The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dhara.consult, 2021-03-31 04:31:06

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทวั่ ไปของพน้ื ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและพื้นทโ่ี ดยรอบ

จงั หวัดพิจิตร รูปที่ 2.5-2 ตาํ แหน่งทต่ี ้งั แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วสําคญั ในพน้ื ทเ่ี มืองพิจติ รและพืน้ ทโี่ ดยรอบ

2-33 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจิตร สถานภาพทวั่ ไปของพนื้ ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตรและพ้นื ที่โดยรอบ

2.5.3 สถานการณ์การทอ่ งเที่ยวในพนื้ ท่เี มืองพจิ ิตร

การรวบรวมขอ้ มลู จาํ นวนนักท่องเทีย่ วและรายได้จากการทอ่ งเทยี่ วในพน้ื ทเ่ี มืองพจิ ิตรและพนื้ ทโ่ี ดยรอบภายใน
รัศมี 50 กิโลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559) ได้จากสํานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดพิจิตร
(พ.ศ. 2560) กรมการท่องเที่ยว (พ.ศ. 2560) และการสํารวจภาคสนามในเดือนกรกฎาคม–กันยายน 2560 ดังรูปท่ี 2.5-3
และตารางท่ี 2.5-2 อธิบายได้ว่า นักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศท่ีเข้ามาท่องเท่ียวหรือมาเย่ียมเยือนจํานวน
ตัง้ แต่ 244,109-807,553 คน/ปี (คา่ เฉลีย่ 455,717 คน/ปี) จําแนกออกเป็นนักท่องเท่ียวชาวไทยจํานวนตั้งแต่ 240,081-
801,663 คน/ปี (ค่าเฉล่ีย 451,533 คน/ปี) และนักท่องเที่ยวต่างประเทศจํานวนต้ังแต่ 2,497-5,890 คน/ปี (ค่าเฉลี่ย
4,184 คน/ปี) หรอื มอี ตั ราการขยายตวั เพ่มิ ขึ้นทุกปีต้งั แต่ 0.27%-90.47% ต่อปี (ค่าเฉลี่ย 21.34% ต่อปี)

หากพจิ ารณาข้อมูลรายได้ของภาครัฐ/ภาคเอกชนท่ีเกบ็ ไดโ้ ดยตรงและโดยอ้อมจากนกั ท่องเท่ยี วทงั้ ชาวไทยและ
ชาวตา่ งประเทศในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559) ดงั ตารางที่ 2.5-2 พบวา่ มีรายได้จากคา่ ใช้จา่ ยในการเขา้ พกั แรมในโรงแรม
หรอื รีสอรท์ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทาง คา่ ใชจ้ ่ายอาหาร/เครื่องดม่ื คา่ ใช้จา่ ยของชาํ ร่วยและคา่ ใชจ้ ่ายเบด็ เตล็ด ฯลฯ จํานวน
ตั้งแต่ 281.70-1,334.92 ล้านบาท/ปี (ค่าเฉลี่ย 678.34 ล้านบาท/ปี) มีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปีต้ังแต่ 3.58%-106.34% ต่อปี
(ค่าเฉลี่ย 28.49% ต่อปี) และคิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อหัวจํานวนตั้งแต่ 1,139.20-1,653.04 บาท/คน/ปี (ค่าเฉล่ีย 1,424.46
บาท/คน/ปี) หรอื 396.56-708.02 บาท/คน/วัน (ค่าเฉลี่ย 564.04 บาท/คน/วัน)

900,000 1,600

จํานวนนักท่องเที่ยว, คน800,000 1,400
รายไ ้ด, ล้านบาท700,0001,200
600,000 1,000
500,000 จาํ นวนนักทอ่ งเทีย่ ว รายได้ 800
400,000 600
300,000 400
200,000 200
100,000

00
2552 2553 2554 2555 พ.ศ. 2556 2557 2558 2559

รปู ท่ี 2.5-3 จํานวนนักทอ่ งเทยี่ วและรายได้จากการท่องเทย่ี วสาํ คญั ในพ้นื ทีเ่ มืองพิจติ รและพืน้ ทโ่ี ดยรอบ

จงั หวดั พิจิตร 2-34 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจติ ร สถานภาพทวั่ ไปของพื้นที่อุทยานเมืองเกา่ พิจิตรและพื้นทโ่ี ดยรอบ

ตารางที่ 2.5-2
จํานวนนกั ท่องเท่ียวและรายไดจ้ ากการทอ่ งเที่ยวในพืน้ ทีจ่ งั หวดั พจิ ติ รในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559)

พ.ศ. ประเภทนกั ทอ่ งเทยี่ ว จาํ นวน (คน) อัตราเพ่มิ รายได้ อัตราเพมิ่ รายได้ตอ่ หัว
% ลา้ นบาท % บาท/คน/ปี บาท/คน/วนั 1/

รวมจาํ นวนนกั ท่องเที่ยว 244,109 - 281.70 - 1,153.99 396.56

2552 ชาวไทย 240,081

ชาวต่างประเทศ 4,028

รวมจํานวนนกั ท่องเที่ยว 280,494 14.91% 319.54 13.43% 1,139.20 453.41

2553 ชาวไทย 277,332

ชาวต่างประเทศ 3,162

รวมจํานวนนักท่องเทย่ี ว 325,543 16.06% 445.37 39.38% 1,368.08 473.12

2554 ชาวไทย 323,046

ชาวตา่ งประเทศ 2,497

รวมจํานวนนักท่องเที่ยว 352,106 8.16% 551.19 23.76% 1,565.41 553.15

2555 ชาวไทย 347,975

ชาวตา่ งประเทศ 4,131

รวมจํานวนนักท่องเทย่ี ว 407,679 15.78% 597.65 8.43% 1,465.98 621.18

2556 ชาวไทย 403,391

ชาวต่างประเทศ 4,288

รวมจาํ นวนนกั ท่องเทีย่ ว 422,856 3.72% 619.05 3.58% 1,463.97 662.43

2557 ชาวไทย 418,559

ชาวต่างประเทศ 4,297

รวมจาํ นวนนักทอ่ งเทย่ี ว 805,398 90.47% 1,277.33 106.34% 1,585.96 708.02

2558 ชาวไทย 800,217

ชาวตา่ งประเทศ 5,181

รวมจาํ นวนนกั ท่องเท่ียว 807,553 0.27% 1,334.92 4.51% 1,653.04 644.49

2559 ชาวไทย 801,663

ชาวตา่ งประเทศ 5,890

จํานวนนักทอ่ งเทย่ี ว 455,717 21.34% 678.34 28.49% 1,424.46 564.04

คา่ เฉลีย่ ชาวไทย 451,533

ชาวต่างประเทศ 4,184

หมายเหตุ: 1/ คาํ นวณจากระยะเวลาพักแรมของนักท่องเทีย่ วในพ้ืนทเ่ี มอื งพิจติ รในรอบ 7 ปี (พ.ศ. 2552-2558) จาํ นวนตั้งแต่ 2.21-2.92 วัน/คน

(เฉล่ยี 2.56 วนั /คน), กรมการท่องเท่ียว, พ.ศ. 2560

ทมี่ า: กรมการทอ่ งเทีย่ ว (พ.ศ. 2560) และสํานักงานการท่องเท่ยี วและกฬี าจงั หวัดพจิ ิตร (พ.ศ. 2560)

จังหวดั พิจติ ร 2-35 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทวั่ ไปของพื้นท่อี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพืน้ ที่โดยรอบ

2.5.4 การสํารวจและวเิ คราะหค์ วามคดิ เห็นของนักทอ่ งเท่ยี วในพื้นท่ีเมอื งพจิ ติ ร

การสํารวจและวิเคราะหค์ วามคิดเห็นของกลุ่มนักทอ่ งเทยี่ วทอ้ งถิน่ /ต่างถิ่นทเี่ ข้ามาท่องเทีย่ วในพ้ืนที่เมืองพิจิตร
และพ้ืนท่ีโดยรอบภายในรัศมี 50 กิโลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการในประเด็นเก่ียวกับการศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการ
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร ได้ใช้การสอบถามและสัมภาษณ์ด้วย
แบบสอบถามจากกลุ่มนักท่องเที่ยวระหว่างวันท่ี 20–30 กันยายน 2560 (ดูรูปท่ี 2.5-4) และใช้การสุ่มตัวอย่างสอบถาม
แบบง่าย (simple random sampling) และแบบเจาะจง (purposive sampling) เน่ืองจากกลุ่มประชากรตัวอย่างมี
ลักษณะทางประชากรที่มีพนื้ ฐานดา้ นสงั คมและวัฒนธรรมแตกต่างกนั และการกาํ หนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งไดใ้ ช้ Parel and
Others (SAMPLING DESIGN AND PROCEDURES. Singapore: The Agricultural Council., 1973) คํานวณหาขนาด
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาได้จํานวน 50 ตัวอย่างดังอธิบายผลการศึกษาและวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักท่องเท่ียวฯ
ไวใ้ นภาคผนวก ก ดงั สรุปไดด้ ังน้ี

1) ข้อมูลพ้ืนฐานของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังตารางท่ี ก-7 พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 54.00)
มากกว่าเพศชาย (รอ้ ยละ 46.00) คดิ เปน็ สัดส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1:1.17 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จบ
การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 34.00) รองลงมาเป็นจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(รอ้ ยละ 16.00) และสงู กว่าปริญญาตรี (รอ้ ยละ 12.00) และกลุม่ ตัวอยา่ งท้ังหมด (ร้อยละ 100.00) นับ
ถือศาสนาพุทธ หากพิจารณาการประกอบอาชีพพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพทําธุรกิจส่วนตัว
(รอ้ ยละ 32.00) รองลงมาเป็นอาชพี รบั ราชการ (รอ้ ยละ 20.00) และอาชีพคา้ ขาย (รอ้ ยละ 18.00)

2) ข้อมูลพฤติกรรมการท่องเท่ียวดังตารางที่ ก-8 พบว่า กลุ่มนักท่องเที่ยวจะรู้จักแหล่งท่องเท่ียวสําคัญใน
พื้นท่ีเมืองพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบ ได้แก่ อุทยานเมืองเก่าพิจิตร (ร้อยละ 88.00) วัดนครชุม (ร้อยละ
88.00) บึงสีไฟ (ร้อยละ 86.00) ชุมชนวังกรด (ร้อยละ 86.00) วัดท่าหลวง (ร้อยละ 84.00) ประเพณี
การแขง่ เรอื ยาวเมอื งพิจิตร (ร้อยละ 84.00) และวัดบางคลาน (ร้อยละ 56.00) ฯลฯ และความถ่ีในการ
เดนิ ทางมาท่องเท่ียวโดยส่วนใหญห่ รอื ร้อยละ 40.00 มีจาํ นวนตัง้ แต่ 3-5 ครัง้ หรือคิดเป็นค่าเฉลี่ย 3.76
คร้ัง/ปี หากพิจารณาลักษณะการเดินทางมาท่องเที่ยวจะใช้รถยนต์ส่วนตัวมากสุด (ร้อยละ 78.00)
รองลงมาเป็นการใช้รถจักรยานยนต์ (ร้อยละ 18.00) และรถโดยสารประจําทาง (ร้อยละ 4.00) และมี
จุดประสงค์ในการท่องเท่ียวเพ่ือพักผ่อนหย่อนใจ (ร้อยละ 76.00) รองลงมาเป็นการศึกษาหาความรู้
เพิม่ เตมิ (รอ้ ยละ 20.00) และมาตดิ ต่อธุรกิจ (ร้อยละ 4.00) และคา่ ใช้จ่ายในการทอ่ งเทีย่ วต่อครั้งพบว่า
ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 72.00) มีค่าใช้จ่ายไม่เกิน 500 บาท รองลงมามีค่าใช้จ่ายต้ังแต่ 1,001-1,500 บาท
(ร้อยละ 12.00) และมีค่าใช้จ่ายต้ังแต่ 500-1,000 บาท (ร้อยละ 10.00) หรือคิดเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ย
639.48 บาท/ครงั้ ส่วนแหลง่ ขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจท่องเท่ียวสว่ นใหญจ่ ะเปน็ เพือ่ น/คนรู้จักแนะนําให้มา
มากท่ีสุด (รอ้ ยละ 90.00) รองลงมาเป็นสอ่ื สงิ่ พิมพ์ (เชน่ หนังสือพมิ พ์และวารสาร) คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.00
และสื่อโทรทัศน์คิดเป็นร้อยละ 4.00 ระยะเวลาในการท่องเที่ยวส่วนใหญ่ไม่เกิน 1 วัน (ร้อยละ 60.00)
รองลงมาเป็นการใชเ้ วลาระหว่าง 1-3 วนั (รอ้ ยละ 24.00) และใช้เวลาระหว่าง 3-5 วัน (รอ้ ยละ 10.00)
หรือคิดเป็นค่าเฉล่ีย 1.96 วัน และกลุ่มนักท่องเท่ียวส่วนใหญ่มีโอกาสจะกลับมาเย่ียมเยือนพื้นที่เมือง
พจิ ิตรในอนาคต (ร้อยละ 96.00) มีเหตุผลว่าเปน็ เมอื งที่มีประวัติศาสตร์น่าสนใจโดยเฉพาะอุทยานเมือง
เกา่ พิจติ ร บงึ สีไฟทีม่ ีความหลากหลายของพนั ธุส์ ัตว์น้ําและนกนํ้า หรือประเพณกี ารแข่งขันเรือยาว ฯลฯ
สว่ นกลมุ่ นักทอ่ งเทีย่ วทไี่ ม่คดิ จะกลบั มา (ร้อยละ 4.00) เพราะไมม่ สี ิง่ ดงึ ดดู ทน่ี า่ สนใจ

จังหวดั พิจติ ร 2-36 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทัว่ ไปของพน้ื ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและพ้นื ท่โี ดยรอบ

รปู ท่ี 2.5-4 การสอบถามและสัมภาษณด์ ้วยแบบสมั ภาษณ์กลุ่มนกั ท่องเทย่ี วในพื้นท่ีศกึ ษาและพ้ืนทีโ่ ดยรอบ

จงั หวัดพิจติ ร 2-37 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

บทที่ 3
การวิเคราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของ

พืน้ ที่เมอื งพจิ ติ รและพน้ื ท่โี ดยรอบ

บทท่ี 3
การวเิ คราะห์และประเมินศกั ยภาพของพ้นื ทีเ่ มืองพจิ ติ รและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ

3.1 คํานํา

การวิเคราะห์และประเมินศักยภาพของพื้นท่ีเมืองพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบจะเป็นการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง
โอกาสและข้อจํากัด (SWOT Analysis) ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงด้านสภาพทางกายภาพ การใช้ประโยชน์ท่ีดิน
สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา สภาพเศรษฐกิจและสังคม การท่องเท่ียว และข้อจํากัดของกฎหมาย/ระเบียบเพื่อ
พัฒนาพ้ืนที่เมืองพจิ ิตรและพ้นื ทโ่ี ดยรอบให้เป็นศนู ยก์ ลางการท่องเทย่ี วเชิงอนุรกั ษ์ในพ้ืนทจี่ ังหวัดพิจิตร

3.2 ศกั ยภาพของพืน้ ท่อี ุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตรและพ้นื ทีโ่ ดยรอบ

3.2.1 ข้อมลู พ้ืนฐานพนื้ ที่เมืองพิจิตร

พ้นื ทีเ่ มอื งพจิ ติ รต้ังอยใู่ นอําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจติ ร ดังรูปที่ 3.2-1 ห่างจากกรงุ เทพมหานครโดยทางรถยนต์
ตามทางหลวงหมายเลข 117 เส้นทางผ่านพ้ืนท่ีอําเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เข้าสู่แยกพื้นที่อําเภอสามง่าม
จงั หวดั พจิ ติ ร และโดยรถไฟสายเหนือ คดิ เป็นระยะทางไมเ่ กนิ 350 กโิ ลเมตร ดังมอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั พื้นทสี่ ว่ นอนื่ ๆ ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อ อาํ เภอบางกระทุ่ม จงั หวัดพิษณโุ ลก

ทิศใต้ ติดตอ่ อาํ เภอตะพานหนิ จังหวัดพจิ ิตร

ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อ อาํ เภอวังทรายพนู และอําเภอสากเหล็ก จงั หวดั พจิ ิตร

ทิศตะวนั ตก ติดต่อ อําเภอโพธิ์ประทบั ชา้ ง และอาํ เภอสามงา่ ม จังหวัดพิจติ ร

แผนทีจ่ ังหวดั พิจิตร

ทม่ี า: การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2560

จังหวัดพิจติ ร รูปท่ี 3.2-1 พนื้ ท่เี มืองพจิ ติ รและพืน้ ทตี่ ิดตอ่ โดยรอบ มหาวทิ ยาลยั มหิดล

3-1

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การวเิ คราะห์และประเมินศกั ยภาพของพืน้ ที่เมืองพจิ ิตรและพน้ื ทีโ่ ดยรอบ

ลักษณะภมู ิประเทศโดยท่วั ไปของพื้นที่เมืองพิจิตรจัดเป็นท่ีราบลุ่มแม่นํ้า (Alluvial Plain) และที่ราบนํ้าท่วมถึง
(Flood Plain) อยูส่ ูงจากระดับนา้ํ ทะเลปานกลาง +37.95 เมตร (ม.ร.ท.ก.) จึงเออ้ื อํานวยตอ่ การเพาะปลูกพืชหลากหลาย
ชนิดโดยเฉพาะการปลูกข้าวนาปี/ข้าวนาปรัง พืชผักสวนครัว ไม้ยืนต้น/ไม้ผล มีแม่น้ําน่านไหลผ่านจากทิศเหนือสู่ทิศใต้
พื้นที่ทางฝ่ังตะวันตกของแม่น้ําน่านมีลักษณะพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบและพ้ืนที่ค่อยๆ สูงข้ึนจากฝ่ังแม่นํ้าลาดชันข้ึนไปทาง
ทิศตะวันออก และมีแม่น้ําพิจิตร (แม่นํ้าน่านสายเก่า) ไหลพาดผ่านกลางพื้นที่เมืองเก่าพิจิตร ลักษณะแม่นํ้าพิจิตรมีสภาพ
ค่อนข้างคดเค้ียวทําให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่แม่น้ําพิจิตรลัดทางเดินใหม่ ส่วนแม่น้ําพิจิตรเดิมท่ีคดเคี้ยวกลายเป็น
ทะเลสาบรปู แอกวัว (Oxbow Lake) ปรากฏอย่ทู ั่วไปตลอดแนวแมน่ ํ้าพจิ ติ รเดิม

พ้ืนที่เมืองพิจิตรมีขอบเขตการปกครองครอบคลุม 15 ตําบล 135 หมู่บ้าน 1 เทศบาลเมือง 4 เทศบาลตําบล
และ 14 องค์การบริหารส่วนตําบล และจํานวนประชากรและครัวเรือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คิดเป็น 109,985 คน
จําแนกเป็นเพศชาย 53,302 คน เพศหญิง 56,683 คน คิดเป็นสัดส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1:1.06 จํานวนครัวเรือน
41,917 หลงั คาเรือนดังแสดงในตารางท่ี 3.2-1 หรือคิดเปน็ จาํ นวนประชากรเฉลี่ย 2.62 คน/ครวั เรือน และความหนาแน่น
ของประชากรเฉล่ีย 143.90 คน/ตร.กม. หากพิจารณาระดับจังหวัดพิจิตรมีจํานวนประชากรท้ังสิ้น 543,482 คน จํานวน
ครวั เรือน 189,807 หลงั คาเรอื น หรือคดิ เป็นจํานวนประชากรเฉลยี่ 2.86 คน/ครัวเรอื น และความหนาแน่นของประชากร
เฉลี่ย 119.05 คน/ตร.กม. จะเห็นได้วา่ อาํ เภอเมอื งพจิ ติ รมปี ระชากรมากสุด 109,985 คน รองลงมาเป็นอําเภอตะพานหิน
67,508 คน อําเภอโพทะเล 60,050 คน และอําเภอทับคล้อ 46,443 คน ส่วนอําเภอดงเจริญมีจํานวนประชากรน้อยที่สุด
17,798 คน

ตารางท่ี 3.2-1
ประชากร ครวั เรอื นและความหนาแน่นของประชากรจําแนกรายอําเภอในจงั หวัดพิจิตร

รายชื่ออําเภอ จํานวนพ้นื ท่กี ารปกครอง (แห่ง) จาํ นวนประชากร หลงั คาเรือน ความหนาแนน่
ตาํ บล หม่บู ้าน ทม. ทต. อบต. ชาย หญิง รวม หลงั คน/ตร.กม.

เมอื งพจิ ติ ร 15 135 1 4 14 53,302 56,683 109,985 41,917 140.30

วงั ทรายพูน 4 57 - 2 3 12,285 12,493 24,778 7,830 95.48

โพธิ์ประทับชา้ ง 7 98 - 2 5 21,771 22,536 44,307 14,281 117.04

ตะพานหนิ 12 91 1 1 10 32,802 34,706 67,508 23,530 143.96

บางมลู นาก 9 78 1 4 6 22,290 23,699 45,989 17,770 121.76

โพทะเล 11 97 - 4 9 29,481 30,569 60,050 19,330 123.97

สามง่าม 5 79 - 3 4 20,982 21,513 42,495 14,379 125.70

ทบั คล้อ 4 56 - 2 4 22,810 23,623 46,433 16,423 122.75

สากเหลก็ 5 40 - 1 5 11,695 12,018 23,713 8,074 134.43

บงึ นาราง 5 51 - - 5 14,261 14,683 28,944 10,099 64.23

ดงเจรญิ 5 55 - 2 4 8,761 9,037 17,798 5,871 80.79

วชริ บารมี 4 51 - - 4 15,581 15,901 31,482 10,303 121.32

รวมทัง้ หมด 86 888 3 25 73 266,021 277,461 543,482 189,807 119.05

ทีม่ า: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/views/showProvinceData.php

จงั หวดั พิจติ ร 3-2 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมินศักยภาพของพ้ืนที่เมอื งพจิ ติ รและพน้ื ท่ีโดยรอบ

3.2.2 รูปแบบการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินปัจจบุ นั

การพิจารณาตรวจสอบการใช้ประโยชน์ท่ีดินในพื้นที่เมืองพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบภายในรัศมี 5 กิโลเมตรกับ
แผนผังกาํ หนดการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ตามที่ไดจ้ าํ แนกท้ายกฎกระทรวงให้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2560 พบว่า
ต้งั อยบู่ รเิ วณเขตสชี มพู สเี ขยี ว และเขตสขี าวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว (ดรู ูปท่ี 3.2-2) ดังสรปุ ไดด้ งั น้ี

1) การใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ ประเภทเขตสีชมพู (ท่ดี นิ ประเภทชมุ ชน) ไดแ้ ก่
1.1 การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย พ้ืนท่ีส่วนใหญ่กระจายตัวระหว่างย่านพาณิชยกรรมและ
ขยายตัวลงมาทางทิศใต้ของเมืองพิจิตรตามถนนสระหลวงและถนนบึงสีไฟและด้านทิศตะวันตก
บรเิ วณทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจติ ร–วงั จิก) และทางหลวงหมายเลข 115 (พิจติ ร–สามง่าม)
สว่ นพ้ืนท่ที ม่ี กี ารใช้งานผสมกนั ระหวา่ งการประกอบธุรกิจการค้าและอยอู่ าศยั จะเป็นตกึ แถวหรอื
อาคารพาณิชย์ขนาด 2-4 ชั้นพบเห็นการตั้งกระจุกตัวและกระจายตามถนนสายหลักและถนน
สายรองในพืน้ ทีเ่ มืองพิจติ ร เช่น ถนนบุษบา ถนนศรีมาลา ถนนราชวถิ แี ละถนนจันทร์สว่าง ฯลฯ
1.2 การใช้ประโยชน์ทดี่ ินเพ่ือการพาณิชยกรรม พืน้ ท่ีโดยส่วนใหญ่เป็นท่ตี ง้ั ย่านศูนย์กลางการค้าและ
บริการที่สําคัญในเขตชุมชนเมืองพิจิตรตั้งกระจุกตัวและกระจายอยู่ตามถนนสายหลักของเมือง
ได้แก่ ถนนศรีมาลา ถนนบุษบา ถนนสระหลวง ถนนมหาราษฎร์พัฒนา และถนนราชวิถี ซึ่งเป็น
แหล่งศนู ย์รวมร้านค้า ตลาดสดเทศบาล อาคารพาณิชย์และห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า 6 แห่ง
ได้แก่ ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส (สาขาพิจิตร) ศูนย์การค้าท็อปส์ พลาซ่า ห้างสรรพสินค้าแฮปป้ี
พลาซ่า ห้างสรรพสนิ ค้าชยั พงษ์พลาซา่ ตลาดพิจติ รมอลล์ และศนู ย์การคา้ แมค็ โคร
1.3 การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือสถาบันราชการและการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ได้แก่ ศูนย์
ราชการเดมิ เป็นทีต่ ัง้ ศาลากลางจังหวดั พิจิตรหลังเก่า ปัจจุบันมีการย้ายจากถนนบุษบามาต้ังเป็น
ศูนย์ราชการจังหวัดพิจิตรแห่งใหม่ บริเวณทางหลวงหมายเลข 113 (พิจิตร–ตะพานหิน) และมี
สถานทีร่ าชการเกาะกลุ่มบรเิ วณถนนบษุ บาตดั กับถนนบึงสไี ฟ ถนนสระหลวงตดั กับถนนบึงสไี ฟ
1.4 การใช้ประโยชน์ท่ีดินเพื่อการอุตสาหกรรม กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ตั้งกระจุกตัวและ
กระจายอย่โู ดยรอบเขตชุมชนเมอื งพจิ ติ รตามริมทางหลวงหมายเลข 115 (พิจิตร–สามง่าม) และ
ทางหลวงหมายเลข 113 (พิจิตร–ตะพานหิน) จะพาดผ่านพ้ืนที่ตอนบนในแนวทิศตะวันออก–
ตะวันตก ยกตัวอย่างเช่น โรงสีข้าว/อบเมล็ดพืชและน่ึงข้าวเปลือก โรงงานผลิตวัสดุก่อสร้าง/
คอนกรีต โรงงานผลิตภณั ฑ์จากไม้ และโรงงานผลิตนาํ้ ดืม่ /นาํ้ แข็ง ฯลฯ
1.5 การใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ินเพ่อื สถาบันการศกึ ษา ท่ตี งั้ สถานศกึ ษาสําคัญๆ ส่วนใหญ่จะต้ังเกาะกลุ่มกัน
บริเวณถนนบุษบา และตามริมทางหลวงหมายเลข 115 (พิจิตร–สามง่าม) ได้แก่ โรงเรียนพิจิตร
พทิ ยาคม วิทยาลยั เทคนคิ พิจติ ร วิทยาลัยสารพัดช่างพิจิตร โรงเรียนบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี
พิจติ ร และโรงเรียนสระหลวงพทิ ยาคม ฯลฯ
1.6 การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือสถาบันศาสนา พื้นที่ตั้งศาสนสถานในพุทธศาสนาสําคัญๆ ต้ังอยู่ริม
แม่น้ําน่านฝ่ังตะวันตกติดกับถนนบุษบา และริมแม่น้ําพิจิตรติดกับทางหลวงหมายเลข 1068
(พิจิตร–วงั จิก) เช่น วัดท่าหลวง พระอารามหลวง ใช้เป็นสถานท่ีประกอบพิธีทางศาสนาที่สําคัญ
ในจงั หวดั พิจิตร วัดนครชุม วัดสมาบาป วดั ท่าข่อย วัดเข่ือนนครเขต วัดประทม วัดโรงช้าง ฯลฯ
และโบสถ์คาทอลิก (ครสิ ตจกั รสัมพันธพ์ ิจติ ร) และมัสยิด (มัสยดิ ดยิ าอุล้ อสิ ลาม พจิ ติ ร)

