The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือประกอบการเรียนรายวิชาการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by HALLO PUBLISHING, 2023-04-03 10:15:39

วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา

หนังสือประกอบการเรียนรายวิชาการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Keywords: วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา

วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) รองศาสตราจารย์ ดร.จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2564 ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) รองศาสตราจารย์ ดร.จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย กศ.ด. (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 2564 ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


1 บทที่ 1 ความรู เกี่ยวกับการวิจัย การวิจัยเป นวิธีการแสวงหาความรูความจริง ดวยวิธีการที่เป นระบบและเชื่อถือได การวิจัยนอกจากจะเป นการสนองความตองการในการไดรูคําตอบต&อสิ่งที่สนใจแลว ผลของการวิจัย ก&อใหเกิดประโยชน*มากมาย มีการนําผลการวิจัยไปใชในการพัฒนาทั้งดานการศึกษา วิทยาศาสตร* และเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม พัฒนาวิชาชีพและพัฒนางาน รวมทั้งการนําเสนอขอคนพบที่จะ เป นประโยชน*ต&อการแกป2ญหาที่เกิดขึ้นอย&างตรงประเด็นและมีประสิทธิภาพ การสืบคนเรื่องราว ในอดีตและพยากรณ*สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตจากขอมูลที่เก็บรวบรวมได มนุษย*ในยุคสมัยที่ผ&านมา ไดใชกระบวนการวิจัยในการต&อสูและการเรียนรูธรรมชาติ รวมถึงความพยายามในการใชกระบวนการวิจัย ในการแสวงหาแนวทางที่มนุษย*จะดํารงชีวิตอยู&ร&วมกับธรรมชาติไดอย&างสมดุล การศึกษาเป นศาสตร*สาขาหนึ่งที่ไดนําวิธีวิทยาการวิจัยมาใชในการพัฒนาในทุกดาน ทั้งการพัฒนาผูเรียน พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เช&น การพัฒนาระบบ รูปแบบและ โครงสรางการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีการใชกระบวนการวิจัยในการพัฒนาองค*ความรู เดิมต&อยอดสู&องค*ความรูใหม& สืบคนประวัติศาสตร*การศึกษาไทยสู&แนวทางการจัดการศึกษาในป2จจุบัน ใชการศึกษาภูมิป2ญญาทองถิ่นบูรณาการสู&การจัดการเรียนรูในโรงเรียน การพัฒนารูปแบบการเรียนรู ที่สอดคลองกับความหลากหลายของผูเรียน การวิจัยจึงอยู&คู&กับศาสตร*การศึกษามาโดยตลอด ดังนั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา จึงมีความสําคัญอย&างยิ่งต&อการนําไปใชอย&างถูกตอง และเหมาะสมกับบริบททางการศึกษา และเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัย ในบทนี้ จึงนําเสนอเนื้อหาสาระความรูเกี่ยวกับการวิจัยที่จะเป นประโยชน*ต&อการนําไปใชในการวิจัยทางการ ศึกษาตามลําดับ ดังนี้ 1. ความหมายของการวิจัยและการวิจัยทางการศึกษา 2. วิธีการแสวงหาความรู 3. ลักษณะของการวิจัย 4. ประโยชน*ของการวิจัย 5. จุดมุ&งหมายของการวิจัย 6. ประเภทและขั้นตอนการวิจัย 7. จรรยาบรรณนักวิจัย ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


2 ความหมายของการวิจัยและการวิจัยทางการศึกษา พวงรัตน* ทวีรัตน* (2543, หนา 11) กล&าวว&า การวิจัย หมายถึง การคนควาหาความรู ความจริงที่เชื่อถือไดโดยวิธีการที่มีระบบแบบแผน เพื่อนําความรูที่ไดไปสรางระบบกฎเกณฑ*ไวใช ในการอางอิง อธิบายปรากฏการณ*เฉพาะเรื่อง ปรากฏการณ*ทั่วไป เป นผลทําใหสามารถทํานายและ ควบคุมการเกิดปรากฏการณ*นั้นได เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ* (2549, หนา 17) กล&าวว&า การวิจัย หมายถึง การสรางองค*ความรูใหม& หรือการตรวจสอบความรูเดิมเพื่อใหไดความรูที่เป นป2จจุบันและตามภาวะป2จจุบัน โดยใชกระบวนการ วิธีการ และระบบที่แตกต&างกันตามแต&ศาสตร*แต&ละสาขาจะพัฒนารูปแบบและเลือกใช ไม&ไดจํากัด ว&าเป นลักษณะเดียวกันในศาสตร*ทุกสาขา พิสณุ ฟองศรี (2552, หนา 6 ) กล&าวว&า การวิจัย หมายถึง กระบวนการคนควา วิเคราะห* หาความรูอย&างเป นระบบ ตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร* บุญชม ศรีสะอาด (2553, หนา 1) กล&าวว&า การวิจัย หมายถึง การใชป2ญญาของมนุษย* ในการศึกษาคนควาเพื่อใหไดความรูความจริง เกิดความเขาใจ ช&วยในการแกป2ญหา ปรับปรุง พัฒนา งานบุคคลหรือกลุ&มบุคคล โดยมีลักษณะ ดังนี้ คือเป นกระบวนการที่มีระบบ แบบแผน มีจุดมุ&งหมาย ที่แน&นอนและชัดเจน ดําเนินการศึกษาคนควาอย&างรอบคอบ ไม&ลําเอียง มีหลักเหตุผล บันทึกและ รายงานออกมาอย&างระมัดระวัง เคอร*ลิงเจอร*และลี (Kerlinger & Lee, 2000, p. 11) กล&าวว&า การวิจัย หมายถึง วิธีการ ที่เป นระบบ มีการควบคุม มีเหตุผล มีการเปVดเผยและตรวจสอบปรากฏการณ*ที่เกิดขึ้นอย&างเป น ระบบ จากความหมายของการวิจัยดังกล&าวขางตนจะเห็นไดว&าเป นการใหความหมายของ การวิจัยใน 4 ประเด็นดวยกันคือ การคนควาหาความรูความจริง การสรางองค*ความรู การใชองค*ความรู และการใชวิธีการหรือกระบวนการที่เป นระบบและเชื่อถือไดในการคนควาหาความรูความจริง จึงสรุปไดว&า การวิจัย หมายถึง กระบวนการคนหาความรูความจริง อย&างมีเหตุผลและเชื่อถือได ตามแนวทางของ วิธีวิทยาศาสตร*โดยผลของการวิจัยจะถูกนําไปใชในการแกป2ญหา ตอบป2ญหา และขอสงสัย รวมทั้ง การนําไปสู&การสรางองค*ความรู การพัฒนาที่หลากหลายและการแกป2ญหา ดังนั้น การวิจัยทางการศึกษา จึงหมายถึง การคนควาหาความรูความจริงที่เกี่ยวกับการศึกษา โดยใชวิธีการหรือแบบแผนที่เชื่อถือได และเป นระบบ เช&น ผูวิจัยตองการทราบป2จจัยที่ส&งผลต&อความมีวินัยในตนเองของนักศึกษา ผูวิจัย จึงใชการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสอบถามป2จจัยและพฤติกรรมความมีวินัยของนักศึกษา ทําให ทราบถึงป2จจัยที่ส&งผลต&อความมีวินัยในตนเองของนักศึกษา ซึ่งจะนําไปสู&การเสริมสรางความมีวินัย ในตนเองของนักศึกษาต&อไป ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


3 วิธีการแสวงหาความรู การคนหาความรู ความจริงของมนุษย*ตั้งแต&อดีตจนถึงป2จจุบัน แบ&งออกไดเป น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะแรกของการคนหาความรูความจริงของมนุษย* เป นระยะที่มนุษย*รูจักแสวงหาความจริง ที่แวดลอมตนเองตามธรรมชาติ แต&วิธีการหาความจริงยังไม&เป นระบบและความรูที่ไดก็จริงบางและ ไม&จริงบาง วิธีการมีดังนี้ 1. โดยเหตุบังเอิญ เป นการคนพบความรู ความจริงโดยบังเอิญ หรือพบโดยไม&ตั้งใจ เช&น มนุษย*เก็บใบไมชนิดหนึ่งกินแลวบังเอิญหายปวดศีรษะ ก็ทําใหมนุษย*เกิดการเรียนรูว&าใบไมชนิดนี้ สามารถรักษาอาการปวดศีรษะได 2. โดยการลองผิดลองถูก เป นการแสวงหาความรู ความจริงโดยการลองเสี่ยงทํา หรือ แบบเดาสุ&ม ทดลองหลายครั้ง หลายแบบ เช&น มนุษย*มีอาการคันบริเวณผิวหนังก็ทดลองเก็บใบไม มาขยี้แลวทาบริเวณที่มีอาการคัน ทดลองกับใบไมหลายชนิด หลายครั้ง จนพบว&ามีใบไมชนิดหนึ่งที่ใช ไดผลทําใหอาการคันบรรเทาลง 3. โดยทางประเพณีวัฒนธรรม เป นการรับรูความรู ความจริงที่เกิดจากการปฏิบัติสืบทอด จากประเพณี หรือวัฒนธรรมที่ยึดถือปฏิบัติกันมาเป นเวลานาน แลวนํามารวบรวมเป นความรูที่ถือ ปฏิบัติสืบต&อกันมา จนกลายเป นความเชื่อถือที่ฝ2งแน&น เช&น พิธีกรรมของกลุ&มคนที่เกี่ยวของกับศาสนา ที่ตนเองนับถือ 4. โดยผูเชี่ยวชาญหรือนักปราชญ* เป นการหาความรูความจริงจากการสอบถามผูรู หรือผูเชี่ยวชาญ หรือนักปราชญ*ที่เป นที่ยอมรับของคนส&วนใหญ& เช&น เพลโต (Plato) หรืออาริสโตเติล (Aristotle) ซึ่งบุคคลเหล&านี้กล&าวถึงความจริงหรือความรูอะไรก็จะเป นที่ยอมรับของคนทั่วไป ในป2จจุบันรวมถึงครู–อาจารย* นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญในแต&ละศาสตร*ดวย 5. โดยประสบการณ*ของบุคคล เป นการแสวงหาความรู ความจริงโดยผ&านประสบการณ* ส&วนตัวที่ไดพบเห็นจากการดําเนินชีวิต สั่งสมผ&านกาลเวลาแลวนํามารวบรวมเป นความรู แลวจึงนําไป เผยแพร& หรือบอกเล&าต&อ เช&น ความสามารถในการจับสัตว*น้ําของมนุษย* ซึ่งเป นประสบการณ*ส&วนตัว เป นเทคนิควิธีที่มนุษย*คนพบและถ&ายทอดสู&ลูกหลาน จะเห็นไดว&าในระยะแรกมนุษย*ไดมีการคนหาความรูความจริงดวยวิธีการที่ไม&เป นระบบ และไม&เป นขั้นตอน ใชวิธีการเรียนรูจากธรรมชาติและสิ่งที่อยู&รอบตัว มีเปaาหมายเพื่อการดํารงชีวิตอยู&ได ไม&ไดตองการสรางองค*ความรู สูตร กฎ หรือทฤษฎี แต&อย&างไรก็ตามวิธีการแสวงหาความรูของมนุษย* ในอดีตไดกลายเป นรากฐานของการแสวงหาความรูในยุคต&อมาจนถึงป2จจุบัน ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


4 ระยะที่ 2 เป นระยะที่มนุษย*มีประสบการณ*มากขึ้น นักปราชญ*หลายท&านไดพยายามคิดหาวิธีการ คนหาความรูความจริง โดยการนําเหตุผลเขามาใช วิธีการที่สําคัญไดแก& 1. วิธีอนุมาน (deduction method) อาริสโตเติลเป นบุคคลแรกที่พยายามจัดวิธีการ แสวงหาความรูความจริงใหมีระบบขึ้น โดยอาริสโตเติลเชื่อว&าความรูที่เชื่อถือไดนั้น จะตองเป นความรู ที่แสดงใหผูอื่นเห็นหรือทดสอบได วิธีการหาความรูที่เชื่อถือไดของอาริสโตเติลนี้เรียกว&า การอนุมาน (deduction) หมายถึง การคิดหาเหตุผลโดยการนําเอาสิ่งที่เป นจริงตามธรรมชาติมาอาง วิธีการนี้ ประกอบดวยขอตกลง 2 ประการ คือ ขอตกลงหลักและขอตกลงย&อย แลวอาศัยขอตกลงทั้ง 2 ประการ มาเชื่อมโยงไปสู&ขอสรุป การหาความรูโดยวิธีนี้มี 3 ส&วน ดังนี้ ขอตกลงหลัก: เป นขอตกลงที่กําหนดขึ้นเป นเกณฑ* ขอตกลงย&อย: เป นขอตกลงที่ตองการขอสรุปใหสอดคลองกับขอตกลงหลัก ขอสรุป: เป นความรูใหม&ที่ไดจากการสรุป โดยพิจารณาจากความสัมพันธ*ของ ขอตกลงหลักและขอตกลงย&อย เช&น ขอตกลงหลัก: นักศึกษาที่เล&นกีฬาไดมีทักษะดานกีฬา ขอตกลงย&อย: วีระเล&นกีฬาได ขอสรุป: วีระมีทักษะดานกีฬา จะเห็นไดว&า ขอสรุปจะเป นจริงต&อเมื่อขอตกลงหลักและขอตกลงย&อยเป นจริง การแสวงหา ความรูตามวิธีนี้ถูกโจมตีว&า ไม&ไดสรางความรูใหม& อีกทั้งการตั้งขอตกลงหลักและขอตกลงย&อยอาจไม& สมเหตุสมผลหรือลําเอียงได หรืออาจไม&เป นจริงเสมอไป 2. วิธีอุปมาน (induction method) ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) ชาวอังกฤษ ไดมองเห็นจุดอ&อนของวิธีอนุมานของอาริสโตเติลจึงไดคิดวิธีการหาความรูขึ้นใหม& โดยใหชื่อว&าวิธี อุปมาน ซึ่งเป นวิธีการคนหาความรู ความจริง โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากขอตกลงย&อยแลวนํา ขอตกลงย&อยเหล&านั้นมาพิจารณาสิ่งที่เหมือนกันและสัมพันธ*กัน แลวจึงสรุปเป นขอตกลงหลัก วิธีนี้ ตรงขามกับวิธีอนุมาน โดยองค*ประกอบของการหาความรูโดยวิธีนี้มี 3 ส&วน ดังนี้ เก็บขอมูล: (ขอตกลงย&อย) วิเคราะห*ขอมูล: (พิจารณาความสัมพันธ*ของขอตกลงย&อย) สรุปผล: (ขอตกลงหลัก) เช&น เก็บขอมูล: สัตว*เลี้ยงลูกดวยน้ํานมทุกชนิดหายใจทางปอด ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


5 วิเคราะห*ขอมูล: มนุษย*เลี้ยงลูกดวยน้ํานม สรุป: มนุษย*หายใจทางปอด จะเห็นไดว&า ขอสรุปจะเป นจริงต&อเมื่อขอตกลงย&อยมีความเหมือนกันและสัมพันธ*กัน ซึ่งขอสรุปจะเป นจริงไดมากนอยแค&ไหนก็ขึ้นอยู&กับความถูกตอง น&าเชื่อถือและเที่ยงตรงของขอมูล ที่เก็บรวบรวมมาไดหรือขอตกลงย&อย 3. วิธีอนุมานและอุปมาน (deduction – induction method) ชาร*ลส* ดาวิน (Charles Darwin) ไดนําเอาวิธีการอนุมานของอาริสโตเติลและวิธีอุปมานของฟรานซิส เบคอน มาใชร&วมกันแลว เรียกว&า วิธีอนุมานและอุปมาน ซึ่งการหาความจริงตามแนวของชาร*ลส* ดาวิน มีแนวคิดว&าการคนควา ความรูเรื่องใดจะตองมีป2ญหาในเรื่องนั้นเกิดขึ้นแลวจึงใชการอนุมาน เพื่อจะเดาคําตอบของป2ญหา หรือเป นการตั้งสมมติฐานขึ้น ขั้นต&อมาก็มีการเก็บรวบรวมขอมูลมาทดสอบสมมติฐานที่ระดับ ความเชื่อมั่นที่จะยอมรับได แลวจึงใชหลักของการอุปมานสรุปผลออกมา จะเห็นไดว&า วิธีนี้เริ่มตนจากป2ญหาหรือคําถาม มีการคาดคะเนคําตอบของป2ญหา (ตั้งสมมติฐาน) การเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะห*และสรุปผลเป นองค*ความรูใหม& จากกระบวนการ ดังกล&าวทําใหวิธีของชาร*ลส* ดาวิน ไดรับการยอมรับว&าเป นจุดเริ่มตนของวิธีการทางวิทยาศาสตร* ระยะที่ 3 เป นระยะที่มีวิธีการคนหาความรูความจริงที่เชื่อถือไดมากยิ่งขึ้นโดยนักการศึกษา และนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ชื่อ จอห*น ดิวอี้ (John Dewey) ไดพัฒนาวิธีการคนหาความรูความจริง มาจากวิธีการของ อาริสโตเติล ฟรานซิส เบคอน และชาร*ลส* ดาร*วิน แต&เป นการจัดระเบียบวิธีที่รัดกุม และมีระบบ วิธีการนี้ถือไดว&าเป นเครื่องมือสําคัญที่ช&วยใหสามารถคนหาคําตอบในการแกป2ญหา หรือคนควาความรูใหม&ไดดีที่สุด ซึ่งเรียกว&า วิธีการทางวิทยาศาสตร* มี 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นระบุป2ญหา (problem) ในขั้นตอนนี้ เป นการกําหนดป2ญหาที่ตองการศึกษา เช&น ในป2จจุบันนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมจํานวนมากขาดวินัยในตนเอง สภาพดังกล&าวถือว&า เป นป2ญหาที่เกิดขึ้น เป นปรากฏการณ*ที่ตองการทําความเขาใจ แกไข และเสริมสรางความมีวินัยต&อไป การระบุป2ญหาที่ศึกษาอาจระบุว&า “ป2จจัยอะไรบางที่มีผลต&อความมีวินัยในตนเองของนักศึกษา” 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (hypothesis) ในขั้นตอนนี้เป นการคาดคะเนคําตอบของป2ญหา ที่ตองการศึกษา ในการตั้งสมมติฐานตองมีเหตุผลหรือแนวคิดทฤษฎีรองรับ จากตัวอย&างขางตน สามารถตั้งสมมติฐานว&า “ป2จจัยดานความสัมพันธ*ระหว&างนักศึกษากับผูปกครอง ดานสัมพันธภาพ ระหว&างนักศึกษากับเพื่อน ดานความสัมพันธ*ระหว&างอาจารย*กับนักศึกษา และดานแรงจูงใจ ใฝsสัมฤทธิ์ส&งผลต&อความมีวินัยในตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม” ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


6 3. ขั้นเก็บรวบรวมขอมูล (collection data) ในขั้นตอนนี้เป นการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อทดสอบสมมติฐาน จากตัวอย&างดังกล&าวผูวิจัยอาจจะเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชวิธีสอบถาม และสัมภาษณ*นักศึกษาเกี่ยวกับป2จจัยที่มีผลต&อความมีวินัยในตนเองของนักศึกษา 4. ขั้นวิเคราะห*ขอมูล (analysis) ในขั้นตอนนี้เป นการใชวิธีการทางสถิติมาจัดกระทํา กับขอมูลเพื่อที่จะยืนยันหรือปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว 5. ขั้นสรุปผลการศึกษา (conclusion) ขั้นตอนนี้เป นขั้นตอนสุดทายที่จะไดมาซึ่งขอสรุป ของการศึกษา ไดจากการตรวจสอบสมมติฐานดวยขอมูลหลักฐาน จะเห็นไดว&า วิธีการทางวิทยาศาสตร*เป นวิธีการคนหาความรูความจริงที่มีแบบแผน การทํางานที่ชัดเจน มีหลักฐานรองรับและสามารถตรวจสอบได จึงทําใหผลที่ไดมีความเที่ยงตรง และน&าเชื่อถือมากขึ้น ระยะที่ 4 เป นระยะที่มนุษย*พัฒนาระเบียบวิธีวิจัยขึ้นมาแสวงหาความรูความจริง แต&ไม&ใชวิธีการ ที่แน&นอนตายตัวตลอดไป วิธีการแสวงหาความรูความจริงในการวิจัยเป นวิธีที่มีระบบแบบแผน มีการ ดําเนินการเป นขั้นตอน อิงตามขั้นตอนของการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตร* จึงสามารถสรุป ความรูความจริงได โดยยึดหลักความสมเหตุสมผลตามขอมูลหรือหลักฐาน ไม&ใช&สรุปจากความคิดเห็น ส&วนตัว การแสวงหาความรูความจริงของมนุษย*ที่ผ&านมาทั้ง 4 ระยะ เป นวิธีการแสวงหาความรู ความจริงที่สอดคลองกับธรรมชาติและสภาพแวดลอมที่เป นอยู&ในช&วงเวลานั้น แมในป2จจุบันมนุษย* ยังคงใชวิธีการในอดีตเป นพื้นฐานในการแสวงหาความรูความจริง โดยมีการปรับเปลี่ยนวิธีการ ใหสอดคลองกับสถานการณ*และสภาพแวดลอม มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาใชในการ แสวงหาความรูความจริง การวิจัยทางการศึกษาก็ใชพัฒนาการของการแสวงหาความรูของมนุษย* มาปรับเปลี่ยนใหสอดคลองและเหมาะสมกับบริบททางการศึกษา เช&น วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา ไดมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการจัดการเรียนรู นําภูมิป2ญญาทองถิ่น ปราชญ*ชาวบาน เขามาบูรณาการกับการจัดการเรียนรูในโรงเรียน มีการศึกษาองค*ความรูของผูเชี่ยวชาญหรือปราชญ* ชาวบานทั้งแนวกวางและแนวลึก สรางเป นองค*ความรูใหม& ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมขอมูล และทดสอบองค*ความรูที่สรางขึ้นและสรุปเป นผลที่ได ซึ่งสามารถนําไปใชในการพัฒนาการศึกษา อย&างต&อเนื่องมาโดยตลอด ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


