The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dhara.consult, 2021-03-31 04:31:06

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การสาํ รวจสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคดิ เหน็

ตารางท่ี ก-2
สถานภาพทางเศรษฐกจิ ของกลมุ่ ประชาชนทอี่ าศยั อยใู่ นพนื้ ทีศ่ ึกษาและพืน้ ทโี่ ดยรอบ

รายละเอียด จาํ นวน รอ้ ยละ
(n = 300 ชุด)
18.00
1. การประกอบอาชีพหลกั 54 29.33
(1) แมบ่ า้ น, พ่อบา้ น 88 19.33
(2) เกษตรกรรม 58 23.67
(3) รับจ้างทัว่ ไป 71 3.00
(4) ค้าขาย 9 6.67
(5) รบั ราชการ 20
(6) ธุรกจิ สว่ นตัว 6.67
20 8.00
2. รายไดข้ องครอบครวั 24 48.67
(1) ไมเ่ กิน 5,000 บาทต่อเดือน 146 21.33
(2) 5,001-10,000 บาท/เดือน 64 10.67
(3) 10,001-15,000 บาท/เดอื น 32 4.67
(4) 15,001-20,000 บาท/เดอื น 14 บาท
(5) 20,001-25,000 บาท/เดอื น
(6) มากกวา่ 25,000 บาท/เดือน 14,550 10.33
27.67
รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครัวเรอื น/เดือน 43.67
7.00
3. รายจา่ ยของครอบครวั 31 10.67
(1) ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน 83 0.67
(2) 5,001-10,000 บาท/เดอื น 131 บาท
(3) 10,001-15,000 บาท/เดอื น 21
(4) 15,001-20,000 บาท/เดอื น 32 1.00
(5) 20,001-25,000 บาท/เดือน 2 13.67
(6) มากกวา่ 25,000 บาท/เดอื น 85.33
11,875
รายจา่ ยเฉลย่ี ตอ่ ครัวเรอื น/เดอื น

4. ภาวะการเงินของครัวเรอื นในปัจจบุ นั 3
(1) ไมพ่ อใช้ 41
(2) พอใช้ แต่ไมเ่ หลือเกบ็ 256
(3) พอใช้ มเี หลอื เก็บ

จงั หวัดพิจติ ร ก-2 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การสาํ รวจสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคดิ เหน็

ตารางที่ ก-3
สถานภาพทางสงั คมและลกั ษณะความสัมพนั ธข์ องกล่มุ ประชาชนทอ่ี าศัยอยู่ในพนื้ ทศี่ กึ ษาและพ้ืนทโ่ี ดยรอบ

รายละเอยี ด จาํ นวน รอ้ ยละ
(n = 300 ชดุ )
1. สภาพการถอื ครอง
(1) เป็นเจ้าของ 290 96.67
(2) เชา่ 10 3.33
2. สภาพบา้ นพักอาศัย
(1) บา้ นเดี่ยว 281 93.67
(2) ทาวเฮาส์ 10 3.33
(3) ตึกแถวหรืออาคารพาณิชย์ 8 2.67
(4) แฟลต/ห้องเช่า 1 0.33
3. ลักษณะความสมั พนั ธโ์ ดยท่ัวไปของคนในชุมชน/หมูบ่ า้ น (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คําตอบ)
(1) มีความสัมพนั ธท์ ดี่ ีระหวา่ งเพอื่ นบา้ น 300 100.00
(2) เพื่อนบ้านไปมาหาสซู่ ึ่งกนั และกัน 272 90.67
(3) ต่างคนตา่ งอย่ไู มย่ งุ่ เกี่ยวกัน 2 0.67
(4) ประชาชนเชอื่ ฟังและปฏิบตั ิตามผู้นาํ ชมุ ชน 194 64.67
(5) ชุมชนเขม้ แขง็ และใหค้ วามรว่ มมอื ในกจิ กรรมตา่ งๆ ของชุมชน 260 86.67
4. ปัญหาสว่ นใหญ่ท่ีพบภายในชุมชน/หมบู่ ้าน (ตอบไดม้ ากกว่า 1 คําตอบ)
(1) ปัญหาการลกั ขโมย 32 10.67
(2) ปัญหาการทะเลาะวิวาท 32 10.67
(3) ปญั หายาเสพตดิ 300 100.00
(4) ปัญหาความยากจน 41 13.67
(5) ปญั หาการวา่ งงาน 2 0.67
(6) ปัญหาอาชญากรรม 0 0.00
5. ความรู้สกึ โดยภาพรวมกบั ชุมชน/หมู่บา้ นทอ่ี าศยั อยู่ในปัจจบุ นั
(1) เปน็ ชมุ ชนที่น่าอยู่อาศัย 300 100.00
(2) เป็นชุมชนทีไ่ ม่นา่ อยอู่ าศยั 0 0.00

จงั หวัดพิจติ ร ก-3 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร การสาํ รวจสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและความคิดเห็น

ตารางท่ี ก-4
สถานภาพทางสาธารณสุขและความปลอดภัยของกลุ่มประชาชนที่อาศัยอยใู่ นพ้ืนที่ศกึ ษาและพ้ืนทีโ่ ดยรอบ

รายละเอียด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 300 ชุด)
1. รอบปที ีผ่ า่ นมามีเดก็ อายุ 0-5 ปีในบา้ นของท่านไดร้ บั การฉดี วัคซนี จากเจ้าหน้าที่
อนามยั หรอื หมอหรอื ไม่ เชน่ คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก วณั โรค ฯลฯ 18 6.00
(1) ไมเ่ คยฉดี 104 34.67
(2) ฉดี แตไ่ มค่ รบตามกาํ หนด 38 12.67
(3) ได้ฉีดครบถว้ นตามกําหนด 140 46.67
(4) ไมม่ ีเด็กในบา้ น
2. รอบปีทผี่ า่ นมามีการกําจดั ลูกนา้ํ ในบริเวณบา้ นของทา่ นอยา่ งไร 82 20.81
(ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ ) 178 45.18
(1) ไมม่ ลี กู นํา้ ในบรเิ วณบ้าน 122 30.96
(2) กาํ จดั /เปลย่ี นถา่ ยนํา้ ทข่ี ังในภาชนะตา่ งๆ 12 3.05
(3) ใส่ทรายอะเบท
(4) ไม่มีการกาํ จัด 206 68.67
3. รอบปีท่ีผา่ นมาในบ้านของทา่ นมีเจ้าหนา้ ท่ีหน่วยมาลาเรยี มาพ่นยาหรือไม่ 94 31.33
(1) ไม่มี
(2) มี 68 22.67
4. รอบปที ผ่ี า่ นมาในบ้านของทา่ นทีเ่ จบ็ ปว่ ยขนาดต้องพาไปหาหมอหรือไม่ 232 77.33
(1) ไม่มี
(2) มี 113 37.67
5. ปกติท่าน/สมาชกิ ในครอบครัวของท่านไปรักษาพยาบาลทีไ่ หน 262 87.33
(ตอบไดม้ ากกว่า 1 คาํ ตอบ) 2 0.67
(1) ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ 13 4.33
(2) โรงพยาบาลของภาครัฐและภาคเอกชน
(3) หมอแผนโบราณ/แพทยแ์ ผนไทย 238 79.33
(4) ซอื้ ยามากนิ เอง 62 20.67
6. การเจ็บปว่ ยของสมาชิกในครัวเรือนในรอบปที ี่ผา่ นมา
(1) ไมเ่ จบ็ ป่วย
(2) เจ็บปว่ ย

จงั หวัดพิจิตร ก-4 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การสาํ รวจสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและความคิดเหน็

ตารางที่ ก-4 (ต่อ)
สถานภาพทางสาธารณสุขและความปลอดภัยของกลุ่มประชาชนทอ่ี าศัยอยใู่ นพื้นท่ศี กึ ษาและพนื้ ท่โี ดยรอบ

รายละเอยี ด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 300 ชดุ )
6.1 สาเหตุ 21 กล่มุ โรค 0.67
(1) โรคที่ตดิ เชื้อและปรสิต เชน่ โรคติดเชือ้ แบคทเี รยี โรคตดิ เชื้อทีล่ าํ ไส้ฯ 2 0.00
(2) โรคเลอื ดและอวยั วะสรา้ งเลือดและความผดิ ปกตเิ กี่ยวกับภมู คิ ุ้มกนั เช่น โรคโลหิตจาง 0
ทาลัสซีเมีย 0.00
(3) เนือ้ งอก (รวมมะเรง็ ) 0 54.00
(4) โรคเกีย่ วกับตอ่ มไรท้ ่อ โภชนาการและเมตาบอลิซึม เชน่ คอพอก ไทรอยด์ เบาหวาน 162 0.00
(5) ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤตกิ รรม เช่น สมองเสอื่ ม โรคซมึ เศร้า โรคประสาท 0 0.00
(6) โรคระบบประสาท เช่น โรคสมองอกั เสบ โรคไขสนั หลงั อักเสบ โรคลมชัก เกร็ง-กระตกุ 0
ไมเกรน ปวดศรี ษะ อัมพาต 0.00
(7) โรคตา รวมส่วนประกอบของตา 0 0.67
(8) โรคหแู ละปมุ่ กกหู 2 54.00
(9) โรคระบบไหลเวียนเลือด เช่น โรคหัวใจ โรครูมาตกิ ความดันโลหิต ริดสีดวงทวาร 162
โรคเลือดออกในสมอง ตอ่ มน้าํ เหลอื งอักเสบ 2.00
(10) โรคระบบหายใจ เช่น โรคหอบหืด โรคหลอดลมอกั เสบ โรคปอดอักเสบ 6 0.00
(11) โรคระบบยอ่ ยอาหาร รวมโรคในช่องปาก 0 0.00
(12) โรคผวิ หนงั และเน้อื เยอื่ ใต้ผิวหนัง เชน่ ผวิ หนงั อกั เสบ โรคสะเกด็ ลมพิษ 0 9.33
(13) โรคระบบกล้ามเน้อื รวมโครงร่างและเน้ือยดึ เสรมิ เช่น โรคไขขอ้ อักเสบ ขอ้ เส่ือม 28
โรคกระดกู 9.33
(14) โรคหวดั 28 0.00
(15) โรคระบบอวัยวะสืบพนั ธุ์รวมปสั สาวะ เชน่ ไตอักเสบ นว่ิ หย่อนสมรรถภาพ 0
ความผดิ ปกตขิ องอวยั วะสืบพันธุ์ 0.00
(16) ภาวะแทรกในการต้ังครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด 0 0.00
(17) ภาวะผิดปกติของทารกท่เี กดิ ขึน้ ในระยะปริกําเนิด (อายคุ รรภ์ 22 สัปดาหข์ ้ึนไป 0
จนถึง 7 วัน หลังคลอด) 0.00
(18) รูปรา่ งผิดปกตแิ ต่กําเนิด การพิการจนผิดรูปแต่กําเนดิ และโครโมโซม 0 0.00
(19) อาการแสดงและสงิ่ ผิดปกติทพี่ บได้จากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏบิ ัติการ 0
ท่ไี มส่ ามารถจาํ แนกโรคในกลุม่ อ่นื ได้ 12.00
(20) ปวดเมอื่ ยกลา้ มเนื้อ 36 0.00
(21) อนื่ ๆ เช่น ภมู แิ พ้ กระเพาะ ไสเ้ ลื่อน ไข้เลอื ดออก 0

จงั หวัดพิจิตร ก-5 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคิดเห็น

ตารางท่ี ก-4 (ตอ่ )
สถานภาพทางสาธารณสขุ และความปลอดภัยของกล่มุ ประชาชนทีอ่ าศยั อยู่ในพื้นที่ศกึ ษาและพ้นื ท่โี ดยรอบ

รายละเอยี ด จํานวน รอ้ ยละ
(n = 300 ชดุ )
6.2 กลมุ่ โรคเฝา้ ระวงั 10 กลุ่มโรค
(1) อจุ จาระรว่ ง 0 0.00
(2) ปอดบวม 0 0.00
(3) ไข้เลือดออก 64 21.33
(4) สกุ ใส 0 0.00
(5) อาหารเปน็ พษิ 0 0.00
(6) วณั โรคปอด
(7) ไขไ้ ม่ทราบสาเหตุ 98 32.67
(8) มอื เทา้ ปาก
(9) ตาแดง 0 0.00
(10) ไขห้ วดั ใหญ่ 0 0.00
7. ทา่ นคิดวา่ การพฒั นาโครงการจะมีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและสุขภาพจิตหรือไม่ 0 0.00
7.1 ผลกระทบต่อสขุ ภาพกาย 124 41.33
(1) ไม่มี
(2) มี ระบุ ....................... 300 100.00
7.2 ผลกระทบต่อสขุ ภาพจิต 0 0.00
(1) ไม่มี
(2) มี ระบุ ........................ 300 100.00
0 0.00

จงั หวดั พิจติ ร ก-6 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ก
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคดิ เห็น

ตารางท่ี ก-5
การได้รบั ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มสาํ คญั ในสถานภาพปจั จบุ ันในชมุ ชนท้องถิ่น

รายละเอียด จาํ นวน รอ้ ยละ
(n = 300 ชดุ )
1. การไดร้ ับผลกระทบสง่ิ แวดล้อมสาํ คญั
(1) ไม่ได้รับผลกระทบ 276 92.00
(2) ไดร้ ับผลกระทบ 24 8.00
2. ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มสาํ คญั ระบุ ..............
(1) ปัญหากลน่ิ เหมน็ 0 0.00
(2) ปัญหาขยะมูลฝอย 0 0.00
(3) ปญั หาน้าํ เสยี 0 0.00
(4) ปญั หาเขม่า/ควัน เชน่ เผาขยะ (ระดบั นอ้ ย) 24 8.00
(5) ปัญหาฝุ่นละออง 0 0.00
(6) ปญั หาเสยี งและการสั่นสะเทือน 0 0.00
(7) ปัญหาการจราจรตดิ ขัด 0 0.00
(8) ปัญหาความแออัดของทอ่ี ยู่อาศยั 0 0.00
(9) ปัญหาการบดบงั แสงของอาคารใกลเ้ คยี ง
(10) ปญั หาการบดบังลมของอาคารใกลเ้ คยี ง 0 0.00
(11) ปัญหาสังคม
0 0.00
0 0.00

จงั หวดั พิจิตร ก-7 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ก
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สงั คมและความคดิ เหน็

ตารางท่ี ก-6
การรบั รู้และความคิดเห็นตอ่ การก่อสรา้ ง/ปรบั ปรงุ พืน้ ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร

รายละเอียด จาํ นวน รอ้ ยละ
(n = 300 ชุด)
1. ท่านรับทราบหรอื ไมว่ า่ จะมกี ารพฒั นาโครงการฯ เกดิ ขึ้น
(1) ไม่ทราบ 134 44.67
(2) ทราบ 166 55.33
2. ระบุแหลง่ ขอ้ มูล
(1) แผ่นปา้ ยโฆษณา/แผ่นพับประชาสัมพนั ธ์ 20 12.05
(2) ผนู้ าํ ชุมชน/เพอื่ นบา้ น 124 74.70
(3) หน่วยงานเจ้าของโครงการ 22 13.25
3. การกอ่ สรา้ ง/ปรบั ปรุงพนื้ ท่อี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรโดยเฉพาะอาคารศาลหลกั เมอื ง
อาคารพักนกั ท่องเที่ยว อาคารจาํ หน่ายธปู เทียน และอาคารรา้ นคา้ ฯลฯ 172 57.33
(1) มีการจัดการจราจรท่ดี ี 224 74.67
(2) มรี ะบบความปลอดภัย 152 50.67
(3) มีระบบจดั การมูลฝอย 236 78.67
(4) มสี าธารณูปโภคครบครัน 230 76.67
4. การได้รบั ผลกระทบจากการพฒั นาโครงการ
(1) ไมส่ ง่ ผลกระทบใดๆ 70 23.33
(2) ไดร้ บั ผลกระทบ 230 76.67
5. ผลกระทบเชิงบวก
ระดบั ผลกระทบ 230 76.67
(1) มาก
(2) ปานกลาง 160 69.57
(3) น้อย 50 21.74
6. ผลกระทบเชิงลบ 20 8.70
ระดับผลกระทบ
(1) มาก 0 0.00
(2) ปานกลาง
(3) นอ้ ย 0 0.00
0 0.00
0 0.00

จังหวัดพิจติ ร ก-8 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ก
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การสํารวจสภาพเศรษฐกจิ สังคมและความคดิ เหน็

ตารางท่ี ก-6 (ตอ่ )
การรับรู้และความคดิ เหน็ ต่อการกอ่ สร้าง/ปรบั ปรงุ พนื้ ท่อี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

รายละเอยี ด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 300 ชุด)
7. ผลกระทบเชิงบวกทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขนึ้
(1) ทาํ ให้ประชาชนมที างเลือกในการหาสถานพยาบาลเพม่ิ เติม 298 99.33
(2) ทาํ ใหเ้ กิดการจ้างงานในชมุ ชนมากขน้ึ 284 94.67
(3) ทาํ ใหเ้ กิดรายได้จากการขายสินค้าและบริการใหผ้ ู้พกั อาศัย 298 99.33
(4) ช่วยใหช้ มุ ชนเจริญและพฒั นาไปมากกวา่ เดิม 298 99.33
(5) ทําให้ธุรกจิ การคา้ ในพน้ื ที่ใกล้เคยี งดขี นึ้ 282 94.00
8. ผลกระทบเชงิ ลบทคี่ าดว่าจะเกดิ ข้ึน
8.1 ระยะกอ่ สร้าง 0 0.00
(1) ปญั หาฝนุ่ ละออง/อากาศเสีย 0 0.00
(2) ปญั หาเสยี งดังรบกวน 0 0.00
(3) ปญั หาความส่นั สะเทือน 0 0.00
(4) ปญั หาการทรดุ ตัว/การพงั ทลายของดนิ 0 0.00
(5) ปัญหาน้ําเน่าเสยี 0 0.00
(6) ปญั หาขยะมูลฝอย 0 0.00
(7) ปัญหาการจราจรตดิ ขดั
8.2 ระยะดําเนนิ การ 0 0.00
(1) ปญั หาฝุ่นละออง/อากาศเสีย 0 0.00
(2) ปญั หาเสยี งดังรบกวน 0 0.00
(3) ปัญหานาํ้ เน่าเสีย 0 0.00
(4) ปัญหาขยะมูลฝอย 0 0.00
(5) ปัญหาการจราจรตดิ ขัด 0 0.00
(6) ปัญหานํา้ ประปามแี รงดันตา่ํ ลง/ไหลช้า 0 0.00
(7) ปัญหาการบดบังแสงแดดและทศิ ทางลม 0 0.00
(8) ปญั หาการบดั บังทศั นยี ภาพ 0 0.00
(9) ปัญหาการบดบงั คลื่นสญั ญาณวิทยุ/โทรทัศน์
9. หากมกี ารกอ่ สร้าง/ปรบั ปรงุ พน้ื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ จะตอ้ งการใหร้ ะมัดระวังและ 300 100.0
มีมาตรการป้องกันเปน็ พเิ ศษอย่างไร 0 0.0
(1) ไมม่ ี
(2) มี

จงั หวดั พิจิตร ก-9 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร การสํารวจสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและความคิดเหน็

ตารางที่ ก-6 (ตอ่ )
การรบั รู้และความคดิ เหน็ ตอ่ การกอ่ สร้าง/ปรบั ปรุงพื้นที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร

รายละเอยี ด จํานวน ร้อยละ
(n = 300 ชดุ )
ข้อเสนอแนะตอ่ การกอ่ สร้าง/ปรบั ปรงุ พน้ื ทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร
(1) ไม่มี 90 30.00
(2) มี ระบุ ……………… 210 70.00
ก) อยากนํารปู ปน้ั พ่อปูข่ ้ึนมาไวข้ า้ งบน
ข) อยากให้ปรับปรงุ ทัศนยี ภาพในพ้นื ทอี่ ทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตรไมใ่ หร้ กร้าง
ค) จัดทาํ แนวเขตอุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรใหช้ ัดเจน
ง) บรู ณะถนนภายในและรอบๆ พื้นทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร
จ) ปรบั ปรุงและบรู ณะโบราณสถาน
ฉ) ปรบั ปรงุ และแก้ไขปัญหาขยะมลู ฝอยในพ้นื ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร
ช) การจัดร้านคา้ ใหเ้ ป็นโซนๆ
ซ) อยากใหม้ กี ารเลย้ี งจระเข้ภายในพืน้ ทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร
ฌ) การเพม่ิ สิ่งจงู ใจในการทอ่ งเทยี่ วภายในพืน้ ที่อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร

จังหวัดพิจติ ร ก-10 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การสํารวจสภาพเศรษฐกจิ สังคมและความคิดเหน็

ตารางท่ี ก-7
ขอ้ มูลพื้นฐานของกลุ่มนักทอ่ งเทย่ี วที่เข้ามาทอ่ งเทย่ี วในพน้ื ทศี่ กึ ษาและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ

รายละเอียด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 50 ชุด)

1. เพศ 23 46.00
(1) ชาย 27 54.00
(2) หญงิ
50 100.00
2. ศาสนา 0 0.00
(1) พทุ ธ 0 0.00
(2) อิสลาม
(3) คริสต์ 4 8.00
5 10.00
3. ระดับการศกึ ษา 8 16.00
(1) ประถมศกึ ษา 5 10.00
(2) มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 5 10.00
(3) มัธยมศึกษาตอนปลาย 17 34.00
(4) ปวช. 6 12.00
(5) อนปุ ริญญา/ปวส.
(6) ปรญิ ญาตรี
(7) สูงกว่าปริญญาตรี

