346 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ33206 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------- อ่านข้อความ ข่าวสารข้อมูล บทความ บทสนทนา เรื่องเล่า เรื่องสั้น นิทาน บทกวีและบทอ่านต่างๆ ออกเสียงได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทอ่านที่เป็นข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรองและบทละครสั้น (skit) จับใจความส าคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความตีความ และแสดงความคิดเห็น จากการอ่านเรื่องที่เป็นสารคดี และบันเทิงคดี เขียนประโยคและข้อความเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ใน ท้องถิ่น ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าวสารข้อมูล กิจกรรมและเหตุการณ์ ที่อยู่ในความสนใจของสังคมและโลก ตามโครงสร้างทางภาษาที่ก าหนดให้ น าเสนอ รายงานข้อมูล สรุปใจความส าคัญ และแสดงความคิดเห็น ตอบ ค าถาม บอกรายละเอียดและให้เหตุผลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยกระบวนการฝึกทักษะทางภาษาในการอ่านและการเขียน กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด วิเคราะห์และกระบวนการสืบค้น ค้นคว้าอย่างสร้างสรรค์ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การค้นคว้า มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน และเห็นความส าคัญ ของการศึกษาเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ผลการเรียนรู้ 1. อ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน บอกหรือสรุปความหมายจากสิ่งอ่านได้ 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องราว/สิ่งที่ฟังและอ่านข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง นิทาน เรื่องสั้นและบทกวี 3. จับใจความส าคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความตีความจากเรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี 4. ตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นจากการอ่านตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นจากการฟัง-อ่าน 5. เขียนสรุป บันทึก ข่าว ความเรียงเป็นประโยคและข้อความที่เกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกล้ตัว /ในท้องถิ่น ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ กิจกรรมและเหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสังคมและ โลก ตามโครงสร้างทางภาษาที่ก าหนด 6. น าเสนอ รายงานข้อมูล สรุปใจความส าคัญและแสดงความคิดเห็นด้วยภาษาและเหตุผลที่ถูกต้อง และเหมาะสม 7. มีนิสัยรักการอ่าน ใฝุเรียนรู้รักการศึกษาค้นคว้า รับผิดชอบ มีวินัยและเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
347 อธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ 31207 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ใช้ภาษา ท่าทาง น้ าเสียงเหมาะสมตามมารยาทสังคม ใช้ภาษาที่เกี่ยวกับค าสั่ง ค าขอร้อง ค าชี้แจง ค าบรรยาย ค าแนะน า สารสนเทศและคู่มือต่างๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข้อมูล ข่าวสารบทความ สาร คดี บันเทิงคดีจากสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้ภาษาแสดงความต้องการความคิดเห็นต่อวัฒนธรรม ประเพณีและความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา แสดงความต้องการ เจรจาต่อรอง น าเสนอเรื่องราว รายงานเกี่ยวกับ ประสบการณ์และเหตุการณ์ทั่วไปใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารในรูปแบบต่างๆ กับบุคคลในสถานศึกษา และชุมชน โดยการฝึกทักษะในการสื่อสารด้านการฟังและการพูดเกี่ยวกับการใช้ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าชี้แจง ค าบรรยาย ค าแนะน า สารสนเทศ ฝึกสนทนาในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ บันเทิงคดี น าเสนอรายงานเกี่ยวกับประสบการณ์ต่างๆ และน าความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษามา ประยุกต์ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมโดยการเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ตระหนักในคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมที่เรียน มีความใฝุรู้ ใฝุเรียน มีวินัยในตนเอง มีความซื่อสัตย์ มุ่งมั่นในการท างาน มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. ใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ ภายในสถานศึกษา ท้องถิ่นและชุมชนได้ 2. เข้าใจภาษาท่าทาง น้ าเสียง พูดโต้ตอบในเรื่องค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า บรรยาย สารสนเทศและคู่มือ ต่างๆได้ 3. น าเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิงคดีจากสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้ 4. พูดเกี่ยวกับเรื่องราว รายงาน ประสบการณ์และเหตุการณ์ทั่วไปได้ 5. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้เหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาได้ 6. บอกเหตุผลความเป็นมาของวันส าคัญ เทศกาล และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาได้ 7. ใช้ภาษาอังกฤษในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ 8. ใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารในรูปแบบต่างๆ กับบุคคลในสถานศึกษา ชุมชน ในการปฏิบัติงานและท ากิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 9. ตระหนักในคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมที่เรียน และน าความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมมา ประยุกต์ในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมได้ รวม 9 ผลการเรียนรู้
348 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ 31208 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ใช้ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง เหมาะสมตามมารยาทสังคม ใช้ภาษาที่เกี่ยวกับค าสั่ง ค าขอร้อง ค าชี้แจง ค า บรรยาย ค าแนะน า สารสนเทศและคู่มือต่างๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิงคดี จากสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใช้ภาษาแสดงความต้องการ ความคิดเห็น ต่อวัฒนธรรม ประเพณีและความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา แสดงความต้องการ เจรจาต่อรอง น าเสนอเรื่องราว รายงานเกี่ยวกับประสบการณ์และเหตุการณ์ทั่วไปใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารในรูปแบบต่างๆ กับบุคคล ในสถานศึกษา และชุมชน โดยการฝึกทักษะในการสื่อสารด้านการฟังและการพูดเกี่ยวกับการใช้ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าชี้แจง ค า-บรรยาย ค าแนะน า สารสนเทศ ฝึกสนทนาในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ บันเทิง คดี น าเสนอรายงานเกี่ยวกับประสบการณ์ต่างๆ และน าความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษามาประยุกต์ในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมโดยการเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เพื่อให้ตระหนักในคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมที่เรียน มีความใฝุรู้ ใฝุเรียน มีวินัยในตนเอง มีความ ซื่อสัตย์ มุ่งมั่นในการท างาน มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. ใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ ภายในสถานศึกษา ท้องถิ่น และชุมชนได้ 2. เข้าใจภาษาท่าทาง น้ าเสียง พูดโต้ตอบในเรื่องค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า บรรยาย สารสนเทศและคู่มือ ต่างๆ ได้ 3. น าเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับ ข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิงคดีจากสื่อสิ่งพิมพ์หรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้ 4. พูดเกี่ยวกับเรื่องราว รายงาน ประสบการณ์และเหตุการณ์ทั่วไปได้ 5. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้เหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ได้ 6. บอกเหตุผลความเป็นมาของวันส าคัญ เทศกาล และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ได้ 7. ใช้ภาษาอังกฤษในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ 8. ใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารในรูปแบบต่างๆกับบุคคลในสถานศึกษา ชุมชน ในการปฏิบัติงาน และท ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
349 9. ตระหนักในคุณค่าของภาษาและวัฒนธรรมที่เรียน และน าความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและ วัฒนธรรมมาประยุกต์ในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมได้ รวม 9 ผลการเรียนรู้
350 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ 32209 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การฝึกทักษะการฟัง–พูด การเรียนรู้ค าศัพท์ ส านวนและโครงสร้างภาษา การออกเสียงค าและประโยค การลงเสียงหนัก–เบา เสียงสูง–ต่ า การพูดรวบค า การตีความจากส านวนภาษาและน้ าเสียงของผู้พูด รวมทั้ง วิธีการฝึกทักษะการฟังและพูดโดยก าหนดเนื้อหาในหัวข้อ การบรรยายลักษณะท่าทางและอุปนิสัยของบุคคล การ เรียนวิชาต่างๆ ในโรงเรียน ปัญหาส่วนตัว การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนแวดล้อมใกล้ตัว ข่าว บุคลิกภาพส่วนบุคคล เรื่องแปลกประหลาดเหลือเชื่อ เค้าโครงเรื่องภาพยนตร์แบบต่างๆ และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตจริง เพื่อ ฝึกทักษะการฟัง การจับใจความ การถ่ายโอนข้อมูลเป็นสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ การวิเคราะห์ความ การ สรุปความและตีความจากส านวนภาษา และน้ าเสียงของผู้พูด การพูดแสดงความคิดเห็น การพูดเพื่อขอและให้ ข้อมูล การพูดขอร้อง การตอบรับและปฏิเสธ การแสดงความรู้สึกและการให้เหตุผล การค้นคว้า รวบรวม สรุปและ น าเสนอข้อมูล โดยกระบวนการฝึกทักษะการฟังและการพูด กระบวนการกลุ่ม การสืบค้น/การค้นคว้า การสอบถาม การ สัมภาษณ์ การแสดงบทบาทสมมุติตามสถานการณ์จ าลองและสถานการณ์จริงทั้งในและนอกห้องเรียน มีความมั่นใจ ในการใช้ภาษาอังกฤษในสื่อสาร อย่างถูกและต้องเหมาะสม ตามกาลเทศะ บุคคลและ มารยาททางสังคม เห็นคุณค่าและความส าคัญของการเรียนภาษาต่างประเทศ ใฝุเรียนรู้ มีวินัย รักการท างาน มี ความรับผิดชอบและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาต่างประเทศ ผลการเรียนรู้ 1. จับใจความส าคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการฟังข่าว บทควาเรื่องเล่า บทสนทนาและค าบรรยายได้ถูกต้อง 2. ปฏิบัติตามค าแนะน าในคู่มือการใช้งานต่างๆ ค าชี้แจง ค าอธิบาย และค าบรรยายที่ฟังได้อย่างถูกต้อง 3. พูดโต้ตอบ ตอบค าถามและใช้ค าพูดเพื่อขอและให้ข้อมูล เล่าเรื่อง บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องประเด็นข่าว/ เหตุการณ์ที่ได้ฟัง/อ่าน ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม กับระดับชั้น 4. วิเคราะห์อภิปรายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิตความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย และน าไปใช้ได้อย่างมีเหตุผล 5. ค้นคว้า สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และน าเสนอด้วยการพูดได้อย่างเหมาะสมกับระดับชั้น
351 6. เลือกใช้ภาษา น้ าเสียง ลักษณะและกิริยาท่าทางได้เหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานที่ ตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 7. มีมารยาทที่ดีในการฟังและการซักถาม รู้จักปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
