอมหลายๆอะตอม ในอะตอม
หน่ึงอะตอมจะประกอบไปด้วยอิเลก็ ตรอนโคจรอยูร่ อบนิวเคลยี สภายในนวิ เคลยี สยงั ประกอบไปด้วยโปรตรอน
กับนวิ ตรอน โดยอิเลก็ ตรอนมีประไฟฟา้ เป็นลบ โปรตอนมปี ระจไุ ฟฟ้าเปน็ บวก นวิ ตรอนมีสภาพเป็นกลางทาง
ไฟฟา้ สารก่ึงตัวนาชนิดเอน็ (N-Type) ไดจ้ ากการนาสารกง่ึ ตัวนาบรสิ ทุ ธิผ์ สมกับสารที่มวี าเลนซอ์ ิเล็กตรอน
3 ตัว และสารก่งึ ตวั นาชนิดพี (P-Type) ไดจ้ ากการนาสารกึ่งตวั นาบรสิ ุทธิผ์ สมกับสารท่ีมีวาเลนซอ์ ิเล็กตรอน 5
ตวั ไดโอดเปน็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีได้จากการนาสารกึ่งตัวนาชนดิ เอน็ และชนิดพมี าต่อชนกัน มีคุณสมบัติ
นากระแสไฟฟา้ ไดท้ ิศทางเดยี ว การจดั แรงไฟให้สารกง่ึ ตัวนาเรียกว่าการให้ไบอัส ซงึ่ การให้ไบอสั มสี องอย่างคือ
ฟอร์เวริ ์สไบอัส และรเี วริ ์สไบอสั

2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้

1. แสดงความร้เู กย่ี วกบั สารก่ึงตวั นา ไดโอด และทดสอบไดโอดดว้ ยโอหม์ มิเตอร์

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพือ่ ให้มีความรู้เก่ียวกับการอธิบายโครงสร้างพื้นฐานของอะตอม (ดา้ นความรู้)
2. เพอ่ื ให้มีความรู้เกีย่ วกบั การบรรยายวงโคจรของอเิ ลก็ ตรอน (ด้านความรู้)
3. เพอ่ื ใหม้ ีความร้เู ก่ยี วกับการเปรยี บเทยี บสารกงึ่ ตัวนาบริสุทธิ์, สารกงึ่ ตัวนาไมบ่ ริสุทธ์ิ, สารกงึ่

ตัวนาชนิดเอน็ (N-Type), สารก่งึ ตัวนาชนดิ พี (P-Type) (ด้านความร)ู้
4. เพอื่ ให้มีความรเู้ กย่ี วกับการรวบรวมไดโอด (ดา้ นความรู้)
5. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการสังเกตลักษณะสมบตั ิของไดโอด (ด้านทักษะ)
6. เพอื่ ใหม้ ีทักษะในการแสดงกราฟลักษณะสมบตั ิของไดโอด (ดา้ นทกั ษะ)
7. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการทดสอบไดโอดดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ (ดา้ นทักษะ)
8. เพือ่ ให้มีเจตคติทด่ี ใี นการจาแนกสญั ลักษณข์ องไดโอด (ดา้ นจติ พสิ ัย)
9. เพื่อใหม้ ีเจตคติท่ดี ใี นการเลอื กไบอัสตรงและไบอสั กลบั (ดา้ นจิตพสิ ยั )

38

10. เพือ่ ใช้เครอ่ื งมือในการทดสอบไดโอดได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (ดา้ นดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/
บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง)

3.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายโครงสร้างพน้ื ฐานของอะตอมได้ (ด้านความรู้)
2. บรรยายวงโคจรของอิเล็กตรอนได้ (ดา้ นความร)ู้
3. เปรยี บเทยี บสารกึง่ ตัวนาบรสิ ทุ ธ์ิ, สารกึง่ ตวั นาไมบ่ รสิ ุทธิ์, สารกง่ึ ตัวนาชนิดเอ็น (N-Type),

สารกึ่งตัวนาชนิดพี (P-Type)ได้ (ด้านความร้)ู
4. รวบรวมไดโอดได้ (ด้านความรู้)
5. สังเกตลักษณะสมบตั ิของไดโอดได้ (ด้านทักษะ)
6. แสดงกราฟลักษณะสมบัติของไดโอดได้ (ด้านทักษะ)
7. ทดสอบไดโอดดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ได้ (ด้านทกั ษะ)
8. จาแนกสัญลกั ษณ์ของไดโอดได้ (ด้านจติ พสิ ยั )
9. เลอื กไบอสั ตรงและไบอัสกลบั ได้ (ดา้ นจิตพสิ ัย)
10. ทดสอบไดโอดไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม (ด้านด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ

พอเพียง)

4. เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ด้านความรู้
4.1.1 โครงสรา้ งพน้ื ฐานของอะตอม
4.1.2 วงโคจรของอเิ ล็กตรอน
4.1.3 สารกึง่ ตัวนาบรสิ ุทธ์ิ
4.1.4 สารกง่ึ ตัวนาไมบ่ รสิ ุทธ์ิ
4.1.5 สารกึง่ ตวั นาชนดิ N (N-Type Semiconductor)
4.1.6 สารก่ึงตวั นาชนิดพี (P-Type)
4.1.7 ไดโอด (Diode)
4.1.8 สญั ลักษณข์ องไดโอด
4.1.9 ไบอัสตรง (Forward Bias)
4.1.10 ไบอัสกลับ (Reverse Bias)
4.1.11 ลกั ษณะสมบตั ิของไอโอด
4.1.12 กราฟแสดงลกั ษณะสมบัตขิ องไดโอด
4.1.13 การทดสอบไดโอดดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์

39

4.2 ด้านทกั ษะหรือปฏบิ ตั ิ
1. การทดลองที่ 1 สารกึง่ ตัวนา
2. แบบทดสอบบทที่ 1

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ใชเ้ คร่อื งมือในการทดสอบไดโอดได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ขนั้ ตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขนั้ ตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของผเู้ รียน

ขัน้ เตรียม(จานวน 30 นาที) ขนั้ เตรียม (ใชเ้ วลา 30 นาท)ี
1. ผสู้ อนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกบั แนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอปุ กรณ์และ ฟงั ครูผสู้ อนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวธิ ีการเรียนเรื่อง สารก่งึ ตวั นา รายวชิ า วธิ กี ารให้คะแนนและวธิ ีการเรยี นเรือ่ ง
และไดโอด สารก่ึงตัวนาและไดโอด
2. ผสู้ อนแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนของหนว่ ยเรยี นที่ 2. ผู้เรยี นทาความเข้าใจเกี่ยวกับจดุ ประสงคก์ าร
1 และขอให้ผู้เรียนรว่ มกันทากิจกรรมการเรียนการ เรียนของหน่วยเรยี นท่ี 1 และการให้ความร่วมมือ
สอน ในการทากิจกรรม
3. ผู้สอนใหผ้ ูเ้ รียนอธิบายโครงสร้างพ้ืนฐานของ 3. ผูเ้ รยี นอธบิ ายโครงสร้างพ้ืนฐานของอะตอมพร้อม
อะตอมพรอ้ มให้เหตุผลประกอบ ใหเ้ หตุผลประกอบ
ขัน้ การสอน (จานวน 180 นาท)ี ขน้ั การสอน (จานวน 180 นาท)ี
1. ผู้สอนเปดิ PowerPoint หน่วยท่ี 1 เรอ่ื ง 1. ผเู้ รียนศกึ ษา PowerPoint หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง
สารกึ่งตัวนาและไดโอดและใหผ้ ้เู รียนศึกษาเอกสาร สารกึง่ ตัวนาและไดโอดและให้ผ้เู รียนศกึ ษาเอกสาร
ประกอบการสอน อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร ประกอบการสอน อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร
หนา้ ท่ี 2-13 โดยให้ผูเ้ รียนเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และ หนา้ ท่ี 2-13 โดยให้ผเู้ รยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และ
สามารถสอบถามข้อสงสยั ระหว่างเรียนจากผูส้ อน สามารถสอบถามขอ้ สงสยั ระหวา่ งเรยี นจากผสู้ อน
2. ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกันทดสอบไดโอดดว้ ยโอห์ม 2. ผู้เรียนร่วมกันกับผูส้ อนทดสอบไดโอดดว้ ยโอหม์
มิเตอร์ตามที่ไดศ้ ึกษาจาก PowerPoint มิเตอรต์ ามที่ได้ศึกษาจาก PowerPoint
3. ข้นั ประยุกต์ใช้ 3. ข้ันประยุกต์ใช้
1. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นทาการทดลองท่ี 1 สารกึง่ ตัวนา 1. ผู้เรยี นทาการทดลองท่ี 1 สารกึ่งตัวนา
หน้า 14-18 หน้า 14-18
2. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนสืบคน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ นต็ 2. ผเู้ รียนสืบค้นข้อมลู จากอินเทอรเ์ น็ต

40

ขัน้ สรุป(จานวน 30 นาที) ขน้ั สรุป (ใช้เวลา 30 นาที)

1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้ 1. ผเู้ รียนรว่ มกนั สรปุ เนอ้ื หาที่ได้เรียนให้มี

เรียนใหม้ ีความเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน ความเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบบทท่ี 1 2. ผู้เรยี นทาแบบทดสอบบทท่ี 1 หนา้ ท่ี 24-

หน้าที่ 24-26 26

3. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน 3. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย

ด้วย PowerPoint ท่ีจดั ทาข้ึน PowerPoint ที่จดั ทาขึน้

รวมเวลาเรียนทัง้ หมด 240 นาที
หรอื 4 ชั่วโมงเรียน

6. ส่ือการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สือ่ ส่ิงพิมพ์
1) เอกสารประกอบการเรียนวิชาอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจรของนายชิงชยั ศรสี รุ ตั น์
2) แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1 สารก่งึ ตวั นาและไดโอด
3) แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 สารกง่ึ ตวั นาและไดโอด