จงั หวดั พิจิตร ก-11 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร การสาํ รวจสภาพเศรษฐกจิ สังคมและความคดิ เห็น

ตารางที่ ก-8
ข้อมลู พฤตกิ รรมการทอ่ งเท่ียวของกลุ่มนกั ทอ่ งเทย่ี วทีเ่ ข้ามาทอ่ งเทยี่ วในพน้ื ทศี่ กึ ษาและพนื้ ท่โี ดยรอบ

รายละเอยี ด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 50 ชดุ )
1. แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วสาํ คญั ในพื้นท่ีเมืองพิจติ ร และพนื้ ทโ่ี ดยรอบ 88.00
(1) อทุ ยานเมืองเก่า 44 86.00
(2) บึงสีไฟ 43 52.00
(3) วดั โรงชา้ ง 26 88.00
(4) วดั นครชุม 44 86.00
(5) ชุมชนวงั กรด 43 40.00
(6) วดั ยางสามตน้ 20 80.00
(7) วัดทบั คลอ้ 40 56.00
(8) วดั บางคลาน 28 52.00
(9) วัดเขารูปชา้ ง 26 84.00
(10) งานแข่งขันเรือยาวประเพณฯี พจิ ติ ร 42 84.00
(11) วัดทา่ หลวง 42 40.00
(12) เหมืองแรท่ องคําเขาพนมพา 20 30.00
(13) วดั หัวดง 15 24.00
(14) สวนสาธารณะเจ้าพอ่ เสือ 12 48.00
(15) วดั โพธิ์ประทับช้าง 24 50.00
(16) วัดเทวประสาท 25 44.00
(17) วดั พระพุทธบาทเขารวก 22 42.00
(18) ศาลเจา้ แมท่ ับทิมท่าฬ่อ 21 24.00
(19) อนื่ ๆ เช่น วัดพระพุทธบาทเขาทราย สวนเกษตรวงั ทบั ไทร วัดสาํ นักขนุ เณร ฯลฯ 12
2. ความถ่ใี นการเดนิ ทางมาทอ่ งเท่ียวในจังหวัดพจิ ติ ร 36.00
(1) น้อยกวา่ 2 ครั้ง 18 40.00
(2) 3-5 ครง้ั 20 24.00
(3) มากกว่า 5 ครั้ง 12 คร้งั /ปี
3.76
ความถ่ีในการเดินทางมาท่องเทีย่ วเฉลยี่ 78.00
3. ลักษณะการเดนิ ทางมาท่องเทย่ี วในจงั หวัดพิจิตร 39 4.00
(1) รถยนตส์ ่วนบคุ คล 2 18.00
(2) รถโดยสารประจําทาง 9
(3) จกั รยานยนต์

จงั หวัดพิจิตร ก-12 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร การสาํ รวจสภาพเศรษฐกิจ สงั คมและความคดิ เหน็

ตารางท่ี ก-8 (ต่อ)
ขอ้ มูลพฤตกิ รรมการท่องเทีย่ วของกลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วทเ่ี ข้ามาท่องเทยี่ วในพนื้ ทศ่ี ึกษาและพน้ื ทีโ่ ดยรอบ

รายละเอยี ด จาํ นวน รอ้ ยละ
(n = 50 ชดุ )
4. จาํ นวนสมาชกิ ที่ร่วมเดินทางมาท่องเที่ยวในจงั หวดั พิจิตร 40.00
(1) มาเพียงคนเดียว 20 48.00
(2) ต้งั แต่ 2-3 คน 24 10.00
(3) ตั้งแต่ 4-5 คน 5 2.00
(4) มากกวา่ 5 คน 1 คน
2.11
จํานวนสมาชิกทรี่ ่วมเดินทางเฉลย่ี 60.00
5. ลกั ษณะความสัมพนั ธ์ของกลมุ่ ทรี่ ว่ มมาท่องเทยี่ วในจังหวัดพิจติ ร 30 24.00
(1) ครอบครวั /ญาติพ่ีนอ้ ง 12 10.00
(2) เพอ่ื นสนทิ สมยั เรียน/เพือ่ นรว่ มงาน 5 6.00
(3) คนรัก/แฟน 3
(4) อน่ื ๆ เช่น คนรู้จักหรือกลมุ่ สมาชิกในหมบู่ ้าน ฯลฯ 76.00
6. จดุ ประสงค์ในการทอ่ งเท่ียวในจังหวัดพิจติ ร 38 20.00
(1) เพือ่ การผกั ผอ่ นหยอ่ นใจ 10 4.00
(2) การศกึ ษาหาความรู้เพ่ิมเติม 2
(3) มาติดตอ่ ธรุ กิจ 72.00
7. ค่าใชจ้ า่ ยในการเที่ยวตอ่ ครั้ง 36 10.00
(1) ไม่เกิน 500 บาท/คร้งั 5 12.00
(2) ตง้ั แต่ 500-1,000 บาท/คร้งั 6 6.00
(3) ตัง้ แต่ 1,001-1,500 บาท/คร้งั 3 บาท/ครงั้
(4) มากกวา่ 1,500 บาท/ครั้ง 639.48
90.00
คา่ ใชจ้ า่ ยในการท่องเทยี่ วเฉลย่ี 45 6.00
8. แหล่งข้อมูลทีช่ ว่ ยในการตดั สนิ ใจมาท่องเทีย่ วในจงั หวดั พจิ ิตร 3 4.00
(1) เพอื่ น/คนรู้จกั แนะนําใหม้ า 2
(2) ส่อื สง่ิ พิมพ์ (เช่น หนงั สอื พมิ พ์และวารสาร ฯลฯ) 60.00
(3) สอ่ื โทรทศั น์ 30 24.00
9. ระยะเวลาในการท่องเท่ยี วในจังหวัดพิจิตร 12 10.00
(1) ไมเ่ กิน 1 วนั 5 6.00
(2) ต้ังแต่ 1-3 วัน 3 วัน
(3) ต้งั แต่ 3-5 วนั 1.96
(4) มากกว่า 5 วัน

ระยะเวลาในการท่องเทยี่ วเฉลยี่

จงั หวัดพิจิตร ก-13 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สงั คมและความคดิ เหน็

ตารางท่ี ก-8 (ต่อ)
ข้อมูลพฤตกิ รรมการทอ่ งเท่ียวของกล่มุ นกั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ ข้ามาทอ่ งเทยี่ วในพน้ื ท่ีศกึ ษาและพนื้ ทโ่ี ดยรอบ

รายละเอยี ด จํานวน รอ้ ยละ
(n = 50 ชดุ )
10. โอกาสจะกลับมาเย่ยี มเยอื นพน้ื ทเี่ มอื งพิจติ รในอนาคต 4.00
(1) ไม่กลับ เพราะไม่มสี ่งิ ดงึ ดดู ทนี่ า่ สนใจ 2 96.00
(2) กลับมา ระบุเหตผุ ล ............... 48
ก) เปน็ เมืองทีม่ ีประวัติศาสตร์นา่ สนใจและคน้ คว้าโดยเฉพาะอทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร 80.00
ข) บงึ สไี ฟมีความหลากหลายของพันธสุ์ ัตว์นํ้าและนกน้ํา 40 70.00
ค) ประเพณีการแขง่ ขันเรอื ยาวฯพจิ ิตรนา่ ต่ืนเตน้ เร้าใจและสนุกสนาน 35 48.00
ง) แหล่งธรรมชาตนิ ่าสนใจ เชน่ เหมืองทองคาํ เขาพนมพา สวนเกษตรวังทบั ไทร ฯลฯ 24 40.00
จ) มียา่ นพาณิชยกรรมวังกรดเปน็ ย่านเกา่ แก่นา่ ศึกษาและค้นควา้ /เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ 20 10.00
ฉ) มศี าสนสถาน พระเกจิอาจารย์ทม่ี ชี อื่ เสยี งและเป็นทเ่ี คารพสกั การะ เชน่ วัดท่าหลวง 5 24.00
(หลวงพ่อเพชร) วัดบางคลาน (หลวงพ่อเงิน) และวัดเทวประสาท (หลวงพอ่ โต) ฯลฯ 12 20.00
11. ปจั จัยสาํ คญั ในการตัดสนิ ใจเลอื กสถานทพี่ กั ในจงั หวัดพจิ ิตร 10 12.00
11.1 ประเภทของสถานท่พี กั (ตอบไดม้ ากกว่า 1 คําตอบ) 6 40.00
(1) โรงแรม 20
(2) รสี อรท์ 30.00
(3) โฮมสเตย์ 15 16.00
(4) เกสท์เฮา้ ส์ 8 44.00
(5) บงั กะโล 22 10.00
(6) บ้านพกั รับรองของภาครฐั 5 บาท/คนื
(7) บ้านพักรบั รองของภาคเอกชน 980
(8) อพาร์ทเมน้ ท์ 6.00
(9) อื่นๆ เชน่ วดั โรงเรียน บ้านเพอ่ื น/ญาตพิ ่นี ้อง/คนรจู้ ัก ฯลฯ 3 38.00
11.2 ราคาคา่ ทพี่ ัก 19 56.00
(1) ตาํ่ กวา่ 500 บาท/คืน 28
(2) ตัง้ แต่ 501-1,000 บาท/คืน
(3) ตั้งแต่ 1,001-1,500 บาท/คนื
(4) มากกวา่ 1,500 บาท/คนื

ราคาคา่ ท่พี ักเฉล่ีย
11.3 ชื่อเสยี ง
(1) มีชื่อเสยี งดพี อใช้
(2) มชี ่อื เสียงดปี านกลาง
(3) มชี ื่อเสียงเป็นท่ีรจู้ ักมาก/ดีมาก

จงั หวดั พิจิตร ก-14 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ก
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร การสํารวจสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและความคิดเห็น

ตารางที่ ก-8 (ตอ่ )
ขอ้ มูลพฤตกิ รรมการทอ่ งเทยี่ วของกลมุ่ นักทอ่ งเทยี่ วทเี่ ข้ามาท่องเทยี่ วในพนื้ ทีศ่ ึกษาและพนื้ ท่โี ดยรอบ

รายละเอียด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 50 ชดุ )
11.4 สถานทตี่ ง้ั
(1) หา่ งจากแหลง่ ทอ่ งเท่ียว/ยา่ นธรุ กิจ/การคา้ ไม่เกนิ 5 กิโลเมตร 24 48.00
(2) ห่างจากแหลง่ ท่องเทยี่ ว/ยา่ นธุรกจิ /การค้าตั้งแต่ 5-10 กโิ ลเมตร 20 40.00
(3) ห่างจากแหล่งท่องเท่ียว/ย่านธรุ กจิ /การค้ามากกวา่ 10 กโิ ลเมตร 6 12.00

11.5 ความสะอาด ระยะหา่ งเฉลย่ี 6.72 กโิ ลเมตร
(1) มคี วามสะอาดดีพอใชไ้ ด้
(2) มีความสะอาดดปี านกลาง 1 2.00
(3) มคี วามสะอาดดีมาก 14 28.00
11.6 การตกแต่ง 35 70.00
(1) มีความสวยงาม/เปน็ ระเบียบดพี อใชไ้ ด้
(2) มคี วามสวยงาม/เป็นระเบยี บดีปานกลาง 3 6.00
(3) มคี วามสวยงาม/เปน็ ระเบียบดีมาก 11 22.00
11.7 ความปลอดภัย 36 72.00
(1) มีความปลอดภยั ดพี อใช้ได้
(2) มีความปลอดภยั ดีปานกลาง 2 4.00
(3) มีความปลอดภัยดมี าก 7 14.00
11.8 การบริการ 41 82.00
(1) มีการบริการดพี อใช้ได้
(2) มกี ารบรกิ ารดปี านกลาง 1 2.00
(3) มีการบริการดีมาก 9 15.00
11.9 ระบบการคมนาคมเช่อื มโยง 40 80.00
(1) มรี ะบบการคมนาคมเชอื่ มโยงดพี อใช้ได้
(2) มรี ะบบการคมนาคมเชือ่ มโยงดปี านกลาง 5 10.00
(3) มีระบบการคมนาคมเชอื่ มโยงดีมาก 8 16.00
37 74.00

จังหวัดพิจิตร ก-15 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

ภาคผนวก ข
แหล่งท่องเที่ยวสําคัญในพนื้ ทีจ่ ังหวัดพิจิตร

ภาคผนวก ข
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวสําคัญในพื้นที่จงั หวัดพิจิตร

รายละเอียดแหล่งทอ่ งเท่ยี วสําคญั ในจังหวดั พจิ ติ รจํานวน 45 แหง่ มดี งั นี้
1. บงึ สไี ฟ

ตง้ั อยู่ตําบลในเมือง อําเภอเมอื งพจิ ติ ร อยู่หา่ งไปทางทิศตะวันตก
ของศาลากลางจังหวัดพิจิตร ประมาณ 1 กม. เป็นแหล่งนํ้าจืดขนาดใหญ่
อันดับท่ี 5 ของประเทศ รองมาจากบึงบอระเพ็ด (132,737 ไร่) หนองหาร
(77,000 ไร่) บึงละหาน (18,181 ไร)่ และกวา๊ นพะเยา (12,831 ไร่) ปจั จบุ นั
เหลือพื้นท่ีอยู่ประมาณ 5,390 ไร่ ซ่ึงลดลงมาภายหลังจากการสร้างเขื่อนสิริกิติ์ เดิมบึงสีไฟมีพื้นที่มากกว่า 12,000 ไร่
ครอบคลุมอาณาเขตติดต่อ 4 ตําบลในพ้ืนที่อําเภอเมืองพิจิตร ได้แก่ ตําบลท่าหลวง ตําบลโรงช้าง ตําบลคลองคะเชนทร์
และตําบลเมืองเก่า โดยบึงสีไฟเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ําจืดและแหล่งที่อยู่
อาศัยของพันธ์ุปลาและนกหายากหลากหลายชนิด จึงเป็นสถานท่ีศึกษาหา
ความรู้เกี่ยวกับพันธ์ุปลานํ้าจืดชนิดต่างๆ และยังเป็นสถานท่ีพักผ่อนหย่อนใจ
ท่ีสําคัญของจังหวัดพิจิตร โดยจังหวัดพิจิตรได้พัฒนาและประกาศเป็นเขต
อนรุ ักษพ์ ันธุส์ ัตว์ทัง้ สตั ว์นา้ํ และนก
2. สวนสมเด็จพระศรีนครินทรฯ์ พจิ ิตร อาํ เภอเมืองพิจติ ร

สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลําดับท่ี 5 ต้ังอยู่ริมบึงสีไฟ
ตาํ บลในเมอื ง อาํ เภอเมืองพจิ ติ ร จังหวัดพิจติ ร มีเนอ้ื ที่ 170 ไร่ เป็นพื้นดิน
50 ไร่ พื้นนาํ้ 120 ไร่ เปน็ สวนสาธารณะอย่ใู จกลางเมืองพจิ ิตร มกี ารสรา้ ง
ควบคู่กับบึงสีไฟ ภายในมีสวนมีทางเดินเพื่อใช้เดินและวิ่งออกกําลังกาย
ประตูทางเข้ามีหอประชุมขนาดใหญ่รูปจระเข้ยักษ์ในตํานานช่ือชาละวัน
เป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดพิจิตร ประกอบด้วย เวทีเนินดินเพื่อจัดรายการ
บันเทิงในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ จึงมีประชาชนภายในอําเภอเมืองพิจิตร
มาใชเ้ ป็นจํานวนมากเนือ่ งจากมีความสะดวกสบายในการเข้าถึงพื้นที่ และ

มีหนว่ ยงานทอ้ งถิ่นของกรมประมงจดั ต้ังสถานที ดลองสัตว์น้าํ และมีอาคารแสดงพันธ์ปุ ลาน้าํ จดื ท่ปี ระชาชนเขา้ ชมได้อีก
3. สวนสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิติ์ฯ อําเภอเมืองพจิ ติ ร

สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิฯ เป็นสวนสาธารณะเช่ือมต่อกับสวนสาธารณะเฉลิม
พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ต้ังอยู่ริมบึงสีไฟ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัด
พิจิตร
4. ทุง่ ดอกกระเจียวปา่ เขาหวั โลน้

พื้นที่ป่าดง้ั เดิมเคยเป็นภเู ขาหวั โล้นในเขตพื้นท่ีเขาชะอมและเขา
ตะพานนาก ตําบลเขาเจ็ดลูก อําเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร โดยผู้นําชุมชน
และกลุ่มประชาชนในพื้นที่ตําบลเขาเจ็ดลูกได้ช่วยกันพลิกฟ้ืนพ้ืนที่ป่าและ
ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมจนกลายสภาพเป็นป่าท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่ง
อาหารของชุมชน และมีดอกไม้ป่าจํานวนมากโดยเฉพาะดอกกระเจียวยกั ษ์
ทเี่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ

จงั หวดั พิจิตร ข-1 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร แหล่งทอ่ งเทยี่ วสําคญั ในพน้ื ท่จี งั หวัดพจิ ติ ร

5. สวนเกษตรวงั ทับไทร อําเภอสากเหลก็
ในอดีตพื้นท่ีส่วนใหญ่ของตําบลวังทับไทรมีสภาพแห้งแล้งเน่ืองจาก

ขาดแหล่งนํ้าชลประทานและมีสภาพดินเส่ือมโทรมมาก ชาวบ้านนิยมปลูกพืชไร่
แต่ได้ผลผลิตไม่เพียงพอกับทุนที่ลงไป ชาวบ้านจึงออกไปขายแรงงานเมืองนอก
ทดแทน ช่วงปี พ.ศ. 2524 “ลุงสมหมาย บัวผัน” เป็นเกษตรกรต้นแบบได้
ปักหลักสู้กับสภาพแวดล้อมท่ีเสื่อมโทรม โดยทดลองนําต้นมะม่วงพันธ์ุเขียวเสวย
จํานวน 2 ตน้ มาปลกู สลับกับทาํ ไรข่ า้ วโพดปรากฏว่าต้นมะมว่ งพันธุเ์ ขยี วเสวยให้ผลผลติ นา่ พอใจ ลุงสมหมายจึงขยายพ้ืนที่
ปลูกมะม่วงเพ่ิมข้ึนเป็น 5 – 10 ไร่ แต่การพัฒนาตลาดในระยะแรกช่วงปี พ.ศ. 2524-2528 ค่อนข้างลําบาก ลุงสมหมาย
ต้องหาบมะม่วงไปขายตลาดชานเมืองแทน ต่อมาธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและสํานักงานเกษตร
จังหวดั พจิ ิตรได้ชว่ ยหาตลาดรองรับและใหก้ ารสนับสนุนใหน้ ําสินค้าไปขายตามงานแสดงสินค้าต่างๆ ในพ้ืนท่ีจังหวัดพิจิตร
และพื้นที่ใกล้เคียงจนกระทั่งมะม่วงวังทับไทรเริ่มติดตลาดเป็นท่ีรู้จักของผู้บริโภคท่ัวไปเป็นที่ต้องการของตลาดท่ัวไป
เสริมสร้างรายได้สูงกว่าการปลูกพืชไร่หรือเลี้ยงสัตว์ จึงสร้างแรงจูงใจให้ญาติพ่ีน้องของลุงสมหมายหันมาทําอาชีพปลูก
มะม่วงในระยะเวลาต่อมา ประมาณปี 2530 – 2532 กระแสการลงทุนทําสวนมะม่วงในพ้ืนท่ีตําบลวังทับไทรเร่ิมแผ่ขยาย
ออกไปเร่ือยๆ จากกลุ่มเครือญาติพี่น้องของลุงสมหมายกระจายไปสู่เพื่อนบ้านและเกษตรกรในชุมชนท้องถิ่นเดียวกันอีก
หลายพนั ไร่ ทาํ ใหต้ ําบลวังทับไทรได้รับการยกย่องว่า “เป็นแหล่งจุดประกายอาชีพการทําสวนผลไม้ของจังหวัดพิจิตรและ
พื้นท่ีภาคเหนอื ตอนลา่ ง” ปัจจบุ ันพื้นที่ตําบลวังทับไทรเป็นแหล่งปลูกไม้ผลที่สําคัญในจังหวัดพิจิตร เช่น มะม่วงนํ้าดอกไม้
สีทอง มะม่วงเพชรบ้านลาด มะม่วงฟ้าล่ัน มะม่วงโชคอนันต์ มะปรางหวาน มะยงชิดพันธ์ุไข่ไก่ ฯลฯ ทําให้มีนักท่องเที่ยว
แวะเวียนมาเท่ียวชมและเลือกซ้ือผลไม้ตลอดเวลาหรือมีนักท่องเที่ยวมากเป็นพิเศษช่วงฤดูกาลเที่ยวสวนมะม่วงระหว่าง
เดือนมกราคม – พฤษภาคม หรอื ฤดกู าลเทยี่ วสวนมะปรางหวานหรอื มะยงชิดระหว่างเดอื นกุมภาพนั ธ์ – มีนาคม

