1 หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
2 ค าน า หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ได้มีการ ปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างหลักสูตรและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม จึงด าเนินการจัดท าหลักสูตร โรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้า สู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 และทิศทาง นโยบาย และจุดเน้นของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นข้อก าหนดในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน เพื่อ พัฒนาส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์สร้างสรรค์เทคโนโลยีสามารถท างาน ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ ขอขอบคุณคณะกรรมการบริการหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มบริหารวิชาการ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ร่วมกันพัฒนาและจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาที่มีความสมบูรณ์ เหมาะสมส าหรับการจัดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (นายวิฑูรย์ ค าจริง) ผู้อ านวยการโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม
ก ประกาศโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ------------------------------------------- ตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) ตามค าสั่งที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 โดยเปลี่ยนแปลงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในส่วนของสาระภูมิศาสตร์โรงเรียนจึงด าเนินการ ปรับปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น ทั้งนี้เพื่อให้โรงเรียนเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของ โรงเรียน และรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวและจะบังคับใช้ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 ใน ปีการศึกษา 2566 และครบทุกระดับชั้นในปีการศึกษา 2568 ทั้งนี้หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนจึง ประกาศใช้เป็นหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคมตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 15 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ( นายพงศ์พล คงมั่น) (นายวิฑูรย์ ค าจริง) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขึ้นพื้นฐาน ผู้อ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม โรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม
ข สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า ก บทที่ 1 ส่วนน า ความน า 1 วิสัยทัศน์ 1 หลักการ 2 จุดหมาย 2 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 3 บทที่ 2 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับการศึกษา 5 สาระการเรียนรู้ 5 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 6 การจัดเวลาเรียน 7 การจัดการเรียนรู้ 7 โครงสร้างเวลาเรียน 9 โครงสร้างหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 10 ส่วนที่ 3 ค าอธิบายรายวิชา สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 20 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 29 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 46 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 65 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 148 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 170 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้ศิลปะ 199 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 231 โครงสร้างและค าอธิบายรายสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 238
ค บทที่4 กิจกรรมพัฒนา ความหมายและความส าคัญ 371 หลักการ 371 เปูาหมาย 372 แนวทางการจัดกิจกรรม 372 ขอบข่ายการจัดกิจกรรม 372 การประเมินกิจกรรม 376 เกณฑ์การตัดสินกิจกรรม 378 บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 379 บทที่ 5 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 383 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 385 การเทียบโอนผลการเรียนรู้ 390 การรายงานผลการเรียนรู้ 391 เอกสารหลักฐานการศึกษา 392 ภาคผนวก ค าสั่งโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคมที่ 098/2566 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1 บทที่ 1 ส่วนน า ความน า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 พร้อม กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติภาคบังคับ พ.ศ.2545 มุ่งเน้นให้การปฏิรูประบบบริหารและ การจัดการทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามค าสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 293/2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 ก าหนดให้ สถานศึกษาในสังกัดจัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามค าสั่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 821/2561 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ 3 เทคโนโลยีและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเปลี่ยนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ และค าสั่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 922/2561 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 เรื่อง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมถึงส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศการปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์(ฉบับปรับปรุง 2560) และให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาให้เป็นปัจจุบันสอดคล้องสภาวะแวดล้อมโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม จึงด าเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2566 ขึ้น เพื่อสามารถ น าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น หลักสูตรชาติและการเปลี่ยนแปลง ของโลกปัจจุบัน สามารถเรียนรู้และเท่าทันสังคมในยุคดิจิทัลของศตวรรษที่ 21 ต่อไป วิสัยทัศน์หลักสูตร หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นพลเมืองของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จ าเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ตลอดจนมุ่งเน้นจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 และโลกในศตวรรษที่ 21
2 หลักการ หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดมุ่งหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เปูาหมายส าหรับพัฒนาเด็ก เยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับ ความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและให้สอดคล้อง กับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาส าหรับการศึกษาในระบบโรงเรียน ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมายและสามารถเทียบ โอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีปัญญา มีความสุขและมีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ จึงก าหนดจุดหมายให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษา ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏบัติตนตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกก าลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีจิตสาธารณะที่มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดี งามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งช่วยให้เกิดสมรรถนะส าคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ
3 ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา และมีการ ตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การด าเนินชีวิตประจ าวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การท างาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การท างาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี ความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝุเรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการท างาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
4 บทที่2 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
5 บทที่ 2 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอน และผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบัติ ดังนี้ ระดับการศึกษา หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ก าหนดหลักสูตรเป็น 2 ระดับ ตามโครงสร้างของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และตามภารกิจหลักของการจัดการเรียนการสอนใน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายของ ดังนี้ 1. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ส ารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการ คิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการด าเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็น เครื่องมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความ ภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4- 6) การศึกษาระดับนี้เน้น การเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนทั้ง ด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใช้วิทยาการ และเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถน า ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาท ของตน สามารถเป็นผู้น า และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดไว้ในหลักสูตร ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือ กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน 8 กลุ่ม คือ 1. สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่า ภูมิปัญญาไทยและภูมิใจในภาษาประจ าชาติ 2. สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์การน าความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ ในการแก้ปัญหา การด าเนินชีวิต การศึกษาต่อ มีเหตุผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบและ สร้างสรรค์ 3. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการน าความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไป ใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างมีเหตุผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และ จิตวิทยาศาสตร์