41

4) เอกสารการเรยี นรูห้ นว่ ยที่ 1 สารกง่ึ ตวั นาและไดโอด
5) แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 1 สารกง่ึ ตัวนาและไดโอด
6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลังเรียน และแบบฝกึ หัดท้ายหน่วย

6.2 สอื่ โสตทัศน์
1) เครือ่ งฉายภาพ (projector)
2) งานนาเสนอหนว่ ยท่ี 1 สารกง่ึ ตัวนาและไดโอด

6.3 ส่ือของจริง
1) ไดโอด
-

7. แหลง่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมุด
2. ศูนย์ Internet สมเด็จพระเทพฯ
3. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพวิ เตอร์

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. อาคารวทิ ยบรกิ าร วิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ

8. งานที่มอบหมาย

8.1 ก่อนเรียน
1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ตอบคาถามก่อนเรียน เป็นการนาเข้าสบู่ ทเรยี น

8.2 ขณะเรยี น
1. ตอบคาถามระหว่างเรยี น

8.3 หลังเรยี น
1. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. ทาแบบฝึกหัดหลงั เรยี น
3. ทาใบกจิ กรรมที่ 1

9. ผลงาน/ชิน้ งาน ที่เกิดจากการเรียนรขู้ องผู้เรยี น

การทดลองที่ 1 สารก่งึ ตัวนา, แบบทดสอบบทท่ี 1

42

10. เอกสารอา้ งอิง

1. หนังสือเรียนวิชาอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจรของนายชิงชัย ศรีสรุ ตั น์

11. การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธ์กับรายวชิ าอ่นื

1. บูรณาการกบั วชิ าชวี ติ และวัฒนธรรมไทย ดา้ นการพดู การอ่าน การเขยี นและการฝกึ ปฏบิ ตั ติ นทาง
สงั คมด้านการเตรียมความพร้อม ความรบั ผดิ ชอบ ความสนใจใฝ่รู้

2. บูรณาการกบั วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ดา้ นการเลือกใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยดั

12. หลักการประเมินผลการเรียน

12.1 กอ่ นเรียน
1. ตรวจสอบระดับความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รียนกอ่ นเร่ิมการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. ตรวจสอบความสนใจในการเรียนของผเู้ รยี นโดยการถาม-ตอบคาถามในระหว่างทีเ่ รียน

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนพร้อมกับเปรียบเทยี บแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ตรวจแบบฝกึ หัดหลงั เรียนเพ่ือประเมลิ ระดับความเข้าใจของผู้เรียน
3. ตรวจใบกิจกรรม

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี น

จุดประสงค์ข้อที่ 1 การประเมินผลความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนก่อนเรยี น
1. วิธกี ารประเมิน : ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรียน และถามคาถามเพ่ือประเมนิ ระดบั ความรู้ของผู้เรยี น
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบก่อนเรยี น
3. เกณฑ์การประเมิน : ใช้อา้ งอิงเป็นตัวเปรียบเทียบกบั ผลการทดสอบหลังเรยี น
4. เกณฑ์การผ่าน : นกั เรียนสามารถทาแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกวา่ คร่ึงหนึ่งของจานวนข้อของแบบ

ทดสอบท้ังหมด
จดุ ประสงค์ข้อท่ี 2 การประเมินผลความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รยี นหลงั เรียน
1. วิธกี ารประเมนิ : ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรียน
2. เคร่อื งการประเมิน : แบบทดสอบหลงั เรียน
3. เกณฑ์การประเมิน : ใช้เปรียบเทียบกบั ผลการทดสอบก่อนเรยี น
4. เกณฑ์การผา่ น : นักเรียนสามารถทาแบบทดสอบได้ไม่น้อยกว่าการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

43

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

สปั ดาหท์ ่ี .....1.....ชอ่ื หนว่ ยการสอน สารกง่ึ ตวั นาและไดโอด
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือ การประเมินผลความรูค้ วามเข้าใจของผู้เรียนกอ่ นเรียน
ขอ้ คาถาม
คาสัง่ จงเลอื กคาตอบใหถ้ ูกต้องทีส่ ดุ เพยี งคาตอบเดียว

1. วัสดุท่เี ปน็ สารกงึ่ ตัวนามีอิเลก็ ตรอนวงนอกสดุ ก่ีตัว
ก. 2 ตัว
ข. 3 ตวั
ค. 4 ตัว
ง. 5 ตัว

2. พนื้ ท่ี Depletion Region บรเิ วณรอยตอ่ พเี อ็น จะขยายกว้างทส่ี ุดเมอ่ื ใด
ก. ไดโอดได้รับไบแอสตรง
ข. ไดโอดไดร้ บั ไบแอสกลบั
ค. ไดโอดมีกระแสไหลมากทสี่ ุด
ง. กระแสรวั่ ไหลมีคา่ ต่า