7 ลักษณะของการวิจัย มนสิช สิทธิสมบูรณ* (2554, หนา 9-11) กล&าวว&า จากความหมายของการวิจัยและการ แสวงหาความรูความจริงของมนุษย* จะเห็นไดว&า การวิจัยเป นวิธีการศึกษาหาขอเท็จจริงภายใน ขอบเขตที่กําหนดไวอย&างมีระบบ โดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร*เพื่อใหไดความรูความจริงในสิ่งที่วิจัย สําหรับความรูความจริงในเชิงการวิจัย หมายถึง ความรูที่เชื่อถือได โดยสรุปไดว&าการวิจัยที่ดีจะมี ลักษณะที่สําคัญดังนี้ 1. กระบวนการวิจัยจะตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลใหม& หรือนําขอมูลที่มีอยู&แลวมาใช เพื่อจุดประสงค*ใหม& 2. การวิจัยมักเป นการแกป2ญหา หรือตรวจสอบสมมติฐาน โดยทั่วไปแลวการวิจัย เป นการวิเคราะห*ความสัมพันธ*ของเหตุและผล 3. การวิจัยส&วนใหญ&จะมีการวางแผนดวยความระมัดระวัง และมีระบบโดยอาศัย หลักของการวิเคราะห*ในเชิงเหตุและผล 4. การวิจัยมุ&งหมายที่จะหาขอเท็จจริง เพื่อพัฒนาทฤษฎี กฎ และหลักการเพื่อประโยชน* ในการทํานาย หรือสรุปครอบคลุมไปยังเรื่องอื่นดวย 5. ผูวิจัยตองรอบรูในเรื่องที่จะวิจัย ถาผูวิจัยยังขาดความรู ความเขาใจในเรื่องที่จะวิจัย ก็ ตองทําการศึกษาคนควาจนสามารถมีความคิดที่ชัดเจนในเรื่องดังกล&าว เพราะการวิเคราะห*หรือการ ประเมินผลการวิจัยนั้นจะตองมีความรูเป นอย&างดีในเรื่องที่ทําการวิจัย 6. การวิจัยจะตองมีการสังเกต บันทึกและรายงานปรากฏการณ*ที่เกิดขึ้นอย&างละเอียด รอบคอบ ถูกตองและแม&นยํา การวิจัยตองอาศัยขอมูลที่มีความเที่ยงตรงและแม&นยํา 7. การวิจัยนั้นตองเป นกระบวนการที่ใชเหตุผล โดยตั้งอยู&บนรากฐานของตรรกวิทยา การสรุปผล หรือสรุปขอมูล ตองปราศจากซึ่งอคติ เป นการเสนอขอเท็จจริงอย&างตรงไปตรงมา 8. การวิจัยตองอาศัยความอดทนและความพากเพียรของผูวิจัย โดยเฉพาะการติดตาม รวบรวมขอมูลและการสังเกต 9. การวิจัยตองอาศัยความกลาหาญเด็ดเดี่ยวของผูวิจัย โดยเฉพาะการวิจัยทางสังคมศาสตร* ซึ่งตองติดต&อหรือเกี่ยวของกับบุคคลเป นจํานวนมาก 10. การวิจัยตองมีการบันทึกและรายงานผลอย&างละเอียด การนิยามคําที่ใชในการวิจัย ตองมีความชัดเจน เขียนวิธีวิจัยอย&างระมัดระวัง แสดงเอกสารอางอิงตองบันทึกขอมูลและรายงาน ผลการวิจัยอย&างตรงไปตรงมา ดังนั้น ลักษณะที่สําคัญของการวิจัยคือ ตองมีลักษณะเป นความรูใหม&หรือขอมูลใหม& เป นการใชกระบวนการที่ใชเหตุผลในการคนหาความรู ความจริง การวิจัยควรมีรายละเอียดเพียงพอ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


8 ที่จะทําใหผูอ&านหรือผูศึกษาทําความเขาใจได ตลอดจนขอเสนอแนะที่ชัดเจนที่ผูเกี่ยวของจะนําไปใช ใหเกิดประโยชน*ต&อไป จากลักษณะสําคัญของการวิจัยดังกล&าวขางตน สรุปไดว&าการวิจัยทางการศึกษา ควรมีลักษณะที่สําคัญดังนี้ 1. เป นการวิจัยเกี่ยวกับป2ญหาทางการศึกษาโดยตรงทั้งผูเรียน ผูสอน ผูปกครอง ผูบริหารและผูที่เกี่ยวของกับการศึกษา หรือสิ่งที่ผูวิจัยเคลือบแคลงสงสัยและตองการคนหาคําตอบ อย&างแทจริง เป นการศึกษาคนควาที่ตองอาศัยความรู ความชํานาญของผูวิจัยและผูที่เกี่ยวของ 2. เป นการวิจัยที่มุ&งเนนการแกป2ญหา การพัฒนาทฤษฎี กฎเกณฑ* เพื่อประโยชน*ในการ นําไปใช รวมถึงการพยากรณ*เหตุการณ*ในอนาคต 3. เป นการวิจัยที่ตองใชความเชี่ยวชาญ การวางแผนและการดําเนินการอย&างเป นระบบ ในทุกขั้นตอน ดังนั้นผูทําวิจัยทางการศึกษา ตองเป นผูที่มีความรูในเรื่องนั้นอย&างแทจริง 4. เป นการวิจัยที่ตองใชความรอบรูในเรื่องที่ทําวิจัย ตองมีการรวบรวมขอมูลใหม&และได ความรูใหม& ความรูที่ไดอาจเป นความรูเดิมไดในกรณีที่มุ&งวิจัยเพื่อตรวจสอบซ้ํา 5. เป นการวิจัยที่ตองใชเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลที่ถูกตอง แม&นยํา มีความเที่ยงตรงและ เชื่อถือได 6. เป นกระบวนการวิจัยที่จะตองมีการกําหนดแผนการวิจัยไวอย&างเป นขั้นตอน มีแบบแผน ที่ชัดเจน ถากระบวนการวิจัยเป นกิจกรรมที่ลองผิดลองถูก ผลการวิจัยจะขาดความน&าเชื่อถือได 7. นักวิจัยจะตองมีความอดทน ขยันและพยายาม ซื่อสัตย*และยอมรับผลการวิจัยที่เกิดขึ้น พรอมทั้งกลาที่จะนําเสนอผลการวิจัยตามความเป นจริง 8. เป นกระบวนการคนหาความรูความจริงอย&างมีเหตุผล เพราะฉะนั้นในทุกขั้นตอน ของการวิจัยทางการศึกษาจึงสามารถตรวจสอบความถูกตองไดตลอดเวลา 9. เป นการวิจัยที่ตองมีการบันทึกผล และเขียนรายงานการวิจัยอย&างระมัดระวัง เนื่องจากผลการวิจัยเป นขอมูลที่เกี่ยวของกับผูเรียน ผูปกครอง ผูบริหารและผูเกี่ยวของกับการ จัดการศึกษาอาจทําใหเกิดผลกระทบกับผูที่เกี่ยวของได การวิจัยเป นกระบวนการแสวงหาความรูความจริงอย&างเป นระบบและน&าเชื่อถือ จึงทําให การวิจัยเป นกระบวนการหนึ่งที่นํามาใชในการพัฒนาวิชาการในหลายศาสตร*หรือสาขาอย&างกวางขวาง นอกจากลักษณะสําคัญของการวิจัยดังกล&าวแลว การวิจัยยังมีบทบาทที่สําคัญดังนี้ (มาเรียม นิลพันธุ*, 2553 หนา 10-11) 1. การสรางความรู เป นเปaาหมายเบื้องตนของการวิจัย ที่มีผลผลิตเป นความรูใหม& ทั้งที่ เป นความรูสากลและความรูเฉพาะกรณี อันจะเป นประโยชน*เพื่อประกอบเป นฐานความรู (การวิจัย พื้นฐาน) หรือใชประโยชน*ในการแกป2ญหา หรือการพัฒนา (การวิจัยประยุกต*) หรือเป นบันไดไปสู& การสรางนวัตกรรม ตลอดจนสรางความสามารถในการแข&งขัน ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


9 2. การวิจัยสรางคุณลักษณะของคน การวิจัยเป นกระบวนการสรางคุณลักษณะที่พึงประสงค* ของบุคคล เช&น วิจารณญาณ การใชเหตุผล ความซื่อสัตย*สุจริต ความใจกวาง การรับฟ2งผูอื่นและ ปรับเปลี่ยนได การสื่อสารทางวิชาการ ตลอดจนจรรยาบรรณทางวิชาการ 3. การวิจัยสรางความสามารถดานการจัดการความรู การวิจัยเป นเครื่องมือในการเขาถึง ความรู ความสามารถคนควาจากเอกสาร จากหองสมุด หรือจากอินเทอร*เน็ตได ความสามารถในการ ย&อยความรูเพื่อจัดการกับความรูที่มีมากและเปลี่ยนแปลงอย&างรวดเร็วในสังคมความรู โดยสามารถ ประเมินความน&าเชื่อถือ ความคุมค&าของขอมูลที่รวบรวมมาได แลวสามารถปรับใหอยู&ในรูปแบบ ที่เหมาะสมสําหรับใชและใชไดง&าย กระบวนการเหล&านี้ตองอาศัยกระบวนการวิจัยเป นเครื่องมือ ในการบ&งบอกว&าขอมูลใดน&าเชื่อถือและสามารถนําไปใชได ส&วนการปรับความรูเพื่อใช ก็ตองอยู& ภายในขอบเขตความถูกตองของการวิจัยในเรื่องนั้น 4. การวิจัยเป นเครื่องมือในการสรางพลัง ผูที่รูจักตนเองและสามารถจัดการกับตนเอง และสิ่งแวดลอมไดอย&างถูกตอง ย&อมมีพลังสามารถยืนหยัดดวยตนเองไดอย&างอิสระ การวิจัย เป นกระบวนการที่ผูวิจัยตองคิด กระทํา และสื่อสารอย&างเป นระบบโดยใชป2ญญาเป นฐาน ซึ่งเป นการ สรางคุณลักษณะระดับสูงของนักวิชาการ เพราะในการเป นนักวิจัยที่ดีนั้น จะตองมีคุณลักษณะหลาย ประการไดแก& 4.1 เป นผูชอบสงสัย ไม&เชื่อง&าย 4.2 เป นผูมีวิจารณญาณ สามารถเลือกเชื่อไดอย&างถูกตอง 4.3 เป นผูมีใจกวาง สามารถรับฟ2งขอมูล และเหตุผลใหม&และยอมเปลี่ยนความคิด ความเชื่อได 4.4 เป นผูมีความซื่อสัตย* สุจริต ทั้งในการสังเกต การบันทึก การบอกเล&า การสื่อสาร และการคิด 4.5 เป นผูมีความสุขจากการไดคนพบ จากบทบาทที่สําคัญดังกล&าว การดําเนินการวิจัยทางการศึกษาจึงมีขอจํากัดที่สําคัญ และมีสิ่งที่พึงระมัดระวัง ดังนี้ 1. การวิจัยทางการศึกษาเป นการวิจัยที่มีการเก็บรวบรวมขอมูล หรือการศึกษาจากกลุ&ม ตัวอย&างที่เป นบุคคล ทําใหพฤติกรรมบางอย&างไม&สามารถทดสอบ สังเกต สอบถาม สัมภาษณ* และประเมินการปฏิบัติไดอย&างชัดเจน แต&พฤติกรรมบางอย&างเป นพฤติกรรมที่แฝงอยู& หรือเป น พฤติกรรมที่เสแสรง จึงทําใหขอมูลที่รวบรวมมาไดอาจไม&ใช&ขอมูลที่แทจริง 2. กลุ&มที่ใชในการวิจัยอาจไม&เป นตัวแทนของประชากร ในการวิจัยทางการศึกษา กลุ&มคน หรือบุคคลที่เป นกลุ&มตัวอย&าง หรือกลุ&มเปaาหมายในการวิจัยอาจมีจํานวนมาก จึงตองใชกระบวนการ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


10 สุ&มมาเพียงบางส&วน เช&น ในจังหวัดหนึ่งมีโรงเรียนประถมศึกษา 170 โรงเรียน แต&สุ&มมาเพียง 1 โรง ซึ่ง 1 โรงที่สุ&มนั้นอาจไม&เป นตัวแทนที่ดีของประชากร จึงทําใหผลการวิจัยที่ไดมีความคลาดเคลื่อนสูง 3. การวิจัยทางการศึกษาไม&สามารถนําประชากร กลุ&มตัวอย&างหรือกลุ&มเปaาหมายมาศึกษา โดยการกําหนดเงื่อนไขหรือควบคุมตัวแปรที่เกี่ยวของไดอย&างเต็มที่ จึงทําใหผลการวิจัยมีความ คลาดเคลื่อน เช&น การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร* เรื่องเศษส&วน โดยใชบทเรียน คอมพิวเตอร*ช&วยสอน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปvที่ 3 ซึ่งในระหว&างการดําเนินการวิจัยพบว&า มีนักเรียนบางคนเรียนพิเศษวิชาคณิตศาสตร* เรื่อง เศษส&วน จึงทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร* เรื่องเศษส&วน ของนักเรียนบางคนที่ดีขึ้นอาจไม&ไดมาจากการเรียนโดยใชบทเรียน คอมพิวเตอร*ช&วยสอนเพียงอย&างเดียวอาจเป นเพราะการเรียนพิเศษดวย จากขอจํากัดของการดําเนินการวิจัยทางการศึกษาดังกล&าว ผูวิจัยควรวางแผนการเก็บ รวบรวมขอมูลดวยความระมัดระวัง ผูวิจัยอาจใชเครื่องมือหลายชนิดในการเก็บรวบรวมขอมูล และเก็บรวบรวมขอมูลในเวลาที่ต&างกัน หรืออาจใชการเก็บรวบรวมขอมูลโดยบุคคลหลายคน หากผลที่ได มีความสอดคลองกันก็แสดงใหเห็นว&าขอมูลที่รวบรวมมาไดเป นขอมูลที่แทจริง ส&วนการออกแบบ การวิจัย ผูวิจัยตองพยายามควบคุมความคลาดเคลื่อนจากการสุ&มตัวอย&างและตัวแปรแทรกซอนใหได มากที่สุด ประโยชน)ของการวิจัย การวิจัยนอกจากจะเป นการสรางความรูใหม&ทั้งทางดานทฤษฎีและการปฏิบัติแลว การวิจัย ยังมีประโยชน*อีกหลายประการดังนี้ 1. การวิจัยช&วยใหเกิดวิทยาการใหม&ใหเพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นทั้งทางดานทฤษฎีและปฏิบัติ 2. การวิจัยสามารถใชแกป2ญหาไดอย&างมีประสิทธิภาพ ถูกตอง เหมาะสมและยุติธรรม 3. การวิจัยจะช&วยใหเขาใจและทํานายปรากฏการณ*และพฤติกรรมไดอย&างถูกตอง 4. การวิจัยสามารถตอบคําถามที่ยังคลุมเครือใหกระจ&างชัดยิ่งขึ้น 5. การวิจัยช&วยกระตุนความสนใจของนักวิชาการ ใหมีการใชผลการวิจัยในการพัฒนา วิชาชีพของตน 6. การวิจัยช&วยทําใหทราบขอเท็จจริง ซึ่งสามารถนํามาใชเป นประโยชน*เพื่อการปรับปรุง หรือพัฒนาบุคคลและหน&วยงานใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้น 7. การวิจัยช&วยใหบุคคลนั้น (นักวิจัย) เป นผูมีเหตุผล รูจักคิด และคนควาหาความรู อย&างเป นระบบอยู&เสมอ 8. การวิจัยช&วยใหมีเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเกิดขึ้นอยู&ตลอดเวลา ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


11 จากประโยชน*ของการวิจัยดังกล&าว จะเห็นไดว&า การวิจัยนอกจากจะช&วยแกป2ญหา และสรางองค*ความรูใหม&แลว การวิจัยยังเป นการพัฒนาบุคคลทั้งในเรื่องความรู ทักษะและเจตคติ หรือคุณธรรมจริยธรรม ดังนั้น การวิจัยทางการศึกษานอกจากจะเป นการแกป2ญหาและพัฒนาการ ดําเนินงานทางการศึกษาในทุกดานแลว การวิจัยทางการศึกษายังเป นกระบวนการที่พัฒนาบุคลากร ทางการศึกษาและผูที่เกี่ยวของทุกฝsายใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค*สอดคลองกับความตองการ ของสังคม ชุมชน ทองถิ่นและประเทศชาติ จุดมุ,งหมายของการวิจัย จุดมุ&งหมายของการทําวิจัยสามารถแบ&งได 2 ประการ คือ 1. เพื่อประโยชน*ในการเพิ่มพูนความรูใหม& เป นการวิจัยเพื่อเพิ่มพูนความรูทางวิชาการ ของแต&ละสาขาวิชา เป นลักษณะการวิจัยพื้นฐานตองการแสวงหาความรูเกี่ยวกับเรื่องนั้นเท&านั้น โดยไม&คํานึงว&าผลการวิจัยนั้นจะเป นประโยชน*ในดานอื่นหรือไม& เช&น การวิจัยเรื่องส&วนประกอบ ของดาวหาง 2. เพื่อนําไปประยุกต*ใชหรือใชประโยชน* 2.1 เพื่อใชในการบรรยาย เป นการนําผลการวิจัยที่ไดไปใชบรรยายสภาพและ ลักษณะของป2ญหาที่เกิดขึ้นใหถูกตองตรงตามความเป นจริงว&าป2ญหาที่เกิดขึ้นนั้นคืออะไร มีสภาพ อย&างไร มากนอยแค&ไหน เช&น การศึกษาสภาพป2ญหาเกี่ยวกับการจัดการชั้นเรียนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน การวิจัยในลักษณะนี้มีจุดมุ&งหมายเพื่อนําผลที่ไดจากการวิจัยมาบรรยายไดถูกตองตรงตาม ความเป นจริงมากกว&าการบรรยายที่เกิดจากความคิดเห็น หรือการวิเคราะห*ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 2.2 เพื่อใชในการอธิบาย เป นการนําผลการวิจัยไปใชในการอธิบายป2ญหาไดว&าสิ่งใด เป นสาเหตุที่ทําใหเกิดผลหรือสิ่งใดเป นผลที่เกิดจากสาเหตุนั้น เช&น การวิจัยหาสาเหตุที่ทําให ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนต่ํากว&าเกณฑ*ที่กําหนด ผลที่ไดจากการวิจัยจะสามารถนํามาอธิบาย ไดว&า อะไรเป นสาเหตุที่ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนต่ํากว&าเกณฑ*ที่กําหนด อาจเป นเพราะ กระบวนการจัดการเรียนรูของครู นวัตกรรมที่ใชในการจัดการเรียนรู 2.3 เพื่อใชในการทํานาย เป นการนําผลการวิจัยไปใชในการทํานายเหตุการณ* ในอนาคตว&าอะไรจะเกิดขึ้น เพื่อเป นการเตรียมความพรอมไวรับเหตุการณ*หรือสิ่งที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต เช&น การวิจัยเรื่องอนาคตภาพของสมรรถภาพครูในทศวรรษหนา 2.4 เพื่อใชในการควบคุม เป นการนําผลการวิจัยไปใชในการวางแผน หรือกําหนด วิธีการในการควบคุมเหตุการณ* ปรากฏการณ* หรือป2ญหาที่เกิดขึ้นไดอย&างมีประสิทธิภาพ เช&น การควบคุมพฤติกรรมของผูเรียน ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


