The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ooonononza2539, 2021-04-02 04:12:42

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

20104 - 2102 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร

151

3. ทรานซสิ เตอร์ชนดิ ใดท่นี ิยมใชก้ ันมากในปจั จุบนั
ก. ทรานซสิ เตอรช์ นิดหัวต่อ
ข. ทรานซสิ เตอรช์ นดิ เขอรมนั เนยี ม
ค. ทรานซิสเตอร์แบบปรบั คา่
ง. ทรานซสิ เตอรช์ นิดซลิ ิคอน

4. ชั้นกลางของโครงสร้างทรานซสิ เตอร์ต่อกับบาได
ก. อมิ ิตเตอร์
ข. คอลเลกเตอร์
ค. เบส
ง. กราวด์

5. ช่นั รอบพอกของโครงสรา้ งทรานซิสเตอร์เรียกว่าอะไร
ก. ตวั ถงั
ข. โครงสรา้ งรอบนอก
ค. อิมติ ตอร์และดอลลกเตอร์
ง. สารกง่ึ ตัวนา
6. โครงสรา้ งภายนอกทรานซิสเตอร์มีไว้เพอ่ื อะไร
ก. ปอ้ งก้โครงสร้งภายใน, ระบาขความรอ้ นและคา้ จุนขา
ข. สวยงาม, ค้าจุนขาและระบชุ นิดของทรานซิสเตอร์
ค. ปอ้ งกันโครงสรง้ ภายใน, ระบายความร้อน และระบุชนิดของทรานซิสเตอร์
ง. ระบุช่อื ขาตา่ ง ๆ ของทรานซิสเตอร์

7. จากรูปเปน็ สัญลกั ษณ์ของทรานซิสเตอรช์ นิดใด

152

ก. ชนิด NPN
ข. ชนดิ PNP
ค. ชนิด NNP
ง. ชนิด PPN

8. จากรปู เปน็ สัญลกั ษณ์ของทรานซิสเตอร์ชนดิ ใด

ก. ชนดิ NPN
ข. ชนดิ NNP
ค. ชนิด PNP
ง. ถูกทง้ั ก และ ค

9. ขอ้ ใดเปน็ การจา่ ยไบอัสให้ทรานซิสเตอรถ์ ูกต้อง
ก. จ่ายไบอัสตรงใหข้ า C กับขา B
ข. จ่ายไบอัสกลับใหข้ า B กบั ขา C
ค. จา่ ยไบอัสกลับให้ขา E กับขา B
ง. จ่ายแรงดนั สงู ให้ขา B กบั ขา E

10. ทรานซิสเตอร์ที่ขน้ึ ต้นด้วย 2SA หรอื A มีความหมายอย่างไร
ก. เปน็ ทรานซิสเตอร์ชนดิ PNP ใชใ้ นความถ่ตี า่
ข. เปน็ ทรานซสิ เตอร์ชนดิ PNP ใชใ้ นความถ่สี ูง
ค. เป็นทรานซิสเตอร์ชนดิ NPN ใชใ้ นความถี่ต่า
ง. เปน็ ทรานซสิ เตอรช์ นิด NP ใช้ในความถี่สงู

153

16. ใบความรู้ท่ี ...7.....

สัปดาหท์ ี่ .....7.....ชอื่ หนว่ ยการสอน ทรานซสิ เตอร์
วตั ถุประสงค์ เพ่ือ การประเมินผลความรคู้ วามเข้าใจของผูเ้ รยี นกอ่ นเรยี น

16.1 ประวัติความเปน็ มาของทรานซลิ เตอร์
ในชว่ งเวลากอ่ นปี พ.ศ. 2490 ประมาณ 40 ปี หลอดสญุ ญากาศเปน็ อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ่ีมีการพฒั นา
และนามาใชง้ านมากท่ีสดุ การใชง้ านหลอดสุญญากาศ มีปัญหาในการใช้งานมาก เชน่ กาลงั ไฟฟ้าสูญเสยี
มาก มขี นาดใหญ่ ชารุดง่าย กรรมวิธีผลติ ยุง่ ยาก เปน็ ต้น เมอื่ ความต้องการใช้งานมากขึ้น หลอด
สญุ ญากาศย่ิงมีปญั หามากขึน้ จึงไดม้ ผี คู้ ิดคน้ ส่ิงประดิษฐใ์ หมๆ่ ทางดา้ นอิเลก็ ทรอนิกส์มาใช้งานแทนหลอด
สญุ ญากาศยิ่งมีปัญหามากขน้ึ จงึ ได้มผี ู้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ทางด้านอเิ ลก็ ทรอนิกส์มาใช้งานแทนหลอด
สญุ ญากาศ

16.2 โครงสรา้ งและสัญลกั ษณข์ องทรานซิสเตอร์
ทรานซิลเตอรแ์ บ่งตามโครงสร้างของสารกึง่ ตัวนาไดเ้ ปน็ สองชนิด คอื

1. ทรานซิลเตอร์ชนดิ พีเอ็นพี (PNP)
2. ทรานซิลเตอร์ชนดิ เอน็ พีเอน็ (NPN)
16.3 ชนดิ ของทรานซิลเตอร์
การแบง่ ชนิดของทรานซลิ เตอร์ สามารถแบง่ ออกไดห้ ลายลักษณะแตกตา่ งกนั หลานแนวแลว้ แต่ผูท้ ี่ทาการแบ่ง
ยดึ ลักษณะแบบไหน ถ้าแบ่งยึดในรูปของการใช้งานซึ่งอาจจะแบ่งเป็นทรานซิลเตอร์ทที่ าหนา้ ทสี่ วทิ ซ่ิ, ทราน
ซลิ เตอรก์ าลงั , ทรานซลิ เตอร์ความถี่สงู , ทรานซิลเตอรช์ นิด NPN หรอื PNP ฯลฯ โดยเฉพาะการแบ่ง
ประเภทหนึง่ ซง่ึ นิยมใช้กนั คือ การแบง่ โดยใช้สารทน่ี ามาเปน็ เกณฑ์ สามารถแบง่ ได้ 2 ชนิด คอื

16.3.1 เยอรมันเนยี มทรานซิลเตอร์
16.3.2 ซลิ ิคอนทรานซิลเตอร์
16.4 ขาของทรานซิลเตอร์
เนอื่ งจากทรานซลิ เตอรผ์ ลิตจากสารกง่ึ ตัวนาชนดิ พแี ละเอน็ โดยนามาตอ่ เรียงกนั 3 ช้ิน ดว้ ยกรรมวิธีพเิ ศษ
หรือนามาต่อเพื่อใหเ้ กิดรอยต่อระหวา่ งเนื้อสารขึน้ 2 รอยต่อ โดยสารกึง่ ตัวนาที่อยู่ตรงกลางจะเปน็ เน้ือสาร
คนละอย่างกบั สารกึ่งตวั นาที่อยหู่ วั และท้าย แล้วจงึ ต่อขาออกมาใช้งานทั้งหมด 3 ขาด้วยกันซง่ึ มชี อื่ เรยี ก
ดังต่อไปน้ี
ขาคอลเลก็ เตอร์ (Collector) เรียกยอ่ ๆ ว่าขา C เปน็ ขาทีม่ โี ครงสรา้ งในการโด๊ปสารผสมต่อสาร
กึง่ ตัวนาบริสุทธ์นิ ้อยกวา่ ขาอิมติ เตอร์ ทาให้มพี าหะน้อยกว่า
ขาอิมิตเตอร์ (Emitter) เรยี กยอ่ ๆ วา่ ขา E เป็นขาท่ีมโี ครงสร้างในการโดป๊ สารผสมต่อสารกึง่ ตวั นาบรสิ ทุ ธ์ิ
มากว่าขาคอลเลก็ เตอร์ทาให้มีพาหะมากกว่า มกี ระแสรัว่ ไหลมากและจะอยู่คนละฝงั่ กับขาคอลเล็กเตอร์
ขาเบส (Base) เรียกย่อๆ ว่าขา B เปน็ สว่ นทอ่ี ยตู่ รงกลางระหวา่ งขา C และขา E มีพ้ืนท่ีของโครงสร้าง
แคบท่สี ุดเม่ือเทียบกบั อกี สองสว่ น

154

16.5 การทางานของทรานซิลเตอร์
จากการศึกษาเก่ยี วกบั การไหลของกระแสภายในวงจรสารกึ่งตวั นา การท่เี ราจะทาใหเ้ กิดการไหลของกระแส
หรอื ให้ทรานซลิ เตอร์ทางานได้น้ัน จะเปน็ จะต้องให้ไบอัสและกระแสทป่ี รากฎทางด้านเอาต์พุตเราต้อง
สามารถควบคุมค่าของกระแสไดด้ ว้ ย จงึ จะทาให้ทรานซลิ เตอรส์ ามารถขยายสัญญาณได้ตามความต้องการ
การอธบิ ายการทางานของทรานซลิ เตอร์ จาเปน็ จะต้องเข้าใจการไหลในรูปของโฮลและอิเล็คตรอน รวมถึง
การไบอสั ด้วย ซ่ึงการไบอสั เป็นวธิ ีการทท่ี าให้ทรานซลิ เตอรพ์ รอ้ มท่ีจะทางานน้นั เอง ในกรณีของทรานซลิ
เตอร์มขี า 3 ขา การป้องกันแรงเคลื่อนที่เหมาะสมหรือไบอสั ที่ถูกต้องจะทาให้ทรานซิลเตอร์ทางานได้
เมอื่ พิจารณาโครงสรา้ งของทรานซลิ เตอรแ์ ลว้ จะสามารถจดั รูปแบบการขยายสญั ญาณโดยตอ้ งมีอินพุตและ
เอาต์พุต เมอ่ื ใหข้ าหนึง่ เปน็ อินพุต ขาหน่ึงเปน็ เอาต์พตุ ขาทเี่ หลอื กต็ ้องเป็นจุดรว่ มอินพตุ กับกินพตุ จาก
หลักการดังกลา่ วเรากาหนดใหร้ ะหว่าง B กับ E เปน็ อินพตุ และระหวา่ ง B กบั C เปน็ เอาตพ์ ุต ดังนน้ั
จะสามารถจัดรปู แบบการขยายได้ 3 แบบหรอื 3 คอมมอน
เนอ่ื งจากวตั ถปุ ระสงค์ของทรานซิลเตอร์สรา้ งมาจากหลักการทต่ี อ้ งการให้กระแสดา้ นอินพตุ ไปควบคุมกระแส
เอาต์พุต ดงั นน้ั จะต้องไบอัสทางด้านเอารพ์ ุต เป็นไบอสั แบบย้อนกลับ ถ้าใหไ้ บอสั ตรง จะทาให้ทางด้าน
เอาต์พุตเป็นอิสระไมค่ รบวงจรเอาต์พุต ทางด้านอนิ พุตจะให้ไบอัสตรง และแรงเคล่ือนที่มาไบอสั นไี้ มจ่ าเป็น
จะต้องเปน็ แรงเคล่ือนไฟฟา้ ที่มคี า่ สูงแต่ออย่างไร เพราะถ้าให้กระแสอินพุตสงู เกนิ ไปจะทาใหก้ ระแสเอาต์พตุ
เกิดการอม่ิ ตวั

16.6 การใหไ้ บอสั ทรานซลิ เตอร์
ทรานซลิ เตอรท์ ั้งชนิด NPN และ PNP เมือ่ นาไปใช้งานไมว่ า่ จะใช้วงจรขยายสญั ญาณหรอื ทางานเป็นสวิตซ์
จะตอ้ งทาการจัดแรงไฟให้เหมาะสมหรือเรียกว่าการใหไ้ บอัส (Bias) ใหท้ รานซลิ เตอร์ก่อน ทรานซิลเตอร์จึง
จะทางานได้ โดยใชห้ ลกั การไบอสั ดังน้ี

1. ไบอสั ตรง (Forward Bias) ใหก้ ับรอยต่ออิมิตเตอรก์ บั เบส
2. ไบอัสกลับ (Reverse Bias) ใหก้ บั รอยต่อระหว่างคอลเลกเตอร์กับเนส

155

17. ใบงาน
17 ใบกิจกรรมที่ ....7....