3. บริเวณรอยตอ่ พี่เอน็ เรยี กว่าอะไร
ก. Combination
ข. Intrinsic Semiconductor
ค. Depletion Region
ง.Doping

4. ไดโอดในอดุ มคติ เปรียบเสมือนอปุ กรณใ์ นข้อใด
ก. ตวั ต้านทาน
ข. สวติ ช์
ค. ฟิวส์
ง. ซิลคิ อนบรสิ ทุ ธิ์

5. ตงั้ ย่านวัด Rx10k วดั ขว้ั ไดโอดตัวหน่ึงทั้งสองครง้ั แล้วอา่ นคาความตา้ นทานได้เทา่ กับ 0[ โอหม์ ทงั้
สองครง้ั สรุปไดว้ ่าไดโอดตวั น้ีเปน็ อย่างไร
ก. ไดโอดลดั วงจร
ข. ไดโอดปกติ นาไปใช้งานได้
ค. ไดโอดร่ัว
ง. ไดโอดขาด

44

6. ต้ังย่านวัด R วดั ข้ัวไดโอดตวั หน่งึ ทง้ั สองครัง้ แลว้ อา่ นคา่ ความตา้ นทานได้ทา่ กับศนู ย์โอหม์
ท้ังสองครัง้ สรุปไดว้ ่าไดโอดตัวนเี้ ปน็ อยา่ งไร
ก. ไดโอดลดั วงจร
ข. ไดโอดปกติ นาไปใช้งานได้
ค. ไดโอดร่วั
ง. ไดโอดขาด

7. ขอ้ ใดคอื ความหมายของการไบแอสตรง
ก. จา่ ยไฟบวกให้แคโทดและจา่ ยไฟลบใหแ้ อโนด
ข. จ่ายไฟบวกให้แอโนตและจา่ ยไฟลบให้แคโทด
ค. จ่ายไฟบวกให้แคโทตและจ่ายไฟลบหรอื บวกใหแ้ อโนด
ง. ศกั ยไ์ ฟฟา้ ทแี คโหดสงู กว่าศกั ยไ์ ฟฟา้ ท่แี อโนด

8. แถบสีดาบนตวั ไดโอดปกติแลว้ จะอยใู่ กลก้ บั สว่ นใด
ก. Anode
ข. Cathode
ค. สว่ นทเ่ี ป็น N-type
ง. ถูกท้งั ค. และ ค.

9. ขอ้ ใดเป็นการไบแอสกลบั แก่ไคโอด
ก. ขัว้ ลบจะต่อขา้ กับสาร N ขวั้ บวกจะต่อเขา้ กบั สาร P
ข. ขวั้ ลบจะต่อเข้ากบั สาร P ข้ัวบวกจะตอ่ ข้ากับสาร N
ค. ขวั้ ลบจะตอ่ ข้ากับขั้ว K ขั้วบวกจะต่อขา้ กับข้ัว A
ง. ขว้ั บวกจะตอ่ เขา้ กบั ข้ั A ข้วั ลบจะตอ่ เขา้ กบั ขั้ว K

10. จดุ ของแรดันไฟฟ้าบนกราฟแสดงคณุ ลกั ษณะของไคโอด ที่กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นไดโอด
เม่อื ไดร้ ับ
ไบแอสตรงมชี ่ือเรียกวา่ อะไร
ก. Breakdown Voltage
ข. Knee Voltage
ค. Barrier Voltage
ง. Voltage

45

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

สัปดาหท์ ่ี .....1.....ชอื่ หนว่ ยการสอน สารกง่ึ ตัวนาและไดโอด
วตั ถุประสงค์ เพอื่ การประเมนิ ผลความรูค้ วามเข้าใจของผูเ้ รียนก่อนเรียน
ขอ้ คาถาม
คาส่งั จงเลอื กคาตอบใหถ้ ูกต้องทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว
1. วสั ดุทเ่ี ป็นสารกง่ึ ตวั นามีอิเลก็ ตรอนวงนอกสุดกตี่ ัว
ก. 2 ตวั
ข. 3 ตวั
ค. 4 ตวั
ง. 5 ตัว

2. พ้ืนท่ี Depletion Region บรเิ วณรอยต่อพเี อน็ จะขยายกว้างที่สุดเมอ่ื ใด
ก. ไดโอดได้รบั ไบแอสตรง
ข. ไดโอดไดร้ บั ไบแอสกลบั
ค. ไดโอดมีกระแสไหลมากท่สี ุด
ง. กระแสรวั่ ไหลมีคา่ ต่า

3. บริเวณรอยตอ่ พีเ่ อ็นเรียกวา่ อะไร
ก. Combination
ข. Intrinsic Semiconductor
ค. Depletion Region
ง.Doping