จงั หวัดพิจิตร 3-3 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศักยภาพของพื้นทเี่ มอื งพจิ ติ รและพืน้ ท่โี ดยรอบ

แผนผังกําหนดการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ตามท่ีไดจ้ าํ แนกประเภทท้ายกฎกระทรวง
ใหบ้ ังคับผังเมืองรวมจงั หวดั พิจติ ร
พ.ศ. 2560

1. เขตสชี มพู ที่ดินประเภทชมุ ชน
2. เขตสีม่วง ท่ีดนิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลงั สินค้า
3. เขตสเี ขียว ทด่ี นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
4. เขตสีขาวมีกรอบและเสน้ ทแยงสีเขยี ว ทดี่ นิ ประเภทอนรุ ักษ์ชนบทและเกษตรกรรม
5. เขตสีเขยี วออ่ นมเี ส้นทแยงสขี าว ทด่ี นิ ประเภทอนรุ กั ษ์ปา่ ไม้

รปู ที่ 3.2-2 แผนผงั กําหนดการใชป้ ระโยชน์ที่ดินตามทไ่ี ด้จําแนกท้ายกฎกระทรวงให้บงั คบั ผงั เมอื งรวมจงั หวดั พจิ ิตร
พ.ศ. 2560

จังหวดั พิจิตร 3-4 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมินศักยภาพของพ้ืนท่ีเมืองพจิ ิตรและพ้ืนทโี่ ดยรอบ

2) การใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทเขตสีเขียว (ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม) เป็นพ้ืนท่ีโดยรอบนอก
ของพนื้ ที่เมอื งพิจิตรตามแนวทางรถไฟสายเหนือด้านฝ่ังตะวันออก และตามสองฝง่ั แมน่ ้าํ น่านยังมีการใช้
ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการเกษตรและพ้ืนที่ชนบทจํานวนมาก เช่น ชุมชนบ้านท่าโพธ์ิ ชุมชนบ้านวังทับยา
ชุมชนบ้านวงั ไมด้ ัก ชมุ ชนบ้านเมืองเก่า ชุมชนบ้านวงั จันทร์ และชุมชนบ้านท่าข่อย ฯลฯ

3) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเขตสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว (ท่ีดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและ
เกษตรกรรม) เป็นพื้นท่ีการเกษตรหรือพื้นที่เก่ียวข้องกับการเกษตรหรือชุมชนชนบทต้ังกระจายอยู่ตาม
พ้ืนที่ส่วนต่างๆ ของพื้นท่ีเมืองพิจิตรโดยเฉพาะตามแนวฝั่งตะวันตกของแม่นํ้าพิจิตรและพ้ืนท่ีตอนใต้
ของพ้ืนที่เมืองพิจิตร เช่น บึงสีไฟ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯพิจิตร พื้นที่ริมสองฝ่ังแม่น้ําน่าน/แม่น้ํา
พิจิตร อุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร และสวนรุกขชาติกาญจนกุมาร เป็นตน้

หากพิจารณาและวิเคราะห์แนวโน้มการขยายตัวของพื้นท่ีเมืองพิจิตรในสถานภาพปัจจุบันจะมีแนวโน้มในการ
ขยายตัวในลักษณะการเกาะและกระจุกตัวตามแนวเส้นทางคมนาคมสายหลักของพื้นที่เมืองพิจิตรใน 2 ทิศทาง ได้แก่
พื้นท่ีด้านทิศใต้ตามทางหลวงหมายเลข 113 (พิจิตร–ตะพานหิน) ด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามทางหลวง
หมายเลข 115 (พิจิตร–สามง่าม) ถนนสระหลวง ถนนบุษบา ถนนประชาอุทิศและถนนบึงสีไฟเน่ืองจากพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็น
พน้ื ทดี่ อนไมม่ ปี ญั หาดา้ นอุทกภัย

3.2.3 สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา

พื้นท่ีเมืองพิจิตรและพื้นท่ีโดยรอบต้ังอยู่ในเขตอําเภอพิจิตร จังหวัดพิจิตร พื้นท่ีโดยส่วนใหญ่จะไม่มีสภาพเป็น
พืน้ ทส่ี งวนและอนุรักษ์ตามกฎหมายยกเว้นพื้นท่ีบึงสีไฟ (เป็นพ้ืนที่ชุ่มน้ําระดับนานาชาติ) และพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
สภาพการใชท้ ่ีดินโดยรอบเปน็ ชุมชนเมอื งขนาดเลก็ –ขนาดกลางทีม่ ีความหนาแน่นปานกลางและมีการพฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ ง
เปน็ พ้ืนทีอ่ ยอู่ าศัย การพาณิชยกรรมและธรุ กิจการค้า สถานท่ีราชการ และศาสนสถาน ฯลฯ และมีพ้ืนท่ีบางส่วนเป็นพื้นที่
วา่ งเปล่ายังไมม่ กี ารใชป้ ระโยชนแ์ ตร่ อการพัฒนาในสภาพอนาคต เช่น พื้นที่ตามพ้ืนท่ีริมสองฝ่ังแม่น้ําพิจิตรและแม่นํ้าน่าน
และพื้นทีร่ กร้างว่างเปลา่ ตามแนวทางหลวงสายหลักเข้าสูพ่ ้ืนที่เมอื งพจิ ิตร เช่น ทางหลวงหมายเลข 115 (พิจิตร–สามง่าม)
ทางหลวงหมายเลข 113 (พิจิตร–ตะพานหิน) ทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจิตร–วังจิก) ฯลฯ จึงจัดเป็นสภาพนิเวศวิทยา
ไม่เหมาะสมในการเป็นถ่ินที่อยู่อาศัยหรือแหล่งหากินของสัตว์ป่าเนื่องจากมีเสียงดังจากเครื่องยนต์และความพลุกพล่าน
ของสภาพการจราจรบนโครงข่ายเช่ือมโยงเข้าสู่พ้ืนที่เมืองพิจิตร จึงเป็นการรบกวนหรือทําให้สัตว์ป่าตกใจและหลีกเล่ียงท่ี
จะใชเ้ ป็นแหล่งหากินหรือแหล่งหลบภยั

พ้ืนที่โดยรอบพ้ืนท่ีเมืองพิจิตรตามแนวทางรถไฟสายเหนือด้านฝั่งตะวันออกและสองฝั่งของแม่น้ําน่าน และ
พน้ื ท่ตี ามแนวฝัง่ ตะวันตกของแม่น้าํ พจิ ิตรและพ้นื ที่ตอนใตข้ องพนื้ ทเี่ มอื งพจิ ิตรจะเป็นพื้นทีช่ นบทและพน้ื ท่กี ารเกษตร เชน่
ชุมชนบ้านท่าโพธิ์ ชุมชนบ้านวังทับยา ชุมชนบ้านวังไม้ดัก ชุมชนบ้านเมืองเก่า ชุมชนบ้านท่าพุทรา ชุมชนบ้านวังจันทร์
ชุมชนบ้านท่าข่อย พื้นที่บึงสีไฟ สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร สวนสมเด็จพระนางเจ้าฯสิริกิต์ิ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ
พิจิตร พ้ืนที่บึงกลาง พื้นที่หนองหล่ม และพ้ืนที่หนองขลา ฯลฯ จึงมีต้นไม้ขนาดกลาง–ขนาดใหญ่ (เช่น สัก ประดู่ป่า แดง
สะเดาช้าง มะคา่ โมง ยางนา ตะแบกนา อนิ ทนลิ บก อนิ ทนิลนา้ํ นนทรแี ละมะเดือ่ ปลอ้ ง ฯลฯ) พชื ผลการเกษตร (เช่น ข้าว
ออ้ ยโรงงาน ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ มะยงชิดไขไ่ ก่/มะปราง สม้ โอและมะม่วง ฯลฯ) หรือวัชพืชนํ้า/วชั พชื บกข้ึนปกคลุมค่อนข้าง

จงั หวัดพิจิตร 3-5 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพื้นทีเ่ มืองพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบ

หนาแน่น (เช่น บอน เหงอื กปลาหมอ สนุ่น เอื้องเพ็ดม้า ตาลปัตรฤาษี หญ้าไซ หญ้าปล้อง ผักบุ้ง ไมยราพยักษ์ ผักตบชวา
แพงพวยนํ้า และผักเป็ดไทย ฯลฯ) โดยกลุ่มสัตว์ป่าส่วนใหญ่ (>95%) จะใช้ประโยชน์เป็นแหล่งหลบภัย แหล่งอาศัยและ
แหล่งหากินเน่ืองจากมีสภาพนิเวศวิทยาท่ีมีความเหมาะสมโดยเฉพาะสัตว์ป่ากลุ่มนก (เช่น นกกระสานวล นกกระสาแดง
นกเป็ดผเี ลก็ นกยางไฟหัวเทา นกยางไฟธรรมดา นกกระจาบอกลาย นกอีแจว นกอีลุ้ม เปด็ ลาย เป็ดแดง เปด็ คบั แค ฯลฯ)
กลุ่มสตั ว์เล้ยี งลูกด้วยนมจะพบเห็นไดย้ ากมากมเี พียง 4 ชนิด (ได้แก่ กระรอกหลากสี หนูพุกใหญ่ หนูท้องขาว และหนูท่อ)
กลุม่ สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน (เชน่ แย้ กง้ิ กา่ หวั แดง งูสงิ ดง งูเหลอื ม งูเหา่ และจระเขน้ ํ้าจดื ฯลฯ) และกลุ่มสัตวส์ ะเทินนํ้าสะเทินบก
(เชน่ กบนา กบหนอง อึง่ อ่างบา้ น เตา่ นา และเหีย้ ฯลฯ)

พิจารณาระบบนิเวศวิทยาทางนํ้าในแหล่งน้ําผิวดินโดยรอบพื้นท่ีเมืองพิจิตรพบว่ามีแหล่งน้ําผิวดินสําคัญๆ ท่ีมี
ความสําคัญของระบบนเิ วศทางนํ้าและความอุดมสมบรู ณข์ องทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสัตวน์ ้ําปานกลาง-สงู เช่น แมน่ า้ํ น่าน
แม่นํ้าพิจิตร แม่น้ํายม บึงสีไฟ บึงกลาง หนองนางระแวง บึงอ้ายจอ บึงนกกระสา หนองอ้อ หนองหล่มและหนองขลา ฯลฯ
โดยท่ัวไปปรากฏวัชพืชลอยน้ําและชายฝั่งหลากหลายชนิดแพร่กระจายตามริมฝั่งแม่นํ้า/หนองน้ํา/พื้นที่ชุ่มน้ําจํานวนมาก
ยกตวั อยา่ งเชน่ ผักตบชวา ผักบุ้ง เอ้ืองเพ็ดม้า ตับเต่านา สนุ่น หญ้าไซ บอน แพงพวยนํ้า จอก แหนแดง ผักเป็ดไทย ฯลฯ
สัตว์นํ้าที่พบส่วนใหญ่เป็นสัตว์น้ําตามธรรมชาติและมีบางส่วนท่ีถูกปล่อยลงสู่แหล่งน้ําผิวดินในช่วงวันสําคัญต่างๆ ได้แก่
ปลาหมอไทย ปลาตะเพียนขาว ปลาสร้อยลูกกล้วย ปลาพรหมหัวเหม็น ปลาสวาย ปลาไหล ปลาช่อน ปลาชะโด ปลานิล
ปลาดุกอุย ปลากระดี่หมอ้ ปลาสลดิ ปลานวลจันทร์ ปลายี่สก และเต่านา ฯลฯ

3.2.4 สภาพเศรษฐกิจและสงั คม

ภาพรวมของสภาพเศรษฐกิจในพ้ืนทีเ่ มืองพิจติ รเนอ่ื งจากทาํ เลต้งั และสภาพพ้ืนที่เมืองพิจิตรไม่ได้เป็นศูนย์กลาง
ความเจริญด้านการบริการและพาณิชยกรรมหลักท่ีสําคัญ ส่งผลกระทบให้การเติบโตทางเศรษฐกิจยังมีแนวโน้มไม่สูงเม่ือ
เทียบกับพ้ืนทเ่ี มืองอน่ื ๆ ในจังหวดั ใกล้เคียงโดยเฉพาะเมืองพิษณุโลกหรือเมืองนครสวรรค์ซ่ึงเป็นศูนย์กลางด้านการบริการ
และพาณชิ ยกรรมหลักของพนื้ ท่ภี าคเหนือตอนล่าง ประกอบกบั สภาพพื้นท่ีโดยทัว่ ไปของชุมชนเมืองพิจิตรเป็นที่ราบลุ่มตํ่า
จึงเหมาะกับการทําเกษตรเป็นหลักโดยเฉพาะการเพาะปลูกข้าว รองลงมาเป็นไม้ผล/ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผักสวนครัว ฯลฯ
ดังน้ันบทบาทสําคัญด้านเศรษฐกิจของพ้ืนท่ีเมืองพิจิตร จึงเป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
และเปน็ แหลง่ ปลูกขา้ วสําคัญของประเทศไทย จะเห็นไดจ้ ากการมโี รงสขี า้ วจํานวนมากต้ังอยู่ภายในจังหวัดพิจิตร และเป็น
ศูนย์กลางคมนาคมขนส่งโดยเฉพาะขนส่งสินค้าทางการเกษตรที่เช่ือมต่อกับพ้ืนที่จังหวัดใกล้เคียง โดยการขนส่งทางรถไฟ
สายเหนือและทางรถยนต์ ตลอดจนเป็นศูนย์กลางรวบรวมซ้ือขายผลผลิตทางการเกษตรภายในจังหวัดและพ้ืนที่ใกล้เคียง
รวมถึงพื้นท่ีเมืองพิจิตรไม่มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาส่งผลกระทบให้ผู้คนที่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
จะต้องย้ายถิน่ ฐานออกไปศึกษาต่อในจงั หวัดอนื่ ๆ โดยเฉพาะทีจ่ ังหวดั พษิ ณโุ ลกและนครสวรรค์

ภาพรวมของสภาพสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่เมืองพิจติ ร เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจและการขยายตัวของเมือง
เติบโตค่อนข้างช้าและประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นหลักรวมทั้งพ้ืนที่เมืองพิจิตรเป็นเมืองเก่าแก่ท่ีมี
วัฒนธรรมด้ังเดิมต่อเน่ืองมาเป็นเวลายาวนานประกอบกับตําแหน่งตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ทิศตะวันออก
ตดิ ตอ่ กับจงั หวัดเพชรบรู ณซ์ ึ่งเปน็ เขตจงั หวัดทตี่ ิดกับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือทําใหม้ ปี ระชากรอพยพโยกยา้ ยมาตงั้ ถน่ิ ฐาน
เป็นจํานวนมาก ภายในพื้นท่ีเมืองพิจิตรจึงมีการปะปนของหลากหลายเชื้อชาติ ยกตัวอย่างเช่น ไทยภาคกลาง ไทยอีสาน

จังหวดั พิจิตร 3-6 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 3

“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพของพ้นื ทีเ่ มืองพจิ ติ รและพนื้ ทโี่ ดยรอบ

ไทยเช้ือสายจีน ไทยทรงดํา ลาวยวน ลาวพวน ลาวโซ่ง และเขมรส่วย เป็นต้น เป็นสาเหตุให้มีสภาพทางสังคม วัฒนธรรม
และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ที่ปรากฏสืบทอดกันมามีลักษณะแตกต่างกันและบางส่วนมีการผสมผสานกลมกลืน
หรือประยุกต์ข้ึนมาใหม่ โดยสังเกตจากงานประเพณีและกิจกรรมสําคัญที่จัดขึ้นในพื้นที่เมืองพิจิตรเป็นหลัก ยกตัวอย่าง
เช่น งานนมัสการหลวงพ่อเพชรและสมโภชเมืองพิจิตร งานสงกรานต์ สรงน้ําพ่อปู่ บูชาหลักเมืองพิจิตร งานประเพณี
แขง่ ขนั เรอื ยาวจังหวัดพจิ ติ ร งานประเพณกี ารทาํ บญุ กลางบ้าน และงานพิธบี ชู านพเคราะห์ ฯลฯ

3.2.5 การท่องเทย่ี ว

3.2.5.1 สถานการณ์การท่องเทยี่ วในพน้ื ทีเ่ มอื งพจิ ิตรและพนื้ ท่โี ดยรอบ

เมอื งพจิ ิตรเปน็ เมืองทม่ี ีประวตั ิความเปน็ มาและพฒั นาการดา้ นประวัตศิ าสตร์ สังคม และวัฒนธรรมมายาวนาน
ส่งผลให้ในเมืองพิจิตรมีแหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและธรรมชาติท่ีสําคัญหลายแห่งทั้งที่เป็นโบราณสถาน
อาคาร และสถานที่ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น เช่น บึงสีไฟ สวนสมเด็จพระนางเจ้าฯสิริกิต์ิ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ
พิจิตร อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร วดั นครชุม วัดโรงช้าง วัดท่าหลวง (พระอารามหลวง) วัดสมาบาป วัดเขื่อนนครเขต วัดขนุน
วดั ทา่ ขอ่ ย ศาลหลักเมืองพิจติ ร และย่านพาณชิ ยกรรมวงั กรด ฯลฯ

การรวบรวมขอ้ มลู จํานวนนักทอ่ งเทย่ี วและรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วในพ้ืนทเ่ี มอื งพจิ ิตรและพน้ื ที่โดยรอบภายใน
รัศมี 50 กิโลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559) ดังแสดงไว้ในตารางท่ี 3.2-2 ได้จากสํานักงานการ
ท่องเทยี่ วและกฬี าจงั หวัดพจิ ติ ร (พ.ศ. 2560) กรมการท่องเทีย่ ว (พ.ศ. 2560) และการสํารวจภาคสนามในเดือนกรกฎาคม–
กันยายน 2560 อธิบายได้ว่า นักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศท่ีเข้ามาท่องเที่ยวหรือมาเยี่ยมเยือนตั้งแต่
244,109-807,553 คน/ปี (ค่าเฉลี่ย 455,717 คน/ปี) จําแนกเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยตั้งแต่ 240,081-801,663 คน/ปี
(ค่าเฉลี่ย 451,533 คน/ปี) และนักท่องเที่ยวต่างประเทศต้ังแต่ 2,497-5,890 คน/ปี (ค่าเฉลี่ย 4,184 คน/ปี) หรือมีอัตรา
การขยายตัวเพ่ิมข้ึนทุกปีตั้งแต่ 0.27%-90.47% ต่อปี (ค่าเฉลี่ย 21.34% ต่อปี) หากพิจารณาข้อมูลรายได้ของภาครัฐ/
ภาคเอกชนที่เก็บได้โดยตรงและโดยอ้อมจากนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559)
พบว่ามีรายได้จากค่าใช้จ่ายในการเข้าพักแรมในโรงแรมหรือรีสอร์ท ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าใช้จ่ายอาหาร/เครื่องด่ืม
ค่าใช้จ่ายของชําร่วย และค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ฯลฯ ตั้งแต่ 281.70-1,334.92 ล้านบาท/ปี (ค่าเฉล่ีย 678.34 ล้านบาท/ปี)
จะมีอัตราเพ่ิมข้ึนทุกปีตั้งแต่ 3.58%-106.34% ต่อปี (ค่าเฉลี่ย 28.49% ต่อปี) และคิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อหัวต้ังแต่
1,139.20-1,653.04 บาท/คน/ปี (ค่าเฉล่ีย 1,424.46 บาท/คน/ปี) หรือ 396.56-708.02 บาท/คน/วัน (ค่าเฉลี่ย 564.04
บาท/คน/วนั )

หากคาดคะเนแนวโน้มของจํานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วและรายได้จากการท่องเทย่ี วภายในพืน้ ท่ีเมืองพิจติ รโดยใชข้ อ้ มลู
จํานวนนักท่องเท่ียวและรายได้จากการท่องเท่ียวในพื้นที่เมืองพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบภายในรัศมี 50 กิโลเมตรจากพ้ืนที่
โครงการในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559) ดังแสดงในตารางท่ี 3.2-2 พบว่ามีอัตราการเปล่ียนแปลงของนักท่องเที่ยวและ
รายได้ค่อนข้างผันแปรตั้งแต่ +0.27% จนถึง +90.47% ต่อปี (นักท่องเท่ียว) และ +3.58% จนถึง +106.34% ต่อปี
(รายได้) เพื่อให้ได้ผลการพยากรณ์ท่ีสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุดจึงนําข้อมูลนักท่องเท่ียวและรายได้ที่มีอยู่
ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2552-2559 มาคาดคะเนแนวโน้มจํานวนนักท่องเท่ียวและรายได้โดยการใช้สมการ 3 รูปแบบ ได้แก่ Linear

จงั หวดั พิจติ ร 3-7 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การวิเคราะห์และประเมินศกั ยภาพของพืน้ ทีเ่ มอื งพจิ ิตรและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ

Regression Model; Exponential Regression Model; Power Regression Model ดังได้ผลการคาดคะเนแนวโน้ม
การเปล่ยี นแปลงของนกั ท่องเทยี่ วและรายได้สรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงจํานวนนักท่องเที่ยวและรายได้ดังรูปแบบ Linear
Regression Model และ Power Regression Model จะมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนในอัตราที่ลดลง แต่รูปแบบ Exponential
Regression Model จะมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในอัตราคงท่ีดังแสดงไว้ในตารางท่ี 3.2-3 และตารางท่ี 3.2-4 และรูปที่ 3.2-3
และรูปที่ 3.2-4จะเห็นได้ว่า การคาดคะเนจํานวนนักท่องเท่ียวและรายได้จากแบบจําลองท้ัง 3 รูปแบบ และผลการ
คาดคะเนแนวโนม้ ย้อนหลงั กลับไปในอดตี เพ่ือเปรยี บเทียบกับสถิติจํานวนนักท่องเที่ยวและรายได้ที่มีอยู่จึงเลือกใช้รูปแบบ
Linear Regression Model เนื่องจากอัตราการเพิ่มมีแนวโน้มสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงท่ีสุด จึงคาดว่าจํานวน
นกั ทอ่ งเทย่ี วและรายไดใ้ นช่วง 30 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2560-2589) สรุปได้ดงั น้ี

พ.ศ. จาํ นวนนกั ท่องเทย่ี ว (คน) อัตราเพมิ่ % รายได้ (ล้านบาท) อตั ราเพมิ่ % หมายเหตุ

2559 506,181 7.93 1,208.75 14.33 ปีฐาน

2560 543,377 7.35 1,360.29 12.54 ปพี ยากรณ์

2564 692,161 5.68 1,966.45 8.35 ปีพยากรณ์

2569 878,141 4.42 2,724.15 5.89 ปีพยากรณ์

2574 1,064,121 3.62 3,481.85 4.55 ปพี ยากรณ์

2579 1,250,101 3.07 4,239.55 3.71 ปีพยากรณ์

2584 1,436,081 2.66 4,997.25 3.13 ปีพยากรณ์

2589 1,622,061 2.35 5,754.95 2.70 ปพี ยากรณ์
R2 98.71%
94.97%

ตารางท่ี 3.2-2
จํานวนนักทอ่ งเท่ยี วและรายได้จากการทอ่ งเทีย่ วในพน้ื ทจี่ งั หวดั พจิ ติ รในรอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559)

พ.ศ. จาํ นวนนักท่องเท่ยี ว อตั ราเพิม่ รายได้ อัตราเพ่มิ รายไดต้ อ่ หวั
(คน) (%) (ล้านบาท) (%) บาท/คน/ปี บาท/คน/วัน1/

2552 244,109 - 281.70 - 1,153.99 396.56

2553 280,494 14.91% 319.54 13.43% 1,139.20 453.41

2554 325,543 16.06% 445.37 39.38% 1,368.08 473.12

2555 352,106 8.16% 551.19 23.76% 1,565.41 553.15

2556 407,679 15.78% 597.65 8.43% 1,465.98 621.18

2557 422,856 3.72% 619.05 3.58% 1,463.97 662.43

2558 805,398 90.47% 1,277.33 106.34% 1,585.96 708.02

2559 807,553 0.27% 1,334.92 4.51% 1,653.04 644.49

คา่ เฉลย่ี 455,717 21.34% 678.34 28.49% 1,424.46 564.04

หมายเหตุ: 1/ คาํ นวณจากระยะเวลาพักแรมของนกั ทอ่ งเที่ยวในพน้ื ทเี่ มืองพิจิตรในรอบ 7 ปี (พ.ศ. 2552-2558) จํานวนตัง้ แต่ 2.21-2.92 วนั /คน

(เฉล่ยี 2.56 วัน/คน), กรมการท่องเท่ียว, พ.ศ. 2560

ท่มี า: กรมการทอ่ งเที่ยว (พ.ศ. 2560) และสํานักงานการทอ่ งเทีย่ วและกีฬาจงั หวัดพจิ ิตร (พ.ศ. 2560)

จังหวดั พิจติ ร 3-8 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การวเิ คราะห์และประเมินศกั ยภาพของพืน้ ที่เมืองพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบ

ตารางท่ี 3.2-3
การคาดคะเนจาํ นวนนกั ทอ่ งเที่ยวในพนื้ ที่จงั หวดั พจิ ิตรในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)