สปั ดาหท์ ี่ .....7....ช่ือหน่วยการสอน ทรานซิสเตอร์
จดุ ประสงค์ เพื่อ

1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ต้งั คาถาม
3. อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความร้สู งู่ านอาชีพ

สมรรถนะการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับทรานซิสเตอร์

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรยี นเร่อื ง ทรานซสิ เตอร์ (Transistor) ทาให้ผู้เรยี นมีความรู้เพิม่ เกีย่ วกบั

ทรานซสิ เตอร์เปน็ อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ประเภทแอคทฟี (Active Device) ชนดิ หน่ึงมหี ลักการ
ทางานโดยอาศัยกระแสไฟฟา้ จากวงจรภายนอกไปควบคุมตวั กาเนดิ กระแสไฟฟ้าภายในให้
เปลี่ยนแปลงตาม ทรานซสิ เตอรม์ ี 3 ขา คอื ขาเบส ขาอิมิตเตอรแ์ ละขาคอลเลคเตอร์ การสร้าง
ทรานซิสเตอร์ แบง่ ตามโครงสรา้ งได้ 2 ชนดิ คอื NPN และ PNP แบง่ ตามสารไดส้ องชนดิ
เชน่ กัน คือเยอรมนั เนียม และ ซลิ คิ อน การจัดแรงไฟไบอสั ทรานซิสเตอร์จะจัดให้อยู่สองแบบคอื
ใหฟ้ อร์เวิร์ดไบอัสระหว่างขาเบสกับขาอมิ ติ เตอร์ และให้รเี วิรส์ ไบอสั ระหว่างขาเบสกบั ขา
คอลเลคเตอร์ ทรานซิสเตอร์สามารถประยุกต์ใชง้ านไดห้ ลายอย่างเช่น ขยายสัญญาณ สวิตซ่งิ
กาเนดิ สญั ญาณ

156

18. แบบประเมนิ ผล

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 1 อธิบายประวัติความเป็นมาของทรานซลิ เตอรไ์ ด้

1.วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธิบายประวตั คิ วามเป็นมาของทรานซิลเตอรไ์ ด้ จะได้ 1

คะแนน

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 2 บรรยายขาของทรานซสิ เตอรไ์ ด้

1.วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : บรรยายขาของทรานซิสเตอร์ได้ จะได้ 1 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 3 วดั และทดสอบทรานซลิ เตอรด์ ว้ ยโอห์มมเิ ตอร์ได้

1.วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : วัดและทดสอบทรานซิลเตอร์ดว้ ยโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้ จะได้ 3

คะแนน

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 4 ช้ีแจงการใหไ้ บอสั ทรานซิลเตอรไ์ ด้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : ชแี้ จงการให้ไบอสั ทรานซลิ เตอรไ์ ด้ จะได้ 1 คะแนน

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ข้อที่ 5 จดั ลาดบั โครงสร้างและสัญลกั ษณ์ของทรานซิลเตอรไ์ ด้

1.วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : จดั ลาดบั โครงสร้างและสญั ลักษณ์ของทรานซิลเตอร์ไดจ้ ะได้

1 คะแนน

157

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 6 ผสมผสานชนดิ ของทรานซลิ เตอร์ได้

1.วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ผสมผสานชนดิ ของทรานซิลเตอร์ได้ จะได้ 1 คะแนน

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ท่ี 7 วัดและทดสอบทรานซิลเตอรด์ ว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ไดอ้ ยา่ ง

ถูกต้องเหมาะสม

1.วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : วัดและทดสอบทรานซลิ เตอร์ดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ไดอ้ ย่างถกู ต้อง

เหมาะสมจะได้ 2 คะแนน

19. แบบฝกึ หดั

1. จงอธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มาของทรานซลิ เตอร์
2. ขาของทรานซิสเตอร์ มลี ักษณะอย่างไร
3. การวัดและทดสอบทรานซิลเตอร์ดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ มีหลักการหรอื ไม่ จงอธิบาย
4. การใหไ้ บอสั ทรานซลิ เตอร์ คือ
5. ครงสรา้ งและสัญลักษณข์ องทรานซลิ เตอร์ มีโครงสรา้ งอย่างไร
6. ชนดิ ของทรานซิลเตอร์ มีกี่ชนิดอะไรบ้าง

158

20. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรูแ้ บบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจดั การเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หนว่ ยการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทง้ั ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านจิตพิสยั

3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอื่ นวัตกรรม กจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นร้กู ่อนเขา้

สอน

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สบู่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนคน้ ควา้ เพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

8. จดั กิจกรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี ชอื่ มโยงกบั ชวี ติ จรงิ โดยนาภูมปิ ญั ญา/บูรณาการเขา้ มา

มีสว่ นร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อยา่ งทว่ั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทกี่ าหนด

ด้านสือ่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใชส้ ่ือทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรียน

17. ใชส้ ่อื แหล่งการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เช่น บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผู้เรียน อย่างทวั่ ถึง

159

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมินผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสัย

20. ครู ผเู้ รียน ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ี่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบตั ดิ ีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไม่มกี ารปฏบิ ตั ิ เฉล่ยี

20.2 ปัญหาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา แนวทางแก้ปัญหา

ปัญหาที่พบ
ดา้ นการเตรียมการสอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านส่ือ นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

ด้านการวัดประเมนิ ผล

ด้านอน่ื ๆ (โปรดระบุเปน็ ข้อ ๆ)

ลงชอื่ .................................................................... ครูผ้สู อน
( นายศุภกร มง่ิ คา )
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

21. บนั ทึกการนเิ ทศและตดิ ตาม 160
ชอ่ื -สกุล ผู้นิเทศ ตาแหนง่
วนั -เดือน- เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
ปี

161

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวิชา ..... 20104 - 2102...... วชิ า ...................... อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร.............................
สปั ดาหท์ ่ี ........8...... ช่ือหน่วย ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
ชอ่ื เร่อื ง..........................................ทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้า..........………………............จานวน...4...ชัว่ โมง

1. สาระสาคัญ

ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) ช่อื ยอ่ เรียกว่าเฟต(FET) เปน็ อุปกรณส์ ารกึ่ง
ตวั นาท่ีมี 3 ขาคือ ขาเกต ขาเดรน และขาซอร์ส ขาเกตเป็นขาที่ป้อนแรงดนั เข้าทาให้เกิดสนามไฟฟา้ เพ่ือใช้
ควบคมุ ปรมิ าณการไหลของพาหะสว่ นใหญร่ ะหวา่ งขาเดรนกับขาซอรส์ ซ่ึงเปน็ สารกง่ึ ตัวนาชน้ิ เดียวกันพาหะ
ส่วนใหญ่อาจเปน็ กระแสโฮลหรอื อิเลก็ ตรอน อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เฟตมหี ลายชนดิ เชน่ เจเฟต มอสเฟต ดมี อส
เฟต ซ่ึงโครงสรา้ งการทางานและการจดั ไบอัสจะแตกตา่ งกนั ออกไป

2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้

1. วดั และทดสอบเจเฟตด้วยโอหม์ มเิ ตอร์

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. เพ่อื ใหม้ ีความรู้เกีย่ วกับการอธบิ ายโครงสรา้ งทรานซิลเตอรส์ นามไฟฟา้ ชนดิ รอยต่อได้ (ด้าน

ความร)ู้
2. เพอ่ื ให้มีความรเู้ กยี่ วกบั การบรรยายเอนฮานต์เมนต์โหมดได้ (ดา้ นความรู้)
3. เพอ่ื ใหม้ ีความรเู้ ก่ยี วกับการเปรียบเทยี บสญั ลักษณข์ องเจเฟตได้ (ด้านความร)ู้
4. เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะในการจัดไบอสั ใหเ้ จเฟตได้ (ดา้ นทักษะ)
5. เพ่ือให้มีทักษะในการวัดและทดสอบเจเฟตด้วยโอห์มมเิ ตอร์ได้ (ด้านทักษะ)
6. เพือ่ ใหม้ ีเจตคติท่ดี ีในการยอมรบั ลกั ษณะสมบตั ิของเจเฟตได้ (ด้านจิตพิสัย)
7. เพอ่ื ให้มีเจตคติทดี่ ีในการติดตามเฟตชนิดออกไซตข์ องโลหะและมอสเฟต ชนิดดพี ลที ชันได้ (ดา้ น

จิตพสิ ัย)
8. เพ่ือใหม้ ีเจตคติทดี่ ใี นการจาแนกคุณลักษณะการถ่ายโอนของดีมอสเฟตได้ (ดา้ นจติ พิสัย)
9. เพ่อื จัดไบอสั ให้เจเฟต วดั และทดสอบเจเฟตด้วยโอห์มมเิ ตอร์อยา่ งถูกต้องเหมาะสมตามหลกั การ

ได้ (ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม)

162

3.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. เพอ่ื ให้มีความรเู้ ก่ียวกบั การอธิบายโครงสร้างทรานซลิ เตอรส์ นามไฟฟา้ ชนิดรอยต่อได้ (ดา้ น

ความร้)ู
2. เพื่อใหม้ ีความรู้เกย่ี วกบั การบรรยายเอนฮานต์เมนตโ์ หมดได้ (ด้านความร)ู้
3. เพื่อใหม้ ีความรเู้ ก่ียวกับการเปรยี บเทียบสัญลักษณ์ของเจเฟตได้ (ด้านความรู้)
4. เพือ่ ให้มีทกั ษะในการจัดไบอสั ให้เจเฟตได้ (ด้านทักษะ)
5. เพื่อใหม้ ีทักษะในการวดั และทดสอบเจเฟตดว้ ยโอห์มมิเตอรไ์ ด้ (ด้านทักษะ)
6. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติทด่ี ใี นการยอมรับลกั ษณะสมบัติของเจเฟตได้ (ด้านจติ พิสัย)
7. เพื่อใหม้ ีเจตคติที่ดีในการติดตามเฟตชนดิ ออกไซต์ของโลหะและมอสเฟต ชนิดดพี ลที ชันได้ (ดา้ น

จิตพิสัย)
8. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติทดี่ ใี นการจาแนกคุณลกั ษณะการถา่ ยโอนของดีมอสเฟตได้ (ดา้ นจติ พิสยั )
9. เพือ่ จดั ไบอสั ให้เจเฟต วัดและทดสอบเจเฟตดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์อย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลกั การ

ได้ (ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม)

4. เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ด้านความรู้
4.1.1 โครงสรา้ งทรานซสิ เตอร์สาชนามไฟฟา้ ชนดิ รอยต่อเจเฟต
4.1.2 การจัดไบอสั ใหเ้ จเฟต
4.1.3 สญั ลกั ษณข์ องเจเฟต
4.1.4 ลกั ษณะสมบตั ิของเจเฟต
4.1.5 เฟตชนิดออกไซด์ของโลหะ (มอสเฟต)
4.1.6 มอสเฟตชนิดดพี ลีทชัน
4.1.7 เอนฮานซ์เมนตโ์ หมด (Enhancement Mode)
4.1.8 คณุ ลกั ษณะการถ่ายโอนของดีมอสเฟต
4.1.9 การวัดและทดสอบเจเฟตด้วยโอห์มมเิ ตอร์

4.2 ดา้ นทักษะหรือปฏบิ ตั ิ
1. การทดลองที่ 8 ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟ้า (Field Effect Transistor)
2. แบบทดสอบบทท่ี 8

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. จัดไบอสั ให้เจเฟต วดั และทดสอบเจเฟตด้วยโอห์มมิเตอร์อย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักการได้

163

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมครู ขั้นตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของผเู้ รียน

