The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เล่ม 1) ป.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ruthairong Srikeaw, 2021-11-25 06:37:02

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เล่ม 1) ป.2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เล่ม 1) ป.2

แผนการจัดการเรยี นรู้

วชิ า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว12101 (เลม่ 1)
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี�วดั

กล่มุสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข�นั พนื� ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ระดบั ชน� ั ประถมศกึ ษาปีที� 2
นางสาวฤทยั รงค์ ศรีแก้ว
ตาํ แหน่ง ครูผู้ช่วย

โรงเรียนบ้านบาตนั (ฟลอยด์รอสอนุสรณ์)
สํานักงานเขตพืน� ทกี� ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข�นั พืน� ฐาน

แผนการจดั การเรียนรู้

วิชา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วิชา ว12101 (เลม่ 1)
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี�วดั

กล่มุสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน�ั พนื� ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ระดบั ชนั� ประถมศกึ ษาปีที� 2
นางสาวฤทยั รงค์ ศรีแก้ว
ตาํ แหน่ง ครูผู้ช่วย

โรงเรียนบ้านบาตนั (ฟลอยด์รอสอนุสรณ์)
สํานักงานเขตพืน� ทกี� ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข�นั พืน� ฐาน

คาํ นาํ

แผนการจดั การเรียนรู วิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (เล่ม 1) ของระดบั ช�นั ประถมศึกษาปที� 2 น�ี
ประกอบดวย 2 หนวยการเรี ยนรู  ไดแก สง�ิ มีชีวิตและแสง ซ�ึงจะมุง เนนใหผเู รียนไดเ รียนรูว ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยผี า นการทาํ ากิจกรรมดว ยการลงมือปฏิบตั ิ เพอ�ื ใหผ เู รียนไดใ ชทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
นาํ ความรทู ีไ� ดไปใชใ นการดาํ รงชีวติ และรเู ทา ทนั การเปลีย� นแปลงของโลกได

ผูจดั ทาํ หวังเปนอยางย�ิงวาแผนการจดั การเรยี นรูวชิ าวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (เล่ม1) ของ
ระดบั ช�นั ประถมศึกษาปที� 2 น�ี จะเปนประโยชนตอครู ผูสอนในการนําไปใชจัดการเรี ยนรู ใหกับ
นักเรี ยน เพือ� เพิ�มประสิทธิภาพการจดั การเรียนรูข องครูและการเรียนรูของนกั เรียนใหส ูงข�ึนตอไป

ขอบคุณผทู รงคุณวฒุ ิ ผบู ริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก ครู อาจารย และทุกทานที�มีสวนเกี�ยวขอ งกบั
การจดั ทาํ เอกสารมา ณ โอกาสน�ี

ฤทยั รงค ศรีแกว
ผูจดั ทํา

สารบญั หนา
1-4
คําแนะนําสําหรบั ครูผสู อน 5-7
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 8
โครงสรา งการจัดกิจกรรมการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 9
แนวทางการจัดหนว ยการเรียนรู 10-11
โครงสรา งรายวิชาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 2
หนวยการเรยี นรูที่ 1 สง่ิ มีชีวิต 12
13
มาตรฐานการเรยี นรูและตัวชวี้ ัด 14
ลําดับการนาํ เสนอแนวคดิ หลัก 15
ตัวอยา งโครงสรางของแผนการจดั การเรียนรู 16-18
หนว ยยอยท่ี 1 ส่งิ มชี ีวติ กบั สิ่งไมม ีชวี ิต 19-59
แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 1-6 ส่ิงมชี ีวติ กับสิ่งไมมีชวี ิต 60-69
เฉลยใบงาน 70-72
หนว ยยอยท่ี 2 การเจริญเติบโตของพืช 73-93
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7-9 เมลด็ พชื นอย 94-99
เฉลยใบงาน 100-135
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10-14 ส่ิงทีจ่ าํ เปนตอการเจริญเตบิ โตของพืช 136-147
เฉลยใบงาน 148-150
หนวยยอยที่ 33 วฏั จกั รชีวติ ของพืชดอก 151-157
แผนการจัดการเรียนรูท่ี 15 พืชดอกรอบตัว 158-162
เฉลยใบงาน 163-185
แผนการจัดการเรยี นรูที่ 16-18 วฏั จักรชวี ิตของพืชดอก 186-195
เฉลยใบงาน 196
หนว ยการเรียนรูท่ี 2 แสง 197
มาตรฐานการเรียนรแู ละตัวชวี้ ดั 198
ลําดับการนาํ เสนอแนวคดิ หลัก 199
ตัวอยา งโครงสรางของแผนการจดั การเรยี นรู

หนวยยอ ยที่ 1 แสงและการมองเหน็ 200-202
แผนการจดั การเรยี นรูที่ 19-21 แหลงกาํ เนดิ แสง 203-222
เฉลยใบงาน 223-228
แผนการจดั การเรียนรูท่ี 22-25 การเคลอื่ นที่ของแสง 229-256
เฉลยใบงาน 257-265
แผนการจัดการเรียนรูท่ี 26-30 การมองเห็นวัตถุ 266-300
เฉลยใบงาน 301-307
แผนการจดั การเรียนรูที่ 31-33 การปอ งกันอนั ตรายจากแสง 308-328
เฉลยใบงาน 329-335
336-342
เฉลยแบบทดสอบ
343
บรรณานุกรม

1

คาํ แนะนาํ สําหรับครูผสู อน

๑. แนวคดิ หลกั
การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรม งุ ใหผ เู รียนมีความสามารถเขาใจเน้ือหาสาระวทิ ยาศาสตรแ ละ นาํ

ความรไู ปอธิบายหรือประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วนั ได รวมทั้งเปด โอกาสใหผูเ รยี นไดฝกทักษะตาง ๆ เชน ทกั ษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ ทกั ษะการคิดสรา งสรรค ทักษะการ แกปญหา
ทักษะการเขียน ทกั ษะการอาน นอกจากนี้ในการจดั กิจกรรมยังมุงเนน การเรียนรรู ว มกนั เปนกลมุ ซึ่งเปนการ
เปด โอกาสใหผเรู ียนไดรวมกนั คิด ปรกึ ษาหารือ อภิปราย แกปญ หา แสดงความคิดเห็น สะทอนความคิด และ
ไดนําเสนอผลการทํากิจกรรม ซง่ึ ช่วยให้ผเู้ รียนได้พัฒนาทั้งความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละ
ทกั ษะอืน่ ๆ รวมทง้ั คุณธรรม จริยธรรมอกี ดว ย ในการจัดกลมุ่ อาจจดั เป็นกลมุ่ ๒ คน หรอื กลมุ ๔-๖ คน หรือ
อาจจัดกจิ กรรมรว มกันท้ังชนั้ ทั้งน้ีขึ้นอยกู บั วตั ถปุ ระสงคของการจดั กจิ กรรมการเรียนรูนัน้ ๆ

ในการดาํ เนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร สงิ่ สาํ คญั ท่ีผสู อนควรคํานงึ ถงึ เปนอันดบั แรกคอื
ความร้พู ้ืนฐานของผเู้ รียน ผ้สู อนอาจทบทวนหรือตรวจสอบความรเู ดิมของผูเรยี นโดยใช้คําถามหรอื กลวธิ ีตาง ๆ
ทีก่ ระตนุ ความสนใจของผเู รียนและนําไปส่กู ารเรยี นรูเ น้ือหาใหม่ ขั้นการสอนเนื้อหาใหม ผ้สู อนอาจกาํ หนด
สถานการณท ่ีเชอ่ื มโยงกบั เร่ืองราวในข้นั ทบทวนความรูหรอื มีคําถาม และมกี จิ กรรมใหน ักเรยี นไดลงมอื ปฏบิ ัติ
ดว ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู (inquiry) ในการคนหาคําตอบที่สงสัยดวยตนเอง ผสู้ อนมบี ทบาท เปน ผใู ห้
อิสระทางความคิดกับผู้เรียน คอยสังเกตตรวจสอบความเขา ใจและคอยใหความชวยเหลอื และคาํ แนะนาํ อยา ง
ใกลชิด

ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ผ้สู อนควรให้ผู้เรียนแตละคนหรือแตล ะกลุม ได้นําเสนอแนวคิด
เพราะผ้เู รยี นมีโอกาสแสดงแนวคดิ เพิม่ เตมิ ร่วมกัน ซักถาม อภปิ รายขอขดั แยง ดวยเหตุและผล ผ้สู อนมีโอกาส
เสริมความรู้ ขยายความรูหรือสรปุ ประเด็นสําคัญของสาระทนี่ าํ เสนอนัน้ ทําใหการเรยี นรูขยายวงกวางและลกึ
มากขน้ึ สามารถนาํ ไปประยุกตใชใ นชีวิตจรงิ ได นอกจากนย้ี งั ทําใหผู้เรียนเกดิ เจตคตทิ ีด่ ี มคี วามภูมิใจในผลงาน
เกิดความร้สู กึ อยากทาํ กลา้ แสดงออก และจดจาํ สาระที่ตนเองไดอ อกมานาํ เสนอไดน้ าน รวมทั้งฝก การเปน ผูนํา
ผูต ามรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผูอ่นื

๒. กระบวนการจดั การเรยี นรู

การนําชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูไปใช ครคู วรเตรยี มตัวลวงหนา ดงั น้ี

๑. ศึกษาโครงสรา งชุดการจดั กิจกรรมการเรียนรู เพือ่ ใหท ราบวา ตลอดทง้ั ปการศึกษา นักเรียนตอ ง
เรยี นรูทั้งหมดก่หี นว ย แตล ะหนวยมีหนวยยอยอะไรบาง ใชเวลาสอนกี่ชว่ั โมง และมกี ีแ่ ผน

๒. ศึกษาโครงสรางหนวยการเรียนรู วาแตละหนวยการเรยี นรูมีเนื้อหาอะไรบา ง เน้อื หาละก่ีชว่ั โมง ซง่ึ
จะชว ยใหค รผู ูสอนมองเหน็ ภาพรวมของการสอนในหนวยดงั กลา วไดอ ยา งชัดเจน

2

๓. ศึกษาแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งอยู่หน้าแผนแต่ละแผน เป็นการสรุปแนวการจัดกิจกรรม
ในแตล่ ะขัน้ ตอนการสอน ทาใหค้ รมู องเหน็ ภาพรวมของการจดั การเรียนร้ใู นชว่ั โมงนนั้ ๆ

๔. ศกึ ษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามหัวขอ้ ต่อไปน้ี
๔.๑ ขอบเขตเนื้อหา เป็นเน้อื หาทีน่ กั เรียนต้องเรียนร้ใู นแผนท่ีกาลังศกึ ษา
๔.๒ สาระสาคัญ เปน็ ความคิดรวบยอดหรือหลกั การท่ีนกั เรียนควรจะได้หลงั จากไดเ้ รยี นรู้ตามแผน

ทกี่ าหนด
๔.๓ จุดประสงค์การเรียนรู้ แบ่งเป็นดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และด้าน

คณุ ธรรม
๔.๔ กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งเป็น ขั้นนา ขั้นสอน และขั้นสรุป ซ่ึงแต่ละข้ันครูผู้สอนควรศึกษา

ทาความเข้าใจอย่างละเอียด นอกจากนี้ครูควรพิจารณาด้วยว่า ในแต่ละขั้นตอนการสอน ครูจะต้องศึกษาว่ามี
ส่ือ/อปุ กรณอ์ ะไรบา้ ง

๔.๕ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ เป็นการบอกรายการสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ท่ีต้องใช้ในการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ในชั่วโมงนัน้

๔.๖ การประเมิน เป็นการบอกทั้งวิธีการ เคร่ืองมือ และเกณฑ์การประเมิน สาหรับเครื่องมือ
การประเมนิ ในชุดการจัดกจิ กรรมการเรียนรูฯ้ น้ี ได้จัดเตรยี มไว้ใหค้ รูผสู้ อนเรียบร้อยแล้ว

๓. สอ่ื กำรจัดกำรเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๒

สื่อการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
ประกอบดว้ ย

๓.๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ สาหรบั ครูใชเ้ ปน็ แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ ับนกั เรยี น
๓.๒ ใบกิจกรรม สาหรับนักเรียนใช้ฝึกทักษะปฏิบัติ หรือสร้างความคิดรวบยอดในบทเรียน โดยใน
ใบกิจกรรมจะประกอบด้วยใบงาน ให้นักเรียนไดบ้ ันทึกผลการทากจิ กรรม การตอบคาถามหลงั จากทากิจกรรม
เพื่อทบทวนส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากการทากิจกรรม และมีแบบฝึกหัดเพื่อประเมินการเรียนรู้หลังจากเรียนจบ
ในแตล่ ะกิจกรรม
๓.๓ แบบทดสอบ เปน็ การวดั ความรู้ความเข้าใจตามตวั ชีว้ ดั ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร

3

ใบกิจกรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ ได้มีการกาหนดสัญลักษณ์รูปดาว ๕ แฉก จานวน
๒ ดวง และแถบสีชมพู โดย

บ. หมายถงึ ใบกิจกรรม
ผ. หมายถงึ แผนการจัดการเรยี นรู้

เชน่

บ. ๑.๑ / ผ. ๑.๑-๐๑

ระดบั ช้นั
ใบกิจกรรม

หนว่ ยท่ี

หนว่ ยยอ่ ยที่
แผนท่ี
ใบงำนท่ี

หมายเหตุ เลขแสดงลาดับของแผนการจัดการเรียนรู้จะเรียงต่อกันจนครบทุกแผนในแต่ละหน่วยย่อย และ
ใบงานจะเรียงเลขต่อกันในแต่ละแผน เมื่อขึ้นหน่วยใหม่ การแสดงลาดับเลขของท้ังหน่วยย่อย
แผน และใบงานจะเริม่ ตน้ ใหม่

๔. ลกั ษณะชุดกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๒
ชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๒

จัดทาเป็นหน่วยการเรยี นรู้ (Learning Unit) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
และไดจ้ ัดแบ่งหนว่ ยการเรียนรู้ในชุดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรนู้ ี้ออกเปน็ ๒ เล่ม ดังนี้