จาํ นวนนักท่องเทย่ี วในอดีต Linear Model Exponential Model Power Model

พ.ศ. นกั ทอ่ งเทย่ี ว อัตราเพ่มิ นักทอ่ งเท่ยี ว อตั ราเพิ่ม นักท่องเท่ยี ว อัตราเพ่ิม นกั ทอ่ งเทย่ี ว อตั ราเพ่มิ

(คน) (%) (คน) (%) (คน) (%) (คน) (%)

2552 244,109 245,809 250,866 234,952

2553 280,494 14.91 283,005 15.13 280,821 11.94 292,668 24.57

2554 325,543 16.06 320,201 13.14 314,354 11.94 332,797 13.71

2555 352,106 8.16 357,397 11.62 351,890 11.94 364,562 9.55

2556 407,679 15.78 394,593 10.41 393,909 11.94 391,276 7.33

2557 422,856 3.72 431,789 9.43 440,945 11.94 414,548 5.95

2558 805,398 90.47 468,985 8.61 493,597 11.94 435,302 5.01

2559 807,553 0.27 506,181 7.93 552,536 11.94 454,118 4.32

2560 543,377 7.35 618,514 11.94 471,388 3.80

2561 580,573 6.85 692,369 11.94 487,393 3.40

2562 617,769 6.41 775,043 11.94 502,339 3.07

2563 654,965 6.02 867,590 11.94 516,383 2.80

2564 692,161 5.68 971,187 11.94 529,649 2.57

2565 729,357 5.37 1,087,155 11.94 542,234 2.38

2566 766,553 5.10 1,216,970 11.94 554,220 2.21

2567 803,749 4.85 1,362,286 11.94 565,672 2.07

2568 840,945 4.63 1,524,953 11.94 576,645 1.94

2569 878,141 4.42 1,707,045 11.94 587,185 1.83

2570 915,337 4.24 1,910,880 11.94 597,333 1.73

2571 952,533 4.06 2,139,054 11.94 607,121 1.64

2572 989,729 3.90 2,394,475 11.94 616,581 1.56

2573 1,026,925 3.76 2,680,394 11.94 625,739 1.49

2574 1,064,121 3.62 3,000,455 11.94 634,616 1.42

2575 1,101,317 3.50 3,358,733 11.94 643,233 1.36

2576 1,138,513 3.38 3,759,793 11.94 651,608 1.30

2577 1,175,709 3.27 4,208,742 11.94 659,757 1.25

2578 1,212,905 3.16 4,711,300 11.94 667,695 1.20

2579 1,250,101 3.07 5,273,867 11.94 675,435 1.16

2580 1,287,297 2.98 5,903,609 11.94 682,988 1.12

2581 1,324,493 2.89 6,608,547 11.94 690,365 1.08

2582 1,361,689 2.81 7,397,661 11.94 697,576 1.04

2583 1,398,885 2.73 8,281,001 11.94 704,630 1.01

2584 1,436,081 2.66 9,269,819 11.94 711,535 0.98

2585 1,473,277 2.59 10,376,710 11.94 718,298 0.95

2586 1,510,473 2.52 11,615,773 11.94 724,927 0.92

2587 1,547,669 2.46 13,002,789 11.94 731,428 0.90

2588 1,584,865 2.40 14,555,426 11.94 737,806 0.87

2589 1,622,061 2.35 16,293,461 11.94 744,068 0.85
R2 (%) 98.71%
97.84% 96.90%

จงั หวัดพิจิตร 3-9 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพื้นทีเ่ มืองพจิ ิตรและพื้นท่โี ดยรอบ

ตารางที่ 3.2-4
การคาดคะเนจาํ นวนรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วในพ้นื ท่ีจังหวัดพจิ ิตรในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)

รายไดจ้ ากการท่องเทีย่ วในอดีต Linear Model Exponential Model Power Model

พ.ศ. รายได้ อตั ราเพ่มิ รายได้ อตั ราเพ่มิ รายได้ อัตราเพมิ่ รายได้ อัตราเพ่ิม

(ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ลา้ นบาท) (%) (ล้านบาท) (%)

2552 281.70 281.44 291.79 262.00

2553 319.54 13.43 299.51 6.42 334.16 14.52 368.19 40.53

2554 445.37 39.38 451.05 50.60 418.43 25.22 449.28 22.02

2555 551.19 23.76 602.59 33.60 523.96 25.22 517.43 15.17

2556 597.65 8.43 754.13 25.15 656.10 25.22 577.33 11.58

2557 619.05 3.58 905.67 20.09 821.56 25.22 631.39 9.36

2558 1,277.33 106.34 1,057.21 16.73 1,028.76 25.22 681.02 7.86

2559 1,334.92 4.51 1,208.75 14.33 1,288.21 25.22 727.16 6.77

2560 1,360.29 12.54 1,613.09 25.22 770.44 5.95

2561 1,511.83 11.14 2,019.91 25.22 811.34 5.31

2562 1,663.37 10.02 2,529.33 25.22 850.20 4.79

2563 1,814.91 9.11 3,167.22 25.22 887.30 4.36

2564 1,966.45 8.35 3,965.98 25.22 922.86 4.01

2565 2,117.99 7.71 4,966.19 25.22 957.05 3.70

2566 2,269.53 7.15 6,218.65 25.22 990.02 3.44

2567 2,421.07 6.68 7,786.98 25.22 1,021.89 3.22

2568 2,572.61 6.26 9,750.84 25.22 1,052.76 3.02

2569 2,724.15 5.89 12,209.97 25.22 1,082.72 2.85

2570 2,875.69 5.56 15,289.30 25.22 1,111.84 2.69

2571 3,027.23 5.27 19,145.22 25.22 1,140.19 2.55

2572 3,178.77 5.01 23,973.60 25.22 1,167.83 2.42

2573 3,330.31 4.77 30,019.68 25.22 1,194.80 2.31

2574 3,481.85 4.55 37,590.57 25.22 1,221.16 2.21

2575 3,633.39 4.35 47,070.82 25.22 1,246.94 2.11

2576 3,784.93 4.17 58,941.96 25.22 1,272.18 2.02

2577 3,936.47 4.00 73,806.97 25.22 1,296.92 1.94

2578 4,088.01 3.85 92,420.90 25.22 1,321.17 1.87

2579 4,239.55 3.71 115,729.22 25.22 1,344.97 1.80

2580 4,391.09 3.57 144,915.84 25.22 1,368.34 1.74

2581 4,542.63 3.45 181,463.26 25.22 1,391.30 1.68

2582 4,694.17 3.34 227,227.83 25.22 1,413.87 1.62

2583 4,845.71 3.23 284,534.12 25.22 1,436.08 1.57

2584 4,997.25 3.13 356,292.91 25.22 1,457.94 1.52

2585 5,148.79 3.03 446,149.09 25.22 1,479.46 1.48

2586 5,300.33 2.94 558,666.77 25.22 1,500.67 1.43

2587 5,451.87 2.86 699,561.13 25.22 1,521.56 1.39

2588 5,603.41 2.78 875,988.69 25.22 1,542.17 1.35

2589 R2 (%) 5,754.95 2.70 1,096,910.85 25.22 1,562.49 1.32

94.97 92.69 94.46

จงั หวดั พิจติ ร 3-10 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพน้ื ที่เมอื งพจิ ติ รและพื้นที่โดยรอบ

นักท่องเท่ยี ว (คน) จาํจนํานววนนนนกั กั ท่องงเเทท่ียี่ยวว

600,000

500,000

400,000 y = 37196x + 208613
300,000 R² = 0.9871

200,000

100,000

0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

จํานวนนักท่องเทย่ี วในอดีต Linear (จํานวนนกั ท่องเทีย่ วในอดตี )

รปู ท่ี 3.2-3 การคาดคะเนจาํ นวนนักท่องเทย่ี วในพืน้ ที่จงั หวดั พจิ ติ รในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)

รายได้ (ล้านบาท) รายได้จากรกาายรไทด่อ้ งเท่ียว

900.00

800.00

700.00

600.00

500.00 y = 75.054x + 206.39
400.00 R² = 0.9497

300.00

200.00
100.00

0.00
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

รายได้ในอดีต รLาinยeไดa้จrา(กรากยาไรดพ้ใยนาอกดรีตณ)์

รูปท่ี 3.2-4 การคาดคะเนจาํ นวนรายได้จากการท่องเทีย่ วในพ้ืนที่จงั หวดั พจิ ิตรในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)

จงั หวัดพิจติ ร 3-11 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะห์และประเมินศักยภาพของพนื้ ทเ่ี มอื งพจิ ติ รและพื้นที่โดยรอบ

3.2.5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการท่องเทย่ี วในพ้ืนทเ่ี มอื งพจิ ิตรและพน้ื ทีโ่ ดยรอบ

การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพ้ืนที่เมืองพิจิตรและพื้นที่โดยรอบที่ผ่านมาจะประสบกับปัญหาและอุปสรรคด้าน
ตา่ งๆ ยกตวั อย่างเชน่

1) การท่องเทีย่ วเชงิ อนุรักษ์บางแห่งจะเกิดการแย่งชิงทรัพยากรและที่ดินทํากินของกลุ่มชุมชนท้องถ่ินเพ่ือ
นํามาใช้ประโยชนใ์ นการท่องเท่ียว ขณะท่ีบางแห่งมีกลุ่มผู้มีอิทธิพลและกลุ่มนายทุนต่างถ่ินสามารถเข้า
ครอบครองพ้นื ทีส่ าธารณะของชุมชนทอ้ งถิน่ เพอ่ื ใช้ประโยชนส์ ่วนตวั

2) กลุ่มชุมชนไม่รู้จักกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และกฎหมายหรือข้อบังคับที่มีอยู่ไม่
เอื้อประโยชน์ต่อการดําเนินงานของชุมชนท้องถิ่น เช่น การรับรองมัคคุเทศก์จะรับรองตามคุณวุฒิ
การศกึ ษาฯ มากกว่ามัคคุเทศกท์ ม่ี คี วามรูจ้ ริงในพน้ื ทีห่ รอื ชุมชน ฯลฯ

3) การพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานต่างๆ โดยเฉพาะบ้านพักรับรองนักท่องเท่ียวจะไม่ได้คํานึงถึงความ
ต้องการของชุมชนท้องถิ่นและไม่สอดคล้องกับสภาพระบบนิเวศวิทยา เช่น ห้องพักมีเคร่ืองปรับอากาศ
หรือการมีถนนคอนกรตี ตดั ผ่านชมุ ชนท้องถ่นิ ฯลฯ

4) กลุ่มนักทอ่ งเทีย่ วสว่ นใหญ่จะมาจากวฒั นธรรมท่ีมีความหลากหลายและส่วนหนึ่งจะไม่เคารพต่อวิถีชีวิต
และวัฒนธรรมด้ังเดิมของชุมชนท้องถ่ิน บางส่วนขาดการรับรู้–รับทราบขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม
ของชุมชนท้องถิ่นทําให้ไม่เข้าใจพ้ืนที่แหล่งท่องเที่ยว บางคนอาจดูถูกและลบหลู่ส่ิงเคารพบูชาหรือวัตถุ
โบราณของชุมชนท้องถิ่นโดยไม่รู้ตัว หรือบางแห่งอาจมีกลุ่มเยาวชนในชุมชนท้องถิ่นมีพฤติกรรมการ
เลยี นแบบวฒั นธรรมของนกั ท่องเที่ยว

5) เกิดความขัดแย้งในผลประโยชน์ภายในกลุ่มชุมชนท้องถิ่นเนื่องจากธรรมชาติของมนุษย์มีความอยาก มี
ความโลภหรือบางแห่งอาจเปล่ยี นจาก “ธุรกิจท่องเทยี่ วของชุมชนท้องถ่นิ ” ไปเปน็ “ธรุ กิจสว่ นบคุ คล”

6) หน่วยงานราชการท่ีเข้าไปส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตามกระแส หลายหน่วยงานไม่มีความรู้จริง
และสง่ เสรมิ ในทางท่ีผิดซึ่งเป็นผลกระทบให้วิถีแห่งความเป็นชุมชนทอ้ งถ่นิ เส่อื มและลม่ สลายไปในทีส่ ุด

7) กลุ่มชุมชนท้องถ่ินขาดการสนับสนุนและช่วยเหลือตามหลักวิชาการท่องเที่ยวเพื่อกําหนดขีดความ
สามารถการรองรบั นกั ท่องเทีย่ วในแหล่งท่องเท่ยี วเชิงอนุรกั ษ์เป็นผลให้พืน้ ทีแ่ หลง่ ท่องเท่ียวเสอื่ มโทรม

8) กลุ่มนักท่องเท่ียวขาดจิตสํานึกและความรับผิดชอบโดยคาดหวังให้ชุมชนท้องถิ่นมา “บริการ” และ
ได้รับการบริการที่สะดวกสบายและพยายามกดดันให้กลุ่มชุมชนท้องถ่ินปรับเปลี่ยนให้ตรงตามความ
ตอ้ งการของตน

9) กลุม่ ชมุ ชนท้องถ่ินยังมีแนวคิดการพึ่งพาหน่วยงานราชการให้เข้าไปส่งเสริมและสนับสนุน แต่หน่วยงาน
ราชการทําตัวมากกว่าเป็น “พ่ีเล้ียง” ทําให้กลุ่มชุมชนท้องถ่ินขาดการเจรจาต่อรองหรือขาดอํานาจ
ต่อรองเรอื่ งรูปแบบและการจัดการท่องเท่ียวเชิงอนรุ ักษ์ แต่จะมงุ่ เน้นการสรา้ งเสริมรายไดเ้ ทา่ นน้ั

10) ข้อกําหนดของกฎหมาย/ข้อระเบียบต่างๆ ในหลายหน่วยงาน (กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธ์ุพืช และกรมศิลปากร ฯลฯ) จะไม่เปิดช่องทางให้กลุ่มชุมชนท้องถ่ินเข้าไปดําเนินการจัดการ
ทอ่ งเท่ยี วเชงิ อนุรกั ษใ์ นพื้นทีท่ เ่ี ป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในการกํากบั ดแู ลของหน่วยงานต่างๆ ตามกฎหมายได้

11) แหล่งท่องเท่ียวเชงิ อนุรักษ์หลายๆ แห่งขาดการบริหารจัดการอยา่ งเหมาะสมจงึ ได้สูญเสียสภาพการเป็น
แหลง่ ท่องเทยี่ วเชงิ อนุรกั ษ์ไปอยา่ งสิ้นเชิง เช่น บงึ สีไฟ อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร ฯลฯ

จงั หวดั พิจติ ร 3-12 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพืน้ ท่เี มืองพจิ ติ รและพนื้ ทโ่ี ดยรอบ

3.2.6 ข้อจํากดั ของกฎและระเบียบข้อบังคบั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การอนุรักษ์และพฒั นาแหล่งมรดกทางวฒั นธรรม

3.2.6.1 กฎกระทรวงผงั เมอื งรวมเมอื งพิจิตร พ.ศ. 2549 (ปัจจุบนั บังคับใช้อยถู่ งึ วนั ที่ 25 เมษายน 2559)

กฎและระเบียบข้อบังคบั สาํ คญั ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การอนรุ กั ษ์และพัฒนาแหลง่ มรดกทางวัฒนธรรมในพ้ืนที่เมืองเก่า
พิจิตร คือ กฎกระทรวงผังเมืองรวมเมืองพิจิตร พ.ศ. 2549 (กําหนดการขยายระยะเวลาการบังคับใช้ผังเมือง (ฉบับท่ี 17)
พ.ศ. 2554 โดยเทศบาลเมอื งพจิ ิตรสามารถใชผ้ ังเมอื งรวมเดิมได้ถึงวันที่ 25 เมษายน 2559) มีผลบังคับใช้ครอบคลุมพื้นที่
ในเขตอําเภอเมืองพิจิตร ได้แก่ เทศบาลเมืองพิจิตร ตําบลปากทาง ตําบลป่ามะคาบ ตําบลคลองคะเชนทร์ ตําบลท่าหลวง
ตาํ บลโรงชา้ ง ตําบลเมอื งเก่า และตาํ บลบ้านบุ่ง มีพื้นท่ีรวมท้ังสิ้น 93.42 ตร.กม. (รูปท่ี 3.2-5) โดยผังเมืองรวมเมืองพิจิตร
ตามกฎกระทรวงฉบับนี้มีนโยบายและมาตรการเพ่ือจัดระบบการใช้ประโยชน์ท่ีดิน โครงข่ายคมนาคมขนส่งและบริการ
สาธารณะให้มีประสิทธิภาพสามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนา
เศรษฐกจิ โดยมีสาระสาํ คญั ดังนี้

1) ส่งเสริมและพัฒนาชุมชนเมืองให้เป็นศูนย์กลางการบริหาร การปกครอง การพาณิชย์ การบริการ และ
การศกึ ษาของจงั หวัดพจิ ิตร

2) ส่งเสริมและพฒั นาอุตสาหกรรมบรกิ าร
3) พฒั นาชมุ ชนเมอื งใหเ้ ป็นศนู ย์กลางการบริการดา้ นการท่องเทย่ี วและทางธรุ กิจ
4) พฒั นาการบริการทางสังคม การสาธารณปู โภคและสาธารณปู การให้เพียงพอและไดม้ าตรฐาน
5) การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

วัตถุประสงค์ของผังเมืองรวมเมืองพิจิตร พ.ศ. 2549 (ปัจจุบันบังคับใช้อยู่ถึงวันที่ 25 เมษายน 2559) ชี้ให้เห็น
ว่าทอ้ งถิ่นไดใ้ หค้ วามสาํ คญั กับประเด็นดา้ นการส่งเสรมิ และอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม โดย
ได้กําหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินในประเภทท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งมรดกทาง
วฒั นธรรมท่ีอยูใ่ นพ้นื ท่ีเขตผังเมืองรวมเมืองพิจิตรไว้ ได้แก่ ท่ีโล่งเพ่ือการรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมและพื้นท่ีชุ่มน้ํา (สีฟ้ามี
เส้นทแยงสีขาว) ได้แก่ พื้นที่บึงสีไฟเป็นพื้นที่ชุ่มน้ําท่ีมีความสําคัญระดับนานาชาติตามอนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Site)
โดยกําหนดให้ใช้ประโยชน์เพื่อการรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม แหล่งนํ้าธรรมชาติ ระบบนิเวศของพื้นท่ีชุ่มนํ้า และความ
หลากหลายทางชีวภาพหรือสาธารณประโยชนเ์ ท่านัน้ และท่ีดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย
(สีน้าํ ตาลอ่อน) ในเขตผงั เมอื งรวมเมืองพิจิตรมี 1 บริเวณ ได้แก่ อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตรโดยกําหนดให้ใช้ประโยชน์ท่ีดินเพื่อ
ส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรม การอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณคดี การท่องเท่ียว การศาสนา สถาบันราชการเท่านั้น
โดยพ้ืนท่ีอทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรอยูใ่ นความดูแลรับผิดชอบหนว่ ยงาน 3 หน่วยงานได้แก่ กรมศิลปากร กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุพ์ ืช องค์การบรหิ ารสว่ นตําบลโรงชา้ งและองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลเมอื งเก่า มพี น้ื ท่ีประมาณ 400 ไร่เศษ
และอยู่ในเขตพื้นท่ีการปกครองขององค์การบริหารส่วนตําบลโรงช้างและองค์การบริหารส่วนตําบลเมืองเก่า และภายใน
พื้นที่อุทยานเมืองเก่ามีลักษณะเป็นเมืองโบราณ มีโบราณสถานท่ีสําคัญหลายแห่ง ได้แก่ กําแพงเมือง คูเมือง วัดมหาธาตุ
เกาะศรีมาลา วัดนครชุม วัดกลาง วัดร้าง และศาลหลักเมืองพิจิตร นอกจากน้ีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ได้ดาํ เนนิ การขอใช้พืน้ ทภ่ี ายในอุทยานเมอื งเก่าจากกรมศลิ ปากรเพือ่ จดั ต้ังเป็นสวนรุกขชาติและได้ตั้งชื่อว่า “สวนรุกขชาติ
กาญจนกุมาร” มพี นื้ ท่ปี ระมาณ 316 ไร่

จงั หวัดพิจติ ร 3-13 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 3

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวิเคราะห์และประเมนิ ศักยภาพของพืน้ ทเี่ มืองพจิ ิตรและพ้นื ทโ่ี ดยรอบ

แผนผังกาํ หนดการใช้ประโยชนท์ ี่ดินตามทไี่ ดจ้ าํ แนกประเภทท้ายกฎกระทรวง
ให้บังคบั ผังเมอื งรวมเมอื งพิจติ ร พ.ศ. 2549
(บงั คับใชอ้ ยู่ถงึ วันท่ี 25 เมษายน 2559)

เคร่ืองหมาย

แนวเขตผังเมอื งรวม 1. เขตสเี หลือง 1. ทด่ี ินประเภททีอ่ ยอู่ าศัยหนาแน่นนอ้ ย ผังเมอื งรวมเมอื งพิจิตร
เขตตําบล 2. เขตสีสม้ 2. ทดี่ ินประเภทท่ีอยอู่ าศยั หนาแนน่ ปานกลาง
3. เขตสีแดง 3. ทด่ี ินประเภทพาณิชยกรรมและที่อยูอ่ าศยั หนาแน่นมาก (นายพิชยั เครอื ชยั พินติ )
เขตเทศบาล 4. เขตสีมว่ งออ่ น 4. ท่ีดินประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ผอู้ าํ นวยการสาํ นักผงั เมอื งรวมและผงั เมอื งเฉพาะ
ถนนเดมิ 5. เขตสเี ขยี ว 5. ท่ีดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ถนนเดมิ ขยาย 6. เขตสีขาวมกี รอบและเสน้ ทแยงสเี ขียว 6. ทด่ี ินประเภทอนรุ ักษช์ นบทและเกษตรกรรม (นายฐิระวัฒน์ กุลละวณชิ ย์)
ถนนโครงการ 7. เขตสเี ขยี วอ่อน 7. ทด่ี นิ ประเภททโ่ี ล่งเพือ่ นันทนาการและการรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม อธิบดกี รมโยธาธิการและผังเมือง
ทางรถไฟ 8. เขตสเี ขียวมะกอก 8. ท่ดี นิ ประเภทสถาบันการศกึ ษา
สะพาน 9. เขตสีฟา้ มเี ส้นทแยงสีขาว 9. ที่ดนิ ประเภททโ่ี ลง่ เพอื่ การรกั ษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม
แม่นาํ้ คลอง ห้วย 10. เขตสีนาํ้ ตาลออ่ น 10. ทดี่ ินประเภทอนรุ กั ษเ์ พอื่ ส่งเสรมิ เอกลกั ษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย
อ่างเก็บนา้ํ หนอง บึง 11. เขตสีเทาออ่ น 11. ที่ดนิ ประเภทสถาบนั ศาสนา

คลองส่งน้ํา คลองระบายนํา้ 12. เขตสนี ํา้ เงิน 12. ทีด่ นิ ประเภทสถาบนั ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

รปู ที่ 3.2-5 แผนผังกําหนดการใช้ประโยชนท์ ่ีดินตามทไ่ี ดจ้ าํ แนกประเภททา้ ยกฎกระทรวงใหบ้ ังคับ
ผังเมืองรวมเมืองพจิ ิตร พ.ศ. 2549 (บงั คับใช้อยถู่ ึงวันที่ 25 เมษายน 2559)

จังหวดั พิจิตร 3-14 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพของพ้นื ท่เี มอื งพจิ ิตรและพื้นที่โดยรอบ

3.2.6.2 พระราชบัญญัติควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522

การสํารวจและตรวจสอบสภาพพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบภายในรัศมี 5 กิโลเมตรกับ
ข้อกาํ หนดตามพระราชบัญญตั คิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ไดข้ อ้ สรุปว่า หมวดที่ 1 บททั่วไป มาตรา 7 ให้รัฐมนตรีมีอํานาจ
ออกกฎกระทรวง ยกเว้นผ่อนผันหรือกําหนดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วนเก่ียวกับ
อาคารส่ิงปลูกสร้างของหน่วยงานราชการส่วนท้องถ่ินท่ีใช้ในราชการหรือใช้เพ่ือสาธารณประโยชน์ และมาตรา 8 เพ่ือ
ประโยชน์แหง่ ความมน่ั คงแขง็ แรง ความปลอดภัย การปอ้ งกนั อคั คีภัย การสาธารณสุข การรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม การ
ผังเมือง การสถาปัตยกรรมและการอํานวยความสะดวกแก่การจราจร ตลอดจนการอ่ืนที่จําเป็นเพื่อปฏิบัติตามพระราช-
บญั ญตั ิน้ใี ห้รัฐมนตรีโดยคาํ แนะนาํ ของคณะกรรมการควบคมุ อาคารมีอาํ นาจออกกฎกระทรวงกาํ หนด

1) ประเภท ลกั ษณะ แบบ รูปทรง สัดสว่ น ขนาด เนอ้ื ท่ี และที่ต้ังของอาคาร
2) การรบั น้ําหนัก ความตา้ นทาน ความคงทน ตลอดจนลกั ษณะและคุณสมบัตขิ องวสั ดุที่ใช้
3) การรบั น้าํ หนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพืน้ ดนิ ท่ีรองรบั อาคาร
4) แบบและวิธีการเก่ียวกับการติดตั้งระบบ ประปา ก๊าซ ไฟฟ้า เคร่ืองกล ความปลอดภัยเก่ียวกับอัคคีภัย

หรือภยั พบิ ตั ิอยา่ งอื่นและการป้องกนั อันตรายเมื่อมีเหตุชุลมุนวนุ่ วาย
5) แบบและจํานวนของหอ้ งนา้ํ และหอ้ งส้วม
6) ระบบการจัดการเกยี่ วกบั สภาพแวดลอ้ มของอาคาร เช่น ระบบการจัดแสงสว่าง การระบายอากาศ การ

ปรบั อากาศ การฟอกอากาศ การระบายนํา้ การบําบัดน้ําเสยี และการกาํ จัดขยะมลู ฝอยและสิง่ ปฏิกลู
7) ลักษณะ ระดบั ความสูง เน้ือท่ีของที่ว่างภายนอกอาคารหรอื แนวอาคาร
8) ระยะหรือระดับระหว่างอาคารกับอาคารหรือเขตที่ดินของผู้อ่ืนหรือระหว่างอาคารกับถนนตรอก ซอย