4. ไดโอดในอุดมคติ เปรียบเสมอื นอปุ กรณใ์ นข้อใด
ก. ตวั ตา้ นทาน
ข. สวติ ช์
ค. ฟวิ ส์
ง. ซิลิคอนบรสิ ุทธ์ิ

5. ตงั้ ยา่ นวัด Rx10k วัดขั้วไดโอดตัวหนึ่งทง้ั สองคร้งั แล้วอา่ นคาความตา้ นทานได้เทา่ กับ 0[ โอหม์ ทั้ง
สองครง้ั สรุปไดว้ ่าไดโอดตัวนี้เป็นอยา่ งไร
ก. ไดโอดลดั วงจร
ข. ไดโอดปกติ นาไปใช้งานได้
ค. ไดโอดร่วั
ง. ไดโอดขาด

46

6. ต้ังย่านวัด R วดั ข้วั ไดโอดตวั หน่งึ ทง้ั สองครัง้ แลว้ อา่ นคา่ ความตา้ นทานได้ทา่ กับศนู ย์โอหม์
ท้ังสองครัง้ สรุปไดว้ ่าไดโอดตัวนเี้ ปน็ อยา่ งไร
ก. ไดโอดลดั วงจร
ข. ไดโอดปกติ นาไปใช้งานได้
ค. ไดโอดร่วั
ง. ไดโอดขาด

7. ขอ้ ใดคอื ความหมายของการไบแอสตรง
ก. จา่ ยไฟบวกให้แคโทดและจา่ ยไฟลบใหแ้ อโนด
ข. จ่ายไฟบวกให้แอโนตและจา่ ยไฟลบให้แคโทด
ค. จ่ายไฟบวกให้แคโทตและจ่ายไฟลบหรอื บวกใหแ้ อโนด
ง. ศกั ยไ์ ฟฟา้ ทแี คโหดสงู กว่าศกั ยไ์ ฟฟา้ ท่แี อโนด

8. แถบสีดาบนตวั ไดโอดปกติแลว้ จะอยใู่ กลก้ บั สว่ นใด
ก. Anode
ข. Cathode
ค. ส่วนทเ่ี ป็น N-type
ง. ถูกท้งั ค. และ ค.

9. ขอ้ ใดเป็นการไบแอสกลบั แก่ไคโอด
ก. ขั้วลบจะต่อขา้ กับสาร N ขวั้ บวกจะต่อเขา้ กบั สาร P
ข. ข้วั ลบจะต่อเข้ากบั สาร P ข้ัวบวกจะตอ่ ข้ากับสาร N
ค. ข้ัวลบจะตอ่ ข้ากับขั้ว K ขั้วบวกจะต่อขา้ กับข้ัว A
ง. ขว้ั บวกจะตอ่ เขา้ กบั ข้ั A ข้วั ลบจะตอ่ เขา้ กบั ขั้ว K

10. จดุ ของแรดันไฟฟ้าบนกราฟแสดงคณุ ลกั ษณะของไคโอด ที่กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นไดโอด
เม่อื ไดร้ ับ
ไบแอสตรงมชี ่ือเรียกวา่ อะไร
ก. Breakdown Voltage
ข. Knee Voltage
ค. Barrier Voltage
ง. Voltage

47

16. ใบความรู้ที่ ...1.....

สัปดาหท์ ่ี .....1.....ช่ือหนว่ ยการสอน สารกง่ึ ตัวนาและไดโอด
ช่อื หัวข้อเร่ือง สารก่งึ ตวั นาและไดโอด

16.1 โครงสร้างพนื้ ฐานของอะตอม
สสารต่างๆ ท่ีเราพบเห็นอยทู่ ั่วไปนัน้ ถา้ พิจารณาลงไปถงึ สว่ นประกอบขนาดเลก็ ทีป่ ระกอบกันเปน็ สสารนน้ั
แล้ว จะพบวา่ ประกอบดว้ ยโมเลกุล ซ่งึ โมเลกุลเป็นสว่ นประกอบเล็กที่สดุ ของสารและยังแสดงสมบัตขิ องธาตุ
นน้ั อย่ไู ด้ ในแตล่ ะโมเลกุลจะประกอบด้วยสว่ นท่ีเล็กลงไปอกี เรยี กวา่ อะตอม จากการทดลองของ
นักวทิ ยาศาสตรท์ าใหท้ ราบว่าอะตอมประกอบด้วยนิวเคลยี สยงั ประกอบไปด้วยอนภุ าคโปรตอนและนิวตรอน
อย่รู ว่ มกนั อิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบนวิ เคลียสน้ันมีประจเุ ป็นลบ ส่วนโปรตรอนมปี ระจุเป็นบวก นวิ ตรอนที่
อยู่ในนิวเคลียสมปี ระจุเป็นกลางทางไฟฟา้ โดยปกตแิ ลว้ อะตอมของธาตตุ ่างๆ จะเปน็ กลางทางไฟฟ้า ในธาตุ
เดียวกนั อะตอมของธาตนุ นั้ จะมีจานวนโปรตรอนและอิเล็กตรอนเทา่ กัน