ขัน้ เตรยี ม(จานวน 30 นาที) ขั้นเตรียม (ใช้เวลา 30 นาท)ี

1.ผสู้ อนให้ผเู้ รียนออกมาบรรยายเอนฮานต์เมนต์ 1.ผเู้ รียนออกมาบรรยายเอนฮานตเ์ มนตโ์ หมด ตาม

โหมด ตามความเข้าใจของตนเอง ความเขา้ ใจของตนเอง

2.ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของ หน่วยที่ 8 2.ผู้เรยี นทาความเข้าใจเก่ยี วกับจุดประสงค์การเรียน

เรอ่ื ง ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟ้า (Field Effect ของ หนว่ ยท่ี 8 เรอื่ ง ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้

Transistor) (Field Effect Transistor)

3.ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนเปรยี บเทียบสัญลกั ษณข์ องเจเฟต 3.ผู้เรยี นเปรียบเทยี บสัญลกั ษณข์ องเจเฟตพร้อมให้

พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ เหตุผลประกอบ

ข้นั การสอน (จานวน 180 นาท)ี ขนั้ การสอน (จานวน 180 นาที)

1.ผู้สอนเปดิ PowerPoint และให้ผ้เู รียนศึกษา 1.ผเู้ รยี นดู PowerPoint และศกึ ษาเอกสาร

เอกสารประกอบการสอน วชิ า อุปกรณ์ ประกอบการสอน วชิ า อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสแ์ ละ

อิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร หนว่ ยที่ 8 เร่ือง วงจร หนว่ ยท่ี 8 เร่ือง ทรานซิสเตอร์

ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟ้า (Field Effect สนามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) หน้าท่ี

Transistor) หนา้ ที่ 93-100 โดยให้ผู้เรียนเรยี นรู้ 93-100 โดยใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเอง พร้อมกับ

ดว้ ยตนเอง จดบนั ทึกเนื้อหาทีส่ าคัญ

2.ผสู้ อนเปดิ โอกาส ใหผ้ ู้เรียนถามปัญหา และข้อ 2.ผเู้ รียนถามปญั หา และขอ้ สงสยั จากเน้อื หา โดย

สงสยั จากเน้ือหา โดยครูให้ผเู้ รียนวัดและทดสอบ ผู้เรียนวัดและทดสอบเจเฟตด้วยโอหม์ มเิ ตอร์

เจเฟตด้วยโอห์มมิเตอร์ 3.ผ้เู รยี นตง้ั คาถามทีไ่ ด้จากการเรยี นการสอน คน

3.ผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นตัง้ คาถามที่ไดจ้ ากการ ละ 1 ข้อ

เรยี นการสอนคนละ 1 ขอ้ 4.ผเู้ รียนทาการทดลองที่ 8 ทรานซสิ เตอร์

4.ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาการทดลองที่ 8 ทรานซิสเตอร์ สนามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) หนา้

สนามไฟฟ้า (Field Effect Transistor) หน้า 101-106

101-106 5.ผู้เรยี นสืบค้นขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ต

5.ผ้สู อนให้ผเู้ รียนสบื ค้นขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็ ขัน้ สรปุ (จานวน 30 นาที)

ขน้ั สรุป(จานวน 30 นาท)ี 1.ผู้เรียนรว่ มกันสรุปเน้อื หาที่ได้เรยี นใหม้ ีความ

1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้อื หาท่ีได้เรียนให้มี เข้าใจในทิศทางเดยี วกนั

ความเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน 2.ผเู้ รียนทาแบบทดสอบบทท่ี 8 หน้าที่ 91-92

2.ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นทาแบบทดสอบบทที่ 8 หนา้ ที่ 3.ผู้เรียนศึกษาเพมิ่ เติมนอกห้องเรียน ด้วย เอกสาร

91-92 ประกอบการสอนที่จดั ทาขนึ้

164

3.ผ้สู อนใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย
เอกสารประกอบการสอนที่จัดทาขนึ้

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด 240 นาที
หรอื 4 ช่ัวโมงเรยี น

6. ส่ือการเรียนการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สื่อสงิ่ พิมพ์
1) เอกสารประกอบการเรยี นวชิ าอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจรของนายชงิ ชยั ศรสี ุรัตน์
2) แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 8 ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้
3) แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 8 ทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้า
4) เอกสารการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 8 ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟ้า
5) แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 8 ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า
6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลงั เรียน และแบบฝกึ หดั ทา้ ยหนว่ ย

6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1) เคร่ืองฉายภาพ (projector)
2) งานนาเสนอหน่วยที่ 8 ทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้า

6.3 สือ่ ของจริง
1) ทดสอบทรานซสิ เตอร์

7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรียนรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมดุ
2. ศนู ย์ Internet สมเดจ็ พระเทพฯ
3. ห้องปฏบิ ตั ิการเขยี นแบบเคร่ืองกลดว้ ยคอมพิวเตอร์

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. อาคารวทิ ยบริการ วิทยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดิน

165

8. งานทีม่ อบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. แบบทดสอบก่อนเรียน
2. ตอบคาถามก่อนเรยี น เปน็ การนาเขา้ สบู่ ทเรยี น

8.2 ขณะเรยี น
1. ตอบคาถามระหว่างเรยี น

8.3 หลงั เรยี น
1. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
2. ทาแบบฝกึ หดั หลงั เรยี น
3. ทาใบกจิ กรรมท่ี 8

9. ผลงาน/ชน้ิ งาน ทเี่ กดิ จากการเรยี นร้ขู องผู้เรยี น

การทดลองท่ี 8 ทรานซสิ เตอรส์ นามไฟฟ้า แบบทดสอบบทที่ 8

10. เอกสารอ้างองิ

1. หนงั สอื เรียนวิชาอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจรของนายชิงชยั ศรีสุรัตน์

11. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับรายวชิ าอน่ื

1. บูรณาการกบั วิชาชีวติ และวัฒนธรรมไทย ด้านการพดู การอ่าน การเขียนและการฝกึ ปฏบิ ตั ติ นทาง
สงั คมด้านการเตรียมความพร้อม ความรบั ผดิ ชอบ ความสนใจใฝร่ ู้

2. บูรณาการกับวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ดา้ นการเลือกใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยดั

12. หลักการประเมนิ ผลการเรียน

12.1 ก่อนเรียน
1. ตรวจสอบระดบั ความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรยี นก่อนเริ่มการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. ตรวจสอบความสนใจในการเรยี นของผ้เู รยี นโดยการถาม-ตอบคาถามในระหว่างท่ีเรียน

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี นพร้อมกบั เปรยี บเทยี บแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ตรวจแบบฝกึ หัดหลังเรียนเพื่อประเมลิ ระดับความเขา้ ใจของผู้เรยี น
3. ตรวจใบกิจกรรม

166

13. รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียน

จดุ ประสงค์ข้อท่ี 1 การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนก่อนเรยี น
1. วธิ ีการประเมิน : ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรียน และถามคาถามเพื่อประเมนิ ระดบั ความรขู้ องผู้เรยี น
2. เครอื่ งการประเมิน : แบบทดสอบก่อนเรยี น
3. เกณฑ์การประเมนิ : ใช้อา้ งองิ เป็นตัวเปรยี บเทยี บกบั ผลการทดสอบหลังเรียน
4. เกณฑ์การผ่าน : นักเรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไม่น้อยกวา่ ครึ่งหน่ึงของจานวนข้อของแบบ

ทดสอบทงั้ หมด
จุดประสงค์ข้อท่ี 2 การประเมนิ ผลความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรียนหลงั เรยี น
1. วิธีการประเมิน : ให้ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบหลังเรยี น
3. เกณฑ์การประเมนิ : ใชเ้ ปรยี บเทยี บกับผลการทดสอบก่อนเรียน
4. เกณฑ์การผ่าน : นักเรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกว่าการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

14. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

สปั ดาหท์ ี่ .....8.....ช่อื หน่วยการสอน ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือ การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผูเ้ รยี นก่อนเรยี น
ข้อคาถาม
คาสงั่ จงเลือกคาตอบใหถ้ ูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว

1. เจเฟตมีอยู่กช่ี นดิ
ก. 1 ชนิด
ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนดิ
ง. 4 ชนิด

2. เจเฟตชนิดเอ็นแชนเนล สารเอน็ ตอ่ อยู่กบั ขาใด
ก. ขาเดรน
ข. ขาซอร์ส
ค. ขาเกต
ง. ขาเดรนและขาซอร์ส

167

3. เจเฟตชนคิ พแี ชนเนล สารเอ็น ตอ่ อยกู่ ับขาใด
ก. ขาเดรน
ข. ขาซอร์ส
ค. ขาเกต
ง. ขาเครนและขาซอรส์
4. ถา้ จะควบคุมกระแสดรนทไี่ หลผ่านเขฟตจะต้องทาอย่างไร
ก. ควบคุมแรงดนั ไบอัสตรงท่ีชอรส์ ของเจเฟต
ข. ควบคมุ แรงดนั ไบอสั กลบั ท่ีชอร์สของเจเฟต
ค. ควบคมุ แรงดันไบอัสตรงที่เกตของเจเฟต
ง. ควบคุมแรงดนั ไบอสั กลับที่เกตของเจเฟต

5. จากสญั ลักษผู้เปน็ เฟตชนดิ ใด

ก. เจเฟตเอ็นแชนเนล
ข. เจเฟตผีแชนเนล
ค. มอสเฟตเอน็ แชนเนล่
ง. มอสเฟตผแี ชนเนล
6. เจเฟต จะทางานได้กต็ อ่ เมอื่
ก. ให้ไบอสั ท่ีขาเครน
ข. ใหไ้ บอัสท่ีขาเกต
ค. ใหไ้ บอสั ท่ขี าซอร์ส
ง. ถูกทุกข้อ

168

7. เจเฟตและมอสเฟตแตกต่างกันอยา่ งไร
ก. การจ่ายไบอัส
ข. โครงสร้างภายนอก
ค. โครงสร้างภายใน
ง. แรงดนั ใช้งาน

8. ดีมอสเฟตทางานได้กสี่ ถานะ
ก. 1 สถานะ
ข. 2 สถานะ
ค. 3 สถานะ
ง. 4 สถานะ

9. คค่ วามตน้ ทานทเี่ กตกบั ซอรส์ หรือเกตกบั เดรนจะมคี ณุ สมบัตเิ หมอื นวดั อปุ กรณอ์ ะไร
ก. ตัวต้านทานไดโอด
ข. คาปาซิเตอร์
ค. ไดโอด
ง. ขดลวด

10. ถวดั คความต้นทานแลว้ ขารว่ มมศี กั ดิบ์ วกแสดงวา่ เปน็ เจเฟตชนดิ ใด
ก. เอน็ แชนเนล
ข. พีแ่ ชนเนล
ค. ดีแเซลเนล
ง. ยงั ระบไุ มไ่ ด้

169

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

สปั ดาหท์ ่ี .....8.....ชอื่ หน่วยการสอน ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้
วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ การประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผ้เู รยี นก่อนเรียน
ขอ้ คาถาม
คาสั่ง จงเลอื กคาตอบให้ถูกต้องท่สี ุดเพียงคาตอบเดียว

1. เจเฟตมอี ย่กู ่ชี นิด
ก. 1 ชนิด
ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนดิ
ง. 4 ชนดิ

2. เจเฟตชนดิ เอ็นแชนเนล สารเอ็น ต่ออยู่กับขาใด
ก. ขาเดรน
ข. ขาซอรส์
ค. ขาเกต
ง. ขาเดรนและขาซอร์ส

3. เจเฟตชนิคพแี ชนเนล สารเอ็น ต่ออยกู่ บั ขาใด
ก. ขาเดรน
ข. ขาซอรส์
ค. ขาเกต
ง. ขาเครนและขาซอร์ส