ทางเทา้ ทาง หรอื ท่ีสาธารณะ
9) พ้ืนท่หี รือส่ิงท่ีสร้างข้ึนเพื่อใช้เป็นท่ีจอดรถ ท่ีกลับรถและทางเข้าออกของรถสําหรับอาคารบางชนิดหรือ

บางประเภท ตลอดจนลกั ษณะและขนาดของพน้ื ท่หี รือสง่ิ ทส่ี ร้างขึ้นดังกลา่ ว
10) บรเิ วณห้ามกอ่ สรา้ ง ดัดแปลง ร้ือถอน เคล่ือนย้ายและใชห้ รือเปล่ยี นการใชอ้ าคารชนดิ ใดหรือประเภทใด
11) หลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงอื่ นไขในการก่อสรา้ ง ดดั แปลง ร้ือถอน เคลื่อนยา้ ย ใช้หรือเปล่ียนการใชอ้ าคาร
12) หลกั เกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขในการขออนญุ าต การอนญุ าต การต่ออายุใบอนุญาต การโอนใบอนุญาต

การออกใบรับรองและการออกใบแทนตามพระราชบญั ญตั ินี้
13) หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้ดําเนินการผู้ครอบครองอาคารและเจ้าของ

อาคาร
14) คุณสมบัติเฉพาะและลักษณะต้องห้ามของผู้ตรวจสอบ ตลอดจนหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขในการ

ขอขึน้ ทะเบยี นและการเพกิ ถอนการข้ึนทะเบยี นเป็นผตู้ รวจสอบ
15) หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการตรวจสอบอาคาร ติดต้งั และตรวจสอบอุปกรณป์ ระกอบอาคาร
16) ชนิดหรือประเภทของอาคารที่เจ้าของอาคารหรือผู้ครอบครองอาคารหรือผู้ดําเนินการต้องทําการ

ประกันภยั ความรบั ผิดตามกฎหมายต่อชีวิต รา่ งกาย และทรัพย์สนิ ของบุคคลภายนอก

การก่อสร้างใดๆ ในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบภายในรัศมี 5 กิโลเมตรจะต้องยึดตาม
ขอ้ กําหนดตามพระราชบญั ญัติควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 หมวดท่ี 1 บทท่วั ไป มาตรา 7 และมาตรา 8 อยา่ งเครง่ ครัด

จังหวดั พิจิตร 3-15 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพ้นื ทเ่ี มืองพิจติ รและพนื้ ที่โดยรอบ

3.2.6.3 พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535

การตรวจสอบสภาพพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบภายในรัศมี 5 กิโลเมตรให้สอดคล้องกับ
สาระสําคัญท่ีเกย่ี วขอ้ งของพระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ และรักษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 สรปุ ได้ดังนี้

1) หมวด 3 การคุ้มครองส่ิงแวดล้อม
1.1 ส่วนที่ 1 มาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดล้อม ตามมาตรา 32 กําหนดให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดมาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดล้อม ในการ
กําหนดมาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดล้อมตามวรรคหน่ึงจะต้องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์และ
หลักฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นพ้ืนฐานและจะต้องคํานึงถึงความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม
และเทคโนโลยีทีเ่ ก่ยี วขอ้ งและมาตรฐานคุณภาพสงิ่ แวดล้อมที่เก่ียวขอ้ ง ไดแ้ ก่
ก) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นมาตรฐานท่ีได้ปรับปรุงใหม่
ได้แก่
ก.1 ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 10 (พ.ศ. 2538) เร่ืองกําหนด
มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทว่ั ไป
ก.2 ประกาศคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 24 (พ.ศ. 2547) เร่ืองกําหนด
มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่วั ไป
ก.3 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550) เรื่องกําหนด
มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไป
ก.4 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2552) เรื่องกําหนด
มาตรฐานคา่ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศโดยทัว่ ไป
ก.5 ประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2553) เรื่องกําหนด
มาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ในบรรยากาศโดยท่ัวไป
ข) มาตรฐานระดบั เสยี งโดยท่วั ไปกาํ หนดโดยประกาศคณะกรรมสง่ิ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่
15 (พ.ศ. 2540) เรื่องกําหนดมาตรฐานระดับเสยี งโดยทั่วไป
ข.1 ค่าระดับเสียงรบกวนกําหนดโดยประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2550) เรื่องค่าระดับเสียงรบกวน (ยกเลิกประกาศคณะกรรม
ส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 17 (พ.ศ. 2543) เรื่องค่าระดับเสียงรบกวน) และ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กําหนดวิธีการตรวจวัดระดับเสียงพ้ืนฐานและ
ระดับเสียงขณะมีการรบกวน การคํานวณค่าระดับเสียงขณะมีการรบกวนและค่า
ระดบั การรบกวน
ข.2 มาตรฐานความส่ันสะเทือนกําหนดโดยประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2553) เรื่องกําหนดมาตรฐานความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกัน
ผลกระทบต่ออาคาร ซ่ึงกําหนดให้มาตรฐานความส่ันสะเทือนแบ่งอาคารเป็น 3
ประเภทและจุดตรวจวัดท่ีฐานรากหรือชัน้ ล่างของอาคาร ช้นั บนสุดของอาคารและ
พน้ื อาคารในแตล่ ะชัน้ และกาํ หนดความสนั่ สะเทือนเป็น 2 กรณี ทค่ี วามถ่ี (เฮิรตซ์)
แตกต่างกัน

จังหวัดพิจติ ร 3-16 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพของพน้ื ทเี่ มืองพิจติ รและพื้นทีโ่ ดยรอบ

ข.3 มาตรฐานคุณภาพน้ําในแหล่งนํ้าผิวดินตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) เร่ืองกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหล่งนํ้า
ผิวดนิ โดยกําหนดช้ันคณุ ภาพน้ําเป็นระดับ 1-5 ตามวัตถุประสงค์ของการใช้นํ้าดังมี
หลกั เกณฑด์ งั นี้
ข.3.1 ความเหมาะสมต่อการนํามาใช้ประโยชน์ในกิจกรรมแต่ละประเภทกรณี
แหล่งนาํ้ มกี ารใช้ประโยชน์หลายด้าน (Multi Purposes) โดยคํานึงถึงการ
ใช้ประโยชน์หลัก เป็นสําคัญและระดับมาตรฐานไม่ขัดแย้งต่อการใช้
ประโยชน์หลายดา้ นพรอ้ มกนั
ข.3.2 สถานการณ์คุณภาพนํ้าในแหล่งน้ําหลักของประเทศและแนวโน้มของ
คุณภาพนํา้ ท่ีอาจมกี ารเปลย่ี นแปลงเนื่องจาการพัฒนาดา้ นต่างๆ ในอนาคต
ข.3.3 คํานึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของชีวิตมนุษย์และสตั วน์ ้ําสว่ นใหญ่
ข.3.4 ความรู้สึกพึงพอใจในการยอมรับระดับคุณภาพน้ําในเขตต่างๆ ของ
ประชาชนในพืน้ ทลี่ มุ่ นาํ้ หลกั และของประชาชนส่วนใหญ่

ค) มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําท้ิงจากอาคารบางประเภทและบางขนาดตามประกาศ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย
นํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด โดยมีการกําหนดประเภทมาตรฐานควบคุม
การระบายน้ําทิ้งออกเป็น 5 ประเภท คือ ประเภท ก–จ จําแนกตามประเภทของอาคาร
ทีเ่ ปน็ แหลง่ กาํ เนดิ มลพษิ และขนาดของพ้นื ที่ใชส้ อยของอาคาร

1.2 สว่ นที่ 4 การทํารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 46 เพ่ือประโยชน์ในการ
สง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มใหร้ ัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม
แหง่ ชาติมีอํานาจประกาศในราชกจิ จานเุ บกษากําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการ
ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซ่ึงต้องจัดทํารายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมเพ่ือเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา 47 มาตรา 48 และ
มาตรา 49 โดยประกาศตามวรรคหน่ึงใหก้ ําหนดหลักเกณฑว์ ิธีการระเบียบปฏิบตั ิแนวทางการจดั
ทาํ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดจนเอกสารทเี่ ก่ียวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับ
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมสําหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละ
ขนาด โดยกรณีโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใดหรือท่ีจัดต้ังขึ้นในพ้ืนท่ีใดได้มีการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้แล้วและเป็นมาตรฐานท่ีสามารถใช้กับโครงการหรือกิจการ
ประเภทหรือขนาดเดียวกันได้หรือพ้ืนที่ลักษณะเดียวกันได้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้โครงการหรือ
กจิ การในทาํ นองเดียวกันไดร้ บั การยกเวน้ ไม่ต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม
แต่โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ ที่กําหนดไว้ใน
การวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมสําหรับโครงการหรือกิจการน้ันตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
รัฐมนตรีกําหนด

จังหวัดพิจติ ร 3-17 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพ้ืนทีเ่ มอื งพิจิตรและพ้นื ที่โดยรอบ

2) หมวด 4 การควบคุมมลพิษ
2.1 สว่ นท่ี 1 คณะกรรมการควบคมุ มลพษิ กลา่ วถึงองค์กรท่ีมีหน้าท่ีในการบริหารงานควบคุมมลพิษ
คือ คณะกรรมการควบคุมมลพิษโดยเป็นองค์กรท่ีทําหน้าท่ีประสานงานระหว่างส่วนราชการ
รฐั วิสาหกิจและเอกชนเพื่อควบคมุ ป้องกนั ลดหรือขจดั มลพิษ ใหค้ ําแนะนําในการกําหนดประเภท
ของแหล่งกําเนิดมลพิษและมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิด ตลอดจนการเสนอ
แผนปฏิบัตกิ ารเพอ่ื ปอ้ งกันหรือแก้ไขอันตรายอันเกิดจากการแพร่กระจายมลพิษหรือภาวะมลพิษ
และการดําเนินการแก้ไขเพ่ิมเติมหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องต่อคณะกรรมการส่ิงแวดล้อม
แห่งชาติ
2.2 ส่วนที่ 2 มาตรฐานการควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิดตามมาตรา 4 ได้ให้คํานิยามของแหล่ง-
กาํ เนดิ มลพิษว่า “ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สิ่งก่อสร้าง ยานพาหนะ สถานท่ีประกอบ
กิจการใดๆ หรือส่ิงอ่ืนใดซ่ึงเป็นแหล่งท่ีมาของมลพิษ” ซ่ึงการควบคุมการปล่อยมลพิษของ
แหล่งกําเนิดมลพิษ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยคําแนะนํา
ของคณะกรรมการควบคุมมลพิษและความเห็นของคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติมีอํานาจ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในการกําหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิดสําหรับ
ควบคุมการระบายน้ําท้ิง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยท้ิงของเสีย หรือมลพิษอ่ืนใดจาก
แหล่งกําเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมเพ่ือรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามมาตรฐานท่ีกําหนด
ส่วนความเข้มงวดในการควบคมุ หรอื มาตรฐานมีปัจจยั พิจารณาทส่ี าํ คญั 2 สว่ น คอื ประเภทของ
แหล่งกําเนิดมลพษิ และสถานทต่ี ั้งของแหล่งกําเนดิ มลพิษ
2.3 ส่วนที่ 4 มลพิษทางอากาศและเสียงตามมาตรา 68 การควบคุมมลพิษทางอากาศ เสียง และ
ความสั่นสะเทือนจากแหล่งกําเนิดที่ปล่อยหรือก่อให้เกิดมลพิษไม่ให้เกินกว่าระดับมาตรฐาน
ควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิดทก่ี าํ หนดหรือมาตรฐานท่ีส่วนราชการใดๆ กําหนด
2.4 ส่วนท่ี 5 มลพิษทางน้ําตามมาตรา 69 และมาตรา 70 การควบคุมมลพิษทางนํ้ามีการประกาศ
กําหนดประเภทของแหลง่ กาํ เนิดมลพษิ ท่ีจะตอ้ งถกู ควบคุมการปลอ่ ยน้ําทิ้งลงสู่แหล่งน้ําสาธารณะ
หรือออกสู่สิ่งแวดล้อมนอกเขตที่ต้ังแหล่งกําเนิดมลพิษซ่ึงการระบายนํ้าท้ิงจะต้องไม่เกิน
มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกําเนิดท่ีกําหนดตามมาตรา 55 โดยผู้ครอบครองแหล่งกําเนิด
มลพษิ มหี น้าท่ีตอ้ งจดั ใหม้ ีระบบบาํ บดั นํ้าเสยี ตามท่เี จา้ พนกั งานควบคุมมลพษิ กาํ หนด
2.5 ส่วนที่ 6 มลพิษอ่ืนและของเสียอันตรายตามมาตรา 78 การเก็บรวบรวม การขนส่ง และการ
จัดการดว้ ยประการใดๆ เพอ่ื บาํ บัดและขจดั ขยะมูลฝอยให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนั้น
2.6 ส่วนท่ี 7 การตรวจสอบและควบคมุ
ก) บคุ คลทวั่ ไปและองค์กรเอกชนตามพระราชบัญญตั ไิ ดร้ ับรองสิทธขิ องบคุ คลทว่ั ไปใหม้ สี ่วน
ร่วมในการตรวจสอบและควบคุมมลพิษโดยให้มีสิทธ์ิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจาก
ทางราชการในเร่ืองเก่ียวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมสําหรับองค์กร
เอกชนที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติอาจจัดให้มีอาสาสมัครเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติ
งานของเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติน้ี หรือตามกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับการ
ส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม

จงั หวดั พิจติ ร 3-18 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจติ ร การวิเคราะห์และประเมินศักยภาพของพนื้ ทีเ่ มอื งพิจิตรและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ

ข) เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษซึ่งมีระบบบําบัดอากาศเสีย อุปกรณ์หรือ
เครื่องมือสําหรับควบคุมการปล่อยท้ิงอากาศเสียหรือมลพิษอื่น ระบบบําบัดนํ้าเสียหรือ
ระบบกําจัดของเสียเป็นของตนเองมีหน้าที่ต้องเก็บสถิติและข้อมูลซึ่งแสดงผลการทํางาน
ของระบบหรืออุปกรณ์และเคร่ืองมือดังกล่าวในแต่ละวันและจัดทําบันทึกรายละเอียด
เป็นหลักฐานไว้ ณ สถานที่ตั้งแหล่ง กําเนิดมลพิษนั้นและจะต้องจัดทํารายงานสรุปผล
เสนอต่อเจ้าพนักงานท้องถ่ินอย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ังตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแบบท่ี
กาํ หนดในกฎกระทรวงฯ

ค) เจ้าหน้าที่ของรฐั มอี ํานาจหนา้ ท่ีตรวจสอบควบคมุ ดงั นี้
ค.1 เจ้าพนักงานท้องถิ่น หมายถึง นายกเทศมนตรี ประธานสุขาภิบาล ผู้ว่าราชการ
จังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนตําบล มีหน้าที่ตรวจสอบควบคุมมลพิษโดย
เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกําเนิดมลพิษจะต้องส่งรายงานสรุปเดือนละ 1 คร้ัง
เจ้าพนักงานท้องถิ่นยังมีสิทธิที่จะทําความเห็นเสนอเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ
ประกอบรายงานดงั กลา่ วด้วย
ค.2 พนักงานเจ้าหนา้ ทที่ ม่ี อี ํานาจหนา้ ทต่ี รวจสอบควบคมุ มลพษิ จากยานพาหนะ
ค.3 เจา้ พนกั งานควบคมุ มลพิษเป็นผู้มีบทบาทในการตรวจสอบควบคุมมลพิษท่ีสําคัญ
ตามพระราชบัญญัติสง่ เสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

การออกแบบและกอ่ สร้างใดๆ ในพื้นทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ รและพ้ืนที่โดยรอบในรัศมี 5 กิโลเมตรจะต้องยึดให้
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เพ่ือป้องกันแก้ไขหรือลด
ผลกระทบนั้นๆ ท่อี าจเกดิ ขึน้ จากการพัฒนาโครงการ

3.2.6.4 กฎกระทรวงกาํ หนดการรบั น้าํ หนัก ความตา้ นทาน ความคงทนของอาคาร และพนื้ ดินท่รี องรับอาคาร
ในการต้านทานแรงสนั่ สะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

การออกแบบและก่อสร้างใดๆ ในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบในรัศมี 5 กิโลเมตรไม่ต้อง

พิจารณาให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงกําหนดการรับนํ้าหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพื้นดินท่ีรองรับ

อาคารในการตา้ นทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550 ออกความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

เพราะพน้ื ทอี่ ทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ รและพืน้ ทโี่ ดยรอบฯ อยนู่ อกเขตประกาศตามกฎกระทรวงฯ ทไ่ี ดก้ าํ หนดพ้ืนท่เี ส่ียงดังนี้

พื้นทเ่ี ส่ียงต่อแผน่ ดินไหว ความหมาย

บริเวณเฝ้าระวัง พื้นที่หรือบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดชุมพร

จังหวัดพงั งา จังหวดั ภเู ก็ต จังหวัดระนอง จงั หวัดสงขลา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

บรเิ วณที่ 1 พ้ืนท่ีหรือบริเวณท่ีเป็นดินอ่อนมากท่ีอาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวระยะไกล ได้แก่

กรุงเทพมหานคร จังหวดั นนทบรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธานี จงั หวดั สมุทรปราการ จงั หวดั สมทุ รสาคร

บริเวณที่ 2 พ้ืนท่ีหรือบริเวณท่ีอยู่ใกล้รอยเลื่อนที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว ได้แก่ จังหวัด

กาญจนบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา

จังหวดั แพร่ จงั หวดั แม่ฮ่องสอน จงั หวัดลําปาง จงั หวัดลําพูน

จงั หวัดพิจติ ร 3-19 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การวิเคราะห์และประเมนิ ศักยภาพของพ้ืนท่ีเมอื งพจิ ติ รและพ้ืนทีโ่ ดยรอบ

แต่การพิจารณาการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กของอาคารใดๆ พื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและ
พื้นท่ีโดยรอบฯ จะพิจารณากําหนดใช้ CODE ACI 318M-99 (ULTIMATE DESIGN) และการออกแบบโครงสร้างเหล็ก
รูปพรรณกําหนดใช้ CODE AISC ASD01 (WORKING STRESS DESIGN) และข้อกําหนดความปลอดภัย ได้แก่ Wu =
1.4D+1.7L; Wu = 0.9D+1.3W; Wu = 0.75(1.4D+1.7L)+1.40E; Wu = 0.9D+1.43E; Wu = 1.4D+1.7L+1.7H; Wu
= 0.75(1.4D+1.7L+1.7W)

3.2.6.5 กฎกระทรวงกาํ หนดสิง่ อํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผ้พู กิ ารหรอื ทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548

เน่ืองจากการก่อสร้างใดๆ ในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบฯ จะเป็นอาคารของส่วนราชการที่
จัดต้ังขึ้นตามกฎหมายที่มีพื้นที่ส่วนใดของอาคารท่ีเปิดให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเกิน 300 ตร.ม. จะต้องดําเนินการ
ออกแบบและก่อสร้างตามกฎกระทรวงกําหนดส่ิงอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา
พ.ศ. 2548 ตามข้อ 3 ยกตวั อย่างเช่น

หมวด 1 ป้ายแสดงสิง่ อํานวยความสะดวก
ข้อ 4 อาคารตามข้อ 3 ต้องจัดให้มีป้ายแสดงส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผู้พิการหรือทุพพล-
ภาพและคนชราตามสมควร โดยมรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) สัญลกั ษณร์ ูปผู้พิการ
(2) เคร่ืองหมายแสดงทางไปสู่ส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ
และคนชรา
(3) สัญลักษณ์ หรือตัวอักษรแสดงประเภทของส่ิงอํานวยความสะดวกสําหรับผู้พิการ
หรอื ทพุ พลภาพและคนชรา
ขอ้ 5 สัญลักษณ์รูปผู้พิการ เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผู้พิการ
หรือทุพพลภาพและคนชราและสัญลักษณ์หรือตัวอักษรแสดงประเภทของส่ิงอํานวย
ความสะดวกสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราตามข้อ 4 ให้เป็นสีขาวโดยพ้ืน
ปา้ ยเป็นสนี า้ํ เงนิ หรอื เป็นสีนํ้าเงินโดยพ้ืนป้ายเปน็ สขี าว
ข้อ 6 ป้ายแสดงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราต้องมีความ
ชัดเจน มองเห็นได้ง่าย ติดอยู่ในตําแหน่งท่ีไม่ทําให้สับสนและต้องจัดให้มีแสงส่องสว่าง
เป็นพเิ ศษทง้ั กลางวันและกลางคืน

หมวด 2 ทางลาดและลิฟต์
ขอ้ 7 อาคารตามข้อ 3 หากระดับพ้ืนภายในอาคาร หรือระดับพื้นภายในอาคารกับภายนอก
อาคาร หรือระดับพื้นทางเดินภายนอกอาคารมีความต่างระดับกันเกิน 20 มิลลิเมตรให้มี
ทางลาดหรือลิฟต์ระหว่างพื้นที่ต่างระดับกัน แต่ถ้ามีความต่างระดับกันไม่เกิน 20
มลิ ลเิ มตร ต้องปาดมมุ พนื้ ส่วนทต่ี า่ งระดบั กันไม่เกิน 45 องศา
ขอ้ 8 ทางลาดให้มีลักษณะดงั ต่อไปนี้
(1) พื้นผวิ ทางลาดตอ้ งเป็นวัสดทุ ีไ่ มล่ ่นื
(2) พน้ื ผวิ ของจดุ ตอ่ เน่ืองระหว่างพ้นื กบั ทางลาดต้องเรยี บไมส่ ะดุด

จงั หวัดพิจติ ร 3-20 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การวิเคราะห์และประเมนิ ศักยภาพของพนื้ ที่เมอื งพิจิตรและพ้ืนทีโ่ ดยรอบ

(3) ความกวา้ งสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร กรณีท่ีทางลาดมีความยาวของทุกช่วง
รวมกันตั้งแต่ 6,000 มิลลิเมตรขึ้นไปต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500
มิลลเิ มตร

(4) มีพ้ืนท่หี น้าทางลาดเปน็ ท่ีว่างยาวไมน่ อ้ ยกวา่ 1,500 มลิ ลเิ มตร
(5) ทางลาดต้องมีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไม่เกิน 6,000

มิลลิเมตร ในกรณีท่ีทางลาดยาวเกิน 6,000 มิลลิเมตรต้องจัดให้มีชานพักยาวไม่
นอ้ ยกวา่ 1,500 มลิ ลเิ มตรคน่ั ระหว่างแต่ละช่วงของทางลาด
(6) ทางลาดด้านท่ีไม่มีผนังกั้นให้ยกขอบสูงจากพ้ืนผิวของทางลาดไม่น้อยกว่า 50
มิลลิเมตร และมีราวกันตก
(7) ทางลาดที่มีความยาวต้ังแต่ 2,500 มิลลิเมตรข้ึนไปต้องมีราวจับทั้งสองด้านโดยมี
ลักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี
(ก) ทําดว้ ยวัสดเุ รยี บ มีความม่ันคงแข็งแรง ไม่เปน็ อนั ตรายในการจับและไมล่ นื่
(ข) มีลักษณะกลม โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร แต่ไม่

เกนิ 40 มลิ ลิเมตร
(ค) สงู จากพืน้ ไมน่ ้อยกวา่ 800 มลิ ลิเมตร แต่ไมเ่ กนิ 900 มลิ ลเิ มตร
(ง) ราวจับด้านท่ีอยู่ติดผนังให้มีระยะห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร มี

ความสูงจากจุดยึดไม่น้อยกว่า 120 มิลลิเมตร และผนังบริเวณราวจับต้อง
เป็นผนังเรยี บ
(จ) ราวจบั ตอ้ งยาวตอ่ เนอื่ งและส่วนท่ยี ดึ ตดิ กบั ผนังจะต้องไม่กีดขวางหรือเป็น
อุปสรรคต่อการใช้ของคนพกิ ารทางการมองเหน็
(ฉ) ปลายของราวจบั ให้ยน่ื เลยจากจดุ เร่ิมตน้ และจุดส้ินสุดของทางลาดไม่น้อย
กว่า 300 มลิ ลิเมตร
(8) มีป้ายแสดงทิศทาง ตําแหน่งหรือหมายเลขช้ันของอาคารที่คนพิการทางการมอง
เห็นและคนชราสามารถทราบความหมายได้ ต้ังอยู่บริเวณทางขึ้นและทางลงของ
ทางลาดทเี่ ชอ่ื มระหวา่ งช้ันของอาคาร
(9) ให้มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ในบริเวณทางลาดที่จัดไว้ให้แก่ผู้พิการหรือทุพพล-
ภาพและคนชรา
ข้อ 9 อาคารตามข้อ 3 ที่มีจํานวนชั้นต้ังแต่สองชั้นขึ้นไปต้องจัดให้มีลิฟต์หรือทางลาดที่ผู้พิการ
หรือทุพพลภาพและคนชราใช้ได้ระหว่างชั้นของอาคาร ลิฟต์ท่ีผู้พิการหรือทุพพลภาพ
และคนชราใช้ได้ต้องสามารถข้ึนลงได้ทุกช้ัน มีระบบควบคุมลิฟต์ท่ีผู้พิการหรือทุพพล-
ภาพและคนชราสามารถควบคุมได้เอง ใช้งานได้อย่างปลอดภัยและจัดไว้ในบริเวณที่ผู้
พิการหรือทุพพลภาพและคนชราสามารถใช้ได้สะดวกให้มีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ที่
ชอ่ งประตูด้านนอกของลิฟต์ทจ่ี ัดไวใ้ ห้ผู้พิการหรอื ทุพพลภาพและคนชราใช้ได้
ขอ้ 10 ลิฟต์ท่ีผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราใช้ได้ที่มีลักษณะเป็นห้องลิฟต์ต้องมีลักษณะ
ดงั ต่อไปน้ี

จงั หวดั พิจิตร 3-21 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพของพ้นื ท่ีเมอื งพิจติ รและพนื้ ท่ีโดยรอบ

หมวด 3 (1) ขนาดของหอ้ งลิฟต์ตอ้ งมีความกวา้ งไม่น้อยกว่า 1,100 มลิ ลิเมตร และยาวไม่น้อย
กว่า 1,400 มลิ ลิเมตร

(2) ช่องประตูลิฟต์ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และต้องมีระบบ
แสงเพอ่ื ป้องกันไม่ใหป้ ระตูลิฟต์หนีบผูโ้ ดยสาร