6. ยา่ นพาณชิ ยกรรมวังกรด
ย่านพาณิชยกรรมวังกรด ต้ังอยู่ในพื้นที่อําเภอเมือง

จังหวัดพิจิตร ห่างจากจากพ้ืนท่ีเมืองพิจิตรประมาณ 6 กิโลเมตร
ในอดีตเป็นพื้นท่ีท่ีเกิดจากการเป็นชุมทางการเดินทางที่สําคัญของ

ภาคเหนอื ตอนลา่ ง คือ การเกดิ ทางรถไฟสายเหนอื และสถานีรถไฟ
บ้านวังกลม ในปี พ.ศ. 2451 หลวงประเทืองคดีได้สร้างตลาด
ขึ้นมาเป็นแหล่งชุมชนค้าขาย ต่อมาย่านพาณิชยกรรมวังกรดได้
กลายสภาพเป็นศูนย์กลางการค้าขายแหล่งใหญ่ของจังหวัดพิจิตรเรียกได้ว่ามีพื้นฐานเศรษฐกิจการค้าดีมากกว่าในพื้นท่ี
เมืองพิจติ ร ภายในชมุ ชนย่านพาณิชยกรรมวังกรดมสี ถานทน่ี ่าสนใจหลายแห่งและมีความรุ่งเรืองด้านการค้าขายอย่างมาก

จังหวัดพิจติ ร ข-2 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร แหล่งทอ่ งเทย่ี วสาํ คญั ในพืน้ ท่จี ังหวดั พิจติ ร

เน่ืองจากเป็นจุดตัดทางการคมนาคมขนส่งท้ังทางบกและทางนํ้าจนเป็นศูนย์กลางการค้าขายแห่งใหญ่ของจังหวัดพิจิตร
ชาวบ้านท่ีน่ีส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายจีนประกอบอาชีพค้าขายมาต้ังแต่สมัยบรรพบุรุษ ต่อมาเกิดความเปล่ียนแปลง
ทางการคมนาคมขนส่งและระบบซื้อขายแบบสมัยใหม่ ทําให้ระบบเศรษฐกิจของย่านพาณิชยกรรมวังกรดมีการซบเซาลง
อย่างรวดเร็ว ทําให้ลูกหลานชาววังกรดส่วนใหญ่อพยพไปหางานทําภายนอกพื้นที่ บางร้านเลิกกิจการไปหรือโยกย้ายไป
เปิดกิจการในพ้ืนท่ีเมืองพิจิตร แต่ยังคงหลงเหลือไว้ซ่ึงร้านค้าที่ดําเนินกิจการต่อเน่ืองกันมาตั้งแต่อดีต แม้เวลาจะผ่านไป
นานเทา่ ใดแต่ย่านพาณิชยกรรมวังกรดยังคงสามารถบอกเล่าเร่ืองราว
ในอดีตและให้ความทรงจาํ แกผ่ ทู้ ผ่ี ่านมายงั สถานท่ีแหง่ นไี้ ด้ สภาพของ
สถาปัตยกรรมเรือนแถวไม้เก่าแก่ หรือรูปแบบสถาปัตยกรรมยังคงไว้
ซ่ึงเอกลักษณ์เฉพาะตัวของย่านพาณิชยกรรมวังกรด อุปกรณ์หรือ
เครอ่ื งใช้ท่เี คยมใี ช้ในอดตี ยงั มใี ห้เห็นและยังถูกใช้งานอยู่ประจํา แม้ว่า
ยุคสมัยจะเปลี่ยนแปลงไปและภาพความน่ารักของชาวบ้านส่วนใหญ่
ในย่านพาณิชยกรรมวังกรดจะเป็นคนเฒ่าคนแก่ใจดียิ้มแย้มแจ่มใส
ทักทายตลอดเส้นทางท่เี ดินผ่านในชมุ ชนและยา่ นพาณิชยกรรมวงั กรดยงั เต็มไปด้วยความผูกพันดีๆ และอยู่ในความทรงจํา
รวมทั้งยังมีสถานท่ีสําคัญในย่านพาณิชยกรรมวังกรด เช่น ศาลเจ้าพ่อวังกลม บ้านหลวงประเทืองคดี โรงหนังมิตรบรรเทิง
และสถานรี ถไฟวงั กรด ฯลฯ

7. ศาลเจ้าพ่อวังกลมและงานง้ิววงั กรด
ศาลเจ้าพ่อวังกลมเป็นศูนย์รวมใจที่มีความสําคัญของชาวตลาดวังกรด ประมาณปี พ.ศ. 2455 กิจการค้าขายใน

ตลาดวังกรดเจริญรุ่งเรืองดี หลวงประเทืองคดีได้ให้นายจ๊ับ แซ่ตั้ง อัญเชิญ
เจ้าพ่อวังกลมเข้ามาอยใู่ นตลาดวังกรดและสร้างศาลเจา้ ใหแ้ ละได้กระทําพิธี
เบิกเนตรในปี พ.ศ. 2494 งานสําคัญของตลาดวังกรดท่ีจัดเป็นประจําทุกปี
ได้แก่ “งานฉลองเจ้าพ่อวังกลม” หรือ “งานง้ิววังกรด” จัดเป็นงานใหญ่
เป็นเวลา 10 – 15 คืน จึงสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมของชาวไทย
เช้ือสายจีน รวมทั้งยังเป็นงานเชื่อมความสัมพันธ์ของลูกหลาน
บา้ นวังกรดให้คืนถ่นิ กลบั มายังบา้ นเกดิ ประจําทุกปี

จงั หวดั พิจติ ร ข-3 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร แหลง่ ทอ่ งเที่ยวสําคัญในพน้ื ทีจ่ งั หวัดพจิ ติ ร

8. สถานรี ถไฟพจิ ิตร อาํ เภอเมอื งพจิ ิตร (รอยเสดจ็ ประพาส ร.9)
สถานรี ถไฟพิจิตร ต้งั อย่บู ริเวณตลาดวงั กรด เปน็ ชมุ ทางการเดินทางสําคัญ คือ การเกิดของทางรถไฟสายเหนือ

และสถานรี ถไฟบ้านวังกลม ปี พ.ศ. 2451 หลวงประเทืองคดี
ได้สร้างตลาดวังกรดข้ึนเป็นชุมชนค้าขาย ต่อมาตลาดวังกรด
กลายเป็นศูนย์กลางการค้าขายแหล่งใหญ่ของจังหวัดพิจิตร
สถานรี ถไฟพิจิตรเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ท่ีมีความสวยงามมาก
แม้ว่าตัวอาคารจะเป็นอาคารขนาดไม่ใหญ่ แต่รูปแบบอาคาร
สไตล์นีโอคลาสสิค โทนสีครีมน้ําตาล ทําให้รู้สึกเหมือนย้อน
ยุคกลับไปสมัยรัชกาลท่ี 5 รวมท้ังเป็นสถานีรถไฟสวยๆ ที่มี
แค่เพียงสองแห่งในประเทศไทย คือ สถานีรถไฟหัวลําโพง
กรุงเทพฯ และสถานีรถไฟพจิ ิตรเท่านั้น

9. ศาลเจา้ แม่ทับทิมทา่ ฬ่อ อําเภอเมืองพจิ ติ ร

ศาลเจ้าแม่ทับทิมท่าฬ่อเป็นสถานท่ีสักการะองค์เจ้าแม่ทับทิม (ตุ้ยบ่วยเต่งเหน่ียง) ด้านขวาเป็นที่ประทับของ
เจา้ พ่อกวนอู ด้านซ้ายเปน็ ท่ปี ระทบั ของเจ้าพ่อปุ้นเถา่ กงและปุ้นเถา่ ม่า
ตามประวตั กิ ล่าวว่า ชาวจนี ไหหลาํ ท่ัวโลกบูชาเทพธดิ าแหง่ ท้องทะเลท่ี
คุ้มครองผู้เดินทางทางเรือเรียกว่า “จุ้ยบ้วยเนี้ยว” (“เจ้าแม่ชายน้ํา”)
เป็นที่เคารพบูชาในหมู่ชาวเรือ หรือชาวประมงในประเทศไทยจะรู้จัก
เทพธิดาองค์น้ีในช่ือเรียกว่า “เจ้าแม่ทับทิม” เพราะมีเคร่ืองประดับ
ประจาํ องคเ์ ป็นพลอยสแี ดง โดยศาลเจ้าแม่ทับทิมท่าฬ่อ จังหวัดพิจิตร
เป็นศาลเจ้าแม่ทับทิมเก่าแก่ มีอายุมากกว่า 150 ปี โดยปี พ.ศ. 2410
เจ้าของอู่ต่อเรือซ่ึงต้ังถิ่นฐานและทําการค้า ณ หมู่บ้านท่าฬ่อ เป็นผู้อัญเชิญองค์เจ้าแม่ทับทิมและองค์เจ้าพ่อกวนอูมาจาก
เกาะไหหลาํ มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน และยังบรจิ าคซงุ ไม้สกั จํานวน 2 แพเพ่อื ปลกู สรา้ งศาลเจ้าขนาดใหญ่

จังหวัดพิจติ ร ข-4 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วสําคัญในพ้นื ทจี่ งั หวัดพจิ ติ ร

ถวายแด่องค์เจ้าแม่ทับทิมและเจ้าพ่อกวนอูเพื่อให้เป็นที่เคารพบูชาของชาวบ้านท่าฬ่อหรือผู้ท่ีเลื่อมใสศรัทธาทั้งพ้ืนท่ีใกล้
และไกล และศาลเจา้ แห่งน้ียงั ใชเ้ ปน็ สถานทสี่ อนหนังสือไทยและหนังสอื จนี ให้แก่เด็กๆ ภายในหมู่บ้านท่าฬ่อ ภายในศาลฯ
จะเตม็ ไปด้วยความนา่ สนใจมากมาย

10. สถานแสดงพันธ์ปุ ลาเฉลิมพระเกียรติ
ลักษณะอาคารเป็นรูปดาวเก้าแฉกยื่นลงไปในบึงสีไฟ ภายในประกอบด้วยตู้แสดงพันธ์ุปลามากกว่า 20 ชนิด

และมกี ารสบั เปลย่ี นชนดิ ของปลาเปน็ ประจาํ และพน้ื ทต่ี รงส่วนกลางของอาคารทาํ เป็นช่องเปิดสําหรบั ชมปลาในบึงสีไฟซ่ึง
มีพันธ์ุปลาชนิดต่างๆ สถานแสดงพันธุ์ปลาเฉลิมพระเกียรติ อยู่ในความดูแลของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพิจิตร
เปิดใหน้ กั ท่องเท่ยี วเข้าชมโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่ายทุกวนั โดยวันธรรมดาตั้งแต่เวลา 09.00-18.00 น. และวนั หยดุ ราชการต้ังแต่
เวลา 09:00-19:00 น.

11. โรงเรียนพิจติ รพทิ ยาคม อาํ เภอเมืองพจิ ิตร (รอยเสดจ็ ประพาส ร.9)
แตเ่ ดมิ เปดิ สอนนักเรียนตั้งแต่ช้ันประถมศึกษาถึงชั้นมัธยมศึกษา ในตอนแรกได้เปิดการสอนท่ีศาลาการเปรียญ

วัดฆะมงั ต่อมาวันท่ี 20 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2441 ไดม้ ีการโยกยา้ ยโรงเรยี นฯ จากตําบลฆะมังไปเปดิ สอนทว่ี ัดท่าหลวง ตําบล
ในเมอื ง อาํ เภอเมืองพจิ ิตร และชว่ งทพี่ ระยาเทพาธบิ ดี (อิ่ม) เปน็ ผู้วา่ ราชการจงั หวัดพจิ ติ รได้มีการปลกู สร้างอาคารเรียนใน
เขตวัดทา่ หลวงขึ้นมาครงั้ แรกเม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 เป็นอาคารช้ันเดียวทรงปั้นหยาไม่มีมุข มีฝารอบแต่ไม่กั้น
เป็นห้อง ต่อมามีการสร้างอาคารเรียนขึ้นอีกหลัง ทางด้านใต้
ของอาคารท้ังสองมีต้นพิกุลขนาดใหญ่อยู่จึงเรียกชื่อโรงเรียน
ว่า โรงเรียนร่มพิกุล จนกระท่ัง พ.ศ. 2473 ขุนคุรุการพิจิตร
(เทียม พฤกษะวัน) ตําแหน่งศึกษาธิการจังหวัดในสมัยน้ัน
เห็นว่าโรงเรียนแห่งนท้ี รุดโทรมมากจึงมกี ารเร่ยี ไรเงินมาสร้าง
อาคารเรยี นใหม่ เป็นอาคารปนั้ หยาชัน้ เดยี ว ใต้ถนุ สงู หลังคา
มุงกระเบ้ืองซีเมนต์ มีขนาด 5 ห้องเรียน และก่อสร้างเสร็จ
เมื่อวนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2474 ตอ่ มามีการแยกโรงเรียนจาก

จงั หวดั พิจติ ร ข-5 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร แหล่งทอ่ งเที่ยวสําคัญในพ้ืนทจี่ งั หวดั พิจติ ร

เดมิ ท่ีเป็นโรงเรยี นรวมชายและหญิงมาเป็นโรงเรียนชายกับโรงเรียนหญิงในปี พ.ศ. 2475 แบ่งเป็นโรงเรียนพิจิตรวิทยาคม
และโรงเรยี นพิจิตรกัลยาณี จนมาถึงปี พ.ศ. 2515 โรงเรียนพิจิตรวทิ ยาคมและโรงเรยี นพิจติ รกัลยาณีไดก้ ลับมารวมกันเป็น
โรงเรียนเดียวกันในชื่อวา่ “โรงเรียนพิจติ รพิทยาคม” และปจั จุบนั ไดย้ า้ ยสถานท่ไี ปอยู่
ณ ตําบลคลองคะเชนทร์ ในทดี่ นิ ของกองทพั อากาศเน้ือที่ประมาณ 300 ไร่

12. ตาํ บลเนินปอ อาํ เภอสามง่าม (รอยเสด็จประพาส ร.9)
ชุมชนตําบลเนินปอ มีพื้นท่ี 89.546 ตร.กม. เป็นหมู่บ้านหนึ่งของตําบลรังนก อําเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร

อดตี คนเฒ่าคนแกเ่ ลา่ ว่าความเปน็ มาของช่ือบ้านเนนิ ปอมสี าเหตุมาจากมีกลมุ่ คนอพยพจากอาํ เภอวังทอง จงั หวดั พิษณุโลก
และกลุ่มคนอพยพมาจากจังหวัดลพบุรีเดินทางมาแสวงหาแหล่งทํากินและพบเนินดินแห่งน้ีมีความอุดมสมบูรณ์ และช่วง
ฤดนู ํ้าหลากไมม่ ีนา้ํ ท่วมขงั จึงตัดสนิ ใจตงั้ รกรากถ่ินฐานทํากินบริเวณเนินดินแห่งน้ี และเนินดินยังมีต้นปอข้ึนเจริญงอกงาม
จํานวนมากจึงเรียกว่า “บ้านเนินปอ” ข้ึนกับตําบลรังนก สันนิษฐานว่ามีการเดินทางมาโดยทางเรือและขึ้นฝั่งท่ีบ้านรังนก
เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2425 ปัจจุบันแยกเป็นตําบลเนินปอข้ึนตรงกับอําเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร สภาพภูมิประเทศของ
ตําบลเนินปอทางด้านทิศตะวันตกเป็นส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชันสูงและพ้ืนที่ส่วนอื่นๆ เป็นท่ีราบลุ่มมีแหล่งนํ้า
ธรรมชาติสําคัญๆ เช่น คลองวังกระทึง คลองหนองไผ่ คลองปลายห้วย คลองอีไร คลองทุ่งกระจี่ ฯลฯ และมีบึงพนมบอบ
เปน็ บงึ นาํ้ ขนาดใหญ่ (เนือ้ ที่ 100 ไร)่
13. อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

ต้ังอยู่ท่ีบ้านเมืองเก่า ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร ห่างจากเมืองพิจิตรตามทางหลวงหมายเลข 1068
(พิจิตร–วังจิก) ประมาณ 7 กิโลเมตร ข้อสันนิษฐานตามพงศาวดารเหนือเรื่องของพระยาแกรก (หวน พินธุพันธ์ 2520: 3)
เช่ือว่าเป็นสถานที่ต้ังเมืองพิจิตรเก่า สร้างขึ้นราว พ.ศ. 1601 โดยเจ้ากาญจนกุมาร ราชบุตรของพระยาโคตรบองเจ้าเมือง
ละโวท้ ่ลี ภี้ ยั มาสร้างเมืองชัยบวร (ตําบลบ้านน้อย ตําบลบางคลาน อําเภอโพทะเลในปัจจุบัน) โดยเมืองพิจิตรที่เจ้ากาญจน
กุมารสร้างขึ้นครองเมืองเป็นพระยาโคตรบองเทวราชต้ังอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ําน่านสายเก่า ภายในกําแพงเมืองมีพ้ืนท่ี
400 ไร่เศษ มีลักษณะเป็นเมืองโบราณประกอบด้วยกําแพงเมือง 2 ช้ันก่อด้วยอิฐล้อมรอบด้านเหนือยาว 10 เส้น ด้านใต้
ยาว 10 เสน้ และด้านตะวนั ตกยาว 35 เส้น (กรมศิลปากร 2516: 274) มีป้อม ค่าย คูเมือง ประตูหอรบและเจดีย์เก่า ฯลฯ
สถานภาพปจั จุบนั มีสวนรุกขชาตกิ าญจนกมุ ารจัดตงั้ โดยกรมป่าไมเ้ ม่ือปี พ.ศ. 2520 สถานภาพปจั จบุ ันภายในพ้นื ท่อี ทุ ยาน
เมืองเก่าพิจิตรมีต้นไม้ขนาดใหญ่และพรรณไม้นานาชนิดท้ังไม้มี
ค่าทางเศรษฐกิจและพืชสมุนไพร สถานท่ีร่มร่ืนเหมาะสมเป็นท่ี
พกั ผอ่ นหย่อนใจและมีหน่วยงานดแู ลรักษาอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
3 หนว่ ยงาน คอื กรมศิลปากร องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลเมืองเกา่
และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช (สํานักงาน
วัฒนธรรมจงั หวัดพิจิตร, 2558)

จังหวัดพิจติ ร ข-6 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร แหล่งท่องเทย่ี วสําคัญในพืน้ ท่ีจังหวดั พิจิตร

14. วดั มหาธาตุ เมืองพจิ ิตร
ต้ังอยู่ภายในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ําน่านเก่า (ชาวบ้านเรียกว่า แม่น้ําเมืองเก่า

หรอื แมน่ ้าํ พจิ ติ ร) สันนิษฐานวา่ เปน็ วัดท่สี ร้างคู่กับเมืองพิจิตรใน
สมัยสุโขทัย และได้มีการใช้งานอย่างต่อเน่ืองจนถึงสมัยอยุธยา
สถานภาพปัจจุบันเป็นโบราณสถานร้างก่อสร้างด้วยอิฐ ภายใน
วัดมหาธาตปุ ระกอบดว้ ยสิง่ สาํ คญั ๆ เชน่

14.1 เจดีย์ประธาน เป็นทรงระฆังแบบสุโขทัย มี
ชุดบัวถลาสามชั้นบนฐานเตี้ยๆ รองรับทรง
ระฆังขนาดค่อนข้างใหญ่ เหนือองค์ระฆังจะ
เป็นบัลลังก์สี่เหลี่ยม แกนปล้องไฉน ปล้องไฉนและเม็ดน้ําค้างซ่ึงเคยถูกต้นยางล้มฟาดจนปล้องไฉนหัก
เมื่อปี พ.ศ. 2479 ส่วนยอดยังเหลือให้เห็นพุทธบัลลังก์สูงพ้นยอดไม้ และมีต้นโพธ์ิขนาดย่อมขึ้นบริเวณ
ชั้นพุทธบัลลังก์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 ต้นโพธิ์ได้ถูกลมพัดหักโค่นลงมา พระธาตุเจดีย์ส่วนที่ยัง
หลงเหลอื พังลงมาเกดิ เป็นโพรงทําให้เห็นวา่ มีซมุ้ จระนาํ อยภู่ ายในพระเจดีย์ มีพวงมาลยั รอ้ ยดว้ ยลวดเงิน
ลูกปัดเป็นหยก แตถ่ กู คนร้ายโจรกรรมไป (พละ วัฒโน 2508: 232) เจดยี ์องคใ์ นอาจเป็นสงิ่ ก่อสรา้ งสมัย
สร้างเมืองพิจิตรนา่ จะเป็นไดด้ ังปรากฏหลักฐานแผ่นอิฐมีจารกึ อกั ษรขอม

14.2 พระอุโบสถ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกหรือด้านหลังเจดีย์ประธาน สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนในสมัยอยุธยา
เนื่องจากสมัยสุโขทัยไม่นิยมสร้างพระอุโบสถ โดยสมัยอยุธยาจะนิยมสร้างพระอุโบสถในแนวเดียวกับ
วิหารและเจดีย์สอดรับกับผลการขุดแต่งเนินโบราณสถานในปี พ.ศ. 2534 ของกรมศิลปากรท่ีพบว่าวัด
มหาธาตุมีส่งิ กอ่ สร้าง 2 สมยั ได้แก่ สมยั สโุ ขทยั และสมยั อยธุ ยา (สมยั สุทธธิ รรม 2542: 48)