12 2.5 เพื่อใชในการพัฒนา เป นการนําผลการวิจัยไปใชเป นแนวทางในการพัฒนา เช&น ผลจากการวิจัยพบว&า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนต่ํากว&าเกณฑ*ที่กําหนด รัฐบาลอาจทํา โครงการพัฒนาเพื่อแกป2ญหาระยะยาว โดยการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ พัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนรู พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อแกป2ญหาดังกล&าว จากจุดมุ&งหมายของการวิจัยดังกล&าวขางตน สรุปไดว&า การวิจัยทางการศึกษามีจุดมุ&งหมาย ที่สําคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. เพื่อคนหาความรูความจริงและนําความรูความจริงที่คนพบไปใชในการสรางสรรค* สูตร กฎ ทฤษฎีต&อไป เช&น การคนพบสูตรแรงโนมถ&วงของโลก 2. เพื่อการนําผลการวิจัยไปใชในการแกไขป2ญหา หรือการพัฒนางานใหดียิ่งขึ้น เช&น การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 3. เพื่อการควบคุมสถานการณ*ในป2จจุบันและการพยากรณ*เหตุการณ*ในอนาคต เช&น การวิจัยเกี่ยวกับแรงจูงใจในการศึกษาต&อ พฤติกรรมของผูเรียน 4. เพื่อสรางหรือพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป นอยู&ของมนุษย*และธรรมชาติอย&างสมดุล และยั่งยืน เช&น ความกาวหนาในวิชาชีพครู ความตองการในการพัฒนาตนเองของครูและบุคลากร ทางการศึกษา ประเภทและขั้นตอนการวิจัย ประเภทของการวิจัย การวิจัยแบ&งออกเป นประเภทไดหลายลักษณะทั้งนี้ขึ้นอยู&กับว&าผูแบ&งคํานึงถึงเกณฑ*ใด เป นหลัก เกณฑ*ที่นิยมใชในการแบ&งประเภทของการวิจัย มีดังนี้ (บุญเรียง ขจรศิลปw, 2543, หนา 7-17, มนสิช สิทธิสมบูรณ*, 2554, หนา 12-14; บุญชม ศรีสะอาด, 2553, หนา 5-8; มาเรียม นิลพันธุ*, 2553, หนา 12-17) 1. แบ,งตามลักษณะวิชาหรือศาสตร) แบ&งได 5 ประเภท คือ 1.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร* เป นการวิจัยเกี่ยวกับปรากฏการณ*ที่เกิดขึ้นทั้งทาง ธรรมชาติ และสิ่งประดิษฐ*ที่มนุษย*สรางขึ้น ซึ่งมีทั้งสิ่งที่สังเกตไดง&ายและสังเกตไดยาก แต&สัมผัสรับรู ได เช&น สิ่งที่มีชีวิตและไม&มีชีวิต พืช รุงกินน้ํา ความเย็น อากาศ เครื่องจักรกล หรือสิ่งประดิษฐ* ซึ่งการ วิจัยทางวิทยาศาสตร*มีเครื่องมือหรืออุปกรณ*ที่เที่ยงตรงและมีกฎเกณฑ*ที่แน&นอน ตลอดจนสามารถ ควบคุมการทดลองได โดยกระทําการทดลองในหองปฏิบัติการและทดลองในสภาพจริงตามธรรมชาติ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


13 1.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร* เป นการวิจัยเกี่ยวกับสภาพแวดลอม สังคมวัฒนธรรม การศึกษา การเมือง การปกครอง 1.3 การวิจัยทางมนุษยศาสตร* เป นการวิจัยเกี่ยวกับคุณค&าของมนุษย* ภาษาศาสตร* ดนตรี ศาสนา โบราณคดี ปรัชญา 1.4 การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร* เป นการวิจัยที่มุ&งศึกษาพฤติกรรมของมนุษย* ว&าทําไมมนุษย*จึงมีพฤติกรรมเช&นนี้ เช&น การวิจัยทางจิตวิทยา 1.5 การวิจัยแบบสหวิทยาการ เป นการวิจัยที่มุ&งบูรณาการศาสตร*หลายสาขาวิชา เขาดวยกัน เพื่อใหไดคําตอบหลายแง&มุม เช&น การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา การวิจัยชุมชน 2. แบ,งตามลักษณะของข อมูล แบ&งได 2 ประเภท ไดแก& 2.1 การวิจัยเชิงคุณภาพ เป นการศึกษาปรากฏการณ* เหตุการณ* ความรูสึก ความคิด หรือสิ่งที่ปรากฏใหเห็นในเชิงลึก ขอมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) จึงมักจะไม&เป นตัวเลข แต&จะเป นขอความบรรยายสภาพลักษณะ เหตุการณ* และสิ่งที่เกิดขึ้นและเกี่ยวของ ดังนั้นในการวิจัย ประเภทนี้จึงมุ&งบรรยายเหตุการณ*หรือสิ่งที่เกิดขึ้น โดยอาศัยความคิดวิเคราะห*หาเหตุผล หรือความ แตกต&าง เพื่อประเมินหรือสรุปผล เช&น การศึกษาวิถีการดําเนินชีวิตของชุมชนริมแม&น้ํานครชัยศรี 2.2 การวิจัยเชิงปริมาณ เป นการวิจัยที่มุ&งอธิบายเหตุการณ*หรือสิ่งที่เกิดขึ้น โดยใชขอมูลตัวเลขยืนยัน ผลการวิจัยมักแสดงเป นตัวเลข หรือค&าสถิติแลวนําไปแปลความหมาย เช&น การศึกษาความพึงพอใจต&อบทบาททางสังคมของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม การวิจัยเชิงคุณภาพมีพื้นฐานมาจากแนวคิดแบบธรรมชาตินิยม มุ&งเนนการศึกษา ปรากฏการณ*ที่เกิดขึ้นอย&างจริงจังและลึกซึ้ง ใชการพรรณนาและการตีความขอมูล ใหความสําคัญ กับกระบวนการไดมาซึ่งความรูความจริง การสรางทฤษฎีจากผลการวิจัยที่ได ในขณะที่การวิจัย เชิงปริมาณมีพื้นฐานมาจากแนวคิดแบบปฏิฐานนิยม ศึกษาคนหาความจริงที่ไดรับการยอมรับ ใชสถิติ ในการวิเคราะห*ขอมูล ใหความสําคัญกับผลที่ไดมากกว&ากระบวนการ ใชทฤษฎีเป นจุดเริ่มตนของ การวิจัย 3. แบ,งตามประโยชน)ของการวิจัย แบ,งได 3 ประเภท ได แก, 3.1 การวิจัยพื้นฐาน หรือการวิจัยบริสุทธิ์ เป นการวิจัยที่ตองการคนหาขอเท็จจริง การทดสอบสิ่งที่คนพบกับทฤษฎี หรือการคนพบทฤษฎีใหม& เป นการวิจัยที่ไม&ไดมุ&งที่จะนําผลของการวิจัย ไปใชโดยตรง เป นการสรางทฤษฎี หลักการ และวิทยาการใหกวางขวางสมบูรณ*ยิ่งขึ้น 3.2 การวิจัยประยุกต* เป นการวิจัยที่มุ&งนําผลการวิจัยที่ไดคนพบไปใชใหเป นประโยชน* ในทางปฏิบัติ เพื่อการแกป2ญหา อํานวยความสะดวกและพัฒนางานของวิชาชีพสาขาที่เกี่ยวของกับ การวิจัยนั้น ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


14 3.3 การวิจัยปฏิบัติการ เป นการวิจัยที่ใหความสําคัญกับการแกป2ญหาเฉพาะ สถานการณ*ใดสถานการณ*หนึ่ง หรือเพื่อนําผลมาใชแกไขป2ญหาในการปฏิบัติงาน เช&น การวิจัย ปฏิบัติการในชั้นเรียน 4. แบ,งตามระเบียบวิธีวิจัย แบ&งได 3 ประเภท ไดแก& 4.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร* เป นการวิจัยเพื่อสืบประวัติความเป นมาเชิงวิชาการ โดยคนควาจากเอกสาร คําบอกเล&า โบราณวัตถุ มีการประยุกต*เอาวิธีการทางวิทยาศาสตร*มาใช กับป2ญหาเชิงประวัติศาสตร* เพื่อใหเขาใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นมาแลว และมองหาความสัมพันธ*ระหว&าง เหตุการณ*ในอดีต เหตุการณ*ในป2จจุบัน เพื่อใชทํานายเหตุการณ*ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถ แบ&งออกไดเป น 3 ประเภท ไดแก& 4.1.1 การศึกษาเป นรายกรณี เป นการศึกษาที่ชี้เฉพาะลงไป โดยอาจศึกษา กับบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือสถาบันใดสถาบันหนึ่งก็ได โดยศึกษาในช&วงเวลาที่ผ&านมาในอดีต 4.1.2 การศึกษาพัฒนาการ เป นการศึกษาความแตกต&างของเหตุการณ*ใด เหตุการณ*หนึ่งในระยะใดระยะหนึ่ง โดยอาจศึกษาเหตุการณ*ทั้งหมดหรือเพียงบางส&วนของเหตุการณ* นั้นก็ได 4.1.3 การศึกษาความเปลี่ยนแปลง เป นการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะ การเปลี่ยนแปลงในเรื่องราวหรือเหตุการณ*ในอดีตกับเหตุการณ*ในป2จจุบัน 4.2 การวิจัยเชิงบรรยาย หรือการวิจัยเชิงพรรณนาเป นการวิจัยมุ&งศึกษาเกี่ยวกับ เหตุการณ*หรือปรากฏการณ* ขอเท็จจริงในสถานการณ*ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป นอยู&ในขณะนั้น เป นการ วิจัยที่นิยมกันมากในทางสังคมศาสตร* และทางการศึกษา สามารถแบ&งออกไดเป น 3 ประเภท ไดแก& 4.2.1 การวิจัยเชิงสํารวจเป นการวิจัยที่มุ&งอธิบายปรากฏการณ*หรือสภาวการณ* ในป2จจุบัน เพื่อจะรวบรวมขอเท็จจริง จัดระเบียบ จัดหมวดหมู& เปรียบเทียบหรืออธิบายสภาพป2จจุบัน เพื่อใชในการแกป2ญหา หรือปรับปรุงสภาพที่เป นอยู&ใหดีขึ้น เช&น การศึกษาสภาพป2ญหา ความพึงพอใจ ความตองการ ความคิดเห็นและเจตคติ 4.2.2 การวิจัยเชิงความสัมพันธ* เป นการวิจัยที่มุ&งหาความสัมพันธ*ของตัวแปร หรือความจริงที่ปรากฏอย&างเป นเหตุเป นผล ซึ่งความสัมพันธ*ที่ปรากฏอาจเป นไดทั้งทางบวกและทางลบ หรือไม&มีความสัมพันธ*กันเลย เช&น การศึกษาความสัมพันธ*ระหว&างแรงจูงใจใฝsสัมฤทธิ์กับความมีวินัย ในตนเอง 4.2.3 การวิจัยเชิงพัฒนาการ เป นการวิจัยที่มุ&งศึกษาความสัมพันธ*ของตัวแปร ในลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช&วงเวลาที่เปลี่ยนไป เช&น การศึกษาพัฒนาการของ นักศึกษาวิชาชีพครู ชั้นปvที่ 1 ปvการศึกษา 2553 ซึ่งจะศึกษาตั้งแต&นักศึกษาเขาเรียนจนจบการศึกษา ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


15 4.3 การวิจัยเชิงทดลอง เป นการวิจัยที่มุ&งศึกษาคนควาหาความจริงโดยวิธีการ ทดลอง มุ&งที่จะตอบคําถามเชิงเหตุผล โดยการทดลองนั้นจะจัดกระทําภายใตการควบคุมตัวแปร แทรกซอนอย&างรัดกุม และในการทดลองตองมีวัตถุประสงค*ที่แน&นอน การทดลองนี้สามารถจะกระทํา ซ้ําได เพื่อพิสูจน* และทดสอบผลการวิจัยนั้น การวิจัยประเภทนี้จะตองควบคุมตัวแปรที่ไม&เกี่ยวของ กับการทดลอง จะทําใหทราบว&าอะไรเป นสาเหตุที่ทําใหเกิดผลอันนั้นอย&างแทจริง เช&น การเปรียบเทียบ ทักษะการจัดการความรูของนักศึกษากลุ&มที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการเรียนรูจากการ ปฏิบัติกับแบบปกติ การวิจัยเชิงทดลองสามารถแบ&งตามวิธีการศึกษาตัวแปรออกเป น 2 ประเภท ดังนี้ 4.3.1 การทดลองแท เป นการทดลองที่สามารถดําเนินการทดลองไดครบถวน กระบวนการทดลอง ซึ่งมีลักษณะสําคัญ ดังนี้ 1) เป นการหาความสัมพันธ*ในเชิงเหตุ-ผล อย&างแทจริง 2) สามารถจัดกระทํากับตัวแปรตน/ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทดลอง ตามที่ตองการศึกษาได เพื่อดูว&าตัวแปรตนหรือตัวแปรทดลองนั้นจะเป นสาเหตุทําใหเกิดผลหรือ ตัวแปรตามอย&างไร 3) สามารถจัดสภาพการทดลองใหตรงตามทฤษฎีและแนวคิดสําคัญได 4) สามารถแบ&งกลุ&มตัวอย&างเป นกลุ&มทดลองและกลุ&มควบคุมได 5) สามารถใชหลัก max min con ในการควบคุมตัวแปรเกิน 6) ผลการวิจัยสามารถอางอิงไปสู&ประชากรได 4.3.2 การทดลองกึ่งทดลอง เป นการทดลองที่ไม&สามารถควบคุมตัวแปรเกินได การวิจัยกึ่งทดลองมีลักษณะสําคัญ ดังนี้ 1) เป นการหาความสัมพันธ*เชิงเหตุผลของตัวแปรที่ไม&สมบูรณ* 2) ไม&สามารถจัดสภาพการทดลองใหเป นไปตามแนวคิดและทฤษฎี 3) สามารถแบ&งกลุ&มตัวอย&างเป นกลุ&มทดลองและกลุ&มควบคุมได 4) ไม&สามารถใชหลัก max min con ในการควบคุมตัวแปรเกินได นอกจากลักษณะที่สําคัญของการวิจัยเชิงทดลองดังกล&าวขางตนแลว การวิจัยเชิงทดลอง ยังใหความสําคัญกับความเที่ยงตรงภายในและความเที่ยงตรงภายนอกเป นอย&างมาก โดยความ เที่ยงตรงภายในเกิดขึ้นจากการที่ความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามเป นผลจากการกระทําของตัวแปร ตนหรือตัวแปรจัดกระทําที่ผูวิจัยนํามาศึกษาเท&านั้น ไม&เกี่ยวของกับตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซอน เช&น ถาผูวิจัยเสริมสรางทักษะการจัดการความรูโดยใชกระบวนการเรียนรูจากการปฏิบัติและ ผลการวิจัยพบว&า การที่ทักษะการจัดการความรูของนักศึกษาสูงขึ้นเป นผลจากกระบวนการเรียนรู จากการปฏิบัติที่ผูวิจัยจัดกระทําใหกับกลุ&มทดลอง แสดงว&าการวิจัยนั้นมีความเที่ยงตรงภายใน ส&วน ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


16 ความเที่ยงตรงภายนอกเป นคุณลักษณะของผลการวิจัยที่สามารถนําผลการวิจัยนั้นอางอิงไปยัง ประชากรไดอย&างถูกตอง 5. แบ,งตามชนิดของข อมูล แบ&งได 2 ประเภท ไดแก& 5.1 การวิจัยเชิงประจักษ* เป นการวิจัยที่มุ&งคนหาความรูความจริงจากขอมูล ในสภาพธรรมชาติเป นขอมูลปฐมภูมิ มีการนําสถิติมาใชในการวิเคราะห*ขอมูล 5.2 การวิจัยเชิงวิพากษ*วิจารณ*หรือเชิงไม&ประจักษ* เป นการวิจัยที่แสวงหาความรู จากขอมูลประเภททุติยภูมิ เป นขอมูลที่มีอยู&แลวจากเอกสาร ตํารา วารสารที่ไดแสดงขอคิดเห็นไวแลว และวิเคราะห*ขอมูลโดยการวิพากษ*วิจารณ*แสดงความคิดเห็นไม&ใชสถิติในการวิเคราะห*ขอมูล 6. แบ,งตามแหล,งของข อมูล แบ&งได 2 ประเภท ไดแก& 6.1 การวิจัยเชิงปฐมภูมิ เป นการวิจัยที่ผูวิจัยเก็บขอมูลจากแหล&งกําเนิดขอมูล โดยตรง แลวนํามาวิเคราะห* สรุปผล 6.2 การวิจัยเชิงทุติยภูมิ เป นการวิจัยที่อาศัยขอมูลจากแหล&งขอมูลที่มีผูอื่น เก็บรวบรวมขอมูลไดแลวนํามาวิเคราะห* สรุปผล 7. แบ,งตามระยะเวลาในการวิจัย แบ&งได 2 ประเภท ไดแก& 7.1 การวิจัยแบบภาคตัดขวาง เป นการวิจัยที่มุ&งแสวงหาความรูในช&วงเวลาใด เวลาหนึ่งในระยะเวลาสั้น โดยสนใจเหตุการณ*ใดเหตุการณ*หนึ่ง เช&น การศึกษาความคิดสรางสรรค* ของเด็กปฐมวัย 3 ขวบ 4 ขวบ 5 ขวบ 6 ขวบ โดยนําเด็กในแต&ละช&วงอายุมาศึกษาโดยไม&ตองติดตาม ศึกษาอย&างยาวนาน 7.2 การวิจัยระยะยาว เป นการวิจัยที่มุ&งแสวงหา เป นการวิจัยที่มุ&งแสวงหา ความรูเป นช&วงระยะเวลานานตามสภาพการศึกษา เช&น การศึกษาความคิดสรางสรรค*ของเด็กปฐมวัย โดยศึกษาช&วงอายุ 3-6 ขวบ โดยเฝaาศึกษาพัฒนาการของเด็ก 3 ขวบ ถึง 4 ขวบ ถึง 5 ขวบ ถึง 6 ขวบ ซึ่งตองใชเวลานาน 8. แบ,งตามวัตถุประสงค)ในการวิจัย แบ&งได 3 ประเภท ไดแก& 8.1 การวิจัยเชิงพรรณนา เป นการวิจัยมุ&งศึกษาเกี่ยวกับเหตุการณ*หรือปรากฏการณ* ขอเท็จจริงในสถานการณ*ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป นอยู&ในขณะนั้น 8.2 การวิจัยเชิงอธิบาย เป นการวิจัยที่มุ&งเนนศึกษาสาเหตุที่เกิดขึ้น และตองการ อธิบายความสัมพันธ*ในเชิงเหตุผลเกี่ยวกับสภาพการณ* เหตุการณ* เพื่อมุ&งตอบคําถามว&าทําไมจึงเกิด เหตุการณ*นี้ 8.3 การวิจัยเชิงสํารวจบุกเบิก เป นการวิจัยที่มุ&งเนนการศึกษาในประเด็น เรื่องราวใหม&ที่น&าสนใจ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


17 จากประเภทของการวิจัยดังกล&าวขางตน จะเห็นไดว&าการแบ&งประเภทของการวิจัยนั้น จะขึ้นอยู&กับลักษณะวิชาหรือศาสตร* ลักษณะของขอมูล ประโยชน*ของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ชนิดของขอมูล แหล&งขอมูล ระยะเวลาในการวิจัยและวัตถุประสงค*ในการวิจัย ส&วนการวิจัยเรื่องใด เรื่องหนึ่งจะถูกจัดอยู&ประเภทการวิจัยแบบใดนั้นก็ขึ้นอยู&กับระเบียบวิธีวิจัยของการวิจัยนั้นว&าสอดคลอง กับวิจัยประเภทใด ขั้นตอนในการทําวิจัย นักวิจัยใหม&หรือนักวิจัยที่เรียนรูแต&ทางทฤษฎี ไม&เคยทดลองทําการวิจัยมาก&อน เมื่อตองทําวิจัยจริงมักจะเกิดความสับสน ไม&ทราบว&าจะเริ่มตนที่ตรงไหน เพื่อช&วยขจัดป2ญหาดังกล&าว ในหัวขอนี้จะชี้ใหเห็นถึงขั้นตอนในการวิจัยที่นิยมใชปฏิบัติกัน ซึ่งอาจจะเรียกว&า กระบวนการวิจัย ในการวิจัยมักจะมีขั้นตอนของทํางานตามลําดับ ดังนี้ 1. การเลือกหัวขอป2ญหาการวิจัย ป2ญหานับเป นจุดเริ่มตนของการวิจัย การเลือกป2ญหา ที่มีคุณค&า และเหมาะสมกับความสามารถ เวลา แรงงาน และเงินทุนสําหรับการวิจัย นับเป นสิ่งสําคัญ ที่จะทําใหงานวิจัยนั้นประสบความสําเร็จตามกรอบเวลาที่กําหนด มีคุณค&า สามารถนําไปใชประโยชน*ได 2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ เมื่อผูวิจัยกําหนดหัวขอป2ญหาที่จะทําการวิจัยแลว ผูวิจัยจะตองศึกษาทฤษฎี หลักการ ความรูพื้นฐาน ตลอดจนผลงานการวิจัยของผูอื่นซึ่งเป นเรื่อง ที่ใกลเคียงหรือเกี่ยวของกับเรื่องที่จะทําการวิจัย จนสามารถเขาใจป2ญหาที่จะทําการวิจัยไดชัดเจน และลึกซึ้งเพียงพอ อันจะเป นการช&วยใหผูวิจัยมองเห็นแนวทางที่จะทําการวิจัย 3. การเขียนเคาโครงการวิจัย เพื่อใหการวิจัยดําเนินไปตามขั้นตอนอย&างมีระบบ ในการทํา การวิจัยทุกครั้งจําเป นตองเขียนเคาโครงการวิจัยซึ่งเป นการวางแผนการวิจัยไวล&วงหนาว&า จะตองทํา อะไรบางตามลําดับตั้งแต&ตนจนจบ พรอมทั้งกําหนดค&าใชจ&ายและระยะเวลาในการดําเนินงานในแต&ละ ขั้นตอนไวดวย ทั้งนี้เพื่อช&วยใหผูวิจัยไดเตรียมการใหพรอมในทุกดาน เช&น ค&าใชจ&าย เครื่องมือและเวลา 4. การสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือ การสรางเครื่องมือหรือจัดหาเครื่องมือที่ใช ในการเก็บขอมูล เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล จะใชแตกต&างกันตามลักษณะของป2ญหา และประเภทของการวิจัย สําหรับงานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร* ซึ่งรวมถึงงานวิจัยทางการศึกษาดวย มักจะใชการสังเกต การสัมภาษณ* การใชแบบสอบถามและการใชแบบทดสอบ แต&ถาเป นการวิจัยทาง วิทยาศาสตร*ก็จะนําเครื่องมือที่ผลิตดวยเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร*มาใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 5. การดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล เมื่อผูวิจัยวางแผนการวิจัยหรือเขียนเคาโครงการวิจัย เรียบรอยแลว ก็สามารถดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามที่วางแผนเอาไวได โดยเริ่มจากการกําหนด ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