352 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ 32210 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การฝึกทักษะการฟัง–พูด การเรียนรู้ค าศัพท์ ส านวนและโครงสร้างภาษา การออกเสียงค าและประโยค การศึกษาความหมาย การตีความจากส านวนภาษาและน้ าเสียงของผู้พูด รวมทั้งการฝึกทักษะการฟังและพูดโดย ก าหนดเนื้อหาในหัวข้อ การพูด การบรรยาย การเล่าเรื่องและการน าเสนอเรื่องเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจ าวัน กิจกรรม ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม ข่าว/เหตุการณ์ประเพณี งานเทศกาล งานฉลอง วันส าคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและของไทย การตอบค าถาม สนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่อง ที่ฟัง-อ่าน ข้อความ บทสนทนา นิทาน เรื่องสั้นและที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง แล้วสรุปประเด็นส าคัญ ได้ การบรรยายลักษณะท่าทางและอุปนิสัยของบุคคล กิจกรรม การเรียนวิชาต่างๆ ในโรงเรียน ปัญหาส่วนตัว ความสนใจและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนแวดล้อมใกล้ตัว การสนทนาเกี่ยวกับข่าว เรื่องราว เหตุการณ์ ประสบการณ์เรื่องทั่วๆ หรือเรื่องราวที่ก าหนดให้ โดยกระบวนการฝึกทักษะทางภาษาเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและใช้ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ค า-ชี้แจง และปฏิบัติตามได้ถูกต้อง เหมาะสม เข้าร่วมและจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมโดยสามารถสื่อสารด้วย ภาษา น้ าเสียง และ กิริยาท่าทางสุภาพเหมาะสม ทั้งในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จ าลองอย่างถูกต้อง เหมาะสมตามกาลเทศะ เป็นผู้ฟังและผู้พูดที่ดี มีมารยาทในการฟังและพูด ใฝุเรียนรู้ รับผิดชอบ มีวินัย มีความซื่อสัตย์สุจริตและมี เจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาต่างประเทศ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูด รวมทั้งเข้าใจค าสั่ง ค าขอร้องและค าแนะน าและปฏิบัติตาม ได้ถูกต้อง 2. บอกความหมายค าศัพท์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นที่น ามาบูรณาการในการเรียนภาษาได้ 3. มีมารยาทในการฟังและเป็นผู้ฟังที่ดี รู้จักใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับ บุคคล สถานที่ โอกาสและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและของไทย 4. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาในเรื่องค า วลี ส านวนประโยคและข้อความต่างๆและน าไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม 5. ให้และขอข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัว ข่าว กิจกรรม เหตุการณ์และบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันได้ 6. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆ ไปตาม ความสนใจ
353 7. ตอบค าถามและใช้ค าถาม พูดโต้ตอบ พูดสนทนาด้วยถ้อยค า กิริยาท่าทางและน้ าเสียงสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาททางสังคมและมารยาทไทย รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
354 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ 33211 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เลือกค าใช้ค าขอร้อง ค าแนะน า ค าชี้แจง ค าอธิบายอธิบายเปรียบเทียบความแตกต่างโครงสร้างประโยค ข้อความส านวน ค าพังเพย สุภาษิตและบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ใช้ภาษาสื่อสารสถานการณ์จริง/สถานการณ์จ าลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม โดยพูดสนทนาข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัวประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าวเหตุการณ์พูด ประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังพูดบรรยายแสดงความคิดเห็น เรื่องต่างๆกิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ มีทักษะในการสื่อสาร ผลการเรียนรู้ 1. สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน 2. พูดเพื่อขอและให้ข้อมูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม 3. พูดแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้น ๆ ประกอบอย่างเหมาะสม 4. เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
355 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ 33212 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เลือกใช้ค าในการขอร้อง ค าแนะน า ค าชี้แจง ค าอธิบายอธิบายประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียงรูปแบบต่าง ๆสรุปใจความส าคัญเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ เหตุการณ์ทั้งในท้องถิ่น สังคมและ โลกอธิบายเปรียบเทียบความแตกต่างโครงสร้างประโยค ข้อความส านวน ค าพังเพย สุภาษิตและบทกลอนของ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย สรุป แสดงความคิดเห็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ พูดสนทนาข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องราวใกล้ตัวประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าวเหตุการณ์พูดขอ และให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟัง และอ่าน โดยพูดน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว /เหตุการณ์ เรื่องประเด็นตามความสนใจของ สังคม พูดจากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์สถานการณ์ตามความสนใจ พูดแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ เหตุการณ์ทั้งในท้องถิ่น สังคมและ โลกค้นคว้าสืบค้น บันทึก ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ มีทักษะในการสื่อสาร ผลการเรียนรู้ 1. พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้น ๆ 2. พูดบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจ าวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว 3. พูดพูดสรุปใจความส าคัญ/แก่นสาระ (theme) ที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/เหตุการณ์ที่อยู่ในความ สนใจของสังคม 4. เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
356 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา อ33213ความถนัดทางภาษาอังกฤษ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- อ่านเพื่อหาหัวข้อเรื่อง จับใจความส าคัญ และบอกรายละเอียดที่สนับสนุนจากเรื่อง อ่านบทอ่านประเภท สารคดีและบันเทิงคดี ทักษะการพูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น กิจกรรม ประสบการณ์ รวมถึงการสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งในระดับ ท้องถิ่น ระดับภูมิภาคและระดับประเทศได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริงและสถานการณ์ จ าลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน และนอกห้องเรียน รวมถึงใช้ความรู้ทางภาษาในการศึกษา ค้นคว้าข้อมูลและความรู้ จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น แหล่งข้อมูลสารสนเทศ และห้องสมุด โดยให้ผู้เรียนฝึกทักษะทางภาษา พัฒนาทักษะการวิเคราะห์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีการตั้ง ค าถามและการให้เหตุผล ตลอดจนการส่งเสริมผู้เรียนในการใช้ภาษาสื่อความในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่าง คล่องแคล่ว ถูกต้องและเหมาะสม เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในด้านความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้และมุ่งมั่นในการ ท างาน ผลการเรียนรู้ 1. อ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน 2. อ่านเรื่องที่ก าหนดให้เรียนรู้ความหมายของค าศัพท์และส านวน จับใจความส าคัญและรู้จัก แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน 3. สรุปใจความส าคัญที่ได้จากการอ่าน ตอบค าถาม เสนอความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่อง ที่อ่าน 4. สื่อสารด้วยการเขียนและให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม 5. ตระหนักถึงความส าคัญของการอ่านและเขียน สามารถตีความจากเรื่องที่อ่านและแสดงความ- คิดเห็นอย่างมีเหตุผล 6. มีนิสัยรักการอ่าน ใฝุเรียนรู้และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
357 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ33214 ความถนัดทางภาษาอังกฤษ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- จับใจความส าคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็น สารคดีและบันเทิง พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบายเปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย ความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรมประสบการณ์และข่าว เหตุการณ์อย่าง มีเหตุผล เลือกใช้ภาษา น้ าเสียงและกริยาท่าทางเหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานที่ ตามมารยาท ทางสังคม โดยใช้กระบวนการสืบค้น ค้นคว้า การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น น าเสนอข้อมูล ใช้ภาษาเพื่อการขอและให้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้และการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น มีความรู้ความเข้าใจ น าไปใช้ประโยชน์และเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อประยุกต์ใช้ใน การพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม ศึกษาต่อหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม มีทัศนคติเชิงบวก ในการเรียนภาษาอังกฤษและมีความเข้าใจในเรื่องความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ผลการเรียนรู้ 1. รู้และเข้าใจหลักเกณฑ์และรูปแบบของภาษา โครงสร้าง ชนิดของค าและหน้าที่ บอกความแตกต่าง และน าไปใช้ได้อย่างถูกต้อง 2. รู้และเข้าใจหลักเกณฑ์ เทคนิคการอ่าน การสืบค้น การจับใจความส าคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการอ่าน พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบได้ 3. มีทักษะและมารยาทในการฟังและพูด แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก ความต้องการและความคิดเห็น ของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว และเหตุการณ์อย่างเหมาะสม 4. มีทักษะการสื่อสาร การเลือกใช้ภาษา น้ าเสียงและกริยาท่าทางเหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ตามมารยาททางสังคม 5. พูดและเขียนเพื่อขอ ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราว ประเด็นข่าวหรือเหตุการณ์อย่างเหมาะสม 6. เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในการด ารงชีวิต ศึกษาต่อหรือการประกอบอาชีพได้อย่าง เหมาะสม มีทัศนคติเชิงบวก และมีความเข้าใจในเรื่องความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
358 ค าอธิบายรายวิชา อ31215 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เข้าใจ ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูดเกี่ยวกับชีวิตประจ าวันและอนาคต น าเสนอ ข้อมูล ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ต่างๆได้พอสมควร เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิด วิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. สื่อสารด้วยภาษา ท่าทางและน้ าเสียงที่เกี่ยวกับชีวิตประจ าวันได้ 2. ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน าที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ ต่างๆได้ 3. เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 4. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ ส่งสารได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน 5. สืบเสาะความรู้ด้วยทักษะกระบวนการกลุ่ม 6. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