16.2 วงโคจรของอเิ ลก็ ตรอน
จานวนอิเลก็ ตรอนที่ว่ิงรอบนิวเคลยี สจะวิง่ เปน็ วงๆ โดยแต่ละวงโคจรจะมีอิเล็กตรอนบรรจอุ ยไู่ ม่เท่ากนั
เรียงลาดบั จากน้อยไปหามาก แต่ละวงจะสามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้จานวนเท่าใดน้ันคานวณได้จากสตู ร

〖"2N" 〗^"2" โดย N คอื ลาดับวงโคจรทห่ี า่ งจากนิวเคลียส วงโคจรอเิ ล็กตรอนที่อยหู่ ่างจาก
นวิ เคลียสจะบอกกากับไว้เป็นอักษร ซ่ึงวงในสดุ ที่ตดิ กันนวิ เคลียสจะนับเป็นวงแรก คือ วง K และวงอยหู่ า่ ง
ออกไปเร่ือยๆ กจ็ ะเปน็ L, M, N, O, P, Q ตามลาดับ แตล่ ะวงตะมีอเิ ล็กตรอนได้สงู สดุ ตามสตู ร

〖"2N" 〗^"2" ดงั นน้ั วง K ซง่ึ เปน็ วงที่ 1 จะมีอิเล็กตรอนสูงสดุ เท่ากับ 〖"2N" 〗^"2" = "2"
("1" )^"2" =2 ตวั , วงที่ 2 L=8 ตัว วงท่ี 3 M=18 ตวั , วงท่ี 4 N=32 ตวั , วงท่ี 5 Q=50 ตวั โดย
ต้ังแต่วง Q เป็นตน้ ไปจานวนอิเล็กตรอนท่บี รรจุลงไปจะไม่เต็มจานวนตามสูตรท่ีคานวณได้
ตวั นาไฟฟ้า (Conductor)
ตัวนาไฟฟ้า คือ ธาตุท่ีมวี าเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน 1-3 ตัว ซง่ึ อิเล็กตรอนสามารถหลดุ ออกจากอะตอมได้โดยง่าย
เมอ่ื มีพลงั งานหรือแรงมากระทาเพยี งเล็กน้อย นากระแสไฟฟ้าได้ดี ธาตุเหล่านน้ั
กึ่งตวั นาไฟฟ้า (Semi-Conductor)
ธาตุทีจ่ ัดเป็นจาพวกก่งึ ตัวนาไฟฟา้ คือ ธาตุท่มี วี าเลนซ์อเิ ล็กตรอน 4 ตวั ซ่งึ มีคุณสมบัติอยกู่ ่งึ กลางระหว่าง
ตวั นาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟา้ ธาตุกง่ึ ตัวนาไฟฟา้ นนี้ ิยมนาไปใชผ้ ลติ เปน็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ตา่ งๆ
ฉนวนไฟฟา้ (Insulator)
ธาตุท่ีจัดเป็นจาพวกฉนวนไฟฟา้ คือ ธาตุที่มวี าเลนซ์อเิ ล็กตรอน 5-8 ตวั ซ่ึงอเิ ลก็ ตรอนไมส่ ามารถหลดุ ออก
จากอะตอมได้โดยง่าย จะต้องใช้พลังงานสงู มากๆ มากระทาอเิ ลก็ ตรอนจึงหลดุ อออกได้ กระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านไดย้ าก มีคา่ ความต้านทานไฟฟ้าสูงมาก

48

16.3 สารกง่ึ ตวั นาบริสุทธ์ิ
สารกง่ึ ตัวนาบรสิ ุทธ์ิ คือ ธาตกุ ่ึงตวั นาที่ยงั ไม่ไดเ้ ติมสารเจือปน (Doping) ใดๆ ลงไป ธาตกุ งึ่ ตัวนาทนี่ ิยท
นาไปทาเป็นสารก่งึ ตวั นาในอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ก็คือธาตุก่ึงตวั นาซลิ คิ อน (Si) และธาตกุ ่ึงตัวนาเยอรมัน
เนยี ม (Ge) ธาตทุ ้งั สองชนดิ จะมวี าเลนซ์อเิ ล็กตรอน 4 ตวั แตอ่ ิเลก็ ตรอนทั้งหมดจะไมเ่ ทา่ กนั โดยซลิ ิคอน
จะมอี ิเลก็ ตรอนทงั้ หมด 14 ตัว ส่วนเยอรมันเนยี มจะมีอิเล็กตรอนทั้งหมด 32 ตวั ต่อหน่ึงอะตอม

16.4 สารกึ่งตัวนาไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ
สารกง่ึ ตัวนาไม่บรสิ ุทธ์ิ คอื การนาเอาธาตุซลิ ิคอนหรือธาตเุ ยอรมนั เนียมบริสทุ ธมิ์ าเติมธาตเุ จือปนลงไป โดย
ใชธ้ าตุเจือปนที่มีอเิ ลก็ ตรอนวงนอกสุด 3 ตวั หรือธาตุเจอื บน่ ทม่ี ีอิเล็กตรอนวงนอกสดุ 5 ตัวลงไปใน