เลม่ ๑ ประกอบด้วย หนว่ ยกำรเรียนรู้ ๒ หน่วย ดงั น้ี
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ สง่ิ มึชวี ติ
หน่วยยอ่ ยที่ ๑ สิง่ มีชวี ิตกบั สงิ่ ไม่มีชีวติ
หน่วยยอ่ ยที่ ๒ การเจริญเติบโตของพชื

4

หน่วยย่อยท่ี ๓ วฏั จักรชีวิตของพชื ดอก
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ แสง

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ แสงและการมองเห็น
เลม่ ๒ ประกอบด้วยหน่วยกำรเรียนรู้ ๒ หนว่ ย ดงั นี้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๓ ดนิ
หนว่ ยย่อยท่ี ๑ ดนิ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๔ วัตถุและสมบัติของวสั ดุ
หน่วยย่อยที่ ๑ สมบัตขิ องวสั ดุ
หน่วยย่อยที่ ๒ การทาวัตถโุ ดยใช้สมบัติของวสั ดุ

๕. แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒

การจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปี
ที่ ๒ กาหนดให้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้หลายแผน โดยแผนการจัดการ
เรียนรู้แต่ละแผน ประกอบด้วย สาระสาคัญ ขอบเขตเนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ซึ่งมีท้ังด้านความรู้ ด้าน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และด้านคุณธรรม กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ และการวัดและ
ประเมิน และทุกแผนการจัดการเรียนรู้จะมีแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อยู่หน้าแผน ซ่ึงเป็นการสรุป
ภาพรวมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั่วโมงน้ัน ๆ ในทุกขั้นตอนการสอนต้ังแต่ข้ันนา ขั้นสอน ข้ันสรุป
และการประเมนิ ผล นอกจากนยี้ ังมเี ฉลยคาตอบในใบงาน และเฉลยแบบทดสอบด้วย

5

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

(Science Process Skills)

การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนาไปสู่
การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจาลอง และวิธีการอื่น ๆ เพื่อนาข้อมูล สารสนเทศและ
หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคาอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย

ทักษะการสังเกต (Observing) เปน็ ความสามารถในการใช้ประสาทสมั ผสั อย่างใดอยา่ งหน่ึง หรือ
หลายอย่างสารวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ
ผสู้ งั เกตลงไปดว้ ย ประสาทสัมผสั ทงั้ 5 อยา่ ง ได้แก่ การดู การฟังเสียง การดมกลิน่ การชิมรส และการสัมผัส

ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใช้ออกมาเป็น
ตัวเลขได้ถกู ตอ้ งและรวดเร็ว พร้อมระบุหน่วยของการวดั ไดอ้ ย่างถูกต้อง

ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี
หลักการเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคยเก็บ
รวบรวมไวใ้ นอดีต

ทักษะการจาแนกประเภท (Classifying) เปน็ ความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุ่ม
สิ่งต่าง ๆ ที่สนใจ เช่น วัตถุ สิ่งมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาออกเป็น
หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ
หนงึ่ ของสิง่ ต่าง ๆ ทตี่ อ้ งการจาแนก

ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ (Relationship between Space and
Space) และทักษะการความสมั พันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time)

สเปซ (Space) คือ พื้นที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่นี้อาจเป็นตาแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ
สงิ่ เหล่านีอ้ าจมคี วามสมั พันธ์กัน ดงั นี้

ทักษะการหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซ เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง

กบั สเปซ (Relationship between Space สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุต่างๆ

and Space) ครอบครอง

ทกั ษะการหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปซกบั 6
เวลา (Relationship of Space and
Time) เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุครอบครอง
เมือ่ เวลาผา่ นไป

ทักษะการใช้จานวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจานวน และ
การคานวณเพื่อบรรยายหรือระบรุ ายละเอียดเชิงปริมาณของสงิ่ ทส่ี ังเกตหรือทดลอง

ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data)
เป็นความสามารถในการนาผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหล่งต่าง ๆ มาจัดกระทาให้อยู่ในรูปแบบท่ี
มีความหมายหรือมคี วามสมั พันธก์ นั มากขึ้น จนงา่ ยตอ่ การทาความเข้าใจหรือเห็นแบบรูปของขอ้ มลู นอกจากน้ี
ยังรวมถึงความสามารถในการนาข้อมูลมาจัดทาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เพอ่ื ส่ือสารใหผ้ ้อู ื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลมากขึน้

ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์
การสังเกต การทดลองที่ได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ท่ี
แม่นยาจึงเป็นผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทากับข้อมูลอย่าง
เหมาะสม

ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคาตอบ
ล่วงหน้าก่อนจะทาการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคาตอบที่คิด
ล่วงหน้าท่ียังไม่รู้มาก่อน หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การตั้งสมมติฐานหรือคาตอบที่คิดไว้
ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเป็นไปตามท่ี
คาดการณ์ไวห้ รอื ไมก่ ไ็ ด้

ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ
กาหนดความหมายและขอบเขตของสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีอยู่ในสมมติฐานของการทดลอง หรือท่ีเก่ียวข้องกับการทดลอง
ให้เขา้ ใจตรงกนั และสามารถสังเกตหรือวดั ได้

ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถในการ
กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ทั้งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน
ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น แต่อาจ
ส่งผลต่อผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ได้แก่
ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคมุ ให้คงที่ ซง่ึ ล้วนเปน็ ปัจจัยทเี่ ก่ียวข้องกับการทดลอง ดงั นี้

ตัวแปรต้น สง่ิ ท่เี ป็นตน้ เหตทุ าให้เกิดการเปล่ียนแปลง จึงตอ้ งจัด

(Independent Variable) สถานการณ์ให้มสี ิง่ น้แี ตกตา่ งกนั

7

ตัวแปรตาม สิ่งที่เป็นผลจากการจดั สถานการณ์บางอย่างให้
(Dependent Variable) แตกตา่ งกนั และเราตอ้ งสงั เกต วดั หรอื ติดตามดู

ตวั แปรท่ีตอ้ งควบคมุ ใหค้ งท่ี สงิ่ ต่าง ๆ ทอ่ี าจสง่ ผลต่อการจัดสถานการณ์ จึงตอ้ งจัด
(Controlled Variable) สิ่งเหลา่ นี้ให้เหมือนกันหรือเท่ากนั เพื่อให้มน่ั ใจวา่ ผล
จากการจดั สถานการณ์เกิดจากตวั แปรต้นเท่าน้นั

ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ
ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถในการ
ออกแบบและวางแผนการทดลองได้อย่างรอบคอบ และสอดคล้องกับคาถามการทดลองและสมมติฐาน
รวมถึงความสามารถในการดาเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้
ละเอยี ด ครบถ้วน และเทย่ี งตรง

ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion)
ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ ตลอดจน
ความสามารถในการสรปุ ความสัมพันธ์ของข้อมลู ทั้งหมด

ทักษะการสร้างแบบจาลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสร้างและใช้สิ่งที่ทา
ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ
ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงความสามารถในการนาเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจในรูป
ของแบบจาลองแบบตา่ ง ๆ

8

โครงสรำ้ งของชุดกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้
กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์ ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๒

หน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ กลมุ่ สำระ หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๒
ส่ิงมีชวี ติ กำรเรียนรู้ แสง
(๒๒ ชั่วโมง) วทิ ยำศำสตร์
(๘๐ ชัว่ โมง/ป)ี (๑๘ ชว่ั โมง)
หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๔
วตั ถแุ ละสมบัตขิ องวัสดุ หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๓
ดิน
(๒๕ ช่วั โมง)
(๑๕ ช่วั โมง)

หมำยเหตุ : สามารถปรับโครงสร้างเวลาในช้ันเรียนได้ตามความเหมาะสมกับวันและเวลาในการจัดการเรียน
การสอนจริง

9

แนวทำงกำรจดั หน่วยกำรเรยี นรู้
ช้ันประถมศึกษำปที ี่ ๒

เลม่ ๑ (ภำคเรยี นที่ ๑) เลม่ ๒ (ภำคเรียนท่ี ๒)

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ สง่ิ มีชวี ิต หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ ดนิ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ แสง หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๔ วัตถแุ ละสมบัตขิ องวัสดุ

10

โครงสร้ำงรำยวชิ ำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (วิทยำศำสตร)์ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๒

หน่วยกำรเรยี นร้/ู ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๒
เวลำทใี่ ช้ (ช.ม.)
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ตวั ชีว้ ดั สำระกำรเรียนรู้
ส่ิงมีชวี ิต/๒๒ ชว่ั โมง
ว ๑.๒ ป. ๒/๑ ระบวุ า่ พชื ต้องการแสง  พชื ต้องการนา้ แสง เพือ่ การเจรญิ เติบโต
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒
แสง /๑๘ ช่ัวโมง และน้า เพ่ือการเจริญ เติบโต โดยใช้

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ ขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์
ดนิ /๑๕ ชว่ั โมง
ว ๑.๒ ป. ๒/๒ ตระหนักถึงความ

จาเป็นที่พืชต้องได้รับน้าและ แสงเพ่ือ

การเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับ

สง่ิ ดังกล่าวอย่างเหมาะสม

ว ๑.๒ ป. ๒/๓ สร้างแบบจาลองท่ี  พืชดอกเม่ือเจริญเติบโตและมีดอก ดอกจะมีการ

บรรยายวัฏจกั รชวี ิตของพชื ดอก สืบพันธุ์เปลีย่ นแปลงไปเป็นผล ภายในผลมีเมล็ด เม่ือ

เมล็ดงอก ต้นอ่อนท่ีอยู่ภายในเมล็ดจะเจริญ เติบโต

เป็นพืชต้นใหม่ พืชต้นใหม่จะเจริญเติบโต ออกดอก

เพ่อื สืบพันธม์ุ ีผลตอ่ ไปไดอ้ กี หมนุ เวียน ต่อเนื่องเปน็ วัฏ

จักรชวี ติ ของพชื ดอก

ว ๑.๓ ป. ๒/๑ เปรียบเทียบ  ส่ิงท่ีอยู่รอบตัวเรามีทั้งที่เป็นส่ิงมีชีวิตและ

ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวิตและสง่ิ ไม่มี สิ่งไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตต้องการอาหาร มีการ

ชวี ิตจากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ หายใจ เจริญเติบโต ขับถ่าย เคล่ือนไหว

ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และสืบพันธ์ุได้ลูกที่มี

ลักษณะคล้ายคลึงกับพ่อแม่ ส่วนส่ิงไม่มีชีวิต

จะไมม่ ลี กั ษณะดงั กล่าว

ว ๒.๓ ป.๒/๑ บรรยายแนวการ  แสงเคล่ือนทจี่ ากแหลง่ กาเนิดแสงทกุ ทิศทาง เปน็ แนว

เคลื่อนที่ของแสงจาก แหล่งกาเนิดแสง ตรง เม่ือมีแสงจากวัตถุมาเข้าตาจะทาให้มองเห็นวัตถุ

และอธิบายการมองเห็นวัตถุจาก นั้น การมองเห็นวัตถุท่ีเป็นแหล่งกาเนิดแสงแสงจาก

หลักฐานเชงิ ประจักษ์ วัตถุนั้นจะเข้าสู่ตาโดยตรง ส่วนการมองเห็นวัตถุท่ี

ว ๒.๓ ป.๒/๑ ตระหนักในคุณค่าของ ไม่ใช่แหลง่ กาเนิดแสง ต้องมีแสงจากแหล่งกาเนิดแสง

ความรู้ของการมองเห็น โดยเสนอแนะ ไปกระทบวัตถแุ ล้วสะท้อนเข้าตา ถ้ามีแสงท่ีสวา่ งมาก

แนวทางการป้องกันอันตราย จากการ ๆ เข้าสู่ตา อาจเกิดอันตรายต่อตาได้จึงต้องหลีกเลี่ยง

มองวัตถุที่อยู่ในบริเวณท่ีมีแสงสว่าง ไม่ การมองหรือใช้แผ่นกรองแสงท่ีมีคุณภาพ เม่ือจาเป็น

เหมาะสม และต้องจัดความสว่างให้เหมาะสมกับการทากิจกรรม

ต่าง ๆ เช่น การอ่านหนังสือ การดูจอโทรทัศน์การใช้

โทรศัพท์เคลือ่ นท่ี และแทบ็ เลต็

ว ๓.๒ ป ๒/๑ ระบุส่วนประกอบ  ดนิ ประกอบด้วยเศษหิน ซากพืช ซากสตั ว์ผสมอยู่ ใน

ของดิน และจาแนกชนิดของดิน เนือ้ ดิน มีอากาศและนา้ แทรกอยู่ตามช่องว่าง ในเนื้อ
ดิน ดินจาแนกเป็นดินร่วน ดินเหนียว และดินทราย

11

หน่วยกำรเรียนรู้/ ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๒
เวลำทใ่ี ช้ (ช.ม.)
ตัวช้ีวัด สำระกำรเรยี นรู้
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๔
สมบัติของวัสดุ /๒๕ โดยใช้ลักษณะเน้ือดินและการ ตามลักษณะเนื้อดินและการจับตัว ของดินซงึ่ มีผลต่อ
ช่ัวโมง จับตวั เป็นเกณฑ์ การอ้มุ นา้ ทแี่ ตกตา่ งกัน
ว ๓.๒ ป ๒/๒ อธิบายการใช้
ประโยชน์จากดิน จากข้อมูลที่  ดินแต่ละชนิดนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันตาม
ลักษณะและสมบัติของดิน

รวบรวมได้

ว ๒.๑ ป ๒/๑ เปรียบเทียบสมบัติ  วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติการดูดซับน้าแตกต่างกัน

การดูดซับน้าของวัสดุโดยใช้ หลักฐาน จึงนาไปทาวัตถุเพ่ือใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน เช่น
เชิงประจักษ์และระบุการนาสมบัติ ใชผ้ า้ ทด่ี ดู ซับนา้ ได้มากทาผ้าเช็ดตวั ใช้พลาสตกิ ซึ่งไม่
การดดู ซับน้าของวัสดุไปประยุกต์ใช้ใน ดูดซบั นา้ ทาร่ม
การทาวตั ถใุ นชวี ิตประจาวนั

