แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาสังคมศึกษา (ส23101) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช รหัสนักศึกษา 62100107133 สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 รหัสวิชา ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 1) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 แผนการจัดการเรียนรู้
วิชาสังคมศึกษา (ส23101) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช รหัสนักศึกษา 62100107133 สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 รหัสวิชา ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 1) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
(ส่วนนำ) ประกอบด้วย - รายละเอียดของวิชา ตามที่ระบุในตัวชี้วัดหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับวิชาที่สอน - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา รหัสวิชา ส23101 ประเภทวิชา พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2566 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์รวม 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวนการเรียน 1.5 สัดส่วนการ ประเมินระหว่างเรียน : การประเมินผลปลายภาค (70:30) ศึกษา วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ความสำคัญของ พระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก ความสำคัญของ พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน พุทธประวัติจากพระพุทธรูป ปางต่างๆ การประพฤติตนเป็นแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก พุทธสาวิกา ชาดก/ เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง อธิบายสังฆคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 การปฏิบัติตนตาม หลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการทำงานและการมีครอบครัว การพัฒนาจิตเพื่อการ เรียนรู้และดำเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย สวดมนต์แปล แผ่เมตตา การบริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ) หน้าที่และบทบาทของสาวก และการปฏิบัติตนต่อสาวกได้ถูกต้อง ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนา ตามหน้าที่ ของศาสนิกชนที่ดี ศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง ประวัติวันสำคัญทางศาสนา การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การนำเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ ยอมรับความแตกต่างและวิถีการดำเนินชีวิต ของศาสนิกชนอื่น โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 3/2 3/3 3/4 3/5 3/6 3/7 3/8 3/9 3/10 ส 1.2 ม.3/1 3/2 3/3 3/4 3/5 3/6 3/7 รวม 17 ตัวชี้วัด รายละเอียดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข 1. ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก 2. ม.3/2 วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์ อารยธรรม และความสงบสุขแก่โลก 3. ม.3/3 อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน 4. ม.3/4 วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กำหนด 5. ม.3/5 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กำหนด 6. ม.3/6 อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กำหนด 7. ม.3/7 เห็นคุณค่า และวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับ การทำงาน และการมีครอบครัว 8. ม.3/8 เห็นคุณค่า ของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และดำเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ 9. ม.3/9 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนา ที่ตนนับถือ 10. ม.3/10 วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่น ๆ
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือ 11. ม.3/1 วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก และปฏิบัติตนต่อสาวก ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง 12. ม.3/2 ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนา ตามที่กำหนด 13. ม.3/3 ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี 14. ม.3/4 ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง 15. ม.3/5 อธิบายประวัติวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 16. ม.3/6 แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ 17. ม.3/7 นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ
กำหนดการสอน สัปดาห์ ที่ หน่วย ที่ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1-3 1 - การเผยแผ่พระพุทธศาสนา - การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก - ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ส 1.1 ม.3/1 ม.3/2 9 7 4-6 2 - พุทธประวัติ - ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา - ศาสนิกชนตัวอย่าง - ชาดก ส 1.1 ม.3/4 ม.3/5 8 7 6-8 3 - พระรัตนตรัย - อริยสัจ 4 - การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อ เตรียมพร้อมสำหรับการทำงานและการมีครอบครัว ส 1.1 ม.3/6 ม.3/7 7 6 9-10 4 - พระไตรปิฎก - พุทธศาสนสุภาษิต ส 1.1 ม.3/6 5 5 สอบกลางภาค 1 20 5 - หน้าที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย - หน้าที่ชาวพุทธ -มารยาทชาวพุทธ ส 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/6 ม.3/7 6