14.3 วิหารเก้าห้อง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกหรือด้านหน้าเจดีย์ประธาน (วัดหันหน้าไปทางทิศตะวันตกสู่แม่นํ้า
พจิ ิตรหรือแมน่ ํ้าน่านสายเกา่ ) มขี นาด 9 หอ้ ง

14.4 พระสุพรรณบัฏ เป็นโบราณวัตถุช้ินสําคัญชิ้นหน่ึงได้จากภายในองค์เจดีย์ประธาน จารึกอักษรขอม
โบราณปรากฏช่ือ “เมืองสระหลวง” ปี พ.ศ. 1959 (สมัย สุทธิธรรม 2542: 7) ตรงกับศิลาจารึกพ่อขุน
รามคําแหง หลักท่ี 1 สันนิษฐานว่าอาจเป็นเมืองพิจิตรเก่า (หวน พินธุพันธ์ 2520: 6 อ้างสาสน์สมเด็จ)
โดยพระสพุ รรณบฏั หรือลานทองเปน็ แผ่นทองคํากว้าง 4.5 เซนติเมตร ยาว 14.2 เซนติเมตร ข้อความที่
ปรากฏเป็นประกาศพระบรมราชโองการเล่ือนพระสมณศักด์ิภิกษุรูปหนึ่งของวัดมหาธาตุ (พละ วัฒโน
2508: 237-241)

14.5 โบราณวัตถุสาํ คัญอน่ื ๆ มที ง้ั ที่ชาวบ้านค้นพบและขุดพบโดยกรมศลิ ปากร ในปี พ.ศ. 2495 กรมศิลปากร
ไดด้ ําเนินการขุดค้นเจดีย์ประธานพบแผ่นอิฐมีจารึกอกั ษรขอมโบราณ 2 แผ่น มีความหมายว่า “สุนทร”
อาจเกี่ยวกับคําว่า “พิจิตร” แปลว่างามเหมือนกัน (คณะกรรมการฯ 2445: 73) จากการพิจารณาตัว
อักษรบนแผ่นอิฐโดยกรมศิลปากรท่ีเข้าไปตรวจสอบภายในวัดมหาธาตุในปี พ.ศ. 2495 ได้กําหนดอายุ
ตวั อกั ษรราวพทุ ธศตวรรษที่ 18 (พละ วัฒโน 2508: 232) ส่วนโบราณวัตถุอื่นๆ ท่ีพบก่อนกรมศิลปากร
เข้าไปสํารวจพน้ื ท่เี ท่าทีพ่ อสบื ค้นไดเ้ ปน็ พระเคร่ืองชนิดต่างๆ ได้แก่ พระบุเงิน บุทอง ใบตําแย ใบมะยม
พระแก้วสีต่างๆ พระแผง พระบูชา เทวรูปประจําทิศโลหะ เสลี่ยงเล็กๆ ผอบ บาตร พวงมาลัยหยกร้อย
ด้วยลวดเงินลวดทอง และแผ่นอิฐปิดทองขนาดใหญ่ 25x75x15 เซนติเมตร (สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
2500: 29)

จงั หวัดพิจิตร ข-7 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร แหล่งท่องเท่ียวสําคัญในพนื้ ทจี่ งั หวดั พจิ ติ ร

15. ศาลหลักเมอื งพิจิตร
ต้ังอยู่ภายในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร สร้างเม่ือปี พ.ศ. 1601 สมัยพระเจ้ากาญจนกุมารหรือพระยาโคตร

ตะบองเทวราช แต่ชํารุดทรุดโทรมตามกาลเวลา จึงไม่สามารถระบุสถานท่ีต้ังได้อย่างแน่ชัด ต่อมาปี พ.ศ. 2507–2510
นายแสวง ศรีมาเสริม ดํารงตําแหน่งผู้ว่าราชการ
จังหวัดพิจิตร มีดําริจะบูรณะฟื้นฟูเมืองพิจิตรเก่า
เพื่อเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ จึงได้กําหนดให้มี
การฝังเสาหลักเมืองพิจิตรข้ึนใหม่เพ่ือให้เป็นศูนย์
รวมจิตใจของชาวเมืองพิจิตร โดยหลวงปู่โงน โสรโย
ได้นั่งฌานสมาธิเห็นตําแหน่งท่ีตั้งศาลหลักเมืองเก่า
เมื่อขุดลงไปพบซากไม้ท่ีใช้ทําหลักเมืองพิจิตรและ
ซากโครงกระดูกและวัตถุโบราณจํานวนหลายอย่าง
จึงสันนิษฐานได้ว่าตําแหน่งท่ีตั้งศาลหลักเมืองพิจิตร
ในสถานภาพปัจจุบันเป็นท่ีตั้งศาลหลักเมืองพิจิตร

สมัยที่พระยาโคตรตะบองได้ทําการฝังไว้เดิม อาคารศาลหลักเมืองพิจิตรในปัจจุบันสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2520 แบ่งเป็น 2 ช้ัน
ไดแ้ ก่ ชั้นบนเป็นท่ตี งั้ ศาลหลกั เมอื งพจิ ติ รและชนั้ ลา่ งเปน็ สถานที่ประดษิ ฐานรูปป้ันพระยาโคตรตะบอง โดยชาวเมืองพิจิตร
เรยี กว่า “พ่อปู่” สภาพแวดลอ้ มโดยรอบศาลหลักเมอื งจะมคี วามรม่ ร่นื มีตน้ ไมข้ นาดใหญ่และพรรณไม้นานาชนิดทั้งไม้มีค่า
ทางเศรษฐกจิ และพชื สมุนไพรจาํ นวนมาก
16. ถ้ําชาละวนั

ตั้งอยู่ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ถ้ําชาละวันมีความเป็นมาจากวรรณคดีไทยเรื่องไกรทองบทพระราช
นิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี 2) ลักษณะถ้ําชาละวันเป็นช่องขุดลึกลงไปในพ้ืนดินกว้าง
1.0 เมตร ยาว 1.5 เมตร ลึก 4.0 เมตร มีเรื่องเล่าขานว่าเม่ือประมาณ 65 ปีมาแล้วพระภิกษุวัดนครชุมรูปหนึ่งจุดเทียนไข
เดินเขา้ ไปสํารวจในถาํ้ จนหมดเทยี นเล่มหนง่ึ ยงั ไม่ถึงก้นถํ้า จงึ ไมท่ ราบวา่ ภายในถาํ้ ชาละวนั จะสวยงามวิจิตรพิสดารเพียงใด
ในปจั จุบันมีสภาพพ้ืนดินพังทลายทับถมจนต้ืนเขินและทรุดโทรมตามกาลเวลา จังหวัดพิจิตรจึงได้สร้างรูปปั้นไกรทองและ
ชาละวันไว้ที่บริเวณปากถํ้า ตํานานโบราณเล่าขานว่า ชาละวันเป็นจระเข้ขนาดใหญ่เลื่องชื่อแห่งแม่นํ้าน่านเก่าเมืองพิจิตร
สันนิษฐานว่าเกิดข้ึนสมัยเมืองพิจิตรมีเจ้าเมืองปกครองและมีตา–ยายสองสามีภรรยาออกไปหาปลาพบไข่จระเข้ที่สระน้ํา
แห่งหน่ึง จึงเก็บมาฟักเป็นตัวแล้วเลี้ยงไว้ภายในอ่างนํ้า
เพราะยายอยากเล้ยี งไว้แทนลูก ตอ่ มาจระเข้ตัวใหญ่ขึ้น
จึงนําไปเล้ียงไว้ในสระใกล้บ้านหาปลามาให้เป็นประจํา
ต่อมาตา–ยายหาปลามาให้เป็นอาหารไม่พออ่ิมจระเข้
จึงกินตา–ยายเป็นอาหาร เม่ือขาดคนเล้ียงดูให้อาหาร
จระเข้ใหญ่จึงออกจากสระน้ําไปอาศัยในแม่นํ้าน่านเก่า
อยู่ห่างจากสระน้ําของตา–ยายประมาณ 500 เมตร
แม่นํ้าน่านเก่าในสมัยนั้นยังอุดมสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์น้ํา
นานาชนดิ และมนี า้ํ บรบิ ูรณต์ ลอดปีและไหลผา่ นบา้ นวังกระดที่ อง บา้ นดงเศรษฐี ลอ่ งลงไปทางทิศใต้ไหลผ่านบ้านดงชะพลู
บ้านคะเชนทร์ บ้านเมืองพิจิตรเก่า บ้านท่าข่อยจนถึงบ้านบางคลาน โดยจระเข้ใหญ่ได้ออกอาละวาดอยู่ในแม่นํ้าน่านเก่า
ตง้ั แตย่ ่านเหนือเขตบา้ นวงั กระดี่ทอง บ้านดงชะพลูจนถึงบ้านเมืองเก่า แต่จระเข้ใหญ่ของตา–ยายได้เคยล้ิมเนื้อมนุษย์แล้ว

จังหวัดพิจติ ร ข-8 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วสําคญั ในพ้ืนทจ่ี งั หวัดพิจติ ร

จึงอาละวาดกัดกินคนทั้งบนบกและในน้ําไม่มีเว้นแต่ละวัน จึงได้ถูกขนานนามว่า “ไอ้ตาละวัน” ตามสําเนียงภาษาพูดของ
ชาวบา้ นทีเ่ รยี กตามความดรุ า้ ยทที่ ําร้ายคนจํานวนมาก ต่อมาเรียกเพ้ียนเสียงเป็น “ไอ้ชาละวัน” และเขียนเป็น “ชาลวัน”
ตามเน้ือเร่อื งพระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี 2) ชื่อจระเข้ชาละวันแพร่สะพัดไปท่ัว
เพราะจระเข้ชาละวันไปคาบเอาบุตรสาวคนหนึ่งของท่านเศรษฐีเมืองพิจิตรขณะกําลังอาบนํ้าอยู่บริเวณแพท่านํ้าหน้าบ้าน
ท่านเศรษฐีจึงประกาศให้สินบนหลายสิบชั่งพร้อมท้ังยกลูกสาวที่มีอยู่อีกคนหน่ึงให้แก่ผู้ที่ฆ่าชาละวันได้โดยไกรทองพ่อค้า
จากเมืองล่าง สันนิษฐานว่าจากเมืองนนทบุรีรับอาสาปราบจระเข้ใหญ่ด้วยหอกลงอาคมหมอจระเข้ และถ้ําชาละวันใน
สถานภาพปจั จุบันสนั นษิ ฐานว่าต้ังอยู่กลางแม่นํ้าน่านเก่า ปัจจุบันอยู่ห่างจากสถานที่พักสงฆ์ถํ้าชาละวัน บ้านวังกระดี่ทอง
ตาํ บลยา่ นยาวไปทางทิศใต้ประมาณ 300 เมตร ทางลงปากถํ้าจะ
เป็นโพรงลึกเป็นรูปวงกลมมีขนาดพอดี จระเข้ขนาดใหญ่มากเข้า
ได้อย่างสบาย คนรุ่นเก่าได้เล่าถึงความใหญ่โตของจระเข้ชาละวัน
วา่ เวลาจระเข้ชาละวันอวดศักดาลอยตัวปริ่มน้ําขวางคลอง ลําตัว
จะยาวคับคลอง คือ หัวอยู่ฝ่ังน้ีและหางอยู่ฝ่ังโน้น เนื่องจากเรื่อง
จระเข้ชาละวันเป็นเรื่องท่ีเล่ืองลือมากจนกระท้ังพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ได้ทรงพระราชนิพนธ์บท
ละครนอกเร่อื ง “ไกรทอง” และใหน้ ามจระเข้ใหญว่ า่ “พญาชาลวัน”
17. เกาะศรมี าลา

ตั้งอยู่ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร มีลักษณะเป็นมูลดินคล้ายเกาะเล็กๆ อยู่กลางคูเมืองนอกกําแพงเก่า
และมีคูน้ําล้อมรอบเกาะศรีมาลาแต่ต้ืนเขิน สันนิษฐานว่าแต่เดิมน่าจะเป็นป้อมหรือหอคอยรักษาการณ์อย่างใดอย่างหน่ึง
เพราะต้ังอยู่นอกเมอื งและอยู่กลางคเู มือง
18. วัดทา่ หลวง พระอารามหลวง

วัดสําคัญคู่บ้านคู่เมืองพิจิตร ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตก
ของแม่นํ้าน่าน ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิจิตร มีพื้นท่ี 43 ไร่
3 งาน มีถนนบุษบาตัดผ่านกลางวัด เป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาก่อนท่ี
จะอพยพยา้ ยเมืองพิจิตรเกา่ มาตงั้ ท่ีเมอื งพิจิตรใหม่ วัดท่าหลวง
ได้สร้างข้ึนประมาณปี พ.ศ. 2388 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 3) เดิมมีโบสถ์เก่า วิหารเก่า
และศาลาการเปรียญต้งั ริมฝัง่ แม่นาํ้ น่านและถูกร้อื ออกไป ภายในพระอุโบสถเป็น
สถานท่ปี ระดษิ ฐานหลวงพอ่ เพชร พระพุทธรูปปางมารวิชัยสมัยเชียงแสนรุ่นแรก
(พ.ศ. 1660–1800) หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ มีพุทธลักษณะงดงาม หน้าตักกว้าง
1.40 เมตร สูง 1.60 เมตร เป็นพระพุทธรูปสําคัญคู่เมืองพิจิตร มีประวัติเล่าขาน
ว่าพระพิจิตร เจ้าเมืองพิจิตรอยากได้พระประธานมาประดิษฐานที่จังหวัดพิจิตร
จงึ ขอร้องแมท่ พั ว่าเมือ่ ปราบปรามขบถเสร็จแลว้ ใหห้ าพระมาฝาก เมือ่ เสรจ็ ศึกแม่
ทัพจึงได้อาราธนาพระพุทธรูปหลวงพ่อเพชรลงแพลูกบวบล่องมาทางแม่นํ้าปิง
โดยฝากเจ้าเมืองกําแพงเพชรไว้ ต่อมาได้อาราธนาหลวงพ่อเพชรมาประดิษฐาน
ณ อุโบสถวัดนครชุม ก่อนแล้วจึงย้ายมาประดิษฐาน ณ พระอุโบสถวัดท่าหลวง
อาํ เภอเมอื งพิจิตร จนถงึ ปัจจุบนั

จังหวัดพิจติ ร ข-9 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วสาํ คัญในพืน้ ทจ่ี งั หวดั พจิ ติ ร

19. วัดดงปา่ คํา (รอยเสด็จประพาสตน้ ร.5)
ต้ังอยู่ท่ีตําบลดงกลาง อําเภอเมืองพิจิตร เป็นเส้นทางตามรอย

เสด็จประพาสต้นของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) เมื่อ
ครั้งเสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือ (พ.ศ. 2444 หรือ ร.ศ. 120) พระองค์
ทรงแวะบางปะอินกรุงเก่า เมืองอ่างทอง เมืองสิงห์บุรี เมืองชัยนาท เมือง
อุทัยธานี เมืองนครสวรรค์ เมืองพิจิตร เมืองพิษณุโลก เมืองพิชัย และเมือง
อุตรดิตถ์ สถานภาพปัจจุบันของวัดดงป่าคําเป็นวัดเก่าแก่ มีหลวงพ่อดําอายุมากกว่าหน่ึงร้อยปีประดิษฐานอยู่ภายในวัดฯ
และเป็นที่เคารพบูชาและศรัทธาของประชาชนในพ้ืนท่ีเมืองพิจิตร รวมท้ังเป็นต้ังของอุทยานธรรมแม่หญิงเป็นสถานที่
ปฏิบัติธรรมสําหรับผู้ที่ต้องการบวชชีพราหมณ์ มีแม่ชีตาเป็นแม่ชีประจําอุทยานธรรมฯ นอกจากน้ีบริเวณหน้าวัดดงป่าคํา
ช่วงฤดฝู นตกชกุ จะส่งผลให้คลองข้าวตอกมีปริมาณน้ําเพ่ิมข้นึ ทาํ ให้พชื ประจําถิ่น (บวั แดง) เจรญิ งอกงามออกดอกสีแดงสด
บานสะพรั่งตลอดท้ังบริเวณหน้าวัดดงป่าคําและชุมชนดงป่าคําเป็นระยะทางมากกว่า 1 กิโลเมตร ส่งผลเชิงบวกให้ตลอด
คลองข้าวตอกมีความสวยงามสะดุดตากับผ้พู บเหน็ และประชาชนท่ีผ่านไปมา นอกจากบัวแดงจะมีความสวยงามและสร้าง
ความประทบั ใจให้กับผู้พบเหน็ แลว้ ยงั สร้างรายได้ใหก้ ับชุมชนดงป่าคําเนื่องจากสามารถท่ีจะเก็บสายบัวแดงนํามาจําหน่าย
เปน็ ผกั พืน้ บา้ นให้ผูท้ ่ีช่นื ชอบบริโภคได้ และผูท้ สี่ นใจสามารถเดนิ ทางมาชมความงามของบัวแดงจะบานรับแสงพระอาทิตย์
ได้ในชว่ งเชา้ เวลา 6:00 – 10:00 น.

20. ศูนย์มิตรภาพไทย–เวียดนามบา้ นดง (พพิ ิธภัณฑโ์ ฮจิมินห์)
เป็นการลงนามความร่วมมือขององค์การบริหารส่วนตําบลป่ามะคาบ สถาบันภูพาน และพิพิธภัณฑ์โฮจิมินห์

ฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นศูนย์เรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติอาเซียนผ่านประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน ก่อตั้งขึ้นใน
พ.ศ. 2555 บนพื้นท่ีกว่า 7 ไร่ ในเขตบ้านดง ตําบลป่ามะคาบ อําเภอเมืองพิจิตร พ้ืนท่ีในอดีตเคยเป็นป่าช้าเวียดนามเก่า
อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตําบลป่ามะคาบและชุมชนชาวตําบลป่ามะคาบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
มุ่งเนน้ ความสัมพันธ์ของชาวไทยและชาวเวยี ดนามโดยเปน็ ศูนย์การเรียนรูท้ ่มี ขี ้อมูลทางวชิ าการ เอกสาร สิ่งพมิ พ์ ภาพถา่ ย

จังหวัดพิจิตร ข-10 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร แหลง่ ทอ่ งเที่ยวสาํ คญั ในพนื้ ท่ีจงั หวดั พิจติ ร

วีดิทัศน์ และอื่นๆ เก่ียวกับความสัมพนั ธข์ องประเทศไทยกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พร้อมทั้งข้อมูลประวัติศาสตร์
ของบุคคลสําคัญของโลก ได้แก่ ประธานโฮจิมินห์ของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามท่ีได้เข้ามาพํานักอยู่ในแผ่นดินสยาม
และได้รวบรวมคนรักชาติชาวเวียดนามในจังหวัดพิจิตรและเป็น
จังหวัดแรกท่ีท่านได้เดินทางเข้ามาก่อนจะเดินทางไปต่อยังภาค
อีสาน (จังหวัดนครพนม) ท่านได้ท้ิงเร่ืองราวประวัติไว้ท่ีบ้านดง
เชน่ บ้านไม้หลังเก่าท่ีเคยใช้หลับนอน ทน่ี ่ังทํางานและปรกึ ษากับ
พี่น้องชาวเวียดนามท่ีหลบหนีภัยจากสงครามฝรั่งเศสในครั้งน้ัน
มีตัวอาคารพิพิธภัณฑ์ 2 ชั้นเพ่ือใช้รองรับนักท่องเที่ยวชาวไทย
และต่างชาติ โดยได้แบ่งอาคารในการจัดแสดงเป็น 2 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 จดั แสดงเรื่องราวประวตั ิความเปน็ เมอื งพจิ ิตรและมีข้าว
ของเครื่องใช้จากสมัยอดีตท่ีหาดูที่ไหนไม่ได้ ส่วนท่ี 2 จัดแสดงเรื่องราวประวัติของท่านโฮจิมินห์ท่ีได้เข้ามาพํานักอาศัย
ภายในพ้ืนที่บ้านดง จังหวัดพิจิตร และมีเอกสารที่สําคัญและข้าวของเคร่ืองใช้ของท่านโฮจิมินห์จากสาธารณรัฐสังคมนิยม
เวียดนามมาจดั แสดงไวแ้ ละหาชมที่ไหนไม่ได้แล้วนอกจากจะต้องเดินทางไปยังสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเท่าน้ัน โดย
พพิ ธิ ภัณฑ์โฮจมิ นิ ห์ ณ กรุงฮานอย ได้มอบใหศ้ นู ยม์ ติ รภาพไทย–เวียดนามบา้ นดง ไว้ เมอ่ื ตวั อาคารเสรจ็ สิ้น

21. วัดโพธิ์ประทับชา้ ง (รอยเสดจ็ ประพาสตน้ ร.5)
เป็นวัดเก่าแก่ในสมัยอยุธยาตอนปลายประมาณ พ.ศ. 2242 และ