18 กลุ&มตัวอย&างที่ใชในการวิจัย จัดหาหรือสรางเครื่องมือที่จะใชในการวิจัย และนําเครื่องมือดังกล&าว ไปเก็บรวมรวมขอมูลจากกลุ&มตัวอย&างที่กําหนดไวแลว 6. การดําเนินการวิเคราะห*ขอมูล เมื่อผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลมาไดครบถวนตามตองการแลว ก็ดําเนินการวิเคราะห*ขอมูลตามวิธีการที่ไดกําหนดไวในเคาโครงการวิจัยแลว เพื่อคนหาคําตอบ ของป2ญหาใน การวิจัย ในการวิเคราะห*ขอมูลอาจจะทําการวิเคราะห*โดยใชสถิติหรือไม&ใชสถิติก็ได ขึ้นอยู&กับลักษณะของงานวิจัย 7. การสรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ขั้นตอนนี้เป นการสรุปความจากผลการ วิเคราะห*ขอมูลใหรัดกุม ชัดเจน และอภิปรายผลการวิจัยใหกระจ&างชัดยิ่งขึ้นว&าที่ไดผลเช&นนั้น อาจเนื่องมาจากเหตุผลเชิงวิชาการอะไรบาง และมีความสอดคลองหรือขัดแยงกับผลการวิจัยของใคร (ถามี) รวมทั้งใหขอเสนอแนะสําหรับผูที่จะทําการวิจัยในลักษณะเดียวกันนี้ในครั้งต&อไป 8. การเขียนรายงานการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัยเป นการรายงานขอเท็จจริง ที่คนพบ ดวยภาษาที่ถูกตองและนําเสนออย&างมีระบบ เพื่อความสะดวกแก&ผูที่จะมาศึกษาคนควาต&อไป จากขั้นตอนการวิจัย 8 ขั้นตอนดังกล&าวจะเห็นไดว&า การวิจัยเป นกระบวนการคนหา ความรูความจริง ดวยวิธีการที่เป นระบบ มีแบบแผนเพื่อใหไดมาซึ่งผลการวิจัยที่เชื่อถือได ซึ่งสามารถ สรุปขั้นตอนการวิจัยตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร* 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกําหนดป2ญหา ป2ญหานับเป นจุดเริ่มตนของการวิจัย การเลือกป2ญหาที่มีคุณค&า และเหมาะสมกับความสามารถ เวลา แรงงาน และเงินทุนสําหรับการวิจัย นับเป นสิ่งสําคัญที่จะทําให งานวิจัยนั้นมีคุณค&าสามารถนําไปใชประโยชน*ได และสามารถทําสําเร็จลงดวยดี และทันตาม กําหนดเวลาที่วางไว ซึ่งในขั้นตอนนี้ผูวิจัยจะพิจารณาและประเมินป2ญหา ศึกษาคนควาทฤษฎี และเอกสาร ใหคําจํากัดความป2ญหา กําหนดขอบเขต กําหนดตัวแปร ตั้งจุดมุ&งหมายและนิยามตัวแปร 2. การตั้งสมมติฐาน เมื่อผูวิจัยกําหนดป2ญหาที่จะทําการวิจัยแลว ผูวิจัยจะตองศึกษา คนควาทฤษฎีและเอกสารซึ่งเป นเรื่องที่ใกลเคียง หรือเกี่ยวของกับเรื่องที่จะทําการวิจัย จนสามารถ เขาใจป2ญหาที่จะทําการวิจัยไดชัดเจนและลึกซึ้งเพียงพอ ใหคําจํากัดความป2ญหา กําหนดขอบเขต กําหนดตัวแปร ตั้งจุดมุ&งหมายและนิยามตัวแปรได และตั้งสมมติฐานซึ่งจะเป นการช&วยใหผูวิจัย มองเห็นแนวทางที่จะทําการวิจัย โดยสมมติฐานจะเป นการคาดคะเนคําตอบของการวิจัยดวย 3. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลเป นขั้นตอนที่มีความสําคัญอย&างมาก อีกขั้นตอนหนึ่งในการวิจัย โดยผูวิจัยจะตองพิจารณาแหล&งขอมูล กําหนดกลุ&มตัวอย&าง/ขนาดกลุ&ม ตัวอย&าง วางแบบแผนการวิจัย กําหนดเครื่องมือซึ่งงานวิจัยทางการศึกษามักจะใชแบบสังเกต แบบสัมภาษณ* แบบสอบถามและแบบทดสอบ การสรางและหาคุณภาพเครื่องมือ การทดลอง เพื่อตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ จากนั้นจึงดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุ&มตัวอย&างที่กําหนดไว ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


19 4. การวิเคราะห*ขอมูล เมื่อผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลมาไดครบถวนตามตองการแลว ก็ดําเนินการวิเคราะห*ขอมูลตามวิธีการที่ไดกําหนดไวเพื่อคนหาคําตอบของป2ญหาในการวิจัย ในการ วิเคราะห*ขอมูลอาจจะทําการวิเคราะห*โดยใชสถิติ หรือไม&ใชสถิติก็ได ขึ้นอยู&กับลักษณะของงานวิจัย ในการวิเคราะห*ขอมูลผูวิจัยควรพิจารณาจุดมุ&งหมายและสมมติฐานการวิจัย พิจารณาเลือกใชสถิติ ที่เหมาะสม จัดหมวดหมู&ขอมูล คํานวณค&าสถิติ เสนอและแปรผลการวิเคราะห* 5. การสรุปผลการวิจัย การสรุปผลการวิจัยเป นการสรุปความจากผลการวิเคราะห*ขอมูล ใหรัดกุม ชัดเจน และอภิปรายผลการวิจัยใหกระจ&างชัดยิ่งขึ้นว&าที่ไดผลเช&นนั้น อาจเนื่องมาจาก เหตุผลเชิงวิชาการอะไรบาง และมีความสอดคลองหรือขัดแยงกับผลการวิจัยของใคร (ถามี) รวมทั้งให ขอเสนอแนะสําหรับผูที่จะทําการวิจัยในลักษณะเดียวกันนี้ในครั้งต&อไป จากนั้นจึงเขียนการรายงาน ขอเท็จจริงที่คนพบ ดวยภาษาที่ถูกตอง รัดกุม และนําเสนออย&างมีระบบ เพื่อความสะดวกแก&ผูที่ จะมาศึกษาคนควาต&อไป ในการปฏิบัติการวิจัย ผูวิจัยควรคํานึงถึงความถูกตอง เหมาะสมและการปฏิบัติตาม ขั้นตอนของการวิจัย แต&หากตองมีการดําเนินการที่แตกต&างไปขั้นตอนที่กําหนดไว ผูวิจัยควรใชเหตุผล และดุลพินิจในการตัดสินใจว&ามีความเหมาะสมและสมเหตุผลหรือไม& เนื่องจากในป2จจุบันพบว&า มีนักวิจัยทางการศึกษาบางคนละเลยต&อการปฏิบัติตามขั้นของการวิจัยโดยไม&มีเหตุผล ทําใหผล ของการวิจัยขาดความน&าเชื่อถือ เช&น เก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะห*ขอมูลโดยปราศจากการศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ขาดการนิยามตัวแปรที่ชัดเจน การสรางและพัฒนาเครื่องมือ อย&างเป นขั้นตอน จรรยาบรรณนักวิจัย สภาวิจัยแห&งชาติไดกําหนดจรรยาบรรณนักวิจัยไวเป นแนวทางสําหรับนักวิจัยยึดถือปฏิบัติ เพื่อใหการดําเนินงานวิจัยตั้งอยู&บนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาที่เหมาะสม ตลอดจนประกัน มาตรฐานของการศึกษาคนควาใหเป นไปอย&างสมศักดิ์ศรี และเกียรติภูมิของนักวิจัยไว 9 ประการ ดังนี้ (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห&งชาติ, 2552, หนา 3-13) 1. นักวิจัยต องซื่อสัตย) และมีคุณธรรมในทางวิชาการ และการจัดการ นักวิจัยตองมีความซื่อสัตย*ต&อตนเอง ไม&นําผลงานของผูอื่นมาเป นของตนไม&ลอก เลียนงานของผูอื่น ตองใหเกียรติ และอางถึงบุคคลหรือแหล&งที่มาของขอมูลที่นํามาใชในงานวิจัย ตองซื่อสัตย*ต&อการแสวงหาทุนวิจัย และมีความเป นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน*ที่ไดจากการวิจัย แนวทางปฏิบัติ 1.1 นักวิจัยตองมีความซื่อสัตย*ต&อตนเองและผูอื่น ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


20 1.1.1 นักวิจัยตองมีความซื่อสัตย*ต&อตนเองในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแต&การเลือกเรื่องที่จะทําวิจัย การเลือกผูเขาร&วมวิจัย การดําเนินการวิจัย ตลอดจนการนํา ผลการวิจัยไปใชประโยชน* 1.1.2 นักวิจัยตองใหเกียรติผูอื่น โดยอางถึงบุคคลหรือแหล&งที่มาของขอมูล และความคิดเห็นที่นํามาใชในงานวิจัย 1.2 นักวิจัยตองซื่อสัตย*ต&อการแสวงหาทุนวิจัย 1.2.1 นักวิจัยตองเสนอขอมูลและแนวคิดอย&างเปVดเผย และตรงไปตรงมา ในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุน 1.2.2 นักวิจัยตองเสนอโครงการวิจัยดวยความซื่อสัตย* โดยไม&ขอทุนซ้ําซอน 1.2.3 นักวิจัยตองมีความเป นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน*ที่ไดจากการวิจัย 2. นักวิจัยต องตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย ตามข อตกลงที่ทําไว กับ หน,วยงานที่สนับสนุนการวิจัย และต,อหน,วยงานที่ตนสังกัด นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณี และขอตกลงการวิจัยที่ผูเกี่ยวของทุกฝsายยอมรับ ร&วมกันอุทิศเวลาทํางานวิจัยใหไดผลดีที่สุด และเป นไปตามกําหนดเวลา มีความรับผิดชอบ ไม&ละทิ้ง งานระหว&างดําเนินการ แนวทางปฏิบัติ 2.1 นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณีในการทําวิจัย 2.1.1 นักวิจัยตองศึกษาเงื่อนไข ระเบียบและกฎเกณฑ*ของเจาของทุนอย&าง ละเอียดรอบคอบเพื่อปaองกันความขัดแยงที่เกิดขึ้นในภายหลัง 2.1.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ระเบียบกฎเกณฑ*และขอตกลง อย&างครบถวน 2.2 นักวิจัยตองอุทิศเวลาทํางานวิจัย นักวิจัยตองทุ&มเทความรู ความสามารถและเวลาใหกับการทํางานวิจัย เพื่อใหไดมาซึ่งผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและเป นประโยชน* 2.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการทําวิจัย 2.3.1 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบ ไม&ละทิ้งงานโดยไม&มีเหตุผลอันควร และส&งงานตามกําหนดเวลา ไม&ทําผิดสัญญา ขอตกลง จนก&อใหเกิดความเสียหาย 2.3.2 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ* 3. นักวิจัยต องมีพื้นฐานความรู ในสาขาวิชาการที่ทําวิจัย นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัยอย&างเพียงพอ และมีความรู ความชํานาญ หรือมีประสบการณ*เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ทําวิจัย เพื่อนําไปสู&งานวิจัยที่มีคุณภาพ และ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


21 เพื่อปaองกันป2ญหาการวิเคราะห* การตีความ หรือการสรุปที่ผิดพลาด อันอาจก&อใหเกิด ความเสียหาย ต&องานวิจัย แนวทางปฏิบัติ 3.1 นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรู ความชํานาญหรือประสบการณ*เกี่ยวกับเรื่อง ที่ทําวิจัยอย&างเพียงพอเพื่อนําไปสู&งานวิจัยที่มีคุณภาพ 3.2 นักวิจัยตองรักษามาตรฐานและคุณภาพของงานวิจัยในสาขาวิชานั้น เพื่อปaองกันความเสียหายต&อวงการวิชาการ 4. นักวิจัยต องมีความรับผิดชอบต,อสิ่งที่ศึกษาวิจัยไม,ว,าจะเป=นสิ่งที่มีชีวิต หรือไม,มีชีวิต นักวิจัยตองดําเนินการดวยความรอบคอบระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทําวิจัย ที่เกี่ยวของกับคน สัตว* พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม มีจิตสํานึก และมีปณิธาน ที่จะอนุรักษ*ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม แนวทางปฏิบัติ 4.1 การใชคนหรือสัตว*เป นตัวอย&างทดลอง ตองทําในกรณีที่ไม&มีทางเลือกอื่น เท&านั้น 4.2 นักวิจัยตองดําเนินการวิจัยโดยมีจิตสํานึกที่จะไม&ก&อความเสียหายต&อคน สัตว* พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม 4.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบต&อผลที่จะเกิดแก&ตนเอง กลุ&มตัวอย&างที่ใช ในการศึกษาและสังคม 5. นักวิจัยต องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย)ที่ใช เป=นตัวอย,างในการวิจัย นักวิจัยตองไม&คํานึงถึงผลประโยชน*ทางวิชาการจนละเลยและขาดความเคารพ ในศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษย* ตองถือเป นภาระหนาที่ที่จะอธิบายจุดมุ&งหมายของการวิจัยแก&บุคคลที่เป น กลุ&มตัวอย&างโดยไม&หลอกลวงหรือบีบบังคับ และไม&ละเมิดสิทธิส&วนบุคคล แนวทางปฏิบัติ 5.1 นักวิจัยตองมีความเคารพในสิทธิของมนุษย*ที่ใชในการทดลองโดยตองไดรับ ความยินยอมก&อนทําวิจัย 5.2 นักวิจัยตองปฏิบัติต&อมนุษย*และสัตว*ที่ใชในการทดลองดวยความเมตตา ไม&คํานึงถึงแต&ผลประโยชน*ทางวิชาการจนเกิดความเสียหายที่อาจก&อใหเกิดความขัดแยง 5.3 นักวิจัยตองดูแลปกปaองสิทธิประโยชน*และรักษาความลับของกลุ&มตัวอย&าง ที่ใชในการทดลอง ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


22 6. นักวิจัยต องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ตองตระหนักว&าอคติส&วนตนหรือความลําเอียง ทางวิชาการอาจส&งผลใหมีการบิดเบือนขอมูล และขอคนพบทางวิชาการ อันเป นเหตุใหเกิดผลเสียหาย ต&องานวิจัย แนวทางปฏิบัติ 6.1 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ไม&ทํางานวิจัยดวยความเกรงใจ 6.2 นักวิจัยตองปฏิบัติงานวิจัยโดยใชหลักวิชาการเป นเกณฑ*และไม&มีอคติมาเกี่ยวของ 6.3 นักวิจัยตองเสนอผลงานวิจัยตามความเป นจริง ไม&จงใจเบี่ยงเบนผลงานวิจัย โดยหวังประโยชน*ส&วนตน หรือตองการสรางความเสียหายแก&ผูอื่น 7. นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใช ประโยชน)ในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพร&ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน*ทางวิชาการและสังคม ไม&ขยายผลขอคนพบ จนเกินความเป นจริง และไม&ใชผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ แนวทางปฏิบัติ 7.1 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพร&ผลงานวิจัย 7.2 นักวิจัยพึงเผยแพร&ผลงานวิจัยโดยคํานึงถึงประโยชน*ทางวิชาการและสังคม ไม&เผยแพร&ผลงานวิจัยเกินความเป นจริงโดยเห็นแก&ประโยชน*ส&วนตนเป นที่ตั้ง 7.3 นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเป นจริง ไม&ขยายผลขอคนพบโดยปราศจาก การตรวจสอบ ยืนยันในทางวิชาการ 8. นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู อื่น นักวิจัยพึงมีใจกวาง พรอมที่จะเปVดเผยขอมูล และขั้นตอนการวิจัย ยอมรับฟ2ง ความคิดเห็นเหตุผลทางวิชาการของผูอื่น และพรอมที่จะปรับปรุงแกไขงานวิจัยของตนใหถูกตอง แนวทางปฏิบัติ 8.1 นักวิจัยพึงมีมนุษยสัมพันธ*ที่ดี ยินดีและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสราง ความเขาใจในงานวิจัยกับเพื่อนร&วมงานและนักวิชาการอื่น 8.2 นักวิจัยพึงยอมรับฟ2ง แกไขการทําวิจัยและการเสนอผลงานวิจัยตาม ขอแนะนําที่ดี เพื่อสรางความรูที่ถูกตองและสามารถนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน*ได 9. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต,อสังคมทุกระดับ นักวิจัยพึงมีจิตสํานึกที่จะอุทิศกําลังสติป2ญญาในการทําวิจัยเพื่อความกาวหนา ทางวิชาการเพื่อความเจริญ และประโยชน*สุขของสังคม และมวลมนุษยชาติ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


23 แนวทางปฏิบัติ 9.1 นักวิจัยพึงไตร&ตรองหาหัวขอการวิจัยดวยความรอบคอบและทําการวิจัย ดวยจิตสํานึกที่จะอุทิศกําลังป2ญญาของตนเพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความเจริญของสถาบัน และประโยชน*สุขต&อสังคม 9.2 นักวิจัยพึงรับผิดชอบในการสรางสรรค*ผลงานวิชาการเพื่อความเจริญของสังคม ไม&ทําการวิจัยที่ขัดกับกฎหมาย ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน 9.3 นักวิจัยพึงพัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชน*ยิ่งขึ้น และอุทิศเวลา น้ําใจ กระทําการส&งเสริมพัฒนาความรู จิตใจ พฤติกรรมของนักวิจัยรุ&นใหม&ใหมีส&วนสรางสรรค*ความรู แก&สังคมสืบไป จรรยาบรรณนักวิจัยเป นสิ่งที่นักวิจัยควรใหความสําคัญและพึงระลึกอยู&ตลอดเวลาตั้งแต& ขั้นเริ่มตนจนถึงขั้นสุดทายของการวิจัย การละเมิดหรือผิดจรรยาบรรณนักวิจัยในบางเรื่องอาจไม&มีผล ทางดานกฎหมายแต&จะมีผลในดานของคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งในวงวิชาการใหความสําคัญกับรักษาและ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณของนักวิจัยเป นอย&างมาก บทสรุป การวิจัยทางการศึกษา หมายถึง การเก็บรวมรวมขอมูลสารสนเทศทางการศึกษาอย&างมี ระบบเพื่อประโยชน*ในการบรรยาย ทํานาย ควบคุมหรืออธิบายปรากฏการณ*ที่เกิดขึ้นภายในขอบเขต ที่กําหนดไว วิธีการแสวงหาความรูของมนุษย*แบ&งออกเป น 4 ระยะจนถึงป2จจุบันกระบวนการคนหา ความรูความจริง หรือที่เรียกว&าการวิจัย แบ&งออกเป น 5 ขั้นตอน ไดแก& การกําหนดป2ญหา การตั้งสมมติฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะห*ขอมูล และการสรุปผลการวิจัย จุดมุ&งหมาย ของการทําวิจัยทางการศึกษาสามารถแบ&งไดเป น 2 ประการ คือ เพื่อประโยชน*ในการเพิ่มพูนความรู ใหม& และเพื่อนําไปประยุกต*หรือใชประโยชน*ในลักษณะอื่น ประเภทของการวิจัยสามารถแบ&งออกเป น 8 ประเภท ตามลักษณะวิชาหรือศาสตร* ลักษณะของขอมูล จุดมุ&งหมายของการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ชนิดของขอมูล แหล&งของขอมูล ระยะเวลาในการวิจัย และวัตถุประสงค*ในการวิจัย และจรรยาบรรณ ที่สําคัญของนักวิจัยมี 9 ประการ ไดแก& ความซื่อสัตย* พันธกรณีในการทําวิจัย พื้นฐานความรูของนักวิจัย ความรับผิดชอบ การเคารพในศักดิ์ศรี อิสระทางความคิด การนําผลการวิจัยไปใชประโยชน* เคารพ ความคิดเห็นของผูอื่นและความรับผิดชอบต&อสังคม การวิจัยนอกจากจะเป นการคนหาความรูความจริงอย&างเป นระบบ การวิจัยยังเป นการ เสริมสรางทักษะการจัดการความรูของบุคคล ทั้งการแสวงหาความรู การสรางความรูใหม& การจัดเก็บ และการคนคืนความรู การบูรณาการและการเชื่อมโยงความรู รวมทั้งการเผยแพร&ความรู นอกจากนี้ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