สัปดาห์ ที่ หน่วย ที่ สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 6 - ประวัติและการปฏิบัติตนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา - ศาสนพิธี ส 1.2 ม.3/5 ม.3/6 6 7 7 - การบริหารจิต การเจริญปัญญาโดยการคิดแบบโยนิโส มนสิกา ส 1.1 ม.3/8 ม.3/9 4 6 8 - พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง -พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน ส 1.1 ม.3/3 6 6 9 - วิธีการดำเนินชีวิตของพุทธ/คริสต์ศาสนิกชน - วิธีการดำเนินชีวิตของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม /พราหมณ์-ฮินดู -ความแตกต่าง/การยอมรับวิถีการการดำเนินชีวิตของคน ในแต่ละศาสนาในประเทศ ส 1.1 ม.3/10 7 6 สอบปลายภาค 1 20 คะแนนก่อนกลางภาค คะแนนสอบกลางภาค คะแนนหลังกลางภาค คะแนนสอบปลายภาค 25 20 25 30 รวมตลอดภาคเรียน 60 100
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคม โลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรง รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ ความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อ กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ ค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และการนับถือ พระพุทธศาสนาของ ประเทศเหล่านั้น ในปัจจุบัน 2. วิเคราะห์ความสำคัญของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่ช่วย สร้างสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขแก่โลก ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วย สร้างสรรค์อารยธรรมและ ความสงบสุขให้แก่ โลก 3. อภิปรายความสำคัญของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและ สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา อย่างยั่งยืน 4. วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง ต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่ กำหนด ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง ต่าง ๆ เช่น ปางมารวิชัย ปางปฐมเทศนา ปางลีลา ปาง ประจ าวันเกิด -สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ ปฐมเทศนา โอวาทปาฏิโมกข 5. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม แบบอย่างการ ดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก/ เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กำหนด พระอัญญาโกณฑัญญะ พระมหาปชาบดีเถรี พระเขมาเถรีพระเจ้าปเสนทิโกศล นันทิวิสาล ชาดก สุวัณณหังสชาดก 6. อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสำคัญใน กรอบ อริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ก าหนด พระรัตนตรัย สังฆคุณ 9 อริยสัจ 4 ทุกข์ (ธรรม ที่ควรรู้) ขันธ์ 5 -ไตรลักษณ์ สมุทัย (ธรรมที่ควร ละ) หลักกรรม -วัฏฏะ 3 -ปัญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทิฎฐิ) นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) อัตถะ 3 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) มรรคมีองค์ 8 ปัญญา 3
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สัปปุริสธรรม 7 บุญกิริยาวัตถุ 10 อุบาสกธรรม 7 มงคล 38 - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟัง ธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล พุทธศาสน สุภาษิต -อตฺตา หเว ชิต เสยฺโย ชนะตนนั่นแล ดีกว่า - ธมฺมจารี สุข เสติผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่ เป็นสุข - ปมาโท มจฺจุโน ปท ความประมาทเป็น ทางแห่งความตาย - สุสฺสูส ลภเต ปํฺญ ผู้ฟ๎งด้วยดี ย่อมได้ป๎ญญา - เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก : พุทธ ปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร 7. เห็นคุณค่า และวิเคราะห์การปฏิบัติตน ตาม หลักธรรมในการพัฒนาตน เพื่อเตรียมพร้อม สำหรับการทำงาน และการมีครอบครัว การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ ข้อ 6.) 8. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการ เรียนรู้ และดำเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ คือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และ วิธีคิดแบบสืบสาว เหตุปัจจัย หรือ การพัฒนาจิตตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบ อริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาว เหตุปัจจัย 9. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและ เจริญ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ฝึกการบริหารจิต และเจริญปัญญาตาม หลักสติปัฎฐานเน้นอานา ปานสติน าวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไป ใช้ในชีวิตประจำวัน 10. วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการ ดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนา อื่นๆ วิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนา อื่นๆ