6 4. สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลก อย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย 5. สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้างเสริมสุขภาพ อนามัยของตนเองและผู้อื่น การปูองกันและปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและทักษะในการด าเนิน ชีวิต 6. สาระการเรียนรู้ศิลปะ ความรู้ ทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพ และการเห็นคุณคุณค่าทางศิลปะ 7. สาระการเรียนรู้ศิลปะ ความรู้ทักษะและเจตคติในการท างาน การจัดการ การด ารงชีวิต และ การประกอบอาชีพ 8. สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ความรู้ ทักษะ เจตคติและวัฒนธรรมการใช้ภาษาในการ สื่อสาร การแสวงหาความรู้และการประกอบอาชีพ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่าง รอบด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตส านึกของการท าประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา ก าหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ ค าปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน 2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้น าผู้ตามที่ดี ความ รับผิดชอบ การท างานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้อ อาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วย ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการท างาน เน้นการ ท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น ประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ 2.2 กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบ าเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
7 การจัดเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนส าหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับความพร้อมและจุดเน้นของสถานศึกษา โดยปรับให้เหมาะสมตามบริบทของ สถานศึกษาและสภาพของผู้เรียน ดังนี้ 1. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คิดน้ าหนักของรายวิชาที่เรียน เป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.) 2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6) จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง คิดน้ าหนักของรายวิชา ที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้ าหนักวิชา เท่ากับ 1 หน่วยกิต (นก.) ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ได้จัดกรอบเวลาเรียนส าหรับกิจกรรมตาม นโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3) โดยก าหนดการจัดการ เรียนรู้และการวัดและประเมินผลเป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการส าคัญในการน าหลักสูตรสู่การปฏิบัติตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นเปูาหมายส าคัญส าหรับพัฒนาผู้เรียน ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ผู้สอนต้องพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังและเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะอันเป็นสมรรถนะส าคัญที่ ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน 1. หลักการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่าผู้เรียนมี ความส าคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพค านึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความส าคัญทั้งความรู้และคุณธรรม 2. กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียนจะต้งอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือ ที่จะน าพาตนเองไปสู่เปูาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ แก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติลงมือท าจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เป็นต้น
8 กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนพัฒนา เพราะ จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเปูาหมายของหลักสูตร ดังนั้นผู้สอนจึงจ าเป็นต้องศึกษาท าความ เข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แล้วจึงพิจารณาออกแบบกาจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามมาตฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็น เปูาหมายที่ก าหนด 4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปูาหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาทดังนี้ 4.1 บทบาทของผู้สอน 4.1.1 ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วน าข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ที่ท้า ทายความสามารถของผู้เรียน 4.1.2 ก าหนดเปูาหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการที่เป็น ความคิดรวบยอด หลักการและความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4.1.3 ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการ ทางสมอง เพื่อน าผู้เรียนไปสู่เปูาหมาย 4.1.4 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 4.1.5 จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม น าภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4.1.6 ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติวิชาและ ระดับพัฒนาการของผู้เรียน 4.1.7 วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการ เรียนการสอนของตนเอง 4.2 บทบาทของผู้เรียน 4.2.1 ก าหนดเปูาหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง 4.2.2 เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งค าถาม คิดหาค าตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ 4.2.3 ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ด้วยตนเอง และน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ต่างๆ 4.2.4 มีปฏิสัมพันธ์ ท างาน ท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู 4.2.5 ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
9 โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 240 (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.) − ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) − ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม − หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 240 (6นก.) − ภูมิศาสตร์ − เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3นก.) ศิลปะ 80 (2นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพ 40 (1นก.) 40 (1นก.)) 40 (1นก.) 60(1.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 1,640 (41 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง (15 นก.) ไม่น้อยกว่า 1,600 ชั่วโมง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน o กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40/ปี o กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือเนตรนารี 40 40 40 - ชุมนุม 30 30 30 o กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 10 10 10 รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 360 รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง/ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง/ปี 120
10 โครงสร้างหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร โรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียน วิทย์ - คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ พื้นฐาน พื้นฐาน ท31101 ภาษาไทย 1.0 40 2 ท31102 ภาษาไทย 1.0 40 2 ค31101 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ค31102 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ว31101 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1.0 40 2 ว31102 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1.0 40 2 ส31101 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส31103 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส31102 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 ส31104 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 อ31101 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 อ31102 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 ศ31101 ศิลปะ 0.5 20 1 ศ31102 ศิลปะ 0.5 20 1 ง31101 การงานอาชีพ 0.5 20 1 ว31103 วิทยาการค านวณ 0.5 20 1 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 เพิ่มเติม เพิ่มเติม ค31201 คณิตศาสตร์1 1.5 60 3 ค31202 คณิตศาสตร์2 1.5 60 3 ว31201 ฟิสิกส์1 1.5 60 3 ว32202 ฟิสิกส์2 1.5 60 3 ว31221 เคมี 1 1.5 60 3 ว32222 เคมี 2 1.5 60 3 ว31241 ชีววิทยา 1 1.5 60 3 ว32242 ชีววิทยา 2 1.5 60 3 ว31281 คอมพิวเตอร์กราฟิก 1.0 40 2 ว31282 คอมพิวเตอร์สามมิติ 1.0 40 2 อ31201 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน 1 0.5 20 1 อ31202 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน 2 0.5 20 1 อ31207 ภาษาอังกฤษฟัง – พูด 1 0.5 20 1 อ31208 ภาษาอังกฤษฟัง – พูด 2 0.5 20 1 ส31221 หน้าที่พลเมือง 1 0.5 20 1 ว31262 โลกดาราศาสตร์ฯ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 8.5 340 17 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 9.0 360 18 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม -กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - รวมเวลาเรียนทั้งหมด 15.5 680 34 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.0 700 36 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ ให้จัดสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