359 ค าอธิบายรายวิชา อ31216 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เข้าใจ ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูดเกี่ยวกับชีวิตประจ าวันและอนาคต น าเสนอ ข้อมูล ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ต่างๆได้พอสมควร เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิด วิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. สื่อสารด้วยภาษา ท่าทางและน้ าเสียงที่เกี่ยวกับชีวิตประจ าวันได้ 2. ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน าที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ ต่างๆได้ 3. เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 4. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ ส่งสารได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน 5. สืบเสาะความรู้ด้วยทักษะกระบวนการกลุ่ม 6. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
360 ค าอธิบายรายวิชา อ32217 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เข้าใจ ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูดเกี่ยวกับชีวิตประจ าวันและอนาคต น าเสนอข้อมูล ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ต่างๆได้พอสมควร เสนอความ ช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิด วิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. สื่อสารด้วยภาษา ท่าทางและน้ าเสียงที่เกี่ยวกับชีวิตประจ าวันได้ 2. ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน าที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ ต่างๆได้ 3. เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 4. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ ส่งสารได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน 5. สืบเสาะความรู้ด้วยทักษะกระบวนการกลุ่ม 6. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
361 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ32218 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เข้าใจ ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูดเกี่ยวกับชีวิตประจ าวันและอนาคต น าเสนอข้อมูล ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ต่างๆได้พอสมควร เสนอความ ช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิด วิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. สื่อสารด้วยภาษา ท่าทางและน้ าเสียงที่เกี่ยวกับชีวิตประจ าวันได้ 2. ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน าที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ ต่างๆได้ 3. เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 4. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ ส่งสารได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน 5. สืบเสาะความรู้ด้วยทักษะกระบวนการกลุ่ม 6. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
362 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ33219 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เข้าใจ ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูดเกี่ยวกับชีวิตประจ าวันและอนาคต น าเสนอข้อมูล ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ต่างๆได้พอสมควร เสนอความ ช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิด วิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. สื่อสารด้วยภาษา ท่าทางและน้ าเสียงที่เกี่ยวกับชีวิตประจ าวันได้ 2. ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน าที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ ต่างๆได้ 3. เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 4. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ ส่งสารได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน 5. สืบเสาะความรู้ด้วยทักษะกระบวนการกลุ่ม 6. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
363 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ33220 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จ านวน 1.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เข้าใจ ภาษา ท่าทาง น้ าเสียง ความรู้สึกของผู้พูดเกี่ยวกับชีวิตประจ าวันและอนาคต น าเสนอข้อมูล ค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน า ที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ต่างๆได้พอสมควร เสนอความ ช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิด วิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. สื่อสารด้วยภาษา ท่าทางและน้ าเสียงที่เกี่ยวกับชีวิตประจ าวันได้ 2. ปฏิบัติตามค าสั่ง ค าขอร้อง ค าแนะน าที่พบในสื่อจริงและสามารถแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ ต่างๆได้ 3. เสนอความช่วยเหลือและบริการแก่ผู้อื่นในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 4. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ ส่งสารได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน 5. สืบเสาะความรู้ด้วยทักษะกระบวนการกลุ่ม 6. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการท างานและ มีจิตสาธารณะ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
364 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ31201 ภาษาจีน 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเพื่อให้เข้าใจค าศัพท์สามารถเรียนรู้วิธีการอ่านออกเสียงตาม ระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางและตัวอักษรจีนสามารถฟังพูดอ่านออกเสียงและเขียนค าวลีที่ถูกต้อง บอก ความหมายได้ และสามารถเขียนประโยคส านวนอย่างง่ายๆปฏิบัติตามค าสั่งค าขอร้องใช้ภาษาท่าทางสื่อสาร ความหมายให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจ าวันและสิ่งที่อยู่รอบตัวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองและเพื่อนได้เหมาะสมเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันส าคัญตามประเพณี วัฒนธรรมเจ้าของภาษาได้ โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ รับสารและส่งสารได้อย่างเหมาะสมถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาจีนตลอดจนวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน าไป ใช้ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทางน้ าเสียงความรู้สึกของผู้พูดรวมทั้งเข้าใจค าสั่งค าขอร้องและค าแนะน าอย่างง่ายๆ 2. บอกความหมายค าศัพท์ง่ายๆของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นที่น ามาบูรณาการในการเรียนภาษาจีน 3. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา 4. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องค าวลีส านวนประโยคและข้อความต่างๆและ น าไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 5. อ่านออกเสียงค าวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง 6. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันอย่างง่ายได้ 7. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆไปตามความสนใจ 8. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่ก าหนด ให้ได้ 9. พูดโต้ตอบสั้นๆด้วยถ้อยค าสุภาพตามมารยาททางสังคมของจีน 10. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นค ากลุ่มค าและประโยคอย่างง่ายๆและเติมเสียงวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
365 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ31202 ภาษาจีน 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเพื่อให้เข้าใจค าศัพท์สามารถเรียนรู้วิธีการอ่านออกเสียงตาม ระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางและตัวอักษรจีนสามารถฟังพูดอ่านออกเสียงและเขียนค าวลีที่ถูกต้อง บอก ความหมายได้ และสามารถเขียนประโยคส านวนอย่างง่ายๆปฏิบัติตามค าสั่งค าขอร้องใช้ภาษาท่าทางสื่อสาร ความหมายให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจ าวันและสิ่งที่อยู่รอบตัวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองและเพื่อนได้เหมาะสมเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันส าคัญตามประเพณี วัฒนธรรมเจ้าของภาษาได้ โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ รับสารและส่งสารได้อย่างเหมาะสมถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาจีนตลอดจนวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน า ไปใช้ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทางน้ าเสียงความรู้สึกของผู้พูดรวมทั้งเข้าใจค าสั่งค าขอร้องและค าแนะน าอย่างง่ายๆ 2. บอกความหมายค าศัพท์ง่ายๆของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นที่น ามาบูรณาการในการเรียนภาษาจีน 3. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา 4. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องค าวลีส านวนประโยคและข้อความต่างๆและ น าไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 5. อ่านออกเสียงค าวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง 6. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันอย่างง่ายได้ 7. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆไปตามความสนใจ 8. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่ก าหนด ให้ได้ 9. พูดโต้ตอบสั้นๆด้วยถ้อยค าสุภาพตามมารยาททางสังคมของจีน 10. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นค ากลุ่มค าและประโยคอย่างง่ายๆและเติมเสียงวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
366 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ32203 ภาษาจีน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเพื่อให้เข้าใจค าศัพท์สามารถเรียนรู้วิธีการอ่านออกเสียงตาม ระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางและตัวอักษรจีนสามารถฟังพูดอ่านออกเสียงและเขียนค าวลีที่ถูกต้อง บอก ความหมายได้ และสามารถเขียนประโยคส านวนอย่างง่ายๆปฏิบัติตามค าสั่งค าขอร้องใช้ภาษาท่าทางสื่อสาร ความหมายให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจ าวันและสิ่งที่อยู่รอบตัวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองและเพื่อนได้เหมาะสมเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันส าคัญตามประเพณี วัฒนธรรมเจ้าของภาษาได้ โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ รับสารและส่งสารได้อย่างเหมาะสมถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาจีนตลอดจนวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน า ไปใช้ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทางน้ าเสียงความรู้สึกของผู้พูดเข้าใจค าสั่งค าขอร้องและค าแนะน าอย่างง่ายๆ 2. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา 3. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องค าวลีส านวนประโยคและข้อความต่างๆ และน าไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 4. อ่านออกเสียงค าวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง 5. ใช้ความรู้ด้านภาษาจีนในการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นด้วยวิธีการที่หลากหลาย 6. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันอย่างง่ายๆได้ 7. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆไปตาม ความสนใจพร้อมทั้งเสนอความคิดรวบยอดที่มีต่อเหตุการณ์หรือเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์ 8. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่ ก าหนดให้ 9. พูดโต้ตอบสั้นๆด้วยถ้อยคาสุภาพตามมารยาททางสังคมของจีน 10. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นค ากลุ่มค าและประโยคอย่างง่ายๆและเติมเสียงวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