ว ๒.๑ ป ๒/๒ อธิบายสมบัติที่  วัสดุบางอย่างสามารถนามาผสมกันซึ่งทาให้ได้
สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนา สมบัติท่ีเหมาะสม เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ตาม

วัสดุมาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิง ต้องการ เช่น แป้งผสมน้าตาลและกะทิใช้ทาขนม
ประจกั ษ์ ไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยื่อกระดาษใช้ทากระปุก
ออมสนิ ปนู ผสมหิน ทราย และนา้ ใชท้ าคอนกรตี

ว ๒.๑ ป ๒/๓ เปรียบเทียบสมบัติที่  การนาวัสดุมาทาเป็นวัตถุในการใช้งานตาม
สังเกตได้ของวัสดุ เพ่ือนามาทาเป็นวัตถุ วัตถปุ ระสงค์ขน้ึ อยู่กบั สมบัตขิ องวัสดวุ ัสดทุ ีใ่ ช้แลว้ อาจ
ในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และ นากลบั มาใช้ใหม่ได้ เชน่ กระดาษใชแ้ ลว้ อาจนามาทา
อธิบายการนาวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ เปน็ จรวดกระดาษ ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ ถุงใสข่ อง
ใหม่โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์

ว ๒.๑ ป ๒/๔ ตระหนักถงึ ประโยชน์ของ

การนาวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดย

การนาวัสดุที่ใชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่

12

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑
สิ่งมชี วี ิต

13

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้และตัวชีว้ ัดของหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑
สิง่ มีชีวิต (จำนวน ๒๒ ช่ัวโมง)

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้และตัวชี้วัด

มำตรฐำน ว ๑.๒

เขา้ ใจสมบัติของสิ่งมีชวี ติ หนว่ ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชีวติ การลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ทีท่ างานสัมพันธ์กัน ความสมั พันธ์
ของโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องอวยั วะต่าง ๆ ของพืชทีท่ างานสัมพนั ธ์กัน รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ป. ๒/๑ ระบุว่าพืชตอ้ งการแสงและน้า เพื่อการเจรญิ เตบิ โต โดยใช้ขอ้ มูลจากหลักฐานเชงิ
ประจกั ษ์
ว ๑.๒ ป. ๒/๒ ตระหนักถึงความจาเป็นทพี่ ืชต้องไดร้ ับน้าและแสงเพ่ือการเจรญิ เติบโต โดยดูแลพชื ให้
ได้รบั สง่ิ ดงั กล่าวอยา่ งเหมาะสม
ว ๑.๒ ป. ๒/๓ สรา้ งแบบจาลองท่ีบรรยายวฏั จกั รชวี ติ ของพืชดอก

มำตรฐำน ว ๑.๓

เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทาง
พนั ธุกรรมที่มผี ลต่อสิง่ มชี ีวิต ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของสง่ิ มชี ีวติ รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด
ว ๑.๓ ป. ๒/๑ เปรยี บเทยี บลกั ษณะของส่งิ มีชวี ติ และสง่ิ ไม่มชี วี ติ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้

14

ลำดับกำรนำเสนอแนวคิดหลักของหนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี ๑ ส่งิ มีชวี ิต

สง่ิ ท่อี ยู่รอบตัวเรามที ั้งสงิ่ มีชวี ติ และส่งิ ไมม่ ชี วี ติ
สงิ่ มชี วี ิตมที งั้ พชื สตั วร์ วมท้ังมนุษย์

สง่ิ ไม่มีชีวิตมหี ลายอย่าง เช่น นา้ อากาศ หนิ ดนิ ทราย

สิง่ มีชวี ติ แตกต่างจากสง่ิ ไม่มชี ีวิต คือ หายใจได้ กนิ อาหารได้ เติบโตได้ ขับถ่ายได้ เคลื่อนไหวได้ สบื พันธุ์ได้
และตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ได้ สว่ นสิง่ ไม่มีชวี ติ ไมม่ ลี ักษณะดังกล่าว

พชื เปน็ สิ่งมชี ีวติ ทีม่ กี ารเจริญเตบิ โต

การเจริญเติบโตของพชื เรมิ่ จากเมลด็ ไดร้ บั น้าและอากาศทเ่ี หมาะสม แลว้ งอกเป็นต้นออ่ น

การเจรญิ เตบิ โตของพชื สามารถสังเกตได้จากความสูง และลักษณะของใบและลาต้น

พชื ต้องการน้าและแสงในการเจรญิ เติบโต

เราควรดแู ลพืชใหไ้ ด้รับนา้ และแสงท่ีเหมาะสมในการดารงชีวติ

พชื ทม่ี ดี อกจดั เป็นพืชดอก

พืชดอกเม่อื เจรญิ เตบิ โตและมีดอก ดอกจะมีการสืบพันธเุ์ ปล่ียนแปลงไปเปน็ ผล ภายในผลมีเมลด็
เมื่อเมลด็ งอก ตน้ อ่อนที่อยู่ภายในเมล็ดจะเจริญเตบิ โตเปน็ พชื ต้นใหม่

พชื ต้นใหม่จะเจริญเตบิ โตเปน็ ตน้ โตเตม็ วยั ออกดอกเพ่ือสบื พนั ธมุ์ ีผลและเมลด็ ทสี่ ามารถงอกและเจรญิ เตบิ โต
เป็นพชื ต้นใหมต่ ่อไปได้อกี ซ่งึ มีแบบรูปคงท่หี มนุ เวียนตอ่ เนื่องเป็นวัฏจกั รชีวิตของพชื ดอก

15

ตวั อยำ่ งโครงสร้ำงแผนกำรจัดกำรเรียนรหู้ น่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ ส่งิ มชี วี ติ

แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้
เมลด็ พชื น้อย สงิ่ ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื
(๓ ชัว่ โมง)
(๕ ชัว่ โมง)

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยย่อยที่ ๒
(สง่ิ มีชีวติ กับส่งิ ไมม่ ชี วี ติ (การเจรญิ เตบิ โตของพชื )

(๖ ชั่วโมง)

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑
(สิ่งมีชีวิตและสง่ิ ไมม่ ชี ีวิต) สง่ิ มีชวี ติ

(๑๘ ชวั่ โมง)

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๓
(วฏั จักรชวี ติ ของพชื ดอก)

แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้
พืชดอกรอบตัว วฏั จักรชีวิตของพืชดอก
(๑ ช่ัวโมง)
(๓ ช่ัวโมง)

หมำยเหตุ : โครงสร้างเวลานเ้ี ปน็ ตวั อย่างสาหรับในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งสามารถปรับไดต้ าม
ความเหมาะสมกับวันและเวลา

16

หน่วยย่อยท่ี ๑
ส่งิ มีชวี ติ และสิ่งไม่มีชีวิต

17

หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ ส่ิงมีชีวติ และสง่ิ ไม่มีชวี ติ

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๑ ชือ่ หน่วย สงิ่ มชี ีวติ

จำนวนเวลำเรียน ๖ ชั่วโมง จำนวนแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ๑ แผน

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สำระสำคัญของหนว่ ย
สง่ิ มีชีวิตแตกตา่ งจากสิ่งไม่มีชีวติ คอื หายใจได้ กินอาหารได้ เติบโตได้ ขบั ถา่ ยได้ เคลื่อนไหวได้

สืบพันธไุ์ ด้ และตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ ได้ สว่ นสงิ่ ไมม่ ชี ีวิตไมม่ ีลกั ษณะดังกล่าว

มำตรฐำนและตัวชี้วดั
มำตรฐำน ว ๑.๓

เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทาง
พนั ธุกรรมท่มี ผี ลต่อส่งิ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวฒั นาการของสิง่ มชี ีวิต รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชวี้ ดั
ว ๑.๓ ป. ๒/๑ เปรียบเทยี บลักษณะของส่งิ มีชีวติ และสิง่ ไมม่ ชี วี ิตจากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้

18

ลำดับกำรนำเสนอแนวคิดหลักของหน่วยย่อยที่ ๑ สิ่งมชี ีวติ และสิง่ ไม่มีชีวติ
สงิ่ ทีอ่ ย่รู อบตวั เรามีทัง้ สง่ิ มีชวี ติ และสิ่งไมม่ ชี ีวติ
สิ่งมชี วี ิตมีท้งั พืช สตั ว์รวมท้งั มนุษย์

สิ่งไมม่ ชี ีวติ มหี ลายอยา่ ง เช่น น้า อากาศ หิน ดิน ทราย

ส่งิ มีชีวิตแตกต่างจากสง่ิ ไมม่ ชี ีวติ คือ หายใจได้ กนิ อาหารได้ เติบโตได้ ขบั ถา่ ยได้ เคล่ือนไหวได้ สบื พันธ์ุได้
และตอบสนองต่อสิง่ เร้าได้ ส่วนสิง่ ไม่มีชีวติ ไมม่ ลี ักษณะดังกล่าว

โครงสรำ้ งของหน่วยยอ่ ยที่ ๑ ส่งิ มีชีวติ และส่ิงไม่มชี ีวติ

หน่วยกำรเรียนรู้ ช่อื หน่วยย่อย จำนวนแผน ชือ่ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ หน่วยย่อยท่ี ๑ ๑ สง่ิ มชี ีวติ และสิ่งไม่มชี ีวิต ๖

๑ สิง่ มีชีวติ ส่ิงมีชีวิตและ

สง่ิ ไม่มีชวี ิต

19

แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี 1

กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี 2

ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 รำยวชิ ำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชำ ว12101

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 สิ่งมชี ีวิต หน่วยยอ่ ยที่ 1 สงิ่ มีชีวติ และสง่ิ ไมม่ ชี ีวติ

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สิ่งมีชวี ติ และสง่ิ ไม่มีชีวติ (1) เวลำ 50 นำที

1. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด
สำระที่ 1 วิทยำศำสตร์ชวี ภำพ
มำตรฐำน ว 1.3

เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธกุ รรม
การเปล่ยี นแปลงทางพันธกุ รรมทมี่ ีผลตอ่ ส่งิ มีชวี ิต ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและวิวัฒนาการของสง่ิ มีชวี ิต
รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ช้วี ัด ว 1.3 ป. 2/1 เปรยี บเทยี บลักษณะของส่ิงมชี วี ิตและสิ่งไมม่ ีชวี ิตจากข้อมูลท่รี วบรวมได้

2. สำระสำคญั
สงิ่ มชี วี ิตมีลักษณะแตกต่างจากสิง่ ไมม่ ีชีวติ

3. จุดประสงค์
3.1 ด้ำนควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ (K)
- บอกลกั ษณะและพฤติกรรมของสิ่งต่าง ๆ ท่อี ยรู่ อบตวั เรา
3.2 ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร (P)
- สังเกตลักษณะและพฤติกรรมของส่งิ ต่าง ๆ ที่อยู่รอบตวั
3.3 ด้ำนคุณลักษณะ เจตคติ ค่ำนยิ ม (A)
- มวี นิ ัย
- ใฝเ่ รยี นรู้

4. สำระกำรเรยี นรู้
สิ่งตา่ ง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ในแต่ละบรเิ วณ จะพบสิ่งที่อยู่นิง่ และไม่อยู่น่งิ ซง่ึ จะมีพฤติกรรมตา่ ง ๆ เช่น

เคล่ือนทีไ่ ด้ ขยบั ได้ กนิ อาหารได้ หายใจได้ สง่ เสียงได้ กินอาหารได้ เป็นต้น

5. สมรรถนะของผ้เู รียน
5.1 ควำมสำมำรถในกำรส่อื สำร
- เขยี นและวาดรปู ส่งิ ต่าง ๆ ท่อี ยูร่ อบตัวเรา

20

5.2 ควำมสำมำรถในกำรคดิ
- บอกลักษณะและพฤติกรรมของสง่ิ ต่าง ๆ ที่พบรอบตัวเรา

5.3 ควำมสำมำรถในกำรแก้ปญั หำ
- การแก้ปญั หาในการทางานกลุ่มรว่ มกนั

5.4 ควำมสำมำรถในกำรใช้ทกั ษะชีวติ
- มีวินยั
- ใฝเ่ รยี นรู้

6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
6.1 มีวินัย
6.2 ใฝเ่ รยี นรู้

7. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
ขัน้ นำเข้ำสู่บทเรียน (เวลำ 5 นำที)
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมว่าส่ิงใดเป็นสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตโดยให้ตัวแทนนักเรียน 3-4 คนออกมาทา

ท่าทางต่าง ๆ (เช่น สุนัข ลิง ก้อนหิน ต้นไม้) แล้วให้เพื่อนในชั้นทายว่าเป็นอะไร และเป็นส่ิงมีชีวิตหรือไม่
เพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ครจู ดคาตอบของนักเรยี นไวโ้ ดยยงั ไมเ่ ฉลยคาตอบ
ทีถ่ ูกตอ้ ง
ข้นั สอน (เวลำ 40 นำท)ี
2. ครชู วนนกั เรียนหาคาตอบท่ถี ูกต้องโดยใชส้ อ่ื สไลด์ พานกั เรียนอ่านช่ือกิจกรรม และจุดประสงค์ของกจิ กรรม
ท่ี 1 รไู้ หมว่า...สิ่งมชี ีวติ แตกต่างจากส่ิงไม่มีชวี ิตอย่างไร ข้อ 1 หน้า 3 จากนั้นใชค้ าถามต่อไปนี้
2.1 กจิ กรรมนนี้ กั เรยี นจะได้เรียนเรือ่ งอะไร (ลักษณะของส่งิ มชี วี ิตและสิง่ ไมม่ ีชีวติ )
2.2 นักเรยี นจะเรยี นเรื่องนดี้ ว้ ยวิธใี ด (การรวบรวมข้อมูล)
2.3 เมอ่ื เรยี นแลว้ นกั เรียนจะทาอะไรได้ (บอกลกั ษณะของส่งิ มีชวี ิตและสิ่งไม่มชี ีวิต
3. ครแู จ้งจุดประสงค์การเรยี นรใู้ นชัว่ โมงนใี้ หน้ กั เรียนทราบอีกคร้งั โดยใช้สอ่ื สไลด์
4. ครูให้นักเรียนอ่านวิธีทาในใบกิจกรรมที่ 1 หน้า 3 ข้อ 1 จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจในข้ันตอนการทา
กิจกรรมของนกั เรยี นจนแน่ใจวา่ นกั เรยี นทาได้ โดยครูใชค้ าถามดังต่อไปน้ี
4.1 นักเรียนจะต้องไปสังเกตสง่ิ ต่าง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตัวเราท่ีไหน (ในหอ้ งเรียน)
4.2 นกั เรียนตอ้ งสังเกตอะไรบ้าง (สงั เกตลกั ษณะและพฤติกรรมของสิ่งทพ่ี บในหอ้ งเรียน)
4.3 นักเรยี นแต่ละกลุ่มต้องสังเกตสิ่งต่าง ๆ กี่ชนิด (3 ชนิด) ครูเนน้ ย้าอีกครง้ั ว่า นักเรียนแต่ละกลุ่มจะต้อง