24 ครูประจําการและบุคลากรทางการศึกษาไดใชกระบวนการวิจัยในการพัฒนาการจัดการเรียนรู การเลื่อนวิทยฐานะและการพัฒนางานในส&วนที่เกี่ยวของกับวิชาชีพของตนเอง ดังนั้นการเลือกใชวิธี วิทยาการวิจัยที่ถูกตองและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานของบุคคลจึงเป นสิ่งที่มีความสําคัญ เพราะจะ ทําใหบุคคลนั้นสามารถบูรณาการการวิจัยไปกับการปฏิบัติงานของตนเองได ทําใหผลการวิจัยสามารถ นําไปใชไดจริงและพัฒนาต&อยอดต&อไปไดทั้งแนวกวางและลึก นอกจากนี้การวิจัยยังเปรียบเสมือน กระจกเงาในการสะทอนภาพของผูวิจัย ทั้งในดานทักษะกระบวนการคิด กระบวนการทํางานและ ยังเป นแบบอย&าง ในการสรางองค*ความรูใหกับบุคคลอื่นต&อไป แต&อย&างไรก็ตามผูวิจัยตองคํานึงถึง จรรณยาบรรณของนักวิจัยดวย การคัดลอกผลงานของบุคคลอื่นโดยโดยไม&อางอิง หรือมิไดรับอนุญาต ถือเป นความผิดที่รายแรงและไม&ควรกระทําเป นอย&างยิ่ง คําถามทบทวน คําชี้แจง จงตอบคําถามหรือปฏิบัติกิจกรรมทุกขอต&อไปนี้ 1. การวิจัยทางการศึกษาหมายถึงอะไร มีความสําคัญต&อการพัฒนาการศึกษาอย&างไร 2. วิธีการแสวงหาความรูของมนุษย*มีกี่วิธี แต&ละวิธีมีความสัมพันธ*กันอย&างไร 3. การแสวงหาความรูของมนุษย*ในอดีตกับกระบวนการวิจัยในป2จจุบัน แตกต&างกันอย&างไร 4. ลักษณะที่สําคัญที่สุดของการวิจัยคืออะไร 5. การวิจัยมีประโยชน*ต&อการพัฒนาวิชาชีพครูอย&างไร 6. การวิจัยแบ&งออกเป นกี่ประเภท แต&ละประเภทมีลักษณะที่สําคัญอย&างไร 7. การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ มีลักษณะสําคัญที่แตกต&างกันอย&างไร 8. การวิจัยทางการศึกษามีขอจํากัดอะไรบาง 9. หากท&านตองทําวิจัยเพื่อแกป2ญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ต่ํากว&าเกณฑ*ที่กําหนดไว ท&านจะมีขั้นตอนการดําเนินการวิจัยอย&างไร 10. จากการศึกษารายงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร* เรื่องการบวก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปvที่ 2 โดยใชสื่อประสม พบว&า ในบทที่ 4 ระบุว&า เด็กหญิงสุดา แสงเดือน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งก&อนและหลังการวิจัย เป น 0 เนื่องจากมีความบกพร&องทางสติป2ญญา ท&านคิดว&า ผูวิจัยทําผิดจรรยาบรรณหรือไม& เพราะเหตุใด ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


บทที่ 2 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ สิ่งสําคัญประการหนึ่งที่จะขาดไมไดในการวิจัยเรื่องใดก็ตามคือการศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวของ ซึ่งเป&นขั้นตอนการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ ความคิดเห็นและผลงานการวิจัย ของผูอื่น ซึ่งจะชวยใหผูวิจัยเกิดความเขาใจในหัวขอป/ญหา เกิดความคิดและมองเห็นแนวทางในการ ดําเนินการวิจัยตั้งแตขั้นแรกจนถึงขั้นสุดทาย ทําใหผูวิจัยสามารถวางแผนการวิจัยของตนเองได อยางเป&นระบบและเป&นขั้นตอน และหากพิจารณาถึงการวิจัยที่มีมาตั้งแตอดีตจนถึงป/จจุบัน จะเห็น ไดวาการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับป/ญหาหรือขอสงสัยจะเกิดขึ้นภายหลังจากการที่ผูวิจัยพบป/ญหา หรือขอสงสัยแลว โดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การศึกษาจากเอกสาร ภาพประวัติศาสตร8 การสอบถามผูรู การสัมภาษณ8หรืออาจใชวิธีการอื่นอีกหลายวิธีเพื่อใหไดขอมูลที่ตองการ เพื่อให เกิดความเขาใจและความชัดเจนเกี่ยวกับการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย ในบทนี้จึงนําเสนอ เนื้อหาสาระเกี่ยวกับการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของที่จะเป&นประโยชน8ตอการนําไปใชในการวิจัย ตามลําดับ ดังนี้ 1. ความหมายของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 2. วัตถุประสงค8ของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 3. ความสําคัญของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 4. เนื้อหาสาระที่ตองศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ 5. วิธีการ และแหลงการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 6. การนําเสนอผลการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 7. จรรณยาบรรณในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ความหมายของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ หรือการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ หมายถึง การศึกษา คนควา รวบรวม ตรวจสอบ และการนําเสนอสารสนเทศที่มีความเกี่ยวของสัมพันธ8กับเรื่อง ที่ทําวิจัย ซึ่งอาจปรากฏในรูปของบทสัมภาษณ8 สิ่งพิมพ8 หรือสื่อ โดยปกติการคนควาเอกสาร ที่เกี่ยวของจะปรากฏในบทที่ 2 ของรายงานการวิจัยโดยใชชื่อบทวาเอกสารที่เกี่ยวของ หรือ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของนั้น นอกจากจะเป&นการศึกษาในเชิงทฤษฎี ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


26 แนวคิด หลักการแลว ผูวิจัยยังตองศึกษางานที่วิจัยที่เกี่ยวของกับประเด็นที่ตนเองสงสัย หรือตองการ หาคําตอบ วาไดมีผูใดไดทําการศึกษาประเด็นเหลานี้ไวหรือไมอยางไร ในการศึกษาเอกสารรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยตองสรุป วิเคราะห8 สังเคราะห8 เขียนเรียบเรียงถายทอดความรู แนวคิด หลักการ ใหครอบคลุมและเกี่ยวของ สอดคลองกับเรื่องหรือ ป/ญหาที่ตนเองตองการจะศึกษาหาคําตอบ โดยผูวิจัยควรกําหนดวัตถุประสงค8 เนื้อหาสาระที่ตองการ วิธีการและแหลงขอมูล ลักษณะการนําเสนอผลการศึกษาและคํานึงถึงจรรณยาบรรณในการศึกษา เอกสารที่เกี่ยวของดวย วัตถุประสงคของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ วัตถุประสงค8ของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของนั้นมีอยูหลายประการ ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 1. เพื่อใหผูวิจัยเกิดความชัดเจน หรือความเขาใจในทฤษฎีที่เกี่ยวของกับงานของตนเอง มากขึ้น สามารถนํามากําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยของตนไดวา ทฤษฎีที่เกี่ยวของที่จะนํามาใช ในการวิจัยครั้งนี้มีทฤษฎีอะไรบาง แตละทฤษฎีมีความเชื่อมโยงสัมพันธ8กันอยางไร อีกทั้งจะทําใหผูวิจัย สามารถสรุปไดวาตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ และตัวแปรตามในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวยอะไรบาง 2. เพื่อกําหนดขอบเขตของป/ญหา หรือเรื่องที่สนใจจะศึกษา การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ จะทําใหผูวิจัยทราบขอบเขตของเรื่องที่ตนเองจะศึกษาวาจะศึกษาในแนวกวางหรือเชิงลึก ซึ่งจะทําให ผูวิจัยสามารถออกแบบการวิจัย ออกแบบนวัตกรรม กําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง กําหนด เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะห8ขอมูลและงบประมาณที่จะตอง ใชในการศึกษาวิจัยไดอยางถูกตองเหมาะสม การออกแบบการวิจัยที่ดีและรัดกุมจะทําใหผูวิจัย สามารถดําเนินการวิจัยไดอยางมีประสิทธิภาพ และผลการวิจัยที่ไดมานั้นก็จะมีความนาเชื่อถือ 3. เพื่อเป&นการหลีกเลี่ยงการทําวิจัยในหัวขอเรื่องที่ไดมีการพิสูจน8หรือคนพบแลว ในการ ทําวิจัยบางครั้งจะพบวา ป/ญหาในการทําวิจัยที่ผูวิจัยตองการจะแกป/ญหา หรือตองการจะศึกษานั้น อาจมีบุคคลหรือกลุมบุคคลอื่นคนพบหรือแกป/ญหาไวกอนแลว ถาหากเป&นการศึกษาในประเด็น เดียวกันก็จะทําใหงานวิจัยของผูวิจัยดอยคุณคาลงไป ดังนั้น หากผูวิจัยพิจารณาแลวเห็นวาการทําวิจัย ไมไดทําใหเกิดองค8ความรูใหม วิธีการแกป/ญหาที่จะเป&นประโยชน8 ไมเป&นการขยายพื้นที่ความรูเดิม หรือการพัฒนาที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะนําไปใชประโยชน8ตอไปได ผูวิจัยก็ควรจะเลิกลม ความตั้งใจที่จะทําวิจัยในเรื่องนั้นและเปลี่ยนไปทําวิจัยในหัวขออื่นตอไป 4. เพื่อทําวิจัยตอเนื่องจากบุคคลอื่น การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะในเรื่อง ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไปจะทําใหผูวิจัยทราบประเด็นป/ญหาในการวิจัยตอเนื่องจากที่บุคคล ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


27 อื่นไดทําไวแลว หรือเป&นเรื่องที่บุคคลนั้นเห็นวามีความสําคัญ และจําเป&นที่ตองมีการศึกษาตอไป ซึ่งในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ผูวิจัยควรใหความสําคัญกับหัวขอป/ญหา ประชากร/กลุมตัวอยาง การอภิปรายผลการวิจัยและขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไปดวย จากวัตถุประสงค8ดังกลาวขางตนจะเห็นไดวาการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของมีความสําคัญ และจําเป&นอยางมากตอการวิจัย ทําใหผูวิจัยเกิดความรู ความเขาใจในแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับหัวขอ วิจัยที่ตนเองจะทํา ดังนั้นในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยจึงควรพิจารณาดวยวา เอกสาร งานวิจัยที่ศึกษานั้นมีคุณคานาเชื่อถือหรือไม เพื่อใหไดความรูจากการศึกษาที่ถูกตอง โดยหลักเกณฑ8ในการเลือกเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของพอสรุปไดดังนี้ 1. เนื้อหาในเอกสารมีความถูกตอง ทันสมัยและ/หรือเป&นความรูใหม 2. มีการนําเสนอแนวคิดที่เป&นประโยชน8 มีการอางอิงจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือได 3. ขอมูลในเอกสารนั้นตรงกับความตองการของผูวิจัยและสามารถชี้นําหรือเป&นแนวทาง ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได ความสําคัญของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของมีความสําคัญตอผูวิจัยในหลายประการ ดังนี้ 1. ทําใหทราบขอเท็จจริง ทฤษฎี หลักการ ความรู และความคิดเห็น ซึ่งจะเป&นแนวทาง ในการทําวิจัยของผูวิจัยไดตอไป และยังใหผูวิจัยเขาใจถึงทฤษฎีที่เกี่ยวกับงานวิจัยของตนเองมากขึ้น 2. ชวยในการเลือกหัวขอป/ญหาการวิจัย หลีกเลี่ยงการทําวิจัยที่ซ้ํากับผูอื่น การตรวจสอบ เอกสารจะทําใหผูวิจัยไดมองเห็นวา มีผูใดทําวิจัยหรือมีขอคนพบเกี่ยวกับเรื่องที่ตนจะทําอยางไรบาง บางครั้งอาจเกิดการซ้ําซอนกันได 3. ทําใหเกิดความเขาใจอยางชัดเจนในหัวขอป/ญหาการวิจัย ซึ่งจะเป&นประโยชน8อยางมาก ตอผูวิจัย เพราะจะทําใหผูวิจัยสามารถมองเห็นกระบวนการไดตลอด หากพบวา มีป/ญหาหรือขอบกพรอง ก็จะสามารถแกไขไดทันที 4. ชวยในการเลือกตัวแปรที่ควรทําวิจัย และมองเห็นความสัมพันธ8ของตัวแปรเหลานั้น อยางชัดเจน การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยจะทําใหผูวิจัยเขาใจป/ญหาวิจัยไดอยางชัดเจน ยิ่งขึ้น และสามารถกําหนดตัวแปรที่เกี่ยวของกับการวิจัยได 5. ชวยในการควบคุมตัวแปรแทรกซอน ผลจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของนอกจาก จะทําใหผูวิจัยเลือกตัวแปรไดเหมาะสมแลว ยังทําใหทราบวาจะมีตัวแปรแทรกซอนอะไรเกิดขึ้นบาง ในการวิจัย และจะสามารถควบคุมตัวแปรแทรกซอนไดอยางไร ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


28 6. ชวยแนะแนวทางในการตั้งสมมติฐาน ในการตั้งสมมติฐานของการวิจัยนั้น ผูวิจัยจะตอง อางอิงทฤษฎีและหลักการ เพื่อใหสมมติฐานนาเชื่อถือ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของจะทําใหผูวิจัย มองเห็นความสัมพันธ8ของตัวแปรที่จะเป&นแนวทางในการตั้งสมมติฐาน และทําใหผูวิจัยสามารถ อธิบายเหตุผลเพื่อสนับสนุนสมมติฐานการวิจัยที่ตนตั้งขึ้นดวย 7. ชวยในการสุมตัวอยาง การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของทําใหผูวิจัยไดทราบขอมูลเกี่ยวกับ ประชากร ลักษณะของประชากร ทําใหผูวิจัยสามารถกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางรูปแบบของการ สุมตัวอยางไดเหมาะสม 8. ชวยในการสรางเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ทําใหผูวิจัยไดทราบเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชในการวิจัยที่ผานมา หรือเครื่องมือที่ใชในการวัดคุณลักษณะ หรือตัวแปรในการวิจัยอยางหลากหลาย 9. ชวยในการเก็บรวบรวมขอมูล การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของทําใหผูวิจัยระมัดระวังมิใหเกิด ขอผิดพลาดในการรวบรวมขอมูล โดยเฉพาะในดานความถูกตอง และความสมบูรณ8ของขอมูล 10. ชวยใหเลือกใชสถิติ และวิธีการวิเคราะห8ขอมูลไดถูกตอง เหมาะสม 11. ชวยในการแปลผล สรุปผล และอภิปรายผลการวิจัย ทําใหผลการวิจัยมีความชัดเจน อานเขาใจงาย และนําไปใชประโยชน8ไดตรงกับผลการวิจัยที่เป&นจริง 12. ชวยในการเขียนรายงานการวิจัย ผูวิจัยควรจะศึกษาแบบฟอร8ม และลักษณะการเขียน รายงานการวิจัยแตละสวนจากรายงานการวิจัย แลวนํามาเป&นแนวทางในการเขียนรายงานการวิจัย ของตน 13. ชวยทําใหมองเห็นป/ญหาที่อาจเกิดขึ้นในการทําวิจัย โดยเฉพาะจุดออนหรือขอบกพรอง ของการวิจัยที่ผูอื่นไดเสนอแนะไว ผูวิจัยควรระมัดระวังหลีกเลี่ยงขอผิดพลาดเหลานั้น 14. ทําใหเกิดความประหยัด การศึกษาคนความาอยางดีจากการอานจะทําใหผูวิจัย สามารถวางแผนการวิจัยไดรัดกุม ถูกตอง ตรงจุด ซึ่งจะชวยใหประหยัดเวลา แรงงาน และเงินทุน 15. ชวยสงเสริมใหงานวิจัยมีคุณคาและนาเชื่อถือ การเสนอสวนที่เป&นเอกสารและการวิจัย ที่เกี่ยวของไวในรายงานการวิจัย นอกจากจะเป&นแนวทางแกนักวิจัยอื่นแลว ยังแสดงใหเห็นวาผูวิจัยได ทําการศึกษาคนความาอยางดีแลว ทําใหงานวิจัยนั้นมีคุณคาและนาเชื่อถือมากขึ้น จากความสําคัญของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของดังกลาวขางตนจะเห็นไดวาการศึกษา เอกสารที่เกี่ยวของ นอกจากจะทําใหผูวิจัยมีความเขาใจในงานของตนเองไดอยางชัดเจนแลว ยังทําให ผูวิจัยมองเห็นป/ญหาและคุณคาของงานวิจัยของตนเองอีกดวย และทําใหผูวิจัยใหรูจักบุคคลที่มีความ สนใจในเรื่องหรือประเด็นเดียวกับตนเอง ซึ่งจะนําไปสูการสรางเครือขายตอไปในอนาคต ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


29 เนื้อหาสาระที่ตองศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ พรรณี ลีกิจวัฒนะ (2551, หนา 23) กลาววา การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของจะเป&นประโยชน8 ตอการทําวิจัยในทุกขั้นตอน ดังนั้นสิ่งที่นักวิจัยตองศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ จึงเป&นสาระสําคัญ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาสาระ เรื่องราวที่ตองการศึกษา และวิธีการที่ใชในการศึกษา ดังนั้นจึงอาจจัดแบง สาระสําคัญที่ตองการศึกษาออกเป&น 2 ดาน คือ ดานเนื้อหา และดานวิธีการ มีรายละเอียดดังนี้ 1. เนื้อหาที่จะตองศึกษา ไดแก ทฤษฎี กฎ หลักการ แนวคิด ขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่อง ที่ศึกษา และผลงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา เรื่องที่ตองการศึกษานั้น มีผูศึกษาไวในแงมุมใดบาง เกี่ยวของกับตัวแปรสําคัญอะไรบาง ผลการวิจัยไปถึงไหนแลว ประเด็นใดไดขอสรุปชัดเจนแลว ประเด็นใดที่ยังไมมีขอสรุปชัดเจน หรือยังไมมีผูศึกษาไว เนื้อหาสาระที่สําคัญควรครอบคลุมป/ญหา และเป&นป/จจุบัน 2. สาระสําคัญดานวิธีการ ไดแก วิธีการวิจัยซึ่งประกอบดวยแนวคิดเกี่ยวกับแนวทาง การวิจัย รวมทั้งวิธีการที่ใชในแตละขั้นตอนของกระบวนการวิจัย เชน การกําหนดป/ญหา การตั้งสมมติฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะห8ขอมูล และการเขียนรายงาน ซึ่งสามารถศึกษาจากหนังสือ ตํารา ทางดานการวิจัย สถิติและวัดผล นอกจากนี้ยังจําเป&นตองศึกษาจากรายงานการวิจัยที่เกี่ยวของดวยวา เรื่องที่เกี่ยวของกับป/ญหาที่ตองการศึกษามีผูศึกษาไวดวยวิธีการวิจัยแบบใด และผูวิจัยใชวิธีการ อะไรบางในแตละขั้นตอนของกระบวนการวิจัย นอกจากนี้ บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2547, หนา 71) กลาววา การทบทวนวรรณกรรม ควรทบทวนเนื้อหาสาระดังนี้ 1. สถานการณ8ที่เป&นป/ญหา เนื้อหาสําคัญที่ตองทบทวนคือ สวนที่ชี้บอกวา ซึ่งตองสํารวจ เรื่องที่จะทํา เป&นป/ญหาอยางไร ซึ่งตองสํารวจตรวจสอบทั้งเนื้อหาสาระในเอกสาร หนังสือ สิ่งพิมพ8 สอบถาม หรือลองทําวิจัยเชิงคุณภาพกับกลุมตัวอยางจํานวนนอยเพื่อคนหาป/ญหาที่เกิดขึ้น เพื่อใช เป&นขอมูลชี้บอกใหผูอานทราบวา การวิจัยเรื่องนั้นมีป/ญหา หรือเป&นป/ญหาอยางไร จึงทําใหตองนํามา ศึกษาวิจัย ซึ่งเนื้อหาสวนมากถาเป&นตัวเลขสถิติที่แสดงสถานการณ8ป/ญหาไดยิ่งดี 2. แนวคิด ทฤษฎีที่ใชสนับสนุน ตองทบทวน ตรวจสอบใหไดแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ ทบทวนใหไดมากที่สุดเทาที่จะมากได แลวเลือกวาจะใชแนวคิดหรือทฤษฎีใด ตองทบทวนตัวทฤษฎีให ถึงแกนแทวา เป&นทฤษฎีที่กลาววาอยางไร มีขอดี ขอเสียอยางไรบาง มีการนําไปใชโดยตรงหรือ ประยุกต8ใชอยางไรบาง และในการวิจัยครั้งนี้จะใชทฤษฎีอะไร 3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ตองทบทวนความเกี่ยวของของงานวิจัยทั้งเรื่องที่ทําวิจัย เนื้อหา ในวิชา เชน ผูวิจัยตองการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคการสอนในวิชาคณิตศาสตร8 ก็ควรเลือกศึกษา งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเทคนิคการสอนในวิชาคณิตศาสตร8ดวยเชนกัน ตัวแปรที่ศึกษาและวิธีการวิจัย ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