11 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (แผนการเรียน ศิลป์ทั่วไป) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ พื้นฐาน พื้นฐาน ท31101 ภาษาไทย 1.0 40 2 ท31102 ภาษาไทย 1.0 40 2 ค31101 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ค31102 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ว31101 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1.0 40 2 ว31102 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ 1.0 40 2 ส31101 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส31103 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส31102 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 ส31104 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 ศ31101 ศิลปะ 0.5 20 1 ศ31102 ศิลปะ 0.5 20 1 ง31101 การงานอาชีพ 0.5 20 1 ว31103 วิทยาการค านวณ 0.5 20 1 อ31101 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 อ31102 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 เพิ่มเติม เพิ่มเติม ว31281 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 1.0 40 2 ว31282 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 1.0 20 1 ว31287 องค์ประกอบศิลป์ใน งานคอม 1.5 60 3 ว31287 องค์ประกอบศิลป์ในงาน คอม 1.5 60 3 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 3.0 120 6 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 3.0 120 6 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 1.5 60 3 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 1.5 60 3 ส31221 หน้าที่พลเมือง1 0.5 20 1 ส31222 หน้าที่พลเมือง1 0.5 20 1 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 7.5 300 15 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 7.5 300 15 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - รวมเวลาเรียนทั้งหมด 14.5 640 31 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.0 640 31 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ ให้จัดสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
12 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (แผนการเรียนวิทย์ – คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ พื้นฐาน พื้นฐาน ท32101 ภาษาไทย 1.0 40 2 ท32102 ภาษาไทย 1.0 40 2 ค32101 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ค32102 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ว31101 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1.0 40 2 ว31102 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1.0 40 2 ส32101 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส32103 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส32102 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 ส32104 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 พ32101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 ศ32101 ศิลปะ 0.5 20 1 ศ32102 ศิลปะ 0.5 20 1 ง32101 การงานอาชีพ 0.5 20 1 ว32103 วิทยาการค านวณ 0.5 20 1 อ32101 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 อ32102 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 เพิ่มเติม เพิ่มเติม ค32203 คณิตศาสตร์3 1.5 60 3 ค32204 คณิตศาสตร์4 1.5 60 3 ว32203 ฟิสิกส์3 1.5 60 3 ว32204 ฟิสิกส์4 1.5 60 3 ว32223 เคมี 3 1.5 60 3 ว32224 เคมี 4 1.5 60 3 ว32243 ชีววิทยา 3 1.5 60 3 ว32244 ชีววิทยา 4 1.5 60 3 ว32283 การตัดต่อภาพยนตร์ 1.0 40 2 ว32284 การสร้างเว็ปไซด์เบื้องต้น 1.0 40 2 อ32203 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน 3 0.5 20 1 อ32204 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน 4 0.5 20 1 อ32209 ภาษาอังกฤษฟัง – พูด 3 0.5 20 1 อ32210 ภาษาจีน 3 0.5 20 1 I30201 การศึกษาค้นคว้าฯ(IS1) 1.0 40 1 I30202 การสื่อสารเพื่อการน าเสนอ (IS2) 1.0 40 1 ว32263 โลกดาราศาสตร์ฯ 1.0 40 2 ว32264 โลกดาราศาสตร์ฯ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 9.0 400 19 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 9.0 400 18 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - ● I30203การน าความรู้ไปใช้ฯ(IS3) 10* - รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.0 720 35 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 15.5 680 35 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ ให้จัดสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
13 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (แผนการเรียน ศิลป์ทั่วไป) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ พื้นฐาน พื้นฐาน ท32101 ภาษาไทย 1.0 40 2 ท32102 ภาษาไทย 1.0 40 2 ค32101 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ค32102 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ว31101 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1.0 40 2 ว31102 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1.0 40 2 ส32101 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส32103 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส32102 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 ส32104 ประวัติศาสตร์ 0.5 20 1 พ32101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 ศ32101 ศิลปะ 0.5 20 1 ศ32102 ศิลปะ 0.5 20 1 ง32101 การงานอาชีพ 0.5 20 1 ง32103 วิทยาการค านวณ 0.5 20 1 อ32101 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 อ32102 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 7.0 280 14 เพิ่มเติม เพิ่มเติม ว31281 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 1.0 40 2 ว31282 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 1.0 20 1 ว32289 คอมพิวเตอร์และการ บ ารุงรักษา 1.5 60 3 ว32290 คอมพิวเตอร์เพื่องาน อาชีพ 1.5 60 3 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 3.0 120 6 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 3.0 120 6 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 1.5 60 3 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 1.5 60 3 ส32223 หน้าที่พลเมือง1 0.5 20 1 ส32223 หน้าที่พลเมือง1 0.5 20 1 I30201 การศึกษาค้นคว้าฯ 1.0 40 2 I30201 การศึกษาค้นคว้าฯ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 8.5 340 17 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 9.0 360 18 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - ● I30203การน าความรู้ไปใช้ฯ(IS3) 10* - รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.5 720 34 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.5 720 36 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ ให้จัดสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
14 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (แผนการเรียนวิทย์ - คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ พื้นฐาน พื้นฐาน ท33101 ภาษาไทย 1.0 40 2 ท33102 ภาษาไทย 1.0 40 2 ค33101 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ค33102 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ว33101 โลกและอวกาศ 1.0 40 2 ว33102 โลกและอวกาศ 1.0 40 2 ส33101 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส33102 สังคมศึกษา 1.0 40 2 พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 พ33102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 ศ33101 ศิลปะ 0.5 20 1 ศ33102 ศิลปะ 0.5 20 1 ง33101 การงานอาชีพ 0.5 20 1 ง33103 วิทยาการค านวณ 0.5 20 1 อ33101 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 อ33102 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 6.5 260 13 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 6.5 260 13 เพิ่มเติม เพิ่มเติม ค33203 คณิตศาสตร์5 1.5 60 3 ค30204 คณิตศาสตร์6 1.5 60 3 ว33205 ฟิสิกส์5 1.5 60 3 ว30206 ฟิสิกส์6 1.5 60 3 ว33225 เคมี 5 1.5 60 3 ว30226 เคมี 6 1.5 60 3 ว33245 ชีววิทยา 5 1.5 60 3 ว30246 ชีววิทยา 5 1.5 60 3 ว30285 เขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง 1.0 40 2 ว30286 เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 1.0 40 2 ว32265 โลกดาราศาสตร์ฯ 1.0 40 2 ว32266 โลกดาราศาสตร์ฯ 1.0 40 2 อ33211 ภาษาอังกฤษฟัง – พูด 5 0.5 20 1 อ33212 ภาษาอังกฤษฟัง – พูด 6 0.5 20 1 อ33213 ความถนัดทางภาษาอังกฤษ 1 0.5 20 1 อ33214 ความถนัดทางภาษาอังกฤษ 2 0.5 20 1 ท30207 ความถนัดทางภาษาไทย 0.5 20 1 ท30208 ความถนัดทางภาษาไทย 0.5 20 1 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 9.5 380 19 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 9.5 380 19 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.0 700 35 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 16.0 680 35 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ ให้จัดสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