สารวจโดยไม่ซ้ากับกลมุ่ อื่น
4.4 นกั เรียนต้องบนั ทึกส่ิงทีพ่ บอย่างไร (บนั ทึกโดยการเขยี นและวาดรูปส่ิงทพี่ บ)

21

5. ครูใช้สอ่ื สไลดอ์ ธิบายวิธกี ารบนั ทกึ ผลการสารวจ ในใบงาน 01 สิ่งต่าง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตัว หนา้ 4-5 เมอื่ นักเรยี น
เข้าใจวิธกี ารบนั ทกึ ผลการสารวจแลว้ ครูกาหนดเวลาในการทากจิ กรรม 5 – 10 นาที และคอยใหค้ าแนะนา
นกั เรียน

6. ครูนาตวั อย่างสงิ่ มชี ีวิตตา่ ง ๆ เขา้ มาไว้ในห้องเรยี น 4-5 ตวั อยา่ ง เพ่ือใหม้ คี วามหลากหลาย
7. เมือ่ นักเรยี นแต่ละกลุ่มสังเกตสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัวเสร็จแลว้ ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกันบันทึกผลตามความ

เปน็ จรงิ เชน่ สิ่งทฉ่ี นั พบ คือ มดในจานขนมปัง ตอนฉนั เหน็ มดบางตวั กาลังเดนิ บางตัวกาลังกนิ ขนมปัง
8. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอผลการสังเกต และครจู ดคาตอบไว้ในตารางบนกระดานดังน้ี (หากมีคาตอบ

ส่งิ ท่พี บซ้ากัน ครนู ามาเขยี นรวมกัน)
ตำรำง กำรสำรวจสิ่งตำ่ ง ๆ รอบตัว

สง่ิ ท่ีพบ ลักษณะและพฤตกิ รรมท่ีสังเกตได้

9. ครชู วนนักเรียนอภปิ รายส่งิ ท่ีสังเกตได้ โดยใชค้ าถามดังตอ่ ไปนี้
9.1 สิ่งทีพ่ บรอบ ๆ รอบตัวเรามีอะไรบ้าง (คาตอบขึน้ อยกู่ ับชอื่ สิง่ ทีพ่ บจากการสารวจของนักเรยี น)
9.2 สิ่งทพี่ บสิง่ ใดบ้างอยนู่ งิ่ ๆ (คาตอบขึน้ อยูก่ บั การสารวจของนกั เรียน เช่น โต๊ะ หลอดไฟฟ้า)
9.3 ส่ิงท่ีพบสิ่งใดบ้างท่ีไมอ่ ยนู่ ่ิง และแสดงพฤติกรรมอะไร (คาตอบขน้ึ อยู่กบั การสารวจของนักเรยี น
เชน่ มด มกี ารเดิน กนิ อาหาร)
9.4 สิ่งที่พบส่ิงใดบ้างเป็นส่ิงมีชีวิต ทราบได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ครูยังไม่
เฉลยคาตอบ แลว้ ให้นกั เรยี นค้นพบคาตอบดว้ ยตนเองในช่วั โมงต่อไป

ขน้ั สรุป (เวลำ 5 นำที)
10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สรุปความรู้ท่ีได้เรียนเก่ียวกับสิ่งท่ีพบจากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา

โดยครูใช้สื่อสไลด์ที่มีคาถามว่า สิ่งที่พบรอบ ๆ รอบตัวเรามีลักษณะพฤติกรรมที่เหมือนหรือแตกต่างกัน
อยา่ งไร (แตกตา่ งกัน ส่งิ ทพ่ี บมีท้ังที่อยนู่ ่งิ และอยู่ไม่นิ่ง)
11. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมโดยใช้ส่ือสไลด์ สรุปได้ว่า สิ่งทพ่ี บรอบ ๆ ตัวเรามหี ลายอยา่ ง ซ่ึงมีสง่ิ ท่ี
อยนู่ ่งิ ๆ และสิง่ ที่แสดงพฤตกิ รรมต่าง ๆ

8. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้
8.1 สือ่ สไลด์ เรอื่ ง สิ่งมีชีวติ และสง่ิ ไม่มชี วี ิต (1)
8.2 ใบกจิ กรรมที่ 1 รูไ้ หมวา่ ...สงิ่ มีชีวิตแตกตา่ งจากสิง่ ไมม่ ีชีวติ อย่างไร หน้า 3
8.3 ใบงาน 01 สิง่ ตา่ ง ๆ ที่อยู่รอบตวั หน้า 4-5
8.4 ดนิ สอ
8.5 สีไม้

22

8.6 ตัวอยา่ งสิ่งมีชีวติ ตา่ ง ๆ เชน่ มดในจานขนมปัง ปลาหางนกยงู ในโหลเลยี้ งปลา ต้นไมใ้ นกระถาง
แมลงเต่าทอง ตน้ ไมยราบ เป็นต้น

9. ชิ้นงำน/ภำระ
9.1 ใบงาน 01 ส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว หน้า 4-5

10. กำรวดั และประเมนิ ผล

ประเด็นกำรประเมิน วิธกี ำร เครอ่ื งมือ เกณฑ์กำรตดั สิน
1) บอกลักษณะและ สงั เกตการตอบคาถามใน แบบประเมนิ การตอบ คะแนน 9 – 10 หมายถงึ ดมี าก
พฤติกรรมของส่ิงต่าง ๆ ชั้นเรยี นและในใบงาน คาถามในชัน้ เรียนและ คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี
ท่ีอย่รู อบตวั เรา ตรวจใบงาน คะแนน 5 - 6 หมายถึง พอใช้
คะแนน 0 - 4 หมายถึง ปรับปรุง
2) สงั เกตลกั ษณะและ สงั เกตทกั ษะกระบวนการ แบบประเมินทักษะ คะแนน 3 หมายถงึ ดี
พฤติกรรมของส่งิ ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ในการ กระบวนการทาง คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
ท่อี ยูร่ อบตวั ทากิจกรรม วทิ ยาศาสตร์ คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรุง
3) สังเกตพฤตกรรมด้าน สงั เกตด้านคุณลกั ษณะ แบบประเมนิ คะแนน 3 หมายถึง ดี
การมวี นิ ัยและใฝ่เรยี นรู้ อันพงึ ประสงค์ คุณลักษณะ คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
อันพึงประสงค์ คะแนน 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ

23

แบบประเมินกำรตอบคำถำมในชน้ั เรียนและตรวจใบงำน
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง สิ่งมีชีวิตและส่งิ ไม่มชี ีวิต (1)
ชื่อผปู้ ระเมนิ …………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมนิ ผลครงั้ ท่ี………………….... วนั ท่ี …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่อื ง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ชือ่ -สกุล/กลมุ่ รำยกำรประเมิน/ระดับคะแนน รวมคะแนน
กำรตอบคำถำม กำรสรุปควำมรู้ (4) (10 คะแนน)

ในชน้ั เรียน
(6)

เกณฑ์กำรประเมิน

ประเด็น ระดับคุณภำพ น้ำหนกั คะแนน
1.0 รวม
กำรประเมิน 4 (ดีมำก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) 6
ตอบคาถาม 1.0
1. การตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ไมถ่ ูกต้อง 4
คาถามในช้นั เรียน ถูกต้องทงั้ หมด ถูกต้องเป็น ถูกต้องบางส่วน
สรปุ ความรู้เขา้ ใจ
สว่ นใหญ่ เก่ียวกับเรื่องท่ี
ศกึ ษาไม่ถกู ต้อง
2. การสรปุ ความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรคู้ วาม สรปุ ความรู้ความ และไม่ครบถว้ น
ความเข้าใจ เขา้ ใจเกี่ยวกับ เข้าใจเกีย่ วกับ
เกย่ี วกับเร่อื งท่ี เร่อื งที่ศึกษาได้ เร่อื งที่ศึกษาได้
ศกึ ษาได้ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง แต่ไม่ ถกู ต้องบางสว่ น
และครบถว้ น ครบถ้วน และไมค่ รบถว้ น

เกณฑ์การตดั สนิ
คะแนน 9 - 10 หมายถงึ ดีมาก
คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี
คะแนน 5 - 6 หมายถึง พอใช้
คะแนน 0 - 4 หมายถงึ ปรบั ปรุง

24

แบบประเมนิ ด้ำนทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์
แผนกำรจดั กำรเรยี นร้ทู ่ี 1 ส่ิงมชี ีวิตและส่ิงไม่มชี ีวติ (1)

ชื่อผ้ปู ระเมิน…………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมนิ ผลครงั้ ท…ี่ ……………….... วันที่ …………….........……... เดอื น ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เรอื่ ง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ช่อื -สกุล/กลุม่ รำยกำรประเมิน/ระดับคะแนน ผลกำรประเมนิ
กำรสังเกต (3)

เกณฑ์กำรประเมิน

ทักษะกระบวนกำร ระดับควำมสำมำรถ ปรบั ปรุง (1)
ทำงวิทยำศำสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) สามารถใชป้ ระสาทรวบรวม
การสังเกต สามารถใชป้ ระสาทสัมผสั สามารถใชป้ ระสาทสมั ผัสใน ขอ้ มลู เกีย่ วกบั ลักษณะและ
ในการรวบรวมขอ้ มลู การรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมของสิ่งมีชีวติ และ
เก่ยี วกับลกั ษณะและ ลักษณะและพฤตกิ รรมของ สิ่งไม่มีชวี ิตได้บางอย่าง
พฤติกรรมของส่ิงมีชีวติ ส่งิ มีชวี ิตและส่ิงไม่มชี วี ติ ได้ ถงึ แม้จะไดร้ บั คาแนะนาจาก
และส่งิ ไม่มีชีวติ ได้ ดว้ ย โดยการชี้แนะของครูหรือผู้อน่ื ครูหรือผู้อืน่
ตนเองโดยไม่เพ่ิมความ
คดิ เหน็

เกณฑ์การตัดสนิ
คะแนน 3 หมายถึง ดี
คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ

25

แบบประเมนิ ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 1 สง่ิ มีชีวติ และสิ่งไม่มชี ีวิต (1)

ชอ่ื ผู้ประเมิน/กลุม่ ประเมิน………………………………………………………………………………………………………………………………..
ชอ่ื กลุ่มรบั กำรประเมิน…………………………………………………………………………………………………………………….
ประเมนิ ผลครั้งที่………………….... วนั ที่ ……………..……... เดอื น ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่อื ง……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ท่ี ลกั ษณะ/พฤติกรรมบง่ ชี้ ระดับพฤตกิ รรม
รวมคะแนนท่ไี ดท้ ัง้ หมด
1 มีวินยั เกิด = 1 ไมเ่ กดิ = 0
2 ใฝเ่ รยี นรู้

เกณฑก์ ำรประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- มากกวา่ 80 % ได้ 3 คะแนน
- 50% - 79 % ได้ 2 คะแนน
- ต่ากวา่ 50 % ได้ 1 คะแนน

เกณฑ์กำรตดั สิน
คะแนน 3 หมายถึง ดี
คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง

26

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 2

กลุ่มสำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 2

ภำคเรียนท่ี 1 ปีกำรศึกษำ 2564 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชำ ว12101

หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 1 ส่ิงมีชีวิต หน่วยยอ่ ยที่ 1 สิ่งมีชีวติ และส่ิงไม่มชี ีวิต

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ส่ิงมีชวี ติ และสง่ิ ไม่มชี ีวติ (2) เวลำ 50 นำที

1. มำตรฐำนกำรเรียนร้/ู ตัวช้ีวัด
สำระท่ี 1 วทิ ยำศำสตร์ชวี ภำพ
มำตรฐำน ว 1.3

เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธกุ รรม
การเปล่ยี นแปลงทางพนั ธุกรรมท่มี ีผลต่อส่งิ มีชวี ิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของสิ่งมชี ีวติ
รวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตวั ช้ีวดั ว 1.3 ป. 2/1 เปรียบเทยี บลักษณะของสงิ่ มชี ีวติ และสงิ่ ไมม่ ชี ีวิตจากข้อมูลที่รวบรวมได้

2. สำระสำคัญ
สิ่งมชี ีวติ มลี กั ษณะแตกตา่ งจากสิง่ ไม่มชี ีวิต

3. จุดประสงค์
3.1 ดำ้ นควำมรู้ ควำมเข้ำใจ (K)
- บอกลักษณะของสง่ิ มีชีวิตและสิ่งไม่มชี วี ติ
3.2 ด้ำนทักษะกระบวนกำร (P)
- ลงความเห็นจากข้อมูลเก่ยี วกบั ลกั ษณะของสง่ิ มีชีวติ และส่ิงไมม่ ีชีวิต
3.3 ด้ำนคณุ ลักษณะ เจตคติ คำ่ นยิ ม (A)
- มีวินัย
- ใฝเ่ รยี นรู้
- ม่งุ ม่ันในการทางาน

4. สำระกำรเรียนรู้
สง่ิ มีชีวิตมีลักษณะดังน้ี ได้แก่ หายใจได้ กินอาหารได้ เติบโตได้ ขับถ่ายได้ เคลอ่ื นไหวได้ด้วย

ตนเอง สบื พนั ธ์ุได้ และตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ได้ ส่วนสิง่ ไม่มชี ีวิตไมม่ ลี ักษณะดังกลา่ ว