367 อธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ32204 ภาษาจีน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเพื่อให้เข้าใจค าศัพท์สามารถเรียนรู้วิธีการอ่านออกเสียงตาม ระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางและตัวอักษรจีนสามารถฟังพูดอ่านออกเสียงและเขียนค าวลีที่ถูกต้อง บอก ความหมายได้ และสามารถเขียนประโยคส านวนอย่างง่ายๆปฏิบัติตามค าสั่งค าขอร้องใช้ภาษาท่าทางสื่อสาร ความหมายให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจ าวันและสิ่งที่อยู่รอบตัวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองและเพื่อนได้เหมาะสมเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันส าคัญตามประเพณี วัฒนธรรมเจ้าของภาษาได้ โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ รับสารและส่งสารได้อย่างเหมาะสมถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาจีนตลอดจนวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน า ไปใช้ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทางน้ าเสียงความรู้สึกของผู้พูดเข้าใจค าสั่งค าขอร้องและค าแนะน าอย่างง่ายๆ 2. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา 3. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องค าวลีส านวนประโยคและข้อความต่างๆ และน าไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 4. อ่านออกเสียงค าวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง 5. ใช้ความรู้ด้านภาษาจีนในการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นด้วยวิธีการที่หลากหลาย 6. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันอย่างง่ายๆได้ 7. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆไปตาม ความสนใจพร้อมทั้งเสนอความคิดรวบยอดที่มีต่อเหตุการณ์หรือเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์ 8. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่ ก าหนดให้ 9. พูดโต้ตอบสั้นๆด้วยถ้อยคาสุภาพตามมารยาททางสังคมของจีน 10. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นค ากลุ่มค าและประโยคอย่างง่ายๆและเติมเสียงวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
368 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ33205 ภาษาจีน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเพื่อให้เข้าใจค าศัพท์สามารถเรียนรู้วิธีการอ่านออกเสียงตาม ระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางและตัวอักษรจีนสามารถฟังพูดอ่านออกเสียงและเขียนค าวลีที่ถูกต้อง บอก ความหมายได้ และสามารถเขียนประโยคส านวนอย่างง่ายๆปฏิบัติตามค าสั่งค าขอร้องใช้ภาษาท่าทางสื่อสาร ความหมายให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจ าวันและสิ่งที่อยู่รอบตัวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองและเพื่อนได้เหมาะสมเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันส าคัญตามประเพณี วัฒนธรรมเจ้าของภาษาได้ โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ รับสารและส่งสารได้อย่างเหมาะสมถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาจีนตลอดจนวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน า ไปใช้ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทางน้ าเสียงความรู้สึกของผู้พูดเข้าใจค าสั่งค าขอร้องและค าแนะน าอย่างง่ายๆ 2. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา 3. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องค าวลีส านวนประโยคและข้อความต่างๆ และน าไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 4. อ่านออกเสียงค าวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง 5. ใช้ความรู้ด้านภาษาจีนในการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นด้วยวิธีการที่หลากหลาย 6. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันอย่างง่ายๆได้ 7. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆไปตาม ความสนใจพร้อมทั้งเสนอความคิดรวบยอดที่มีต่อเหตุการณ์หรือเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์ 8. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่ ก าหนดให้ 9. พูดโต้ตอบสั้นๆด้วยถ้อยคาสุภาพตามมารยาททางสังคมของจีน 10. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นค ากลุ่มค าและประโยคอย่างง่ายๆและเติมเสียงวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
369 ค าอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ33206 ภาษาจีน 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จ านวน 0.5 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ฝึกทักษะการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเพื่อให้เข้าใจค าศัพท์สามารถเรียนรู้วิธีการอ่านออกเสียงตาม ระบบสัทอักษรภาษาจีนกลางและตัวอักษรจีนสามารถฟังพูดอ่านออกเสียงและเขียนค าวลีที่ถูกต้อง บอก ความหมายได้ และสามารถเขียนประโยคส านวนอย่างง่ายๆปฏิบัติตามค าสั่งค าขอร้องใช้ภาษาท่าทางสื่อสาร ความหมายให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆในชีวิตประจ าวันและสิ่งที่อยู่รอบตัวรวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องราวจากประสบการณ์ของตนเองและเพื่อนได้เหมาะสมเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันส าคัญตามประเพณี วัฒนธรรมเจ้าของภาษาได้ โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ รับสารและส่งสารได้อย่างเหมาะสมถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาจีนตลอดจนวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและน า ไปใช้ได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจภาษาท่าทางน้ าเสียงความรู้สึกของผู้พูดเข้าใจค าสั่งค าขอร้องและค าแนะน าอย่างง่ายๆ 2. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา 3. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องค าวลีส านวนประโยคและข้อความต่างๆ และน าไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม 4. อ่านออกเสียงค าวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง 5. ใช้ความรู้ด้านภาษาจีนในการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นด้วยวิธีการที่หลากหลาย 6. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวันอย่างง่ายๆได้ 7. ใช้ภาษาในการขอหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวเหตุการณ์ประสบการณ์หรือเรื่องทั่วๆไปตาม ความสนใจพร้อมทั้งเสนอความคิดรวบยอดที่มีต่อเหตุการณ์หรือเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์ 8. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่ ก าหนดให้ 9. พูดโต้ตอบสั้นๆด้วยถ้อยคาสุภาพตามมารยาททางสังคมของจีน 10. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นค ากลุ่มค าและประโยคอย่างง่ายๆและเติมเสียงวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้
370 บทที่ 4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
371 บทที่ 4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ความหมายและความส าคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ก าหนดแนวทางการจัดการศึกษาโดยยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด กระบวนการจัดการ ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน แต่ควรค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญเหตุการณ์ ประกอบกับมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และเทคโนโลยี ก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียต่อการด าเนินชีวิตในปัจจุบันของบุคคล ส่งผลให้เกิดความยุ่งยากและมี ความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิถีการด าเนินชีวิตให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี มีความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ก าหนดให้จัดขึ้นส าหรับผู้เรียนทุกคน ทุกระดับชั้น มุ่ง ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนารอบด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตส านึกของการท า ประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ ทักษะ และเจตคติจากการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรม เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถส าคัญ ได้แก่ ความสามารถใน การสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เกิดทักษะการท างานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะ เป็นพลเมืองไทยและพลโลก หลักการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตร มีหลักการส าคัญดังนี้ 1. มีเปูาหมายของการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และครอบคลุมผู้เรียนทุกคน 2. เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างรอบด้าน เต็มศักยภาพ ตามความสนใจ ความถนัด และ ความต้องการ เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะ
372 3. เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตส านึกในการบ าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ในลักษณะต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ 4. เป็นกิจกรรมที่ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้น าชุมชน ปราชญ์ ชาวบ้าน องค์กรและหน่วยงานอื่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม เป้าหมาย การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนใช้ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จาก การ เรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดสมรรถนะส าคัญ 5 ประการ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการ คิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี อันจะ น าไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็นไทย และ มีจิตสาธารณะ แนวทางการจัดกิจกรรม หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีแนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดังนี้ 1. ให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ 2.ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย ฝึกท างานที่สอดคล้องกับชีวิตจริง ตลอดจน สะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียน 3. จัดกิจกรรมอย่างสมดุลทั้ง 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ โดยจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกสถานศึกษาอย่าง สม่ าเสมอและ ต่อเนื่อง 4. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นผู้ด าเนินการ โดยการศึกษาและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่าง เป็นระบบ เน้นการคิดวิเคราะห์และใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการด าเนินกิจกรรม 5. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม และการเรียนรู้แบบร่วมมือมากกว่ามุ่งเน้นการแข่งขันบนพื้นฐาน การปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตย 6. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรมต่อสาธารณชน ขอบข่ายการจัดกิจกรรม หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แบ่งกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนออกเป็น 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยจัดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบและวิธีการ โดยมีขอบข่าย ดังนี้