ไดร้ ับพระราชทานวสิ งุ คามสมี า พ.ศ. 2244 ตามประวตั ิเดมิ วัดโพธิ์ประทับช้าง
ไม่มชี ื่อเรียกภายหลังชาวบ้านเรียกชื่อว่า “วัดหลวงโพธิ์ประทับช้าง” หมายถึง
วัดของพระเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระเจ้าเสือหรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8) ทรง
สร้างไว้เพ่ือเป็นอนุสรณ์ระลึกสถานท่ีพระองค์ประสูติ เป็นวัดท่ีมีความเจริญ
รุ่งเรืองสวยงามมากในสมัยน้ัน (พ.ศ. 2242–2244) รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าเสือ
ได้เกณฑ์ไพร่พลเรือนมาต้ังครอบครัวจํานวนมากถึง 200 ครอบครัวเพื่อเอาไว้
เป็นอุปัฏฐากรับใช้และดูแลคณะพระสงฆ์ที่พระองค์ทรงแต่งต้ังไว้เป็นผู้ครอง
พระอารามแห่งน้ีคือ พระครูธรรมรูจีราชมุนี และเป็นพระราชาคณะปกครอง
คณะสงฆ์ในเมืองพิจิตรและมีความสําคัญต่อสมเด็จพระเจ้าเสือและหมู่พสกนิกรเป็นอย่างมาก โดยสถานภาพปัจจุบันของ
วัดโพธ์ิประทับช้างได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 52 ตอนท่ี 75
วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 และกรมศิลปากรได้กําหนดขอบเขตท่ีดินโบราณสถานไว้ทั้งรวมสิ้น 69 ไร่ 1 งาน 16 ตาราวา
ภายในมีปูชนียวัตถุสําคัญ ได้แก่ พระวิหารสูงใหญ่ มีโครงสร้างก่ออิฐถือปูน มีกําแพงล้อมรอบ 2 ชั้น เป็นศิลปะแบบสมัย

จงั หวดั พิจติ ร ข-11 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจิตร แหล่งท่องเทย่ี วสาํ คญั ในพนื้ ทจ่ี งั หวดั พจิ ติ ร

อยธุ ยาตอนปลาย (พ.ศ. 2242-2244) มหี น้าตา่ งถี่ มลี ายซุม้ ประตูและหนา้ ต่างคล้ายๆ กับที่วัดกุฎีดาว นับเป็นวัดสําคัญใน
การศกึ ษาศิลปะสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ซุม้ ประตูวดั มขี นาดสูงใหญ่ รปู ทรงแบบซมุ้ ประตูวดั ราชบูรณะและวัดอนื่ ๆ ในพ้ืนที่
กรุงศรีอยุธยา บริเวณด้านหน้าพระอุโบสถมีเฉลียงยืนออกมาเรียกว่า “มุขเด็จ” ไว้สําหรับพระมหากษัตริย์ยามเม่ือเสด็จ
ประพาสมายังวัดแห่งนี้ และจะเสด็จออกมาพบปะประชาชน
ภายในพระอุโบสถมี “หลวงพ่อโต หรือ หลวงพ่อย้ิม” หน้าตัก
กว้าง 4 – 5 ศอก เป็นพระพุทธรูปปูนป้ันสมัยอยุธยามีอายุ
เก่าแก่มากกว่า 300 ปี เป็นพระประธานประดิษฐานภายใน
พระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์ที่ชาวเมืองพิจิตรให้
ความเคารพนับถือมาก โดยหลวงพ่อโตองค์ปัจจุบันเป็นการ
ซ่อมแซมบูรณะข้ึนใหม่หลังจากท่ีได้รับความเสียหายจากการ
ถูกต้นไม้โค่นทับจนเศียรและองค์หลวงพ่อโตหักลงได้รับความ
เสียหาย ชาวบ้านจึงได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อ
หลายสบิ ปีท่ผี ่านมา แตย่ งั คงความศักด์สิ ิทธเ์ิ ป็นที่เคารพนบั ถอื สืบมาจนถึงปจั จบุ นั นี้

22. วัดทับคล้อ (สวนพระโพธสิ ตั ว)์
สวนพระโพธิสัตว์ (ปัจจุบันเป็นวัดทับคล้อ) ตั้งอยู่หมู่ที่ 1

ตาํ บลทับคลอ้ อําเภอทับคลอ้ จงั หวดั พจิ ติ ร โดยทา่ นเจ้าคุณพระราช
วิมลเมธีและพระครูภาวนาวรคุณ (หลวงพ่อเกตุมดีฯ) เจ้าอาวาสวัด
เกตุมดีศรีวราราม จังหวัดสมุทรสาคร ได้ทําพิธีเปิดป้ายน้ําพระทัย
พระโพธิสัตว์และป้ายพระนามเจ้าคุณท้ังสิบเมื่อวันท่ี 23 กุมภาพันธ์
2520 เดิมสวนพระโพธิสัตว์เป็นเพยี งที่ดินท้องนาว่างเปล่าและได้รับ
การพัฒนาจนกลายเป็นป่าธรรมชาติ โดยหลวงพ่อพระมหาโกศลได้
พาญาติโยมปลูกต้นไม้โดยเฉพาะต้นโพธิ์เป็นไม้มงคลขึ้นง่ายตาม
ธรรมชาติให้ความร่มเย็นและเป็นต้นไม้ที่มีชื่อเดียวกับต้นไม้ตรัสรู้
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ ต่อมาสวนพระโพธิสัตว์
ได้รบั การประกาศจดั ตั้งเป็นวดั จากกระทรวงศึกษาธกิ ารและมหาเถร
สมาคม และตั้งชื่อว่า “วัดทับคล้อ” เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2535
และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเม่ือวันท่ี 29 กันยายน พ.ศ. 2541 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 42 เมตร ยาว 61 เมตร มี

จงั หวัดพิจติ ร ข-12 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร แหลง่ ท่องเท่ยี วสําคญั ในพ้ืนทีจ่ งั หวัดพจิ ติ ร

เนื้อท่ีทั้งหมด 111 ไร่ ภายในวัดมีพระเจดีย์เรียกว่า “พระบรมจักรดุสิตบรมธาตุ” โดยทําเป็นเนินดินตรงกลางต้ังเสาธง มี
ธงชาตคิ กู่ ับธงธรรมจักรอยู่บนยอดเสาธง ยอดพระเจดยี ไ์ ดบ้ รรจุพระบรมสารีริกธาตุ และภายในพระเจดีย์บรรจุผ้าไตรจีวร
ที่ท่านเจ้าคุณพระราชวิมลเมธีห่มไปบําเพ็ญมหาทานถวายพระพุทธมงคลจํานวน 80 องค์แด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
สยามมกุฎราชกุมาร (ขณะน้ัน) และผ้าเช็ดหน้าของพระครูภาวนาวรคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมดีศรีวราราม ต่อมาหลวงพ่อ
พระมหาโกศลได้นําญาติโยมสร้างพระรูปเปรียบพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า “พระพุทธโลกนารทมุนี” ตั้งอยู่บริเวณ
ทางเขา้ หน้าวัดทับคลอ้ (สวนพระโพธสิ ัตว์) บนพระเกศมกี ารบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนํามาจากมหาเจดีย์ในวัดราชบูรณะ
ที่ถูกร้ือเพ่ือสร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้าฯ โดยมีคําจารึกของสมเด็จ
พระราชครูศรีสมโพธิ (ขรัวอีโต้) ว่าได้นํามาจากเจดีย์ในเขตเมืองพม่า
จากหลกั ฐานคน้ พบวา่ เป็นพระบรมสารีริกธาตทุ พ่ี ระเจ้าอโศกมหาราช
บรรจุไว้ และในคําจารึกได้แสดงว่าสมเด็จพระราชครูศรีสมโพธิท่าน
ปรารถนาโพธิญาณ เมื่อวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2520 รวมท้ังมีสถานท่ี
ปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐานทม่ี คี วามรม่ รื่น ความสวยงาม เงียบสงบและ
เป็นธรรมชาติ และยังเป็นที่ต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
และพระตําหนักรับรองซ่ึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีทรงเสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเมื่อ
วนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2536
23. วดั พระพุทธบาทเขาทราย

เป็นวัดเก่าแก่ในจังหวัดพิจิตร เดิมชื่อว่า “วัดวังเดือนห้า”
ก่อตั้งราวปี พ.ศ. 2474 เดิมต้ังอยู่ตรงข้ามที่ว่าการอําเภอทับคล้อใน
ปัจจุบัน ต่อมาเกิดอุทกภัยเป็นประจําจึงย้ายมาอยู่ ณ บริเวณตลาด
สดเช้าเขาทราย และได้ย้ายมาตั้งอยู่ติดกับภูเขาในปัจจุบัน โดยได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมาเม่ือวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ 2498 กิจกรรมโดดเด่นและจัดเป็นประเพณีสืบทอดกันนานกว่า 50 ปี

เป็นประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะเนื่องจากวัดอยู่ติดกับภูเขาและมี
ทําเลคล้ายคลึงกับตํานานทางพระพุทธศาสนา ชาวตําบลเขาทรายจึง
พร้อมใจจัดงานวันทําบุญตักบาตรเทโวโรหณะโดยถือเอาวันแรม 2 คํ่า
เดือน 11 ของทุกปี และล่าช้ากว่าตํานานทางพระพุทธศาสนา 1 วัน
เน่ืองจากผู้เฒ่าผู้แก่ชาวเขาทรายในอดีตมีกุศโลบายอันชาญฉลาดเพ่ือ
รวบรวมชาวพุทธและญาติธรรมให้มาร่วมทําบุญให้มากท่ีสุด จึงจัดเป็น
ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะท่ีย่ิงใหญ่ แต่เดิมชาวบ้านเรียกติดปากว่า
“วนั ตักบาตรพระร้อย” เนื่องจากมีพระภิกษุสงฆ์มารับบิณฑบาตหลาย
ร้อยรูป ต่อมาปี พ.ศ. 2542 สมัยนายประสาท พงษ์ศิวภัย ขณะดํารง
ตําแหน่งผวู้ า่ ราชการจงั หวัดได้เล็งเห็นว่าประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ
ของวัดเขาทรายเป็นประเพณีเก่าแก่จัดสืบทอดกันมานานกว่า 50 ปี
แตล่ ะปีมปี ระชาชนในจงั หวดั พิจิตรและใกล้เคียงมารว่ มงานจาํ นวนมาก
จึงไดส้ ่งเสรมิ ให้เป็นงานประเพณีทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาระดับจังหวัดและให้สอดคล้องกับตํานานในพระพุทธศาสนาจึง
ร่วมมือกับเทศบาลตาํ บลเขาทรายและภาคประชาชนคิดจัดขบวนสมมุติเป็นขบวนเทวดา (ท้าวสักกะเทวราชาทรงเสด็จนํา
พระพุทธองค์จากชัน้ สรวงสวรรคส์ ู่ช้ันโลกมนุษย)์ และถอื ปฏิบตั ิกนั สืบตอ่ มาจนถงึ ปจั จุบนั

จังหวดั พิจติ ร ข-13 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจิตร แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วสําคญั ในพนื้ ทจี่ ังหวดั พจิ ิตร

24. วดั หริ ญั ญาราม หรอื วดั บางคลาน
เดิมช่ือวา่ “วดั วังตะโก” ตัง้ อยู่รมิ แม่นาํ้ น่านเก่า ตําบลบางคลาน อาํ เภอโพทะเล เม่ือประมาณ พ.ศ. 2477 เป็น
วัดที่หลวงพ่อเงินสร้างข้ึนเพราะ
เห็นว่าเป็นสถานท่ีสงบเงียบ และ
อยู่ไม่ไกลจากแหล่งชุมชนมีความ
เหมาะสมจะใช้เป็นสถานที่เจริญ
วิปัสสนากรรมฐานเน่ืองจากสภาพ
พ้ืนที่สมัยน้ันเป็นป่ารกทึบและมี
สัตว์ป่าดุร้ายนานาชนิดอาศัยอยู่
เป็นจํานวนมาก สภาพเดิมของวัด
เป็นเพียงสํานักสงฆ์เล็กๆ มีกุฏิหลังคามุงแฝก 1 หลังเท่าน้ัน
ก่อนหลวงพ่อเงินจะมาจําพรรษาและสร้างวัดได้นําต้นโพธ์ิมา
1 ตน้ จากวัดคงคาราม เมอ่ื ปลกู แล้วหลวงพอ่ เงนิ ไดอ้ ธิษฐานวา่
ขอให้ต้นโพธิ์ที่ปลูกจงเจริญเติบโตงอกงาม ต้นโพธิ์อธิษฐานได้
เจริญงอกงามดี ภายในวัดมีสิ่งท่ีน่าสนใจสะสมไว้นานแล้ว
จํานวนมากจึงจดั ต้งั เป็นพิพิธภัณฑ์นครไชยบวรเป็นพิพิธภัณฑ์
รูปมณฑป 2 ช้ัน ได้แก่ ช้ันบนประดิษฐานรูปหล่อเท่าองค์จริง
ของหลวงพ่อเงินพระเกจิอาจารย์ชื่อเสียงโด่งดังท่ีประชาชน

ชาวไทยทั่วประเทศรู้จัก เคารพนับถือและเคยจําพรรษาอยู่ ส่วนช้ันล่างเป็นพิพิธภัณฑ์นครไชยบวรจัดแสดงโบราณวัตถุ
อันมคี ณุ คา่ สมยั นครไชยบวรไวจ้ าํ นวนมากและมีเครื่องถ้วยชามลายครามเบญจรงค์เป็นสิ่งท่ีดึงดูดความสนใจของผู้พบเห็น
เป็นอย่างยิ่ง รวมทั้งเป็นสถานที่เจริญวิปัสสนากรรมฐานของหลวงพ่อเงินและบุคคลสําคัญ 2 ท่าน ได้แก่ สมเด็จพระมหา
สมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และกรมหลวงชุมพรเขตอดุ มศกั ดิ์
25. วดั ใหม่ปลายหว้ ย

ต้ังอยู่ตําบลเนินปอ อําเภอสามง่าม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2537 เริ่มต้นจากกระท่อมหลังเล็กๆ บนเน้ือที่ 1 งาน
ต่อมานายวงษ์ เที่ยงอยู่ ได้บริจาคท่ีดินให้สร้างวัดจํานวน 2 ไร่เศษ และชาวบ้านได้นิมนต์พระภิกษุชื่อหลวงตาดี สุภทฺโท
มาอยู่จําพรรษาเป็นรูปแรกแต่ดว้ ยความอัตคัดและลําบากในหลายเร่ือง ท่านจึงย้ายไปอยู่สถานที่อื่น จากนั้นปี พ.ศ. 2538
หลวงปู่ทองดี อนีโฆ ได้เข้ามาบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ ด้วยจิตศรัทธาของชาวบ้านจึงได้ร่วมถวายท่ีดินให้กับหลวงปู่ฯ ใช้
บําเพ็ญสมณะธรรมและหลวงปู่ฯ ได้ซ้ือท่ีดินขยายพ้ืนที่ของวัด
เพม่ิ เติมปัจจุบันมีเน้ือท่ีรวม 80 ไร่ และสถานท่ีปฏิบัติธรรมรวม
50 ไร่ รวมเป็นพ้ืนทท่ี ง้ั หมด 130 ไร่ โดยไดร้ ับอนุญาตใหต้ ง้ั เป็น
วัดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2548 และได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสมี าเมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2549 ปัจจบุ ันมพี ระภิกษสุ งฆ์
จําพรรษาจํานวน 50 รูป โดยมีหลวงปู่ทองดี อนีโฆ (หรือ
พระราชาคณะ มีพระราชทินนาม “พระพิศาลญาณวงศ์”) เป็น
ประธานสงฆ์ ตอ่ มาหลวงปู่ฯ ได้ดําเนินการก่อสร้างถาวรวัตถุใน
วัดเพ่ิมเติม ยกตัวอย่างเช่น กุฏิสงฆ์ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ ศาลาปฏิบัติธรรม เจดีย์สถาน ลานธรรม คติธรรม สุภาษิต

จังหวดั พิจิตร ข-14 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร แหล่งท่องเทยี่ วสําคัญในพ้ืนที่จังหวัดพจิ ิตร

ไทย นรก สวรรค์ หลวงปู่เทพโลกอุดร พระยืน พระนั่งและพระนอนที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือตอนล่างจนมีความสวยงาม
ร่มเย็น เหมาะสมและเอื้ออํานวยต่อการปฏิบัติธรรมเป็นอย่างมาก ทําให้มีนักท่องเท่ียวและผู้สนใจในธรรมแวะเวียนมาไม่
ขาดสาย
26. วดั ยางสามตน้ วราราม หรือวัดไตรยาง

ต้ังอยู่ตําบลหนองพระ อําเภอวังทรายพูน
ริมทางหลวงหมายเลข 11 เป็นวัดเลื่องลือเรื่องความ
ศักดิ์สิทธ์ิของหลวงพ่อเงินในกลุ่มชาวเมืองพิจิตรมา
ช้านานและเลื่องลือไปถึงจังหวัดใกล้เคียงจนกระทั่ง
สามารถดึงดูดผู้คนให้เดินทางเข้าเยี่ยมชมอยู่เสมอๆ
ภายในวัดมีวิหารหลวงพ่อเงินองค์ขนาดใหญ่พร้อม
กับสักการะรูปเหมือนพระเกจิอาจารย์ดังที่มีมากถึง
25 รปู
27. พระพทุ ธเกตุมงคล (หลวงพอ่ โต) วดั เทวประสาท

ตั้งอยู่ตําบลห้วยเกตุ อําเภอตะพานหิน เป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อโตปางประทานพรขนาดใหญ่
ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 9) ว่า “พระพุทธเกตุ
มงคล” ประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง หน้าตักกว้าง
20 เมตร เฉพาะองค์พระสูง 30 เมตร แท่นสูง
4 เมตร รวมความสงู ท้ังส้ิน 34 เมตร สร้างด้วย
คอนกรีตเสริมเหล็กเมื่อปี พ.ศ. 2513 นับเป็น
พระพุทธรูปทม่ี พี ุทธลกั ษณะสวยงามได้สัดส่วน
และใหญท่ ่สี ุดในจังหวดั พิจติ ร หากเดนิ ทางโดย
รถไฟจะมองเหน็ องคพ์ ระเหลืองอร่ามแต่ไกล

28. วัดพระพทุ ธบาทเขารวก
ตั้งอยู่ที่หมู่ท่ี 5 ตําบลวังหลุม อําเภอตะพานหิน มีหลวงปู่โง่น ไสรโย พระเกจิอาจารย์ชื่อดังเคยจําพรรษาอยู่

ภายในวัดมีรอยประดิษฐานพระพุทธบาทจําลองซ่ึงจําลองมาจากวัด
พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี และมีสวนสัตว์ขนาดเล็กมีสัตว์หลาย
ชนิดไวใ้ หช้ มและศึกษา เชน่ นกเงือก นกยงู 3 สายพันธ์ (อินเดีย ไทย
และฮอลแลนด์) รวมท้ังมีรูปหล่อหลวงปู่โง่น โสรโย ซ่ึงท่านได้สร้าง
พระพทุ ธวโิ มกข์ปางสมาธจิ าํ นวนมากมอบแกโ่ รงเรยี นทั่วประเทศเพ่ือ
เผยแพร่จรรโลงไว้ในพุทธศาสนา และกลองไม้ประดู่ยักษ์ที่ใหญ่ท่ีสุด
ในโลกช่ือว่า “กลองนันทะเภรีศรีราชรุกโข มโหระทึกมฤคทายวัน
บันลอื โลก” รปู ป้นั ฤาษที าํ จากหนิ ศิลาแลงจากลุ่มแม่น้ําเขินอายุ 1,000–1,500 ปี และหลวงปู่โงน โสรโย ยังเป็นผู้พลิกฟื้น
ตํานานพระสุพรรณกัลยาซึ่งท่านได้สัมผัสทางวิญญาณจากความฝันและเผยแพร่วีรกรรมของพระนางฯ ท่ีเสียสละสรีระไว้
ในต่างแดนเพ่อื กอบกู้บา้ นเมืองผืนแผน่ ดนิ สยามทงั้ ประเทศไว้ใหค้ นไทยไดอ้ าศัยอยา่ งมีความสขุ

จังหวดั พิจติ ร ข-15 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วสําคัญในพื้นที่จังหวดั พิจิตร

29. วัดคลองคูณ
ตงั้ อยู่ทีต่ าํ บลคลองคณู อําเภอตะพานหิน สรา้ งในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ประมาณพุทธศกั ราช 2400 ไดข้ ึ้นทะเบียน

ในกองพุทธศาสนาว่า “วัดคลองคูณ” สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เน้ือที่ 12-1-075 ไร่ พ้ืนท่ีต้ังวัดเป็นที่ราบ มีลําคลองผ่าน
มีอาคารเสนาสนะ คือ อุโบสถกว้าง 7 เมตร ยาว 14 เมตร สร้างเม่ือ พ.ศ. 2496 แทนหลังเก่าท่ีสร้างมาต้ังแต่สมัยโบราณ
ศาลาการเปรยี ญกว้าง 12 เมตร ยาว 16 เมตร ยกข้ึนแทนหลังถาวร 2 ชั้น หอสวดมนต์กว้าง 8 เมตร ยาว 14 เมตร สร้าง
เม่ือ พ.ศ. 2508 ปัจจุบันมีกุฏิถาวร 15 หลัง และกุฏิเจ้าอาวาส 2 ชั้น 1 หลัง และ
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2545 มีปูชนียวัตถุคือรอยพระพุทธบาท
จําลองกว้าง 1.65 เมตร ยาว 3.20 เมตร สร้างประมาณ พ.ศ. 2468 และมีการ
สร้างอาคารถาวรครอบ 1 หลัง และเปิดสอนพระปริยัติธรรมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515
และเป็นสถานท่ีจําพรรษาของ “หลวงพ่อหวั่น กุสลจิตโต” พระเกจิอาจารย์ช่ือดัง
ปัจจุบันแม้สังขารท่านจะล่วงเลยเข้าร่วมศตวรรษแล้ว แต่ยังได้รับแรงศรัทธาจาก
ชาวบา้ นท่ีมาเย่ียมชมวดั อยอู่ ยา่ งตอ่ เน่ืองทั้งชมจติ รกรรมอนั งดงามเรื่องพระเจ้าสิบ
ชาติและกราบขอพรสมเด็จพระพุทธเจ้าจอมจักรพรรดิ (ปางโปรดท้าวชมภูพาน
ศิลปะรัตนโกสินทร์ประยุกต์) พระพุทธรูปประจําปีเกิดของหลวงพ่อหวั่น (ปีกุน)
ในโบสถห์ ลงั ใหมข่ องวดั คลองคูณ
30. วดั คุณพุ่ม