30 ที่ใช ตองทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของใหไดวา มีใคร ทําเรื่องอะไร กับใคร ที่ไหน ดวยวิธีการอยางไร และผลการวิจัยเฉพาะที่เกี่ยวของกับเราไดขอสรุปอยางไรบาง 4. เครื่องมือวิจัย และเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล การทําวิจัยแตละเรื่องสามารถ ใชเครื่องมือวิจัยและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลรวมกับของคนอื่นได ในเบื้องตนจึงตองทบทวนวา มีเครื่องมือวิจัยและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลของใครพอที่จะนํามาใชกับการวิจัยไดบาง ซึ่งอาจจะ นํามาใชทั้งหมดหรือปรับแกไขบางสวน ถาไมมีเลยก็ตองทบทวนดูวาการสรางเครื่องมือวิจัย หรือ เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล เชน บทเรียนสําเร็จรูป โครงการสอน สื่อการสอน คูมือการปฏิบัติ กิจกรรมหรือโครงการสามารถนํามาเป&นเครื่องมือในการวิจัยไดหรือไม และเครื่องมือเก็บรวบรวม ขอมูล เชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ8 มีวิธีการ ขั้นตอนการสรางและพัฒนาใหมีคุณภาพอยางไร จะไดใชเป&นแนวทางในการสรางและพัฒนาเครื่องมือสําหรับการวิจัยเรื่องนั้นได 5. สถิติ และแนวทางการวิเคราะห8ขอมูล แมวาการใชสถิติวิเคราะห8ขอมูลจะใชหลังจาก เก็บขอมูลมาแลว แตกอนทําวิจัยก็ตองทบทวนดวย จะไดใชเป&นแนวทางในการกําหนดป/ญหาวิจัย สมมติฐานการวิจัย ขอบเขตการวิจัย และนิยามตัวแปรที่ใชในการวิจัย ถาทบทวนสถิติ และการ วิเคราะห8ขอมูลจากการวิจัยที่เกี่ยวของในอดีตมากอนจะทําใหเริ่มตนงานวิจัยไดงายขึ้น และสุดทาย ก็ใชเป&นแนวทางในการวิเคราะห8ขอมูลตอไป 6. รูปแบบ และลีลาการเขียนรายงาน สวนนี้ตองทบทวนและหมายเหตุไว เพื่อใหรูวา เมื่อตองเขียนรายงานผลการวิจัยควรทบทวนเพิ่มเติมหรือดูเป&นแนวทางการเขียนรายงานการวิจัย จะไดไมตองอาศัยความเคยชินหรือสามัญสํานึก การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ผูวิจัยควรศึกษาทั้งเนื้อหา และสาระสําคัญดานกรอบ แนวคิดในการวิจัย วิธีการดําเนินการวิจัย สถานการณ8ที่เป&นป/ญหา แนวคิดทฤษฎีที่ใชสนับสนุน งานวิจัยที่เกี่ยวของ เครื่องมือวิจัยและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล สถิติและแนวทาง การวิเคราะห8 ขอมูล รูปแบบและวิธีการการเขียนรายงาน และเมื่อผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ การวิจัยเป&นอยางดีแลว ผูวิจัยตองสรุปสาระสําคัญของเรื่องที่ศึกษาใหเห็นอยางชัดเจนและควรนําสิ่ง ที่ศึกษามาแลวนั้นมาใชประโยชน8ในงานวิจัยของตนเองใหมากที่สุด วิธีการ และแหล)งการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ การมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการและแหลงการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของจะ เป&นประโยชน8ตอการวิจัย ทําใหผูวิจัยมีความสะดวกในการคนควา เก็บรักษา และจัดหมวดหมูของ เรื่องราวที่ศึกษาคนความาไดงาย การบันทึกและการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของสามารถกระทําได 2 วิธี ดังนี้ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


31 วิธีที่ 1 1. บันทึกลงในบัตร หรือกระดาษขนาดพอเหมาะ บัตรแตละบัตรควรบันทึก 1 เรื่อง เทานั้น หรืออาจใชหลายบัตรตอ 1 เรื่อง ซึ่งควรมีหมายเลขประกอบดวย 2. หนาแรกของบัตร ใหบันทึกแหลงที่มาของความรู ไดแก ชื่อหนังสือ ชื่อเรื่อง ชื่อผูแตง โรงพิมพ8 จํานวนหนาทั้งหมด และหนาที่คัดลอกขอความสําคัญเพื่อที่จะนําไปใชอางอิงในการเขียน รายงานการวิจัย 3. อีกหนาหนึ่งของบัตร ใหบันทึกขอความที่ไดจากการศึกษาคนควา การบันทึกเรื่อง ที่ศึกษามานั้น อาจบันทึกโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีประกอบกัน แลวแตจุดประสงค8ของการใช เรื่องราวนั้น ในกรณีที่เอกสารเป&นรายงานการวิจัย สิ่งที่ตองบันทึก ไดแก 1. แหลงที่มา 2. ผูวิจัย 3. ชื่อเรื่องหรือป/ญหา และปOที่วิจัย 4. ความมุงหมายของการวิจัย 5. กลุมตัวอยางที่ศึกษา และเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 6. วิธีการวิจัย และสถิติที่ใช 7. ผลการวิจัย และขอเสนอแนะ 8. ขอคิดเห็นของผูบันทึกที่มีตอเรื่องนั้น การบันทึกนี้ควรกระทําภายหลังการอาน เลือกหรือประเมินคุณคาของหนังสือหรือ เอกสารนั้นมาแลว วิธีที่ 2 จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการรวบรวมเอกสารเพื่อใชในการวิจัยสรุปไดวา การรวบรวม เอกสารเพื่อใชในการวิจัยมีแนวปฏิบัติ 5 ขั้นตอน และมีแหลงในการสืบคนขอมูล ดังนี้ (สุวิมล ติรกานันท8, 2553, หนา 52-58) 1. การสืบคนหรือการคนหาขอมูล ผูวิจัยสามารถคนไดจากบัตรชื่อเรื่อง หรือจากบัตร ผูแตงและคําสําคัญของชื่อเรื่อง การใชเครือขายอินเทอร8เน็ตในการสืบคนในฐานขอมูล ซึ่งในป/จจุบัน ไดรับความนิยมเป&นอยางมาก 2. การคัดเลือกเอกสารและงานวิจัย ผูวิจัยสามารถคัดเลือกเอกสารและงานวิจัยที่เป&น ประโยชน8ตอการวิจัยของตนเอง โดยอาศัยหลักเกณฑ8ในการพิจารณาดังนี้ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


32 2.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยอาจศึกษาขอมูลทั้งจากแหลงขอมูล ปฐมภูมิและขอมูลทุติยภูมิ โดยขอมูลปฐมภูมิคือขอมูลที่นักวิจัยทําการเก็บรวบรวมมาไดดวยตนเอง จากแหลงขอมูล เชน เอกสาร ตํารา บทความวิชาการ สวนขอมูลทุติยภูมิ เป&นขอมูลที่นักวิจัยไดมาจาก การเก็บรวบรวมขอมูลของผูอื่นที่ไดมีการศึกษาคนควาและรวบรวมไวแลว 2.2 คุณภาพผลงานและความนาเชื่อถือของผูแตง เอกสารบางชนิดจําเป&นตอง พิจารณาถึงคุณภาพผลงานและความนาเชื่อถือของผูแตงในดานความรูความสามารถ ประสบการณ8 หรือผลงานในอดีต และการไดรับการยอมรับในการนําไปใชในการอางอิง และควรพิจารณาความ สอดคลองเหมาะสมของเนื้อหาและเรื่องที่นําเสนอวามีความสอดคลองกันหรือไม มากนอยเพียงใด 3. การอานเอกสารทั่วไป วิธีอานโดยทั่วไปควรเป&นดังนี้ 3.1 การอานแบบไมสนใจรายละเอียด หรือพิจารณาประเด็นหลัก แตควรอานใหจบ ทั้งเรื่องเพราะจะไดรูวาตํารา เอกสารหรือบทความนี้ตองการถายทอดอะไร 3.2 การกําหนดวัตถุประสงค8ของการอานและตั้งคําถาม เพื่อการสรุปรวบยอดความรู ที่ไดศึกษามาแลว 3.3 การอานโดยละเอียดเพื่อตอบคําถามตามประเด็นที่ตั้งไว เชน ตองการศึกษา ความหมายของบทเรียนสําเร็จรูป ผูอาน/ผูวิจัย ควรตั้งคําถามวา บทเรียนสําเร็จรูปหมายถึงอะไร มีลักษณะอยางไร การอานในลักษณะนี้จะเป&นการอานตําราหรือเอกสารที่วาดวยทฤษฎีและแนวคิดใน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อเก็บขอสรุปและเนื้อหาที่สําคัญมาอางอิงในงานวิจัย ผูวิจัยจะตองตรวจสอบความ ถูกตองของเนื้อหา ซึ่งอาจกระทําไดโดยการอานในประเด็นเดียวกันจากเอกสารเลมอื่น และการไดรับ การยอมรับในวงวิชาการของผูเขียน สําหรับการอานรายงานวิจัยเพื่อนําผลมาใชในงานวิจัยที่กําลังจะดําเนินการไมใชเป&น การอานเพื่อจับใจความสําคัญแตเป&นการอานเชิงวิเคราะห8วาเพราะเหตุใดจึงใชวิธีการวิจัยแบบนี้ การสุมตัวอยาง เครื่องมือ สถิติที่ใชในการวิจัย วามีความสอดคลองกันอยางไรและผูวิจัยไดรับความรู อะไรจากการอานงานวิจัยนี้และจะนําไปใชในการงานวิจัยของตนเองอยางไร 4. การบันทึกขอมูล เมื่อผูวิจัยอานเอกสารที่สนใจแลวและพบวามีประเด็นที่เป&น ประโยชน8ตอตนเองก็ควรบันทึกขอความที่สําคัญไวกอน โดยการบันทึกจะตองทําอยางเป&นระบบและ ถูกตอง เพื่อผูวิจัยจะไดสามารถนําประเด็นที่รวบรวมไวไปใชได และหากตองการยอนกลับมาพิจารณา เอกสารนี้อีกครั้งก็สามารถกลับมาสืบคนไดอีก ซึ่งประเด็นที่ควรบันทึกไวประกอบดวย 4.1 ชื่อผูแตง ชื่อผูวิจัย หรือคณะผูวิจัย 4.2 ชื่อหัวเรื่อง, ชื่อหนังสือ, ชื่อวารสาร 4.3 วัตถุประสงค8การวิจัย ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


33 4.4 วิธีการวิจัย เชน การกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการ วิเคราะห8ขอมูลและผลการวิจัย 4.5 ฉบับที่ 4.6 สถานที่พิมพ8 4.7 ชื่อโรงพิมพ8 4.8 ปOที่พิมพ8 5. การสังเคราะห8ขอมูล เมื่อผูวิจัยอานเชิงวิเคราะห8เอกสารที่เกี่ยวของกับงานวิจัยของตน ทั้งหมดแลว ผลที่ไดจากการทบทวนเอกสารทั้งหมดจะถูกนํามาสังเคราะห8ขึ้นเป&นงานวิจัยใหมที่ไม ซ้ําซอนกับงานวิจัยเดิม โดยสังเคราะห8ไดตามประเด็นเหลานี้ 5.1 ประเด็นที่ควรศึกษา เป&นการศึกษาเอกสารแลวจัดหมวดหมูของสิ่งที่คนพบ ออกเป&นกลุม โดยการจัดเรียงตามระยะเวลาหรือจัดเรียงตามชวงเวลาในการศึกษาและจัดเรียงตาม ความเป&นเหตุเป&นผลของสถานการณ8 เพื่อใหทราบวาเรื่องที่ผูวิจัยสนใจที่จะศึกษานั้นมีการศึกษาไว อยางไรบาง ชวยใหผูวิจัยสามารถพิจารณาตัดสินใจเลือกประเด็นหรือหัวขอที่ควรทําการศึกษาตอไป และยังชวยปQองกันการซ้ําซอนของงานวิจัย การจัดเรียงขอคนพบอาจทําไดโดยการกําหนดประเด็น และการจัดเรียงเอกสารทําใหผูวิจัยทราบวาสิ่งที่ตนเองศึกษามาครบถวนหรือไม อยางไร ยังขาด ประเด็นใดอีกหรือไม และการจัดเรียงทําใหนักวิจัยทราบถึงความตอเนื่องของการศึกษา ชวงของ เรื่องราวที่ควรทําการวิจัยและขั้นตอนที่ควรศึกษา เพื่อทําใหประเด็นมีความสมบูรณ8ซึ่งยังไมมีผูใดได ทําการศึกษา การจัดเรียงยังทําใหสามารถตรวจสอบความซ้ําซอนและขอบกพรองที่เกิดขึ้นในการ ศึกษาที่ผานมา ซึ่งลวนเป&นแนวทางนําไปสูการกําหนดประเด็นป/ญหาการวิจัยตอไป 5.2 สมมติฐานและตัวแปรในการวิจัย เป&นขั้นตอนของการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อคาดคะเนคําตอบที่ควรจะเป&น จากนั้นผูวิจัยควรดูความซ้ําซอนและความแตกตางของประเด็นที่อาน ไดจากเอกสารแตละเลม 5.3 เลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับตัวแปร เมื่อผูวิจัยพิจารณาคัดเลือกตัวแปรไดแลว ผูวิจัยควรศึกษาดูเครื่องมือที่ใชวัดตัวแปรในงานวิจัยเหลานั้นดวย เพื่อศึกษาถึงขอดีและขอบกพรองไว เป&นแนวทางในการเลือกใชและสรางเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลตอไป 5.4 กรอบแนวคิดในการวิจัย หลังจากที่ผูวิจัยคัดเลือกตัวแปรที่ใชในการศึกษาแลว ใหนําตัวแปรเหลานั้นมาจัดลําดับ หรือสรางแผนภูมิแสดงความสัมพันธ8และทิศทางของความสัมพันธ8 เพื่อแสดงภาพรวมทั้งหมดของการวิจัยและใชเป&นกรอบในการวิจัย ซึ่งจะทําใหผูวิจัยสามารถกําหนด ขอบเขตการวิจัยและวัตถุประสงค8การวิจัยไดชัดเจนมากขึ้น ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


34 แหลงของเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งผูวิจัยสามารถคนควาไดจากเอกสาร ตอไปนี้ 1. หนังสือทั่วไป (general books) หมายถึง หนังสือ ตํารา ซึ่งเป&นสวนที่จะบรรจุ เรื่องราวความรูในทุกสาขาวิชา ทฤษฎีแนวคิดที่นักวิจัยสนใจ ซึ่งจะเป&นประโยชน8ตอการวิจัยอยางมาก 2. หนังสืออางอิง (reference books) หมายถึง หนังสืออางอิงทั่วไป และหนังสืออางอิง เฉพาะวิชา ไดแก 2.1 สารานุกรม (encyclopedia) หมายถึง หนังสือที่อธิบายเรื่องราวในทุกสาขาวิชา การเรียงลําดับหัวขอจะเรียงตามตัวอักษร เชน encyclopedia britanica 2.2 พจนานุกรม (dictionary) หมายถึง หนังสือที่อธิบายความหมายของคําศัพท8 การอานรากศัพท8 มีทั้งพจนานุกรมทั่วไป และพจนานุกรมเฉพาะสาขาวิชา 2.3 หนังสือรายปO (yearbooks) เป&นหนังสือที่เสนอเรื่องราวที่เกิดขึ้นในรอบปOที่ผานมา หรือเรื่องราวทั้งหมดในอดีตจนถึงป/จจุบัน หรือรายงานประจําปOของหนวยงาน 2.4 อักขรนุกรมชีวประวัติ (bibliographical dictionaries) หมายถึง หนังสือที่รวม ประวัติและเรื่องราวของบุคคลสําคัญ และประวัติบุคคลสําคัญเฉพาะสาขาวิชา 2.5 บรรณานุกรม (bibliographies) หมายถึง หนังสือที่รวบรวมชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ8 ในชวงเวลาหนึ่งไดแก บรรณานุกรมของสถาบัน บรรณานุกรมเฉพาะสาขาวิชา 2.6 ดัชนีวารสาร (periodical indexes) หมายถึง หนังสือคูมือการคนหาบทความและ วารสารซึ่งระบุถึงแหลงที่มีหนังสือวารสารนั้น 2.7 นามานุกรม (directories) หมายถึง หนังสือที่รวบรวมชื่อของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน งานวิจัย สมาคม สถาบัน หนวยราชการ 3. วิทยานิพนธ8 (thesis) หมายถึง รายงานการวิจัยที่ใชประกอบการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษาซึ่งไมมีการพิมพ8จําหนาย ใชในการคนหาผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับงานวิจัยที่กําลังจะ ดําเนินการ คนหาไดจากหองสมุดของสถาบันการศึกษาหรือหองสมุดสํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ 4. รายงานการวิจัย (research report) หมายถึง รายงานวิจัยที่นักวิจัยไดตีพิมพ8เผยแพร หลังจากที่ไดดําเนินการวิจัยเสร็จสิ้นแลว สามารถคนไดจากหนวยงานที่ทําการวิจัยหรือสถาบันที่ สนับสนุนเงินทุนในการวิจัย หรือหองสมุดสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 5. วารสาร (journals) หมายถึง วารสารที่ตีพิมพ8สรุปรายงานการวิจัยที่เกิดขึ้นในป/จจุบัน มีลักษณะเป&นวารสารเฉพาะสาขาวิชา ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


35 6. หนังสือพิมพ8 (newspaper) หมายถึง หนังสือที่เสนอเหตุการณ8รายวัน นักวิจัยอาจจะให ความสนใจปรากฏการณ8ที่เกิดขึ้นจากการตีพิมพ8 แตอยางไรก็ตามควรมีการตรวจสอบ ความถูกตอง กอนจะนํามาใชอางอิง 7. เอกสารทางวิชาการ หมายถึง ประกาศ คําสั่ง จดหมายเหตุ ใชคนควาหัวขอที่เกี่ยวของ กับภารกิจของหนวยงาน 8. ไมโครฟhล8ม หมายถึง ภาพถายของเอกสารที่กลาวมาขางตน แตถูกจัดเก็บในลักษณะ ยอสวนเพื่อประหยัดเนื้อที่การจัดเก็บ ในการอานไมโครฟhล8มตองใชกับเครื่องอานโดยเฉพาะ จากแหลงในการสืบคนเอกสารที่เกี่ยวของ จะเห็นไดวา ผูวิจัยสามารถศึกษาคนควา เอกสารที่เกี่ยวของไดจากเอกสารตอไปนี้ 1. หนังสือหรือตําราที่กลาวถึงความรูพื้นฐานเกี่ยวกับป/ญหาที่ทําวิจัย 2. รายงานการวิจัย และปริญญานิพนธ8 3. วารสารที่เกี่ยวกับการวิจัย 4. บทคัดยอ งานวิจัยที่มีหนวยงานรวบรวมไว 5. เอกสารการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับการวิจัย เชน การประชุมซิมโพเซียม (symposium) เพื่อเสนอผลการวิจัยที่หลายสถาบันจัดขึ้น 6. เอกสารตํารา 7. วารสารที่มีบทความทางการศึกษา 8. นามานุกรมเกี่ยวกับหัวขอการวิจัย ป/จจุบันเป&นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทําใหนักวิจัยสามารถคนควาขอมูล โดยผานเว็บไซต8ที่เป&นแหลงคนหาความรูมากมาย เว็บไซต8ที่ไดรับความนิยมในการคนหาขอมูลมี หลายหลาย เชน http://www.google.com ซึ่งใชในการสืบคนขอมูลไดทุกประเภทบนเครือขาย อินเทอร8เน็ต หรือผูวิจัยอาจคนควาจากฐานขอมูลหรือจากเว็บไซต8 โดยผูวิจัยตองกําหนดคําสําคัญ (keyword) ในการสืบคน เชน ชื่อเรื่องงานวิจัย : การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห8ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปOที่ 2 โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู ตามทฤษฎีพหุป/ญญา คําสําคัญในการคนเอกสาร : คิดวิเคราะห8, ชุดกิจกรรม, พหุป/ญญา ชื่อเรื่องงานวิจัย : บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาที่สงเสริมการพัฒนา สุนทรียภาพและลักษณะนิสัยดานดนตรีของนักเรียนใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดเทศบาลในจังหวัดนครปฐม คําสําคัญในการคนเอกสาร : บทบาทของผูบริหาร, สุนทรียภาพ, ดนตรี ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