(3) มีพื้นผิวต่างสัมผัสบนพื้นบริเวณหน้าประตูลิฟต์กว้าง 300 มิลลิเมตร และยาว
900 มลิ ลิเมตรซงึ่ อย่หู ่างจากประตลู ิฟต์ไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตรแต่ไม่เกิน 600
มิลลเิ มตร

(4) ปุ่มกดเรียกลิฟต์ ปุ่มบังคับลิฟต์และปุ่มสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินต้องมีลักษณะ
ดังตอ่ ไปน้ี
(ก) ป่มุ ลา่ งสุดอยูส่ งู จากพ้นื ไม่น้อยกวา่ 900 มิลลิเมตร ปุ่มบนสดุ อยู่สูงจากพ้ืน
ไม่เกินกว่า 1,200 มิลลิเมตร และห่างจากมุมภายในห้องลิฟต์ไม่น้อยกว่า
400 มิลลิเมตร ในกรณีท่ีห้องลิฟต์มีขนาดกว้างและยาวน้อยกว่า 1,500
มลิ ลิเมตร
(ข) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร มีอักษรเบรลล์กํากับ
ไว้ทกุ ป่มุ เม่ือกดปุ่มจะต้องมเี สยี งดงั และมีแสง
(ค) ไม่มสี ง่ิ กดี ขวางบรเิ วณที่กดปุ่มลฟิ ต์

(5) มีราวจับโดยรอบภายในลิฟต์โดยราวมีลักษณะตามท่ีกําหนดในข้อ 8 (7) (ก) (ข)
(ค) (ง)

(6) มตี ัวเลขและเสยี งบอกตาํ แหน่งชัน้ ตา่ งๆ เมอ่ื ลิฟต์หยดุ และขน้ึ หรอื ลง
(7) มีป้ายแสดงหมายเลขชั้นและแสดงทิศทางบริเวณโถงหน้าประตูลิฟต์และติดอยู่ใน

ตาํ แหนง่ ทเี่ หน็ ไดช้ ดั เจน
(8) ในกรณีท่ีลิฟต์ขัดข้องให้มีทั้งเสียงและแสงไฟเตือนภัยเป็นไฟกะพริบสีแดงเพื่อให้

คนพิการทางการมองเห็นและคนพิการทางการได้ยินทราบและให้มีไฟกะพริบ
สีเขียวเป็นสัญญาณให้คนพิการทางการได้ยินได้ทราบว่าผู้ท่ีอยู่ข้างนอกรับทราบ
ว่าลิฟตข์ ดั ขอ้ งและกําลังใหค้ วามชว่ ยเหลอื อยู่
(9) มโี ทรศพั ทแ์ จ้งเหตฉุ กุ เฉินภายในลฟิ ต์ซึง่ สามารถติดต่อกับภายนอกได้ โดยต้องอยู่
สงู จากพ้นื ไมน่ อ้ ยกว่า 900 มิลลเิ มตร แต่ไมเ่ กนิ 1,200 มลิ ลเิ มตร
(10) มีระบบการทํางานที่ทําให้ลิฟต์เล่ือนมาอยู่ตรงที่จอดช้ันระดับพื้นดินและประตู
ลฟิ ตต์ ้องเปิดโดยอตั โนมตั ิเมอ่ื ไฟฟา้ ดับ
บันได
ข้อ 11 อาคารตามขอ้ 3 ต้องจดั ใหม้ บี นั ไดทีผ่ ู้พกิ ารหรอื ทุพพลภาพและคนชราใช้ได้อย่างน้อยช้นั
ละ 1 แห่ง โดยต้องมลี ักษณะดงั ต่อไปน้ี
(1) มคี วามกวา้ งสทุ ธไิ ม่นอ้ ยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
(2) มีชานพักทกุ ระยะในแนวดง่ิ ไม่เกนิ 2,000 มลิ ลิเมตร
(3) มีราวบนั ไดทั้งสองข้าง โดยใหร้ าวมีลกั ษณะตามท่ีกําหนดในข้อ 8 (7)

จงั หวัดพิจติ ร 3-22 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพื้นทเี่ มอื งพิจิตรและพนื้ ทโ่ี ดยรอบ

หมวด 4 (4) ลูกต้ังสูงไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนท่ีขั้นบันไดเหล่ือมกันออกแล้ว
หมวด 5 เหลอื ความกวา้ งไมน่ ้อยกว่า 280 มลิ ลิเมตร และมีขนาดสมํา่ เสมอตลอดช่วงบนั ได
ในกรณีที่ข้ันบันไดเหลื่อมกันหรือมีจมูกบันไดให้มีระยะเหลื่อมกันได้ไม่เกิน 20
มิลลเิ มตร

(5) พน้ื ผวิ ของบันไดตอ้ งใช้วัสดุท่ีไม่ลน่ื
(6) ลกู ตัง้ บันไดห้ามเปิดเป็นช่องโลง่
(7) มีป้ายแสดงทิศทาง ตําแหน่ง หรือหมายเลขช้ันของอาคารท่ีคนพิการทางการ

มองเห็นและคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตั้งอยู่บริเวณทางข้ึนและทางลง
ของบนั ไดทีเ่ ชอื่ มระหว่างช้นั ของอาคาร
ท่จี อดรถ
ข้อ 12 อาคารตามข้อ 3 ต้องจัดให้มีที่จอดรถสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราอย่าง
นอ้ ยตามอตั ราส่วนดงั นี้
(1) ถ้าจํานวนท่ีจอดรถต้ังแต่ 10 คัน แต่ไม่เกิน 50 คัน ให้มีท่ีจอดรถสําหรับผู้พิการ
หรือทพุ พลภาพและคนชราอย่างน้อย 1 คัน
(2) ถ้าจํานวนท่ีจอดรถตั้งแต่ 51 คัน แต่ไม่เกิน 100 คัน ให้มีท่ีจอดรถสําหรับผู้พิการ
หรือทพุ พลภาพและคนชราอยา่ งน้อย 2 คนั
(3) ถ้าจํานวนที่จอดรถตั้งแต่ 101 คันข้ึนไปให้มีท่ีจอดรถสําหรับผู้พิการหรือทุพพล-
ภาพและคนชราอย่างน้อย 2 คัน และเพิ่มข้ึนอีก 1 คัน สําหรับทุกๆ จํานวนรถ
100 คันทีเ่ พิ่มข้นึ เศษของ 100 คัน ถ้าเกินกว่า 50 คนั ใหค้ ิดเปน็ 100 คัน
ขอ้ 13 ท่ีจอดรถสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราให้จัดไว้ใกล้ทางเข้าออกอาคารให้มาก
ท่ีสุด มีลักษณะไม่ขนานกับทางเดินรถ มีพ้ืนผิวเรียบ มีระดับเสมอกันและมีสัญลักษณ์รูป
ผู้พิการนั่งเก้าอี้ล้ออยู่บนพ้ืนของท่ีจอดรถด้านท่ีติดกับทางเดินรถมีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า
900 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร มีป้ายขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 300
มลิ ลเิ มตรและยาวไม่นอ้ ยกว่า 300 มลิ ลิเมตรตดิ อย่สู งู จากพ้ืนไม่น้อยกว่า 2,000 มิลลิเมตร
ในตําแหนง่ ที่เห็นได้ชัดเจน
ข้อ 14 ที่จอดรถสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราต้องเป็นพื้นที่สี่เหล่ียมผืนผ้ากว้างไม่
น้อยกว่า 2,400 มิลลิเมตรและยาวไม่น้อยกว่า 6,000 มิลลิเมตรและจัดให้มีท่ีว่างข้างท่ี
จอดรถกว้างไม่น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตรตลอดความยาวของท่ีจอดรถโดยท่ีว่างดังกล่าว
ตอ้ งมีลักษณะพืน้ ผวิ เรียบและมรี ะดับเสมอกบั ทจ่ี อดรถ
ทางเข้าอาคาร ทางเดินระหวา่ งอาคาร และทางเช่ือมระหวา่ งอาคาร
ข้อ 15 อาคารตามข้อ 3 ต้องจัดให้มีทางเข้าอาคารเพื่อให้ผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราเข้า
ใชไ้ ดโ้ ดยมีลักษณะดงั ต่อไปน้ี
(1) เป็นพื้นผิวเรียบเสมอกัน ไม่ลื่น ไม่มีสิ่งกีดขวาง หรือส่วนของอาคารยื่นล้ําออกมา
เป็นอปุ สรรคหรืออาจทําให้เกิดอนั ตรายต่อผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพและคนชรา
(2) อยู่ในระดับเดียวกับพ้ืนถนนภายนอกอาคารหรือพื้นลานจอดรถ ในกรณีที่อยู่ต่าง
ระดบั ต้องมีทางลาดทีส่ ามารถขน้ึ ลงได้สะดวก และทางลาดนีใ้ หอ้ ยู่ใกล้ทจี่ อดรถ

จงั หวัดพิจิตร 3-23 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพของพน้ื ทเ่ี มืองพิจติ รและพ้ืนที่โดยรอบ

หมวด 6 ข้อ 16 ในกรณีที่มีอาคารตามข้อ 3 หลายอาคารอยภู่ ายในบริเวณเดียวกันท่ีมีการใช้อาคารร่วมกัน
จะมีรั้วล้อมหรือไม่ก็ตามต้องจัดให้มีทางเดินระหว่างอาคารนั้นและจากอาคารแต่ละ
อาคารนั้นไปสู่ทางสาธารณะ ลานจอดรถหรืออาคารที่จอดรถทางเดินตามวรรคหนึ่งต้อง
มีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) พน้ื ทางเดนิ ตอ้ งเรยี บ ไมล่ ่ืน และมีความกว้างสุทธไิ ม่น้อยกวา่ 1,500 มลิ ลิเมตร
(2) หากมีท่อระบายนํ้าหรือรางระบายนํ้าบนพ้ืนต้องมีฝาปิดสนิท ถ้าฝาเป็นแบบ
ตะแกรงหรือแบบรตู ้องมีขนาดของช่องตะแกรงหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของรูกว้าง
ไมเ่ กนิ 13 มลิ ลิเมตรแนวร่องหรือแนวของรางจะต้องขวางกับแนวทางเดนิ
(3) ในบริเวณทเี่ ป็นทางแยกหรอื ทางเล้ียวให้มีพื้นผิวตา่ งสมั ผัส
(4) ในกรณีที่มีสิ่งกีดขวางท่ีจําเป็นบนทางเดินต้องจัดให้อยู่ในแนวเดียวกัน โดยไม่กีด
ขวางทางเดิน และจัดให้มีพ้ืนผิวต่างสัมผัสหรือมีการกั้นเพ่ือให้ทราบก่อนถึงส่ิงกีด
ขวาง และอย่หู ่างสงิ่ กีดขวางไมน่ ้อยกว่า 300 มลิ ลิเมตร
(5) ปา้ ยหรือสิง่ อนื่ ใดทแี่ ขวนอยู่เหนอื ทางเดินต้องมีความสงู จากพื้นทางเดินไม่น้อยกว่า
2,000 มลิ ลิเมตร
(6) ในกรณที พ่ี ื้นทางเดนิ กับพืน้ ถนนมรี ะดบั ต่างกนั ใหม้ ีพนื้ ลาดที่มคี วามลาดชันไม่เกิน
1:10 ข้อ 17 อาคารตามข้อ 3 ทม่ี ที างเช่อื มระหว่างอาคารตอ้ งมีผนังหรือราวกันตก
ท้ังสองด้านโดยมีราวจับซ่ึงมีลักษณะตามข้อ 8 (7) (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ) ท่ีผนัง
หรือราวกนั ตกนน้ั และมที างเดินซ่งึ มีลกั ษณะตามขอ้ 16 (1) (2) (3) (4) และ (5)

ประตู
ข้อ 18 ประตูของอาคารตามขอ้ 3 ตอ้ งมลี กั ษณะดังต่อไปนี้

(1) เปดิ ปดิ ได้งา่ ย
(2) หากมีธรณีประตู ความสูงของธรณีประตูต้องไม่เกินกว่า 20 มิลลิเมตร และให้

ขอบทง้ั สองดา้ นมคี วามลาดเอียงไม่เกิน 45 องศา เพื่อให้เก้าอ้ีล้อหรือผู้พิการหรือ
ทุพพลภาพและคนชราทใ่ี ชอ้ ุปกรณ์ช่วยเดินสามารถข้ามไดส้ ะดวก
(3) ช่องประตตู ้องมีความกว้างสุทธิไมน่ อ้ ยกวา่ 900 มิลลเิ มตร
(4) ในกรณีที่ประตูเป็นแบบบานเปิดผลักเข้าออก เมื่อเปิดออกสู่ทางเดินหรือระเบียง
ตอ้ งมีพนื้ ท่วี ่างขนาดกวา้ งไมน่ ้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรและยาวไมน่ อ้ ยกว่า 1,500
มลิ ลิเมตร
(5) ในกรณีท่ีประตูเป็นแบบบานเล่ือนหรือแบบบานเปิดให้มีมือจับที่มีขนาดเท่ากับ
ราวจับตามข้อ 8 (7) (ข) ในแนวด่ิงทั้งด้านในและด้านนอกของประตูซ่ึงมีปลาย
ด้านบนสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตร และปลายด้านล่างไม่เกิน 800
มิลลิเมตร ในกรณีท่ีเป็นประตูบานเปิดออกให้มีราวจับตามแนวนอนด้านในประตู
และในกรณีท่ีเป็นประตูบานเปิดเข้าให้มีราวจับตามแนวนอนด้านนอกประตูราว
จับดังกล่าวให้สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 800 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร
ยาวไปตามความกว้างของประตู

จังหวัดพิจิตร 3-24 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศักยภาพของพ้ืนท่ีเมอื งพิจติ รและพ้ืนทโ่ี ดยรอบ

หมวด 7 (6) ในกรณีท่ีประตูเป็นกระจกหรือลูกฟักเป็นกระจกให้ติดเครื่องหมายหรือแถบสีที่
สงั เกตเห็นไดช้ ดั

(7) อุปกรณ์เปิดปิดประตูต้องเป็นชนิดก้านบิดหรือแกนผลักอยู่สูงจากพื้นไม่น้อยกว่า
1,000 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร ประตูตามวรรคหน่ึงต้องไม่ติดตั้ง
อุปกรณ์ชนิดที่บังคับให้บานประตูปิดได้เองท่ีอาจทําให้ประตูหนีบหรือกระแทก
ผู้พกิ ารหรอื ทุพพลภาพและคนชรา

ขอ้ 19 ขอ้ กาํ หนดตามขอ้ 18 ไมใ่ ช้บังคบั กบั ประตหู นีไฟและประตเู ปดิ ปดิ โดยใช้ระบบอตั โนมัติ
หอ้ งส้วม
ขอ้ 20 อาคารตามขอ้ 3 ทจี่ ัดให้มหี อ้ งสว้ มสําหรับบคุ คลท่ัวไปตอ้ งจัดใหม้ หี อ้ งสว้ มสําหรับผู้พิการ

หรือทุพพลภาพและคนชราเข้าใช้ได้อย่างน้อย 1 ห้องในห้องส้วมนั้นหรือจะจัดแยกออก
มาอยู่ในบริเวณเดียวกันกับห้องส้วมสําหรับบุคคลทั่วไปก็ได้สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง
ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิงต้องจัดให้มีห้องส้วมสําหรับผู้พิการหรือ
ทพุ พลภาพและคนชราเขา้ ใช้ไดอ้ ย่างน้อย 1 ห้อง
ขอ้ 21 หอ้ งสว้ มสาํ หรับผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพและคนชราต้องมลี ักษณะดงั ต่อไปนี้
(1) มีพื้นท่ีว่างภายในห้องส้วมเพื่อให้เก้าอ้ีล้อสามารถหมุนตัวกลับได้ซึ่งมีเส้นผ่าน

ศนู ยก์ ลางไมน่ อ้ ยกวา่ 1,500 มิลลิเมตร
(2) ประตูของห้องท่ีตั้งโถส้วมเป็นแบบบานเปิดออกสู่ภายนอกโดยต้องเปิดค้างได้ไม่

น้อยกว่า 90 องศาหรือเป็นแบบบานเล่ือนและมีสัญลักษณ์รูปผู้พิการติดไว้ที่ประตู
ด้านหน้าห้องส้วมลักษณะของประตูนอกจากท่ีกล่าวมาข้างต้นให้เป็นไปตามที่
กาํ หนดในหมวด 6
(3) พื้นห้องส้วมต้องมีระดับเสมอกับพ้ืนภายนอก ถ้าเป็นพ้ืนต่างระดับต้องมีลักษณะ
เปน็ ทางลาดตามหมวด 2 และวสั ดปุ ูพ้ืนหอ้ งส้วมตอ้ งไม่ลน่ื
(4) พ้ืนหอ้ งส้วมต้องมีความลาดเอียงเพยี งพอไปยังช่องระบายนํ้าท้ิงเพ่อื จะไม่ให้มีนํ้าขัง
บนพน้ื
(5) มีโถส้วมชนิดนั่งราบ สูงจากพ้ืนไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 มิลลิ-
เมตร มีพนักพิงหลังที่ให้ผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราที่ไม่สามารถนั่งทรงตัว
ได้เองใช้พงิ ไดแ้ ละที่ปล่อยนา้ํ เป็นชนิดคนั โยก ปุ่มกดขนาดใหญ่หรือชนิดอ่ืนท่ีผู้พิการ
หรือทุพพลภาพและคนชราสามารถใชไ้ ดอ้ ย่างสะดวก มดี ้านขา้ งด้านหน่ึงของโถส้วม
อยชู่ ดิ ผนังโดยมีระยะห่างวัดจากกึ่งกลางโถส้วมถึงผนังไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร
แต่ไม่เกิน 500 มิลลิเมตรต้องมีราวจับท่ีผนัง ส่วนด้านที่ไม่ชิดผนังให้มีที่ว่างมาก
พอท่ีผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราที่น่ังเก้าอี้ล้อสามารถเข้าไปใช้โถส้วมได้
โดยสะดวก ในกรณีท่ีด้านข้างของโถส้วมทั้งสองด้านอยู่ห่างจากผนังเกิน 500
มลิ ลิเมตรต้องมรี าวจบั ทีม่ ีลกั ษณะตาม (7)
(6) มีราวจับบริเวณด้านที่ชิดผนังเพื่อช่วยในการพยุงตัว เป็นราวจับในแนวนอนและ
แนวด่งิ โดยมีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้

จงั หวดั พิจิตร 3-25 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพน้ื ที่เมอื งพิจิตรและพน้ื ทโี่ ดยรอบ

(ก) ราวจับในแนวนอนมีความสูงจากพ้ืนไม่น้อยกว่า 650 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน
700 มิลลิเมตร และให้ย่ืนล้ําออกมาจากด้านหน้าโถส้วมอีกไม่น้อยกว่า
250 มลิ ลิเมตร แต่ไมเ่ กิน 300 มลิ ลเิ มตร

(ข) ราวจับในแนวด่ิงต่อจากปลายของราวจับในแนวนอนด้านหน้าโถส้วมมี
ความยาววัดจากปลายของราวจับในแนวนอนข้ึนไปอย่างน้อย 600 มิลลิ-
เมตร ราวจับตาม (6) (ก) และ (ข) อาจเป็นราวตอ่ เนื่องกนั กไ็ ด้

(7) ด้านข้างโถส้วมด้านที่ไม่ชิดผนังให้มีราวจับติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบเมื่อ
กางออกให้มีระบบล็อกท่ีผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราสามารถปลดล็อกได้
ง่าย มีระยะห่างจากขอบของโถส้วมไม่น้อยกว่า 150 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 200
มลิ ลเิ มตร และมคี วามยาวไมน่ อ้ ยกวา่ 550 มลิ ลเิ มตร

(8) นอกเหนือจากราวจับตาม (6) และ (7) ต้องมีราวจับเพ่ือนําไปสู่สุขภัณฑ์อื่นๆ
ภายในห้องส้วม มีความสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 800 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 900
มลิ ลเิ มตร

(9) ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงให้ผู้ที่อยู่ภายนอกแจ้งภัยแก่ผู้พิการ
หรือทุพพลภาพและคนชราและระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงให้ผู้พิการหรือ
ทุพพลภาพและคนชราสามารถแจ้งเหตุหรือเรียกหาผู้ช่วยในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน
ไวใ้ นห้องสว้ มโดยมปี ุ่มกดหรือปมุ่ สมั ผัสให้สัญญาณทํางานซึ่งติดตั้งอยู่ในตําแหน่งที่
ผพู้ ิการหรือทุพพลภาพและคนชราสามารถใชง้ านได้สะดวก

(10) มอี า่ งล้างมือโดยมลี ักษณะดงั ต่อไปนี้
(ก) ใต้อ่างล้างมือด้านที่ติดผนังไปจนถึงขอบอ่างเป็นที่ว่างเพ่ือให้เก้าอ้ีล้อ
สามารถสอดเข้าไปได้ โดยขอบอ่างจะอยู่ห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 450
มิลลเิ มตร และต้องอยู่ในตําแหน่งท่ีผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราเข้า
ประชิดไดโ้ ดยไม่มสี ง่ิ กดี ขวาง
(ข) มีความสูงจากพ้ืนถึงขอบบนของอ่างไม่น้อยกว่า 750 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน
800 มิลลิเมตรและมีราวจับในแนวนอนแบบพับเก็บได้ในแนวดิ่งท้ังสอง
ข้างของอ่าง
(ค) ก๊อกนาํ้ เปน็ ชนดิ กา้ นโยกหรอื กา้ นกดหรือกา้ นหมุนหรอื ระบบอัตโนมัติ

ข้อ 22 ในกรณีท่ีห้องส้วมสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราอยู่ภายในห้องส้วมที่จัดไว้
สําหรับบุคคลท่ัวไปและมีทางเข้าก่อนถึงตัวห้องส้วม ต้องจัดให้ห้องส้วมสําหรับผู้พิการ
หรือทุพพลภาพและคนชราอยู่ในตําแหน่งท่ีผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราสามารถ
เข้าถึงได้โดยสะดวกห้องส้วมสําหรับบุคคลทั่วไปตามวรรคหนึ่ง หากได้จัดสําหรับผู้ชาย
และผ้หู ญงิ ตา่ งหากจากกันให้มีอักษรเบรลล์แสดงให้รวู้ า่ เป็นห้องส้วมชายหรอื หญงิ ตดิ ไวท้ ี่
ผนังขา้ งทางเข้าในตําแหน่งทส่ี ามารถสมั ผสั ไดด้ ้วย

ขอ้ 23 ในกรณีท่ีเป็นห้องส้วมสําหรับผู้ชายท่ีมิใช่ห้องส้วมสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและ
คนชราตามขอ้ 20 และขอ้ 21 ให้มที ถี่ า่ ยปัสสาวะท่มี ีระดบั เสมอพื้นอย่างนอ้ ย 1 ที่ โดยมี
ราวจับในแนวนอนอยู่ด้านบนของที่ถ่ายปัสสาวะยาวไม่น้อยกว่า 500 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน

จังหวดั พิจิตร 3-26 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การวิเคราะห์และประเมนิ ศักยภาพของพน้ื ท่เี มอื งพิจติ รและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ

หมวด 8 600 มิลลเิ มตร มคี วามสูงจากพื้นไมน่ ้อยกวา่ 1,200 มลิ ลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,300 มิลลิเมตร
และมีราวจับด้านข้างของท่ีถ่ายปัสสาวะทั้งสองข้างมีความสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 800
มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ซึ่งย่ืนออกมาจากผนังไม่น้อยกว่า 550 มิลลิเมตร
แตไ่ ม่เกิน 600 มลิ ลเิ มตร
ขอ้ 24 ราวจับหอ้ งส้วมใหม้ ีลกั ษณะตามท่กี าํ หนดในขอ้ 8 (7) (ก) และ (ข)
พนื้ ผิวตา่ งสัมผสั
ข้อ 25 อาคารตามข้อ 3 ต้องจัดให้มีพ้ืนผิวต่างสัมผัสสําหรับคนพิการทางการมองเห็นที่พ้ืน
บริเวณต่างระดับท่ีมีระดับต่างกันเกิน 200 มิลลิเมตร ท่ีทางข้ึนและทางลงของทางลาด
หรือบันไดท่ีพ้ืนด้านหน้าและด้านหลังประตูทางเข้าอาคารและที่พ้ืนด้านหน้าของประตู
ห้องส้วมโดยมีขนาดกว้าง 300 มิลลิเมตรและมีความยาวเท่ากับและขนานไปกับความ
กว้างของช่องทางเดินของพ้ืนต่างระดับทางลาด บันไดหรือประตูและขอบของพ้ืนผิวต่าง
สัมผัสอยู่ห่างจากจุดเร่ิมต้นของทางขึ้นหรือทางลงของพ้ืนต่างระดับ ทางลาด บันไดหรือ
ประตูไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตรแต่ไม่เกิน 350 มิลลิเมตร ในกรณีของสถานีขนส่ง
มวลชนให้ขอบนอกของพ้ืนผิวต่างสัมผัสอยู่ห่างจากขอบของชานชาลาไม่น้อยกว่า 600
มลิ ลเิ มตร แต่ไม่เกนิ กวา่ 650 มิลลเิ มตร

3.2.6.6 พระราชบญั ญัติโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวัตถุ และพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
(แก้ไขเพมิ่ เตมิ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535)

กฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใช้บังคับมายาวนาน แต่มีการ
แก้ไขครง้ั หลงั สุดในปี พ.ศ. 2535 และมีผลใช้บังคับอยู่ในปจั จุบนั คอื “พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ
และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535” มสี าระสาํ คญั ดงั นี้

1) อํานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ
และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535) กําหนดอํานาจหน้าที่
ของพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ดี ังนี้
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายถึง ผู้ซ่ึงดํารงตําแหน่งที่รัฐมนตรีได้แต่งตั้งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ
โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2
พ.ศ. 2535) ในการปฏบิ ัติหน้าท่ีพนกั งานเจา้ หน้าที่ดงั กลา่ วเป็นเจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 10 ทวิ พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอํานาจเข้าไปในโบราณสถานเพื่อตรวจดูว่าได้มีการ ซ่อมแซม แก้ไข
เปล่ียนแปลง ร้ือถอน ต่อเติม ทําลายเคลื่อนย้ายโบราณสถานหรือส่วนต่างๆ ของโบราณสถานหรือมี
การขุดค้นสิ่งใดๆ หรอื ปลกู สร้างอาคารภายในบริเวณโบราณสถานหรอื ไม่ ในการน้ใี ห้พนักงานเจ้าหน้าท่ี
มีอํานาจยึดหรือการอายัดวัตถุที่มีเหตุอันสมควรสงสัยว่าจะเป็นวัตถุท่ีได้มาจากการขุดค้นในบริเวณ
โบราณสถานได้