15 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (แผนการเรียน ศิลป์ทั่วไป) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 วิชา รายวิชา หน่วยกิต/ ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ วิชา รายวิชา หน่วย กิต/ภาค ชม./ ภาค ชม./ สัปดาห์ พื้นฐาน พื้นฐาน ท33101 ภาษาไทย 1.0 40 2 ท33102 ภาษาไทย 1.0 40 2 ค33101 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ค33102 คณิตศาสตร์ 1.0 40 2 ว33101 โลกและอวกาศ 1.0 40 2 ว33102 โลกและอวกาศ 1.0 40 2 ส33101 สังคมศึกษา 1.0 40 2 ส33102 สังคมศึกษา 1.0 40 2 พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 พ33102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 20 1 ศ33101 ศิลปะ 0.5 20 1 ศ33102 ศิลปะ 0.5 20 1 ง33101 การงานอาชีพ 0.5 20 1 ง33103 วิทยาการค านวณ 0.5 20 1 อ33101 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 อ33102 ภาษาอังกฤษ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 6.5 260 13 รวมเวลาเรียนพื้นฐาน 6.5 260 13 เพิ่มเติม เพิ่มเติม ว33285 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 1.0 40 2 ว33285 คอมพิวเตอร์กราฟฟิก 1.0 40 2 ว33291 คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ 1.5 60 3 ว33292 จริยธรรมและกฏหมาย คอมพิวเตอร์ 1.5 60 3 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 3.0 120 6 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 3.0 120 6 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 1.5 60 3 ง302xx รายวิชาเพิ่มเติม การงานอาชีพ 1.5 60 3 ส32223 หน้าที่พลเมือง1 0.5 20 1 ส32223 หน้าที่พลเมือง1 0.5 20 1 I30201 การศึกษาค้นคว้าฯ 1.0 40 2 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 7.5 320 15 รวมเวลาเรียนเพิ่มเติม 7.5 320 15 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - 60 3 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมแนะแนว ●กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม - กิจกรรมม.ปลาย 20 20 10 1 1 1 ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10* - ●กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์(IS3) 10* - รวมเวลาเรียนทั้งหมด 14.0 640 32 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 13.5 640 32 หมายเหตุ กิจกรรมเพื่อสังคมฯ ให้จัดสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
16 รายวิชาเพิ่มเติมแผนการเรียน ศิลป์ – ทั่วไป ง30201 งานใบตอง 1 จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30202 ขนมไทย จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30203 หลักการจัดดอกไม้ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30204 เครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30205 เบเกอรี่ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30206 การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30207 น้ าพริกและเครื่องเคียง จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30208 การแกะสลักผักและผลไม้ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30209 อาหารไทย จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30210 อาหารว่าง จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30211อาหารจานเดียว จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30212อาหารท้องถิ่นไทย 4 ภาค จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30213 ศิลปะการจับจีบผ้าประดับ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30214ดอกไม้ประดิษฐ์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30215อาหารคาวหวาน จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30216 ออกแบบเสื้อผ้า จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30217 หัตถกรรมพื้นบ้าน จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30218ผลิตภัณฑ์วัสดุในท้องถิ่น จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30219การแปรรูปอาหาร จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30220 งานใบตอง จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30221 ขนมไทย จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30222 หลักการจัดดอกไม้ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30223 เครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30224 เบเกอรี่ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30225 การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30226 น้ าพริกและเครื่องเคียง จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30227 การแกะสลักผักและผลไม้ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30228อาหารไทย จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30229 อาหารว่าง จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30230อาหารจานเดียว จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30231อาหารท้องถิ่นไทย 4 ภาค จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต
17 ง30261 การปลูกข้าว จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30262 การเลี้ยงปลาน้ าจืด จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30263 การปลูกไม้ผลเศรษฐกิจ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30264 การเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30265 การผสมดินปลูกพืช จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30266 โครงงานเกษตร จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30267 โครงงานอาชีพ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30270 งานเดินสายไฟฟูา จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30271 ช่างไฟฟูาเบื้องต้น จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30272งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟูาในบ้าน จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30273 รถจักรยานยนต์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30274 บ ารุงรักษารถยนต์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30275 งานอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30276 งานสี จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30277 การขับขี่รถยนต์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30278 ผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30279 งานโลหะเบื้องต้น จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30280 งานเขียนแบบ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30281 งานเดินสายไฟฟูา จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30282 เครื่องมือวัดอุตสาหกรรม จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30283 งานเชื่อม จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30284 โครงงานช่าง จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30285 เครื่องล่างรถยนต์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30286งานกลึง จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30287 งานไฟฟูายานยนต์ จ านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ง30288 งานเดินสายไฟฟูา จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30289 ช่างไฟฟูาเบื้องต้น จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30290งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟูาในบ้าน จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30291 รถจักรยานยนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30292 บริการรถยนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30293 งานอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30294 ตัวถังและพ่นสีรถยนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต ง30295 การขับขี่รถยนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต
18 ง30296 ผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30297 งานโลหะเบื้องต้น จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30298 งานเขียนแบบ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30299 งานเดินสายไฟฟูา จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30300 เครื่องมือวัดอุตสาหกรรม จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30301 งานเชื่อม จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30302 โครงงานช่าง จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30303 เครื่องล่างรถยนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30304งานกลึง จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิตง30305 ไฟฟูายานยนต์ จ านวน 120 ชั่วโมง 3.0 หน่วยกิต
19 บทที่ 3 ค าอธิบายรายวิชา
20 บทที่ 3 ค าอธิบายรายวิชา สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2566 ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้จ านวน 60 มาตรฐาน โดยยึดหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นแนวด าเนินการดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาใน การด าเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกใน โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ น ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จ านวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของ จ านวนผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการและน าไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชันล าดับและอนุกรม และน าไปใช้ได้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่ก าหนดให้