5. สมรรถนะของผู้เรยี น
5.1 ควำมสำมำรถในกำรสอ่ื สำร
- บอกลักษณะของสง่ิ มีชีวติ และสง่ิ ไม่มชี ีวติ

27

5.2 ควำมสำมำรถในกำรคดิ
- ลงความเหน็ จากข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะของสง่ิ มีชีวิตและส่งิ ไม่มชี ีวิต

5.3 ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชวี ติ
- มีวินยั ในการทากจิ กรรม
- ใฝ่เรยี นรู้
- มุง่ มน่ั ในการทางาน

6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
6.1 มีวนิ ัย
6.2 ใฝ่เรียนรู้
6.3 มุง่ ม่ันในการทางาน

7. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
ขัน้ นำเขำ้ สู่บทเรียน (เวลำ 5 นำท)ี
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับลักษณะของส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต โดยให้นักเรียนดูส่ือวีดิทัศน์เกี่ยวกับ

สิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต เช่น หนอนกาลังกินใบไม้ ปลากินอาหารหรือกาลังว่ายน้าใต้ท้องทะเล เป็นต้น
และใช้คาถามดงั น้ี

1.1 นักเรยี นเห็นอะไรบา้ งจากส่ือวีดิทัศน์ (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง)
1.2 สิง่ ใดบา้ งเปน็ สง่ิ มีชวี ิต เพราะเหตใุ ด (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)
1.2 ส่งิ ใดบ้างเป็นสง่ิ ไมม่ ีชีวิต เพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)
ขน้ั สอน (เวลำ 40 นำท)ี
2. ครูใช้สือ่ สไลด์แจ้งจุดประสงคข์ องกจิ กรรมท่ี 1 รู้ไหมว่า...ส่งิ มีชวี ติ แตกตา่ งจากสิ่งไม่มีชวี ติ อย่างไร ให้ทราบ
อกี คร้ังว่า นักเรยี นจะได้เรียนร้เู กย่ี วกบั ลักษณะของส่ิงมชี ีวิตและสิง่ ไม่มีชวี ติ
3. ครชู กั ชวนนกั เรยี นอา่ นวิธีทากิจกรรมท่ี 1 ข้อ 2 หนา้ 3 จากนั้นตรวจสอบความเข้าใจในขน้ั ตอนการทา
กิจกรรมของนักเรียนจนแนใ่ จว่านักเรียนทาได้ โดยครูใช้คาถามดังต่อไปน้ี
3.1 นกั เรียนตอ้ งอา่ นเร่ืองอะไร หน้าใด (อ่านเร่ืองปุกปยุ จอมปว่ น หน้า 6-8)
3.2 นักเรียนอา่ นเรื่องปุกปยุ จอมป่วนแล้วตอ้ งสรุปเกี่ยวกับเรื่องอะไร (สรุปเกย่ี วกับลกั ษณะของส่งิ มชี วี ติ
และส่งิ ไม่มีชีวติ )
3.3 นักเรียนตอ้ งบนั ทกึ ขอ้ สรุปนท้ี ีใ่ ด (ในใบงาน 01 หน้า 9)
4. เมอื่ นกั เรยี นเข้าใจข้ันตอนการทากิจกรรมแล้ว ครูใหน้ ักเรยี นอา่ นเร่ืองปุกปุยจอมปว่ น โดยเลือกวิธีการอ่าน
จับใจความท่เี หมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น เชน่ ครอู า่ นนา นักเรยี นอา่ นตาม หรอื ใหน้ ักเรียนคนที่
อ่านได้ อา่ นนาเพอ่ื น และอ่านไปทลี ะย่อหน้าสลบั กบั การใช้คาถามของครูดงั ต่อไปนี้

28

ยอ่ หน้าที่ 1
4.1 ร่างกายของปกุ ปยุ มีการเปล่ยี นแปลงอย่างไร (ตอนตัวเลก็ ๆ ผอมโซ และหายใจหอบ ตอ่ มาร่างกาย
โตขนึ้ แขง็ แรง หายใจเปน็ ปกต)ิ

ยอ่ หน้าที่ 2
4.2 ปกุ ปยุ มีลกู เล็ก ๆ เมื่อใด (เม่อื ไดส้ บื พนั ธ์ุกับปเู ป้)
4.3 ปกุ ปุยทาอะไรบ้างที่สนามหญา้ (ขับถ่าย ทาทา่ ตกใจ ถอยหลังหนี และเห่าเสียงดงั )

ย่อหน้าท่ี 3
4.4 ปกุ ปุยพบอะไรท่ีสนามหญา้ (กะลามะพร้าว)
4.5 เมือ่ กะลามะพรา้ วเคลอ่ื นที่ ปุกปุยแสดงพฤตกิ รรมอะไรบ้าง (เห่าเสียงดัง)
4.6 มีอะไรอยู่ในกะลามะพร้าว (กบ)
4.7 เม่อื กบและปุกปุยพบกนั ทง้ั สองแสดงพฤติกรรมอะไรบา้ ง (เมอื่ กบกระโดด ปุกปยุ สะดุ้งโหยง เมอ่ื กบ
เห็นปุกปยุ กบหยุดกระโดด)
4.8 การแสดงพฤตกิ รรมของปุกปยุ เม่ือเห็นกบกระโดดออกจากกะลามะพรา้ ว และการแสดงพฤตกิ รรม

ของกบเมื่อเห็นปุกปุย การแสดงออกน้เี รยี กวา่ อะไร (การตอบสนองต่อสง่ิ เร้า)
ย่อหนา้ ท่ี 4

4.9 สิ่งใดบา้ งเปน็ สงิ่ มีชีวิต เพราะเหตุใด (ดอกแกว้ พ่อ ปุกปยุ กบ เพราะสามารถเคลื่อนไหวได้ดว้ ยตนเอง
หายใจได้ กนิ อาหารได้ ขับถา่ ยได้ เตบิ โตได้ สืบพันธุ์ได้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้)

4.10 สงิ่ ใดบา้ งเปน็ ส่งิ ไมม่ ีชีวิต เพราะเหตุใด (กะลามะพรา้ ว เพราะไม่สามารถเคล่ือนไหวไดด้ ้วยตนเอง
ไม่หายใจ ไมก่ นิ อาหาร ไม่ขับถ่าย ไมเ่ ตบิ โต ไมส่ บื พนั ธ์ุ และไมส่ ามารถตอบสนองตอ่ สิง่ เร้าได)้

5. ครูชวนนักเรยี นอภปิ รายเพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั ลักษณะของสง่ิ มชี วี ิต โดยใชค้ าถามดงั ต่อไปน้ี
5.1 สง่ิ มีชวี ติ ท่มี ีการเคลือ่ นไหวได้ด้วยตนเอง สงั เกตไดอ้ ยา่ งไร (สง่ิ มชี วี ติ นนั้ จะมีสว่ นใดส่วนหนง่ึ ของรา่ งกาย
ไม่อยนู่ ่ิงดว้ ยตนเองซึ่งอาจจะอยกู่ ับท่หี รือย้ายท่ีกไ็ ด)้
5.2 การเคลอ่ื นไหวได้ดว้ ยตนเองกับการเคล่อื นทเ่ี หมือนกันหรอื ไม่ อยา่ งไร (มีท้ังเหมือนกนั และตา่ งกนั โดย
การเคล่อื นไหวไดด้ ว้ ยตนเองเปน็ การที่สว่ นใดส่วนหนึง่ ของร่างกายไมอ่ ยูน่ ่ิง ซึ่งอาจจะอยู่กับท่หี รอื ย้ายท่ี
จากทห่ี นง่ึ ไปยงั อีกที่หนงึ่ ไดด้ ้วยตนเอง ส่วนการเคลอ่ื นทีจ่ ะมีการยา้ ยจากทหี่ นึ่งไปอีกท่ีหนงึ่ ได้)
5.3 สิง่ มีชีวิตมกี ารหายใจ สังเกตได้อยา่ งไร (สงั เกตไดจ้ ากการท่ีส่งิ มีชวี ติ บางชนดิ มีรูจมูกทบ่ี ริเวณหน้า หรือ
สงิ่ มีชีวิตบางชนดิ มรี ูทีล่ าตวั ด้านขา้ ง นอกจากน้ีบรเิ วณหน้าอกมีการขยับข้นึ และลดตาแหน่งลง)
5.4 สงิ่ มีชีวิตมกี ารสบื พันธุ์ สงั เกตได้อยา่ งไร (สงั เกตไดจ้ ากส่งิ มชี ีวติ มีคู่ แล้วมลี กู ได้)
5.5 สงิ่ มชี วี ติ มีการเตบิ โต สังเกตได้อย่างไร (สงั เกตไดจ้ ากรา่ งกายมีการเปล่ียนแปลง ตวั ใหญข่ ึ้น)
5.6 ส่ิงมีชีวิตมกี ารตอบสนองส่งิ เรา้ สงั เกตได้อยา่ งไร (สังเกตได้จากมีการแสดงพฤติกรรมที่เปล่ยี นไป เมื่อ
พบส่งิ เรา้ หรือสิ่งทก่ี ระตนุ้ ให้มีการแสดงพฤติกรรม)

6. หากมีเวลาเหลือครูเปิด AR ในหน้า 7 เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจเรื่องราวของปุกปุย และลักษณะของสิ่งมีชีวิต
และส่งิ ไมม่ ชี วี ิตมากขึ้น

29

7. ครูให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปเก่ียวกับลักษณะของส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตในใบงาน 01 หน้า 9 และสุ่ม
นกั เรยี นนาเสนอผลการบันทกึ

8. ครูชวนนักเรียนอภิปรายลักษณะของส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตจากสื่อวีดิทัศน์เกี่ยวกับส่ิงมีชีวิตและ
ส่งิ ไมม่ ชี วี ติ ที่ใชใ้ นข้ันนาเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสรุป (เวลำ 5 นำที)
9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สรุปความรู้ท่ีได้เรียนเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิต โดยใช้สื่อสไลด์ สรุปได้ว่า

ส่ิงมีชีวิตมีลักษณะดังนี้ ได้แก่ หายใจได้ กินอาหารได้ เติบโตได้ ขับถ่ายได้ เคล่ือนไหวได้ สืบพันธ์ุได้ และ
ตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าได้ ส่วนส่งิ ไม่มีชวี ติ ไม่มลี กั ษณะดงั กลา่ ว

8. สื่อ /แหล่งเรียนรู้
8.1 ส่ือสไลด์ เรอ่ื ง สิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวติ (2)
8.2 ส่อื วดี ิทศั นเ์ ก่ียวกับสิง่ มชี วี ติ และสงิ่ ไม่มชี วี ติ
8.3 ใบกจิ กรรมท่ี 1 รู้ไหมว่า...สิ่งมชี วี ติ แตกตา่ งจากสิง่ ไม่มีชวี ติ อยา่ งไร หนา้ 3
8.4 ใบความรู้ นทิ านเรือ่ ง ปุกปุยจอมปว่ น หนา้ 6-8
8.5 ใบงาน 01 สง่ิ ต่าง ๆ ทอ่ี ยรู่ อบตัวเรา หนา้ 9

9. ช้ินงำน/ภำระงำน
9.1 ใบงาน 01 ส่ิงตา่ ง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา หน้า 9

10. กำรวัดและประเมินผล

ประเด็นกำรประเมนิ วิธีกำร เคร่ืองมอื เกณฑ์กำรตดั สนิ
แบบประเมินการตอบ คะแนน 9 – 10 หมายถงึ ดมี าก
1) บอกลักษณะของ สังเกตการตอบคาถามใน คาถามในชั้นเรียนและ คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี
ตรวจใบงาน คะแนน 5 - 6 หมายถึง พอใช้
ส่งิ มชี ีวติ และส่งิ ไม่มีชีวิต ชนั้ เรียนและในใบงาน คะแนน 0 - 4 หมายถึง ปรับปรงุ
แบบประเมนิ ทกั ษะ คะแนน 3 หมายถงึ ดี
2) ลงความเห็นจาก สังเกตทักษะกระบวนการ กระบวนการทาง คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ข้อมูลเก่ียวกบั ลักษณะ ทางวิทยาศาสตร์ในการ วิทยาศาสตร์ คะแนน 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
ของส่ิงมชี ีวติ และ ทากิจกรรม
ส่ิงไมม่ ชี วี ิต แบบประเมิน คะแนน 3 หมายถงึ ดี
3) สงั เกตพฤตกรรมดา้ น สังเกตด้านคุณลกั ษณะ คุณลักษณะ คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
การมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ อันพึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
มงุ่ ม่ันในการทางาน

30

แบบประเมินกำรตอบคำถำมในชนั้ เรียนและตรวจใบงำน
แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง สิ่งมีชีวติ และสิ่งไม่มชี ีวติ (2)
ช่ือผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมินผลคร้งั ท…่ี ……………….... วันท่ี …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เรื่อง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ชอ่ื -สกุล/กล่มุ รำยกำรประเมิน/ระดบั คะแนน รวมคะแนน
กำรตอบ กำรสรุป ควำมถกู ตอ้ ง (10 คะแนน)
คำถำมในชั้น ควำมรู้ ครบถว้ นของ
เรยี น (4) เนือ้ หำในใบงำน

(4) (2)

เกณฑ์กำรประเมิน

ประเดน็ 4 (ดีมำก) ระดับคณุ ภำพ 1 (ปรบั ปรุง) นำ้ หนกั คะแนน
กำรประเมนิ 3 (ดี) 2 (พอใช้) ตอบคาถาม 1.0 รวม
ไมถ่ ูกต้อง 1.0 4
1. การตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม
คาถามในช้ันเรยี น ถูกต้องทั้งหมด ถกู ต้องเปน็ ถูกต้องบางส่วน สรปุ ความรู้เขา้ ใจ 1.0 4
เกี่ยวกับเร่อื งท่ี
สว่ นใหญ่ ศกึ ษาไม่ถูกต้อง 2
และไม่ครบถ้วน
2. การสรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ความ สรปุ ความร้คู วาม เนอื้ หาทเ่ี ขยี นใน
ความเขา้ ใจ เข้าใจเก่ียวกับ เขา้ ใจเกยี่ วกับ ใบงานไมถ่ ูกต้อง
เกีย่ วกบั เรอ่ื งท่ี เร่อื งท่ีศกึ ษาได้ เรอ่ื งท่ีศกึ ษาได้
ศกึ ษาได้ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง แต่ไม่ ถกู ต้องบางสว่ น
และครบถ้วน ครบถ้วน และไม่ครบถว้ น
เนือ้ หาท่เี ขยี นใน
3. ความถูกต้อง เนื้อหาท่ีเขียนใน เนอื้ หาท่ีเขยี นใน ใบงานมคี วาม
ครบถ้วนของ ใบงานมคี วาม ใบงานมีบางสว่ น ถูกต้องเป็น
เนอื้ หาในใบงาน ถูกต้องครบถว้ น ไมถ่ ูกต้อง ตามท่ี ส่วนนอ้ ย