373 1. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้นในลักษณะ เป็น กระบวนการเชิงบูรณาการ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนสามารถบูรณาการระหว่างกิจกรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 2. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียนตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เน้นการให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวิชาความรู้ อาชีพ และการด าเนินชีวิตที่ดีงาม ตลอดจนเห็น แนวทางในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ 3. เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตส านึกการท าประโยชน์ต่อสังคมในลักษณะต่าง ๆ สนับสนุน ค่านิยมที่ดีงามและเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. เป็นกิจกรรมที่ฝึกการท างานและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และ ต่อส่วนรวม เพื่อเสริมสร้างความมีน้ าใจ ความเอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดี ความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดกิจกรรม 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด ตัดสินใจแก้ปัญหา ก าหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ค าปรึกษา แก่ ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ 1.1 จัดกิจกรรมเพื่อให้ครูได้รู้จักและช่วยเหลือผู้เรียนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการทางจิตวิทยา การจัดบริการสารสนเทศ โดยจัดให้มีเอกสารเพื่อใช้ในการส ารวจข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ด้วยการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การเขียนประวัติผู้เรียน การพบผู้ปกครองก่อนและระหว่างการเรียน การเยี่ยมบ้านผู้เรียน การให้ความช่วยเหลือผู้เรียนในเรื่องสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดท าระเบียนสะสม สมุดรายงานประจ าตัวผู้เรียน 1.2 กิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยท าแบบทดสอบเพื่อรู้จักและเข้าใจตนเอง มีทักษะ ในการตัดสินใจ การปรับตัว และการวางแผนเพื่อเลือกศึกษาต่อหรือเลือกอาชีพ 1.3 จัดบริการให้ค าปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และรายกลุ่มในด้านการศึกษา อาชีพ และส่วนตัว โดยมีผู้ให้ค าปรึกษาที่มีคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ ตลอดจนมีบริการห้องให้ค าปรึกษาที่เหมาะสม 1.3.1 ช่วยเหลือผู้เรียนที่ประสบปัญหาด้านการเงิน โดยการให้ทุนการศึกษาแก่ ผู้เรียน 1.3.2 ติดตามเก็บข้อมูลของนักเรียนที่ส าเร็จการศึกษา
374 2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมตามความถนัด ความสนใจ โดย มุ่งเน้นในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย การไม่เห็นแก่ตัว ความเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การท างานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจ ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน และ ความเอื้ออาทรและสมานฉันท์ แบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม ดังนี้ 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร ประกอบด้วย 2.1.1 กิจกรรมลูกเสือ–เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ เป็นกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังระเบียบวินัย และ กฎเกณฑ์ เพื่อการอยู่ร่วมกันให้รู้จักการเสียสละและบ าเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและวิถีชีวิตในระบอบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ซึ่งการจัดกิจกรรมลูกเสือ–เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ เป็นไป ตาม ข้อบังคับของส านักงานลูกเสือแห่งชาติ 2.1.2 กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร เป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย เชื่อฟังและปฏิบัติ ตามค าสั่ง ปฏิบัติตนอยู่ในกรอบของประเพณีและวัฒนธรรมที่ดี และมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง 2.2 กิจกรรมชุมนุม เป็นกิจกรรมที่เกิดจากการรวมกลุ่มของผู้เรียนที่มีความสนใจ ความถนัด เรื่องเดียวกัน และร่วมปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ของตนให้เต็ม ตามศักยภาพ ตลอดจนปลูกฝังจิตส านึกในการท าประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 2.3 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม อาจจัดเป็นกิจกรรมปกครอง หัวหน้าระดับหรือครูที่ปรึกษาพบผู้เรียนเพื่อชี้แจง หรืออบรมผู้เรียน หรือ จัดเป็นกิจกรรมสวดมนต์ ฝึกสมาธิก็ได้ 2.4 กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ เป็นกิจกรรมเพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกทักษะ คิดวิเคราะห์ มีประสบการณ์ตรง ท างานเป็นทีม และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะกิจกรรม บ าเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมอาสาพัฒนา หรือกิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยผู้เรียนด าเนินการด้วยตนเอง ในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม และมีจิตสาธารณะ
375 โครงสร้างการจัดกิจกรรม หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาการจัดกิจกรรมดังนี้ กิจกรรม มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 1.กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 2.กิจกรรมนักเรียน 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีและ กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร 2.2 กิจกรรมชุมนุม 2.3 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 2.4 กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40* 20 40* 20 40* 20 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 20 20 20 รวมเวลาทั้งหมด 120 120 120 120 120 120 * นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เลือกเข้าร่วมกิจกรรมในข้อ 2.1 หรือ 2.2 กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
376 การประเมินกิจกรรม การประเมินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการประเมินโดยผู้เรียนต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา ก าหนด โดยมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนค้นหาศักยภาพของตน สะท้อนแนวคิดจากการปฏิบัติกิจกรรม การท างานกลุ่ม การมีจิตสาธารณะ และให้ ทุกฝุายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการประเมิน ส าหรับการประเมินกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน มีแนวทางการประเมินตาม แผนภาพดังนี้ แนวทางการประเมินกิจกรรม การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดแนวทางที่ชัดเจนในการประเมิน กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน 2 ประการ คือ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รายกิจกรรม และการประเมิน กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนเพื่อการตัดสิน 1. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม มีแนวปฏิบัติดังนี้ 1.1 ตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน
377 1.2 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะ ของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติ กิจกรรม 1.3 ผู้เรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะ ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด เป็นผู้ผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม และน าผลการประเมิน ไปบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน 1.4 ผู้เรียนที่มีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามที่สถานศึกษาก าหนด ครูหรือผู้รับผิดชอบต้องด าเนินการซ่อมเสริมและ ประเมินจนผ่าน ทั้งนี้ควรด าเนินการให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษานั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลพินิจของ คณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการ 2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อการตัดสิน มีแนวปฏิบัติดังนี้การประเมินกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนเพื่อตัดสินเลื่อนชั้นและจบระดับการศึกษา เป็นการประเมิน การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายภาค เพื่อสรุปผลการผ่านในแต่ละกิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อเลื่อนชั้น และประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพื่อการจบแต่ละ ระดับการศึกษา มีแนวปฏิบัติดังนี้ 2.1 ก าหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของ ผู้เรียน ทุกคน ตลอดระดับการศึกษา 2.2 ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษาก าหนด เกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาที่สถานศึกษาก าหนดนั้น ผู้เรียนจะต้อง ผ่านกิจกรรม 3 กิจกรรมส าคัญ ดังนี้ 2.2.1 กิจกรรมแนะแนว 2.2.2 กิจกรรมนักเรียน ได้แก่ 1) กิจกรรมลูกเสือ–เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ และนักศึกษาวิชาทหาร 2) กิจกรรมชุมนุม 3) กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 4) กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ทั้งนี้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จะต้องเข้าร่วม กิจกรรมนักเรียนทั้งใน ข้อ 1) และ 2) ส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถเลือกเข้าร่วม กิจกรรมนักเรียนใน ข้อ 1) หรือ 2) กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง 2.2.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 2.3 ผู้รับผิดชอบเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ความเห็นชอบ