เดิมชื่อวัดหนองในดง สร้างข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2463 ตั้งอยู่ที่บ้านหนองในดง ตําบลบางลาย อําเภอบึงนาราง โดย
หลวงพ่อเสือลูกศิษย์หลวงพ่อเงินพร้อมด้วยชาวบ้านหนองในดงได้ร่วมกันสร้างวัดข้ึน และหลวงพ่อเงินได้ให้หลวงพ่อเสือ
ลูกศิษย์มาจําพรรษาที่น่ีเป็นเจ้าอาวาสองค์แรกและพัฒนาเร่ือยมาจนถึงปัจจุบันเนื่องจากวัดอยู่ในถ่ินทุระกันดาร ห่างไกล
ความเจรญิ เม่ือปี พ.ศ. 2551 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงโปรดประทานทุนทรัพย์ส่วน
พระองค์ให้กับวัดเพื่อดําเนินการซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ศาลาการเปรียญ รวมถึงศาสนสถานต่างๆ ภายในวัดข้ึนมาใหม่
เพือ่ ใหใ้ ช้เปน็ สถานทีศ่ ึกษาเลา่ เรียนและเป็นศนู ย์รวมจติ ใจและการจดั กิจกรรมตา่ งๆ ของราษฎรบา้ นหนองในดง ตอ่ มาเม่ือ
พ.ศ. 2551 ทูลกระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรตั นราชกัญญา สริ ิวฒั นาพรรณวดี ทรงโปรดประทานเปล่ียนช่ือจากวัดหนองในดงเป็น
“วัดคุณพุ่ม” เพ่ือให้เป็นวัดประจําพระองค์พร้อมประทานพระพุทธรูปประจําพระองค์ พระพุทธไตรย์รัตนโลกนาถให้มา
ประดิษฐาน ณ วิหารของวัดเพื่อไว้เป็นท่ีสักการะบูชาของพุทธศาสนิกชนและยังเป็นที่ประดิษฐานอนุสาวรีย์ของ “คุณพุ่ม
เจนเซน” พระโอรสในทลู กระหมอ่ มหญงิ อุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒั นาพรรณวดี

จังหวดั พิจติ ร ข-16 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร แหล่งท่องเท่ยี วสาํ คัญในพ้นื ทจ่ี งั หวดั พจิ ิตร

31. วัดท้ายนาํ้
ตั้งอยู่ตําบลท้ายนํ้า อําเภอโพทะเล เป็นวัดเก่าแก่ของหลวงพ่อเงิน (วัดบางคลาน) เคยจําพรรษาอยู่ ซ่ึงท่านได้

สร้างบุญบารมแี ละสรา้ งส่งิ ปลกู สร้างไวม้ ากมายรวมทั้งเรือแขง่ ไว้ด้วยเพราะจังหวัดพิจิตรมีการแข่งเรือยาวเป็นงานบุญงาน
ประเพณี ปัจจุบนั ได้มีพิพธิ ภณั ฑ์จดั แสดงส่ิงของเกย่ี วกับหลวงพอ่ เงิน

32. วดั บ้านน้อย
ตั้งอยู่ตําบลบ้านน้อย อําเภอโพทะเล ภายในวัดมี

การก่อสร้างหลวงพ่อเงินที่มีความงดงามแปลกตาเน่ืองจาก
เกิดจากการร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านกับพระสงฆ์ใช้เส้น
ทองเหลืองสรา้ งประตมิ ากรรมจักสานรูปเหมือนหลวงพ่อเงิน
วัดบางคลาน ขนาดหน้าตัก 2 เมตร สูง 2.50 เมตร ใช้เส้น
ลวดทองเหลือง 0.21 มิลลิเมตร ขนาดเท่าเส้นผมความยาว
130,517 เมตร น้ําหนักประมาณ 1,000 กิโลกรัม โดยใช้
ระยะเวลาสร้างด้วยมือเปล่าเป็นเวลา 1 ปี 9 เดือนและสร้าง
จากแรงศรทั ธาด้วย “ลายมดั ซุง” เป็นประติมากรรมที่มคี วามวิจติ รงดงามและละเอยี ดออ่ นมาก
33. วัดสขุ ุมาราม

ตั้งอยู่ตําบลวังตะกู อําเภอบางมูลนาก เป็นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของ
ประเทศ (ยาว 55 เมตร) เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 9) เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนม

พรรษา 84 พรรษา 5 ธันวามหาราช โดยมีการ
ก่อสร้างอาคารด้วยประติมากรรมงดงามและ
สอดแทรกด้วยศิลปะร่วมสมัย และใช้เป็น
สถานท่ีฝึกสมาธิ ปฏิบัติธรรมและฝึกกรรมฐาน
บนพื้นท่ีกว่า 40 ไร่ บริเวณโดยรอบมีการปลูก
ต้นไม้น้อยใหญ่นานาชนิดให้ครึ้มร่มเย็นเพื่อให้
เป็นลานปฏิบัติธรรมสําหรับชาวพุทธทั่วโลกที่
มาแสวงหาความสงบร่วมเย็นภายใต้แสงเทียน
แห่งธรรมะ จุดเด่นสําคัญภายในวัดคือ วิหาร
หลวงพ่อเขียน ธมมฺรักขิโต วัดสํานักขุนเณร
ท่านเคยจําพรรษาและเป็นเจา้ อาวาสวัดสขุ มุ าราม และเป็นพระนักพฒั นา จึงมผี ู้คนเคารพศรัทธามากถือเป็นเกจิอาจารย์ท่ี

จังหวดั พิจิตร ข-17 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร แหล่งท่องเทีย่ วสาํ คัญในพ้ืนทจี่ ังหวดั พจิ ิตร

นับถือศรัทธาของคนพิจิตรและบุคคลท่ัวไป ภายในวัดยังมีรูปหล่อเหมือนองค์หลวงพ่อเขียนประดิษฐานอยู่มากมายและมี
อาคารโบราณเก่าต่างๆ ท่ีน่าสนใจ ได้แก่ อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 ศาลาการเปรียญสร้างเมื่อ พ.ศ. 2506 และมีเจดีย์
พระโพธิญาณหลวงปปู่ าน วัดบางนมโค จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
34. วดั หว้ ยเขน

ตง้ั อยตู่ าํ บลห้วยเขน อําเภอบางมูลนาก ภายในวัดมีโบสถ์เก่าสร้างในปี พ.ศ. 2456-2460 โดยมีหลวงพ่อเงินวัด
บางคลานมาควบคุมการก่อสร้าง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนอนุรักษ์จากกรมศิลปากร ภายในโบสถ์เก่ามีภาพจิตรกรรม
ฝาผนังเก่าโบราณท่ียังคงเอกลักษณ์แบบเดิมไว้ โดยไม่ได้มีการบูรณะหรือเพ่ิมเติม ศิลปกรรมฝาผนังเป็นภาพเขียนสีบนอิฐ
ฉาบปูนเขียนขึ้นโดยนายทั่ง ไม่ปรากฏประวัติความเป็นมาในราว พ.ศ. 2456 ตรงกับสมัยรัชกาลท่ี 6 อายุประมาณกว่า
100 ปีเป็นเรื่องราวเก่ียวกับพุทธประวัติ ทศชาติชาดกและพระมาลัย บริเวณด้านหลังองค์พระประธานเป็นเรื่องราวของ
พระเวสสันดรท้งั หมด สว่ นเร่อื งพระพุทธประวัติอยู่ตอนบนเหนือระดับหนา้ ตา่ งและทศชาติชาดกอยู่ตอนล่างเริ่มตั้งแต่ชาติ
แรกจนถึงชาติสุดท้าย ส่วนมุม 4 ด้านภายในโบสถ์จะเป็นภาพท่ีเกี่ยวกับพระมาลัย ได้แก่ ภาพปีนต้นง้ิว ภาพการเป็นทาส
ภาพถูกรัดคอ และดึงคอ ฯลฯ เป็นภาพท่ีสอนเกี่ยวกับเรื่องบาปบุญ คุณโทษ แต่ตอนล่างปูนกะเทาะเสียหายมากจนเห็น
แผน่ อิฐจากการทห่ี ลงั คาโบสถ์ร่ัวเวลาฝนตก

35. วดั ท่าช้าง
ต้ังอยู่ตําบลเนินมะกอก อําเภอบางมูลนาก เดิมชื่อ “วัดเทพกุญชรติดถาวราราม” บริเวณหน้าวัดมีรูปป้ันช้าง

ขนาดใหญ่ 2 เชือก สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนเม่ือต้นรัชกาลที่ 5 ประมาณ พ.ศ. 2414 มีเรื่องเล่ากันว่ามีนายพรานผู้หน่ึงนาม
ว่าสรรพยาอยู่ท่ีเมืองภูมิ ปัจจุบันคือหมู่บ้านหนองเต่า ตําบลภูมิ อําเภอบางมูลนาก พรานผู้นี้ได้พบช้างเผือกลักษณะดี
เชอื กหน่งึ จงึ ได้กราบทลู พระเจา้ แผน่ ดินฯ พระองค์จึงได้ส่งอาํ มาตยไ์ ปคล้องช้างกบั นายพรานสรรพยา ช้างเชอื กน้นั มชี ือ่ ว่า
“พอ่ พลายนิมติ ” เม่ือคล้องได้จึงนํามายังฝั่งแมน่ ํ้าน่าน ณ วัดทา่ ชา้ งในปัจจุบนั แล้วพากันตอ่ แพ ณ ริมฝั่งแม่น้ําน่านนําช้าง
ลอ่ งไปยังกรุงศรอี ยุธยา สถานท่ีแห่งน้ันจึงได้นามว่า “ท่าช้าง” และวัดแห่งน้ีจึงได้นามว่า “วัดท่าช้าง” ต้ังแต่น้ันเป็นต้นมา
ต่อมาภายหลังแม่พังขวัญใจซ่ึงเป็นคู่ของพ่อพลายนิมิตเมื่อไม่เห็นพ่อพลายนิมิตจึงเท่ียววนเวียนหาอยู่หลายวัน เม่ือไม่พบ
จึงเกิดความเศร้าโศกเสียใจและกลั้นใจตายริมฝ่ังแม่น้ําน่าน พ่อพลายน้อยลูกของพ่อพลายนิมิตและแม่พังขวัญใจเมื่อไม่
เห็นพ่อและแมจ่ ึงเดนิ ทางตามหาจนถึงฝง่ั แมน่ ้ําน่านเมื่อไม่พบพ่อและแม่จึงกลั้นใจตาย ณ ริมฝ่ังแม่น้ําเช่นกัน และปัจจุบัน
วัดท่าชา้ งได้ปัน้ รูปเหมือนพอ่ พลายนมิ ติ แมพ่ ังขวญั ใจและพ่อพลายน้อยไว้ตรงบรเิ วณวดั และภายในวัดยงั มีพระพุทธรูปหิน

จังหวัดพิจิตร ข-18 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร แหลง่ ท่องเที่ยวสาํ คัญในพื้นทจี่ ังหวัดพิจิตร

เก่าแก่คูบ่ า้ นเมอื ง หลวงพ่อหินเปน็ พระพทุ ธรปู สลกั ด้วยหนิ ทรายปางมารวชิ ยั สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปสมัยทวาราวดี
ยุคต้นเพราะสลักด้วยหินทราย สัดส่วนไม่สมบูรณ์และสวยงามเป็นพิเศษโดยเฉพาะพระเศียร เมื่อครั้งกรมหลวงชุมพรเขต
อุดมศักด์ิเสด็จกลับจากวัดหิรัญญาราม (วัดบางคลาน) ได้แวะนมัสการหลวงพ่อหิน ณ วัดการ้อง พระองค์ทรงพอพระทัย
หลวงพ่อหินมาก เห็นเศียรหลวงพอ่ หินหักตกอยจู่ ึงขอไปไวท้ ่ีพิพธิ ภณั ฑ์สถานแห่งชาติ ตอ่ มาราว พ.ศ. 2480 ชาวบ้านจงึ ได้
ช่วยกันสร้างเศียรหลวงพ่อหินต่อเติมขึ้นใหม่แล้วนําหลวงพ่อหินมาประดิษฐานยังวัดท่าช้าง พร้อมท้ังสร้างวิหารให้ด้วย
วิหารหลังเก่าตั้งอยู่ริมฝ่ังแม่นํ้าน่านด้านทิศตะวันออก ปัจจุบันได้สร้างมณฑปหลังใหม่มีความสวยงามมากเพ่ือประดิษฐาน
หลวงพ่อหิน โดยได้รับเงินบริจาคด้วยแรงศรัทธาของชาวอําเภอบางมูลนากและอําเภอใกล้เคียงที่มีความเชื่อในความ
ศักด์ิสิทธิ์ของหลวงพ่อหินจนชาวบ้านนิยมไปนมัสการและบนบานเพื่อให้ได้ในสิ่งท่ีต้องการ เมื่อประสบความสําเร็จจะนํา
หัวหมู ไก่ ทองคําเปลว มาลยั ดอกไม้ และอ่ืนๆ ไปถวายอยู่เสมอมไิ ดข้ าด

36. วดั เขารูปชา้ ง
ตั้งอย่ตู ําบลดงปา่ คาํ อาํ เภอเมอื งพิจิตร หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์พบวา่ วดั เขารูปชา้ ง ไดส้ รา้ งข้ึนปี พ.ศ. 2244

พรอ้ มกับวดั โพธ์ิประทับชา้ งในสมยั พระศรีสรรเพช็ รที่ 8 หรือพระเจ้าเสือแห่งกรงุ ศรอี ยธุ ยา โดยสมหุ นายกผู้ควบคุมไพรพ่ ล
มาสร้างวัดโพธ์ิประทับช้างตามพระราชประสงค์ และได้พบส่วนยอดของภูเขามีลักษณะเหมือนรูปช้างเห็นว่าเหมาะสมจะ
สร้างวัด จึงสร้างท่ีพักอยู่บนท่ีสูงเพ่ือตรวจสอบภูมิประเทศ ดูแลความปลอดภัยของไพร่พล เมื่อสร้างวัดแล้วเสร็จให้ช่ือว่า
“วดั เขารูปชา้ ง” ตามลักษณะหนิ สีขาวท่ีซ้อนกนั เปน็ รปู ชา้ งคุกเขา่ บน ยอดเขาเปน็ ลานกว้างมีวหิ ารใหญแ่ ละมเี จดีย์เก่าเป็น
เจดีย์แบบลังกาทรงเหล่ียมย่อมุมไม้สิบสอง สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยามีตัวระฆังเป็นกลีบมะเฟือง (ปัจจุบันได้มี
การบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่โดยประดับกระเบ้ืองเคลือบสีทองทั้งองค์มีร้ัวรอบองค์เจดีย์) และยังมีมณฑปแบบจัตุรมุขหลังเก่า
ภายในมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาทสําริดและฝาผนังมีภาพเขียนเร่ืองไตรภูมิพระร่วง ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2300
ได้บรรจุพระธาตุไว้บนส่วนหัวของรูปช้างในสมัยรัชกาลที่ 3 ต่อมาเจ้าฟ้ามงกุฎหรือรัชกาลท่ี 4 สมัยยังทรงผนวชเป็นภิกษุ
ไดเ้ สดจ็ ธดุ งคเ์ มอื งนครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย สวรรคโลกและ
อตุ รดติ ถ์ทรงแวะประทับแรมและร่วมฉลองวิหารของวัดเขารูปช้าง เมื่อ
วนั ที่ 22–26 มกราคม 2376 นับว่า วัดเขารูปช้างมีพระเจ้าแผ่นดินเป็น
ผู้สร้าง และพระเจา้ แผน่ ดินทรงมาประทับแรมร่วมฉลองวิหารอีก จึงถือ
ว่างานประเพณีปิดทองไหว้พระวันเพ็ญเดือนสิบสองนับเริ่มตั้งแต่นั้นมา
นบั เป็นเวลากวา่ ร้อยปีในระยะเวลาถัดมา วดั เขารูปชา้ งได้รบั การพัฒนา
ให้มีความเจริญขึ้นมาตามลําดับ เท่าท่ีทราบเริ่มจากในสมัยของพระครู
พิพัฒนธ์ รรมคณุ หรอื หลวงพ่อเตยี ง สมยั พระครวู ิเวกธรรมมาภริ มย์หรอื หลวงพอ่ เท้ิม และสืบตอ่ มาจนถึงปจั จุบัน

จังหวดั พิจติ ร ข-19 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจิตร แหล่งทอ่ งเท่ียวสําคญั ในพน้ื ท่จี งั หวดั พิจิตร

37. วดั หัวดง
ตั้งอยู่ตําบลหัวดง อําเภอเมืองพิจิตร เป็นวัดเก่าแก่มีอายุนับร้อยปี สร้างเม่ือ พ.ศ. 2413 ผูกพัทธสีมาครั้งแรก

พ.ศ. 2468 มีการค้นพบพระรูปเหมือนหลวงพ่อเงินขนาดหน้าตักกว้าง 5 น้ิว และเนื้อนวโลหะ (ทองเหลือง) แทรกข้ึนมา
บริเวณต้นอินทนิลเม่ือวันท่ี 17 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 ภายในวัดมี
พระอุโบสถที่มีประวัติการสร้างไม่แน่ชัด จากคําบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่เช่ือ
ว่าน่าจะสร้างขึ้นราว พ.ศ. 2449 เพ่ือประดิษฐานองค์หลวงพ่อเพชรจําลอง
(ปัจจุบันประดิษฐานในพระอุโบสถหลังใหม่) มีการหล่อข้ึนพร้อมๆ กับองค์
หลวงพ่อเพชรท่ีประดิษฐานในวัดนครชมุ พน้ื ท่อี ุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยมี
ลกั ษณะเปน็ อาคารไมแ้ ละไดบ้ ูรณปฏสิ งั ขรณ์เสรจ็ เมือ่ พ.ศ. 2467 โดยสร้าง
เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทับบนซากอาคารเดิม ต้ังอยู่บนฐานยกพื้นที่มีบันได
ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ อาคารตกแต่งด้วยลายปูนป้ันที่ด้านหน้าบันได
ซมุ้ ประตูและหน้าตา่ งส่วนใหญ่เป็นภาพพุทธประวัติ และมีช่อฟ้าเป็นรูปป้ัน
พญาครุฑ งานปูนปั้นประดับอาคารแสดงให้ว่าฝีมือช่างท้องถ่ินท่ีมีการลงสี
อยา่ งประณีตงดงาม และมีเจดียร์ ายย่อมุมไม้สิบสองทรงประสาทยอดระฆัง
ส่วนฐานทําเป็นชุดฐานสิงห์รองรับเรือนธาตุที่กึ่งกลางเรือนธาตุแต่ละด้านมี
ซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูป และเหนือขึ้นไปเป็นส่วนยอดระฆังในผังย่อมุมไม้สิบสอง ส่วนเจดีย์รายทรงประสาทยอดระฆัง
ขนาดเล็ก สว่ นฐานทําเป็นชุดฐานสิงห์ประยุกต์รองรับเรือนธาตุท่ีก่ึงกลางเรือนธาตุแต่ละด้านมีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูป
มีครุฑประดับที่มุมบนทั้งสี่และเหนือข้ึนไปเป็นส่วนยอดระฆังกลมและสํานักศิลปากรท่ี 6 สุโขทัย กรมศิลปากร ได้มีการ
บูรณปฏสิ งั ขรณล์ ่าสุดเมื่อ พ.ศ. 2555

38. วดั สํานักขนุ เณร
ต้ังอยตู่ าํ บลสํานักขุนเณร อําเภอดงเจริญ เป็นวัดที่เก่าแก่มีชื่อเสียงในจังหวัดพิจิตร สร้างแบบทรงไทยประยุกต์

และเคยเป็นสถานที่จําพรรษาของหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต (เทพเจ้าวาจาสิทธ์ิ)
มีอายุยืนยาว 108 ปี เป็นพระอริยสงฆ์รุ่นเดียวกับหลวงพ่อเงินและหลวงพ่อเดิม
และมีช่ือเสียงด้านความศักดิ์สิทธ์ิ ปาฏิหาริย์ทางแคล้วคลาดและเมตตามหานิยม
แม้ว่าหลวงพ่อเขียนจะได้มรณภาพไปแล้วเม่ือ พ.ศ. 2507 แต่ปัจจุบันยังมีผู้คนท่ี
เคารพนับถือเดินทางไปท่ีวัดไม่ขาดสาย ภายในวัดมีพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านภูมิปัญญา
ทอ้ งถิน่ อยูด่ ้วย