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธ ารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก และ ปฏิบัติตนต่อสาวก ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง หน้าที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลัก พระธรรม วินัย และจริยวัตรอย่างเหมาะสม การปฏิบัติตนต่อ พระภิกษุในงานศาสนพิธีที่ บ้าน การสนทนา การแต่ง กาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตามฐานะ 2. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด การเป็นศิษย์ที่ดี ตามหลักทิศเบื้องขวา ใน ทิศ 6 ของ พระพุทธศาสนา 3. ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามพุทธปณิธาน 4 ในมหา ปรินิพพานสูตร 4. ปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรมได้ถูกต้อง พิธีทำบุญ งานมงคล งานอวมงคล การนิมนต์พระภิกษุ การเตรียมที่ตั้ง พระพุทธรูปและเครื่องบูชา การวงด้าย สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรียมเครื่อง รับรอง การจุดธูปเทียน 5. อธิบายประวัติวันสำคัญทางศาสนา ตามที่ กำหนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ประวัติวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาใน ประเทศไทย - วันวิสาขบูชา (วันสำคัญสากล) - วันธรรมสวนะและ เทศกาลสำคัญ หลักปฏิบัติตน : การฟังพระธรรมเทศนา การแต่งกายในการประกอบ ศาสนพิธีที่วัด การงดเว้น อบายมุข การประพฤติปฏิบัติในวันธรรมสวนะและ เทศกาลสำคัญ 6. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือ แสดงตน เป็นศาสนิกชนของศาสนา ที่ตนนับถือ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ - ขั้นเตรียมการ - ขั้นพิธี การ 7. นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษา ศาสนา ที่ตนนับถือ การศึกษาเรียนรู้เรื่ององค์ประกอบของ พระพุทธศาสนา นำไปปฏิบัติและเผยแผ่ ตามโอกาส การศึกษาการ รวมตัวขององค์กร ชาวพุทธ การปลูกจิตสำนึกในด้าน การ บำรุงรักษาวัดและพุทธสถานให้เกิดประโยชน
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนเทศบาล ๓ บ้านเหล่า ส านักงานการศึกษาเทศบาลนครอุดรธานี ที่ อด ๕๒๐๐.๖.๕.๓/๔๒๖ วันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ เรื่อง ขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรียน ผู้อ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๓ บ้านเหล่า ตามที่ข้าพเจ้า นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชา สังคมศึกษา รหัส วิชาส23101 จ านวน ๑.๕ หน่วยกิต ปีการศึกษา ๒๕๖๖ นั้น ข้าพเจ้าจึงได้วิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ค าอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๓ บ้านเหล่า ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญ ดังนั้นจึงขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรฯ ต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ ลงชื่อ ............................................... (นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช) ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ความเห็นของรองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ ........................................... (นายไมตรี ภูสอดสี) รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการ ความคิดเหน ็ ของผ้อ านวยการูสถานศึกษา อนุมัติ ไม่อนุมัติ เพราะ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ ........................................... (นางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล) ผู้อ านวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๓ บ้านเหล่า
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง ปฐมนิเทศ เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 2. สาระสำคัญ แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) นักเรียนสามารถเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชาสังคมศึกษาได้อย่างถูกต้อง (K) 2) นักเรียนสามารถทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly) (P) 3) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ในรายวิชาสังคมศึกษา (A) 4. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1) ใฝ่เรียนรู้ 2) มุ่งมั่นในการทำงาน 3) มีวินัย 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการคิด 2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6. สาระการเรียนรู้ - จุดประสงค์การเรียนรู้ - แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly) 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิค/วิธีการสอนแบบสื่อผสม (บรรยาย ข้อมูล ภาพประกอบ PowerPoint) ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน 1) นักเรียนแนะนำตัวเองและครูแจ้งช่องทางการติดต่อกับนักเรียนโดย PowerPoint 2) นักเรียนสแกนบัตรภาพคิวอาร์โค้ดไลน์กลุ่มห้องเรียนมาให้นักเรียนสแกน เพื่อใช้ในการ ติดต่อสื่อสาร 3) นักเรียนทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly) เพื่อครูจะนำข้อมูลนี้ไป ออกแบบการสอนของครู ให้เหมาะกับนักเรียนแต่ละคนมากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 2 สอน 4) นักเรียนรับฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชาสังคมศึกษา ให้นักเรียนทราบเพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจตรงกัน 5) นักเรียนทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly) เพื่อครูจะนำข้อมูลนี้ไป ออกแบบการสอนของครู ให้เหมาะกับนักเรียนแต่ละคนมากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 3 สรุป 8) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเด็นในคาบนี้ 8. สื่อการเรียนรู้ 1) คิวอาร์โค้ดไลน์กลุ่มห้องเรียน 2) แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly)
9. กระบวนการวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือวัด วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมินผล 1) นักเรียนสามารถเข้าใจ จุดประสงค์การเรียนรู้ใน รายวิชาสังคมศึกษาได้อย่าง ถูกต้อง (K) แบบสังเกต การตอบ คำถาม การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2) นักเรียนสามารถทำแบบ วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลได้ (version Friendly) (P) แบบวิเคราะห์ ผู้เรียน รายบุคคล ทำแบบวิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล ทำครบทุกข้อ 3) น ั ก เ ร ี ย น ใ ฝ ่ เ ร ี ย น รู้ ในรายวิชาสังคมศึกษา (A) แบบสังเกต การตอบ คำถาม การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (version Friendly)
แบบสังเกตการตอบคำถาม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน รายการประเมิน รวม 9 คะแนน สนใจและตั้งใจฟัง คำถาม ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น ตอบคำถามอย่าง สม่ำเสมอ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ลงชื่อ................................................ (นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช) ครูผู้สอน/ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
- ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7 - 9 ดี 4 - 6 พอใช้ ต่ำกว่า 3 ปรับปรุง
แบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินใส่เครื่องหมาย ลงในแบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรม รายบุคคลให้สอดคล้องกับระดับคุณภาพพฤติกรรมของผู้เรียน ลำดับ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม/ระดับคะแนน ความสนใจ ในการทำกิจกรรม การมีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม การยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมาย รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ปานกลางขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ................................................ (นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช) ครูผู้สอน/ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 - 15 9 - 12 5 - 8 3 2 1 ดี ปานกลาง ปรับปรุง
คิวอาร์โค้ดไลน์กลุ่มห้องเรียน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
11. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1.1 นักเรียน จำนวน......................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้....................คน คิดเป็นร้อยละ…………............ ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้................คน คิดเป็นร้อยละ....................... นักเรียนไม่ผ่านมี ดังนี้…………………………………………………………………………………………….………………………… 1.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ(K) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ(P) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.4 นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม (A) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 11.3 ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ…………………………..……………ครูผู้สอน (นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู …………../……………./………
12. ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. (นางมาลีวัลย์ กองหล้า มึลเลอร์) ครูพี่เลี้ยง …………../……………./………… 13. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………….. นางชวนชม ไชยสิทธิ์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ……………………………………… รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ (นายไมตรี ภูสอดสี) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผู้อำนวยการสถานศึกษา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………..………………..…… ผู้อำนวยการสถานศึกษา (นาางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน เวลา 2 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 2. สาระสำคัญ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ส่งผลให้มีการนับถือพระพุทธศาสนา อย่างกว้างขวางในหลายประเทศโดยเฉพาะการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและในสมัย ปัจจุบันซึ่งมีความแต่งต่างกันไปตามยุคสมัย ซึ่งพระพุทธศาสนามีความสำคัญในการสร้างสรรค์ อารยธรรมและความสงบสุขแก่ชาวโลก 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบันได้ ถูกต้อง (K) 2. นักเรียนสามารถระดมสมองในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับ เรื่องแนวทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบันได้(P) 3. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้(A) 4. สาระการเรียนรู้ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา - การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ - การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยปัจจุบัน
5. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 5.1 ความสามารถและทักษะ 1. มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 5.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้(เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT) (ชั่วโมงที่ 1) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูเช็คชื่อพร้อมแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้แก่นักเรียน 2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากแบบฝึกหัด 5 ข้อ ขั้นสอน 1. นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้ผ่านสื่อ Powerpoint เรื่อง แนวทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน คำถาม แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบันมีความแต่ง ต่างกันอย่างไร แนวคำตอบ สมัยโบราณจะเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยการส่งพระธรรมทูต การ เทศน์ หรือผู้มีอิทธิพลในสมัยนั้น เช่น พระมหากษัตริย์ ส่วนสมัยปัจจุบันจะมีองค์กรเข้า มาเกี่ยวข้องและการเผยแผ่ผ่านสื่อโซเชียล สื่อเทคโนโลยี เป็นต้น 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 5 คน จากนั้นครูพานักเรียนทำกิจกรรม ชื่อว่า “ผีให้ธรรม เราทำผี” โดยให้แต่ละกลุ่ม เลือกตัวแทน 1 คน มารับใบงานที่ 1 แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบันพร้อมดูคำใบ้วาดรูปภาพ จากครู แล้วให้กระซิบบอกเพื่อนในกลุ่มจนถึงคนสุดท้าย พร้อมจับเวลา 2 นาที ตัวอย่าง ผีคอขาด ผีตานี ผีเปรต ผีเสื้อสมุทร ผีบ้า เป็นต้น (ชั่วโมงที่ 2) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอภาพวาดจากคำใบ้ของครู ว่ามีความเหมือนหรือแต่ง ต่างกันอย่างไร 4. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากแบบฝึกหัดส่งครูท้ายคาบ 5 ข้อ
ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน และกิจกรรม “ผีธรรม เราทำได้” ซึ่งกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมทำให้ผู้เรียนมีความสนุกสนานและยังได้ ข้อคิดที่ว่า คนเราย่อมมีความคิดที่แตกต่างกันแต่เป้าหมายของทุกคนเหมือนกัน ดังนั้นจึงสอดคล้อง กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในโบราณและปัจจุบันถึงจะมีวิธีที่แต่งต่างกันแต่เป้าหมายของ พระพุทธศาสนาก็ยังคงเหมือนเดิม 7. สื่อการเรียนรู้ - สื่อ Powerpoint เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงานที่ 1 เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน (ผีธรรม เราทำได้) 9. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมินผล 1. นักเรียนสามารถอธิบาย แนวทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ และปัจจุบันได้ถูกตอง (K) แบบสังเกตการตอบ คำถาม การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2. นักเรียนสามารถระดมสมอง ในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับ เรื่องแนวทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ และปัจจุบันได้ (P) ใบงานที่ 1 เรื่อง แนวทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาใน สมัยโบราณและ ปัจจุบัน การทำกิจกรรมกลุ่ม เรื่อง แนวทางการเผย แผ่พระพุทธศาสนาใน สมัยโบราณและ ปัจจุบัน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 3.นักเรียนมีความกระตือรือร้น ในการเรียนรู้(A) แบบสังเกตและ ประเมินผล พฤติกรรมรายบุคคล การสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ใบงานที่ 1 เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน (ผีธรรม เราทำได้) คำชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพจากคำใบ้ของเพื่อนในกลุ่ม (ความคิดอิสระ) พร้อมนำเสนอ และบอกสิ่ง ที่ได้จากกิจกรรมนี้ ( 10 คะแนน) สิ่งที่ได้/ ความรู้สึกต่อกิจกรรมนี้ ชื่อ-สกุล........................................................................ชั้น............เลขที่.........วันที.........................