36 ชื่อเรื่องงานวิจัย : ป/จจัยที่สงผลตอแรงจูงใจในการศึกษาตอในสาขาวิชาชีพครู ของนักศึกษาชั้นปOที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม คําสําคัญในการคนเอกสาร: แรงจูงใจ, การศึกษาตอ, วิชาชีพครู ภาพที่ 2.1 เว็บไซต8 http://www.google.com การสืบคนเป&นเพียงขั้นตอนหนึ่งของการทบทวนวรรณกรรม หรือการศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวของ การสืบคนเป&นการหาแหลงที่อยูของเนื้อหาที่เกี่ยวของกับป/ญหาการวิจัย การสืบคน สามารถทําไดทั้งดวยมือ หรือการใชคอมพิวเตอร8 เพื่อหาแหลงใหบริการเอกสารอางอิง และคําหลัก เมื่อไดแลวจึงไปคนอานบทคัดยอ และเลือกวรรณกรรมที่เกี่ยวของที่สุด เพื่ออานฉบับเต็มตอไป โดยวิธีการสืบคนวรรณกรรมหรือเอกสารที่เกี่ยวของทําไดดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2547, หนา 79-80) 1. วิเคราะห8ป/ญหาการวิจัย กอนทบทวนวรรณกรรมตองกําหนดป/ญหาการวิจัยให เฉพาะเจาะจง และวิเคราะห8ป/ญหานั้น เชน ป/ญหา หรือโจทย8วิจัยวา การสอนดวยการเนนผูเรียน เป&นศูนย8กลางในวิชาสถิติมีประสิทธิผลหรือไม 2. กําหนดประเภทของการสืบคน การสืบคนจะทําดวยเหตุผลหลายประการ เริ่มตั้งแต การสืบคนเบื้องตนเพื่อเลือกและกําหนดป/ญหาการวิจัย จะเป&นการสืบคนเนื้อหาแบบกวาง ไมกําหนด ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


37 เนื้อหาวาจะพิมพ8มาแลวกี่ปO สวนการสืบคนเนื้อหาเฉพาะเพื่อตรวจสอบดูรายละเอียดในระดับลึก สืบคนเนื้อหาในวงแคบ และเนนไปที่ตีพิมพ8ในระยะประมาณ 10 ปO 3. เลือกบริการเอกสารอางอิง หรือฐานขอมูล เลือกแหลงเอกสารอางอิง และฐานขอมูล สําหรับสืบคนวรรณกรรมที่ตองการ เพื่อใหรูวาขอมูลเนื้อหาที่ตองการมีอยูในหนังสืออะไร เก็บไวที่ไหน 4. เลือกคํา และขอความสืบคน ปกติคําหรือขอความที่ใชสืบคนจะใชชื่อ ตัวแปรและชื่อ ประชากรจากป/ญหา และสมมติฐานการวิจัย ซึ่งคําสําคัญที่ใชเพื่อใหสืบคนไดงาย ควรกําหนดดวย คําที่เกี่ยวของ หรือคําเฉพาะ 5. ดําเนินการสืบคนวรรณกรรม ขั้นตอไปก็ดําเนินการสืบคนได ซึ่งจะใชสืบคนดวยมือ หรือคอมพิวเตอร8ก็ได ถาสืบคนดวยมือก็ตองใชคําสําคัญที่กําหนดไวแลวไปคนหาในดัชนีคนเรื่อง เพื่อจะไดบรรณานุกรมของแหลงวรรณกรรมที่ตองการ ถาใชคอมพิวเตอร8ชวยคน จะทําใหสะดวกและ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยปQอนขอมูลที่ตองการ (ชื่อผูเขียน ชื่อหนังสือ หรือชื่อหัวเรื่อง) ลงไปใน คอมพิวเตอร8ตามวิธีการที่คอมพิวเตอร8บอกหรือกําหนดไว ก็จะไดสิ่งที่ตองการแสดงบนหนาจอ ซึ่งผูใช จะตองเลือกตอไปวาจะใชเลมไหน และปQอนคํา หรือขอความสําคัญดังกลาวลงไป สั่งพิมพ8จะไดแหลง ที่ใชสืบคนตามตองการ 6. การวิเคราะห8ผล เมื่อสั่งใหคอมพิวเตอร8สืบคนให และสั่งพิมพ8 ผลการพิมพ8จะใหขอมูล เป&น 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 มีเฉพาะชื่อ และหมายเลขสืบคน ระดับที่ 2 ใหบรรณานุกรมที่มีรายละเอียด ของแหลงวรรณกรรมสมบูรณ8 และระดับที่ 3 นอกจากมีรายละเอียดตามระดับที่ 1 และ 2 แลวจะมี บทคัดยอเพิ่มมาดวย แตมักจะตองเสียคาใชจาย เมื่ออานวิเคราะห8ผลก็จะทราบวา แหลงวรรณกรรม ที่ตองการอยูที่ใด และถาเป&นระดับที่ 3 ก็จะสามารถคัดสรรวรรณกรรมที่เกี่ยวของไดดวย 7. หาแหลงที่เก็บ ในขั้นตอนนี้จําเป&นตองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การจัดเก็บ สิ่งพิมพ8 และวัสดุหองสมุด การจัดเก็บขอมูลสารสนเทศของหองสมุดมีวิธีการจัดเก็บหลายระบบ หองสมุดสวนมากใชระบบทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบรัฐสภาอเมริกัน ในการใชหองสมุด ถาตองการ ใหสะดวกรวดเร็ว ตองสืบคนที่อยูจากบัตรรายการซึ่งจะมีเลขหมูหนังสืออยูที่ดานซายของบัตร สําหรับ นําไปคนหาหนังสือจากชั้นวาง บัตรรายการหองสมุดโดยทั่วไปหนังสือ 1 เลม จะทําบัตรรายการ แยกเป&น บัตรผูเขียน บัตรผูเขียนรวม บัตรชื่อเรื่อง (ชื่อหนังสือ) และบัตรหัวเรื่อง ในการสืบคนเพื่อหาแหลงขอมูลหรือที่อยูของเนื้อหาที่เกี่ยวของกับการวิจัย สามารถทํา ไดหลายวิธี ทั้งการสืบคนดวยตนเองและการใชคอมพิวเตอร8สืบคนผานระบบเครือขายอินเทอร8เน็ต ไปยังแหลงขอมูลนั้นโดยตรง หรือเชื่อมตอผานหนวยงาน เชน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย โดยหนาหลักของหนวยงานหรือสถาบันการศึกษาเหลานี้จะมีกลองขอความในหนาหลัก ใหผูที่สนใจสามารถเชื่อมตอไปยังหนวยงานและมหาวิทยาลัยอื่นได การเลือกวิธีการหรือเลือก ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


38 แหลงขอมูลในการสืบคนขอมูล ผูวิจัยควรคํานึงถึงสาระสําคัญขอมูลที่ตองการเป&นหลักสําคัญ แลวจึง เลือกวิธีการและแหลงของขอมูลที่จะใหไดมาซึ่งขอมูลที่ตองการตอไป การสืบคนขอมูลควรสืบคนจาก หลายแหลงมาประกอบกัน เพื่อเป&นการตรวจสอบยืนยันความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูลดวย การนําเสนอผลการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ การนําเสนอผลการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ จะไมใชการนําเสนอแตเพียงสิ่งที่ผูวิจัย คนความาเทานั้นแตยังเป&นการแสดงถึงความสามารถในการวิเคราะห8 สังเคราะห8และการนําเสนอ อยางนาสนใจ พิสณุ ฟองศรี (2552, หนา 63-64) กลาววา การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของตองเริ่มดวย การคนควาจากแหลงที่หลากหลาย แลวนํามาวิเคราะห8 สังเคราะห8 สรุป เพื่อความเขาใจ และสอดคลอง กับเนื้อหา วัตถุประสงค8 กรอบแนวคิดหรือสมมติฐานกับงานวิจัยที่ทํา นําเสนอโดยคํานึงถึงตัวแปร หรือความสัมพันธ8ระหวางตัวแปรที่ศึกษาเป&นหลัก ไมควรนําเสนอเรียงตามตัวอักษรของผูที่ไดคนความา หรือตามชวงเวลา ทั้งนี้ควรนําเสนอผลในรูปของการวิเคราะห8 สังเคราะห8 และสรุป ใหเป&นไปตาม ความคิดของตน เนื่องจากในป/จจุบันแหลงขอมูลในการศึกษาคนความีมากและคนควาไดงายขึ้นดังกลาว มาแลว งานวิจัยบางเรื่องมีเอกสารที่เกี่ยวของมาก จึงตองคนความาก จากนั้นจะตองนําขอมูลที่ไดจาก การคนความาวิเคราะห8 สังเคราะห8 สรุปใหเป&นระบบ ยิ่งไดเอกสารที่เกี่ยวของมากตองใชเวลาในการ เรียบเรียงมาก สิ่งที่จะไดคุมคาคือความครอบคลุม แตถาไมสามารถสรุปไดก็เทากับวา จมอยูใน กองขอมูล ทําใหลาชายิ่งขึ้น โดยแนวทางในการสรุปผลการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ สามารถปฏิบัติ ดังนี้คือ หลังจากคัดเลือกเอกสารที่ใชไดก็ใหเรียบเรียงตามลําดับตัวแปร หรือความสัมพันธ8ระหวาง ตัวแปร โดยกําหนดโครงสรางของบทที่ 2 วา ประกอบดวยหัวขอหลัก หัวขอรอง และหัวขอยอยอะไรบาง โดยทั่วไปหัวขอใหญมักจะมี 2-3 หัวขอเป&นอยางต่ํา คือ หัวขอตัวแปรที่ศึกษา ถามีหลายตัวแปรก็อาจ มีหลายขอตามตัวแปร ถามีมากก็อาจจัดเป&นกลุมตัวแปรและหัวขอหลัก สุดทายจะเป&นงานวิจัย ที่เกี่ยวของ แยกเป&นหัวขอรอง คือ งานวิจัยในประเทศ และตางประเทศ บางครั้งนอกจากจะเรียบเรียง ตามจํานวนตัวแปรแลว ยังตองเพิ่มความสัมพันธ8ของตัวแปรดวย เชน มีตัวแปร 2 ตัวแปร ที่จะสัมพันธ8 เกี่ยวของกัน อาจจะตองเรียบเรียงตัวแปรหัวขอใหญ 4 หัวขอ คือ หัวขอหลักของตัวแปรที่ 1 ตัวแปร ที่ 2 ตัวแปรที่ 1 กับ ตัวแปรที่ 2 สัมพันธ8กัน และงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยแตละหัวขอควร เรียบเรียง จากกวางไปหาแคบ และสุดทายจะตองเขาสูจุดที่จะทํา การเรียบเรียงแตละหัวขอหลัก หัวขอรอง หัวขอยอย ควรมีการสรุปเป&นขั้นเพื่อความเขาใจ อยางแทจริง ทําใหทราบชองวาง การซ้ําซอน หรือไมตรงประเด็นได และจะมีประโยชน8ในการเขียน ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


39 นิยามศัพท8เฉพาะไดสอดคลองกับเรื่องที่ศึกษา และการออกแบบเครื่องมือที่จะใชเก็บรวบรวมขอมูล ไดตรงตามวัตถุประสงค8ของการวิจัย สวนป/ญหาในการเรียบเรียงเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย คือ การขาดเนื้อหาของตัวแปรที่สําคัญ มีแตไมสมบูรณ8 ลาสมัย ขาดการสรุป และเชื่อมโยง การสรุป ถาเป&นไปไดควรสรุปตั้งแตหัวขอยอย ยกเวนถามีเนื้อหานอยอาจไมตองสรุป การสรุปหัวขอรองใหนํา ขอสรุปจากหัวขอยอยมาสรุปรวม สวนหัวขอหลักใหนําหัวขอรองมาสรุปรวม สุดทายคือสรุปทั้งบท โดยนําทุกหัวขอหลักมาสรุปใหสอดคลองกับเรื่องที่จะทํา วัตถุประสงค8 กรอบแนวคิดหรือสมมติฐาน การศึกษา สรุป วิเคราะห8 สังเคราะห8 และการนําเสนอผลการศึกษาเป&นสิ่งที่มีความสําคัญ เพราะนอกจากจะทําใหผูวิจัยเขาใจแนวคิด ทฤษฎีแลวยังทําใหผูวิจัยมีความมั่นใจในการนําเสนอ กรอบแนวคิด วิธีดําเนินการวิจัยของตนเองไดอยางนาเชื่อถือ และยังเป&นการแสดงถึงความสามารถ ในการเรียบเรียงและถายทอดองค8ความรูของผูวิจัยสูผูอานดวย โดยในการนําเสนอผลการศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของจะประกอบดวย 2 สวนหลักคือ สวนที่ 1 นิยาม แนวคิด ทฤษฎีของตัวแปรที่เกี่ยวของกับการวิจัย โดยทั่วไปผูวิจัยจะ ศึกษานิยาม แนวคิด ทฤษฎีของตัวแปรตนและตัวแปรตามเป&นหลัก และอาจมีการศึกษาเพิ่มเติม เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของ สวนที่ 2 การศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งงานวิจัยในประเทศและตางประเทศ โดยทั่วไป ผูวิจัยจะศึกษากระบวนการวิจัย กลุมตัวอยาง เครื่องมือ วิธีการในการวิเคราะห8ขอมูลและผลการวิจัย ที่พบ ภาพที่ 2.2 การวางโครงรางการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวิจัยเพื่อเป&น พื้นฐานในการวิจัยครั้งนี้โดยนําเสนอตามลําดับดังนี้ 1. แนวคิด/ทฤษฎีเกี่ยวกับ.............. 2. แนวคิด/ทฤษฎีเกี่ยวกับ ............ 3. .................................................. 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 4.1 งานวิจัยในประเทศ 4.2 งานวิจัยตางประเทศ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


40 การรายงานการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ควรเขียนใหผสมผสานเป&นเรื่อง เดียวกัน มีการวิเคราะห8 สรุป และสังเคราะห8เป&นความรู ความคิดของผูวิจัย และควรเชื่อมโยงแนวคิด ทฤษฎีที่ศึกษามาไปสูการวิจัยใหชัดเจน ในการศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตองสรุปสาระสําคัญ ที่ศึกษาทั้งสวนที่สนับสนุนและขัดแยงกับสิ่งที่ผูวิจัยตองการคนหาคําตอบ และเชื่อมโยงสาระสําคัญ ที่ศึกษามาไปสูการวิจัยครั้งนี้ดวย เชน ชื่อเรื่อง: การพัฒนาหลักสูตรการอาชีพเพาะเห็ดฟางสําหรับผูประกอบการรุนเยาว8 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย กนกอร ดอนพรมมะ (2554, หนา 17-18) ผูวิจัยไดศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความรูเกี่ยวกับหลักสูตร 3. ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร 4. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 5. การเป&นผูประกอบการ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาวขางตน จะเห็นไดวา ผูวิจัยจะ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่ผูวิจัยสนใจศึกษา เชน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผูวิจัย ไดนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ (2550, หนา 6-9) ไดกําหนด 8 คุณธรรมพื้นฐานนี้ขึ้นเพื่อเป&น แนวทางใหกับสถานศึกษาไดนําไปประยุกต8ใชตามเหตุการณ8และป/ญหาในทองถิ่นของตน สําหรับเด็ก และเยาวชนทุกคนขอใหนําไปคิดทบทวน ประพฤติ ปฏิบัติใหเป&นนิสัย เพื่อใหเกิดผลดี ทั้งตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ 1. ขยัน ความหมาย คือ ความตั้งใจเพียรพยายามทําหนาที่การงานอยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ อดทน ไมทอถอยเมื่อพบอุปสรรค ความขยันตองปฏิบัติควบคูกับการใชสติป/ญญา แกป/ญหา จนเกิดผลงานสําเร็จตามความมุงหมาย คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีความขยัน คือ ผูที่ตั้งใจทําอยางจริงจังตอเนื่อง ในเรื่องที่ถูกที่ควร ผูที่เป&นคนสูงาน มีความพยายาม ไมทอถอย กลาเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทํา ตั้งใจ ทําหนาที่อยางจริงจัง 2. ประหยัด ความหมาย คือ การรูจักเก็บออมถนอมใชทรัพย8สินสิ่งของแตพอควร พอประมาณใหเกิดประโยชน8คุมคาไมฟุkมเฟlอย ฟุQงเฟQอ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


41 คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีความประหยัด คือ ผูที่ดําเนินชีวิตความเป&นอยู ที่เรียบงาย รูจักฐานะการเงินของตน คิดกอนใช คิดกอนซื้อ เก็บออม ถนอมใชทรัพย8สินสิ่งของอยาง คุมคา รูจักทําบัญชีรายรับและรายจายของตนเองอยูเสมอ 3. ซื่อสัตย8 ความหมาย คือ ประพฤติตรงไมเอนเอียง ไมมีเลห8เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรูสึกลําเอียงหรืออคติ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีความซื่อสัตย8 คือ ผูที่มีความประพฤติตรงทั้งตอหนาที่ ตอวิชาชีพ ตรงตอเวลา ไมใชเลห8กลคดโกงทั้งทางตรงและทางออม รับรูหนาที่ของตนเอง และปฏิบัติ อยางเต็มที่ ถูกตอง 4. มีวินัย ความหมาย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ขอบังคับ และขอปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเองและวินัยตอสังคม คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีวินัย คือ ผูที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของ สถานศึกษา สถาบัน องค8กร สังคม และประเทศ โดยที่ตนเองยินดีปฏิบัติตามอยางเต็มใจและตั้งใจ เชน การแตงกายที่ถูกตองตามระเบียบ เขาแถวรับบริการตามลําดับ 5. สุภาพ ความหมาย คือ เรียบรอย ออนโยน ละมุนละมอม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีความสุภาพ คือ ผูที่ออนนอมถอมตนตามสถานภาพและ กาลเทศะ ไมกาวราวรุนแรง วางอํานาจ ขมผูอื่นทั้งโดยวาจาและทาทาง แตในเวลาเดียวกัน ยังคง มีความมั่นใจในตนเอง เป&นผูมีมารยาทวางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย 6. สะอาด ความหมาย คือ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดลอม ความผองใส เป&นที่เจริญตา ทําใหเกิดความสบายใจแกผูพบเห็น คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีความสะอาด คือ ผูที่รักษารางกาย ที่อยูอาศัยสิ่งแวดลอม ถูกตองตามสุขลักษณะ ฝnกฝนจิตใจมิใหขุนมัว จึงมีความแจมใสอยูเสมอ 7. สามัคคี ความหมาย คือ ความพรอมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน รวมใจกันปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามที่ตองการอยางสรางสรรค8 ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไมเอารัด เอาเปรียบกัน เป&นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกตาง ความหลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรื่องเชื้อชาติ ความกลมเกลียวกันในลักษณะเชนนี้เรียกอีกอยางวา ความ สมานฉันท8 คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูที่มีความสามัคคี คือ ผูที่เปhดใจกวาง รับฟ/งความคิดเห็นของ ผูอื่น รูบทบาทของตน ทั้งในฐานะผูนําและผูตามที่ดี มีความมุงมั่นตอการรวมพลังชวยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อใหการงานสําเร็จลุลวง แกป/ญหาและขจัดความขัดแยงได เป&นผูมีเหตุผล ยอมรับความแตกตาง หลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ ความพรอมที่จะปรับตัวเพื่ออยูรวมกันอยางสันติ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


42 8. มีน้ําใจ ความหมาย การมีน้ําใจ คือ ความจริงใจที่ไมเห็นแกเพียงตัวเองหรือเรื่องของ ตัวเอง แตเห็นอกเห็นใจ เห็นคุณคาในเพื่อนมนุษย8 มีความเอื้ออาทร เอาใจใสในความสนใจในความ ตองการ ความจําเป&น ความทุกข8สุขของผูอื่น และความพรอมที่จะใหความชวยเหลือเกื้อกูลกันและกัน คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผูมีน้ําใจ คือ ผูใหและผูอาสาชวยเหลือสังคม รูจักแบงป/น เสียสละความสุขสวนตน เพื่อทําประโยชน8แกผูอื่น เขาใจ เห็นใจ ผูที่มีความเดือดรอน อาสาชวยเหลือ สังคมดวยแรงกาย สติป/ญญา ลงมือปฏิบัติการเพื่อบรรเทาป/ญหาหรือรวมสรางสรรค8สิ่งดีงาม ใหเกิดขึ้นในชุมชน สรุปไดวา กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ไดแก ขยัน ประหยัด ซื่อตรง มีวินัย สะอาด สุภาพ สามัคคี มีน้ําใจ เป&นเปQาหมายหลักของการดําเนินชีวิตของ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ในโรงเรียนประมาณ 15 ลานคน และใหโรงเรียนเป&นฐานเชื่อมโยงกับสถาบัน ครอบครัว และสถาบันศาสนา สรางเป&นวัฒนธรรมสถานศึกษาหรือวิถีชีวิตของทุกคนในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเป&นคนดี มีความรู และอยูดีมีสุข ในการวิจัยนี้ผูวิจัยไดนําคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ไดแก ขยัน ประหยัด ซื่อตรง มีวินัย สะอาด สุภาพ สามัคคี และมีน้ําใจ สอดแทรกลงในกระบวนการจัดการเรียนรูของการพัฒนาหลักสูตร การอาชีพเพาะเห็ดฟางสําหรับผูประกอบการรุนเยาว8ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ กําหนดเป&นคุณลักษณะที่เกิดขึ้นหลังการใชหลักสูตร จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยจะเห็นไดวาผูวิจัยไดทําการคนหาขอมูล การคัดเลือกเอกสารและรายงานวิจัย เพื่อสรุปแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย ซึ่งจะทําใหผูวิจัย เกิดความชัดเจนในการกําหนดตัวแปรที่ศึกษา ขอบเขตของการวิจัย การนิยามศัพท8และการวัดตัวแปร การศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของ ประภาวัลย8 ชวนไชยะกูล (2554, หนา 129-137) ไดทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาสภาพ และผลกระทบของโรงเรียนกวดวิชาในประเทศไทย มีวัตถุประสงค8การวิจัยเพื่อศึกษาสภาพและ ผลกระทบของโรงเรียนกวดวิชาในประเทศไทย มีขั้นตอนการวิจัย 2 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 สัมภาษณ8 ผูบริหารโรงเรียนกวดวิชา จากนั้นจึงนําบทสัมภาษณ8มาวิเคราะห8 เพื่อจัดทํากรอบแนวคิดและจัด สนทนากลุมผูเชี่ยวชาญ กลุมตัวอยางเป&นผูบริหารโรงเรียนกวดวิชา จํานวน 12 คน และผูเชี่ยวชาญ 12 คน โดยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสัมภาษณ8 และแบบ บันทึกขอมูลการสนทนากลุม ผลจากการสัมภาษณ8นํามาวิเคราะห8เนื้อหา ขั้นที่ 2 ศึกษาความคิดเห็น เกี่ยวกับสภาพและผลกระทบของโรงเรียนกวดวิชาในประเทศไทย กลุมตัวอยางเป&นโรงเรียนกวดวิชา ในประเทศไทย ปOการศึกษา 2553 จํานวน 12 โรงเรียนใน 4 ภูมิภาค ภูมิภาคละ 3 โรงเรียน โดยใช วิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน ไดกลุมตัวอยางที่เป&นผูใหขอมูล 4 กลุม ไดแก ผูบริหาร จํานวน 12 คน ผูสอน จํานวน 48 คน ผูเรียน จํานวน 240 คน และผูปกครอง จํานวน 60 คน เครื่องมือที่ใชในการ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