4. ถ้าจะควบคุมกระแสดรนท่ไี หลผา่ นเขฟตจะต้องทาอย่างไร
ก. ควบคุมแรงดนั ไบอัสตรงท่ีชอร์สของเจเฟต
ข. ควบคุมแรงดันไบอัสกลับท่ีชอรส์ ของเจเฟต
ค. ควบคมุ แรงดนั ไบอสั ตรงที่เกตของเจเฟต
ง. ควบคมุ แรงดันไบอัสกลับท่ีเกตของเจเฟต

170

5. จากสัญลกั ษผเู้ ป็นเฟตชนดิ ใด

ก. เจเฟตเอ็นแชนเนล
ข. เจเฟตผีแชนเนล
ค. มอสเฟตเอน็ แชนเนล่
ง. มอสเฟตผแี ชนเนล
6. เจเฟต จะทางานได้กต็ อ่ เม่ือ
ก. ให้ไบอัสทขี่ าเครน
ข. ใหไ้ บอสั ทข่ี าเกต
ค. ให้ไบอัสทข่ี าซอรส์
ง. ถูกทุกข้อ
7. เจเฟตและมอสเฟตแตกต่างกนั อย่างไร
ก. การจ่ายไบอสั
ข. โครงสร้างภายนอก
ค. โครงสร้างภายใน
ง. แรงดนั ใชง้ าน
8. ดีมอสเฟตทางานไดก้ ส่ี ถานะ
ก. 1 สถานะ
ข. 2 สถานะ
ค. 3 สถานะ
ง. 4 สถานะ

171

9. คค่ วามตน้ ทานที่เกตกบั ซอร์ส หรอื เกตกบั เดรนจะมคี ุณสมบตั ิเหมอื นวดั อปุ กรณอ์ ะไร
ก. ตัวตา้ นทานไดโอด
ข. คาปาซเิ ตอร์
ค. ไดโอด
ง. ขดลวด

10. ถวดั คความต้นทานแลว้ ขาร่วมมีศักด์บิ วกแสดงว่าเป็นเจเฟตชนดิ ใด
ก. เอ็นแชนเนล
ข. พแ่ี ชนเนล
ค. ดีแเซลเนล
ง. ยงั ระบไุ มไ่ ด้

172

16. ใบความรทู้ ี่ ...8.....

สัปดาหท์ ี่ .....8.....ชื่อหน่วยการสอน ทรานซสิ เตอร์สนามไฟฟา้
วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื การประเมนิ ผลความรคู้ วามเข้าใจของผูเ้ รียนกอ่ นเรยี น

16.1 โครงสรา้ งทรานซิสเตอร์สาชนามไฟฟ้าชนิดรอยต่อเจเฟต
เจเฟต (Junction Field Effect Transistor) เมอื่ พิจารณาตามโครงสรา้ ง พบว่าเจเฟตมี 2 ชนิด คือ
เจเฟตชนิดเอ็นแชนเนล และชนดิ พแี ชนเนล เจเฟตน้นั มีขาตอ่ ใชง้ าน 3 ขา คือ ขาเดรนและขาซอรส์
สาหรับขาเกตจะเปน็ ช้นิ สารชนิดพี สว่ นเจเฟตชนิดพีแชนเนลน้นั ขาเดรนและขาซอร์สจะเป็นช้นิ สารชนดิ พี
สาหรับขาเกตจะเปน็ ชิ้นสารชนดิ เอน็

16.2 การจดั ไบอัสให้เจเฟต เมื่อป้อนแรงดันไบอัสท่ีขาเดรนและขาซอรส์ โดยแหล่งจ่าย "V" _"DD" ให้
ขัว้ บวกกบั ขาเดรน (D) และขัว้ ลบกบั ขาซอร์ล (S) สว่ นขาเกต (G) กบั ขาชอรส์ (S) จะให้ไบอัสกบั
(Reverse Bias) ซ่ึงเจเฟตชนดิ เอน็ แชลแนล ขาเกตเป็นสารกึง่ ตัวนาชนิดพี (P-Type) ดังนนั้ แรงดนั ไบอัส
ที่ขาเกต "V" _"GG" ตอ้ งให้ไฟลบกับขาเกตและไฟบวกกับขาซอรส์
เมือ่ ให้ไบอัสกลับ (Reverse Bias) ทขี่ าเกตเมอ่ื เทยี บกับขาซอรส์ ("V" _"GS" ) จะเกิดสนามไฟฟา้ ท่รี อยต่อ
พ-ี เอ็นทั้งสองดา้ นขึ้นทาให้ชอ่ งทางเดินของกระแสในสารเอ็น (เนื้อสารสว่ นใหญ่) ระหวา่ งขาเดรนกับขาซอร์
สแคบลง กระแสเดรน ("I" _"D" ) จะไหลจากขาเดรนไปสู่ขาซอร์สได้จานวนหนงึ่
ถ้าปรบั คา่ แรงดนั ระหวา่ งขาเกตกับขาซอร์ส ("V" _"GS" ) ใหม้ ีคา่ ไบอัสกลบั มากขึ้นจะทาให้สนามไฟฟ้าที่
รอยต่อ มีความกวา้ งมากขน้ึ ทาใหช้ ่องทางเดนิ ของกระแสในสารเอน็ แคบลง เป็นผลใฟ้กระแสเดรนมปี ริมาณ
ลดลง
แตถ่ า้ ปรับแรงดัน "V" _"GS" ให้มีคา่ ไบอสั กลับน้อยลง จะทาใหช้ ่องทางเดนิ ของกระแสระหวา่ งขาเดรนกับ
ขาซอรส์ มีขนาดกว้างขึน้ ทาให้กระแสเดรนไหลได้สะดวกและมากข้ึนจากสภาวะดังกล่าวทาให้สามารถ
ควบคุมปรมิ าณกระแสเดรน ("I" _"D" ) ท่ไี หลผา่ นเจเฟตได้ โดยการควบคมุ แรงดันไบอัสกลับขาซอรส์ ของ
เจเฟต

16.3 สัญลักษณ์ของเจเฟต สัญลักษณ์ของเจเฟตชนิดเอ็นแชนเนล นน้ั หวั ลูกศรท่ขี าเกตจะชีเ้ ข้า แต่
ชนิดพแี ชนเนล หัวลกู ศรทขี่ าเกตจะชีอ้ อก

16.4 ลักษณะสมบัติของเจเฟต
ลกั ษณะสมบัติของเจเฟต เมื่อเจเฟตเปน็ N-Channel โดยให้ขา D มศี ักย์สูงกวา่ ขา S และสาหรับเจเฟต
P-Channel ใหข้ า D มศี ักดติ์ ่ากว่าขา S เมื่อขา G-S ใหไ้ บอสั -กลบั ทาให้เกิดสนามไฟฟา้ ข้นึ ทช่ี ่อง
(Channel) เปน็ ผลให้ความนาไฟฟ้าระหวา่ งขา D กับ S ลดลงกระแสเดรน กระแสเดรน "I" _"D" ก็จะ
มีคา่ ลดลง ถา้ ไบอัสกลับท่ีขา G-S มากข้นึ จนกระท่ังกระแสเดรนเท่ากับศนู ย์พอดคี ่าแรงดนั ไบอสั กลับนี้
เรียกว่า “Pinch Off Voltage” "V" _"p" หรอื "V" _"GS (off)" และถา้ ให้แรงดันทขี่ า G-S ของ
เจเฟตใหม้ ีคา่ 0 โวลต์ ("V" _"GS " ) จะมีกระแส ไหลผ่านเจเฟตคงทีค่ า่ หน่ึง เรียวว่า กระแส "V"
_"DSS"

173

16.5 เฟตชนิดออกไซด์ของโลหะ (มอสเฟต) มอสเฟตแตกต่างจากเจเฟตท่โี ครงสร้างภายใน เจเฟต
นัน้ ระหว่างเกตกบั ช่องทางเดินกระแสมีโครงสรา้ งเปน็ รอยต่อพี-เอน็ แตม่ อสเฟตนั้นระหวา่ งเกตกบั ช่องทาง
เดนิ กระแสมีกระสรา้ งเป็นช้นั ของซิลคิ อนไดออกไซด์ มอสเฟตมี 2 ชนิด คอื มอสเฟตดพี ลีนชัน และมอส
เฟตชนดิ เอนแฮนซ์เมนต์

16.6 มอสเฟตชนิดดพี ลที ชนั
โครงสร้างพ้นื ฐานของดมี อสเฟต ถ้าเปน็ ชนิดเอน็ แชนเนล ชอ่ งทางเดินกระแสระหวา่ งเดรนและซอร์ส จะ
เปน็ สารก่ึงตวั นาชนิดเอ็น และมีวสั ดฐุ านรอง เปน็ สารก่ึงตัวนาชนดิ ตรงขา้ ม สาหรับดีมอลเฟต ชนิดพี
แชนเนล จะมชี ่องทางเดินกระแสระหวา่ งเดรนของซอร์สเป็นสารชนิดพี และมีวัสดุฐานรองเปน็ สารชนิดเอ็น
และมเี กตตดิ อยู่ระหว่างช่องทางเดนิ กระแสโดยมีซิลิคอนไดออกไซด์ เป็นฉนวนก้นั ระหว่างเกตกับช่องทางเดิน
กระแส

16.7 เอนฮานซ์เมนตโ์ หมด (Enhancement Mode)
คอื การไบอสั เกตของดีมอสเฟตด้วนแรงบวก จะเห็นได้วา่ ทเี่ กตของดีมอสเฟตจะไดร้ บั ประจุบวกจากแหล่ง
จาก "V" _"GG" ทาให้ในแชนเนลของดีมอลเฟตเป็นประจุลบ ทาใหช้ ่องทางเกนิ กระแสระหว่างเดรนกับซอร์
สไมม่ ปี ระจุชนดิ ตรงข้ามกบั แชนเนลคอยบีบแชนเนลใหแ้ คบลง ทาใหก้ ระแสเดรนไหลไดน้ ้อยลง เพราะประจุ
เดรนไหลไดน้ ้อยลง เพราะประจลุ บในแชนเนลมีค่าลดลงเป็นศนู ย์

16.8 คุณลักษณะการถ่ายโอนของดีมอสเฟต
กราฟคุณลักษณะการถ่ายโอนของดีมอสเฟตชนดิ เอน็ แชนเนล และพแี ชนเนล

16.9 การวัดและทดสอบเจเฟตด้วยโอห์มมเิ ตอร์
การตรวจสอบเจเฟตวา่ ดหี รอื เสยี โดยใชโ้ อห์มมเิ ตอร์ กรณีท่ีรูต้ าแหนง่ ขาแลว้ ใหต้ ง้ั ตาแหน่งการวัดไปท่สี เกล
Rx10 เน่ืองจากท่ีเกตกับซอร์สและเกตกับเดรนเป็นรอยตอ่ พี-เอ็นเหมือนไดโอด ดงั นั้น ถ้าวัดค่าความตา้ น
ความต้านทานที่เกตกบั ซอร์ส หรือเกตกับเดรนครงั้ หนึ่งแลว้ กลับขวั้ มิเตอร์ วดั ท่ีตาแหน่งเดิมอีกครง้ั จะได้ ค่า
ความตา้ นทานต่า หนึง่ คา่ กับความต้านทานสงู หนึ่งคา่ ถ้าวดั ระหวา่ งซอร์สกับเดรนแลว้ กลบั ข้วั วดั ใหม่ อีก
ครง้ั จะไดค้ ่าความตา้ นทาง เท่ากนั ทง้ั สองครั้ง ถ้าวัดไดต้ ามน้แี สดงวา่ เจเฟตยังใช้งานได้

174

17. ใบงาน
17 ใบกจิ กรรมที่ ....8....