ตามท่กี าหนด กาหนด

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 7 - 8 หมายถงึ ดี
คะแนน 5 - 6 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 0 - 4 หมายถงึ ปรับปรุง

31

แบบประเมนิ ด้ำนทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์
แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ 2 สง่ิ มชี ีวติ และสิ่งไม่มีชวี ติ (2)

ช่ือผ้ปู ระเมนิ …………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมินผลคร้ังท่ี………………….... วนั ท่ี …………….........……... เดอื น ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เรือ่ ง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ชอื่ -สกุล/กลมุ่ รำยกำรประเมิน/ระดบั คะแนน ผลกำรประเมิน

กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล
(3)

เกณฑ์กำรประเมิน

ทักษะกระบวนกำร ดี (3) ระดบั ควำมสำมำรถ ปรบั ปรงุ (1)
ทำงวิทยำศำสตร์ สามารถใช้ความร้หู รือ พอใช้ (2) สามารถใช้ความรูห้ รือ
การลงความเห็นจาก ประสบการณ์เดิมมาใช้ ประสบการณเ์ ดมิ มาใช้อธิบาย
ขอ้ มลู อธบิ ายลักษณะของ สามารถใช้ความรูห้ รือ ลักษณะของสิ่งมชี วี ิตและ
สิ่งมชี วี ติ และสงิ่ ไม่มชี วี ติ ประสบการณเ์ ดมิ มาใชอ้ ธิบาย สิ่งไมม่ ชี วี ติ ได้บางอย่าง ถึงแม้
ไดด้ ้วยตนเอง ลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ และ จะไดร้ ับคาแนะนาจากครูหรอื
สิ่งไม่มีชวี ติ ได้ โดยการชแี้ นะ ผู้อน่ื
ของครหู รอื ผูอ้ ื่น

เกณฑ์การตัดสนิ
คะแนน 3 หมายถึง ดี
คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 หมายถึง ปรบั ปรุง

32

แบบประเมนิ ดำ้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี 2 สง่ิ มีชวี ติ และสิ่งไม่มีชีวติ (2)

ชอ่ื ผปู้ ระเมิน/กลมุ่ ประเมนิ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
ชอื่ กลุ่มรบั กำรประเมนิ …………………………………………………………………………………………………………………….
ประเมนิ ผลคร้ังท่ี………………….... วนั ที่ ……………..……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่ือง……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ท่ี ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ระดบั พฤตกิ รรม

1 มวี นิ ัย เกดิ = 1 ไมเ่ กดิ = 0
2 ใฝ่เรยี นรู้
3 มุ่งม่ันในการทางาน

รวมคะแนนท่ไี ด้ทง้ั หมด

เกณฑก์ ำรประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- มากกวา่ 80 % ได้ 3 คะแนน
- 50% - 79 % ได้ 2 คะแนน
- ตา่ กวา่ 50 % ได้ 1 คะแนน

เกณฑ์กำรตัดสนิ
คะแนน 3 หมายถึง ดี
คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรงุ

33

แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 3

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 2

ภำคเรียนท่ี 1 รำยวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รหสั วิชำ ว12101

หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี 1 สิ่งมชี ีวิต หน่วยยอ่ ยท่ี 1 สิ่งมีชีวิตและสง่ิ ไม่มีชีวติ

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง ส่ิงมีชีวติ และสงิ่ ไม่มชี ีวติ (3) เวลำ 50 นำที

1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั
สำระท่ี 1 วิทยำศำสตรช์ วี ภำพ
มำตรฐำน มำตรฐำน ว 1.3

เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม สารพนั ธุกรรม
การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ีผลต่อสง่ิ มีชวี ิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวติ
รวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตวั ช้วี ัด ว 1.3 ป. 2/1 เปรียบเทยี บลกั ษณะของสิ่งมชี วี ติ และสิง่ ไม่มชี ีวิตจากข้อมูลท่รี วบรวมได้
2. สำระสำคญั

ส่ิงมีชวี ติ มีลกั ษณะแตกต่างจากสง่ิ ไม่มีชีวติ
3. จดุ ประสงค์

3.1 ดำ้ นควำมรู้ ควำมเข้ำใจ (K)
- บอกลกั ษณะของของพชื ท่ีแสดงว่าเป็นส่งิ มชี ีวิต

3.2 ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร (P)
- สังเกตลกั ษณะของพชื ทีแ่ สดงวา่ เปน็ สง่ิ มชี ีวติ
- ลงความเห็นจากข้อมูลเก่ียวกับลกั ษณะของพืชทแี่ สดงว่าเปน็ สง่ิ มชี ีวิต

3.3 ด้ำนคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่ำนยิ ม (A)
- ใฝเ่ รยี นรู้
- มงุ่ มั่นในการทางาน

4. สำระกำรเรยี นรู้
พืชเป็นส่ิงมชี วี ิตเพราะมลี ักษณะ ดังน้ี หายใจได้ สรา้ งอาหารเองได้ เตบิ โตได้ ขบั ถ่ายได้ เคลอ่ื นไหวได้

ด้วยตนเอง สืบพนั ธ์ุได้ และตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ได้
5. สมรรถนะของผเู้ รียน

5.1 ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร
- บอกลกั ษณะของพชื ทีแ่ สดงว่าเปน็ สิ่งมชี วี ติ

5.2 ควำมสำมำรถในกำรคิด
- ลงความเห็นจากข้อมูลเกย่ี วกับลกั ษณะของพืช

34

5.3 ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชวี ติ
- ใฝ่เรยี นรู้
- มุง่ มน่ั ในการทางาน

6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
6.1 ใฝเ่ รียนรู้
6.2 มงุ่ มน่ั ในการทางาน

7. กิจกรรมกำรเรียนรู้
ขน้ั นำเข้ำสบู่ ทเรียน (เวลำ 5 นำที)
1. ครูทบทวนความรทู้ ่ไี ดเ้ รียนมาแล้วเกย่ี วกับลักษณะของสงิ่ มชี ีวิตโดยใช้คาถามดงั ต่อไปนี้

1.1 ลักษณะของส่ิงมีชีวิตมีอะไรบ้าง (ลักษณะของส่ิงมีชีวิต ได้แก่ หายใจได้ กินอาหารได้ เติบโตได้
ขับถา่ ยได้ เคลอื่ นไหวได้ด้วยตนเอง สืบพนั ธไ์ุ ด้ และตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา้ ได้)

1.2 จากการสังเกตส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัว ต้นพืชท่ีครูนามาให้นักเรียนสังเกต มีพฤติกรรมอย่างไร (ครู
ยกตัวอย่างต้นพืชท่ีนักเรียนได้สังเกต เช่น ต้นพืชในกระถาง ต้นไมยราบ คาตอบขึ้นอยู่กับผลการ
สงั เกต เชน่ ตน้ พชื ในกระถางอยูน่ ิ่ง ตน้ ไมยราบหุบใบไดเ้ ม่อื โดนสัมผัสหรือต้นขยบั )

2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับพืชเป็นสิ่งมีชีวิต โดยถามนักเรียนว่า ต้นพืช (เช่น ต้นพืชในกระถาง ต้น
ไมยราบ) เปน็ สง่ิ มชี ีวติ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง)

ขนั้ สอน (เวลำ 40 นำท)ี
3. ครูใช้สอ่ื สไลดแ์ จ้งจุดประสงคข์ องกจิ กรรมในช่วั โมงนใี้ ห้นกั เรียนทราบว่า นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรู้เกย่ี วกับ

ลกั ษณะของพชื
4. ครใู ชส้ ่ือสไลดช์ วนนกั เรียนอ่านวธิ ีทาในกิจกรรมที่ 1 ข้อ 3 หนา้ 3 และตรวจสอบความเข้าใจในการทา

กิจกรรม โดยใชค้ าถามว่า
4.1 นกั เรยี นจะไดร้ วบรวมข้อมลู เกี่ยวกับเรื่องอะไร (รวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกบั ลักษณะของพืช)
4.2 เม่ือนกั เรียนรวบรวมข้อมูลแลว้ ตอ้ งทาอะไรต่อไป (ระบุว่าพืชเปน็ สงิ่ มีชวี ิตหรือไม่)
5. ครใู ช้สือ่ สไลด์อธิบายวิธกี ารบนั ทกึ ผลการทากจิ กรรมในใบงาน 01 หน้า 10 เมื่อนักเรยี นเขา้ ใจแลว้ ครใู ห้
นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มลงมือทากิจกรรมพืชเป็นสิ่งมีชีวติ หรอื ไม่
6. ครูชวนนักเรยี นทากจิ กรรมโดยให้นกั เรยี นสังเกตลักษณะของพชื ทส่ี ามารถสงั เกตได้ เช่น การเจริญเตบิ โต
การตอบสนองต่อสง่ิ เร้า การเคล่อื นไหวไดด้ ว้ ยตัวเอง จากในวิดที ัศน์ท่คี รเู ตรยี มมา และร่วมกนั อภปิ ราย
ลักษณะของพืชดังกลา่ ว
7. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย โดยใชค้ าถามดงั นี้
7.1 จากการสังเกตพืชเปน็ สง่ิ มชี วี ติ หรอื ไม่ (เป็น)
7.2 ลักษณะใดของพืชท่ีแสดงว่าเป็นส่ิงมีชีวิต และสังเกตได้อย่างไร (แนวคาตอบ มีการเจริญเติบโตโดย

เพ่ิมความสูง เพ่ิมขนาดจากต้นเล็กเป็นต้นใหญ่ มใี บเพ่ิมขึ้น มดี อก มีผล มีการสืบพนั ธุแ์ ละเพิม่ จานวน
ต้นใหม่ได้ มีการเคล่ือนไหวได้ด้วยตนเอง เช่น มีการเบนยอดหรือยอดเลื้อยทอดไปตามพื้นได้ทั้ง ๆ ที่

35

ตน้ อยู่ทเี่ ดิม มีการเลื้อยของรากไปตามพื้นดินห่างจากตน้ ออกไป มีการตอบสนองต่อส่ิงเร้า เช่น มีการ
ตอบสนองต่อแสงโดยเบนยอดเข้าหาแสง)
7.3 ลักษณะใดของพืชท่ีแสดงว่าเป็นส่ิงมีชีวิต แต่สังเกตไม่ได้ (การกินอาหาร โดยพืชสร้างอาหารได้เอง
การหายใจ การขับถ่าย โดยลักษณะดังกล่าวเกิดข้ึนภายในต้นพืช ทาให้เราไม่สามารถสังเกตเห็น
ลกั ษณะดงั กลา่ วได้)
7.4 ต้นพืชในกระถางท่ีนักเรียนได้สังเกตและอยู่นิ่ง ต้นพืชนี้เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ เพราะเหตุใด (เป็น
ส่ิงมีชวี ิต เพราะพืชทกุ ต้นจะมลี กั ษณะของสง่ิ มีชีวิต คอื หายใจได้ กินอาหารได้ เจรญิ เติบได้ ขบั ถา่ ยได้
เคล่ือนไหวได้ สืบพันธุ์ได้ และตอบสนองต่อส่ิงเร้าได้ ซึ่งลักษณะต่าง ๆ นี้บางลักษณะสังเกตไม่ได้
แต่บางลกั ษณะไม่พบขณะท่สี งั เกต)
7.5 ต้นไมยราบมีพฤติกรรมหุบใบเมื่อใช้มือสัมผัสหรือต้นขยับ ต้นไมยราบแสดงลักษณะใดของส่ิงมีชีวิต
(การตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าโดยการสมั ผัส)
8. ครูให้นกั เรียนบนั ทึกผลลงในใบงาน 01 หน้า 10 โดยครูคอยให้ความชว่ ยเหลอื การเขียนคาตอบของนกั เรยี น

ขนั้ สรปุ (เวลำ 5 นำท)ี
9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สรุปความรู้ที่ได้เรียนเก่ียวกับลักษณะของพืชที่แสดงว่าเป็นสิ่งมีชีวิตโดยใช้

สื่อสไลด์ สรุปได้ว่า พืชเป็นส่ิงมีชีวิตมีลักษณะดังน้ี หายใจได้ กินอาหารได้ เจริญเติบได้ ขับถ่ายได้
เคลอ่ื นไหวไดด้ ้วยตนเอง สบื พนั ธ์ไุ ด้ และตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ได้
8. สือ่ /แหล่งเรียนรู้

8.1 ส่อื สไลด์ เรอ่ื ง สงิ่ มีชวี ติ และสง่ิ ไมม่ ชี ีวติ (3)
8.2 ใบกิจกรรมท่ี 1 รไู้ หมวา่ ...สิง่ มีชีวิตแตกต่างจากสิ่งไม่มชี วี ิตอย่างไร หน้า 3
8.3 วดี ทิ ศั น์ท่เี กี่ยวกบั ลักษณะของพืช
8.4 ใบงาน 01 พชื เปน็ สง่ิ มีชวี ติ /ส่งิ ไมม่ ีชีวติ หน้า 10