อตั ราสว่ น 〖"10" 〗^"8" "=1" คอื ธาตกุ ง่ึ ตัวนาบริสทุ ธ์ิ 〖"10" 〗^"8" ส่วนตอ่ สารเจือปน 1
ส่วน ซงึ่ จะทาให้ไดส้ ารกึ่งตวั นาชนดิ ใหม่ขน้ึ มา

16.5 สารกง่ึ ตวั นาชนิด N (N-Type Semiconductor)
สารกง่ึ ตวั นาชนิดเอน็ เปน็ สารกง่ึ ตวั นาทไี่ ดจ้ ากการเติมสารเจือปนทม่ี ีวาเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน 5 ตัว เชน่
ฟอสฟอรัส, อาเซนิค อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ลงไปในธาตุซลิ ิคอนหรอื เยอรมันเนียบบริสุทธ์ิ จะทาให้อิเลก็ ตรอนวง
นอกสุดของของละอะตอมแลกเปล่ยี นอิเล็กตรอนซงึ่ กันและกนั หรอื ใชอ้ เิ ล็กทรอตรอนร่วมกันได้ครบ 8 ตวั
ทาใหเ้ หลอื อิเล็กตรอนอีก 1 ตวั ทไี่ มส่ ามารถจบั ตวั กับอะตอมข้างเคยี ง เรยี ก อิเล็กตรอนตวั นีว้ ่า
อิเลก็ ตรอนนี้วา่ อเิ ล็กตรอนอิสระ (Free Electron) ซงึ่ จะแสดงประจุลบออกมา

16.6 สารก่ึงตัวนาชนิดพี (P-Type)
สารกง่ึ ตวั นาชนิดพีเป็นสารก่ึงตวั นาทีไ่ ด้จากการเติมธาตเุ จอื ปนท่ีมีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 3 ตวั เชน่ โบรอน
(Br), อินเดยี ม (In), แกลเลียม (Ge) อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ลงไปในธาตุซลิ คิ อนหรอื ธาตุเยอรมันเนียมบรสิ ุทธิ์
จะทาให้อเิ ล็กตรอนวงนอกสดุ ของแต่ละอะตอมแลกเปล่ียนอเิ ลก็ ตรอนซง่ึ กันและกันหรอื ใชอ้ ิเล็กตรอนรว่ มกัน
ไดค้ รบได้ 8 ตัว ส่วนอะตอมของธาตุเจือปนจะขาดอเิ ล็กตรอนอีก 1 ตวั เพราะธาตุเจือปนมีอเิ ล็กตรอนวง
นอกสุด 3 ตวั เรียกสว่ นทข่ี าดอเิ ล็กตรอนนวี้ ่าโฮล (Hole) ซึ่งแปลว่า หลมุ หรือ รู

16.7 ไดโอด (Diode)
ไดโอด เป็นอปุ กรณ์สารกุ่งตัวนา ทไี่ ด้จากการนาเอาสารก่ึงตัวนาชนิดพี และสารกึง่ ตวั นาชนิดเอ็น มาตอ่ ชน
กนั ไดเ้ ป็นอุปกรณส์ ารกงึ่ ตวั นาหนงึ่ รอยต่อ (Junction) ในการต่อสารกึง่ ตวั นาชนดิ พี และเอ็น นน้ั มิใช่
เพียงการนามาติดกนั เท่านน้ั แต่จะต้องใชว้ ธิ ีปลกู ผลกึ หรอื วิธกี ารแพร่สารเจือปนลงไปในสารในสารก่งึ ตวั นา
บริสุทธ์ิ

16..8 สญั ลักษณ์ของไดโอด
สัญลักษณ์ของไดโอดประกอบดว้ ยหวั ลูกศรเปน็ ขาแอโนด (Anode) ใชอ้ กั ษรย่อ A และอีกด้านหนึ่งเป็นขา
แคโถด (Cathode) ใช้อักษรย่อ K หัวลูกศรนั้นแสดงให้เห็นวา่ กระแสโฮล (กระแสนิยม) จะไหลจากขา
แอโนดไปสแู่ คโถด

16..9 ไบอัสตรง (Forward Bias)

49

การให้ไบอสั ตรงกับไดโอดกค็ ือ การจา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ ในตัวไดโอดแบบตรงกับสารก่งึ ตวั นา คอื จา่ ยแรงไฟที่มี
ศักย์บวกให้สารก่ึงตวั นาชนิดพี และจ่ายแรงไฟที่มีศักยเ์ ป็นลมใหก้ บั สารกึง่ ตัวนาชนดิ เอ็น