สัปดาหท์ ี่ .....8....ช่ือหน่วยการสอน ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟา้
จุดประสงค์ เพ่ือ

1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตง้ั คาถาม
3. อภปิ รายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบตั ิงานอาชีพ
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับทรานซสิ เตอร์

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง
จากการเรยี นเรอ่ื ง ทรานซิสเตอรส์ นามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) ทาให้ผเู้ รยี นมี

ความรู้เพิ่มเก่ยี วกับทรานซิสเตอร์สนามไฟฟา้ (Field Effect Transistor) ชอ่ื ยอ่ เรียกว่าเฟต(FET)
เปน็ อปุ กรณส์ ารกงึ่ ตัวนาที่มี 3 ขาคือ ขาเกต ขาเดรน และขาซอรส์ ขาเกตเป็นขาท่ีป้อนแรงดัน
เขา้ ทาให้เกิดสนามไฟฟ้าเพอื่ ใช้ควบคุมปรมิ าณการไหลของพาหะสว่ นใหญร่ ะหว่างขาเดรนกับขา
ซอรส์ ซงึ่ เป็นสารกงึ่ ตัวนาชิ้นเดยี วกันพาหะสว่ นใหญ่อาจเปน็ กระแสโฮลหรืออเิ ล็กตรอน อย่างใด
อย่างหนง่ึ เฟตมหี ลายชนิดเชน่ เจเฟต มอสเฟต ดีมอสเฟต ซึ่งโครงสรา้ งการทางานและการจัด
ไบอัสจะแตกตา่ งกนั ออกไป

175

18. แบบประเมนิ ผล
รายละเอียดการประเมินผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 1 อธิบายโครงสร้างทรานซิลเตอร์สนามไฟฟา้ ชนดิ รอยตอ่ ได้

1.วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธิบายโครงสร้างทรานซลิ เตอร์สนามไฟฟา้ ชนิดรอยต่อได้

จะได้ 1 คะแนน

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 2 บรรยายเอนฮานตเ์ มนตโ์ หมดได้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

2.เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : บรรยายเอนฮานตเ์ มนตโ์ หมดได้ จะได้ 1 คะแนน

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 3 เปรียบเทยี บสญั ลกั ษณข์ องเจเฟตได้

1.วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : เปรยี บเทียบสัญลกั ษณข์ องเจเฟตได้ จะได้ 1 คะแนน

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 4 จัดไบอัสให้เจเฟตได้

1.วิธีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : จัดไบอสั ให้เจเฟตไดจ้ ะได้ 1 คะแนน

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ท่ี 5 วดั และทดสอบเจเฟตดว้ ยโอห์มมิเตอรไ์ ด้

1.วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครอื่ งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : วดั และทดสอบเจเฟตด้วยโอห์มมเิ ตอร์ได้ จะได้ 2

คะแนน

176

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 6 ยอมรบั ลกั ษณะสมบัตขิ องเจเฟตได้

1.วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : ยอมรับลกั ษณะสมบัตขิ องเจเฟตได้ จะได้ 1 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 7 ตดิ ตามเฟตชนิดออกไซตข์ องโลหะและมอสเฟต ชนิดดี

พลีทชนั ได้

1.วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

2.เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : ติดตามเฟตชนิดออกไซตข์ องโลหะและมอสเฟต ชนดิ ดพี ลีท

ชนั ไดจ้ ะได้ 1 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อท่ี 8 จาแนกคณุ ลกั ษณะการถา่ ยโอนของดมี อสเฟตได้

1.วธิ กี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : จาแนกคุณลกั ษณะการถา่ ยโอนของดมี อสเฟตได้จะได้ 1

คะแนน

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 9 จัดไบอัสใหเ้ จเฟต วดั และทดสอบเจเฟตด้วยโอหม์ มเิ ตอร์

อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมตามหลกั การได้

1.วิธกี ารประเมิน : ตรวจผลงาน

2.เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : จัดไบอัสให้เจเฟต วัดและทดสอบเจเฟตดว้ ยโอห์มมิเตอรอ์ ย่าง

ถกู ตอ้ งเหมาะสมตามหลกั การได้ จะได้ 1 คะแนน

177

19. แบบฝึกหัด

1.จงอธิบายโครงสรา้ งทรานซิลเตอรส์ นามไฟฟ้าชนดิ รอยต่อ
2.เอนฮานต์เมนตโ์ หมด คือ
3.สญั ลักษณข์ องเจเฟต มลี กั ษณะอย่างไร
4.จัดไบอัสใหเ้ จเฟต สามารถจดั ได้อย่างไร
5.วัดและทดสอบเจเฟตดว้ ยโอห์มมิเตอรไ์ ด้อย่างไร
6.ลักษณะสมบัติของเจเฟตมีลกั ษณะอยา่ งไร
7.เฟตชนดิ ออกไซต์ของโลหะและมอสเฟต ชนิดดีพลีทชันแตกตา่ งกันหรอื ไม่
8.คณุ ลกั ษณะการถา่ ยโอนของดีมอสเฟต คอื

178

20. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนร้แู บบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจดั การเรียนรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หน่วยการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านจติ พิสัย

3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอื่ นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรกู้ ่อนเข้า

สอน

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สบู่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ ความเข้าใจ

6. จดั กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนค้นควา้ เพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

8. จดั กิจกรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )

9. กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี ชอื่ มโยงกับชีวิตจรงิ โดยนาภูมปิ ญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มีสว่ นร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรยี น

14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อยา่ งทว่ั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด

ด้านสือ่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใชส้ ่ือทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรียน

17. ใชส้ ่อื แหล่งการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผู้เรียน อย่างทวั่ ถึง

179

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมินผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสัย

20. ครู ผเู้ รียน ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ี่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบตั ดิ ีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไม่มกี ารปฏบิ ตั ิ เฉล่ยี

20.2 ปัญหาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา แนวทางแกป้ ัญหา

ปัญหาที่พบ
ดา้ นการเตรียมการสอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านส่ือ นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

ด้านการวัดประเมนิ ผล

ด้านอน่ื ๆ (โปรดระบุเปน็ ข้อ ๆ)

ลงชอื่ .................................................................... ครูผ้สู อน
( นายศุภกร มง่ิ คา )
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

21. บนั ทึกการนเิ ทศและตดิ ตาม 180
ชอ่ื -สกุล ผู้นิเทศ ตาแหนง่
วนั -เดือน- เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
ปี

181

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหัสวิชา ..... 20104 - 2102...... วชิ า ...................... อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร.............................
สัปดาหท์ ี่ ........9...... ชื่อหน่วย ไอซตี ้งั เวลา 555
ช่อื เรอ่ื ง.............................................ไอซีตั้งเวลา 555 ..........……………………..............จานวน...4...ชั่วโมง

1. สาระสาคญั

ไอซีตั้งเวลา 555 เป็นไอซีที่ทาหนา้ ทีก่ าเนิดสัญญาณตามเวลาที่ออกแบบไว้ โดยสามารถกาหนดได้
ดว้ ยอปุ กรณ์ภายนอก ไอซีตั้งเวลา 555 สามารถกาเนิดสัญญาณ อะสเตเบ้ิล(Astable) โมโนสะเตเบลิ้
(Monostable) และประยุกต์ใช้งานด้านอนื่ ๆ ทเี่ กีย่ วกบั การตั้งเวลาไดด้ ี

2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้

1. ออกแบบวงจรอะสเตเบล้ิ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1.เพอ่ื ให้มคี วามรูเ้ ก่ียวกบั การอธบิ ายไอซตี ั้งเวลา 555 (ดา้ นความรู้)
2.เพอ่ื ให้มคี วามรเู้ กีย่ วกบั การเขียนลาดบั วงจรอะสเตเบิล้ โดยใช้ไอซี 555 (ด้านความรู้)
3.เพอ่ื ให้มีความรู้เกี่ยวกับการเปรยี บเทยี บไอซเี บอร์ 555 ทีใ่ ช้ในทางการค้า (ด้านความรู้)
4.เพอ่ื ให้มที กั ษะในการออกแบบวงจรอะสเตเบลิ้ (ด้านทกั ษะ)
5.เพอ่ื ให้มเี จตคติท่ีดีในการจาแนกคุณสมบัตขิ องไอซี 555 (ด้านจติ พสิ ัย)
6.เพื่อออกแบบวงจรอะสเตเบ้ิลอยา่ งถูกต้องเหมาะสม (ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม)

3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1.อธบิ ายไอซีต้ังเวลา 555 (ด้านความร้)ู
2.เขยี นลาดบั วงจรอะสเตเบล้ิ โดยใช้ไอซี 555 ได้ (ดา้ นความรู้)
3.เปรยี บเทียบไอซเี บอร์ 555 ทใี่ ชใ้ นทางการค้าได้ (ดา้ นความร้)ู
4.ออกแบบวงจรอะสเตเบ้ิลได้ (ดา้ นทกั ษะ)
5.จาแนกคุณสมบัตขิ องไอซี 555 ได้ (ดา้ นจติ พิสยั )
6.ออกแบบวงจรอะสเตเบล้ิ อย่างถกู ต้องเหมาะสม (ด้านคุณธรรม จริยธรรม)

182

4. เน้ือหาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
4.1.1 ไอซีตวั้ เวลา 555
4.1.2 คณุ สมบตั ิของไอซี 555 แต่ละขา
4.1.3 วงจรอะสเตเบิล้ โดยใช้ไอซี 555
4.1.4 การเลอื กใช้ตวั ตา้ นทานและตัวเก็บประจุในวงจรตัง้ เวลา
4.1.5 ไอซเี บอร์ 555 ที่ใชใ้ นทางการคา้

4.2 ด้านทักษะหรือปฏิบัติ
1. การทดลองที่ 9 ไอซีตัง้ เวลา 555
2. แบบทดสอบบทที่ 9

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ออกแบบวงจรอะสเตเบิ้ลอย่างถกู ต้องเหมาะสม

5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ข้ันตอนการสอนหรอื กิจกรรมครู ขนั้ ตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของผเู้ รียน

ขนั้ เตรยี ม(จานวน 30 นาที) ขนั้ เตรียม (ใช้เวลา 30 นาท)ี

1.ผ้สู อนใหผ้ ู้เรียนอา่ นเอกสารประกอบการสอนวชิ า 1.ผู้เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการสอนวชิ า หน่วย

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร หนว่ ยที่ 9 เรอ่ื ง ที่ 9 เรอ่ื ง ไอซีตัง้ เวลา 555 (555 Timer I.C)

ไอซีต้ังเวลา 555 (555 Timer I.C) หนา้ ที่ 109 หน้าท่ี 109 ในสว่ นของสาระสาคัญประจาหน่วย

ในส่วนของสาระสาคญั ประจาหน่วย 2.ผูเ้ รยี นทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับวัตถปุ ระสงค์ของ

2.ผสู้ อนแจ้งวัตถุประสงคข์ องการเรยี น เรื่อง ไอซี การเรยี น เรอ่ื ง ไอซตี ง้ั เวลา 555 (555 Timer

ต้ังเวลา 555 (555 Timer I.C) I.C)

3.ผูส้ อนให้ผเู้ รียนเปรียบเทยี บไอซเี บอร์ 555 ท่ีใช้ 3.ผเู้ รียนรวบรวมความเปน็ มาปรัชญาของเศรษฐกจิ

ในทางการค้า พอเพียง

ขนั้ การสอน (จานวน 180 นาที) ขั้นการสอน (จานวน 180 นาที)

1.ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นเปดิ เอกสารประกอบการสอน การ 1.ผเู้ รียนเปดิ เอกสารประกอบการสอน การเปน็

เป็นผปู้ ระกอบการ(Entrepreneurship) หนว่ ยท่ี ผ้ปู ระกอบการ(Entrepreneurship) หนว่ ยท่ี 9

9 ไอซตี ั้งเวลา 555 (555 Timer I.C) หนา้ ท่ี ไอซีตั้งเวลา 555 (555 Timer I.C) หน้าที่

110-116 พร้อมอธิบายเนื้อหาใหผ้ ู้เรียนฟังทีละหน้า 110-116 พร้อมอธิบายเน้ือหาให้ผูเ้ รียนฟังทีละ