378 2.4 ผู้รับผิดชอบเสนอผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาเพื่ออนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ผ่านเกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษา ส าหรับการประเมินกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ให้เป็นไปตาม หลักการ และแนวทางการวัดและประเมินผลตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์การตัดสินกิจกรรม หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ก าหนดให้ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และผ่านเกณฑ์ตามที่ สถานศึกษา ก าหนด โดยก าหนดเกณฑ์ในการประเมิน ดังนี้ 1. ก าหนดคุณภาพหรือเกณฑ์ในการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ก าหนดไว้ 2 ระดับ คือ ผ่าน และไม่ผ่าน 2. ก าหนดประเด็นการประเมินให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ในแต่ละกิจกรรม และก าหนดเกณฑ์การ ผ่านการประเมิน ดังนี้ 2.1 เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินรายกิจกรรม ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ไม่ผ่านการปฏิบัติกิจกรรมหรือ มีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด 2.2 เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายภาค ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ในกิจกรรมส าคัญ 3 ลักษณะ คือ กิจกรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” ในกิจกรรมส าคัญกิจกรรมใด กิจกรรม หนึ่งจาก 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 2.3 เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อจบระดับการศึกษา ผ่าน หมายถึง มีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทุกชั้นปีในระดับการศึกษานั้น ไม่ผ่าน หมายถึง มีผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” บางชั้นปีในระดับการศึกษานั้น
379 เกณฑ์การผ่านกิจกรรม การประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น จะต้องค านึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนแต่ละกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 2. ผู้เรียนมีผลการปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ที่แต่ละกิจกรรม ก าหนด โดยอาจจัดให้ผู้เรียนแสดงผลงาน แฟูมสะสมงานหรือจัดนิทรรศการ 3. ผู้เรียนต้องมีเอกสารหรือหลักฐานที่แสดงถึงการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ครบ ตามที่ก าหนดในโครงสร้างหลักสูตร แนวทางการแก้ไขกรณีผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ กรณีที่ผู้เรียนไม่ผ่านกิจกรรมให้เป็นหน้าที่ของครูหรือผู้รับผิดชอบกิจกรรมนั้น ๆ ที่จะต้องซ่อมเสริม โดย ให้ผู้เรียนด าเนินกิจกรรมจนครบตามเวลาที่ขาดหรือปฏิบัติกิจกรรมให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ กิจกรรมนั้นแล้ว จึงประเมินให้ผ่านกิจกรรมเพื่อบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้รายงานผู้บริหาร สถานศึกษาทราบ เพื่อด าเนินการช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเหมาะสมเป็นรายกรณีไป บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การด าเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ จ าเป็นที่ต้องก าหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากร ที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมดังนี้ บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา 1. ก าหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา และโดยการมีส่วนร่วมของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝุาย 2. ผู้บริหารชี้แจง ท าความเข้าใจ และสร้างความตระหนักให้บุคลากรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน เห็นคุณค่าและร่วมมือในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ครูมีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีความทันสมัย ในการ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ 4. สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือและความเข้าใจอันดีระหว่างสถานศึกษากับผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรม 5. นิเทศ ติดตาม ให้ค าปรึกษา ประเมินผลและสร้างขวัญก าลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานที่ประสบผลส าเร็จกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
380 บทบาทของครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม 1. ศึกษาหลักการ วัตถุประสงค์ ขอบข่าย แนวการจัดกิจกรรม การประเมินผลพัฒนาผู้เรียน และ จัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามเปูาหมาย 2. ชี้แจงและท าความเข้าใจกับผู้เรียนและผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. ร่วมกับผู้เรียนออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจของ ผู้เรียน และ เป็นไปตามหลักการ ปรัชญา และแนวการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน 4. ส่งเสริม กระตุ้น และอ านวยความสะดวกให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระในการจัดท า แผนงาน โครงการ ร่วมปฏิบัติกิจกรรม และการประเมินผล 5. ให้ค าปรึกษา ดูแล ติดตาม ประสานงาน และอ านวยความสะดวกให้ผู้เรียนในการร่วมกิจกรรม ให้ เป็นไปตามแผน 6. ประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน และซ่อมเสริมกรณีที่ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ พร้อม จัดท า เอกสารหลักฐานการประเมินผล 7. รายงานผลการด าเนินกิจกรรมให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ แล้วน าผลการจัดกิจกรรมผู้เรียนมาพัฒนา และ ปรับปรุงแก้ไข 8. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานที่ประสบผลส าเร็จกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง บทบาทของผู้เรียน 1. ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ตนเอง และเข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด ความสามารถหรือ ตาม ข้อเสนอแนะของสถานศึกษา 2. เข้ารับการปฐมนิเทศจากครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม 3. ร่วมประชุมเลือกตั้งคณะกรรมการฝุายต่าง ๆ ตามลักษณะของกิจกรรม 4. ร่วมประชุมจัดท าแผนงาน โครงการ ปฏิทินงาน และปฏิบัติกิจกรรมด้วยความเอาใจใส่ 5. ร่วมประเมินการปฏิบัติกิจกรรม น าผลมาพัฒนาตนเอง และน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมต่อ ครู ผู้รับผิดชอบ 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดประสบการณ์ ทบทวนและสะท้อนความรู้สึกภายหลังการปฏิบัติกิจกรรม (After Action Review: AAR) รวมทั้งสร้างเครือข่ายจิตอาสาและขยายผลต่อยอดสู่ความยั่งยืน บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา 1. ให้ความเห็นชอบและมีส่วนร่วมในการก าหนด และวางแผนด าเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามความเหมาะสม บทบาทของผู้ปกครองและชุมชน
381 1. มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดกิจกรรม และอาสาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษาและชุมชน 2. ยอมรับในศักยภาพของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ส ารวจตนเองเพื่อประกอบการตัดสินใจ ในการเลือกแผนการเรียน การศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ 3. ดูแล เอาใจใส่ผู้เรียน และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ปูองกัน และแก้ไขปัญหา ของผู้เรียน 4. เป็นที่ปรึกษาหรือแนะแนวทางการด าเนินชีวิตที่ดีงามให้แก่ผู้เรียน 5. ร่วมมือกับสถานศึกษาเพื่อติดตามประเมินผลพัฒนาและการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียน
382 บทที่ 5 การวัดและประเมินผล
383 บทที่ 5 การวัดและประเมินผล หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดท าขึ้นภายใต้กรอบของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และบริบทของสภาพชุมชน สังคม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาและเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติและพลโลก จาก มูลเหตุดังกล่าว การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา จึงต้องปฏิบัติตามข้อก าหนดการ ประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาได้ก าหนดแนวทางดังต่อไปนี้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือ การประเมิน เพื่อ พัฒนาผู้เรียน และการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบ ผลส าเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามรหัสตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้สะท้อนสมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งถือเป็นเปูาหมายหลัก ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความส าเร็จทางการเรียนของ ผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ การวัด และประเมินผลการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติมีรายละเอียดดังนี้ 1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ผู้สอน ด าเนินการเป็นปกติและสม่ าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ ซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงานหรือภาระงาน แฟูมสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อน ประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านรหัสตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้น เรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนรู้ หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและ ส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูล ให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ของตน และสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้และรหัสตัวชี้วัดด้วย
384 2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาด าเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน ของ ผู้เรียนเป็นรายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อ การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเปูาหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถน าผลการเรียนของ ผู้เรียน ในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อ การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ตลอดจนเพื่อการจัดท า แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถด าเนินการโดย ประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดท าและด าเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับ หน่วยงานต้นสังกัดในการด าเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบ ทบทวนข้อมูลจากการประเมิน ระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 4. การประเมินระดับชาติเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมินผล จากผลการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพ การศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อน าไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูล สนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อ สถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่ จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริม สนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบน พื้นฐานความแตกต่างระหว่าง บุคคลที่จ าแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถ พิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและ พฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและ สติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการด าเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ ทันท่วงที เปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความส าเร็จในการเรียน