จังหวัดพิจิตร ข-20 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจิตร แหล่งทอ่ งเทีย่ วสาํ คัญในพ้นื ท่ีจงั หวดั พิจิตร

39. วดั ใหมค่ ําวนั
ต้งั อยบู่ ้านดงปา่ คําใต้ ตําบลดงปา่ คํา อําเภอเมืองพิจิตร มีเน้ือ

ทีป่ ระมาณ 30 ไร่ โดยขุนคาํ วันไดน้ าํ ชาวบา้ นจดั สรา้ งขึ้นเปน็ วัดนับตั้งแต่
พ.ศ. 2470 แต่ชาวบ้านนิยมเรียก “วัดดงป่าคําใต้” ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2482 ภายในวัดมีพระอุโบสถไม้ทรงไทยหลังคา
3 ชั้น และได้ทําการบูรณะอุโบสถใหม่แทนหลังเก่าท่ีชํารุดทรุดโทรมเม่ือ
พ.ศ. 2515 และวดั ใหมค่ าํ วนั จะมีกิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาสําคัญ คอื
การปฏบิ ตั ธิ รรมปรวิ าสกรรมท่ีจัดเป็นประจําตรงกับวันที่ 24 มกราคมถึง
วนั ที่ 2 กุมภาพนั ธข์ องทกุ ปี
40. วดั ทา่ ฬอ่

ตั้งอยบู่ ้านทา่ ฬ่อ หมูท่ ี่ 2 ตาํ บลท่าฬ่อ อําเภอเมอื งพจิ ติ ร เป็นวดั เกา่ แกส่ รา้ งขึ้นประมาณ พ.ศ. 2410 และได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2523 ภายในพระอุโบสถมีภาพวาดพุทธประวัติพระเจ้าสิบชาติและประดิษฐานพระ

พุทธเก่าแก่ปางพระพุทธเจ้าเข้านิพพาน สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปสมัย
รัตนโกสินทร์และเชื่อกันว่าการไหว้พระพุทธเจ้าเข้านิพพานทําให้หมดทุกข์
และยังมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ินามว่า “หลวงพ่อหิน” เป็นพระพุทธรูปปาง
มารวิชัย ปจั จบุ ันประดษิ ฐานอยใู่ นวิหารกลางวัด และมีประวัติเล่าสืบต่อกัน
มาว่า พ.ศ. 2502 เจ้าคณุ เมธีธรรมประนาท เจ้าอาวาสฯ ได้บังเกิดนิมิตเห็น
พระพุทธรูปองค์ใหญ่สวยงามมาก ท่านดีใจมากและอยากได้มาเป็นมิ่งขวัญ
สิริมงคลแก่วัดจึงขอร้องญาติโยมให้ช่วยสืบหาพระพุทธรูปในนิมิตนั้นจนได้
ความวา่ มีพระพุทธรูปอยู่จริงและมีแต่เศียรเป็นหินแกะสลักสวยงามมากอยู่
กับคบไม้ (ต้นไทร) บ้านชาละวัน ตาํ บลสนามคลี จงึ นาํ เอาเศียรพระพุทธรูป
ออกมาและนําไปไว้ท่ีวัดท่าฬ่อ และประกอบเป็นองค์พระได้สําเร็จลุล่วง
งดงามมากและเรยี กชื่อว่า “พระพุทธศิลามหามุนีนาถ (หลวงพ่อหิน)” เป็น
ท่ีเคารพศรัทธาของประชาชนท่วั ไป
41. วัดฆะมงั
ตั้งอยู่ตําบลฆะมัง อําเภอเมืองพิจิตร เป็นวัด
ที่มีชื่อเสียงของหลวงพ่อพิธ ลูกศิษย์ของหลวงพ่อเงิน
(วัดบางคลาน) ตามประวัติหลวงพ่อพิธจะมีความตั้งใจ
ศึกษาเล่าเรียนธรรมด้วยจิตใจนอบน้อมถ่อมตนทั้งกาย
วาจา ใจและรับวิชาธรรมต่างๆ จากครูบาอาจารย์ด้วย
ความตั้งใจม่ันจนเป็นพระสงฆ์ท่ีเชิดชูบูชาของมหาชน
หลายๆ จังหวัดและส่ิงศักดิ์สิทธ์ิตามท่ีหลวงพ่อพิธได้
จัดสร้างไว้เป็นส่ิงอันระลึกถึงยังสามารถขจัดปัดเป่าภัย
พิบัตแิ ละปอ้ งกนั ภยั จากสงิ่ ช่ัวร้ายตา่ งๆ

จงั หวดั พิจติ ร ข-21 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร แหล่งทอ่ งเท่ียวสําคัญในพ้นื ที่จังหวดั พิจิตร

42. วดั บา้ นไร่ หรอื วดั เทพสิทธกิ าราม
ตั้งอยู่ตําบลสามง่าม อําเภอสามง่าม เป็นวัดเก่าแก่สร้างเม่ือ พ.ศ. 2478 โดยหลวงปู่ขวัญ ปวโร หรือพระครู

พมิ ลธรรมานศุ ษิ ฐ์ พระเกจิช่ือดัง และชือ่ วา่ “วดั เทพสทิ ธกิ าราม” เปน็ ชื่อมาจาก
ชื่อของยายเทพผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัด ได้รับวิสุงคามสีมาใน พ.ศ. 2479 ตาม
ประวัติหลวงพ่อขวัญ ปวโร เดิมช่ือขวัญ หมอกมืด เกิดเม่ือวันที่ 18 กันยายน
2451 ณ บ้านไร่ ตําบลสามง่าม อําเภอสามง่าม และได้เข้าอุปสมบทเม่ือ พ.ศ.
2470 หลวงพ่อขวัญได้ชื่อว่าเป็นพระนักพัฒนาและนักสร้างด้วยกําลังกายและ
กําลังปัญญา เช่น สร้างวัดและสร้างโรงเรียน และเป็นพระเกจิช่ือดังเมืองพิจิตร
เจ้าของแหวนตะกร้อเป็นเคร่ืองรางท่ีโด่งดังไปท่ัวประเทศ โดยหลวงพ่อขวัญได้
ละสังขารเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2548 รวมสิริอายุได้ 97 ปี กลุ่มชาวบ้านจึง
ร่วมกันจัดงานเพื่อความเจริญรุ่งเรืองและเป็นมงคลแก่ชีวิต รวมถึงเพื่อส่งเสริม
การท่องเที่ยวเชิงธรรมและส่งเสริมการเข้าวัดไหว้พระทําบุญเพื่อเป็นการทํานุ
บํารงุ พระพุทธศาสนา และยงั เปน็ การอนรุ ักษ์แหลง่ น้ําคลองบา้ นไร่ที่มกี ารกักเก็บนาํ้ ไว้เพือ่ ประโยชนใ์ นการใช้สอย

43. วัดนครชุม
เป็นวัดโบราณตั้งอยู่ในกําแพงเมืองเก่าพิจิตร ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร บนทางหลวงหมายเลข 1068

(พิจิตร–สามง่าม–วังจิก) สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยสุโขทัย–อยุธยา มีอายุช่วงพุทธศตวรรษท่ี 19 – 21 และมีการบูรณะ
ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างในวัดเร่ือยมา มีส่ิงก่อสร้างสําคัญปรากฏเด่นชัดเป็น
พระอุโบสถเก่าแก่ สร้างด้วยอิฐฉาบปูน และเครื่องบนเป็นไม้โดยใช้สลักไม้
แทนตะปูและผนงั ด้านข้างจะเจาะเป็นช่องแสงแคบๆ แทนหนา้ ต่าง จัดเป็น
ลักษณะสถาปัตยกรรมไทยแบบสมัยสุโขทัย–อยุธยา ส่วนวิหารในปัจจุบัน
สันนิษฐานว่าสร้างทับบนวิหารเก่าสมัยสุโขทัย–อยุธยา ในวิหารเคยเป็นที่

ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่กันคือ
หลวงพ่อเพชรและหลวงพ่อพัน
ต่อมาได้อัญเชิญหลวงพ่อเพชรซึ่งเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองพิจิตร (ศิลปะ
แบบเชียงแสน) ไปประดิษฐาน ณ วัดท่าหลวง พระอารามหลวง และวิหารใน
ปัจจุบันเป็นสถานท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อพัน เป็นพระพุทธรูปแบบ
สุโขทัยขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 3 วา ก่ออิฐถือปูน เชื่อว่าเป็นพระพุทธรูปท่ีใช้
เป็นพระประธานในพธิ ถี อื น้ําพระพิพฒั นส์ ัตยาของเมืองพิจติ รในสมัยกอ่ นเทา่ น้ัน

จังหวัดพิจิตร ข-22 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจิตร แหล่งทอ่ งเท่ยี วสําคัญในพ้นื ทจี่ งั หวัดพจิ ติ ร

44. วัดโรงชา้ ง
ตั้งอยู่ตําบลโรงช้าง อําเภอเมืองพิจิตร ติดกับทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจิตร–วังจิก) เป็นวัดเก่าแก่มากสมัย

อยุธยา เมอ่ื พระยาโคตรตะบองข้ึนครองราชย์ สถานที่นี้เรียกว่า “กองช้าง” เพราะเป็นสถานที่พักกองช้าง และเรียกเพี้ยน
เป็น “คลองช้าง” จนกระทั่งมีการเปิดโรงเรียนประชาบาลขึ้นจึงเปลี่ยนเป็น “วัดโรงช้าง” ภายในวัดมีพระพุทธรูปใหญ่
ตั้งอยู่บริเวณกลางแจ้ง 3 องค์ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย
ปางห้ามญาติและปางไสยาสน์ และมีสิ่งท่ีน่าสนใจ ได้แก่
เจดีย์องค์ใหญ่สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 โดยรอบองค์เจดีย์จะมีตู้
พระไตรปิฎกจํานวน 108 ตู้ให้ประชาชนท่ัวไปได้ทําบุญใส่ตู้
เพื่อเป็นสิริมงคล ภายในองค์เจดีย์ก่อสร้างเป็นห้องลับใต้ดิน
เพื่อใช้เก็บแผ่นอิฐจารึกพระไตรปิฎกซึ่งหลวงพ่อทวี หรือ
พระครูพิลาศธรรมกิตต์ได้เป็นผู้ริเริ่มจารึกพระไตรปิฎกลง
บนแผ่นอิฐ 84,000 พระธรรมขันธ์และเก็บรักษาไว้ภายใน
พระเจดีย์ของวัดโรงช้าง เจตนารมณ์ของการจารึกพระไตรปิฎกลงบนแผนอิฐเน่ืองจากหลวงพ่อทวีกลัวระเบิดนิวเคลียร์
ทําลายพระไตรปิฎกท่ีเป็นใบลาน และหลวงพ่อทวีมรณภาพในปี พ.ศ. 2530 รวมสิริอายุ 76 ปี สังขารของหลวงพ่อทวีถูก
บรรจุในโลงไม้ธรรมดาเพอ่ื รอการพระราชทานเพลงิ เป็นเวลา 23 ปี เมอ่ื เปดิ โลงปรากฏว่าสรรี ะของหลวงพ่อทวีไมเ่ นา่ เป่ือย
ศิษยานศุ ิษยจ์ ึงร่วมทนุ ทรพั ยส์ ร้างวหิ ารเพอ่ื บรรจุโลงแก้วภายในมีสรีระของหลวงพ่อทวี เม่ือปี พ.ศ. 2553 ส่วนส่ิงก่อสร้าง

ที่มีซุ้มจระนําในเจดีย์ทรงระฆัง แผ่นอิฐมีจารึกอักษรขอม
โบราณและประวัติสร้างเมืองพิจิตรเก่าโดยพระยาโคตร
ตะบองเทวราช ต่อมาสมัยสุโขทัยจึงปฏิสังขรณ์โดยพอก
เจดีย์ทรงระฆังทับ ก่อสร้างพระวิหารและขุดคูนํ้าล้อมรอบ
เนื่องจากเมืองพิจิตรเก่ามีความสําคัญและเป็นหัวเมืองเอก
สมัยสุโขทัยเป็นราชธานีดังปรากฏเมืองสระหลวงในจารึก
สมัยสุโขทัย จนถึงสมัยอยุธยาได้ก่อสร้างพระอุโบสถต่อเติม
บริเวณด้านหลังวัดมหาธาตุในแนวแกนของสิ่งก่อสร้างหลัก
ดงั ปรากฏช่ือเมอื งพิจิตรในพระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยธุ ยา
ฉบบั สมเด็จพระนพรัตน์ (อา้ งองิ จาก http://www.sac.or.th, 2558)

45. พพิ ิธภณั ฑ์เมอื งพจิ ิตร
ตั้งอยู่ศาลากลางจังหวัดพิจิตร (หลังเดิม) ถนนบุษบา ตําบล

ในเมอื ง อําเภอเมืองพิจติ ร ใชพ้ ื้นทชี่ ้นั บนในศาลากลางจงั หวัดพิจิตรเดมิ
จัดต้ังเป็นพิพิธภัณฑ์เมืองพิจิตรในสมัยนายประสาท พงษ์ศิวาภัย เป็น
ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร (พ.ศ. 2544) ภายในพิพิธภัณฑ์เมืองพิจิตร
ประกอบดว้ ยห้องภูมิหลงั ห้องภูมเิ มือง หอ้ งคีตนาฏศลิ ป์ หอ้ งภูมปิ ญั ญา
ห้องภูมิธรรม ห้องภูมิชีวิตและห้องจัดแสดง 5 ห้อง ได้แก่ ห้องบรรยายสรุป ห้องสินแผ่นดิน ห้องบุคคลสําคัญ ห้องภาษา
และวรรณกรรมและหอ้ งภมู ชิ น

จงั หวัดพิจติ ร ข-23 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร แหล่งท่องเท่ียวสาํ คัญในพ้นื ทีจ่ งั หวัดพิจติ ร

46. วดั บงึ นาราง

ตั้งอยตู่ าํ บลบึงนาราง อาํ เภอบึงนาราง ตัง้ เป็นวัดเมื่อปีพุทธศักราช 2372 เดิมช่ือ “วัดป่าเลไลย์” เป็นวัดเก่าแก่
ของจังหวัดพิจิตร มีพระมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจําวัดนามว่า “หลวงพ่อสุโข” เป็นพระพุทธรูปโลหะสมัยสุโขทัย หล่อ
ด้วยทองสัมฤทธ์ิ ปางมารวิชัย นั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางไว้ท่ีตัก พระหัตถ์ขวาคว่ํา ขนาดหน้าตักกว้าง 1 ศอก 13 นิ้ว
สูง 1 ศอก 22 นวิ้ สันนิฐานว่าสร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. 1780 เดิมมีเร่ืองเล่าว่าหลวงพ่อสุโขประดิษฐานอยู่ในสํานักสงฆ์ร้าง
ที่หมู่บ้านเสือโฮก (บ้านดงเสือเหลือง) มีชาวบ้านหลายหมู่บ้าน
ทราบขา่ วพยายามอัญเชิญไปไว้ยังวัดในหมู่บ้านของตนเองแต่ไม่มี
หมู่บ้านใดอัญเชิญไปได้ ชาวบ้านบึงนารางจึงพร้อมใจกันอัญเชิญ
หลวงพอ่ สโุ ขมาไว้ท่ีวัดบึงนารางและสามารถอัญเชิญหลวงพ่อสุโข
มาเป็นพระประธานในพระอุโบสถหลังเก่า เรียกว่าหลวงพ่อทอง
และมีหลวงพ่อนาค หลวงพ่อดําและพระพุทธรูปเก่าแก่หลายองค์
นบั ต้งั แตน่ ้ันมาหลวงพอ่ ทอง (หลวงพอ่ สุโข) จึงเป็นที่เคารพบูชาที่
ชาวบ้านหลายๆ หมู่บ้านต่างมาสักการะบูชาด้วยความศรัทธาใน
ความศักด์ิสิทธ์ิเพราะเชื่อว่าหลวงพ่อมีพุทธานุภาพสามารถคุ้มครอง
ป้องกันภัยพิบัติต่างๆ และ พ.ศ. 2519 พระครูพิศาลจริยคุณ เจ้าอาวาส
รูปปัจจุบันและคณะทายกจึงได้เห็นพร้อมกันต้ังช่ือองค์พระประธานว่า
“หลวงพ่อสุโข” แต่เม่ือวันท่ี 17 มีนาคม พ.ศ. 2538 หลวงพ่อสุโขได้ถูก
โจรกรรมไปจากวัดบึงนาราง หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณได้ขอความ
อนุเคราะห์จากพลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ ตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยขณะนั้นให้ช่วยติดตาม และวันที่ 21 มีนาคม 2538
เจ้าหน้าท่ีตาํ รวจสามารถนําหลวงพอ่ สโุ ขกลบั คนื มาไดโ้ ดยหลวงพอ่ พระครูพิศาลจริยคุณ เจ้าอาวาสวดั บงึ นารางจึงได้จัดหา
สถานท่ีปลอดภัยให้หลวงพ่อสุโขประดิษฐานอยู่บนศาลาการเปรียญ และนําพระพุทธบาทเก่าแก่ท่ีชาวบ้านมอบให้ด้วย
ความศรัทธาเคารพนับถือไว้ในห้องด้วยและจัดทําเป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นไว้บนศาลาการเปรียญเพื่อให้ประชาชนท่ีมา
สักการะกราบไหวบ้ ูชาหลวงพอ่ สุโขและรอยพระพุทธบาท พรอ้ มทั้งไดม้ โี อกาสไดร้ ู้จกั ประวัติความเปน็ มาหมู่บ้านบึงนาราง
และชาวบึงนารางเปน็ การกระตนุ้ ปลุกจติ สาํ นึกรักถิ่นเกิดให้แกผ่ ู้คนทม่ี าสักการะบชู าได้เหน็ รากเหง้าพืน้ ฐานของบรรพชนท่ี
สร้างสมสบื ต่อกันมาจนถึงปัจจุบนั

47. วัดป่าเขาน้อย
ตั้งอยู่บ้านเนินหัวโล้ หมู่ที่ 5 ตําบลวังทรายพูน อําเภอวังทรายพูน

เมอ่ื พ.ศ. 2528 หลวงปจู่ ันทา ถาวโร ได้มาจําพรรษากบั หลวงปูอ่ า่ํ ธมมฺ กาโม
ได้ร่วมมือกับพระภิกษุ สามเณรและชาวบ้านต้ังเป็นสํานักสงฆ์และใช้ในการ
ปฏิบตั ธิ รรม ต่อมานายวงเดือน อัสโย อุบาสกผู้ริเริ่มก่อสร้างวัดในคร้ังแรกได้
มีจิตศรัทธาถวายที่ดินเนื้อที่ 14-1-051 ไร่ให้เป็นที่สร้างวัดและได้รับอนุญาต
จากกรมการศาสนาอนุญาตให้สร้างวัดได้เม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537 และได้รับประกาศให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนา
ถูกต้องตามกฎหมายเม่ือวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2538 มีพระอ่ํา ธัมมกาโม เป็นเจ้าอาวาสต้ังแต่น้ันมาและได้รับประกาศ
พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2539 ภายในบริเวณวดั มีพระอุโบสถต้ังอยู่กลางหนองนํ้าชื่อว่า “หนองแฟบ” พระเมรุ

จงั หวดั พิจติ ร ข-24 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ข
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร แหลง่ ท่องเทีย่ วสาํ คัญในพ้นื ทีจ่ ังหวดั พจิ ติ ร

หอพระไตรปิฎก วิหารรายรอบพื้นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ พระพุทธรูปพระพุทธมณฑลมงคลบพิตร
เจดยี ศ์ รีโอภาสพระบรมธาตุ ถํ้าประดิษฐานรูปเหมือนหลวงพ่อเพชร โดยท่ัวไปแล้วทราบกันดีว่าหลวงปู่จันทา ถาวโร เป็น
พระอาจารย์ใหญ่แห่งสํานักวิปัสสนาฯ แต่หลวงปู่จันทาไม่ยอมรับเป็น
เจ้าอาวาส ต่อมายอมรับเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าเขาน้อยในวัยชราภาพมาก
(พ.ศ. 2549) จวบจนกระท่ังวันมรณภาพ วัดป่าเขาน้อยในอดีตกาลเม่ือ
เร่ิมก่อตั้งวัดจะเต็มไปด้วยผู้คนและนักปฏิบัติธรรมแวะเวียนผ่านไปมา
และมีพระสงฆ์มาพํานักจําพรรษาและประกอบสมณะกิจไม่น้อยกว่า
50–70 รูปเป็นประจํา แต่สถานภาพปัจจุบันมีพระสงฆ์และนักปฏิบัติ
ธรรมนอ้ ยมากอยู่ช่วยกันดูแลศาสนวตั ถุและศาสนสถานไม่ให้รกร้างและ
ชํารุดทรดุ โทรมมากเกนิ ไป

เอกสารอา้ งอิงข้อมลู และรปู ภาพประกอบ

กราบพระ พษิ ณโุ ลก–พจิ ิตร ตอนท่ี 4 วัดเทพสทิ ธกิ าราม (วัดบ้านไร่) อ.สามง่าม จ.พิจิตร (2560), https://pantip.com/
topic/33252983