หนา้ พร้อมกับจดบันทึกเนอื้ หาทไี่ ดเ้ รียน

183

2.ผ้สู อนสาธิตการออกแบบวงจรอะสเตเบ้ิล 2.ผเู้ รียนฟังผสู้ อนสาธติ สาธติ การออกแบบ
3.ผู้สอนเปดิ โอกาส ใหผ้ เู้ รียนถามปญั หา และข้อ วงจรอะสเตเบล้ิ
สงสัยจากเนือ้ หา 3.ผู้เรียนซกั ถามขอ้ สงสยั จากเนอ้ื หา
4.ผู้สอนให้ผู้เรยี นทาการทดลองที่ 9 ไอซีตงั้ เวลา 4.ผู้เรยี นการทดลองที่ 9 ไอซตี ัง้ เวลา 555 (555
555 (555 Timer I.C) หน้า 117-119 Timer I.C) หนา้ 117-119
5.ผูส้ อนใหผ้ เู้ รียนสบื คน้ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ นต็ 5.ผเู้ รยี นสบื ค้นข้อมูลจากอินเทอร์เนต็

ขัน้ สรุป(จานวน 30 นาท)ี ขน้ั สรุป(จานวน 30 นาที)
1.ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกันสรุปเนื้อหาที่ไดเ้ รยี นใหม้ ี 1.ผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาท่ีได้เรียนใหม้ ีความ
ความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน เขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน
2.ผสู้ อนให้ผูเ้ รยี นทาแบบทดสอบบทท่ี 8 หนา้ ที่ 2.ผเู้ รียนทาแบบทดสอบบทท่ี 8 หน้าท่ี 91-92
91-92 3.ผู้เรียนศึกษาเพ่มิ เติมนอกห้องเรียน ด้วย เอกสาร
3.ผ้สู อนให้ผ้เู รียนศกึ ษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ดว้ ย ประกอบการสอนท่จี ดั ทาขึ้น

เอกสารประกอบการสอนทีจ่ ัดทาข้ึน

รวมเวลาเรียนท้งั หมด 240 นาที
หรอื 4 ช่ัวโมงเรียน

6. สือ่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้

6.1 สื่อสิ่งพิมพ์
1) เอกสารประกอบการเรยี นวิชาอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจรของนายชิงชยั ศรีสรุ ัตน์
2) แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยท่ี 9 ไอซีตัง้ เวลา 555
3) แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 9 ไอซีตัง้ เวลา 555
4) เอกสารการเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 9 ไอซตี ัง้ เวลา 555
5) แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 9 ไอซีต้งั เวลา 555
6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น และแบบฝึกหัดทา้ ยหน่วย

184

6.2 ส่อื โสตทัศน์
1) เครอื่ งฉายภาพ (projector)
2) งานนาเสนอหน่วยท่ี 9 ไอซตี งั้ เวลา 555

6.3 สอื่ ของจริง
1) ไอซีตั้งเวลา 555

7. แหลง่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมดุ
2. ศูนย์ Internet สมเด็จพระเทพฯ
3. หอ้ งปฏิบัติการเขยี นแบบเคร่ืองกลดว้ ยคอมพวิ เตอร์

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. อาคารวิทยบรกิ าร วทิ ยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน

8. งานท่มี อบหมาย

8.1 กอ่ นเรยี น
1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ตอบคาถามก่อนเรียน เป็นการนาเข้าสู่บทเรยี น

8.2 ขณะเรียน
1. ตอบคาถามระหวา่ งเรียน

8.3 หลงั เรยี น
1. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2. ทาแบบฝึกหดั หลังเรยี น
3. ทาใบกิจกรรมท่ี 9

9. ผลงาน/ช้ินงาน ทีเ่ กิดจากการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น

การทดลองท่ี 9 ไอซีตงั้ เวลา 555 แบบทดสอบบทท่ี 9

10. เอกสารอ้างองิ

1. หนังสือเรียนวิชาอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจรของนายชิงชยั ศรสี รุ ตั น์

185

11. การบูรณาการ/ความสมั พันธ์กับรายวิชาอน่ื

1. บรู ณาการกบั วชิ าชีวติ และวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขยี นและการฝึกปฏบิ ัติตนทาง
สังคมดา้ นการเตรียมความพร้อม ความรบั ผดิ ชอบ ความสนใจใฝร่ ู้

2. บรู ณาการกบั วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ ดา้ นการเลือกใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยัด

12. หลักการประเมินผลการเรียน

12.1 กอ่ นเรียน
1. ตรวจสอบระดับความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รยี นก่อนเริ่มการสอน

12.2 ขณะเรยี น
1. ตรวจสอบความสนใจในการเรียนของผ้เู รียนโดยการถาม-ตอบคาถามในระหว่างท่ีเรยี น

12.3 หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนพรอ้ มกบั เปรยี บเทียบแบบทดสอบก่อนเรยี น
2. ตรวจแบบฝึกหดั หลงั เรยี นเพื่อประเมลิ ระดบั ความเข้าใจของผเู้ รียน
3. ตรวจใบกิจกรรม

13. รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียน

จุดประสงค์ข้อท่ี 1 การประเมินผลความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รยี นกอ่ นเรียน
1. วธิ ีการประเมิน : ให้ทาแบบทดสอบก่อนเรียน และถามคาถามเพ่ือประเมินระดับความรู้ของผู้เรียน
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบก่อนเรยี น
3. เกณฑ์การประเมนิ : ใช้อ้างองิ เป็นตัวเปรยี บเทียบกบั ผลการทดสอบหลังเรยี น
4. เกณฑ์การผ่าน : นกั เรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไมน่ ้อยกวา่ คร่ึงหนึ่งของจานวนข้อของแบบ

ทดสอบทัง้ หมด
จุดประสงคข์ ้อที่ 2 การประเมินผลความรูค้ วามเข้าใจของผู้เรียนหลังเรียน
1. วธิ กี ารประเมิน : ใหท้ าแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบหลังเรยี น
3. เกณฑ์การประเมิน : ใชเ้ ปรยี บเทยี บกบั ผลการทดสอบก่อนเรียน
4. เกณฑ์การผา่ น : นกั เรยี นสามารถทาแบบทดสอบได้ไม่น้อยกว่าการทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

186

14. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

สัปดาหท์ ่ี .....9.....ชื่อหนว่ ยการสอน ไอซตี ้ังเวลา 555
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื การประเมนิ ผลความร้คู วามเข้าใจของผเู้ รยี นก่อนเรยี น
ขอ้ คาถาม
คาสั่ง จงเลือกคาตอบใหถ้ ูกต้องท่สี ุดเพียงคาตอบเดียว

1. ไอซเี บอร์ 555 ทีน่ ิขมใชก้ ันโดยทวั่ ไป จะทางานในช่วงอุณหภูมิที่เท่าใด
ก. 0 - 70 องศาเซลเซยี ส
ข. 0-80 องศาเซลเซียส
ค. 20-70 องศาเซลเซียส
ง. 20 - 80 องศาเซลเซียส

2. ตวั เก็บประจชุ นิดใดที่ไม่ควรใชใ้ นวงจรตั้งเวลา
ก. พลาสตกิ ฟิล์ม
ข. โพลีส่ ไตรนี
ค. โพล่ีคาบอเนต
ง. เซรามคิ

3. วงจรรูป Rt ตอ้ งมีค่ามากกวา่ 10 K เพราะเหตใุ ด

ก. ประหยัดพลงั งาน
ข. ลดแรงดนั ใหก้ บั วงจร
ค. ไม่ให้ความกว้างของพลั สแ์ คบเกินไปm
ง. ถกู ทงั้ กและ ค

187

4. ไอซเี บอร์ 555 จะทางานที่แรงดันไฟกโี่ วลท์
ก .3V-9V
ข.5V-10 V
ค. 5V-15 V
ง. 10V-15 V

5. ไอซเี บอร์ 555 ขาเอาต์พูต คือขาใด
ก. ขา 5
ข. ขา 6
ค. ขา 3
ง. ขา 1

6. ความกว้างของพัลส์ท่ีจะจดุ ชนวนขา 2 มคี า่ เท่าใด
ก. 0.1 ms.
ข. 1 us.ข้ึนไป
ค. 0.1 us.
ง. 1 ms.

7. แรงดันทจ่ี ะมาจุดชนวนขา 2 มคี า่ เท่าใด
ก. 1/2 ของ Vcc
ข. 1/3 ของ Vcc
ค. 1/4 ของ Vcc
ง. เทา่ ใดก็ได้ แตไ่ มเ่ กิน Vec

8. ขาเทรสโฮล (ขา 6) มีความไวตอ่ ระดับแรงดันเท่าใด
ก. 1/2 ของ Vcc
ข.1/3 ของVcc
ค. 1/4 ของ Vcc
ง. เท่าใดก็ได้ แตไ่ ม่เกิน Vcc

9. ไอซี ซีมอสเบอร์ใด ที่ใช้แทนไอซเี บอร์ 555 ได้
ก. เบอร์ 74121
ข. เบอร์ 74122
ค. เบอร์ 74123
ง. เบอร์ 7555

188

10. เพราะเหตุใดไอชี 555 จึงนิยมนามาสร้างเปน็ วงจรต้ังเวลา
ก. ใช้ไดก้ ับแรงดนั ไฟเลย้ี งที่กว้างมากกว่า
ข. ราคาถูกหาซอื้ ไดง้ า่ ย
ค. กนิ ไฟน้อยกวา่
ง. ถกู ทุกข้อ

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

สัปดาหท์ ่ี .....9.....ช่อื หนว่ ยการสอน ไอซีตั้งเวลา 555
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื การประเมนิ ผลความรูค้ วามเข้าใจของผู้เรยี นก่อนเรยี น
ขอ้ คาถาม
คาสัง่ จงเลอื กคาตอบใหถ้ ูกต้องท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดียว

1. ไอซีเบอร์ 555 ที่นิขมใชก้ ันโดยทว่ั ไป จะทางานในช่วงอณุ หภูมิทเี่ ทา่ ใด
ก. 0 - 70 องศาเซลเซยี ส
ข. 0-80 องศาเซลเซียส
ค. 20-70 องศาเซลเซียส
ง. 20 - 80 องศาเซลเซียส

2. ตัวเก็บประจุชนิดใดทไ่ี ม่ควรใช้ในวงจรตงั้ เวลา
ก. พลาสตกิ ฟลิ ์ม
ข. โพลี่สไตรีน
ค. โพล่คี าบอเนต
ง. เซรามิค

189

3. วงจรรูป Rt ตอ้ งมีค่ามากกว่า 10 K เพราะเหตุใด

ก. ประหยัดพลังงาน
ข. ลดแรงดนั ใหก้ ับวงจร
ค. ไมใ่ ห้ความกวา้ งของพัลสแ์ คบเกินไปm
ง. ถูกทัง้ กและ ค

4. ไอซเี บอร์ 555 จะทางานทแี่ รงดนั ไฟกีโ่ วลท์
ก .3V-9V
ข.5V-10 V
ค. 5V-15 V
ง. 10V-15 V

5. ไอซีเบอร์ 555 ขาเอาต์พูต คอื ขาใด
ก. ขา 5
ข. ขา 6
ค. ขา 3
ง. ขา 1

6. ความกวา้ งของพัลส์ท่จี ะจุดชนวนขา 2 มคี ่าเท่าใด
ก. 0.1 ms.
ข. 1 us.ขึน้ ไป
ค. 0.1 us.
ง. 1 ms.