21 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและน า ไปใช้ได้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และน าไปใช้ได้ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และน าไปใช้ได้ สาระคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เปูาหมายของการพัฒนาผู้เรียนในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม มี 2 ลักษณะ คือเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ คณิตศาสตร์พื้นฐาน เพื่อให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้และเรียนรู้สาระนั้นอย่างลึกซึ้ง ได้แก่ สาระจ านวนและพีชคณิต และสาระสถิติและความน่าจะเป็น และไม่ได้เชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ในคณิตศาสตร์พื้นฐาน ได้แก่ สาระการ วัดและเรขาคณิต และสาระแคลคูลัส สาระจ านวนและพีชคณิต 1. เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การด าเนินการของจ านวน ผลที่เกิดขึ้นจาก การด าเนินการ สมบัติของการด าเนินการ และน าไปใช่ 2. เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ล าดับและอนุกรม และน าไปใช 3. ใช้นิพจน์ สมการ อสมการและเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาที่ก าหนดให้ได้ สาระการวัดและเรขาคณิต 1. เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และน าไปใช้ 2. เข้าใจเวกเตอร์ การด าเนินการของเวกเตอร์ และน าไปใช้ สาระสถิติและความน่าจะเป็น 1. เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และน าไปใช้ สาระแคลคูลัส 1. เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน และปริพันธ์ของฟังก์ชันและน าไปใช้
22 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การล าเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ ท างานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความส าคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจ าวัน ผลของแรงที่กระท าต่อวัตถุลักษณะ การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุรวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา รวมทั้งน าความรู้ไป ใช้ประโยชน์ สาระที่3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ ส่งผล ต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟูา อากาศ และภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
23 สาระที่4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยค านึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงค านวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน การเรียนรู้การท างาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม ผลการเรียนรู้เพิ่มเติม สาระชีววิทยา 1. เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์สารที่ เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์การล าเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ 2. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ าของพืช การล าเลียง ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และ การตอบสนองของพืช รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์รวมทั้งการหายใจและการแลกเปลี่ยน แก๊ส การล าเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียน สาร ในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ สิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของประชากร ทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ปัญหา และผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์และ แนวทางการแก้ไขปัญหา สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุสมบัติของธาตุ พันธะเคมีและ สมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และ พอลิเมอร์รวมทั้งการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
24 2. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมีปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมีสมดุลในปฏิกิริยาเคมีสมบัติและปฏิกิริยาของกรด–เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์ และเซลล์เคมีไฟฟูา รวมทั้งการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3. เข้าใจหลักการท าปฏิบัติการเคมีการวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การค านวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้ และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจ าวันและการแก้ปัญหาทางเคมี สาระฟิสิกส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุงาน และกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่ แนวโค้ง รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียง และการได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3. เข้าใจแรงไฟฟูาและกฎของคูลอมบ์สนามไฟฟูา ศักย์ไฟฟูา ความจุไฟฟูา กระแสไฟฟูา . และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟูากระแสตรง พลังงานไฟฟูาและก าลังไฟฟูา การเปลี่ยน พลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟูา สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระท ากับประจุไฟฟูา และกระแสไฟฟูาการเหนี่ยวน าแม่เหล็กไฟฟูาและกฎของฟาราเดย์ไฟฟูากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟูาและการสื่อสาร รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพ ยืดหยุ่นของวัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของ อาร์คิมีดีส ความตึงผิวและแรงหนืดของ ของเหลว ของไหลอุดมคติและสมการ แบร์นูลลีกฎของแก๊ส ทฤษฎี จลน์ของแก๊สอุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอม ของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์ฟิสิกส์อนุภาค รวมทั้งน าความรู้ไป ใช้ประโยชน์
25 สาระโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การศึกษาล าดับชั้นหิน ทรัพยากรธรณีแผนที่ และการน าไปใช้ประโยชน์ 2. เข้าใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของน้ าในมหาสมุทร การ เกิดเมฆ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการพยากรณ์อากาศ 3. เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และ ระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์จากการศึกษาต าแหน่งดาวบนทรงกลมฟูาและ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับ ถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธ ารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธ ารงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มี อยู่จ ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ การด ารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจ าเป็น ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
26 มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญ และสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธ ารง ความเป็นไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วิถีการด าเนินชีวิต มีจิตส านึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการด ารงชีวิต สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่าง สม่ าเสมอ มี วินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน สุนทรียภาพของการกีฬา สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การด ารงสุขภาพ การปูองกันโรคและการ สร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ปูองกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง
27 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ สาระที่ 1 การด ารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการท างาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการท างาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการท างานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี คุณธรรม และลักษณะนิสัยในการท างาน มีจิตส านึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ สิ่งแวดล้อม เพื่อการด ารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จ าเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา อาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
28 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความ คิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและ การเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และน าไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ ภาษาและวัฒนธรรมไทย และน ามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการ พัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
29 โครงสร้างหลักสูตรและค าอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โครงสร้างจ านวนรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาพื้นฐาน ท31101 ภาษาไทย จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ท31102 ภาษาไทย จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ท32101 ภาษาไทย จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ท32102 ภาษาไทย จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ท33102 ภาษาไทย จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต รายวิชาเพิ่มเติม ท30201 ประวัติวรรณคดีไทย จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30202 การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30203 หลักภาษาไทย จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30204 วรรณกรรมท้องถิ่น จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30205 เรียงถ้อยร้อยกรอง จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30206 ความถนัดทางภาษาไทย 1 จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30207 ความถนัดทางภาษาไทย 2 จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30208 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1 จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ท30209 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 จ านวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต I30201 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1) จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต I30202 การสื่อสารและการน าเสนอ (IS2) จ านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต I30203 การน าองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (IS3) จ านวน 10 ชั่วโมง 0.0 หน่วยกิต