9. ชิ้นงำน/ภำระงำน
9.1 ใบงาน 01 พืชเปน็ สง่ิ มีชีวิต/สงิ่ ไมม่ ีชีวิต หนา้ 10

36

10. กำรวัดและประเมินผล

ประเด็นกำรประเมิน วธิ กี ำร เครอื่ งมือ เกณฑ์กำรตดั สิน
1) บอกลกั ษณะของของ สงั เกตการตอบคาถามใน แบบประเมินการตอบ คะแนน 9 – 10 หมายถึง ดีมาก
พชื ที่แสดงวา่ เปน็ ช้ันเรยี นและในใบงาน คาถามในชน้ั เรียนและ คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี
สงิ่ มชี วี ิต ตรวจใบงาน คะแนน 5 - 6 หมายถึง พอใช้
คะแนน 0 - 4 หมายถึง ปรับปรุง
2) ทักษะกระบวนการ สงั เกตทักษะกระบวนการ แบบประเมินทกั ษะ คะแนน 5 - 6 หมายถึง ดี
ทางวทิ ยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ในการ กระบวนการทาง คะแนน 3 - 4 หมายถงึ พอใช้
- สงั เกตลักษณะของพชื ทากิจกรรม วิทยาศาสตร์ คะแนน 1 - 2 หมายถงึ ปรับปรงุ
ทแี่ สดงว่าเป็นสง่ิ มชี ีวิต
- ลงความเหน็ จากข้อมูล สังเกตดา้ นคุณลกั ษณะ แบบประเมิน คะแนน 3 หมายถงึ ดี
เกย่ี วกบั ลกั ษณะของพชื อนั พงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะ คะแนน 2 หมายถงึ พอใช้
ที่แสดงว่าเปน็ ส่ิงมีชวี ิต อนั พึงประสงค์ คะแนน 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ
3) สังเกตพฤตกรรมด้าน
ใฝ่เรยี นรู้และมุ่งม่นั ใน
การทางาน

แบบประเมนิ กำรตอบคำถำมในชั้นเรยี นและตรวจใบงำน
แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง สิ่งมีชวี ิตและส่ิงไม่มีชีวติ (3)

ชอ่ื ผู้ประเมิน…………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมนิ ผลครัง้ ท่ี………………….... วันท่ี …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เรื่อง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ชือ่ -สกุล/กล่มุ รำยกำรประเมนิ /ระดบั คะแนน รวมคะแนน
กำรตอบ กำรสรปุ ควำมถูกต้อง (10 คะแนน)
คำถำมในช้ัน ควำมรู้ ครบถว้ นของ
เรียน (4) เนือ้ หำในใบงำน

(4) (2)

37

เกณฑก์ ำรประเมิน

ประเดน็ ระดบั คณุ ภำพ นำ้ หนกั คะแนน
1.0 รวม
กำรประเมิน 4 (ดีมำก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) 4
ตอบคาถามไม่
1. การตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ถกู ต้อง 4
คาถามในชัน้ เรยี น ถกู ต้องท้งั หมด ถกู ต้องเปน็ ถกู ต้องบางสว่ น
2
ส่วนใหญ่

2. การสรปุ ความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ความ สรปุ ความรู้ความ สรปุ ความรู้เขา้ ใจ 1.0
ความเข้าใจ เข้าใจเกีย่ วกับ เข้าใจเกยี่ วกับ เก่ยี วกับเร่ืองที่
เกี่ยวกับเรอื่ งที่ เรอื่ งที่ศกึ ษาได้ เรือ่ งที่ศกึ ษาได้ ศกึ ษาไม่ถูกต้อง
ศึกษาได้ ถูกตอ้ ง ถูกต้อง แต่ไม่ ถกู ต้องบางสว่ น และไม่ครบถ้วน
และครบถว้ น ครบถ้วน และไม่ครบถ้วน
เนื้อหาทเี่ ขียนใน เนอื้ หาทีเ่ ขยี นใน 1.0
3. ความถกู ต้อง เนื้อหาท่ีเขียนใน เน้อื หาที่เขียนใน ใบงานมคี วาม ใบงานไม่ถกู ตอ้ ง
ครบถ้วนของ ใบงานมีความ ใบงานมีบางส่วน ถกู ต้องเปน็
เนือ้ หาในใบงาน ถูกต้องครบถว้ น ไมถ่ ูกตอ้ ง ตามที่ สว่ นนอ้ ย

ตามท่กี าหนด กาหนด

เกณฑก์ ารตดั สิน
คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 7 - 8 หมายถงึ ดี
คะแนน 5 - 6 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 0 - 4 หมายถงึ ปรบั ปรุง

38

แบบประเมนิ ด้ำนทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3 สิ่งมชี ีวิตและส่ิงไม่มีชวี ติ (3)

ชื่อผูป้ ระเมิน…………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมนิ ผลครง้ั ท่…ี ……………….... วนั ท่ี …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่ือง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ชือ่ -สกุล/กลมุ่ รำยกำรประเมิน/ระดบั คะแนน ผลรวม ผลกำรประเมิน
กำรสงั เกต (3) กำรลงควำมเหน็ จำก คะแนน
(6 คะแนน)
ขอ้ มูล (3)

เกณฑ์กำรประเมนิ

ทกั ษะกระบวนกำร ดี (3) ระดับควำมสำมำรถ ปรับปรุง (1)
ทำงวิทยำศำสตร์ สามารถใช้ประสาทสมั ผสั พอใช้ (2) สามารถใชป้ ระสาทรวบรวม
การสังเกต ในการรวบรวมขอ้ มูล ข้อมลู เกย่ี วกับลกั ษณะของพืช
เกย่ี วกับลักษณะของพืชท่ี สามารถใชป้ ระสาทสัมผัส ทแ่ี สดงว่าเป็นส่งิ มชี วี ิตได้
การลงความเห็น แสดงว่าเปน็ สิง่ มีชวี ติ ได้ ในการรวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกบั บางอย่าง แม้จะได้รับ
จากข้อมลู ด้วยตนเองโดยไม่เพิ่มความ ลักษณะของพชื ทแี่ สดงวา่ เปน็ คาแนะนาจากครูหรือผอู้ ่นื
คดิ เห็น สงิ่ มีชวี ิตได้ โดยการชแ้ี นะ
สามารถใช้ความรหู้ รือ ของครหู รอื ผ้อู ืน่ สามารถใชค้ วามรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมมาใช้ ประสบการณ์เดิมมาใช้อธิบาย
อธิบายลกั ษณะของพชื ว่า สามารถใช้ความร้หู รือ ลักษณะของพืชว่าเปน็ สิง่ มีชวี ิต
เปน็ สง่ิ มีชวี ิตได้ด้วยตนเอง ประสบการณ์เดิมมาใช้ ไดบ้ างอยา่ ง ถงึ แมจ้ ะได้รับ
อธิบายลักษณะของพืชวา่ คาแนะนาจากครูหรือผูอ้ ่ืน
เป็นสิง่ มชี ีวิตได้ โดยการ
ชีแ้ นะของครหู รือผ้อู ื่น

39

เกณฑก์ ารตดั สิน
คะแนน 5 - 6 หมายถงึ ดี
คะแนน 3 - 4 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 - 2 หมายถึง ปรับปรงุ

แบบประเมนิ ด้ำนคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 3 สงิ่ มีชวี ติ และส่ิงไม่มชี ีวิต (3)

ช่อื ผปู้ ระเมิน/กลมุ่ ประเมนิ ………………………………………………………………………………………………………………………………..
ชอื่ กลุ่มรับกำรประเมิน…………………………………………………………………………………………………………………….
ประเมนิ ผลครง้ั ที่………………….... วันที่ ……………..……... เดอื น ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่อื ง……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ท่ี ลกั ษณะ/พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ระดับพฤติกรรม

1 ใฝ่เรียนรู้ เกิด = 1 ไมเ่ กดิ = 0
2 มงุ่ มัน่ ในการทางาน

รวมคะแนนที่ไดท้ ั้งหมด

เกณฑก์ ำรประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- มากกว่า 80 % ได้ 3 คะแนน
- 50% - 79 % ได้ 2 คะแนน
- ต่ากวา่ 50 % ได้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ำรตดั สิน
คะแนน 3 หมายถึง ดี
คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

40

แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ 4

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษำปที ี่ 2

ภำคเรียนที่ 1 ปกี ำรศึกษำ 2564 รำยวิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชำ ว12101

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี 1 ส่ิงมีชีวิต หน่วยยอ่ ยท่ี 1 สิ่งมชี ีวติ และสิง่ ไม่มีชีวติ

แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ่ี 4 เรอ่ื ง ส่ิงมีชวี ิตและสิง่ ไม่มชี ีวติ (4) เวลำ 50 นำที

1. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ัด
สำระท่ี 1 วทิ ยำศำสตร์ชีวภำพ
มำตรฐำน มำตรฐำน ว 1.3

เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สารพันธุกรรม
การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมทม่ี ีผลต่อสิ่งมีชวี ิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตวั ช้ีวัด ว 1.3 ป. 2/1 เปรยี บเทยี บลกั ษณะของส่ิงมชี ีวติ และส่งิ ไม่มชี ีวิตจากข้อมลู ที่รวบรวมได้

2. สำระสำคัญ
สง่ิ มีชีวิตมีลกั ษณะแตกตา่ งจากส่งิ ไม่มชี วี ิต

3. จุดประสงค์
3.1 ดำ้ นควำมรู้ ควำมเข้ำใจ (K)
- ระบสุ ่งิ ทเี่ ปน็ สงิ่ มีชวี ติ และสง่ิ ไม่มีชวี ิต
- เปรียบเทยี บลกั ษณะของเป็นสง่ิ มชี ีวิตและสง่ิ ไม่มีชวี ติ
3.2 ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร (P)
- จาแนกสิ่งมชี ีวติ และสง่ิ ไม่มีชีวติ โดยใช้ลกั ษณะของสิ่งมีชวี ิตเป็นเกณฑ์
- ลงความเหน็ จากขอ้ มูลเกีย่ วกับชอ่ื ของสง่ิ มีชวี ิตและส่ิงไม่มีชวี ติ
3.3 ดำ้ นคุณลักษณะ เจตคติ คำ่ นยิ ม (A)
- มวี ินยั
- ใฝ่เรียนรู้

4. สำระกำรเรียนรู้
สิ่งมีชีวิต เช่น มด ปลาหางนกยูง สุนัข ต้นไมยราบ มีลักษณะดังน้ี หายใจได้ กินอาหารได้

เติบโตได้ ขบั ถ่ายได้ เคลอื่ นไหวได้ดว้ ยตนเอง สืบพนั ธ์ุได้ และตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ได้ แต่ในชว่ งเวลาใดเวลาหนึ่ง
เราอาจจะสังเกตพบได้ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น การกินอาหาร การเคลื่อนไหวด้วยตนเอง แต่บางลักษณะ

41

เราอาจไม่พบ เช่น การเติบโต การสืบพนั ธ์ุ การขับถ่าย เป็นต้น ส่วนส่ิงไม่มีชีวิตไม่มีลักษณะดังกล่าว เช่น โต๊ะ
ก้อนหนิ หลอดไฟฟ้า
5. สมรรถนะของผ้เู รียน

5.1 ควำมสำมำรถในกำรสือ่ สำร
- บอกช่อื ส่ิงมีชวี ิตและส่ิงไมม่ ีชีวิต

5.2 ควำมสำมำรถในกำรคดิ
- ระบไุ ด้วา่ ส่ิงใดเป็นสิง่ มีชีวติ และสง่ิ ไมม่ ชี ีวิตโดยใช้ข้อมูลเกยี่ วกบั ลกั ษณะของส่ิงมชี วี ิต

5.3 ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชีวิต
- มีวนิ ัย
- ใฝเ่ รียนรู้

6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
6.1 มวี นิ ยั
6.2 ใฝ่เรียนรู้

7. กิจกรรมกำรเรียนรู้
ข้ันนำเข้ำสู่บทเรียน (เวลำ 5 นำที)
1. ครทู บทวนความรู้ทีไ่ ด้เรียนมาแล้วเก่ียวกับลักษณะของส่งิ มีชวี ติ โดยใช้ส่อื สไลด์ยกตัวอย่างสถานการณ์ เช่น

ระหวา่ งเดนิ ทางจากโรงเรยี นกลบั บ้าน พบสง่ิ หนงึ่ ทีเ่ คล่อื นทไี่ ด้ จากน้ันครใู ช้คาถามดงั นี้
1.1 นักเรียนจะสรุปได้หรือไม่ว่าส่ิงที่พบเป็นสิ่งมีชีวิตหรือส่ิงไม่มีชีวิต เพราะเหตุใด (นักเรียนควรให้เหตุ

ผลไดว้ ่า ไม่สามารถสรุปได้เพราะส่ิงมีชีวิตต้องเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง การที่เห็นสิ่งน้เี คล่ือนท่ีได้อาจ
เคลือ่ นทไี่ ดด้ ้วยตนเองหรือใชพ้ ลงั งานอื่น ดังนน้ั ตอ้ งมีขอ้ มลู เพ่มิ มากข้ึน)
1.2 ถ้าพบลักษณะใดลักษณะหน่ึงของสิ่งมีชีวิต เช่น กินอาหารได้ เพียงลักษณะหนึ่งจะสามารถยืนยันได้
หรือไม่วา่ เป็นส่ิงมีชวี ิต (ได)้ ครูใช้ส่ือส่ือสไลด์อธบิ ายเพ่ิมเติมว่าในช่วงเวลาใดเวลาหนี่ง เราไมส่ ามารถ
พบทุกลักษณะของส่ิงมีชีวิตได้พร้อมกัน ดังน้ันการพบลักษณะใดลักษณะหน่ึงที่ชัดเจนก็สามารถระบุ
ได้ว่าเปน็ ส่งิ มชี ีวติ
ขัน้ สอน (เวลำ 40 นำที)
2. ครูใช้ส่ือสไลด์ชวนนักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และจุดประสงค์ของกิจกรรมท่ี 1 รู้ไหมว่า...สิ่งมีชีวิตแตกต่าง
จากส่งิ ไม่มีชวี ติ อยา่ งไร ข้อ 2 หน้า 3 จากน้ันใช้คาถามต่อไปนี้
2.1 กิจกรรมนน้ี ักเรยี นจะไดเ้ รยี นเรือ่ งอะไร (ลักษณะของสง่ิ มีชีวิตและสิง่ ไมม่ ีชวี ติ )
2.2 นกั เรยี นจะเรยี นเรื่องนี้ด้วยวิธใี ด (การรวบรวมข้อมูล)
2.3 เมอื่ เรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (เปรียบเทยี บลักษณะของส่งิ มชี ีวติ และส่ิงไม่มชี ีวติ
3. ครใู ชส้ ือ่ สไลด์ชวนนักเรียนทากจิ กรรมที่ 1 โดยให้นักเรียนอ่านวธิ ีทาข้อ 4 จากนน้ั ครูตรวจสอบความเข้าใจ
ของนักเรียนเกีย่ วกับขน้ั ตอนการทากิจกรรม โดยใชค้ าถามดงั นี้