จงั หวัดพิจติ ร 3-27 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 3

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวิเคราะห์และประเมินศักยภาพของพื้นท่เี มอื งพจิ ิตรและพ้ืนทโ่ี ดยรอบ

การตรวจ ยึด หรืออายัดตามความในวรรคหนึ่งให้กระทําได้ระหว่างพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตก
และเมื่อดําเนินการตรวจ ยึดหรืออายัดแล้ว ในเขตกรุงเทพมหานครให้รายงานต่ออธิบดี ในเขตจังหวัด
อ่นื ใหร้ ายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัดและอธบิ ดเี พอื่ ทราบ
มาตรา 21 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในสถานที่ผลิต สถานท่ีทําการค้า สถานท่ีแสดงหรือ
สถานที่เก็บรักษาโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุหรือส่ิงเทียมโบราณวัตถุหรือสิ่งเทียมศิลปวัตถุระหว่างพระ
อาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตกหรือระหว่างเวลาทําการเพื่อตรวจดูว่าได้มีการปฏิบัติถูกต้องตามพระราช-
บัญญัติน้ีหรือไม่ หรือเพ่ือตรวจดูว่ามีโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุหรือส่ิงเทียมโบราณวัตถุ หรือสิ่งเทียม
ศิลปวัตถุท่ีได้มาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือมีส่ิงเทียมโบราณวัตถุ หรือสิ่งเทียมศิลปวัตถุท่ีมิได้ปฏิบัติ
ตามประกาศท่ีอธิบดีกําหนดตามมาตรา 18 ทวิ อยู่ในสถานที่นั้นหรือไม่ และในกรณีที่มีเหตุอันควร
สงสัยว่ามิได้มีการปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัตินี้หรือมีโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุหรือส่ิงเทียม
โบราณวตั ถุ หรือส่ิงเทียมศิลปวัตถุท่ไี ดม้ าโดยมชิ อบด้วยกฎหมาย หรือสงิ่ เทียมโบราณวัตถุ หรือส่ิงเทียม
ศิลปวัตถุท่ีมิได้ปฏิบัติตามประกาศท่ีอธิบดีกําหนดตามมาตรา 18 ทวิ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจยึด
หรืออายัดโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุ หรือส่ิงเทียมโบราณวัตถุหรือสิ่งเทียมศิลปวัตถุนั้นเพื่อประโยชน์ใน
การดาํ เนนิ คดีได้
มาตรา 21 ทวิ ในการปฏิบัติหน้าที่อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายหรือพนักงานเจ้าหน้าที่แล้วแต่กรณี
ตอ้ งแสดงบตั รประจําตัวต่อเจ้าของผ้คู รอบครองผู้รบั ใบอนุญาตหรือผูท้ ี่เกย่ี วข้องในสถานท่ีทําการตรวจ-
สอบตามมาตรา 14 ทวิหรือมาตรา 21 และให้เจ้าของผู้ครอบครองผู้รับใบอนุญาตหรือผู้ที่เก่ียวข้อง
ดงั กล่าวอํานวยความสะดวกตามสมควร
บัตรประจาํ ตัวพนกั งานเจา้ หนา้ ทีใ่ ห้เปน็ ไปตามแบบทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 21 ตรี ในการปฏิบัติหน้าที่ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายหรือพนักงาน เจ้าหน้าที่เป็นเจ้า
พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 18 ทวิ โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุที่อยู่ในความครอบครองของกรมศิลปากรหรือที่ได้ขึ้นทะเบียน
ไว้และมีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปะประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดีเป็นพิเศษ รัฐมนตรีมีอํานาจ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุน้ันเป็นโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุที่
ควบคุมการทําเทียม เม่ือได้มีประกาศตามวรรคหน่ึงแล้ว การผลิต การค้าหรือมีไว้ในสถานที่ทําการค้า
ซ่ึงส่ิงเทียมโบราณวัตถุหรือส่ิงเทียมศิลปวัตถุท่ีควบคุมการทําเทียมนั้นให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเง่ือนไขท่ีอธิบดีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษาและให้ผู้ประสงค์จะผลิตส่ิงเทียมโบราณวัตถุ
หรือส่ิงเทียมศิลปวัตถุท่ีควบคุมการทําเทียมแจ้งรายการส่ิงที่ตนจะผลิตต่ออธิบดีพร้อมทั้งต้องแสดงให้
ปรากฏส่ิงท่ีตนผลิตน้ันด้วยว่าเป็นสิ่งที่ได้ทําเทียมข้ึน เมื่อได้รับแจ้งตามวรรคสองแล้ว ให้อธิบดีแจ้งราย
ช่ือผู้ผลิตและรายการสิ่งเทียมโบราณวัตถุและสิ่งเทียมศิลปวัตถุที่ควบคุมการทําเทียมที่จะผลิตนั้นต่อ
อธบิ ดกี รมศลุ กากรเพื่อประโยชน์ในการขนสง่ หรอื นาํ ออกนอกราชอาณาจกั รดว้ ย
มาตรา 24 โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุที่ซ่อนหรือฝังหรือทอดท้ิงไว้ในราชอาณาจักรหรือในบริเวณเขต
เศรษฐกิจจาํ เพาะโดยพฤติการณซ์ ่งึ ไมม่ ีผู้ใดสามารถอ้างวา่ เปน็ เจา้ ของได้ ไม่วา่ ท่ีซอ่ นหรือฝังหรือทอดทิ้ง
จะอยู่ในกรรมสิทธ์ิหรือความครอบครองของบุคคลใดหรือไม่ ให้ตกเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ผู้เก็บได้
ต้องส่งมอบแก่พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตํารวจตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแล้วมีสิทธิจะได้รับรางวัลไม่เกินหนึ่งในสามแห่งค่าของ

จงั หวดั พิจิตร 3-28 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพ้นื ทเ่ี มอื งพิจติ รและพ้นื ทโ่ี ดยรอบ

ทรัพย์สินน้ัน ให้อธิบดีต้ังกรรมการขึ้นคณะหนึ่งมีจํานวนไม่น้อยกว่าสามคนเป็นผู้พิจารณากําหนดค่า
ของทรัพย์สินและเงินรางวัลตามวรรคหน่ึง ผู้เก็บได้มีสิทธิอุทธรณ์การกําหนดของคณะกรรมการเป็น
หนงั สือตอ่ อธิบดีภายในสบิ หา้ วนั นบั แต่วันทราบการกาํ หนดคาํ วินิจฉัยของอธิบดีใหเ้ ปน็ ทสี่ ุด
2) การควบคุม ดแู ลรักษาโบราณสถาน พระราชบญั ญตั โิ บราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ-
สถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2535) มาตรา 7 ได้กําหนดเรื่องการขึ้น
ทะเบียนโบราณสถาน ไว้ว่า “เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาและควบคุมโบราณสถานให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัตินี้ให้อธิบดีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาขึ้นทะเบียนโบราณสถานใดๆ ตามท่ี
อธิบดีเหน็ สมควรได้ และให้มีอํานาจกําหนดเขตที่ดินตามที่เห็นสมควรเป็นเขตของโบราณสถาน โดยให้
ถือว่าเป็นโบราณสถานด้วยก็ได้ ประกาศดังกล่าวนี้อธิบดีจะเพิกถอนหรือแก้ไขเพ่ิมเติมก็ได้และกระทํา
ไดโ้ ดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
การข้ึนทะเบียนโบราณสถานตามความในวรรคก่อน ถ้าโบราณสถานน้ันมีเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดย
ชอบด้วยกฎหมายใหอ้ ธิบดีแจ้งเปน็ หนงั สอื ใหเ้ จ้าของหรือผู้ครอบครองทราบ ถ้าเจ้าของหรือผู้ครอบครอง
ไมพ่ อใจให้มสี ิทธิรอ้ งตอ่ ศาลภายในกําหนดสามสิบวนั นับแตว่ ันที่อธิบดีแจ้งให้ทราบ ขอให้ศาลมีคําสั่งให้
อธิบดีระงบั การขึ้นทะเบยี นและหรือการกาํ หนดท่ีดินให้เป็นโบราณสถานแล้วแต่กรณีได้ ถ้าเจ้าของหรือ
ผู้ครอบครองมิได้ร้องขอต่อศาลหรือศาลมีคําส่ังให้ยกคําร้องของเจ้าของหรือผู้ครอบครองให้อธิบดี
ดําเนินการขึ้นทะเบียนได้” เน่ืองจากว่าปัญหาเกี่ยวกับการปลูกสร้างอาคารเป็นปัญหาสําคัญท่ีมีผล
กระทบโดยตรงต่อโบราณสถาน ดังน้ัน พ.ศ. 2515 จึงมีประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 308 ข้อ 1 ให้
เพิ่มมาตรา 7 ทวิแห่งพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
พ.ศ. 2504 เพื่อควบคุมการปลูกสรา้ งอาคารในเขตโบราณสถานทข่ี ึน้ ทะเบยี นแล้วดงั น้ี
“มาตรา 7 ทวิ ห้ามมิให้ผู้ใดปลูกสร้างอาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคารภายใน
เขตของโบราณสถานซึ่งอธิบดีได้ประกาศข้ึนทะเบียน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี ใน
กรณีท่ีมีการปลูกสร้างอาคารโดยมิได้รับอนุญาตให้อธิบดีมีอํานาจส่ังระงับการก่อสร้างและให้ร้ือถอน
อาคารหรือส่วนแห่งอาคารนั้นภายในกําหนดหกสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับคําสั่ง ผู้ใดขัดขืนไม่ระงับการก่อ
สร้างหรือรื้อถอนอาคารหรือส่วนแห่งอาคารตามคําส่ังอธิบดีมีความผิดฐานขัดคําสั่งเจ้าพนักงานและให้
อธบิ ดดี ําเนินการร้ือถอนอาคารหรือส่วนแห่งอาคารน้ันได้ โดยเจ้าของหรือผู้ครอบครองหรือผู้ปลูกสร้าง
ไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายหรือดําเนินคดีแก่ผู้รื้อถอนไม่ว่าด้วยประการใดท้ังส้ิน สัมภาระท่ีรื้อถอนถ้า
เจ้าของไม่ขนย้ายออกไปจากเขตโบราณสถานภายในกําหนดสิบห้าวันนับแต่วันร้ือถอนเสร็จให้อธิบดี
จัดการขายทอดตลาดสัมภาระนั้น เงินท่ีได้จากการขายเม่ือหักค่าใช้จ่ายในการร้ือถอนและการขายแล้ว
เหลอื เทา่ ใดให้คนื เจ้าของสมั ภาระนัน้ ”
บทบัญญัติในมาตรา 7 ทวิ มีลักษณะพิเศษซ่ึงรวมมาตรการทั้งทางแพ่งและทางอาญาไว้ในตัวเบ็ดเสร็จ
ในทางอาญาน้ันบัญญัติไว้ในวรรคสาม กล่าวคือ ในกรณีท่ีขัดขืนไม่ระงับการก่อสร้างหรือรื้อถอนอาคาร
หรือส่วนแห่งอาคารตามคําสั่งอธิบดีกรมศิลปากรมีความผิดฐานขัดคําสั่งเจ้าพนักงาน ความผิดฐานขัด
คําสั่งเจ้าพนักงาน (มาตรา 368) 2 ส่วนมาตรการทางแพ่ง หากเปรียบเทียบแล้วมีความรุนแรงกว่าทาง
อาญาเสียอีกโดยได้กําหนดไว้ในวรรคสามเช่นกันและได้กําหนดรายละเอียดไว้ในวรรคส่ีและในวรรคห้า
ดว้ ยวา่ ในกรณีทขี่ ัดขืนไม่ระงบั การก่อสรา้ งหรือรื้อถอนอาคารหรือส่วนแห่งอาคารให้อธิบดีกรมศิลปากร
ดําเนินการรื้อถอนอาคารหรือส่วนแห่งอาคารนั้นได้ โดยเจ้าของหรือผู้ครอบครองหรือผู้ปลูกสร้างไม่มี

จงั หวดั พิจิตร 3-29 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวเิ คราะห์และประเมนิ ศกั ยภาพของพืน้ ทเ่ี มืองพิจิตรและพนื้ ท่ีโดยรอบ

สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายหรือดําเนินคดีแก่ผู้รื้อถอนไม่ว่าด้วยประการใดๆ ท้ังส้ินและสัมภาระที่ร้ือถอน
ถ้าเจ้าของไมข่ นย้ายออกไปจากเขตโบราณสถานภายในกําหนด 15 วันนับแต่วันร้ือถอนเสร็จอธิบดีกรม
ศิลปากรยอ่ มมีอํานาจจดั การ ขายทอดตลาดสัมภาระน้ันได้ เม่ือได้เงินจากการขายทอดตลาดนั้นแล้วให้
นํามาหกั ค่าใชจ้ ่ายในการรอื้ ถอนและการขายหากมเี หลอื ต้องคนื เจ้าของสัมภาระไป
3) การควบคุม ดูแล รักษาโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ คําว่า “โบราณวัตถุ” ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน
โบราณวตั ถุ ศิลปวัตถุและพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พ.ศ. 2504 (แกไ้ ขเพม่ิ เติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535) ได้
ให้ความหมายไว้ในมาตรา 4 ว่า “สงั หาริมทรัพย์ทเ่ี ป็นของโบราณ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์หรือเป็นสิ่งที่
เกิดขน้ึ ตามธรรมชาติหรือเป็นส่วนหน่ึงส่วนใดของโบราณสถาน ซากมนุษย์หรือซากสัตว์ซ่ึงโดยอายุหรือ
โดยลักษณะแห่งการประดิษฐ์หรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพย์นั้นเป็นประโยชน์
ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์หรอื โบราณคด”ี
คําว่า “ศิลปวัตถุ” น้ันตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ได้ให้ความหมายไว้ในมาตรา 4 ว่า “ส่ิงท่ีทําข้ึนด้วย
ฝมี อื อย่างประณีตและมีคณุ คา่ สูงทางศิลปะ”
การขนึ้ ทะเบียนโบราณวัตถุ หรือศลิ ปวตั ถุ
มาตรา 14 เม่ืออธิบดีเห็นว่าโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุใดท่ีมิได้อยู่ในความครอบครองของกรมศิลปากร
แต่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์หรือโบราณคดีเป็นพิเศษ อธิบดีมีอํานาจประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาขนึ้ ทะเบยี นโบราณวตั ถุหรือศิลปวัตถุนั้น ในกรณีที่อธิบดีเห็นว่าโบราณวัตถุใดไม่ว่า
จะได้ข้ึนทะเบียนแล้วหรือไม่หรือศิลปวัตถุใดท่ีได้ข้ึนทะเบียนแล้วสมควรสงวนไว้เป็นสมบัติของชาติ
อธิบดีมีอาํ นาจประกาศในราชกจิ จานุเบกษากําหนดให้โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุนั้นเป็นโบราณวัตถุหรือ
ศิลปวัตถุที่ห้ามทําการค้า และหากเห็นสมควรเก็บรักษาไว้เป็นสมบัติของชาติให้อธิบดีมีอํานาจจัดซ้ือ
โบราณวตั ถุหรอื ศิลปวตั ถนุ ัน้ ไวไ้ ด้
มาตรา 15 โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุท่ีได้ขึ้นทะเบียนแล้วนั้น ห้ามมิให้ผู้ใดซ่อมแซม แก้ไขหรือ
เปลีย่ นแปลง เว้นแตจ่ ะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี และถ้าหนังสืออนุญาตน้ันกําหนดเง่ือนไขไว้
ประการใดกต็ ้องปฏบิ ตั ติ ามเง่ือนไขน้นั ดว้ ย
มาตรา 16 ในกรณีท่โี บราณวตั ถุหรอื ศลิ ปวตั ถุทไี่ ด้ขน้ึ ทะเบียนแล้วชํารุด หักพัง เสียหาย สูญหาย หรือมี
การย้ายสถานท่ีเก็บรักษา ให้ผู้ครอบครองโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุนั้นแจ้งเป็นหนังสือไปยังอธิบดี
ภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ชาํ รุด หกั พงั เสยี หาย สูญหายหรือมกี ารยา้ ยนนั้
มาตรา 18 โบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่เป็นทรัพย์สินของแผ่นดินและอยู่ในการความดูแล รักษาของกรม
ศิลปากรจะโอนกันมิได้ เว้นแต่อาศัยอํานาจแห่งบทกฎหมาย แต่ถ้าโบราณวัตถุและศิลปวัตถุใดมี
เหมือนกันอยู่มากเกินต้องการ อธิบดีจะอนุญาตให้โอนโดยวิธีขายหรือแลกเปลี่ยนเพ่ือประโยชน์แห่ง
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หรือใหเ้ ป็นรางวัลหรือเปน็ คา่ แรงงานแก่ผู้ขุดค้นก็ได้ ทั้งน้ีตามระเบียบที่อธิบดี
ประกาศกาํ หนดในราชกจิ จานุเบกษา
4) หน้าท่ีของเจ้าของหรือผู้ครอบครองโบราณสถาน ตามปกติเจ้าของหรือผู้ครอบครองโบราณสถานไม่ว่า
จะขึ้นทะเบียนหรือไม่ก็ต้องปฏิบัติตามที่พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535) กําหนดให้ต้องปฏิบัติตาม

จังหวัดพิจติ ร 3-30 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การวเิ คราะห์และประเมนิ ศักยภาพของพน้ื ทีเ่ มืองพจิ ิตรและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ

มาตรา 10 แต่ในกรณีท่ีโบราณสถานน้ันได้ข้ึนทะเบียนแล้วเจ้าของหรือผู้ครอบครองจะต้องมีหน้าที่
เพิ่มขึน้ ดงั น้ี
(1) เจา้ ของหรือผ้คู รอบครองโบราณสถานต้องแจง้ การชํารุด หักพังหรือเสียหายไมว่าด้วยประการใด

เป็นหนังสือไปยังอธิบดีกรมศิลปากรภายใน 30 วันนับแต่วันที่โบราณสถานชํารุด หักพัง หรือ
เสียหาย (ตามมาตรา 9) หากไม่แจ้งมีโทษตามมาตรา 34 ซ่ึงกําหนดให้จําคุกไม่เกิน 1 เดือน
หรือปรบั ไม่เกนิ 10,000 บาทหรอื ทัง้ จาํ ทั้งปรับ
(2) เจ้าของหรือผู้ครอบครองโบราณสถานต้องยินยอมให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือบุคคลใดๆ ซึ่งได้
รับคําสั่งจากอธบิ ดเี ข้าทาํ การซ่อมแซมหรอื กระทาํ ด้วยประการใดๆ เพอื่ เป็นการบูรณะหรอื รกั ษา
ไว้ให้คงสภาพเดิม เม่ือได้รับการแจ้งเป็นหนังสือจากอธิบดีกรมศิลปากรแล้ว (ตามมาตรา 11)
และในกรณีท่ีมีการขัดขวางการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าท่ีดังกล่าว แม้พระราชบัญญัติ
โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหง่ จะมไิ ด้บญั ญตั ฐิ านความผิดไวก้ ็ตอ้ ง
พิจารณาจากบทบัญญัติในมาตรา 138 แห่งประมวลกฎหมายอาญาฐานขัดขวางเจ้าพนักงานมา
บังคับใช้ซึ่งบัญญัติว่า “ผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงานหรือผู้ซ่ึงต้องช่วยเจ้าพนักงานตาม
กฎหมายในการปฏิบัตกิ ารตามหน้าที่ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองพันบาท
หรือท้ังจําท้ังปรับ ถ้าการต่อสู้หรือขัดขวางนั้นได้กระทําโดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะ
ใช้กําลังประทุษร้าย ผู้กระทําต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสี่ปีหรือปรับไม่เกินแปดพันบาทหรือทั้ง
จําทง้ั ปรับ”
(3) หากเจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายซึ่งโบราณสถานที่ได้ข้ึนทะเบียนแล้วจัดให้มี
การเรียกเก็บค่าเข้าชมหรือค่าบริการอื่นเป็นปกติธุระหรือจัดเก็บผลประโยชน์ใดๆ ท่ีเกิดจาก
โบราณสถานดังกล่าว เจ้าของหรือผู้ครอบครองโบราณสถานน้ันต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการ
ซ่อมแซมท้งั หมด หรอื บางส่วนตามทอ่ี ธิบดกี รมศิลปากรกาํ หนด
การกาํ หนดค่าใช้จ่ายในการซอ่ มแซมดังกลา่ ว อธบิ ดกี รมศลิ ปากรจะแต่งตัง้ คณะกรรมการขึน้ คณะหนงึ่ มี
จาํ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คน โดยเจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองรว่ มเปน็ กรรมการด้วย (มาตรา 9 ทวิ)
นอกจากหน้าที่ข้างต้นแล้วเจ้าของหรือผู้ครอบครองโบราณสถานที่ได้ข้ึนทะเบียนแล้วพึงทราบถึงข้อ
กฎหมายท่ีเก่ียวข้องในฐานะท่ีเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองโบราณสถานนั้น ข้อกฎหมายท่ีกล่าวถึงน้ีก็
คือมาตรา 13 หากไม่แจ้งมีโทษตามมาตรา 34 ท้ังนี้กําหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมมี
อํานาจออกกฎกระทรวงให้ผู้เข้าชมโบราณสถานปฏิบัติบางประการในระหว่างเข้าชม เมื่อเห็นสมควร
เพื่อประโยชน์ในการรักษาสภาพความปลอดภัย ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ
โบราณสถานท่ไี ด้ขนึ้ ทะเบียนแลว้ ดงั น้ี
(1) ไม่เคลอื่ นย้ายสิ่งต่างๆ ในโบราณสถาน
(2) ไมข่ ีดเขยี นหรือทาํ ใหป้ รากฏด้วยประการใดๆ ลงบนโบราณสถาน
(3) ไม่นําอาวุธ วัตถรุ ะเบิด วตั ถุเชอื้ เพลงิ หรือสารเคมีอนั จะก่อใหเ้ กิดอันตรายเขา้ ไปในโบราณสถาน
(4) ไม่ปีนป่ายโบราณสถานหรือกระทําการใดๆ อันเป็นเหตุให้เกิดความชํารุดเสียหายหรือก่อให้เกิด
ความสกปรกและไมเ่ ปน็ ระเบียบ แกโ่ บราณสถาน
(5) ไมเ่ ทหรอื ถ่ายทิ้งขยะมลู ฝอยหรอื ส่ิงปฏิกูลลง ณ ท่ใี ดๆ ภายในโบราณสถาน นอกจากที่ซึง่ จัดให้

จังหวดั พิจิตร 3-31 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพ้นื ทเ่ี มอื งพจิ ิตรและพื้นท่โี ดยรอบ

(6) ไม่กระทําการใดๆ ภายในโบราณสถานอันเป็นที่น่ารังเกียจหรือเป็นท่ีเส่ือมเสียต่อศีลธรรมอันดี
หรือลบหลู่ดูหม่ินศาสนาและวัฒนธรรมหรอื กอ่ ความราํ คาญแก่ผูเ้ ขา้ ชมอ่นื ๆ

ในกรณที ี่มกี ารฝา่ ฝืนมาตรา 13 ย่อมมโี ทษตามมาตรา 34
5) บทกําหนดโทษ พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ.