30 ค าอธิบายรายวิชา ท 31101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จ านวน 1 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการอ่าน การฟัง การดู การวิเคราะห์การเขียนและประเมินค่าวรรณคดี วรรณกรรมโดยการศึกษา เกี่ยวกับการออกเสียง การรับสารและการส่งสารด้วยการอ่าน วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลฝึกทักษะการ เขียนบันทึกความรู้เขียนเรียงความย่อความจดหมายเขียนอธิบาย วิเคราะห์ประเมินค่าและข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องนมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจาริย คุณคุณ อิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง นิทานเวตาลเรื่องที่ 10 และนิราศนรินทร์ค าโคลง ท่องจ าบทอาขยานตามที่ ก าหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจโดยใช้ กระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง การฟัง การดู การพูด กระบวนการเขียนสื่อสาร สร้างสรรค์ความรู้และความคิด เพื่อน าไปคิดและตัดสินใจแก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติของภาษาภูมิปัญญาทางภาษา แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ และ ประเมินค่าวรรณคดีแล้ววรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ และมีนิสัยรักการอ่านการเขียน มารยาทในการอ่าน การฟัง การดู ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ท 4.1 ม.4/1 ม.4/4 ม.1/5 ท 5.1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 รวม 18 ตัวชี้วัด
31 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท 31102 วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จ านวน 1 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการอ่านการฟังการดูการเขียนการวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีวรรณกรรมโดยการศึกษา เกี่ยวกับธรรมชาติของภาษา ลักษณะของภาษา สามารถเลือกเรื่องที่ฟังและดูได้อย่างมีวิจารณญาณเพื่อพัฒนาไปสู่การ พูดแสดงความรู้ความคิดในโอกาสต่างๆได้อย่างสร้างสรรค์ เหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะและบุคคล รวมทั้งสามารถ เลือกใช้ค าได้อย่างเหมาะสมกับรูปแบบงานเขียนแต่ละประเภทและสามารถแต่งค าประพันธ์ประเภทกาพย์และโคลงได้ ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของค าประพันธ์นั้น วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องหัวใจ ชายหนุ่ม ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มงคลสูตรค าฉันท์ มหาชาติหรือเวสสันดรชาดก ท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง การดู กระบวนการเขียนเพื่อเขียนสื่อสารสร้างสรรค์ความรู้และ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติของภาษา ภูมิ ปัญญาทางภาษา เลือกฟัง และฟังรวมทั้งดูอย่างมีวิจารณญาณ พูดแสดงความรู้ ความคิดความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ น ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติและมีนิสัยรักการอ่านการเขียนมีมารยาทในการอ่าน การฟัง การดู เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์ด้านใฝุเรียนรู้ รักในการค้นคว้าหาความรู้ รักความเป็นไทย มีมารยาท ในการฟัง พูด อ่าน เขียน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และมุ่งมั่นในการท างาน ตัวชี้วัด ท 2.1 ม.4-6/2 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/9 ท 3.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ท 4.1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/6 ม.4-6/7 รวม 19 ตัวชี้วัด
32 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท32102 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ การเขียนเรียงความ การเขียนในรูปแบบต่างๆ การประเมินคุณค่างานเขียน การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนบันทึก ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี บทละครพูด ค าฉันท์ เรื่อง มัทนะพาธา ลิลิตตะเลงพ่าย ท่องจ าและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่ก าหนด และบทร้อยกรองที่มี คุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต กระบวนการ เขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่าน ามาประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/3 ม.4-6/5 ม.4-6/7 ท 2.1 ม.4-6/2 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ท 5.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 รวม 16 ตัวชี้วัด
33 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท32102 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาการฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดในโอกาสต่างๆ ธรรมชาติของภาษาการศึกษาธรรมชาติของ ภาษา ลักษณะของภาษา การใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยค วิเคราะห์ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายหลักการสร้างค าในภาษาไทย และการแต่งค าประพันธ์ประเภทร่ายและฉันท์ ใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต กระบวน การเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และ พูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์วิเคราะห์ วิจารณ์ และสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและ วรรณกรรมเรื่อง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ และโคลนติดล้อ ตอน ความนิยมเป็นเสมียน ท่องจ าและ บอกคุณค่าบทอาขยานตามที่ก าหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็นคุณค่าน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/7 ท 3.1 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ท 4.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ท 5.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 รวม 16 ตัวชี้วัด
34 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท 33101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1.0 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาพันธกิจ ธรรมชาติและพลังงานของภาษา การใช้ราชาศัพท์และระดับภาษาเพื่อการสื่อสาร ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด เหตุผลกับภาษา การใช้ภาษาอธิบาย บรรยาย พรรณนา และการใช้ภาษาให้ งดงาม การอ่านวรรณคดี หลักการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น การวิเคราะห์และประเมินคุณค่า วรรณคดีและวรรณกรรม หลักการแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงและกาพย์ ฝึกทักษะการอ่าน เขียน ฟัง ดู พูด อย่างมีวิจารณญาณ โดยอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมร้อยแก้ว และร้อย กรองร่วมสมัยที่ก าหนดให้ ทั้งอ่านในใจ อ่านออกเสียง อ่านท านองเสนาะ ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลโดยใช้บทอ่านประเภทความเรียง เรื่องสั้น สารคดี ค าบรรยาย ค าสอน วรรณคดีในบทเรียน กาพย์และโคลง บทร้อยกรองร่วมสมัย โดยอ่านจับใจความแล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด จากบทอ่าน สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ในชุมชนอย่างมีเหตุผลและมี มารยาท ท่องจ าบทอาขยานที่ก าหนดให้ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อธิบาย บรรยาย พรรณนา สารคดีท้องถิ่น แต่งโคลงและกาพย์ เขียนบันทึกย่อความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และประเมินคุณค่างานเขียน พูดสรุปแนวคิด แสดงความคิดเห็นตามหลักการพูด รวมทั้ง เลือกและประเมินเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อน าไป ประยุกต์ใช้อย่างมีมารยาท วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของสังคมในอดีต ประเมินคุณค่า ด้านวรรณศิลป์ สังคมและวัฒนธรรม บอกคุณค่าทางภูมิปัญญาทางภาษา ค าสอน ความเชื่อ ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมและแนวปฏิบัติที่ดีงาม โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการคิด กระบวนการเขียนพัฒนาทักษะ รวมทั้ง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการจัดการและ กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เพื่อให้ สามารถใช้ทักษะทางภาษาได้อย่างมีวิจารณญาณและมีประสิทธิภาพ มีมารยาทในการใช้ภาษา มี ทักษะด้านการเขียน ฟัง พูด คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างองค์ความรู้ สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการแสวงหา ความรู้ สรุปและน าเสนอความรู้ และน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะส าคัญและมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามี่หลักสูตรก าหนด ตัวชี้วัด ท. 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9 ท. 2.1 ม.4-6/1, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/7, ม.4-6/8 ท. 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/3, ม.4-6/5, ม.4-6/6 ท. 4.1 ม.4-6/1, ม.4-6/3, ม.4-6/5 ท. 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/6 รวม 24 ตัวชี้วัด