แบบสังเกตการตอบคำถาม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 *************************************************************************** คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน รายการประเมิน รวม 9 คะแนน สนใจและตั้งใจฟัง คำถาม ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น ตอบคำถามอย่าง สม่ำเสมอ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ลงชื่อ................................................ ครูผู้สอน/ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
- ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7 - 9 ดี 4 - 6 พอใช้ ต่ำกว่า 3 ปรับปรุง
แบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินใส่เครื่องหมาย ลงในแบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรม รายบุคคลให้สอดคล้องกับระดับคุณภาพพฤติกรรมของผู้เรียน ลำดับ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม/ระดับคะแนน ความสนใจ ในการทำกิจกรรม การมีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม การยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมาย รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ปานกลางขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ................................................ ครูผู้สอน/ผู้ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 - 15 9 - 12 5 - 8 3 2 1 ดี ปานกลาง ปรับปรุง
สื่อ Powerpoint เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน
11. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1.1 นักเรียน จำนวน......................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้....................คน คิดเป็นร้อยละ…………............ ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้................คน คิดเป็นร้อยละ....................... นักเรียนไม่ผ่านมี ดังนี้…………………………………………………………………………………………….………………………… 1.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ(K) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ(P) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.4 นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม (A) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 11.3 ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ…………………………..……………ครูผู้สอน (นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู …………../……………./………
12. ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. (นางมาลีวัลย์ กองหล้า มึลเลอร์) ครูพี่เลี้ยง …………../……………./………… 13. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………….. นางชวนชม ไชยสิทธิ์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ……………………………………… รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ (นายไมตรี ภูสอดสี) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผู้อำนวยการสถานศึกษา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………..………………..…… ผู้อำนวยการสถานศึกษา (นาางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เวลา 2 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน ครูผู้สอน นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก 2. สาระสำคัญ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ส่งผลให้มีการนับถือพระพุทธศาสนาอย่าง กว้างขวางในหลายประเทศทั้งในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป อเมริกา แอฟริกา เป็นต้น ซึ่ง พระพุทธศาสนามีความสำคัญในการสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขแก่ชาวโลก 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชียได้(K) 2. นักเรียนสามารถทำกิจกรรมระบุเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชียได้ถูกต้อง (P) 3. นักเรียนเห็นความสำคัญของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา (A) 4. สาระการเรียนรู้ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย - ประเทศอินเดีย – ประเทศศรีลังกา - ประเทศเนปาล - ประเทศภูฏาน - เขตปกครองตนเองทิเบต - ประเทศจีน
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้(เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม) (ชั่วโมงที่ 1) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูเช็คชื่อพร้อมแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้แก่นักเรียน 2. นักเรียนและครูทบทวนเรื่องที่เรียนคาบที่แล้ว คือ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ กับปัจจุบัน 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน โดยมาจากการที่ครูสุ่มวงล้อ จากนั้น ให้นั่งเรียนเป็นกลุ่ม ขั้นสอน 1. ครูอธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย ผ่านสื่อ Powerpoint ได้แก่ ประเทศ อินเดีย ทิเบต ศรีลังกา ภูฏาน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี พร้อมกับเปิดรูปภาพวัดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ต่างประเทศ เช่น วัดธัมนัลลา ประเทศศรีลังกา เป็นต้น จากนั้นถามคำถามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับนักเรียน คำถาม การที่พระพุทธศาสนาเผยแผ่มายังทวีปเอเชียมีปัจจัยอะไรบ้าง แนวคำตอบ การเผยแผ่โดยสมณะทูตทั้ง 9 สายซึ่งเกิดขึ้นในสังคายนาครั้งที่ 3 2. นักเรียนส่งตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมารับกระดาษฟลิปชาร์ท โดยให้แต่ละกลุ่มวาดภาพระบุ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเอเชีย พร้อมกับตกแต่งระบายสีให้สวยงา, (ชั่วโมงที่ 2) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานกลุ่มตัวเอง 4. นักเรียนกลุ่มที่ไม่ได้นำเสนอ ให้ตั้งคำถามกลุ่มที่นำเสนอหลังจากนำเสนอจบ เพื่อเป็นการ วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน
ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย เส้นทาง ปัจจัย ที่มีผลต่อการเผยแผ่ศาสนาในทวีปเอเชีย และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยเพิ่มเติม 8. สื่อการเรียนรู้ - สื่อ Powerpoint เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและปัจจุบัน 9. ชิ้นงาน/ภาระงาน - กระดาษฟลิปชาร์ท ระบุเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย 10. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด เกณฑ์การวัด และประเมินผล 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย ได้ (K) แบบสังเกตการตอบ คำถาม การตอบคำถาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2. นักเรียนสามารถทำกิจกรรม ระบุเส้นทางเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย ได้ถูกต้อง (P) แบบสังเกตและ ประเมินผล พฤติกรรมรายบุคคล สังเกตการทำกิจกรรม กลุ่ม ระบุเส้นทางการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา ในทวีปเอเชีย ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 3. นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา (A) แบบสังเกตและ ประเมินผล พฤติกรรมรายบุคคล การตอบคำถาม การสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
แบบสังเกตการตอบคำถาม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน รายการประเมิน รวม 9 คะแนน สนใจและตั้งใจฟัง คำถาม ตอบคำถามได้ตรง ประเด็น ตอบคำถามอย่าง สม่ำเสมอ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ลงชื่อ................................................ ครูผู้สอน/ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7 - 9 ดี 4 - 6 พอใช้ ต่ำกว่า 3 ปรับปรุง
แบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินใส่เครื่องหมาย ลงในแบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรม รายบุคคลให้สอดคล้องกับระดับคุณภาพพฤติกรรมของผู้เรียน ลำดับ ชื่อ – สกุล พฤติกรรม/ระดับคะแนน ความสนใจ ในการทำกิจกรรม การมีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม การยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น ทำงานตามที่ได้รับ มอบหมาย รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ ปานกลางขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ................................................ ครูผู้สอน/ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้งหรือน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13 - 15 9 - 12 5 - 8 3 2 1 ดี ปานกลาง ปรับปรุง
11. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1.1 นักเรียน จำนวน......................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้....................คน คิดเป็นร้อยละ…………............ ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้................คน คิดเป็นร้อยละ....................... นักเรียนไม่ผ่านมี ดังนี้…………………………………………………………………………………………….………………………… 1.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ(K) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 นักเรียนมีความรู้เกิดทักษะ(P) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.4 นักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม (A) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 11.3 ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ…………………………..……………ครูผู้สอน (นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช) ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู …………../……………./………
12. ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. (นางมาลีวัลย์ กองหล้า มึลเลอร์) ครูพี่เลี้ยง …………../……………./………… 13. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………….. นางชวนชม ไชยสิทธิ์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ……………………………………… รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ (นายไมตรี ภูสอดสี) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผู้อำนวยการสถานศึกษา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………..………………..…… ผู้อำนวยการสถานศึกษา (นาางสาวอารีรัตน์ นุตะภิบาล)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระการเรียนรู้ที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา เวลา 9 ชั่วโมง เรื่อง แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ เวลา 2 ชั่วโมง ออสเตรเลีย และแอฟริกา วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ครูผู้สอน นางสาวเชษฐ์สุดา พรหมหาราช 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสำคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 2. สาระสำคัญ พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ส่งผลให้มีการนับถือพระพุทธศาสนา อย่างกว้างขวางในหลายประเทศทั้งในทวีปออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ-ใต้แอฟริกา 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ ทวีป อเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกาได้ถูกต้อง (K) 2. นักเรียนสามารถนำเสนอผลการศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปยุโรป ทวีป อเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกาได้(P) 3. นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้(A) 4. สาระการเรียนรู้ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกา
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้(เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูเช็คชื่อพร้อมแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้แก่นักเรียน 2. นักเรียนตอบคำถามกระบวนการคิด คำถาม เหตุใดจึงมีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังทวีปต่าง ๆ ทั่วโลก ? แนวคำตอบ การอพยพชาวเอเชีย การเดินทางของสมณทูต การจัดตั้งองค์กรทาง ศาสนา ขั้นสอน 1. นักเรียนศึกษาแนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย และแอฟริกาผ่านสื่อ Powerpoint พร้อมภาพประกอบ คำถามชวนคิด ทำไมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปแอฟริกาจึงมีแค่ 2 ประเทศ