385 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. การตัดสินผลการเรียน การตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องค านึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้ พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ 1.1 ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนทั้งภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ 1.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกรหัสตัวชี้วัด และมีผลการประเมินตั้งแต่ร้อยละ 60 ขึ้นไป 1.3 ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา 1.4 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป ในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อยและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงาน วิชาการพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการที่จะ ผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจ านวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน ระดับชั้นที่สูงขึ้น คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการอาจแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ าชั้น ได้ ทั้งนี้ให้ค านึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็นส าคัญ 2. การให้ระดับผลการเรียน การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้ระบบผ่านและไม่ผ่าน โดยก าหนดเกณฑ์ การตัดสินผ่านแต่ละรายวิชาที่ร้อยละ 50 จากนั้นจึงให้ระดับผลการเรียนที่ผ่าน ส าหรับระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และตอนปลาย ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเป็นร้อยละ 4 ดีเยี่ยม 80 - 100 3.5 ดีมาก 75 - 79 3 ดี 70 - 74 2.5 ค่อนข้างดี 65 - 69 2 ปานกลาง 60 - 64 1.5 พอใช้ 55 - 59 1 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ า 50 - 54 0 ต่ ากว่าเกณฑ์ขั้นต่ า 0 - 49
386 กรณีที่ไม่สามารถให้ผลการเรียนเป็น 8 ระดับได้ ให้ใช้อักษรระบุเงื่อนไขของผลการเรียน ดังนี้ มส หมายถึง ผู้เรียนไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผู้เรียน มีเวลา เรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และ ไม่ได้รับผ่อนผันให้ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ร หมายถึง รอการตัดสินผลหรือยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากไม่มีข้อมูล ผลการเรียนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน หรือปลาย ภาคเรียน หรือไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ท า ซึ่งงานนั้น เป็นส่วนหนึ่งของการ ตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ท าให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ผลการประเมินเป็น ผ่านและไม่ผ่าน กรณีที่ผ่านให้ระดับผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดีและผ่าน 2.1 ในการสรุปผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เพื่อเลื่อนชั้นและจบการศึกษา ก าหนด เกณฑ์การตัดสินเป็น 4 ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศ ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ที่มีคุณภาพเป็น ที่ยอมรับ ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ที่มีคุณภาพเป็น ที่ยอมรับ แต่ยังมีข้อบกพร่องบางประการ ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน หรือถ้ามี ผลงานผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุง แก้ไขหลายประการ 2.2 ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกคุณลักษณะ เพื่อการเลื่อนชั้นและ จบการศึกษา ก าหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น 4 ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน เพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคมโดยพิจารณาจาก ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ านวน 5–8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ ากว่าระดับดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจากได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จ านวน 1–4 คุณลักษณะ และไม่มี คุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน ต่ ากว่าระดับดีหรือได้ผลการประเมินระดับดีทั้ง 8 คุณลักษณะหรือ ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จ านวน 5–7 คุณลักษณะ และ มีบางคุณลักษณะได้ผลการประเมินระดับผ่าน
387 ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา ก าหนด โดยพิจารณาจาก ได้ผลการประเมินผ่านทั้ง 8 คุณลักษณะ หรือได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จ านวน 1–4 คุณลักษณะ และคุณลักษณะที่เหลือได้ผลการประเมินระดับผ่าน ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่ สถานศึกษาก าหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่1 คุณลักษณะ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ผ่าน โดยใช้ตัวอักษรแสดงผลการประเมินดังนี้ ผ หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรม และ มีผลงานตามที่ แต่ละกิจกรรมก าหนด มผ หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรม และ มีผลงานไม่เป็นไป ตามที่แต่ละกิจกรรมก าหนด ส าหรับการประเมินกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ให้เป็นไปตาม หลักการ และแนวทางการวัดและประเมินผล ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 3. การ เปลี่ยนผลการเรียน 3.1 การเปลี่ยนผลการเรียน “0” จัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ผู้เรียน สอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ถ้าผู้เรียนไม่ด าเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่ก าหนด ให้ อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรียน ส าหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น การสอบแก้ตัวให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” ถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้ระดับ ผลการเรียน “0” อีก ให้แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการเปลี่ยนผลการ เรียน โดยปฏิบัติดังนี้ 3.1.1 ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรียนซ้ ารายวิชานั้น 3.1.2 ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้เรียนซ้ า หรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ทั้งนี้ให้อยู่ใน ดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ในกรณีที่ เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนรายวิชาใด 3.2 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ให้ผู้เรียนด าเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อผู้เรียนแก้ไข ปัญหาเสร็จแล้วให้ได้ระดับ ผลการเรียนตามปกติ(ตั้งแต่ 0–4) ถ้าผู้เรียนไม่ด าเนินการแก้“ร” กรณีที่ส่งงานไม่ ครบแต่มีผลการประเมิน ระหว่างภาคเรียนและปลายภาค ให้ผู้สอนน าข้อมูลที่มีอยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุ สุดวิสัยให้อยู่ใน ดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการที่จะขยายเวลาการแก้“ร” ออกไปอีก ไม่เกิน 1 ภาคเรียน ส าหรับภาคเรียนที่ 1 ส าหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน ปีการศึกษานั้น เมื่อ พ้นก าหนดนี้แล้วให้เรียนซ้ า หากผลการเรียนเป็น “0” ให้ด าเนินการแก้ไขตามหลักเกณฑ์
388 3.3 การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี2 กรณีดังนี้ 3.3.1 กรณีได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนรายวิชานั้น ให้ครูหรือผู้รับผิดชอบจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชั่วโมงสอน ซ่อมเสริม เวลาว่าง วันหยุด หรือมอบหมายงานให้ท าจนมีเวลาเรียนครบตามที่ก าหนดไว้ส าหรับรายวิชานั้น แล้วจึง ให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้“มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้“มส” กรณีนี้ให้ กระท าให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น หากผู้เรียนไม่มาด าเนินการแก้“มส” ตามระยะเวลาที่ก าหนดให้เรียนซ้ า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ที่จะขยายเวลาการแก้“มส” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่เมื่อพ้นก าหนดนี้แล้วให้ปฏิบัติดังนี้ 1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานให้เรียนซ้ ารายวิชานั้น 2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ให้เรียน ซ้ าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน รายวิชาใด 3.3.2 กรณีได้ผลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียน ทั้งหมด ให้ปฏิบัติ ดังนี้ 1) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรียนซ้ ารายวิชานั้น 2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการ ให้เรียนซ้ าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชา ใหม่ให้หมายเหตุใน ระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนรายวิชาใด การเรียนซ้ ารายวิชา หากผู้เรียนได้รับการ สอนซ่อมเสริม และสอบแก้ตัว 2ครั้งแล้วไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ ารายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงาน วิชาการ ในการจัดให้เรียนซ้ าในช่วงใดช่วงหนึ่งที่เห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงว่างหลัง เลิกเรียน ภาคฤดูร้อน เป็นต้น กรณีภาคเรียนที่ 2 หากผู้เรียนยังมีผลการเรียน “0”, “ร”, “มส” ให้ด าเนินการให้เสร็จสิ้น ก่อนเปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป อาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดู ร้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียนได้ 3.4 การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” กรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ ผู้เรียนท ากิจกรรมใน ส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ท าจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ทั้งนี้ด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้น ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของของคณะ กรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน ส าหรับภาคเรียน ที่ 2 ต้อง ด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
389 4. การเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 4.1 รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ รายวิชาที่เรียน 4.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินระดับผ่านขึ้นไป และไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์สมรรถนะส าคัญผู้เรียน กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน 4..3 ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต้องได้ไม่ต่ ากว่า 1.00 ทั้งนี้รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับการแก้ไขในภาคเรียนถัดไป ทั้งนี้ส าหรับภาคเรียนที่ 2 ต้อง ด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น 5. การสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ เจตคติหรือคุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด ครูหรือผู้รับผิดชอบต้องจัดสอนซ่อม เสริม เป็นกรณีพิเศษ นอกเหนือจากการสอนตามปกติ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่ก าหนดไว้ โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างของแต่ละบุคคล การ สอนซ่อมเสริมสามารถด าเนินการได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ 5.1 ผู้เรียนมีความรู้หรือทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดการ สอนซ่อม เสริมปรับความรู้หรือทักษะพื้นฐาน 5.2 ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ทักษะกระบวนการ เจตคติหรือคุณลักษณะที่ก าหนดไว้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในการประเมินผลระหว่างเรียน 5.3 ผู้เรียนที่ได้ระดับผลการเรียน “0” ให้จัดการสอนซ่อมเสริมก่อนสอบแก้ตัว 5.4 กรณีผู้เรียนมีผลการเรียน “มผ” สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในช่วงภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไข ผลการเรียน ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ 6. การเรียนซ้ าชั้น ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจ านวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้น ที่สูงขึ้น อาจตั้ง คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ าชั้นได้ทั้งนี้ให้ค านึงถึงวุฒิภาวะ และความรู้ความสามารถ ของผู้เรียนเป็นส าคัญ การเรียนซ้ าชั้น มี2 ลักษณะ คือ 6.1 ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็น ปัญหาต่อการ เรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