35 ค าอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท 33102 วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษาการใช้ภาษาพัฒนาความคิด แสดงทัศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ การอ่านวรรณคดีที่ก าหนดให้การ สังเคราะห์วรรณคดีวรรณกรรม ร้อยกรองประเภทฉันท์ การประเมินคุณค่างงานเขียนในด้านต่าง ๆ หลักการแต่งร้อย กรองประเภทฉันท์ชนิดต่าง ๆ การเขียนและการพูดสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แสดงทรรศนะโต้แย้งโน้มน้าว เชิญ ชวน การเขียนเรียงความเกี่ยวกับโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ ฝึกทักษะการอ่าน เขียน ฟัง ดู พูด อย่างมีวิจารณญาณ โดยอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม ร้อยแก้วและร้อย กรองร่วมสมัยตามที่ก าหนดให้ ทั้งอ่านในใจ อ่านออกเสียง อ่านท านองเสนาะประเภทค าฉันท์ อ่านตีความ สังเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดีในบทเรียนและวรรณกรรมเพื่อน าไปใช้ในชีวิตจริง วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากบทอ่าน ประเภทบทโฆษณา บทอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการ เรียน และพัฒนาความรู้ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งในการอ่านวรรณคดีในบทเรียนและเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ท่องจ าและบอกคุณค่าบทร้อยกรองตามความสนใจหรือบทที่มีคุณค่าและน าไปใช้อ้างอิง น าความรู้จากการฟัง การดู สื่อรูปแบบต่าง ๆ มาใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินปัญหาอย่างมีมารยาท พูดโน้มน้าวใจ พูดโต้แย้ง แสดงทรรศนะโดยใช้ ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลักสูตรการพูดและมีมารยาทในการพูด เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีมูลและสาระส าคัญชัดเจน เช่น เขียนแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน เขียนเรียงความเกี่ยวกับโลกจินตนาการและโลกอุดมคติ ประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่าง ๆ โดยใช้ กระบวนการอ่าน กระบวนการคิด กระบวนการเขียนพัฒนาทักษะ รวมทั้งกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการจัดการและกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เพื่อให้ สามารถใช้ทักษะทางภาษาได้อย่างมีวิจารณญาณและมีประสิทธิภาพ มีมารยาทในการใช้ภาษา มี ทักษะด้านการเขียน ฟัง พูด คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างองค์ความรู้ สามารถพัฒนาทักษะกระบวนการแสวงหา ความรู้ สรุปและน าเสนอความรู้ และน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะส าคัญและมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามที่หลักสูตรก าหนด รหัสตัวชี้วัด ท. 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/5, ม.4-6/8, ม.4-6/9 ท. 2.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/5, ม.4-6/8 ท. 3.1 ม.4-6/3, ม.4-6/5, ม.4-6/6 ท. 4.1 ม.4-6/4, ม.4-6/7 ท. 5.1 ม.4-6/4, ม.4-6/6 รวม 16 ตัวชี้วัด
36 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท30201 ประวัติวรรณคดีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ............................................................................................................................. ................................................. ศึกษาวิเคราะห์ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดีไทยในด้านความหมายรูปแบบและการแบ่งสมัยของ วรรณคดีจากนั้นศึกษาวิเคราะห์วรรณคดีไทยในสองยุคสมัย ได้แก่ สมัยสุโขทัยและสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยมุ่งเน้น การศึกษาสภาพสังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับ “การสร้าง”และ “การเสพ”วรรณคดีในแต่ละยุค และศึกษา วิเคราะห์“ตัวบท”วรรณคดีเรื่องต่างๆที่ปรากฏในยุคนั้นนั้นไม่ว่าจะเป็นด้านผู้แต่ง เวลาที่แต่ง รูปแบบการแต่ง จุดประสงค์ของการแต่ง เนื้อเรื่อง คุณค่า รวมถึงการวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีในแต่ละยุคสมัยด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับวรรณคดีไทย เป็นแนวทางและเสริมทักษะในการคิด วิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับวรรณคดีไทย อันจะท าให้เห็นถึงความส าคัญและคุณค่าของ วรรณคดีหรือวรรณกรรมไทยในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมที่ส าคัญของชาติซึ่งจะยังประโยชน์ให้เกิดแก่สังคมเป็นเอนก ประการ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับวรรณคดีไทยและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีสมัยสุโขทัยและ อยุธยาได้ 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการคิดวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีหรือวรรณกรรมไทยอย่าง กว้างขวางตลอดจนน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 3. เห็นถึงความส าคัญและคุณค่าของวรรณคดีหรือวรรณกรรมไทยในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมที่ส าคัญของ ชาติ รวม 3 ผลการเรียนรู้
37 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท 30202 การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 ภาคเรียนที่2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกการอ่านตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผลคาดคะเน เหตุการณ์พร้อมทั้งประเมินค่าเพื่อน าความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต วิเคราะห์วิจารณ์เพื่อ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งและเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการอ่านเพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความรัก ชาติศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษาเรียบเรียง ถูกต้อง มีข้อมูลและ สาระส าคัญชัดเจนโดยการเขียนพรรณนาและแสดงทรรศนะอย่างมีมารยาทในการเขียน เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความรัก ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน พูดแสดงความคิดเห็น พูดแสดงทรรศนะโต้แย้งและเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างมี มารยาทในการฟัง ดู และพูดเพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้และมุ่งมั่นในการ ท างานวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น ผลการเรียนรู้ 1. ฝึกการอ่านตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน 2. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ 3. พูดแสดงความคิดเห็น พูดแสดงทรรศนะโต้แย้งและเสนอแนวคิดได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู้
38 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท30203 หลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 จ านวน 0.5 หน่วยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาหลักภาษาไทยเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของภาษาไทย ระบบเสียงและอักษรไทย การเขียนค าในภาษาไทย การยืมค าภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย การสรางค าในภาษาไทย รวมทั้ง การคิดวิเคราะห์ชนิดและหนาที่ของ ค าในภาษาไทย กลุมค าและประโยค ทักษะกระบวนการแสวงหาความรูความเขาใจหลักภาษาไทย วิเคราะห์การใชภาษาไทยและใชไดอยางถูกตอง อันจะน าไปสูการอนุรักษและพัฒนาภาษาไทย เพื่อน ามาใชกับทักษะชีวิต และเปนนักเรียนที่มีลักษณะอันพึงประสงคคือรักชาติศาสนกษัตริยซื่อสัตย์ทั้งต่อ ตนเองและผูอื่นอีกทั้งยังเปนผูที่มีวินัย ใฝเรียนรูอยูอยางพอเพียง มุงมั่นการท างาน รักความเปนไทยและมีจิต สาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. มีความรูความเขาใจลักษณะภาษาไทยบางประการ 2. มีความรูความเขาใจธรรมชาติของภาษาไทย 3. รูจักสังเกตเกี่ยวกับอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย 4. เขาใจความส าคัญของอักษรไทยวาสามารถถายทอดแทนเสียงพูดในภาษาไทยไดอยางครบถวน สมบูรณ 5. รูจักสังเกตลักษณะของค าและพยางคที่ใช้ในภาษาไทย 6. บอกวิธีสรางค าในภาษาตางประเทศที่น ามาใชในภาษาไทย 7. เขาใจลักษณะและหนาที่ของกลุมค า 8. วิเคราะหประโยคชนิดตาง ๆได 9. สามารถน าความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักภาษาไทยไปพัฒนาตนเองได้ 10. มีความรักและภาคภูมิใจในหลักภาษาไทย รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
39 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท 30204 วรรณกรรมท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษา ความหมาย ประวัติความเป็นมา ลักษณะรูปแบบ ประเภทและจุดมุ่งหมายของวรรณกรรมท้องถิ่น เพลงพื้นบ้านของภาคต่าง ๆ ในเนื้อหาด้านสาระ อธิบาย บรรยาย วิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรมท้องถิ่นภาคกลาง ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคอีสาน เพื่อให้เห็นคุณค่า ตระหนักและเกิดความรักหวงแหนในวรรณกรรมท้องถิ่นของชาติ อันถือเป็นเอกลักษณ์และ วัฒนธรรมทางภาษาที่ดีงามควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอดในฐานะที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่ สืบไป ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์และจ าแนกประเภทของวรรณกรรมท้องถิ่น ปริศนาค าทาย และเพลงพื้นบ้านได้ 2. อธิบายรูปแบบ เนื้อหาส่วนประกอบของวรรณกรรมท้องถิ่น ปริศนาค าทาย และเพลงพื้นบ้านได้ 3. เล่าเรื่องสรุปของวรรณกรรมท้องถิ่นที่เด่นในภูมิภาคของตนได้ 4. ตระหนักในคุณค่า ความส าคัญของวรรณกรรมท้องถิ่น ปริศนาค าทาย และเพลงพื้นบ้าน 5. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่วรรณกรรมท้องถิ่น รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
40 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท 30205 เรียงถ้อยร้อยกรอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ความหมายรูปแบบ ประวัติความเป็นมา ประเภทและวิวัฒนาการของร้อยกรองไทยในอดีตจนถึง ปัจจุบัน โดยสามารถอธิบาย ระบุประเภท เปรียบเทียบ ยกตัวอย่างได้ และบอกคุณค่าของร้อยกรอง ความหมายของ ฉันทลักษณ์ของค าประพันธ์ประเภทต่างๆ สามารถอธิบาย ยกตัวอย่างฉันทลักษณ์ของค าประพันธ์แต่ละประเภทได้ ฝึกทักษะการแต่งค าประพันธ์ประเภทกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ และร่าย โดยค านึงถึงลักษณะบังคับ ความ งาม ความไพเราะของถ้อยค า การแสดงออกทางอารมณ์ เนื้อหามีคุณค่าทางความคิดโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสังเกต กระบวนการคิดสร้างสรรค์และกระบวนการการกลุ่มเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะใน การเขียนเป็นพื้นฐานในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น มีความซาบซึ้ง ตระหนักถึงความเป็นไทย ภูมิใจในภูมิปัญญาทางภาษา เป็นการสืบทอดวัฒนธรรมทางภาษา อัอันน าไปสู่การอนุรักษ์และพัฒนาการแต่งร้อยกรองให้คงอยู่สืบไป ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายวิวัฒนาการร้อยกรองไทยในอดีตถึงปัจจุบันได้ 2. อธิบายความหมาย ประวัติความเป็นมาและระบุประเภทของร้อยกรองได้ 3. อธิบายคุณค่าและความส าคัญของร้อยกรองที่มีต่อผู้แต่ง ผู้อ่านและสังคมได้ 4. ระบุความงามของร้อยกรองประเภทต่างๆได้ 5. อธิบายฉันทลักษณ์หรือลักษณะบังคับของร้อยกรองประเภทต่างๆ ได้ 6. แต่งร้อยกรองประเภทต่างๆ ได้ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