190

7. แรงดนั ที่จะมาจุดชนวนขา 2 มีค่าเท่าใด
ก. 1/2 ของ Vcc
ข. 1/3 ของ Vcc
ค. 1/4 ของ Vcc
ง. เท่าใดก็ได้ แต่ไมเ่ กิน Vec

8. ขาเทรสโฮล (ขา 6) มีความไวต่อระดับแรงดนั เท่าใด
ก. 1/2 ของ Vcc
ข.1/3 ของVcc
ค. 1/4 ของ Vcc
ง. เท่าใดก็ได้ แตไ่ ม่เกนิ Vcc

9. ไอซี ซมี อสเบอรใ์ ด ทีใ่ ชแ้ ทนไอซเี บอร์ 555 ได้
ก. เบอร์ 74121
ข. เบอร์ 74122
ค. เบอร์ 74123
ง. เบอร์ 7555

10. เพราะเหตใุ ดไอชี 555 จึงนยิ มนามาสร้างเป็นวงจรตั้งเวลา
ก. ใชไ้ ดก้ ับแรงดันไฟเล้ยี งที่กวา้ งมากกว่า
ข. ราคาถกู หาซ้ือได้งา่ ย
ค. กินไฟน้อยกว่า
ง. ถกู ทุกข้อ

191

16. ใบความรทู้ ี่ ...9.....

สปั ดาหท์ ี่ .....9.....ชอ่ื หนว่ ยการสอน ไอซตี ้ังเวลา 555
วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ การประเมนิ ผลความรู้ความเข้าใจของผู้เรยี นก่อนเรยี น

16.1 ไอซีตัว้ เวลา 555
วงจรต้ังเวลามีความเท่ียงตรงค่อนข้างสูง จาเป็นต้องใช้วงจรโมโนสเตเบิ้ล ซึ่งส่วนมากนิยมใช้ไอซี

เบอร์ 74121, 74122, 74123 อย่างไรก็ตาม การควบคุมจุดชนวน (Trigger) ของสัญญาณอินพุตไอซี
ตระกูล 74 สามารถกระทาได้ยาก และมีเง่ือนไขมาก แต่ถ้าการหน่วงเวลานานกว่าคร่ึงนาที และโหลด
ต้องการกระแสสูงจะใช้ไอซีตง้ั เวลาเบอร์ 555 แทน

ในการทางานของวงจรโมโนสเตเบิ้ล (Monostable) จะแบง่ เปน็ 2 สภาวะ คอื สภาวะท่ีคงท่ีและ
สภาวะท่ีไม่คงที่ โดยปกติวงจรโมโนสเตเบิ้ล จะอยู่ในสภาวะคงท่ี จนกว่าจะมีสัญญาณจุดชนวน เข้ามา
กระตุ้น จากนั้นเอาต์พุทจะเปล่ียนสภาวะจากเดิม เกิดการหน่วงเวลาด้วยค่าของเวลาที่แน่นอน และกลับสู่
สภาวะปกติเช่นเดิม

ไอซที นี่ ยิ มมาสร้างเป็นวงจรต้ังเวลาได้ดีท่ีสุดเบอรห์ นึ่ง คอื ไอซีเบอร์ 555 เพราะมคี ุณสมบตั ใิ นการ
หนว่ งเวลาไดด้ ี และนานพอสมควร

16.2 คุณสมบัติของไอซี 555 แตล่ ะขา
ขา 1 กราวด์ (Ground) ขาไฟเล้ียงท่ีมศี กั ยเ์ ป็นลบ
ขา 2 ทริกเกอร์ (Trigger) เป็นขาท่ีมีความไวหรือตรวจสอบแรงที่มีค่า 1/3 ของแหล่งจ่าย +Vcc

และจะเกิดการจุดชนวนของอินพุต (Input) ทาให้เอาต์พุต (Output) เปลี่ยนจากระดับต่าเป็นระดับสูง

โดยทว่ั ไปความกว้างของพลั ส์ที่จะมาจุดชนวนอินพุตได้น้ัน ต้องมีค่าเวลามากกว่า 1 ไมโครวนิ าที (μS) ขน้ึ
ไป

ขา 3 เอาต์พุต (OutPut) แรงดันเอาต์พุตท่ีเกิดขึ้นสาหรับเอาต์พุตระดับสูง มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า
+Vcc ประมาณ 1.7 V สาหรบั เอาต์พตุ ระดับตา่ นน้ั จะขน้ึ อยู่กับแหล่งจ่ายไฟท่ปี ้อน

ขา 4 รีเซต (Reset) เม่ือต้องการให้เอาต์พุตอยู่ในระดับต่า ต้องป้อนศักย์ไฟฟ้าที่ขานี้ประมาณ
0.7 V โดยกระแสซิงก์มีค่า 0.1 mA คา่ ของเวลาประวิงในการทาให้เอาต์พุตเปล่ียนเป็นระดับต่ามีคา่ 0.5

μS ซึ่งค่านี้เป็นค่าต่าสุดของความกว้างของพัลซ์ที่จะมาควบคุมขานี้ ในกรณีที่ไม่ต้องการใช้ขาน้ีก็ควรต่อเข้า
กบั +VCC

ขา 5 กระแสซิงก์ ที่เข้ามาขานสี้ ามารถรับได้ใกลเ้ คียงกับขาเอาต์พุต ดังนั้น ค่าแรงดันท่ีมีค่า 2/3
+VCC ซ่ึงเป็นแรงระดับสงู ท่ใี ชใ้ นการเปรียบเทียบ ปกติในการทางานขาน้จี ะไมถ่ ูกใชแ้ ต่ควรใช้ตวั เกบ็ ประจุค่า

0.01 μF ตอ่ ลงกราวดเ์ พอ่ื ไม่ให้ถกู รบกวนจากสัญญาณรบกวนขณะทางาน

192

ขา 6 เทรสโฮล (Threshold) ถ้าศักย์ไฟฟ้าที่ขานี้มีค่าสูงถึง 2/3 ของ +VCC จะเป็นระดับที่มี
ความไวตอ่ การเปล่ยี นแปลง คือ จะทาให้สภาวะเอาต์พุตเปล่ียนแปลงจากระดบั สงู เปน็ ระดบั ดา่

ขา 7 ดิสชาร์จ (Discharge) ขาน้ีต่อกับขาคอลเลกเตอร์ (Collector) ของทรานซิลเตอร์
(Transistor) ซึ่งอยู่ภายในตัวไอซี โดยขาอิมิตเตอร์ต่อลงกราวด์ (Ground) ทรานซิลเตอร์ (Transistor) น้ี
จะทาหน้าที่กาหนดเวลาของระดับเอาต์พุต ถ้าเอาต์พุตอยู่ในระดับต่า ทรานซิลเตอร์นี้จะมีความต้านทานตา่
ในขณะทที่ รานซสิ เตอรม์ ีความตา้ นทานต่า ตัวเก็บประจุจะสามารถคายประจุผ่านทรานซิลเตอร์นี้ได้

ขา 8 ไฟเล้ียง (+Vcc) ต้องจ่ายแหล่งจ่ายไฟตรงที่มีศักย์เป็นบวก มีค่าอยู่ระหว่าง 5 โวลท์ ถึง
15 โวลท์ แม้ว่าจะทางานในช่วงแรงดันที่ต่างกัน แต่ละช่วงของเวลาทางานที่เปล่ียนไปยังคงมีค่าน้อยมาก
คือ รอ้ ยละ 0.1 ต่อการเปลี่ยนแรงดนั 1 โวลท์
16.3 วงจรอะสเตเบิ้ลโดยใช้ไอซี 555

การทางานของวงจร
1. เมื่อป้อนแหล่งจ่าย +VCC เข้าวงจรจะมีกระแสไฟฟ้าส่วนหน่ึงไหลผ่าน Rt1 และ Rt2 มา
ประจุที่ Ct ทาให้แรงดันท่ีตกคร่อม Ct มีค่าสูงข้ึนจนถึง 1/3 ของแหล่งจ่าย +VCC ขา 2 ซ่ึงมีความไว
ตอ่ แรงดันน้ี จะจุดชนวนทาให้เอาต์พุต เปล่ยี นระดับจากระดบั ตา่ Low เปน็ ระดับสงู ทันที
2. แรงดันท่ีตกคร่อม Ct จะค่าสูงขึ้นเรื่อยๆ จนมีระดับแรงดัน 2/3 ของแหล่งจ่าย +Vcc ขา 6
ซ่ึงมีความไวต่อแรงดันน้ี จะตรวจจับทาให้เอาต์พุต เปล่ียนจากระดับสูงเป็นระดับต่าและเป็นผลทาให้ขา 7
มีต้านทานต่า Ct จะคายประจุผ่าน Rt2 ลงกราวด์ท่ีขา 1 เม่ือศักย์ไฟฟ้าตกคร่อม Ct มีค่าลดลงเร่ือยๆ
จนถงึ 1/3 +VCC จะทาใหข้ า 2 ท่ีต่ออยูก่ บั ขา 6 มีความไวต่อระดับของศักย์ไฟฟ้าขนาดน้ดี ้วย จงึ ทาให้
เอาตพ์ ตุ เปลย่ี นจากระดบั ต่าเป็นระดบั สงู อีกคร้งั
3. การที่เอาต์พุต (Output) เปลี่ยนจากระดับของศักย์ไฟฟ้าต่าเป็นระดับสูงทาให้ขา 7 มีความ
ต้านทานสูงตัวเก็บประจุ Ct ประจุผ่าน Rt1 และ Rt2 ใหม่อีกคร้ัง ซึ่งทั้งหมดนี้ก็เป็นหนึ่งรอบของการ
ทางาน
16.4 การเลือกใชต้ วั ตา้ นทานและตัวเกบ็ ประจใุ นวงจรตง้ั เวลา
1. กาหนด Rt ไม่ให้มีคา่ ต่ากว่า 10K เพราะต้องการประหยัดพลังงานและไม่ต้องการให้ความกว้าง
ของพลั ส์แคบจนเกินไป
2. ค่าต่าสุดของตัวเก็บประจุมีค่า 100PE น้ันกาหนดข้ึนมาเพ่ือป้องกันผลท่ีอาจจะเกิดจากความจุ
ค้าง
3. ค่าสูงสุดของ Rt กาหนดจากกระแสเทรสโฮล รวมกับกระแสร่ัวไหลที่ขาดิสชาร์จ และกระแส
รั่วไหลของตัวเก็บประจุ
4. ค่าสูงของตัวเก็บประจุถูกจากัดอยู่ท่ีค่ากระแสรั่วไหลไม่ใช่ค่าความจุ แต่ค่าของกระแสร่ัวไหลนั้น
ขึ้นอยูก่ ับตัวเกบ็ ประจุและใช้งานดว้ ย โดยทว่ั ไปตัวเก็บประจทุ ่ีมีค่าของกระแสรัว่ ไหลตา่ สามารถมีค่าได้สูงถึง
1000 μF

193

5. สาหรับงานทั่วไป สัมประสิทธ์ิต่ออุณหภูมิของตัวต้านทานที่ใช้ควรใช้อยู่ในช่วง 200 ถึง
500ppm/° ท้งั ชนิดคารบ์ อน และคาร์บอนฟิล์ม ใช้คา่ ผดิ พลาก ± 5 ถงึ ร้อยละ 10

6. สาหรับงานท่ีต้องการความเท่ียงตรงสูง ตัวต้านทานควรใช้ชนิดฟิล์มโลหะ ท่ีมีค่าความผิดพลาด
± 0.1 ถึงรอ้ ยละ ± 5 สมั ประสทิ ธติ์ ่ออุณหภมู ิมีค่า 25 ถึง 100 ppm/°c

7. โดยทัว่ ไปตัวต้านทานทีใ่ ช้มักอยู่ระหวา่ ง 100 โอหม์ ถึง 1 เมกะโอหม์ แต่ถ้าตอ้ งการใช้ค่าความ
ต้านทานสูงมากกวา่ นน้ั ควรใช้ตัวต้านทานที่มคี วามแน่นอนและเสถียรภาพต่ออณุ หภมู ดิ ี (ppm/°c) ซ่งึ หาได้
ยากและราคาแพง