16.10 ไบอัสกลบั (Reverse Bias)
ไบอสั กลับหรือเรียกวา่ รีเวิร์สไบอัส เป็นการกระจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าให้กบั ไอโอดแบบกลับขั้ว คอื จา่ ยศกั ย์ไฟ
บวกใหส้ ารชนดิ เอน็ จ่ายศักยไ์ ฟลบใหส้ ารชนิดพีจะมผี ลให้เกดิ การทางาน

16.11 ลกั ษณะสมบัติของไอโอด
แมว้ ่าไดโอดในอุดมคติจะมลี ักษณะคล้ายดังสวติ ซ์ทางไฟฟ้า คือ เมื่อเราให้ไปอสั ตรงจะเหมือนกบั สวิตซป์ ดิ
วงจร (ON) แตถ่ า้ ให้ไบอสั กลบั จะเหมอื นกับสวติ ซเ์ ปิดวงจร (OFF) ซ่งึ ไดโอด เมื่อได้ไปอสั ตรงจะมีกระแส
ไหลผ่านไดโอดไดส้ งู และมีแรงดันตกคร่อมไอโอดอยู่เล็กน้อยประมาณ 0.2 หรือ 0.6 โวลต์ แ

16.12 กราฟแสดงลักษณะสมบตั ิของไดโอด
สามารถได้จากการไบอสั ตรงและไบอสั กลบั กับไดโอด เม่ือไดโอดใหร้ ับไบอสั ตรงจะเกดิ กระแสไหลผา่ นไดโอด
ได้ในทิศทางจากสารชนดิ พีไปยงั สารเอ็น

16.13 การทดสอบไดโอดดว้ ยโอห์มมิเตอร์
การตรวจสอบหาขาของไดโอด หรือการตรวจสอบว่าไอโอดนน้ั ใช้งานได้หรือไม่ ทาได้อยา่ งง่ายโดยใชโ้ อหม์
มิเตอร์ เนอ่ื งจากไดโอดนน้ั เม่ือไดร้ ับแรงไฟไฟอัสตรงจะยอมใหก้ ระแสไหลผา่ นแสดงวา่ ความต้านทานของ
ไดโอดมีค่าต่า แตเ่ มอื่ ไดโอดไดร้ ับแรงไฟไบอสั กลับจะมีกระแสไหลผา่ นไดโอดเหมอื นกับวา่ ความตา้ นทานของ
ไอโอดมคี า่ สูงมาก

50

17. ใบงาน
17 ใบกจิ กรรมที่ ....1....

สัปดาหท์ ี่ .....1.....ชอ่ื หนว่ ยการสอน สารก่ึงตวั นาและไดโอด
ชื่อหัวข้อเรือ่ ง สารก่งึ ตวั นาและไดโอด
จดุ ประสงค์ เพื่อ

1. วเิ คราะห์และตคี วามหมาย
2. ต้ังคาถาม
3. อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ระดมสมอง
4. การประยุกตค์ วามร้สู งู่ านอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัตงิ านอาชพี
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับสารก่งึ ตัวนา ไดโอด และทดสอบไดโอดดว้ ยโอห์มมิเตอร์

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรียนเรื่อง สารกึ่งตัวนาและไดโอด ทาให้ผู้เรยี นมีความรู้เพ่มิ เกี่ยวกับสสารต่างๆ

ที่ ประกอบด้วยโมเลกุล และแต่ละโมเลกลุ ประกอบดว้ ยอะตอมหลายๆอะตอม ในอะตอมหนง่ึ
อะตอมจะประกอบไปดว้ ยอิเล็กตรอนโคจรอย่รู อบนิวเคลยี สภายในนิวเคลียสยังประกอบไปดว้ ย
โปรตรอนกบั นวิ ตรอน โดยอิเล็กตรอนมปี ระไฟฟ้าเป็นลบ โปรตอนมปี ระจไุ ฟฟา้ เป็นบวก นวิ ตรอน
มีสภาพเปน็ กลางทางไฟฟ้า สารกึ่งตัวนาชนดิ เอน็ (N-Type) ได้จากการนาสารกงึ่ ตัวนาบรสิ ุทธ์ิ
ผสมกบั สารทีม่ ีวาเลนซอ์ ิเล็กตรอน 3 ตวั และสารกึ่งตวั นาชนดิ พี (P-Type) ไดจ้ ากการนาสารก่ึง
ตวั นาบริสทุ ธิ์ผสมกบั สารที่มวี าเลนซ์อิเลก็ ตรอน 5 ตวั ไดโอดเปน็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ไี ดจ้ าก
การนาสารก่ึงตวั นาชนิดเอ็นและชนิดพีมาต่อชนกัน มีคณุ สมบัตนิ ากระแสไฟฟ้าไดท้ ศิ ทางเดียว
การจดั แรงไฟใหส้ ารก่งึ ตัวนาเรยี กว่าการใหไ้ บอัส ซง่ึ การให้ไบอสั มีสองอยา่ งคือ ฟอรเ์ วิร์สไบอสั
และรเี วิร์สไบอัส


Click to View FlipBook Version