41 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท 30208 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา อธิบาย และวิเคราะห์การสื่อสารกับงานอาชีพ ทักษะการสื่อสารในงานอาชีพ ค าสั่ง และค าแนะน าใน การปฏิบัติงานอาชีพ ความรู้เกี่ยวกับการฟัง การดู และการอ่าน สื่อและแหล่งเรียนรู้ ในงานอาชีพ การฟัง การดูและ การอ่านสารในงานอาชีพ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าสาร ในงานอาชีพ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเอกสาร ในงานอาชีพ ทักษะการอ่านเอกสารในงานอาชีพ การอ่านคู่มือปฏิบัติงาน การอ่านคู่มือการใช้อุปกรณ์ โดยใช้ทักษะการอ่าน การดู การฟังและการตีความ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า สารในงาน อาชีพ การเขียน การพูด การแสดงความคิดเห็น และเสนอความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวมถึงทักษะกระบวนการใน การแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการท างาน ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการใช้เทคโนโลยี และทักษะการสื่อสาร appro เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาษาไทย สามารถใช้ภาษาไทยสื่อสารในงานอาชีพ ได้อย่างถูกต้องตาม หลักการใช้ภาษา สามารถน าทักษะทางภาษาไทยไปใช้พัฒนาตนเองและงาน อาชีพได้ เห็นคุณค่าและความส าคัญของ การใช้ภาษาไทย พร้อมทั้งน าหลักความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม ผลการเรียนรู้ 1. บอกคุณค่า ความส าคัญของภาษาไทย และอธิบายหลักการใช้ภาษาไทยได้ 2. สื่อสารในงานอาชีพได้อย่างถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาไทยได้ 3. จ าแนกและอธิบายลักษณะของสื่อและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนได้ 4. อธิบาย วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าการฟัง การดู 5. การอ่านสารในงานอาชีพแล้วสามารถน าทักษะการฟัง การดู และการอ่านไปพัฒนาตนเองในงานอาชีพได้ อธิบายโครงสร้างและความส าคัญของเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีพได้ 6. ระบุใจความส าคัญ วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย ตีความข้อมูลในเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีพแล้วน าไปพัฒนา ตนเองในงานอาชีพได้ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
42 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท 30209 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการน าเสนอในงาน อาชีพ การพูดน าเสนอในงานอาชีพ การพูดสาธิต ความรู้ เบื้องต้นในการพูดติดต่อกิจธุระ การพูด ติดต่อกิจธุระอย่างมีประสิทธิภาพ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนในงาน อาชีพ การเขียนรายงาน การปฏิบัติงาน การเขียนจดหมายกิจธุระ และการเขียนโฆษณาประชาสัมพันธ์ในงานอาชีพ โดยใช้ทักษะการอ่าน การดู การฟังและการตีความ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า สารในงาน อาชีพ การเขียน การพูด การแสดงความคิดเห็น และเสนอความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวมถึงทักษะกระบวนการใน การแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการท างาน ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการใช้เทคโนโลยี และทักษะการสื่อสาร appro เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาษาไทย สามารถใช้ภาษาไทยสื่อสารในงานอาชีพ ได้อย่างถูกต้องตาม หลักการใช้ภาษา สามารถน าทักษะทางภาษาไทยไปใช้พัฒนาตนเองและงาน อาชีพได้ เห็นคุณค่าและความส าคัญของ การใช้ภาษาไทย พร้อมทั้งน าหลักความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบ ขั้นตอนการเตรียม และวิธีพูดน าเสนอในงานอาชีพได้ 2. พูดน าเสนอผลงานของตนเองโดยใช้วิธีที่เหมาะสมและใช้ทักษะการพูดน าเสนอผลงานไปพัฒนาตนเองใน งานอาชีพได้ 3. อธิบายจุดมุ่งหมายของการพูดติดต่อกิจธุระและแนวทางการใช้ภาษาไทยเพื่อการพูดติดต่อกิจธุระในงาน อาชีพได้ 4. พูดติดต่อกิจธุระในงานอาชีพได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและมารยาทในการพูดติดต่อกิจธุระ 5. อธิบายความส าคัญ หลักการ และแนวทางการใช้ภาษาเพื่อเขียนสื่อสารในงานอาชีพได้ 6. เขียนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีพได้ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
43 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I30201 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้: IS 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1.0 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะ ตั้งประเด็นปัญหา ตั้งค าถามในเรื่องที่สนใจโดยเริ่มจากตนเอง เชื่อมโยงกับ ชุมชน ท้องถิ่นและประเทศ ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลโดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่างๆ ค้นคว้าแสวงหา ความรู้เกี่ยวกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่ เหมาะสม ท างานบรรลุผลตามเปูาหมายภายในกรอบการด าเนินงานที่ก าหนด โดยการ ก ากับดูแล ช่วยเหลือของครู อย่างต่อเนื่อง สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้และร่วมกันเสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติและ กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ เปรียบเทียบเชื่อมโยงองค์ความรู้ สังเคราะห์สรุป อภิปราย เพื่อให้เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. ตั้งประเด็นปัญหาจากสถานการณ์ปัจจจุบันและสังคมโลก 2. ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่าง ๆ ที่มี ทฤษฎีรองรับ 3. ออกแบบวางแผนใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม 7. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู้
44 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I30202 การสื่อสารและการน าเสนอ :IS2 (Communication and Presentation: IS2) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาเรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างสร้างสรรค์จากรายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลกโดย เขียนโครงร่าง บทน า เนื้อเรื่องสรุปในรูปของรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็นภาษาไทยจ านวน 4,000 ค า หรือเป็นภาษาอังกฤษ จ านวน 2,000 ค า มีการอ้างอิงแหล่งความรู้ที่เชื่อถือได้อย่างหลากหลาย ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ เรียบเรียงและถ่ายทอดสื่อสารน าเสนอความคิดอย่างชัดเจนเป็นระบบมีการน าเสนอใน รูปแบบเดี่ยว (Oral Individual Presentation) หรือกลุ่ม (Oral Panel Presentation) โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ หลากหลาย และมีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เพื่อให้เกิดทักษะในการเขียนรายงานเชิงวิชาการและทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพเห็นประโยชน์และ คุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. วางโครงร่างการเขียนตามหลักเกณฑ์ องค์ประกอบและวิธีการเขียนโครงร่าง 2. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการ เป็นภาษาไทยความยาว 4,000 ค า หรือภาษาอังกฤษความ ยาว 2,000 ค า 3. น าเสนอข้อค้นพบข้อสรุปจากประเด็นที่เลือกในรูปแบบเดี่ยว (Oral Individual Presentation) หรือ กลุ่ม (Oral Panel Presentation) โดยใช้เทคโนโลยีที่หลากหลาย 4. เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะโดยใช้การสนทนา/วิพากษ์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น e-conference, social media online 5. เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นประโยชน์ รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
45 แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์: การน าองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม : IS3 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เป็นกิจกรรมที่น าความรู้ หรือประยุกต์ใช้ความรู้จากสิ่งที่ศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้จากสิ่งที่ศึกษาค้นคว้าและ เรียนรู้จากรายวิชาเพิ่มเติม การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation : IS1) และการสื่อสารและการน าเสนอ (Communication and Presentation : IS2) ไปสู่การปฏิบัติในการ สร้างสรรค์โครงงาน/โครงการต่างๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะหรือบริการสังคม ชุมชน ประเทศหรือสังคม โลก มีการก าหนดเปูาหมาย วัตถุประสงค์ วางแผนการท างาน และตรวจสอบความก้าวหน้า วิเคราะห์ วิจารณ์ผล ที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรมหรือโครงงาน/โครงการโดยใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมจิตอาสาที่ไมมีค่าจ้างตอบแทน เป็นกิจกรรมที่ให้มีความรู้ตระหนักรู้ มีส านึกความรับผิดชอบต่อตนเอง และต่อสังคม เป้าหมายการด าเนินกิจกรรม 1. วิเคราะห์องค์ความรู้จากการเรียนในสาระ IS1 และ IS2 เพื่อก าหนดแนวทางไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม (Public Service) 2. เขียนเปูาหมาย/วัตถุประสงค์ เค้าโครง กิจกรรม/โครงงานและแผนปฏิบัติโครงงาน/ โครงการ 3. ปฏิบัติตามแผนและตรวจสอบความก้าวหน้าทางการปฏิบัติโครงงาน/โครงการ 4. ร่วมแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิพากษ์ การปฏิบัติโครงงาน/โครงการ 5. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม/โครงงาน/โครงการ และแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น ต่อผลการปฏิบัติงานหรือกิจกรรม ซึ่งแสดงถึงการตระหนักรู้ มีส านึกความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 6. แสดงผลงานต่อชุมชน 7. เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้