8. ตัวต้านทานที่ใช้กาหนดค่าเวลา ควรหลีกเล่ียงการใช้ตัวต้านทานชนดิ ปรบั ค่าให้ โดยเฉพาะอย่าง
ยงิ่ แบบคารบ์ อน ถา้ จาเป็นตอ้ งใช้ใหอ้ ยู่ในชว่ งที่แคบๆ

9. ตวั เก็บประจุไม่ควรไม่ควรขนาดใหญ่ และควรใชค้ ่าผิดพลาดไม่เกนิ ร้อยละ 5 มกี ระแสรั่วไหลต่า
มสี ัมประสิทธ์ิต่ออุณหภมู ติ ่า และไดอิเล็กตรกิ มีการดดู กลนื ดี

10. ตัวเก็บประจุจะต้องสามารถประจุและคายประจุได้ไว้ เมื่อปลายขั้วท้ังสองต่อถึงกันไดอิเล็ก
ตรกิ ตอ้ งไมเ่ กบ็ พลังงานคา้ งขณะทาการประจุ ซ่ึงถ้ามีการเก็บพลังงานไวห้ ลายเปอร์เซน็ ตแ์ ลว้ จะเปน็ ผลเสีย
ในการตั้งเวลา คอื เวลาที่ตง้ั จะไมเ่ รม่ิ จากศนู ย์

11. ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโทรลิติก ไม่ควรใช้ เน่ืองจากมีค่าผิดพลากมากเสถียรภาพไม่ดี
ยกเว้นจะใช้ในวงจรท่ีไม่ต้องการความแนน่ อน แทนตาอิเล็กโทรลติ ิก สามารถใช้งานในวงจรตง้ั เวลาได้ดี แต่
ตอ้ งอย่ใู นช่วงอณุ หภมู ิ 0 องศา ถงึ 50 องศา
16.5 ไอซเี บอร์ 555 ท่ใี ชใ้ นทางการค้า

ไอซีเบอร์ 555 ที่ใช้ในทางการค้าจะทาให้งานในช่วงอุณหภูมิระหว่าง 0 องศา ถึง 70 ในการตั้ง
เวลาอย่างง่ายโดยใช้วงจรโมโนสเตเบ้ิล หาคาบเวลาโดยใช้สมการ T = 1.1 RtCt ซ่ึงจะมีค่าความผิดพลาด
ร้อยละ 1 ส่วนวงจรอะสเตเบ้ิล มีค่าผดิ พลาดประมาณรอ้ ยละ 2 สาหรับวงจรโมโนสเตเบิ้ล

194

17. ใบงาน
17 ใบกจิ กรรมที่ ....9....

สัปดาหท์ ี่ .....9....ช่ือหน่วยการสอน ไอซีตัง้ เวลา 555
จดุ ประสงค์ เพื่อ

1. วเิ คราะหแ์ ละตีความหมาย
2. ตั้งคาถาม
3. อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ระดมสมอง
4. การประยุกต์ความร้สู ู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบตั งิ านอาชพี
1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกับไอซตี ้งั เวลา 555

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรยี นเรือ่ ง ไอซีตง้ั เวลา 555 (555 Timer I.C) ทาใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรเู้ พม่ิ

เกย่ี วกบั ไอซตี ั้งเวลา 555 เปน็ ไอซีทท่ี าหน้าทีก่ าเนดิ สัญญาณตามเวลาทีอ่ อกแบบไว้ โดยสามารถ
กาหนดไดด้ ว้ ยอปุ กรณ์ภายนอก ไอซีต้ังเวลา 555 สามารถกาเนดิ สัญญาณ อะสเตเบ้ลิ (Astable)
โมโนสะเตเบล้ิ (Monostable) และประยกุ ต์ใช้งานดา้ นอน่ื ๆ ท่ีเก่ียวกับการตั้งเวลาไดด้ ี

195

18. แบบประเมินผล
รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 1 อธบิ ายไอซีตง้ั เวลา 555 ได้

1.วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายไอซตี งั้ เวลา 555 ได้ จะได้ 1 คะแนน

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 2 เขยี นลาดับวงจรอะสเตเบลิ้ โดยใช้ไอซี 555 ได้

1.วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : เขยี นลาดบั วงจรอะสเตเบล้ิ โดยใชไ้ อซี 555 ได้ จะได้ 1 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 3 เปรียบเทียบไอซเี บอร์ 555 ทใี่ ชใ้ นทางการค้าได้

1.วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

2.เครอื่ งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : เปรียบเทียบไอซเี บอร์ 555 ท่ีใช้ในทางการค้าได้ จะได้ 2

คะแนน

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 4 ออกแบบวงจรอะสเตเบ้ิลได้

1.วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2.เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ออกแบบวงจรอะสเตเบิล้ ได้ จะได้ 3 คะแนน

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อท่ี 5 จาแนกคณุ สมบตั ขิ องไอซี 555 ได้

1.วิธกี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน

2.เครื่องมือ : แบบประเมินกระบวนการทางาน

3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : จาแนกคุณสมบัติของไอซี 555 ได้ จะได้ 1 คะแนน

196

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข้อท่ี 6 ออกแบบวงจรอะสเตเบล้ิ อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

1.วธิ ีการประเมิน : ตรวจผลงาน

2.เครือ่ งมือ : แบบประเมินกระบวนการทางาน

3.เกณฑก์ ารให้คะแนน : ออกแบบวงจรอะสเตเบล้ิ อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม จะได้ 2

คะแนน

19. แบบฝกึ หดั

1. จงอธิบายไอซีตงั้ เวลา 555
2. วงจรอะสเตเบ้ิลโดยใช้ไอซี 555 หมายความว่าอยา่ งไร
3. ไอซเี บอร์ 555 ท่ใี ชใ้ นทางการคา้ คือ
4. จงออกแบบวงจรอะสเตเบ้ิล
5. คณุ สมบัตขิ องไอซี 555 มคี ณุ สมบัติอย่างไร

197

20. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนร้แู บบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจดั การเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏบิ ตั ิ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จดั หนว่ ยการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านจติ พิสัย

3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอื่ นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรกู้ ่อนเข้า

สอน

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สบู่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ ความเข้าใจ

6. จดั กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมใหผ้ ู้เรียนค้นควา้ เพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

8. จดั กิจกรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี ชอื่ มโยงกับชีวิตจรงิ โดยนาภูมปิ ญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มีสว่ นร่วม

11. จัดกิจกรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รยี น

14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อยา่ งทว่ั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด

ด้านสือ่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

16. ใชส้ ่ือทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมและศักยภาพของผู้เรียน

17. ใชส้ ่อื แหล่งการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผู้เรียน อย่างทวั่ ถึง

198

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมินผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสัย

20. ครู ผเู้ รียน ผูป้ กครอง หรือ ผทู้ ี่เกีย่ วข้องมีสว่ นร่วม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏบิ ัติ 5 = ปฏิบตั ดิ ีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไม่มกี ารปฏบิ ตั ิ เฉลย่ี

20.2 ปัญหาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา แนวทางแกป้ ัญหา

ปัญหาที่พบ
ดา้ นการเตรียมการสอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ด้านส่ือ นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

ด้านการวัดประเมนิ ผล

ด้านอน่ื ๆ (โปรดระบุเปน็ ข้อ ๆ)

ลงชอื่ .................................................................... ครูผ้สู อน
( นายศุภกร มง่ิ คา )
ตาแหนง่ ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

21. บนั ทึกการนเิ ทศและตดิ ตาม 199
ชอ่ื -สกุล ผู้นิเทศ ตาแหนง่
วนั -เดือน- เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
ปี

200

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหสั วิชา ..... 20104 - 2102...... วชิ า ...................... อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร.............................
สัปดาหท์ ี่ ........10...... ชื่อหนว่ ย ไอซเี รก็ กูเลเตอร์
ชอ่ื เรอื่ ง...............................................ไอซีเรก็ กูเลเตอร์..........…….…….…………..............จานวน...4...ชัว่ โมง

1. สาระสาคญั

สสารต่างๆ ประกอบด้วยโมเลกลุ และแตล่ ะโมเลกุลประกอบดว้ ยอะตอมหลายๆอะตอม ในอะตอม
หนึง่ อะตอมจะประกอบไปด้วยอเิ ลก็ ตรอนโคจรอยรู่ อบนิวเคลยี สภายในนิวเคลยี สยงั ประกอบไปดว้ ยโปรตรอน
กับนวิ ตรอน โดยอเิ ลก็ ตรอนมีประไฟฟา้ เปน็ ลบ โปรตอนมปี ระจุไฟฟา้ เป็นบวก นิวตรอนมีสภาพเป็นกลางทาง
ไฟฟ้า สารกง่ึ ตัวนาชนิดเอ็น (N-Type) ได้จากการนาสารกึ่งตวั นาบรสิ ุทธิผ์ สมกบั สารที่มวี าเลนซ์อิเลก็ ตรอน
3 ตวั และสารกงึ่ ตัวนาชนิดพี (P-Type) ได้จากการนาสารกึ่งตัวนาบริสุทธ์ผิ สมกับสารทมี่ ีวาเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน 5
ตวั ไดโอดเป็นอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ สท์ ่ีได้จากการนาสารก่ึงตวั นาชนิดเอน็ และชนิดพีมาตอ่ ชนกัน มคี ุณสมบัติ
นากระแสไฟฟา้ ได้ทิศทางเดยี ว การจัดแรงไฟใหส้ ารกึง่ ตัวนาเรียกว่าการให้ไบอัส ซงึ่ การใหไ้ บอัสมสี องอย่างคือ
ฟอรเ์ วิร์สไบอัส และรีเวริ ์สไบอัส ไอซเี ร็กกูเลเตอร์ คือไอซีทที่ าหนา้ ทร่ี ักษาแรงดนั ทเ่ี อาต์พุทของแหล่งจา่ ยไฟ
ไหค้ งที่ไมว่ า่ โหลดจะเปลย่ี นแปลงไป วงจรเร็กกเู ลเตอร์แบ่งออกเปน็ 3 อย่างคือ เรก็ กูเลเตอรแ์ บบอนกุ รม
(Series Regulator) เร็กกูเลเตอร์แบบขนาน (Shunt Regulator) และเร็กกูเลเตอร์แบบสวติ ชิง่ (Switching
Regulator) ไอซีเร็กกเู ลเตอร์ มีหลายอยา่ งเช่นเร็กกเู ลเตอร์แรงดันคา่ คงที่ เร็กกเู ลเตอรเ์ ปลี่ยนค่าได้

2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้

1. ออกแบบวงจรจ่ายไฟโดยใชไ้ อซีเร็กกูเลเตอร์

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1.เพ่อื ให้มีความร้เู กี่ยวกับการเปรยี บเทียบเร็กกเู ลเตอร์แบบขนานและเร็กกูเลเตอร์แบบอนุกรมได้

(ด้านความรู้)
2.เพอ่ื ให้มคี วามรเู้ กี่ยวกับการฝกึ ออกแบบวงจรจา่ ยไฟโดยใชไ้ อซเี ร็กกเู ลเตอร์ได้ (ด้านทักษะ)
3.เพอ่ื ให้มีความรเู้ กย่ี วกบั การชเ้ี เจงแผนผงั พื้นฐานของเรก็ กูเลเตอร์แบบอนกุ รมได้ (ดา้ นจติ พสิ ัย)
4.เพื่อให้มีเจตคติทด่ี ีในการใช้เหตผุ ลเกี่ยวกบั ไอซีเรก็ กเู ลเตอร์สามขาชนิดจา่ ยแรงดนั คงท่ีได้ (ด้านจิต

พิสัย)
5.เพื่อออกแบบวงจรจ่ายไฟโดยใชไ้ อซเี ร็กกูเลเตอร์อย่างถูกต้องเหมาะสม (ดา้ นดา้ นคณุ ธรรม

จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง)


Click to View FlipBook Version