390 6.2 ผู้เรียนมีผลการเรียน 0, ร, มส เกินครึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้หากเกิด ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง 2 ลักษณะ ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ ตั้งคณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้ าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียน เดิมและใช้ผลการ เรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้ าชั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงาน วิชาการในการแก้ไขผลการเรียน 7. เกณฑ์การจบการศึกษา 7.1 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น .1.1 ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ตามแผนการเรียนที่ก าหนด 7.1.2 ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้ 7.1.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป 7.1.4 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป 7.1.5 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป 7.2 เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 7.2.1 ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และ รายวิชา เพิ่มเติมตามแผนการเรียนที่ก าหนด 7.2.2 ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน 41 หน่วย กิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต 7.2.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป 7.2.4 ผู้เรียนต้องมี ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป 7.2.5 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินตั้งแต่ระดับผ่านขึ้นไป การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษา จาก ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่ง การเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัด การศึกษาโดย ครอบครัว การเทียบโอนผลการเรียนควรด าเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือ ต้นภาคเรียนแรกที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษา ต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควร ก าหนดรายวิชา และจ านวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
391 การพิจารณาการเทียบโอน สามารถด าเนินการได้ดังนี้ 1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่น ๆ ที่แสดงความรู้ความสามารถของผู้เรียน 2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และ ภาคปฏิบัติ 3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง 4. ในกรณีเหตุผลจ าเป็นระหว่างเรียน ผู้เรียนสามารถแจ้งความจ านงขอไปศึกษาบางรายวิชา ใน สถานศึกษา หรือสถานประกอบการอื่น แล้วน ามาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริหาร หลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา 5. การเทียบโอนผลการเรียนให้คณะกรรมการการเทียบโอน จ านวน 5 คน เป็นผู้ด าเนินการ 6. การเทียบโอนให้ด าเนินการดังนี้ 6.1 กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้น ารายวิชาหรือหน่วยกิตที่มี มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มา เทียบโอนผลการเรียน และพิจารณาให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่รับเทียบโอน 6.2 กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน โดย ให้ มีการประเมินด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย และให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่รองรับการ เทียบโอน ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียน ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดท าเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการ ปฏิบัติของ ผู้เรียนที่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
392 เอกสารหลักฐานการศึกษา หลักสูตรโรงเรียนก าแพงดินพิทยาคม พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่ต้องด าเนินการเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาก าหนด เป็นเอกสารที่กระทรวงศึกษาธิการ ควบคุมและ บังคับแบบ เพื่อใช้เป็นหลักฐานส าหรับการตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองผลการเรียนของผู้เรียน สถานศึกษาต้องใช้ แบบพิมพ์ของกระทรวงศึกษาธิการและด าเนินการจัดท าตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ก าหนดไว้ให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ได้แก่ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) ประกาศนียบัตร (ปพ.2) และ แบบรายงานผู้ส าเร็จการศึกษา (ปพ.3) 1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) เป็นเอกสารส าหรับบันทึกข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียน ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ ผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ผลการ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผลการประเมินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องจัดท าและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อ ผู้เรียนจบการศึกษาแต่ละ ระดับ หรือเมื่อผู้เรียนออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี เพื่อใช้แสดงผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.2 ประกาศนียบัตร (ปพ.2) เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาที่มอบให้แก่ผู้จบการศึกษา ภาคบังคับ และ ผู้ส าเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อรับรองศักดิ์และ สิทธิ์ของผู้ส าเร็จการศึกษาตามวุฒิแห่งประกาศนียบัตรนั้น 1.3 แบบรายงานผู้ส าเร็จการศึกษา (ปพ.3) เป็นเอกสารส าหรับอนุมัติการจบการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของผู้เรียนในแต่ละรุ่นการศึกษา โดยบันทึกรายชื่อและข้อมูล การศึกษาของผู้จบ การศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3) และจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6) ใช้เป็นเอกสาร ส าหรับตัดสินและอนุมัติผลการเรียนให้ผู้เรียนเป็นผู้ส าเร็จการศึกษา และใช้ในการตรวจสอบ ยืนยัน และรับรอง ความส าเร็จและวุฒิการศึกษาของผู้ส าเร็จการศึกษาแต่ละคนตลอดไป 2. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษาก าหนด เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้น เพื่อบันทึก พัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลส าคัญเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลการเรียนประจ ารายวิชา แบบรายงานประจ าตัวนักเรียน ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน และเอกสารอื่น ๆ ตาม วัตถุประสงค์ของการ น าเอกสารไปใช้ 2.1 แบบบันทึกผลการเรียนประจ ารายวิชา เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้นเพื่อให้ผู้สอน ใช้บันทึก ข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูลใน การพิจารณาตัดสินผลการเรียนแต่ละรายวิชา เอกสารนี้ควรจัดท าเพื่อบันทึกข้อมูลของผู้เรียน เป็นรายห้อง เอกสารบันทึกผลการเรียนประจ ารายวิชาน าไปใช้ประโยชน์ดังนี้
393 2.1.1 ใช้บันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนแต่ละรายวิชา 2.1.2 ใช้เป็นหลักฐานส าหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการ และ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.2 แบบรายงานประจ าตัวนักเรียน เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลการประเมินผล การเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนแต่ละคนตามเกณฑ์การตัดสินการผ่านระดับชั้น ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้งข้อมูลด้านอื่น ๆ ของผู้เรียนทั้งที่บ้าน และสถานศึกษา โดยจัดท าเป็นเอกสารรายบุคคล เพื่อใช้ส าหรับสื่อสารให้ผู้ปกครองแต่ละคนได้รับทราบ ผลการเรียน และ พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน และร่วมมือพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแบบรายงาน ประจ านักเรียนน าไปใช้ ประโยชน์ดังนี้ 2.2.1 รายงานผลการเรียน ความประพฤติ พัฒนาการของผู้เรียนให้ผู้ปกครองรับทราบ 2.2.2 ใช้เป็นเอกสารสื่อสาร ประสานงาน เพื่อร่วมมือในการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขผู้เรียน 2.2.3 เป็นเอกสารหลักฐานส าหรับตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองผลการเรียนและ พัฒนาการ ของผู้เรียน 2.3 ใบรับรองผลการเรียน เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารรับรอง สถานภาพความ เป็นผู้เรียนหรือผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาที่ก าลังศึกษาอยู่หรือรับรองผลการเรียนหรือวุฒิของผู้เรียน เป็นการชั่วคราวตามที่ผู้เรียนร้องขอ ทั้งกรณีที่ผู้เรียนก าลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน หรือเมื่อ จบการศึกษาแล้วน าไปใช้ ประโยชน์ดังนี้ 2.3.1 รับรองความเป็นนักเรียนหรือผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาที่ก าลังศึกษาอยู่ 2.3.2 รับรองและแสดงความรู้ หรือวุฒิของผู้เรียน 2.3.3 น าไปใช้เป็นหลักฐานแสดง คุณสมบัติของผู้เรียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเข้า ท างาน หรือเมื่อมีกรณีอื่นใดที่ผู้เรียนแสดงคุณสมบัติ เกี่ยวกับวุฒิความรู้หรือสถานภาพการเป็นผู้เรียนของตน 2.3.4 เป็นหลักฐานส าหรับการตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใช้สิทธิ์ความเป็นผู้เรียนหรือ การได้รับรองจากสถานศึกษา 2.4 ระเบียนสะสม เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการของ ผู้เรียนใน ด้านต่าง ๆ เป็นรายบุคคล โดยจะบันทึกข้อมูลของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตลอดช่วงระยะเวลา การศึกษาตาม หลักสูตร สามารถน าไปใช้ประโยชน์ดังนี้
394 2.4.1 ใช้เป็นข้อมูลในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของผู้เรียน 2.4.2 ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาหรือปรับปรุงบุคลิกภาพและการปรับตัวของผู้เรียนและ ผลการเรียน 2.4.3 ใช้ติดต่อสื่อสาร รายงานพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนระหว่างสถานศึกษากับ ผู้ปกครอง ใช้เป็นหลักฐานส าหรับการตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคุณสมบัติของผู้เรียนตามความเหมาะสม
395