42

3.1 นกั เรยี นต้องทาอะไรเป็นอันดับแรก (รวบรวมชื่อของส่ิงท่ีสังเกตจากชวั่ โมงท่ี 1 และบนั ทกึ ลงในตาราง)

3.2 เม่อื บันทึกแล้ว นกั เรยี นต้องทาอะไร (ร่วมกันอภปิ รายและระบุสิง่ ท่ีพบนัน้ เปน็ ส่ิงมีชีวิตหรอื ส่งิ ไม่มชี ีวติ
โดยใช้ขอ้ มูลที่สงั เกตได)้

4. ครอู ธิบายวธิ ีการบันทึกผลการสงั เกต ในตาราง การจาแนกสิง่ มชี วี ิตและสง่ิ ไม่มีชีวติ จากลักษณะตา่ ง ๆ ท่ีพบ
เมื่อนกั เรียนเข้าใจแลว้ ครนู าตารางท่ไี ด้บนั ทึกไวใ้ นชวั่ โมงท่ี 1 มาให้นักเรียนดู แล้วใหน้ กั เรียนนามาบันทึก
ลงในใบงาน 01 หน้า 11-15 แต่ละกลุ่มรว่ มกันอภปิ รายว่าสง่ิ ท่พี บนน้ั เปน็ สิ่งใดเปน็ ส่ิงมีชีวติ และส่งิ มีชวี ิต
น้ันมีลักษณะใดท่บี อกไดว้ ่าเป็นสิง่ มีชวี ติ โดยสังเกตจากพฤตกิ รรมหรอื การแสดงออกของส่งิ มีชวี ติ น้นั

5. เมื่อนกั เรียนจาแนกส่งิ มีชีวิตและสิง่ ไม่มีชวี ติ แลว้ ครสู มุ่ กล่มุ นกั เรยี น 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลการบันทึก
หนา้ ช้ันเรียน

6. ครูชวนนักเรียนอภปิ รายโดยใชค้ าถามดังน้ี
6.1 ผลการสงั เกต สง่ิ ใดเป็นส่ิงมชี วี ิต เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามท่พี บ เชน่ สุนขั เป็นสงิ่ มชี ีวิตเพราะ
เคลื่อนไหวได้ดว้ ยตนเอง ปลาเป็นส่งิ มชี วี ติ เพราะกนิ อาหารได้)
6.2 นอกจากลักษณะของส่ิงมีชวี ิตท่ีสังเกตได้แลว้ สิง่ มชี ีวติ ยงั มีลกั ษณะอนื่ ๆ อีกหรือไม่ ที่ไม่ได้พบจาก
การสงั เกตนี้ ยกตวั อยา่ ง (นักเรียนยกตวั อย่างลกั ษณะท่ีไม่พบ เช่น สุนัขมีการสบื พนั ธุ์ได้ เพราะเคย
เหน็ ลูกของสงิ่ มชี วี ิตนน้ั ปลามีการขับถ่ายไดเ้ พราะเคยเห็นอุจจาระที่ก้นปลา) ครูอาจเปดิ วดี ิทศั นใ์ ห้
นักเรยี นได้สงั เกตลกั ษณะของสงิ่ มชี ีวติ อื่น ทไี่ ม่สามาถสังเกตได้ในชน้ั เรียน
6.3 ผลการสังเกต สิง่ ใดเปน็ สิ่งไม่มชี วี ิต เพราะเหตใุ ด (นักเรียนตอบตามทีพ่ บ เช่น หินเป็นสิ่งไมม่ ชี วี ติ
เพราะกินอาหารไม่ได้ เคล่ือนไหวไม่ได้ หายใจไมไ่ ด้ สืบพันธไ์ุ ม่ได้ ขบั ถ่ายไมไ่ ด้ เตบิ โตไม่ได้ และ
ตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ได้)
6.4 นอกจากสงิ่ มีชีวิตที่สังเกต ได้ยงั มสี ิ่งมีชวี ติ และสงิ่ ไม่มีชีวติ อนื่ ๆ อีกหรือไม่ (นักเรียนตอบตามความ
เขา้ ใจของตนเอง)

7. ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ ในช่วงเวลาใดเวลาหนงึ่ เราอาจพบลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ บางลักษณะ เชน่ การกินอาหาร
การเคลอ่ื นไหวไดด้ ว้ ยตนเอง แต่อาจไมพ่ บบางลักษณะ เชน่ การสืบพันธุ์ การขบั ถา่ ย เป็นต้น
ส่วนสงิ่ ไม่มชี วี ติ ไม่มีลักษณะดังกล่าว

ขน้ั สรปุ (เวลำ 5 นำที)
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สรุปความรู้ท่ีได้เรียนเก่ียวกับลักษณะของส่ิงมีชีวิต โดยครูนาบัตรภาพส่ิงมีชีวิต

และส่ิงไม่มีชีวิตตามกิจกรรมที่นักเรียนสังเกตในโมงท่ี 1 มาให้นักเรียนในห้องร่วมกันจาแนกบัตรภาพออก
เปน็ สงิ่ มีชีวติ และสิ่งไมม่ ีชีวติ และชวนอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปได้วา่ สิ่งมชี ีวติ มีหลายชนดิ เช่น พชื สัตว์ชนิด
ต่าง ๆ รวมท้งั มนุษย์ ส่งิ มีชีวิตมีลักษณะดังนี้ หายใจได้ กินอาหารได้ เติบโตได้ ขับถ่ายได้ เคลื่อนไหวได้ดว้ ย
ตนเอง สืบพันธ์ุได้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ แต่ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเราอาจจะสังเกตพบได้ลักษณะใด
ลักษณะหนึ่ง เช่น การกินอาหาร การเคล่ือนไหวด้วยตนเอง แต่บางลักษณะเราอาจไม่พบ เช่นการเติบโต
การสบื พนั ธ์ุ การขับถ่าย เปน็ ตน้ ส่วนสิง่ ไมม่ ชี วี ิตไม่มีลกั ษณะดังกลา่ ว

43

8. ส่อื /แหลง่ เรียนรู้
8.1 สือ่ สไลด์ เร่อื ง สง่ิ มชี วี ติ และส่ิงไมม่ ีชวี ติ (4)
8.2 ใบกิจกรรมท่ี 1 รูไ้ หมวา่ ...ส่ิงมชี ีวติ แตกต่างจากส่ิงไม่มีชวี ติ อยา่ งไร หนา้ 3
8.3 ใบงาน 01 ตาราง การจาแนกสิง่ มชี ีวติ และสงิ่ ไม่มชี วี ิตจากลกั ษณะต่าง ๆ ทีพ่ บ หนา้ 11-15
8.4 บตั รภาพส่ิงมีชีวิตและสิง่ ไมม่ ชี วี ิต ตามกจิ กรรมทน่ี กั เรียนสงั เกตในโมงท่ี 1

9. ชน้ิ งำน/ภำระงำน
9.1 ใบงาน 01 ตาราง การจาแนกสงิ่ มชี ีวิตและส่งิ ไมม่ ีชีวติ จากลกั ษณะต่าง ๆ ทพ่ี บ หน้า 11-15

10. กำรวัดและประเมินผล

ประเด็นกำรประเมิน วธิ กี ำร เครอ่ื งมือ เกณฑ์กำรตัดสิน
แบบประเมนิ การตอบ คะแนน 9 – 10 หมายถึง ดีมาก
1) ระบสุ ่ิงทเี่ ปน็ สิ่งมชี ีวิต สังเกตการตอบคาถามใน คาถามในชน้ั เรียนและ คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี
ตรวจใบงาน คะแนน 5 - 6 หมายถึง พอใช้
และส่ิงไม่มชี ีวิตและ ช้ันเรียนและในใบงาน คะแนน 0 - 4 หมายถึง ปรับปรงุ

เปรยี บเทียบลักษณะของ

เปน็ สงิ่ มีชวี ติ และ

สง่ิ ไม่มชี วี ิต

2) ทกั ษะกระบวนการ สังเกตทักษะกระบวนการ แบบประเมนิ ทกั ษะ คะแนน 5 - 6 หมายถึง ดี
กระบวนการทาง คะแนน 3 - 4 หมายถงึ พอใช้
ทางวทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ในการ วทิ ยาศาสตร์ คะแนน 1 - 2 หมายถึง ปรับปรงุ

- จาแนกสงิ่ มชี วี ติ และ ทากจิ กรรม

สงิ่ ไม่มีชวี ติ โดยใช้

ลักษณะของสง่ิ มชี ีวิตเปน็

เกณฑ์

- ลงความเหน็ จากข้อมูล

เกย่ี วกบั ช่ือของสงิ่ มชี ีวิต

และสง่ิ ไม่มีชีวิต

3) สังเกตพฤตกรรมด้าน สังเกตด้านคุณลกั ษณะ แบบประเมนิ คุณลักษณะ คะแนน 3 หมายถึง ดี

มวี นิ ัยและใฝ่เรยี นรู้ อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์ คะแนน 2 หมายถึง พอใช้

คะแนน 1 หมายถึง ปรบั ปรุง

44

แบบประเมนิ กำรตอบคำถำมในชัน้ เรยี นและตรวจใบงำน
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง สิ่งมีชีวติ และส่งิ ไม่มีชีวิต (4)

ช่อื ผู้ประเมิน…………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมินผลครง้ั ท…ี่ ……………….... วนั ท่ี …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่ือง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ช่อื -สกุล/กลมุ่ รำยกำรประเมิน/ระดบั คะแนน รวมคะแนน
กำรตอบ กำรสรุป ควำมถกู ต้อง (10 คะแนน)
คำถำมในชนั้ ควำมรู้ ครบถว้ นของ
เรยี น (4) เน้ือหำในใบงำน

(4) (2)

เกณฑก์ ำรประเมนิ

ประเดน็ 4 (ดีมำก) ระดบั คุณภำพ 1 (ปรับปรงุ ) นำ้ หนัก คะแนน
กำรประเมิน 3 (ดี) 2 (พอใช้) รวม

1. การตอบ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ตอบคาถาม 1.0 4
คาถามในช้นั เรียน ถกู ต้องท้งั หมด ถกู ต้องเปน็ ถูกต้องบางสว่ น ไม่ถูกต้อง 4

สว่ นใหญ่ 2

2. การสรุปความรู้ สรปุ ความรู้ สรปุ ความรู้ความ สรุปความร้คู วาม สรุปความร้เู ขา้ ใจ 1.0
ความเขา้ ใจ เข้าใจเกี่ยวกับ เข้าใจเก่ียวกับ เกี่ยวกบั เรอ่ื งท่ี
เกี่ยวกับเรือ่ งท่ี เรอ่ื งท่ีศกึ ษาได้ เร่อื งท่ีศึกษาได้ ศึกษาไม่ถกู ต้อง
ศกึ ษาได้ ถูกต้อง ถกู ต้อง แต่ไม่ ถกู ต้องบางส่วน และไม่ครบถ้วน
และครบถ้วน ครบถ้วน และไมค่ รบถ้วน

3. ความถกู ต้อง เนื้อหาท่ีเขียนใน เน้ือหาท่ีเขียนใน เน้ือหาท่ีเขียนใน เน้ือหาท่ีเขียนใน 1.0
ครบถ้วนของ ใบงานมีความ ใบงานมีบางส่วน ใ บ ง า น มี ค ว า ม ใบงานไมถ่ กู ต้อง
เน้ือหาในใบงาน ถูกต้องครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ตามที่ ถูกตอ้ งเป็น
ตามทกี่ าหนด กาหนด สว่ นนอ้ ย

45

เกณฑ์การตดั สิน
คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 7 - 8 หมายถงึ ดี
คะแนน 5 - 6 หมายถงึ พอใช้
คะแนน 0 - 4 หมายถึง ปรับปรงุ

แบบประเมนิ ด้ำนทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ 4 เรือ่ ง ส่ิงมีชวี ิตและส่ิงไม่มชี ีวิต (4)

ชื่อผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………………........................………………………………………..
ประเมนิ ผลคร้งั ที่………………….... วนั ท่ี …………….........……... เดอื น ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........
เร่อื ง………………………………………………………………......……………………………………………………………………………….

ช่ือ-สกุล/กล่มุ รำยกำรประเมิน/ระดับคะแนน ผลรวม ผลกำรประเมิน
กำรจำแนก กำรลงควำมเห็น คะแนน
ประเภท (3) จำกข้อมูล (3) (6 คะแนน)

เกณฑ์กำรประเมิน

ทักษะกระบวนกำร ระดับควำมสำมำรถ

ทำงวิทยำศำสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
สามารถจาแนกสง่ิ ตา่ ง ๆ สามารถจาแนกสงิ่ ต่าง ๆ
การจาแนกประเภท สามารถจาแนกส่ิงตา่ ง ๆ ออกเป็นส่งิ มชี วี ิตและ ออกเปน็ สิง่ มีชีวิตและ
ส่ิงไม่มชี วี ติ โดยใช้ลักษณะ ส่ิงไม่มชี ีวติ โดยใช้ลกั ษณะของ
ออกเป็นสง่ิ มีชวี ติ และ ของสง่ิ มชี ีวติ เปน็ เกณฑไ์ ด้ สงิ่ มีชีวิตเปน็ เกณฑ์ไดบ้ างอย่าง
โดยการช้ีแนะของครูหรือ แมจ้ ะได้รับคาแนะนาจากครู
สง่ิ ไม่มีชวี ติ โดยใช้ลักษณะ ผู้อ่นื หรอื ผอู้ ่ืน

ของสิง่ มชี ีวติ เปน็ เกณฑ์ได้

ดว้ ยตนเอง


Click to View FlipBook Version