ข้อมลู ทอ่ งเท่ียวจงั หวัดพิจิตร (2560), http://www.paiduaykan.com/province/north/phichit/
คณะสงฆอ์ ําเภอโพธิป์ ระทบั ชา้ ง (2560), http://photabchang_78.igetweb.com/index.php
จงั หวดั พจิ ติ ร (2560), http://thailandtopvote.com/
ชิลไปไหน: เที่ยวเมืองพิจิตร ชมตลาดเก่าวังกรด แล้วจับรถไฟไปพิษณุโลก (2560), http://www.chillpainai.com/

scoop/898
ถํ้าชาละวนั สวนรุกขชาตกิ าญจนกมุ าร อทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร สถานทีท่ อ่ งเท่ยี วจงั หวดั พิจติ ร บา้ นเมืองเกา่ ตําบลเมืองเก่า

อําเภอเมอื ง จงั หวัดพจิ ิตร (2558), http://www.kaentong.com/index.php?topic=10376.0
ทุ่งดอกกระเจียวยักษ์บานสะพร่ังในป่าชุมชน จังหวัดพิจิตร (2560), http://www.mediastudio.co.th/2016/08/23/

41089/
ท่องเที่ยวภาคเหนือตอนล่าง 2: นครสวรรค์ พิจิตร กําแพงเพชร อุทัยธานี (2560), http://travellowernorth2.slsc.nu.

ac.th/
ท่องเที่ยวสะดุดตา:พิจติ ร (2560), http://sadoodta.com/content/
เท่ียวพิจิตร ไหว้พระเกจิ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน อําเภอโพทะเล, post by PeerapatS (2555), http://oknation.

nationtv.tv/blog/Smartlearning/2012/01/01/entry-3
ทีเ่ ที่ยวพิจติ ร–10 เท่ียวหลากสไตล์ ทอ่ งไปในพจิ ิตร (2560), www.painaidii.com/diary/diary-detail/002024/lang/th/
ทาํ เนยี บวัดภาคเหนอื (2560), http://www.dhammathai.org/watthai/north/watphoprathabchang.php
บึงสไี ฟ (2560), https://th.wikipedia.org/wiki/บงึ สไี ฟ
ประวัตคิ วามเปน็ มาวัดใหม่คําวนั เพ่อื การท่องเท่ยี ว (2559), http://watmaikaowan.blogspot.com/
ประวัตบิ ึงสไี ฟ (2560), joyclubza.blogspot.com/p/blog-page_29.html
ประวตั ิวัดโพธ์ปิ ระทบั ช้าง (https://www.web-pra.com/amulet/
พจิ ติ ร เมืองชาละวัน (2560), http://www.gonorththailand.com/review_detail_162

จงั หวัดพิจิตร ข-25 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ข
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร แหล่งท่องเท่ียวสาํ คัญในพ้นื ทจี่ ังหวดั พิจิตร

พิจติ ร เมอื งชาละวัน (2560), https://pantip.com/topic/36260159
“เมืองพิจติ ร” ถิน่ ชาละวัน (2560), https://areeya9056.wordpress.com/สถานท่ที ่องเท่ียว/
เมอื งไทยใหญอ่ ดุ ม (2560), http://oknation.nationtv.tv/blog/political79-2/2015/05/04/entry-2
รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดพจิ ิตร (2560), https://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อโบราณสถานในจงั หวัดพจิ ิตร
วัดคุณพุ่ม :: อุทยานเมืองเก่า ศาลหลักเมือง วัดมหาธาตุ วัดนครชุม จังหวัดพิจิตร (2560), https://www.bloggang.

com/viewdiary.php?id=noirathsub&month=11-2015&date=12&group=4&gblog=261
วดั ใหมค่ ําวนั (2560), http://watmaikhamwan.com/page2.html
วัดหริ ญั ญาราม หรือวัดบางคลาน (2560), www.painaidii.com/business/119252/
วัดหิรัญญาราม, LOVE THAICULTURE, กระทรวงวัฒนธรรม (2560), https://www.m-culture.go.th/young/ewt_

news.php?nid=431
วดั ปา่ เขานอ้ ย (2560), https://th.wikipedia.org/wiki/วัดป่าเขานอ้ ย
สองแผ่นดิน: วัดโพธ์ิประทับช้าง จังหวัดพิจิตร ถ่ินประสูติสมเด็จพระเจ้าเสือ (2560), https://www.bloggang.com/

mainblog.php?id=noirathsub&month=27-11-2015&group=4&gblog=263
สถานท่ีท่องเที่ยวในจังหวดั พจิ ิตร (2560), http://www.thailovetrip.com/view.php?id_view=328
สถานที่ทอ่ งเทย่ี วพจิ ติ ร (2560), https://www.thai-tour.com/place/907
สถานทที่ ่องเทีย่ วยอดฮติ (2560), http://donmueangairportthai.com/th
สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม (2551), แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม, http://www.

culture.go.th/culture_th/culturemap/index.php?action=about
ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม, กระทรวงวัฒนธรรม (2560), http://www.m-culture.in.th/album/135846/พระพุทธรูป

ในจังหวัดพจิ ติ ร_หลวงพอ่ สุโข_วัดบึงนาราง
ศูนยข์ ้อมูลกลางด้านศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม (2560), http://e-service.dra.go.th/go/3499
อมรรัตน์ บัวป้อม, มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม, พิพิธภัณฑ์เมืองพิจิตร (2558), https://sites.google.com/site/

pyachalawannnn/home
อารยะ สุพรรณเภษัช (พ.ศ. 2558), การเดินทางไปวัดห้วยเขน, http://www.ariyasound.com/index.php?lay =

show&ac=article&Id=539508689
อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร (2560), http://kanchanapisek.or.th/kp8/pij/pij104.html

จังหวัดพิจิตร ข-26 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

ภาคผนวก ค
รายงานการสํารวจและจดั ทาํ แผนที่ภมู ปิ ระเทศ

ภาคผนวก ค
รายงานการสาํ รวจและจดั ทําแผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ

ค.1 คํานาํ

มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดําเนินการสํารวจและตรวจสอบรายละเอียดสภาพภูมิประเทศ (topographic survey)
ด้วยการบินถ่ายโดยใช้อากาศยานไร้คนขับ (UAV: Unmanned Aerial Vehicle) พร้อมจัดทําแผนที่ออร์โธสีเชิงเลข และ
แผนที่ภมู ิประเทศ มาตราส่วน 1:1,000 ครอบคลมุ พื้นที่ไม่น้อยกว่า 600 ไร่ ในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ตําบลเมืองเก่า
อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร เพื่อใช้ประกอบการสํารวจออกแบบรายละเอียดงานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะ
การพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร” จงั หวัดพจิ ติ ร

ค.2 ขอบเขตการสํารวจและจดั ทาํ แผนท่ภี ูมิประเทศ

การสํารวจและจดั ทาํ แผนที่ภูมปิ ระเทศมขี อบเขตงานทีจ่ ะต้องดาํ เนินการดงั นี้
1) การสํารวจและจัดทาํ แผนท่ภี ูมิประเทศ มาตราสว่ น 1:1,000 หรอื ตามความเหมาะสม
2) การสร้างหมุดหลักฐานถาวรไว้ในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร จํานวนท้ังหมด 4 หมุด เพ่ือใช้เป็นหมุด

อ้างอิงในการออกงานต่อไปในอนาคต โดยการฝังน๊อตแบบขยายตัวลงบนพ้ืนคอนกรีตที่เห็นว่าม่ันคง
และเหมาะสมยากแก่การถูกทําลายหรือหล่อหมุดคอนกรตี ไวต้ ามความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศ
3) การโยงยดึ ค่าพิกัดฉากระบบ Universal Transverse Mercator Grid (UTM) บนเส้นฐาน WGS 1984
และระดับเทียบระดับนา้ํ ทะเลปานกลาง (MSL.) ออกจากหมุดหลักฐาน GPS ของหนว่ ยงานทางราชการท่ี
เชือ่ ถอื ได้คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยใช้เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม (GPS) 2 ความถี่ ใช้วิธีตั้ง
รบั สัญญาณดาวเทียมพร้อมกันจาํ นวน 3 เคร่ือง (Differentiate GPS) โดยการต้งั รับสัญญาณด้วยระบบ
Static Mode สถานีละประมาณ 45 นาที และคํานวณประมวลผลด้วยวิธี Post Processing ปรับแก้
โครงขา่ ยด้วย Least Squares
4) การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศโดยใช้เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม GPS รังวัดแบบ RTK ให้ต้ังค่าความ
คลาดเคลื่อนในการรับสัญญาณของเคร่ืองมือสําหรับทางราบไม่เกิน 1 เซนติเมตรและทางดิ่งไม่เกิน 2
เซนตเิ มตร
5) การสํารวจเก็บรายละเอียดสภาพพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเพ่ือแสดงลงในแผนท่ี เช่น ส่ิงปลูกสร้าง
ถาวร เสาไฟฟ้า แนวเสาไฟฟ้า ป้ายเครื่องหมายจราจร สายโทรศัพท์ ตู้ไปรษณีย์ ท่อลอด หม้อแปลงไฟ
ถนน คลอง ท่อระบายนํ้า รางนํ้า บ่อน้ํา (เก็บเป็นขอบเขตไม่รวมระดับในบ่อ) ระดับนํ้าปัจจุบัน แนวร้ัว
และแนวหลกั เขตของพืน้ ทโี่ ครงการ (ถ้าม)ี แนวสาธารณูปโภคตา่ ง ๆ ท่ีสามารถมองเห็นได้
6) การสาํ รวจจดั ทํา Plan & Profile และ Cross-section แนวคลอง ระยะทางประมาณ 3 กโิ ลเมตร
7) การสํารวจค่าระดับความสูงทุกๆ 10 เมตร หรือปรับเปล่ียนให้ระยะถี่ขึ้นตามสภาพภูมิประเทศ และ
แสดงผลเสน้ ชน้ั ความสูง (Contour Interval) ทกุ 1 เมตร หรือตามความเหมาะสมกบั สภาพพ้นื ที่
8) การจัดทําแผนทีภ่ ูมิประเทศ มาตราสว่ น 1:1,000 หรอื ตามความเหมาะสมบรรจลุ งในกระดาษมาตรฐาน
A1/A0 ครอบคลุมพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยการ Plot ด้วย Ink Jet Plotter และทําการจัดเก็บ
ข้อมลู แผนท่ภี ูมิประเทศ (Drawing File) ลงแผ่น CD ในรูปแบบ AutoCAD เพือ่ การใช้งานในขน้ั ตอ่ ไป

จงั หวดั พิจิตร ค-1 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ค
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร รายงานการสํารวจและจดั ทําแผนท่ภี ูมปิ ระเทศ

ค.3 แผนการดาํ เนินงาน

ค.3.1 แผนการปฏิบัตงิ าน

มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดําเนินการสํารวจภาคสนามในเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 และนําข้อมูลสํารวจท่ีได้จาก
ภาคสนามมาประมวลผลและเขยี นแบบ Auto-Cad ในสาํ นกั งาน

ค.3.2 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์

เครื่องมือและอปุ กรณท์ ่ีใช้ในการสาํ รวจและจดั ทําแผนท่ภี ูมปิ ระเทศ มาตราส่วน 1:1,000 ได้แก่
1) เครือ่ งมอื รงั วดั พกิ ัด GPS แบบ RTK (TOPCON รุ่น GR-5) จํานวน 3 ชดุ

2) กล้องวัดมุม SOKKIA (TOTALSTATION) รุน่ Set 5F พรอ้ มอปุ กรณ์ จาํ นวน 1 ชดุ

3) กลอ้ งระดบั TOPCON รนุ่ 2G พรอ้ มอุปกรณ์ จํานวน 2 ชุด

จังหวดั พิจติ ร ค-2 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ ภาคผนวก ค
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร รายงานการสํารวจและจัดทาํ แผนที่ภูมปิ ระเทศ

4) เคร่ืองวัดความลึกนาํ้ HydroLite Echosounder Kit พร้อมอุปกรณ์ จาํ นวน 1 ชดุ

5) เคร่ืองมือวัดความลึกนาํ้ (เทปวัดสายด่ิง) พร้อมอุปกรณ์ จํานวน 1 ชดุ

6) เรอื สําหรับใชใ้ นการวดั ความลึกน้ํา จํานวน 1 ชดุ

7) เครื่องอากาศยานไรค้ นขบั (Drone-Phantom 4 Pro) จาํ นวน 1 ชุด

8) โปรแกรม AutoCAD ค-3 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

จงั หวัดพิจติ ร

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ ภาคผนวก ค
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร รายงานการสํารวจและจดั ทําแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ

ค.3.3 บคุ ลากรปฏิบตั กิ ารในภาคสนาม

รายชื่อบุคลากรท่ปี ฏิบัติภาคสนามในงานสาํ รวจและจดั ทาํ แผนท่ีภูมปิ ระเทศมดี ังน้ี

นายนิพนธ์ หงษ์อนิ ทร์ หวั หนา้ ชุดสาํ รวจ

นายศรเี จรญิ คําพรหม เจา้ หนา้ ทชี่ ดุ สาํ รวจ

นายพษิ ณุ ศรีสวา่ ง เจ้าหนา้ ท่ีชดุ สาํ รวจ

นายขจรศักดิ์ มิ่งมาลยั รกั ษ์ เจา้ หนา้ ท่ชี ุดสาํ รวจ

นายวทิ ยา โพธสิ ขุ เจ้าหนา้ ท่ชี ุดสํารวจ

นายเอกราช สารทรานนท์ เจา้ หน้าที่ชดุ สํารวจ

นางสาวศรไี พร บุญมะยา เจา้ หน้าท่ีเขยี นแบบ

นายธงชยั แซ่ตงั้ เจา้ หน้าที่เขยี นแบบ

นายทศพล เภตรายนต์ เจ้าหนา้ ที่เขียนแบบ

นายธนะวชั ทับเรือง เจา้ หน้าทเี่ ขยี นแบบ

นายศรายุทธ สิรภิ ูรบิ วร เจ้าหน้าทแี่ ผนที่

นายอภิรฐั เกตนุ ้อย เจ้าหน้าท่ีแผนที่

ค.4 วธิ ดี าํ เนนิ การสาํ รวจ

ค.4.1 การโยงโครงขา่ ยอ้างอิงหมุด GPS

การดําเนินการโยงโครงข่ายอ้างอิงหมุด GPS ท่ีอยู่ใกล้พื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้แก่ หมุดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ หมายเลข A104650 อยู่ภายในวัดย่านยาว หมู่ที่ 8 ตําบลวังจิก อําเภอโพธ์ิประทับช้าง จังหวัดพิจิตร มีค่า
พิกัด N = 1,809,543.395 ม. ค่าพิกัด E = 634,833.157 ม. ค่าระดับ = 34.780 ม.ร.ท.ก. โซน 47 (Zone 47) โดยใช้
วิธกี ารโยงโครงข่ายด้วย GPS ทม่ี ีความละเอียดสงู มายงั หมดุ หลักฐานถาวรในพ้ืนที่อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร

จังหวัดพิจิตร หมุดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หมายเลข A104650;
N = 1,809,543.395 ม., E = 634,833.157 ม., EL = 34.780 ม.ร.ท.ก.

ค-4 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ค
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร รายงานการสํารวจและจดั ทาํ แผนทีภ่ มู ิประเทศ

จงั หวดั พิจิตร ค-5 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ ภาคผนวก ค
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร รายงานการสาํ รวจและจัดทาํ แผนทีภ่ มู ิประเทศ

รายละเอียดในภาคผนวก ค-1 การโยงโครงขา่ ยพกิ ดั GPS แบบ STATIC สรปุ ได้ดงั น้ี

Project Summary
Project name: PJ-STATIC-1
Surveyor:
Comment:
Linear unit: Meters
Projection: UTM North-Zone_47 : 96E to 102E
Geoid: EGM2008
Adjustment Summary
Adjustment type: Plane + Height, Minimal constraint
Confidence level: 95 %
Number of adjusted points: 5
Number of plane control points: 1
Number of used GPS vectors: 6
A posteriori plane UWE: 1.499362, Bounds: (0.3478505, 1.668832)
Number of height control points: 1
A posteriori height UWE: 2.242699, Bounds: (0.1590597, 1.920937)

จงั หวดั พิจิตร ค-6 มหาวิทยาลยั มหิดล

จงั หวดั พิจิตร GPS Occupations งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร
Point Antenna Receiver Antenna Ant Height Method Interval Start Time Stop Time Duration NEpoch H RMS V RMS GPS week,
Name Type Vendor Height Method (msec)
(m) 9/9/2560 18:00 (m) (m) day
A104650 GR-5/Atlas Topcon 1.758 9/9/2560 16:15
GPS01 GR-5/Atlas Topcon Slant Static 15000 9/9/2560 15:24 9/9/2560 16:17 2:36:45 627 4.166 4.978 1,965,252
GPS02 GR-5/Atlas Topcon 1.654 Slant Static 15000 9/9/2560 13:52 9/9/2560 17:32 2:23:00 572 9.423 15.14 1,965,252
GPS03 GR-5/Atlas Topcon 1.905 Slant Static 15000 9/9/2560 13:59 9/9/2560 17:34 2:18:45 555 10.164 12.882 1,965,252
GPS04 GR-5/Atlas Topcon Slant Static 15000 9/9/2560 16:35 0:57:15 229 5.821 6.432 1,965,252
1.672 Slant Static 15000 9/9/2560 16:41 0:53:15 213 3.399 4.425 1,965,252
1.731

GPS Observations

Name dN (m) dE (m) dHt (m) Horz Vert Res n Res e Res u Solution GPS GLONASS PDOP Status Orbit
RMS (m) RMS (m) (m) (m) (m) Type Satellites Satellites
A104650−GPS01 5194.139
ค-7 มหาวทิ ยาลัยมหิดล A104650−GPS02 5227.915 3600.309 1.541 0.02 0.033 -0.021 -0.018 -0.07 Fixed 8 3 1.867 Adjusted Broadcast
A104650−GPS03 5930.23
A104650−GPS04 6049.719 3484.692 1.836 0.023 0.033 0.018 0.013 0.071 Fixed 7 3 2.247 Adjusted Broadcast
GPS01−GPS02 33.735
GPS03−GPS04 119.515 2930.559 3.99 0.017 0.032 0.009 0.007 0.018 Fixed 7 4 2.14 Adjusted Broadcast

2966.237 3.517 0.021 0.03 -0.015 -0.012 -0.016 Fixed 7 2 2.468 Adjusted Broadcast

-115.649 0.151 0.004 0.007 -0.001 -0.001 -0.004 Fixed 8 4 2.074 Adjusted Broadcast

35.698 -0.438 0.006 0.012 0.002 0.001 0.002 Fixed 7 2 2.136 Adjusted Broadcast

ภาคผนวก ค
รายงานการสํารวจและจดั ทาํ แผนทีภ่ มู ิประเทศ

จงั หวดั พิจิตร Loop Closures งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร
Loop dHz (m) dU (m) Horz Vert dHz dU Length (m) dN (m) dE (m) dHz dU relative
0.0514 0.1445 Tolerance (ppm) (ppm) relative
A104650-GPS01(9/9/2560 15:24:00) 0.0321 0.0356 Tolerance
A104650-GPS02(9/9/2560 15:24:00) (m) (m)
GPS01-GPS02(9/9/2560 13:59:00)
A104650-GPS03(9/9/2560 16:35:00) 0.0936 0.1236 4.04 11.35 12725.3838 0.0402 0.032 1:247525.4 1:88079.6
A104650-GPS04(9/9/2560 16:41:30)
GPS03-GPS04(9/9/2560 16:41:30) 0.0974 0.1274 2.38 2.64 13479.6282 0.0255 0.0195 1:419946.7 1:378685.9

Control Points

Name Grid Northing Grid Easting Elevatio WGS84 Latitude WGS84 Longitude WGS84 Combined Ground Geoid Code Control
A104650 (m) (m) n (m) 16°21'47.96387"N Ell.Height (m)
ค-8 มหาวทิ ยาลัยมหิดล to Grid Scale Factor Separation (m)
1809543.395 634833.157 34.78
100°15'44.79268"E -0.181 0.999824841453773 -34.961 A104650 Both

Adjusted Points

Name Grid Grid Elevatio WGS84 Latitude WGS84 Longitude WGS84 Combined Ground Geoid Code Std Std Std Std ภาคผนวก ค
Northing Easting (m) n (m) Ell.Height to Grid Scale Factor Separation Dev Dev e Dev Dev รายงานการสํารวจและจดั ทาํ แผนทีภ่ มู ิประเทศ
n (m) (m) Hz
(m) (m) (m) (m) u
(m)

GPS01 1814737.555 638433.484 36.259 16°24'36.22370"N 100°17'47.24357"E 1.429 0.999836754045242 -34.83 GPS01 0.016 0.015 0.022 0.053

GPS02 1814771.291 638317.835 36.418 16°24'37.34539"N 100°17'43.35251"E 1.584 0.999836333985959 -34.835 GPS02 0.016 0.015 0.022 0.053

GPS03 1815473.615 637763.709 38.649 16°25'00.31109"N 100°17'24.82437"E 3.791 0.999834095469050 -34.858 GPS03 0.012 0.017 0.021 0.051

GPS04 1815593.129 637799.406 38.208 16°25'04.19218"N 100°17'26.05336"E 3.351 0.999834286223580 -34.857 GPS04 0.012 0.017 0.021 0.051


Click to View FlipBook Version