2504 (แกไ้ ขเพ่มิ เติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2535) ไดก้ าํ หนดบทลงโทษดังต่อไปนี้
มาตรา 32 ผู้ใดบุกรุกโบราณสถาน หรือทําให้เสียหาย ทําลาย ทําให้เสื่อมค่าหรือทําให้ไร้ประโยชน์ซึ่ง
โบราณสถาน ตอ้ งระวางโทษจําคุกไม่เกินเจ็ดปีหรอื ปรบั ไมเ่ กินเจ็ดแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 33 ผู้ใดทําให้เสยี หาย ทําลาย ทําใหเ้ ส่อื มค่า ทําให้ไรป้ ระโยชน์หรือทําให้สูญหาย ซึ่งโบราณวัตถุ
หรอื ศลิ ปวตั ถทุ ไี่ ด้ขึน้ ทะเบยี นแลว้ ต้องระวางโทษจําคุกไมเ่ กินสบิ ปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งล้านบาทหรือท้ัง
จาํ ทง้ั ปรับ
มาตรา 34 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 9 มาตรา 16 ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่
เกนิ หน่ึงหม่ืนบาท หรอื ท้งั จาํ ท้ังปรบั
มาตรา 35 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 10 หรือไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีอธิบดีกําหนดไว้ในหนังสืออนุญาตตาม
มาตรา 10 ตอ้ งระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรอื ปรบั ไม่เกนิ สามแสนบาทหรือทัง้ จาํ ทัง้ ปรบั
มาตรา 36 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 15 ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินห้าแสนบาทหรือทั้งจํา
ทงั้ ปรบั
6) พระราชบัญญัติขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติขุดดินและถมดิน พ.ศ.
2543 เพอื่ เปน็ ประโยชน์ในการป้องกันอันตรายที่จะเกิดจากการขุดดินหรือถมดิน ถ้าการขุดดินหรือถมดิน
อาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายต่อทรพั ยส์ ินของบุคคลหรืออาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อประชาชนมสี าระสาํ คญั
ดังน้ี
การขดุ ดนิ
มาตรา 17 ผใู้ ดประสงคจ์ ะทําการขดุ ดินโดยมคี วามลึกจากระดับพน้ื ดินเกินสามเมตร หรอื มพี ้ืนท่ีปากบอ่
ดินเกินหนึง่ หม่นื ตารางเมตร หรือมคี วามลกึ หรือพ้ืนท่ีตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่น ประกาศกําหนดให้แจ้ง
ต่อเจ้าพนักงานทอ้ งถนิ่ ตามแบบท่ีเจ้าพนักงานท้องถนิ่ กําหนดโดยยื่นเอกสารแจ้งขอ้ มูลดังต่อไปนี้
(1) แผนผงั บรเิ วณท่ีประสงคจ์ ะทําการขดุ ดิน
(2) แผนผงั แสดงเขตท่ดี นิ และที่ดนิ บรเิ วณขา้ งเคียง
(3) รายการท่ีกําหนดไวใ้ นกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา 6
(4) วิธกี ารขุดดนิ และการขนดิน
(5) ระยะเวลาทาํ การขุดดนิ
(6) ช่ือผู้ควบคุมงานซ่ึงจะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง (7) ท่ีตั้งสํานักงานของ

ผู้แจง้
มาตรา 23 การขดุ บ่อนา้ํ ใชท้ ี่มีพืน้ ที่ปากบ่อไมเ่ กินส่ีตารางเมตร ผูข้ ุดดินไม่ตอ้ งแจง้ ตอ่ เจ้าพนักงานท้องถน่ิ
มาตรา 24 การขดุ ดนิ โดยมีความลึกจากระดบั พ้ืนดินไม่เกนิ สามเมตร เม่อื จะขดุ ดนิ ใกล้แนวเขตที่ดินของ
ผู้อ่ืนในระยะน้อยกว่าสองเท่าของความลึกของบ่อดินท่ีจะขุดดินต้องจัดการป้องกันการพังทลายของดิน
ตามวิสยั ทค่ี วรกระทํา

จังหวัดพิจิตร 3-32 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวิเคราะห์และประเมินศกั ยภาพของพนื้ ท่ีเมืองพิจติ รและพนื้ ท่โี ดยรอบ

มาตรา 25 ในการขุดดิน ถ้าพบโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ซากดึกดําบรรพ์หรือแร่ท่ีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ
หรือทางการศึกษาในด้านธรณีวิทยาให้ผู้ขุดดินตามมาตรา 17 ตามมาตรา 23 หรือมาตรา 24 หยุดการ
ขุดดินในบริเวณนั้นไว้ก่อนแล้วรายงานให้เจ้าพนักงานท้องถ่ินทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีพบและให้
เจา้ พนักงานทอ้ งถนิ่ แจ้งใหก้ รมศลิ ปากรหรือกรมทรัพยากรธรณีแล้วแต่กรณีทราบโดยด่วนในกรณีเช่นนี้
ใหผ้ ูข้ ุดดินปฏบิ ตั กิ ารให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการนั้น
7) คาํ ส่ังกระทรวงวฒั นธรรมที่ 157/2547 เร่อื งแตง่ ตัง้ พนักงานเจ้าหน้าท่ตี ามพระราชบัญญัติโบราณสถาน
โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ และพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ลงวันท่ี 23 เมษายน พ.ศ. 2547
กระทรวงวัฒนธรรมได้แต่งต้ังให้เจ้าพนักงานขององค์กรส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัติ
โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนตําบล นายกเทศมนตรี นายกเมืองพัทยา ปลัดองค์การบริหารส่วน
จังหวัด ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล ปลัดเทศบาล และปลัดเมืองพัทยา นอกจากน้ี องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถนิ่ จะเป็นเจา้ พนักงานตามพระราชบัญญตั ดิ ังกลา่ ว องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ยังมภี ารกจิ ทีไ่ ด้
รับการถ่ายโอนอํานาจตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาติจากรฐั ดังน้ี
(1) แผนภารกจิ ดา้ นการป้องกัน คุม้ ครอง ควบคุม ดแู ล รกั ษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ
(2) ขอบข่ายการถา่ ยโอน

(ก) รฐั เปน็ ผู้ดาํ เนนิ การใหก้ ารบรหิ ารจดั การมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ
(ข) มีสว่ นรว่ มในการดูแล รักษาในเรื่องของการจัดการดูแล รักษาขั้นพื้นฐาน โดยรัฐเป็นผู้ให้

การสนับสนนุ กํากบั ดูแล ให้คาํ แนะนํา
(ค) รัฐให้การสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดให้มีพิพิธภัณฑ์และหอ

จดหมายเหตปุ ระจําท้องถ่นิ
(ง) ให้ถ่ายโอนอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการจัดโบราณสถานและโบราณวัตถุท่ีมีความเกี่ยวข้อง

สัมพนั ธร์ ะดับทอ้ งถนิ่ ให้องคก์ ารบริหารส่วนทอ้ งถนิ่ โดยให้มคี ณะกรรมการของส่วนกลาง
ท่ีมีผู้เช่ียวชาญและนักวิชาการและองค์การบริหารส่วนท้องถ่ินร่วมเป็นคณะกรรมการ
พิจารณากําหนดว่าโบราณสถานและโบราณวัตถุมีระดับความเก่ียวข้องสัมพันธ์ในระดับ
ชุมชน ระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับโลก โดยให้ถ่ายโอนเฉพาะโบราณสถานและ
โบราณวัตถุท่ีมีความเก่ียวข้องสัมพันธ์และความสําคัญในระดับชุมชนและท้องถ่ิน
สําหรับโบราณสถานและโบราณวัตถุที่มีความสัมพันธ์และความสําคัญในระดับชาติที่
ต้ังอยู่ในองค์การบริหารส่วนท้องถ่ินอาจมอบให้องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นดูแลและ
จัดการได้ ทงั้ นี้กรมศิลปากรอาจกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข ขอบเขต เทคนิคและ
การสนบั สนนุ จากส่วนราชการให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นดําเนนิ การได้
(3) กรณีค้นพบโบราณสถานและโบราณวัตถุใหม่ในเขตพื้นที่ท้องถิ่นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แจ้งกรมศิลปากรมาสํารวจและจัดระดับเมื่อเป็นของท้องถ่ินแล้วให้ถ่ายโอนภารกิจดังกล่าวให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดูแลและบํารุงรักษาต่อไปและมอบอํานาจการบริหารจัดการต่างๆ
เพ่ือให้องค์การบริหารส่วนทอ้ งถิ่นสามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

จังหวดั พิจิตร 3-33 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพน้ื ท่ีเมอื งพิจิตรและพืน้ ทโี่ ดยรอบ

ข้ันตอนและวิธีปฏบิ ตั ิขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
(ก) ให้ผู้บรหิ ารองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ขา้ ราชการหรอื พนกั งานสว่ นท้องถน่ิ เปน็ พนกั งาน

เจา้ หนา้ ท่ีเพ่ือดําเนนิ การตามทอ่ี ธบิ ดกี าํ หนด
(ข) ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ มีอํานาจหนา้ ทใ่ี นการบริหารจัดการและดูแลรักษาโบราณ-

สถานและโบราณวตั ถเุ ฉพาะทเี่ กยี่ วขอ้ งสมั พนั ธ์และความสําคัญในระดับชุมชนและระดับ
ท้องถน่ิ ทัง้ นต้ี ามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารท่ีอธบิ ดกี รมศลิ ปากรกําหนด
(ค) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอํานาจกําหนดค่าธรรมเนียมเพ่ือเรียกเก็บจากผู้เข้าชม
โบราณสถานซึ่งอยใู่ นความดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและให้ตกเป็นรายได้ของ
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
(ง) กําหนดแนวทางปฏิบัติร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกรมศิลปากรกรณี
การดาํ เนินการอืน่ ในเขตองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่
(จ) กรมศิลปากรจัดทําคู่มือการดูแลรักษาโบราณสถานและจัดทําคู่มือเกี่ยวกับกฎหมาย
กฎระเบียบด้านการปกป้องคุ้มครองมรดกทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรม รวมท้ังข้ันตอน
แนวทางและวิธกี ารดําเนินการทางกฎหมาย
(ฉ) กรมศิลปากรจัดทําแผนงานโครงการฝกึ อบรมและดาํ เนนิ การฝึกอบรม
(ช) กรมศิลปากรให้การส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการและบุคลากรที่มีความเช่ียวชาญ
ชํานาญไปเป็นท่ีปรึกษาและให้คําแนะนําแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการจัดต้ัง
พิพธิ ภณั ฑ์และหอจดหมายเหตุประจาํ ท้องถน่ิ

จากบทบัญญัติของกฎหมายข้างต้นเป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการโบราณสถาน โบราณวัตถุ
และสถานที่ศักด์ิสิทธ์ิในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบฯ ซึ่งมีหน้าท่ีต้องรับผิดชอบในการศึกษา วิเคราะห์
วิจัย การคุ้มครอง ป้องกัน การสงวนรักษาและการบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อให้
สภาพตา่ งๆ ของโบราณคดหี รอื บริเวณแหล่งประวัตศิ าสตร์ซ่งึ เปน็ แหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมให้คงสภาพ
อย่ตู อ่ ไปอย่างย่ังยืน รวมถึงการป้องกันทางกายภาพของแหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมให้แน่ใจว่าปลอดภัย
จากการถกู โจรกรรมหรอื ถูกทาํ ลายและถูกบุกรุกพื้นท่ที ี่กาํ หนดใหเ้ ป็นแหลง่ มรดกทางประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรม

3.3 การศกึ ษาและวิเคราะห์จดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis)

การกําหนดกรอบแนวคิดเพ่ือวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ในพื้นท่ีเมือง
พิจิตร โดยเน้นการบูรณาการพัฒนาพื้นท่ีเมืองพิจิตรและพื้นที่โดยรอบให้เป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ในพ้ืนท่ี
จงั หวัดพจิ ติ รดงั มสี าระสาํ คญั ดงั น้ี

1) จดุ แขง็ (Strength: S)
1.1 มีระบบการบริหารจดั การท่องเท่ยี วเชงิ อนรุ ักษ์ค่อนข้างดปี านกลาง และมสี ิ่งอาํ นวยความสะดวก
ต่างๆ รองรบั นักท่องเทย่ี วในระดบั คุณภาพดีปานกลาง–สงู เช่น สถานทพี่ กั แรม ร้านอาหาร และ
ร้านจําหน่ายของท่ีระลึก ฯลฯ และยังเป็นพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาเช่ือมโยง
การทอ่ งเทยี่ วกับพื้นที่กล่มุ จงั หวดั ภาคเหนอื และภาคกลาง

จังหวัดพิจิตร 3-34 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมินศักยภาพของพนื้ ทเี่ มอื งพจิ ติ รและพ้นื ท่โี ดยรอบ

1.2 เปน็ พ้ืนทีท่ ี่มีประชากรรกั ความสงบและดาํ เนนิ ชวี ติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง มคี วามปลอดภัย และ
ปราศจากอนั ตรายจากผกู้ อ่ การร้าย

1.3 มสี ภาพภมู ศิ าสตรข์ องทาํ เลทีต่ งั้ เหมาะสม สามารถเดินทางติดต่อได้ง่ายและสะดวกทั้งภาคเหนือ
และภาคกลางโดยเฉพาะเสน้ ทางรถไฟสายเหนือและเสน้ ทางคมนาคมเช่ือมโยงกับพื้นที่ส่วนอ่ืนๆ
เชน่ ทางหลวงหมายเลข 11 ทางหลวงหมายเลข 113 และทางหลวงหมายเลข 115 ฯลฯ

1.4 มีเทศกาลประจําปีท่ีโดดเด่นมีชื่อเสียงเป็นท่ีนิยม เช่น งานนมัสการหลวงพ่อเพชรและสมโภช
เมอื งพิจิตร งานสงกรานต์ สรงน้ําพ่อปู่ บูชาหลักเมืองพิจิตร งานประเพณีแข่งขันเรือยาวจังหวัด
พิจติ ร งานประเพณีการทําบุญกลางบ้าน และงานพิธีบชู านพเคราะห์ ฯลฯ

1.5 มแี หล่งท่องเที่ยวหลากหลายทั้งทางธรรมชาติ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม เช่น
บึงสีไฟ อุทยานเมืองเก่าพิจิตร วัดนครชุม ศาลหลักเมืองพิจิตร วัดท่าหลวง (พระอารามหลวง)
วดั โรงชา้ ง สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร ยา่ นพาณิชยกรรมวงั กรด และวดั เขารูปชา้ ง ฯลฯ

1.6 มคี วามพรอ้ มด้านระบบสาธารณูปโภคและสาธารณปู การในสถานที่ท่องเท่ยี วต่างๆ
1.7 มหี น่วยงานทใ่ี ห้ความสาํ คญั กับการท่องเที่ยว การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรการท่องเที่ยว เช่น

สํานักงานจังหวัดพิจิตร สํานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดพิจิตร พิพิธภัณฑ์เมืองพิจิตร
สํานักงานวัฒนธรรมจงั หวดั พิจิตร และศูนย์วฒั นธรรมจงั หวดั พิจิตร ฯลฯ
1.8 มีการรวมตัวกันของกลุ่มชุมชนท้องถ่ินในรูปประชาคมและเครือข่ายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดลอ้ ม (รวมการท่องเทยี่ วเชงิ อนรุ ักษ์)
1.9 มีการนําภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินมาใช้ในการบริหารและจัดการและเพ่ิมศักยภาพให้กับแหล่งท่องเท่ียว
สาํ คญั ๆ
1.10 มีนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวัดพิจิตรมีความชัดเจนทุกภาคส่วน พร้อมท่ีจะให้ความ
รว่ มมอื เปน็ อย่างดใี นการดําเนินการดา้ นส่งเสริมและสนับสนนุ ดา้ นการท่องเท่ยี วเชงิ อนรุ กั ษ์
2) จดุ ออ่ น (Weakness: W)
2.1 ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเท่ียวภายในแหล่งท่องเที่ยวสําคัญๆ โดยเฉพาะพ้ืนท่ี
อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รหรือบงึ สไี ฟยังไม่มีความพรอ้ มและไม่เหมาะสม
2.2 มแี หล่งทอ่ งเทย่ี วในพื้นท่กี ลมุ่ ภาคเหนือตอนล่างทมี่ ีความสวยงามและมีความพร้อมมากกว่า เช่น
จงั หวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิษณุโลก หรือจังหวดั สโุ ขทยั ฯลฯ
2.3 การขาดแคลนแรงงานทม่ี ีทักษะและความร้เู ก่ียวกบั ประวัติศาสตร์และวฒั นธรรมของท้องถ่นิ
2.4 สถานที่ท่องเทย่ี วสําคัญๆ หลายแห่งได้รับผลกระทบจากการท่องเท่ียวทําให้เกิดความเส่ือมโทรม
เช่น อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร บงึ สไี ฟ สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร ย่านพาณิชยกรรมวังกรด ฯลฯ
2.5 การขาดแคลนงบประมาณสนับสนุนหรือได้รับงบประมาณไม่ต่อเน่ืองในการดูแลและบํารุงรักษา
แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วหลายแหง่ เช่น อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร บึงสีไฟ สวนรุกขชาติกาญจนกมุ าร ฯลฯ
2.6 ขาดการศึกษาองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน และขาดการ
ประชาสัมพันธเ์ ชิงรกุ ข้อมลู การทอ่ งเท่ียวเชิงอนรุ กั ษ์อย่างตอ่ เนอ่ื ง
2.7 หน่วยงานส่วนท้องถิ่นยังไม่มีความชัดเจนและให้ความสําคัญกับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ
ให้กับแหล่งท่องเที่ยวสําคัญๆ เช่น อุทยานเมืองเก่าพิจิตร บึงสีไฟ สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร
สวนสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯสริ ิกติ ิ์ สวนสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทรฯ์ พิจิตร ฯลฯ

จังหวัดพิจิตร 3-35 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพืน้ ท่ีเมอื งพิจิตรและพนื้ ทโ่ี ดยรอบ

3) โอกาส (Opportunities: O)
3.1 นโยบายของรัฐบาลด้านการกระจายอํานาจไปสู่ส่วนท้องถ่ิน ทําให้ส่วนท้องถิ่นสามารถบริหาร
จดั การและใชง้ บประมาณได้เอง
3.2 นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการขับเคลื่อนระบบ
เศรษฐกิจฐานรากเพ่ือแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจและสอดรับกับนโยบายการสร้างความเข้มแข็ง
ให้กบั ชุมชนทอ้ งถ่ิน
3.3 การสนับสนุนให้สว่ นท้องถนิ่ เปิดสาขาการท่องเทีย่ วในสถานศึกษาสายอาชีพ
3.4 นโยบายภาครัฐท่สี นับสนุนการทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนุรกั ษโ์ ดยชุมชนทอ้ งถิ่นและการให้ความสาํ คัญของ
ภาครฐั ทีม่ ีตอ่ การพฒั นา “กลมุ่ ทุนของชมุ ชน”
3.5 การสนับสนุนและให้ความสําคัญต่อการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชนท้องถ่ินจะนําไป
สูก่ ารเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรแู้ ละแหลง่ ท่องเทย่ี วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ
3.6 การสนับสนุนและใหค้ วามสาํ คัญด้านเทคโนโลยใี นการพัฒนาชมุ ชนของภาครฐั บาล
3.7 การสนับสนุนและให้ความสําคัญด้านการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ที่เน้นคุณภาพและการอนุรักษ์
ควบค่กู ันจะกอ่ ใหเ้ กิดกระบวนการเรยี นรเู้ พิ่มมากขนึ้
3.8 การเพ่ิมข้ึนของศักยภาพทางการแข่งขัน การขยายตลาดและการลงทุนด้านการท่องเท่ียวเชิง
อนรุ ักษ์

4) อุปสรรค (Threats: T)
4.1 การผนั ผวนของราคาสนิ ค้าและบริการและอัตราแลกเปลี่ยนเงนิ ตราตา่ งประเทศผันแปรตลอด
4.2 เหตุการณค์ วามไม่สงบทางการเมือง
4.3 การเคล่อื นย้ายแรงงานในภาคอตุ สาหกรรมการบรกิ ารและการเกษตรไปยังพน้ื ท่เี มืองใหญ่ๆ
4.4 มีงบประมาณในการพฒั นาทีค่ อ่ นข้างจาํ กดั และต้องเลือกพ้นื ท่ีทม่ี ีความจําเป็นทสี่ ดุ ในการพฒั นา
4.5 ภาวการณแ์ ขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ทที่ วรี นุ แรงเพมิ่ ขน้ึ เรือ่ ยๆ
4.6 การรับวฒั นธรรมตา่ งชาติของประชากรวยั หนุ่ม-สาวทเี่ พิม่ สูงขึ้นโดยเฉพาะวัฒนธรรมเกาหลีหรือ
วัฒนธรรมญป่ี นุ่ ฯลฯ
4.7 กระแสความนิยมท่องเที่ยวต่างประเทศเพ่มิ มากขน้ึ จากกระแสทางสงั คมและความบันเทงิ
4.8 การเกิดปญั หาอุทกภัยและภยั แลง้ ซํา้ ซากในพน้ื ทีเ่ มอื งพจิ ติ ร
4.9 ระบบโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงเข้าสู่แหล่งท่องเท่ียวสําคัญๆ หลายเส้นทางอยู่ในสภาพชํารุด
และเสยี หาย ไมไ่ ดร้ บั การดูแลและบาํ รุงรักษา
4.10 ข้อบัญญัติหรือระเบียบปฏิบัติตามกฎหมายบางฉบับเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
สําคัญๆ โดยเฉพาะพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติโบราณสถาน
โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 หรือ
แผนผังกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จําแนกประเภทท้ายกฎกระทรวงให้บังคับผังเมือง
รวมเมืองพิจติ ร พ.ศ. 2549 (บังคบั ใชอ้ ยู่ถึงวันท่ี 25 เมษายน 2559) ฯลฯ
4.11 หน่วยงานภาครัฐไม่ได้มีการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย
ตามระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการรับฟังความคิดเหน็ ของประชาชน พ.ศ. 2548

จงั หวดั พิจติ ร 3-36 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพนื้ ท่เี มืองพิจิตรและพื้นที่โดยรอบ

3.4 การศกึ ษาและกาํ หนดแนวทางการพฒั นาพ้นื ทอี่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพ้นื ทโี่ ดยรอบ

3.4.1 การกาํ หนดเกณฑ์ในการประเมนิ คณุ ค่าและศกั ยภาพ

การปรับปรงุ และอนุรักษพ์ ื้นท่ีอทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพืน้ ท่ีโดยรอบจะเน้นการปรับปรงุ และอนรุ กั ษท์ งั้ อาคาร
สภาพแวดล้อมและพ้ืนท่ีท่ีมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและธรรมชาติ ฯลฯ โดยมีความแตกต่างกันทั้งจากปัจจัย
ด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี ความเก่าแก่ (อายุ) คุณค่าด้านสถาปัตยกรรม ศิลปกรรมและสภาพอาคาร และคุณค่าด้าน
การเป็นองคป์ ระกอบสาํ คัญของพ้นื ท่อี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพนื้ ท่ีโดยรอบในประเด็นสาํ คญั ๆ เชน่ โบราณสถาน อาคาร
และสถานที่สําคัญนัน้ ๆ ฯลฯ

การประเมนิ เพอื่ จัดลําดับความสําคญั ของพ้นื ท่ีอทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพนื้ ทโ่ี ดยรอบเป็นแนวทางหนง่ึ ทท่ี ําให้
ทราบถึงคุณค่า ระดับคุณค่าของโบราณสถาน อาคารและสถานสําคัญๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการกําหนดขอบเขตและ
ความสําคัญของพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบในแต่ละส่วน โดยพ้ืนที่ท่ีมีการรวมกลุ่มหรือกระจุกตัวของ
อาคารและสถานที่ที่มีคุณค่าจะเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความสําคัญมากกว่าพ้ืนที่ท่ีปริมาณอาคารที่มีคุณค่าจํานวนน้อยกว่าซ่ึงจะเป็น
ประโยชน์ให้สามารถกําหนดความเขม้ ขน้ ในการอนรุ ักษ์ บูรณะฟื้นฟแู ละพัฒนาพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตรและพ้ืนที่โดยรอบ
ในแตล่ ะส่วนได้ไม่เทา่ กัน สําหรับการประเมินคุณค่า ศักยภาพและความสําคัญขององค์ประกอบสําคัญๆ ของพ้ืนท่ีอุทยาน
เมืองเก่าพิจติ รและพนื้ ทโี่ ดยรอบไดพ้ จิ ารณาจากผลคะแนนรวมจากเกณฑห์ ลักทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ดังอธิบายได้ดังน้ี

1) เกณฑค์ ณุ ค่าทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี ได้พิจารณาจากระดับความสําคัญทางประวัติศาสตร์และ
โบราณคดีว่ามีมากน้อยเพียงใดและจัดอยู่ในระดับชาติหรือระดับท้องถิ่น เช่น ระบุว่ามีความสําคัญมาก
จากการออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรหรือชุมชนโดยรอบว่าองค์ประกอบของชุมชนท่ี
สําคญั ตา่ งๆ มผี ลอยา่ งไรตอ่ การรับรูไ้ ด้ของผู้คนท่เี ก่ยี วกบั ภาพลักษณ์หรือจนิ ตภาพทัง้ ตวั อาคาร สถานที่
หรือบริเวณส่วนใดส่วนหนึ่งของชุมชนเมืองตามทฤษฎี Image of the City (Lynch, 2000) เช่น
ตาํ แหนง่ ที่ตง้ั สังเกตเห็นได้ง่าย โดยต้ังอยู่บนทางสัญจรหลัก อยู่บริเวณจุดตัดของทางสัญจรหรือติดกับ
ที่โล่งว่าง ชุมชนเมืองมีเส้นทางผ่านเนื่องจากเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์หรือบุคคลสําคัญในประวัติศาสตร์
ของชาติหรือในชมุ ชนเมืองนน้ั หรอื เปน็ หลักฐานแสดงถึงวิวฒั นาการและอารยธรรมของชุมชนเมืองหาก
เก่ยี วข้องมากจะได้รับคะแนนมากตามลาํ ดบั โดยมคี า่ คะแนนสูงสุด 3 คะแนน

2) เกณฑ์คุณค่าด้านอายุและความเก่าแก่ ได้พิจารณาจากอายุขององค์ประกอบของพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่า
พิจิตรและพื้นที่โดยรอบว่าปลูกสร้างข้ึนเมื่อใด มีอายุมากน้อยเพียงใดหรือประมาณค่าความเก่าแก่ของ
องค์ประกอบของชุมชนเมืองน้ันๆ โดยพิจารณาจากลักษณะ/วิธีการก่อสร้าง ช่างฝีมือและประวัติความ
เป็นมาของสิ่งปลูกสร้างหากมีอายุมากหรือมีความเก่าแก่มากจะได้รับคะแนนมากตามลําดับ โดยมีค่า
คะแนนสงู สดุ 3 คะแนน

3) เกณฑ์คุณค่าด้านสภาพอาคาร สถานที่และแหล่งโบราณสถาน ได้พิจารณาจากสภาพของโบราณสถาน
อาคารและสถานที่สําคัญว่าอยู่ระดับใด สภาพดีแค่ไหน ทรุดโทรมมากน้อยเพียงใด การบูรณะซ่อมแซม
ทาํ ไดเ้ พยี งใด เช่น อาคารทม่ี ีคณุ คา่ ทางศิลปกรรมใกลเ้ คยี งกันแตม่ ีสภาพอาคารดกี ว่าจะมคี ะแนนสูงกวา่
แม้ว่าอาคารท่ีมีคุณค่าทางศิลปกรรมสูงกว่าแต่ยากต่อการบูรณะหรือซ่อมแซม หากมีการบูรณะหรือ
ซ่อมแซมใหม่เป็นส่วนใหญ่อาคารอาจเส่ียงต่อการผิดเพี้ยนและทําให้คุณค่าด้อยลงไป รวมไปถึงความ

จงั หวัดพิจิตร 3-37 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศกั ยภาพของพืน้ ทเ่ี มืองพิจิตรและพื้นทโ่ี ดยรอบ

สะอาดเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย ความมนั่ คงแขง็ แรง การประดบั ตกแต่งยงั คงความงดงามและมีคณุ คา่ หรือ
มีการดัดแปลงทางกายภาพแต่ยังคงรูปแบบด้ังเดิมอยู่ในปริมาณมากพอสมควร และอยู่ในสภาพที่ดี ซ่ึง
การให้คะแนนจะใหค้ ะแนนมากนอ้ ยตามลักษณะทางกายภาพที่ปรากฏโดยมีค่าคะแนนสงู สุด 3 คะแนน
4) เกณฑ์คุณค่าด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม พิจารณาจากลักษณะทางสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม
ของอาคารและส่ิงปลูกสร้างต่างๆ ว่าจัดอยู่ในรูปแบบหรือรูปทรงลักษณะใด โดยเปรียบเทียบกับอาคาร
รูปแบบเดียวกันทั้งในระดับชาติหรือระดับท้องถ่ินหรือลักษณะโครงสร้างและการก่อสร้างเฉพาะอย่าง
พเิ ศษซ่งึ จะไดค้ ะแนนมากนอ้ ยตามลาํ ดับ โดยมีค่าคะแนนสงู สุด 3 คะแนน
5) เกณฑ์คุณค่าด้านองค์ประกอบและภาพลักษณ์ของพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบ (Image
of City) ไดพ้ จิ ารณาจากคณุ คา่ ดา้ นท่ีต้ังโดยคาํ นงึ ถึงความสมั พันธ์ตอ่ ส่วนอื่นๆ ของชุมชนเมืองมากน้อย
ไมเ่ ท่ากนั ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบส่วนต่างๆ ของชุมชนเมืองที่มองเห็นร่องรอยรูปแบบหรือแบบ
แผนผังอุทยานเมืองเก่าหรือแสดงการใช้พ้ืนที่ ขนาดสัดส่วนท่ีว่างเฉพาะอย่างภายในอุทยานเมืองเก่าและ
ความกลมกลนื ของแต่ละองคป์ ระกอบของชมุ ชนเมอื งกับพ้นื ทโ่ี ดยรอบ ฯลฯ รวมไปถงึ การพิจารณาขอบ
ท่ีโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์หรือตัวอาคารเองมีลักษณะทางกายภาพโดดเด่นจนเป็นที่หมายรู้/หมายตา
(Landmark) หรือมีย่าน (District) ที่มีลักษณะพิเศษทั้งลักษณะทางกายภาพและกิจกรรมที่ปรากฏบน
พ้ืนทย่ี า่ นนัน้ ๆ ฯลฯ จะได้คะแนนมากน้อยตามสง่ิ ทปี่ รากฏทางกายภาพและการรบั รู้ไดท้ างกายภาพของ
พ้นื ทีห่ รือบริเวณน้นั ๆ โดยมีคา่ คะแนนสูงสดุ 3 คะแนน
6) เกณฑ์คุณค่าความสําคัญต่อระบบสังคมและชุมชนเมือง ได้พิจารณาจากความสําคัญของอาคาร พื้นที่
โบราณสถานท่ีมีต่อระบบทางสังคมและมีความสําคัญหรือเป็นส่วนหนึ่งต่อระบบของย่านหรือชุมชนใน
ปัจจุบันที่คนภายในชุมชนรับรู้ความเก่ียวข้องอย่างใดอย่างหนึ่งต่อพ้ืนที่น้ัน เช่น เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
สถานท่สี าธารณะของชุมชนเมืองน้ันๆ โดยมีคา่ คะแนนสงู สุด 3 คะแนน

3.4.2 การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คุณคา่ และศกั ยภาพของพืน้ ท่ีอทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตรและพื้นท่ีโดยรอบ

การวิเคราะห์และประเมนิ คณุ คา่ และศกั ยภาพขององคป์ ระกอบสําคัญๆ ภายในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและ
พ้ืนทีโ่ ดยรอบได้พิจารณาจากการใหค้ ะแนนตามเกณฑ์ในหัวข้อ 3.4.1 และการให้ค่านํ้าหนักความสําคัญของแต่ละปัจจัยที่
มีผลกระทบต่อการอนุรักษ์จะใช้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมิน ซึ่งผลคะแนนรวมที่ได้จากการประเมินคุณค่าและศักยภาพตาม
หลกั เกณฑ์จะนําไปใชใ้ นการวางและจดั ทําแผนทจ่ี าํ แนกระดับความสาํ คญั และศกั ยภาพขององค์ประกอบท่สี ําคัญของพื้นที่
อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตรและชุมชนเมืองโดยรอบไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน อาคารและสถานท่ีสําคัญในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่า
พิจิตรและพื้นท่ีโดยรอบเพ่ือการอนุรักษ์และพัฒนาในด้านต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและนําไปใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการ
กําหนดขอบเขตการพัฒนาและปรับปรงุ พน้ื ที่อุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพื้นทีโ่ ดยรอบได้

การวเิ คราะห์และประเมนิ คณุ ค่าและศักยภาพด้านต่างๆ ขององคป์ ระกอบสําคัญๆ ภายในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานเมืองเก่า
พิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบท้ังด้านคุณค่าทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี อายุและความเก่าแก่ สภาพอาคาร สถานท่ีและ
โบราณสถาน สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม องค์ประกอบและภาพลักษณ์ของชุมชนเมือง (Image of City) และคุณค่า
ความสําคัญตอ่ ระบบสังคมและชมุ ชน เมอ่ื นําค่าคะแนนท่ีไดร้ บั จากการประเมินคณุ ค่าและศกั ยภาพในทุกๆ ด้านมารวมกัน

จงั หวัดพิจติ ร 3-38 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 3

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร การวเิ คราะห์และประเมินศกั ยภาพของพน้ื ทเี่ มืองพจิ ิตรและพืน้ ท่โี ดยรอบ

และจัดแบง่ กลุม่ คะแนนรวมตามคณุ ค่าและศักยภาพขององค์ประกอบสาํ คญั ๆ ภายในพ้นื ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พิจติ รและพนื้ ท่ี
โดยรอบจาํ แนกออกเปน็ 3 ระดับดงั ตารางที่ 3.4-1 และรปู ท่ี 3.4-1 ดังอธบิ ายไดด้ งั น้ี

1) กลุ่มองค์ประกอบของพื้นที่อุทยานเมืองเก่าและพ้ืนท่ีโดยรอบท่ีมีศักยภาพระดับสูง (>57 คะแนน) ถือ
เป็นองค์ประกอบท่ีมีคุณค่าและความสําคัญมากต่ออุทยานเมืองเก่าพิจิตร เนื่องจากเป็นองค์ประกอบ
ของชุมชนเมืองท่ีมีคุณค่าระดับสูงหลายด้านทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี อายุและความเก่าแก่
และความโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมเป็นหลักฐานสําคัญที่สถานภาพปัจจุบันในพ้ืนท่ี
อทุ ยานเมืองเก่ายังมีหลงเหลอื และปรากฏใหเ้ ห็น บง่ บอกถงึ ความเกา่ แก่ของพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
ท่ีมีประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐานมายาวนานและเป็นองค์ประกอบท่ีสร้างบรรยากาศและจินตภาพของ
การรบั รไู้ ดถ้ งึ ความเป็นอทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตรได้มาก รวมถงึ มีคณุ ค่าและความสําคญั ต่อสังคมและชุมชน
เมืองพิจิตรในแง่การรับรู้ของคนพิจิตร และเป็นพ้ืนท่ีทางสังคมให้กลุ่มชุมชนและชาวพิจิตรใช้ประกอบ
กิจกรรมสําคัญๆ เช่น งานนมัสการหลวงพ่อเพชรและสมโภชเมืองพิจิตร งานสงกรานต์ สรงน้ําพ่อปู่
บูชาหลักเมืองพิจิตร งานประเพณีแข่งขันเรือยาวจังหวัดพิจิตร งานประเพณีการทําบุญกลางบ้าน และ
งานพิธีบูชานพเคราะห์ ฯลฯ หากพิจารณาองค์ประกอบของชุมชนเมืองกลุ่มนี้เชิงท่ีต้ังจะได้ข้อสรุปว่า
องคป์ ระกอบสาํ คัญอย่ใู นพน้ื ทเี่ มืองพิจิตร 2 พ้นื ท่ี ได้แก่
1.1 พ้ืนที่เมืองพิจิตรเดิมตั้งอยู่ริมแม่น้ําพิจิตร (แม่นํ้าน่านสายเก่า) มีองค์ประกอบเมืองท่ีมีศักยภาพ
ในระดบั สูงจํานวน 4 แห่ง ได้แก่ อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ศาลหลักเมืองพิจิตร วัดนครชุม และวัด
โรงชา้ งตา่ งมคี วามสัมพันธ์กนั ตามหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรข์ องการสร้างเมืองเก่าพิจิตรในสมัย
พระยาโคตรตะบองขึ้นครองเมืองพิจิตร มีเจดีย์เก่าและวิหารเก่าที่มีรูปแบบด้านสถาปัตยกรรม
สวยงามแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น มีความโดดเด่นด้านสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม
และมคี วามสําคัญทางประวตั ศิ าสตร์ รวมถงึ เป็นทหี่ มายตาทสี่ าํ คญั (Landmark) ของเมอื งพจิ ติ ร
ส่งผลกระทบต่อการรับรู้ได้ถึงภาพลักษณ์ของความเป็นเมืองเก่าพิจิตรในมุมมองของชาวพิจิตร
และผูท้ ่มี าเยีย่ มเยอื นเมอื งพิจิตร
1.2 พื้นท่ีเมืองพิจิตรในปัจจุบันต้ังอยู่ริมแม่นํ้าน่าน จะมีองค์ประกอบเมืองที่มีศักยภาพในระดับสูง
จํานวน 2 แห่ง ได้แก่ วัดท่าหลวง พระอารามหลวง เป็นวัดเก่าแก่ท่ีมีมาก่อนการต้ังเมืองพิจิตร
และเปน็ ที่หมายตาทสี่ ําคญั ของจังหวัดพจิ ติ รเพราะว่าเมื่อกลา่ วถงึ หรือเดนิ ทางมาถึงจังหวดั พจิ ติ ร
จะต้องจดจําได้และจะต้องไปนมัสการกราบไหว้หลวงพ่อเพชร ณ วัดท่าหลวง พระอารามหลวง
สว่ นยา่ นพาณชิ ยกรรมวงั กรด ต้งั อยรู่ มิ แม่น้าํ น่าน ในเขตเทศบาลตาํ บลวงั กรด อําเภอเมืองพิจิตร
ห่างจากตัวเมืองพิจิตรไม่เกิน 10 กิโลเมตร เป็นย่านการค้าด้ังเดิมย่านหนึ่งภายในจังหวัดพิจิตร
จะเกดิ จากการเปน็ ชมุ ทางการเดนิ ทางที่สาํ คัญเมอ่ื ปี พ.ศ. 2451 คือ การเกิดทางรถไฟสายเหนือ
และสถานรี ถไฟบ้านวงั กลม หลงั จากนั้นจงึ เกดิ การสรา้ งตลาดขึน้ เป็นชุมชนค้าขายและกลายเป็น
ศนู ยก์ ลางการคา้ ขายแหล่งใหญ่ของจังหวัดพิจิตรแห่งหนึ่ง ภายในย่านตลาดวังกรดในสถานภาพ
ปัจจุบันยังปรากฏอาคารและสิ่งปลูกสร้างท่ีมีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมหลงเหลือ
อยู่เป็นจํานวนมาก จัดเป็นอาคารเรือนแถวไม้สร้างในสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ต้ังกระจุกตัวอยู่
หนาแน่นในพนื้ ท่ีระหวา่ งสถานรี ถไฟวงั กรดและแมน่ ้ํานา่ น จะเห็นไดว้ ่าองคป์ ระกอบเมืองจะรับรู้
และบ่งบอกได้ถงึ ความเปน็ ย่านการค้าที่เคยเจริญรุ่งเรืองมาก่อนเม่ือคร้ังในอดีต แม้ว่าปัจจุบันจะ
เป็นเพียงยา่ นชุมชนอยอู่ าศยั ที่มสี ภาพซบเซาแลว้

จังหวดั พิจติ ร 3-39 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร

ตาราง
การจดั กลุ่มคะแนนตามคณุ ค่าและศักยภาพขององค

คุณคา่ และศักยภาพดา้ น

ความสาํ คัญตอ่ ระบบสงั คม ความสาํ คญั ดา้ น องค์ประกอบและจินตภาพ สถ

สถานที่สําคัญ และชุมชน ประวัติศาสตร์ ของเมอื ง ค่าถ
คา่ ถ่วงน้าํ หนกั A = 6 ค่าถว่ งนํ้าหนกั B = 5 ค่าถว่ งน้าํ หนกั C = 4

คะแนน Axคะแนน คะแนน Bxคะแนน คะแนน Cxคะแนน คะแ

ความสาํ คญั ความสําคญั ความสําคัญ ความสาํ คญั ความสาํ คัญ ความสําคัญ ความส

1. บึงสไี ฟ 3 18 2 10 3 12 1

2. แมน่ ํา้ พิจิตร (แม่น้ําน่านสายเกา่ ) 3 18 3 15 3 12 1

3. แม่น้ํานา่ น 3 18 3 15 3 12 1

4. วัด/ศาสนสถาน

4.1 วดั ทา่ หลวง พระอารามหลวง 3 18 3 15 3 12 3

4.2 วดั นครชมุ 3 18 3 15 3 12 3

4.3 วัดสมาบาป 2 12 2 10 1 4 2

4.4 วัดขนนุ 2 12 2 10 1 4 2

4.5 วดั ทา่ ขอ่ ย 2 12 2 10 1 4 2

4.6 วดั เขื่อนนครเขต 2 12 2 10 1 4 2

4.7 วดั ประทม 2 12 2 10 1 4 2

4.8 วัดโรงชา้ ง 3 18 3 15 3 12 3

5. อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร 3 18 3 15 3 12 3

6. ศาลหลกั เมอื งพจิ ติ ร 3 18 3 15 3 12 2

7. ยา่ นพาณิชยกรรมวังกรด 3 18 3 15 3 12 3

หมายเหตุ: ระดับคะแนนความสําคญั

คะแนนความสาํ คญั มาก = 3 คะแนน คะแนนความสําคัญปานกลาง = 2 คะแนน คะแนนความสําคญั นอ้ ย = 1 คะแนน

ค่าถว่ งนํา้ หนกั

A = 6 คะแนน B = 5 คะแนน C = 4 คะแนน D = 3 คะแนน E = 2 คะแนน F = 1 คะแนน

ระดบั คะแนนคณุ ค่าและศกั ยภาพของโบราณสถาน อาคารหรอื สถานที่สําคญั แบ่งออกเปน็ 3 กลุม่ ได้แก่

คุณคา่ และศกั ยภาพต่ํา = นอ้ ยกว่า 48 คะแนน

คณุ คา่ และศกั ยภาพปานกลาง = 48 - 57 คะแนน

คุณค่าและศกั ยภาพสงู = มากกว่า 57 คะแนน

ท่มี า: ดัดแปลงจากโครงการกาํ หนดขอบเขตพืน้ ทเ่ี มืองเกา่ เมืองเก่าพจิ ิตร, สํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. 2559)

จังหวดั พิจิตร

บทที่ 3
การวิเคราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพ้ืนท่เี มืองพจิ ิตรและพ้ืนที่โดยรอบ

งท่ี 3.4-1
คป์ ระกอบพ้นื ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ รและพื้นทีโ่ ดยรอบ

นต่างๆ อายุและความเกา่ แก่ คุณภาพและสภาพอาคาร คะแนนรวม ระดับคุณค่าและศกั ยภาพ
ถาปัตยกรรมและ
คา่ ถว่ งนํ้าหนกั E = 2 ค่าถว่ งนาํ้ หนกั F = 1 50 ปานกลาง
ศลิ ปกรรม คะแนน Exคะแนน คะแนน Fxคะแนน 56 ปานกลาง
ถ่วงนํา้ หนกั D = 3 ความสําคญั ความสําคัญ ความสําคัญ ความสําคัญ 56 ปานกลาง

แนน Dxคะแนน 36 11
สาํ คญั ความสาํ คัญ 36 22
13 36 22
13

13

393633 63 สงู
393633 63 สูง
262433 39 ตาํ่
262433 39 ต่ํา
262433 39 ตาํ่
262433 39 ตํา่
262433 39 ตํ่า
393633 63 สูง
393633 63 สูง
263633 60 สูง
393633 63 สูง

3-40 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพ้ืนทเี่ มืองพิจิตรและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ

รปู ท่ี 3.4-1 ความสาํ คัญของคณุ คา่ และศกั ยภาพของโบราณสถาน อาคารหรือสถานทีส่ าํ คญั ในพน้ื ที่เมืองพจิ ิตร

จังหวดั พิจติ ร 3-41 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะห์และประเมนิ ศกั ยภาพของพืน้ ทเี่ มืองพจิ ติ รและพืน้ ทโ่ี ดยรอบ

2) กลุ่มองค์ประกอบของพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าและพ้ืนท่ีโดยรอบท่ีมีศักยภาพระดับปานกลาง (48-57
คะแนน) มีองค์ประกอบเมืองท่ีมีศักยภาพในระดับปานกลางจํานวน 3 แห่ง ได้แก่ แม่น้ําพิจิตร (แม่นํ้า
น่านสายเก่า) แม่น้ําน่าน และบึงสีไฟ จะเห็นว่าองค์ประกอบทั้งหมดเป็นแหล่งธรรมชาติสําคัญในพ้ืนที่
โดยรอบของพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรโดยเฉพาะแม่น้ําพิจิตรและแม่น้ําน่านถือเป็นองค์ประกอบที่
สาํ คญั ในการเลอื กตัง้ ถ่ินฐานเรม่ิ แรกของชุมชนเมืองพิจิตรท้ัง 2 แห่ง แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการและการ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับชุมชนเมืองเก่าพิจิตรท้ังสองแห่งและจัดเป็นองค์ประกอบที่มีคุณค่าและความ
สาํ คัญตอ่ ระบบสงั คมและชุมชนเน่ืองจากเป็นแหล่งน้ําผิวดินสําคัญท่ีชาวพิจิตรในอดีตใช้ในการอุปโภค–
บริโภค การเกษตรและเป็นเส้นทางสัญจรและติดต่อค้าขายรวมถึงชาวพิจิตรในปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์
จากแม่น้ําพิจิตรและแม่นํ้าน่านเป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจของชุมชนเมืองพิจิตรและชุมชนริมแม่น้ํา
น่านและแม่นํา้ พจิ ติ รและเปน็ สถานทจ่ี ดั กจิ กรรมประเพณีสําคัญในจังหวัดพิจิตรโดยเฉพาะงานประเพณี
แข่งขันเรือยาวจังหวัดพิจิตร ณ แม่นํ้าน่าน หน้าวัดท่าหลวง พระอารามหลวงซ่ึงเป็นงานประเพณีแข่งขัน
เรือยาวท่มี ีชอื่ เสียงโด่งดังระดับประเทศ

3) กลุ่มองค์ประกอบของพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าและพ้ืนที่โดยรอบท่ีมีศักยภาพระดับตํ่า (<48 คะแนน) มี
องค์ประกอบเมืองที่มีศักยภาพในระดับต่ําจํานวน 5 แห่ง ได้แก่ วัดสมาบาป วัดขนุน วัดเขื่อนนครเขต
วดั ทา่ ข่อย และวดั ประทม จะเหน็ ว่าองค์ประกอบทั้งหมดเป็นกลุ่มศาสนสถานในศาสนาพุทธท้ังส้ิน โดย
ตัง้ กระจายอยูภ่ ายในพ้นื ที่ชมุ ชน ทําหนา้ ที่เปน็ ศนู ย์กลางย่อยของชุมชนในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตําบล
เมืองเก่าและองค์การบริหารส่วนตําบลโรงช้าง เหตุผลที่องค์ประกอบเมืองในกลุ่มน้ีจัดให้อยู่ในกลุ่มท่ีมี
ศักยภาพตํ่าเนื่องจากคุณค่าและศักยภาพขององค์ประกอบด้านคุณภาพและสภาพอาคารและหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ รวมถึงคุณค่าและศักยภาพทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมของอาคารและ
ส่ิงก่อสร้างต่างๆ ภายในศาสนสถานมีสภาพชํารุดทรุดโทรมเปลี่ยนสภาพไปมากตามกาลเวลา บางส่วน
จงึ ถกู สร้างข้ึนมาใหมแ่ ละไม่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสําคัญเหลืออยู่มาก แม้ว่าองค์ประกอบ
ส่วนใหญ่จะมคี ณุ ค่าและศกั ยภาพดา้ นความสาํ คัญทางประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี อายุและความเก่าแก่

3.4.3 การศกึ ษาเปรียบเทยี บทางเลือกเพ่อื การพฒั นาพ้นื ทอี่ ุทยานเมอื งเก่าพิจิตรและพ้นื ทโ่ี ดยรอบ

สืบเน่ืองมาจากการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าและศักยภาพด้านต่างๆ ขององค์ประกอบสําคัญๆ ภายในพ้ืนที่
อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบตามข้อ 3.4.2 ได้ข้อสรุปว่าพ้ืนที่เมืองพิจิตรเดิมต้ังอยู่ริมแม่น้ําพิจิตร (แม่นํ้าน่าน
สายเกา่ ) มอี งค์ประกอบเมืองทม่ี ีศักยภาพในระดับสูง 4 แหง่ ได้แก่ อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ศาลหลักเมืองพิจิตร วัดนครชุม
และวดั โรงชา้ ง หากพิจารณาพ้ืนท่ีอุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร (รวมศาลหลักเมอื งพิจิตร) จะเป็นองคป์ ระกอบของเมืองพจิ ติ รที่มี
ศักยภาพในระดับสูงและจําเป็นต้องได้รับการพัฒนา ฟื้นฟูและบูรณะ มิให้เสื่อมสภาพไปมากกว่าสภาพเดิมอย่างเร่งด่วน
เน่ืองจากเป็นพื้นท่ีที่มีความสัมพันธ์กันตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของการสร้างเมืองเก่าพิจิตรเม่ือคร้ังสมัยพระยา
โคตรตะบองขึ้นครองเมืองพิจิตร รวมท้ังมีศาสนสถานโบราณ เจดีย์เก่าแก่และวิหารเก่าแก่ท่ีมีรูปแบบด้านสถาปัตยกรรม
สวยงามแสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ มีความโดดเดน่ ดา้ นสถาปัตยกรรม ศิลปกรรมและมีความสําคัญทาง
ประวัติศาสตร์และเปน็ ที่หมายตาทส่ี ําคัญ (Landmark) ของเมืองพิจติ รสง่ ผลกระทบต่อการรบั รูไ้ ด้ถึงภาพลกั ษณข์ องความ
เปน็ เมืองเก่าพิจิตรในมมุ มองของชาวพิจิตรและผู้ท่ีมาเยีย่ มเยือนเมอื งพจิ ิตร

จงั หวัดพิจิตร 3-42 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพ้ืนท่ีเมอื งพิจติ รและพ้นื ท่โี ดยรอบ

จะเห็นว่าสถานภาพปัจจุบันของพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรมีสภาพชํารุด ทรุดโทรมตามกาลเวลา สิ่งก่อสร้าง
และสิ่งอํานวยความสะดวก ร้านค้าชํารุดเสียหายและเสื่อมสภาพและสภาพแวดล้อมโดยรอบไม่งดงามเนื่องจากขาด
งบประมาณพัฒนา ปรับปรุงและบํารุงรักษาต่อเน่ืองมาเป็นเวลานาน เพ่ือสนองตอบด้านส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว
อย่างย่ังยืน และสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล รวมท้ังเป็นการพัฒนาอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตรให้เกิดความ
เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีและการใช้ประโยชน์และมีส่ิงอํานวยความสะดวกในการให้บริการท่ีดีแก่นักท่องเที่ยวภายในและ
ภายนอกจังหวัดและเพื่อรองรับความพรอ้ มในการกา้ วไปสกู่ ารเปน็ ศนู ย์กลางการทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนรุ ักษใ์ นพ้ืนท่ีจังหวัดพิจิตร
จึงเสนอทางเลอื กในการพัฒนาพนื้ ทอี่ ุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและพืน้ ทโ่ี ดยรอบเป็น 3 ทางเลอื ก ไดแ้ ก่

1) ทางเลือกท่ี 1 การออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยไม่มีการออกแบบ
กอ่ สรา้ งอาคารสิง่ ปลกู สรา้ งใดๆ
1.1 ข้อดี
ก) สภาพแวดล้อมภายในพื้นท่อี ทุ ยานเมอื งเก่ามคี วามโดดเดน่ และสวยงามเพม่ิ ขึน้
ข) องคป์ ระกอบท่ีมีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี อายุและความเก่าแก่และความ
โดดเดน่ ดา้ นสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมจะไม่ไดร้ ับผลกระทบหากมกี ารปรบั ปรุง
ค) ราคาค่าปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่ามีราคาตํ่าสุด (31.397 ล้านบาท-ดู
รายละเอียดเพิ่มเตมิ ในสรปุ ผลการประมาณราคาค่ากอ่ สร้าง)
ง) ค่าดําเนินการและบํารุงรักษามีราคาตํ่าสุด (0.314 ล้านบาท/ปี-คิดคํานวณจาก 1% ของ
ราคาค่าก่อสร้าง)
จ) ระยะเวลาปรับปรุงภูมิทัศน์ไม่เกิน 6 เดือนและไม่ส่งผลกระทบต่อนักท่องเท่ียวที่จะเข้า
มาเย่ยี มชม
1.2 ข้อดอ้ ย
ก) ไม่ไดร้ ับการยอมรบั จากกลุม่ ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ (ดูจากผลการจดั ประชุมกลุ่มยอ่ ยคร้งั ท่ี 1 และ
ครัง้ ที่ 2)
ข) ไม่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวท้องถ่ินและต่างถิ่นให้เข้ามาเย่ียมชมได้เน่ืองจากความไม่
พร้อมของสงิ่ อาํ นวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภคตา่ งๆ
ค) ไม่คมุ้ ค่ากบั คา่ ลงทุนปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์ภายในพ้ืนท่ีอทุ ยานเมืองเกา่

2) ทางเลือกท่ี 2: การออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยมีการออกแบบ
ก่อสร้างอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคเพ่ิมเติมตามความ
จาํ เปน็
2.1 ข้อดี
ก) สภาพแวดล้อมภายในพน้ื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ มีความโดดเดน่ และสวยงามเพ่มิ ขน้ึ
ข) สามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวท้องถิ่นและต่างถ่ินให้เข้ามาเย่ียมชมได้เพ่ิมขึ้นเนื่องจากความ
พร้อมของอาคารสง่ิ ปลูกสรา้ ง ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภคตา่ งๆ
ค) ไดร้ บั การยอมรบั จากกลมุ่ ชุมชนทอ้ งถ่นิ คิดเปน็ สัดส่วนมากกว่า 92.50%-ดูจากผลการจัด
ประชุมกลมุ่ ยอ่ ยคร้ังที่ 1 และครง้ั ที่ 2)
ง) คมุ้ ค่ากบั คา่ ลงทนุ ปรับปรุงภูมิทัศน์และก่อสร้างอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมส่ิงอํานวยความ
สะดวกและระบบสาธารณปู โภคภายในพื้นท่อี ทุ ยานเมอื งเก่า

จังหวดั พิจิตร 3-43 มหาวิทยาลัยมหิดล


Click to View FlipBook Version