43 วิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห8ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม ใชวิธีการคํานวณ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา สภาพของโรงเรียนกวดวิชาในดานบริบทและสภาพ ภายในของโรงเรียนกวดวิชามีความเหมาะสม อยูในระดับมาก สวนการศึกษาผลกระทบของโรงเรียน กวดวิชาในประเทศไทย พบวาผลกระทบดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ ดานสังคมและดานคานิยม และจิตวิทยา อยูในระดับมาก ตามลําดับ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของดังกลาวขางตน จะเห็นไดวา ผูวิจัยจะศึกษางานวิจัยใน ประเด็นหรือสาระที่จะเป&นประโยชน8 หรือนํามาใชในการวิจัยของตนเองได โดยทั่วไปแลวผูวิจัยจะ ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวแปรในงานวิจัยของตนเองใหครอบคลุม เชน ป/ญหาที่ผูวิจัยสนใจจะ ศึกษาและหาคําตอบนั้นมีใครทําไวแลวหรือไม อยางไร ยังขาดประเด็นใดที่ยังไมไดศึกษาอีก กลุมตัวอยางที่ใชคือใคร เครื่องมือที่ใชคืออะไร สถิติที่ไดในการวิเคราะห8คืออะไร และผลที่ได จากการศึกษาในป/ญหาที่ใกลเคียงกันเป&นอยางไร ซึ่งขอมูลเหลานี้จะเป&นประโยชน8ตอนักวิจัยในการ นํามาใชเป&นแนวทางในการวิจัยของตนเอง จรรณยาบรรณในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ การคัดลอกผลงานของบุคคลอื่นโดยไมอางอิงหรือไดรับอนุญาตเป&นการการละเมิด จริยธรรมทางวิชาการ เป&นสิ่งที่ไมควรกระทําเป&นอยางยิ่ง ถือวาเป&นความผิดที่รายแรง ในป/จจุบัน พบวา ความกาวหนาทางเทคโนโลยีทําใหพบผูกระทําผิดโดยการละเมิดจริยธรรมทางวิชาการเป&น จํานวนมาก ดังนั้น หากบุคคลใดตองการที่จะนําเสนอความคิดของตนเองก็สามารถนําเนื้อหาหรือ เรื่องราว มาแลกเปลี่ยนเรียนรู อภิปราย วิเคราะห8 สังเคราะห8และนําเสนอเป&นผลงานของตนเองได โดยผูวิจัยสามารถอางอิงตํารา เอกสารหรือบทความ จากนั้นจึงสรุป วิเคราะห8 สังเคราะห8เป&นความคิด ของตนเอง ภายใตกรอบแนวคิด หรือทฤษฎีที่มีนักวิชาการไดใหขอมูลไว การอางอิงจึงควรทําให ครบถวนและถูกตองตามรูปแบบการอางอิงของหนวยงาน หรือสถาบันการศึกษาที่ไดกําหนดไว นอกจากนั้นผูวิจัยตองคํานึงถึงหลักการคัดลอกเอกสารนั้นดวย ซึ่งอาจคัดลอกบางสวน หรือคัดลอก ทั้งหมด ในการอางอิงก็จะมีรูปแบบการอางอิงที่แตกตางกันออกไป เชน การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของและมีการคัดลอกเป&นบางสวน ป/ญหาดานแรงจูงใจ (motivation problem) ของนักเรียนนั้นสามารถสังเกตไดจาก พฤติกรรมของนักเรียนแตละคน ดังนั้น ขั้นแรกครูตองสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนอยาง ละเอียดและเป&นระบบ ครูควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทุกคนและควรสังเกตจากการทํางาน หลากหลายประเภทในหลากหลายวิชา ความแตกตางนักเรียนจะไมถูกคนพบถาครูสังเกตนักเรียนใน บริบทการเรียนรูแบบเดียว การสังเกตการแสดงออกทางอารมณ8ของนักเรียนก็มีความสําคัญมาก ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


44 เชน ระหวางการทํางานนักเรียนมีทาทางกระตือรือรน ยิ้มแยม รูสึกตื่นเตนหรือดูเศรา เบื่อหนาย วิตก กังวล ทั้งนี้เพราะอารมณ8คือตัวบงชี้สําคัญที่แสดงถึงแรงจูงใจของนักเรียน อยางไรก็ตาม แมการสังเกต พฤติกรรมอยางละเอียดมีความจําเป&นอยางมาก แตก็ยังไมเพียงพอตอการวินิจฉัยป/ญหาดานแรงจูงใจ ของนักเรียนได (ประยุทธ ไทยธานี, 2554, หนา 11) การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยและมีการมีคัดลอกทั้งหมด ไพฑูรย8 สินลารัตน8 (2554, หนา 84) กลาววา การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้นในตนเองจากประสบการณ8ที่ไดรับระหวางการศึกษา กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังใหบัณฑิตมีอยางนอย 5 ดาน ดังนี้ 1. ดานคุณธรรม จริยธรรม (ethics and moral) หมายถึง การพัฒนานิสัยในการ ประพฤติอยางมีคุณธรรม จริยธรรม และดวยความรับผิดชอบทั้งในสวนตนและสวนรวม ความสามารถ ในการปรับวิถีชีวิตในความขัดแยงทางคานิยม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนทางศีลธรรม ทั้งในเรื่อง สวนตัวและสังคม 2. ดานความรู (knowledge) หมายถึง ความสามารถในการเขาใจการนึกถึงและการ นําเสนอขอมูล การวิเคราะห8และจําแนกขอเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการตางๆ และสามารถเรียนรูดวยตนเอง 3. ดานทักษะทางป/ญญา (cognitive skill) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห8 สถานการณ8และใชความรู ความเขาใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการตางๆ ในการ คิดวิเคราะห8และการแกป/ญหา เมื่อตองเผชิญกับสถานการณ8ใหมๆ ที่ไมไดคาดคิดมากอน 4. ดานทักษะความสัมพันธ8ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (interpersonal skills and responsibility) หมายถึงความสามารถในการทํางานเป&นกลุม การแสดงถึงภาวะผูนํา ความ รับผิดชอบตอตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรูตนเอง 5. ดานทักษะการวิเคราะห8เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (numerical analysis, communication and information technology skills) หมายถึง ความสามารถ ในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากผลการเรียนรูทั้ง 5 ดานนี้ บางสาขาวิชาตองการทักษะทางกายภาพสูง เชน การ เตนรํา ดนตรี การวาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย8 และวิทยาศาสตร8การแพทย8 จึงตอง เพิ่มการเรียนรูทางทักษะพิสัย (domain of psychomotor skill) จากการศึกษาการคัดลอกเอกสารทั้งแบบคัดลอกบางสวนและการคัดลอกทั้งหมด จะมี ขอแตกตางกันคือ รูปแบบการอางอิง โดยการคัดลอกบางสวนนิยมอางอิงตอทาย หรือแทรกในเนื้อหา สวนการคัดลอกทั้งหมดจะอางอิงกอนการกลาวถึงขอความหรือสิ่งที่อางอิงมา การศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวของกับการวิจัยนั้นเป&นสิ่งที่ตองระมัดระวังเป&นอยางยิ่งทั้งในดานการคัดเลือกเนื้อหา รูปแบบ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


45 การอางอิง แตอยางไรก็ตาม ผูวิจัยจะอางอิงแบบใดนั้นก็ขอใหเลือกใชรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งให เหมือนกันตลอดทั้งเลมรายงานการวิจัย บทสรุป การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ หมายถึง การศึกษา คนควา รวบรวม ตรวจสอบ และการ นําเสนอสารสนเทศที่มีความเกี่ยวของสัมพันธ8กับเรื่องที่ทําวิจัย การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ มีวัตถุประสงค8เพื่อใหผูวิจัยไดรับรูขอมูลสารสนเทศที่ตองใชในการวิจัยทั้งหมด รวมทั้งทําใหผูวิจัยเกิด ความชัดเจน สามารถกําหนดขอบเขตของป/ญหา หลีกเลี่ยงการทําวิจัยในหัวขอเรื่องที่ไดมีการพิสูจน8 หรือคนพบแลว สามารถทํางานวิจัยตอเนื่องจากบุคคลอื่น สามารถวางแผนการดําเนินการวิจัยได อยางมีประสิทธิภาพ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของอยางรัดกุมและเหมาะสม จะทําใหผูวิจัยสามารถนํา ความรู หรือขอมูลที่ไดศึกษามานั้นถายทอดสูงานวิจัยได ทั้งการอธิบายที่มาและความสําคัญ ของป/ญหา วัตถุประสงค8 สมมติฐาน ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท8 ประโยชน8ที่คาดวาจะไดรับ วิธีดําเนินการวิจัย การนําเสนอผลการวิจัย และการอภิปรายผลการวิจัย แหลงในการศึกษาเอกสาร มีมากมายหลายแหลง เชน หนังสือทั่วไป หนังสืออางอิง วิทยานิพนธ8 ฯลฯ ในการนําเสนอผล การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของสามารถนําเสนอไดในหลายรูปแบบ เชน 1) การนําเสนอ แบบสรุปจากแนวคิดที่มีผูศึกษาไวแลวและผูวิจัยไดสรุปสาระดังกลาว 2) การนําเสนอแบบวิเคราะห8 ประเด็นที่มีผูศึกษาไวแลววามีประเด็นใดบางที่เหมือนและแตกตางกันและผูวิจัยใชการสังเคราะห8 ประเด็นดังกลาวเป&นขอสรุปหรือองค8ความรูใหม 3) การนําเสนอแบบบูรณาการแนวคิดที่มีผูศึกษาไว และผูวิจัยใชการบรรยายใหเห็นถึงความสอดคลองและสรุปสาระสําคัญที่ไดศึกษามาแลว ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ผูวิจัยมักพบป/ญหาในเรื่องของการกําหนดหัวขอที่จะ ศึกษา หรือไมสามารถหาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับประเด็นที่ตนเองสนใจจะศึกษา แตผูวิจัย ก็สามารถจะศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ หรือใกลเคียงและเป&นประโยชน8ตอการวิจัย โดยพิจารณา ใหความสําคัญกับการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับตัวแปรตนและตัวแปรตามของงานวิจัย นอกจากนี้ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยตองตระหนักถึงความสําคัญของจริยธรรมทางวิชาการ อยูเสมอ ไมควรละเมิดผลงานทางวิชาการ หากคัดลอกแนวคิดของผูอื่นก็ควรอางอิงใหถูกตอง ในป/จจุบันพบวาผูวิจัยใหความสําคัญกับการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของนอยมาก นักศึกษา ในระดับปริญญาโทและครูประจําการมักจะเริ่มตนการทําวิทยานิพนธ8และงานวิจัยของตนเองจากการ ตั้งชื่อเรื่องและเขียนที่มาและความสําคัญของป/ญหาและวัตถุประสงค8การวิจัยโดปราศจากการศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนและความไมชัดเจนของการกําหนดกรอบ แนวคิดในการวิจัย และยังพบวาในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของผูวิจัยละเลยตอการ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


46 วิเคราะห8และการสังเคราะห8ทําใหการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของถูกนําไปใชประโยชน8ใน งานวิจัยไดนอย การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของนอกจากจะทําใหผูวิจัยเกิดความชัดเจนและ สามารถวางแผนและกําหนดกระบวนการวิจัยไดอยางถูกตองเหมาะสมแลว การศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของยังเป&นการพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู การสรางความรู การแลกเปลี่ยน ความรูและการทํางานรวมกับผูอื่นและการบูรณาการความรู ซึ่งการพัฒนาทักษะการจัดการความรู ดังกลาว สามารถใชกระบวนการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเป&นกระบวนการในการ ฝnกทักษะนี้ได คําถามทบทวน คําชี้แจง จงตอบคําถามหรือปฏิบัติกิจกรรมทุกขอตอไปนี้ 1. เอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยหมายถึงอะไรและมีวัตถุประสงค8ในการศึกษาเพื่ออะไร 2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของมีประโยชน8อยางไร 3. ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย ผูวิจัยควรศึกษาประเด็นใดบาง เพราะเหตุใด 4. หากทานเป&นนักวิจัย ทานจะมีแนวทางในการนําเสนอผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ อยางไร 5. ใหทานนําเสนอวิธีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยมีที่คิดวามีความเหมาะสมมากที่สุด 6. จรรณยาบรรณในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของมีความสําคัญอยางไรและทานจะนําไปใชในการทํา วิจัยอยางไร 7. เอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยมีกี่ประเภท อะไรบาง แตละประเภทมีแนวทางในการศึกษาคนควา อยางไร 8. ผูวิจัยสามารถคนควาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยไดจากแหลงใดบาง 9. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย ควรใหความสําคัญกับเรื่องใดที่สุด เพราะเหตุใด 10. อุษาทํางานวิจัยเรื่องหนึ่งและไดแปลบทคัดยองานวิจัยตางประเทศไว 1 เรื่อง ในงานวิจัยที่เกี่ยวของ (ในบทที่ 2) ธานีอยากจะคัดลอกงานวิจัยเรื่องดังกลาวที่อุษาแปลไว ถาทานเป&นธานีทานจะทําอยางไร เพราะอะไร ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


47 บทที่ 3 การกําหนดปญหาในการวิจัย ปญหาการวิจัยเปนขอสงสัยเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณที่บ"งบอกใหทราบว"า ผูวิจัยตองการทราบคําตอบหรือความรูความจริงในลักษณะใด การกําหนดปญหาวิจัยเปนสิ่งที่มี ความสําคัญต"อการวิจัย ดังนั้นผูวิจัยจะตองเลือกว"าปญหานั้นคืออะไร และเลือกอย"างไรจึงจะไดปญหา ที่มีคุณค"าและเหมาะสมกับความรูความสามารถและขอจํากัดของผูวิจัย การไดหัวขอปญหา ที่เหมาะสมมีความสําคัญมากต"อการทําวิจัย นอกจากจะทําใหงานวิจัยนั้นเปนงานวิจัยที่มีคุณค"าแลว ยังสามารถนําไปใชไดจริง ซึ่งจะเปนประโยชนต"อการศึกษาและการพัฒนาในศาสตรหรือวิชาชีพต"อไป นอกจากนั้น การกําหนดปญหาวิจัยจะนําไปสู"การตั้งชื่อเรื่องวิจัย การเขียนที่มาและความสําคัญของ ปญหาอย"างชัดเจน ขอบเขตการวิจัย ตัวแปร นิยามศัพท และประโยชนที่คาดว"าจะไดรับอีกดวย จากความสําคัญของการกําหนดปญหาการวิจัยดังกล"าว ในบทนี้จึงนําเสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการ กําหนดปญหาในการวิจัยที่จะเปนประโยชนต"อการนําไปใชในการวิจัยตามลําดับ ดังนี้ 1. ความหมายและที่มาของปญหาการวิจัย 2. การตั้งชื่อเรื่อง หรือหัวขอปญหาการวิจัย 3. การเขียนความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย 4. ขอบเขตของการวิจัย 5. ตัวแปรที่ใชในการวิจัย 6. นิยามศัพทเฉพาะ 7. ประโยชนที่คาดว"าจะไดรับ ความหมายและที่มาของปญหาการวิจัย ความหมายของปญหาการวิจัย ปญหาเปนความแตกต"างระหว"างสภาพที่คาดหวังกับสภาพที่เปนจริง หรือสิ่งที่เกิดขึ้น ไม"สอดคลองกับความตองการที่มีอยู"หรือความคาดหวัง จึงทําใหเกิดความรูสึกคับของใจ ดังนั้น ปญหา การวิจัยจึงหมายถึง ขอสงสัย หรือประเด็นคําถามที่ผูวิจัยตองการหาคําตอบโดยใชกระบวนการวิจัย การพิจารณาปญหาการวิจัยสามารถแบ"งไดเปน 3 ลักษณะ ดังนี้ ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


48 1. ปญหาเชิงประจักษ หมายถึง ปญหาที่อาจเกิดมาก"อนในอดีตจนถึงปจจุบันโดยสภาพ ที่เปนจริงต่ํากว"าสภาพที่คาดหวัง 2. ปญหาเชิงปBองกัน หมายถึง ปญหาที่ไม"เคยเกิดขึ้นในอดีตและปจจุบันแต"อาจเกิดขึ้น ในอนาคต 3. ปญหาเชิงพัฒนา หมายถึง ปญหาที่สภาพที่เปนจริงไม"ต่ํากว"าสภาพที่คาดหวัง แต"ตองการพัฒนาใหสูงขึ้น ปญหาการวิจัยจะมีลักษณะเปนขอสงสัยของผูวิจัยต"อสภาพการณ ทั้งที่เปนปญหา ที่เกิดขึ้นจากความแตกต"างของสภาพที่เปนจริงและสภาพที่คาดหวัง หรืออาจเปนปญหาที่ยังไม"เกิดขึ้น หรืออาจไม"ใช"ปญหาแต"เปนสิ่งที่ผูวิจัยเห็นการทําวิจัยเรื่องนั้น แลวจะเปนประโยชนต"อบุคคลหรือ องคกรที่เกี่ยวของ แต"อย"างไรก็ตามผูวิจัยควรพิจารณาลักษณะของปญหาการวิจัยที่ดีดังนี้ 1. เปนปญหาที่มีความสําคัญและเปนประโยชน ปญหาการวิจัยนั้นควรมีความสําคัญและ เปนประโยชนต"อวงการการศึกษา วิชาการและสาขาวิชาอื่น เช"น ปญหาการพัฒนาคุณภาพการสอน 2. เปนปญหาที่ตองสามารถหาคําตอบได ปญหาการวิจัยที่ดีควรมีความเปนไปได สามารถ หาคําตอบไดโดยวิธีการเชิงประจักษ 3. เปนปญหาที่สอดคลองกับความสามารถ ประสบการณ ความสนใจและความถนัดของ ผูวิจัย การทําวิจัยในเรื่องที่ผูวิจัยไม"ถนัด หรือไม"มีประสบการณจะทําใหผูวิจัยตองเสียเวลาในศึกษา คนความากขึ้น รวมถึงทําใหผูวิจัยอาจเกิดความทอแท เบื่อหน"ายและทําใหเกิดเจตคติทางลบ ต"อการวิจัย 4. เปนปญหาที่ไม"ซ้ําซอนกับผูอื่น หรือเปนการสรางองคความรูใหม"ที่เปนประโยชน ต"อวงการศึกษา ที่มาของปญหาการวิจัย สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ (2550, หนา 29-30) กล"าวว"า ในการกําหนดหัวขอเรื่องสําหรับ การวิจัย ก"อนอื่นผูที่จะทําการวิจัยจะตองทราบว"าตนเองมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่องอะไรอย"างชัดเจน จึงจะสามารถกําหนดสิ่งที่ตนเองสนใจใหเปนหัวขอสําหรับการวิจัยได ในการระบุ หรือกําหนดหัวขอ จะตองมีการเรียบเรียงชื่อเรื่องใหเปนที่น"าสนใจ และชัดเจนสําหรับผูอื่น ซึ่งการทําการดังกล"าวนี้ มีหลักหรือแนวทางทั่วไปบางประการที่ช"วยใหการเลือกหัวขอ และการตั้งชื่อเรื่องสําหรับการวิจัยให น"าสนใจ และชัดเจน ความรูเกี่ยวกับหลักหรือแนวทางเหล"านี้ จะช"วยใหผูที่ทําการวิจัยสามารถกําหนด หัวขอเรื่องที่จะทําการวิจัยไดรวดเร็วขึ้น มีความชัดเจนในสิ่งที่ตนเองตองการวิจัย และมีความเชื่อมั่น ในตนเองมากขึ้น โดยหัวขอการวิจัยอาจไดมาจากแหล"ง ดังนี้ คือ ผูที่จะทําการวิจัยเอง วรรณกรรม ใช้เพ ื่อการศ ึ กษาเท่านั้น


Click to View FlipBook Version