The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dhara.consult, 2021-03-31 04:31:06

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

จงั หวดั พจิ ิตร

กจิ กรรมหลักที่ ๔ จางศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพฒั นา

แหลง ทองเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร “อทุ ยานเมืองเกา พจิ ิตร”

เสนอโดย รายงานฉบบั สมบูรณ (Final Report)
มหาวทิ ยาลัยมหิดล
รายงานการศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะ
การพฒั นาแหลงทองเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร

“อุทยานเมอื งเกาพจิ ติ ร”

พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางประวัติศาสตร์
“อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร” จังหวดั พิจิตร

สารบญั

หนา้

สารบญั 1
สารบญั ตาราง 5
สารบญั รูป 6

บทท่ี 1 สรุปสาระสาํ คญั และขอบเขตของการศึกษา 1-1
1.1 หลักการและเหตุผล 1-2
1.2 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 1-2
1.3 พ้นื ที่ศึกษา 1-4
1.4 ขอบเขตการศึกษา 1-7
1.5 ระยะเวลาดาํ เนนิ การ

บทท่ี 2 สถานภาพท่ัวไปของพืน้ ทีอ่ ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ รและพื้นทโี่ ดยรอบ 2-1
2.1 คํานํา 2-1
2.2 สถานภาพทัว่ ไปของพืน้ ที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร 2-1
2.2.1 สภาพภูมิประเทศโดยทว่ั ไป 2-2
2.2.2 สภาพภูมอิ ากาศ 2-6
2.2.3 ระบบแหล่งนํ้าผวิ ดนิ 2-6
2.2.4 ทรพั ยากรดินและคุณสมบัตขิ องดนิ 2-8
2.2.5 สภาพธรณีวทิ ยาและแผน่ ดินไหว 2-10
2.3 การตงั้ ถ่นิ ฐานและการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ในปจั จุบัน 2-10
2.3.1 การพัฒนาการทางประวตั ศิ าสตรข์ องการตง้ั ถน่ิ ฐาน 2-14
2.3.2 รปู แบบการตงั้ ถนิ่ ฐานในปจั จบุ นั 2-15
2.3.3 รูปแบบการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ปจั จบุ นั 2-19
2.3.4 ปญั หาและข้อจาํ กัดต่อการพฒั นาพน้ื ที่ชมุ ชนเมอื งเกา่ พจิ ติ ร 2-19
2.4 สภาพเศรษฐกจิ สงั คมและวัฒนธรรม 2-19
2.4.1 ภาพรวมของสภาพเศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม 2-22
2.4.2 สภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคิดเห็นของประชาชนในระดบั ท้องถน่ิ 2-25
2.5 แหลง่ มรดกทางประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรมและธรรมชาติทีส่ าํ คญั 2-25
2.5.1 แหลง่ มรดกทางประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรมและธรรมชาตใิ นพนื้ ทีเ่ มอื งพจิ ิตร 2-31
2.5.2 แหล่งทอ่ งเทย่ี วสาํ คญั ในพ้นื ท่ีเมอื งพิจติ ร

จงั หวัดพิจิตร 1 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ สารบัญ
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจิตร
หนา้
สารบญั (ตอ่ )
2-34
2.5.3 สถานการณก์ ารท่องเทีย่ วในพ้ืนทเ่ี มอื งพจิ ิตร 2-36
2.5.4 การสํารวจและวิเคราะหค์ วามคิดเห็นของนักทอ่ งเท่ียวในพืน้ ที่เมอื งพิจติ ร
3-1
บทที่ 3 การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ศักยภาพของพ้นื ที่เมืองพจิ ติ รและพื้นทโี่ ดยรอบ 3-1
3.1 คาํ นาํ 3-1
3.2 ศกั ยภาพของพนื้ ที่อุทยานเมืองเก่าพิจติ รและพนื้ ทโ่ี ดยรอบ 3-3
3.2.1 ข้อมลู พนื้ ฐานพนื้ ที่เมืองพิจติ ร 3-5
3.2.2 รปู แบบการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ปจั จุบนั 3-6
3.2.3 สภาพแวดลอ้ มและระบบนิเวศวทิ ยา 3-7
3.2.4 สภาพเศรษฐกิจและสงั คม 3-13
3.2.5 การท่องเที่ยว
3.2.6 ขอ้ จํากดั ของกฎและระเบียบขอ้ บังคับทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การอนรุ กั ษ์และพัฒนา 3-34
แหลง่ มรดกทางวัฒนธรรม 3-37
3.3 การศึกษาและวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) 3-37
3.4 การศกึ ษาและกาํ หนดแนวทางการพัฒนาพืน้ ทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พิจิตรและพ้นื ทีโ่ ดยรอบ 3-38
3.4.1 การกําหนดเกณฑใ์ นการประเมินคุณคา่ และศักยภาพ
3.4.2 การวเิ คราะห์และประเมินคณุ ค่าและศักยภาพของพื้นทอี่ ุทยานเมืองเก่าพิจติ ร 3-42
และพนื้ ที่โดยรอบ
3.4.3 การศึกษาเปรยี บเทยี บทางเลือกเพื่อการพัฒนาพ้นื ท่อี ทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร 4-1
และพ้นื ทโี่ ดยรอบ 4-1
4-1
บทท่ี 4 การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรงุ พน้ื ที่อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร 4-3
4.1 คํานํา
4.2 การออกแบบผงั แมบ่ ทพ้นื ทอี่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร 4-3
4.2.1 การวเิ คราะหร์ ปู แบบการใชท้ ดี่ นิ 4-3
4.2.2 ความสอดคล้องกบั ข้อกําหนดผงั เมืองรวมพิจติ ร พ.ศ. 2549 (บงั คบั ใชจ้ นถึง 4-6
วนั ที่ 25 เมษายน 2559) ผงั เมอื งรวมจงั หวัดพจิ ิตร พ.ศ. 2560 4-7
4.3 การพฒั นาการออกแบบผังแมบ่ ทพน้ื ทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร
4.3.1 แนวความคดิ ในการวางผงั บริเวณ (Site Plan)
4.3.2 แนวความคดิ ในการวางผงั กลมุ่ อาคารและสง่ิ ปลูกสรา้ ง (Building Plan)
4.3.3 สรปุ ผงั แม่บทการพฒั นาพ้นื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร (Master Plan)

จงั หวดั พิจติ ร 2 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ สารบัญ
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร
หน้า
สารบญั (ต่อ)
4-9
4.4 การออกแบบรายละเอยี ดและการประมาณราคาค่าก่อสร้าง 4-9
4.4.1 การสาํ รวจและจดั ทําแผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ 4-12
4.4.2 การออกแบบรายละเอียดและปรับปรงุ พ้ืนทต่ี ามผงั แมบ่ ทการพัฒนา
พืน้ ที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร 4-27
4.4.3 การประมาณราคาคา่ ก่อสรา้ ง 4-27
4.4.4 แผนการดําเนินงาน
5-1
บทท่ี 5 การวิเคราะหค์ วามคุม้ คา่ ในการลงทุนด้านเศรษฐศาสตร์ 5-1
5.1 คํานํา 5-2
5.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา 5-2
5.3 รายละเอยี ดการศึกษาและวเิ คราะหด์ า้ นเศรษฐศาสตร์ 5-4
5.3.1 วธิ ีการศึกษา 5-6
5.3.2 การวเิ คราะหแ์ ละประเมินต้นทุนโครงการ (Project Cost) 5-6
5.3.3 การวเิ คราะหแ์ ละประเมินผลประโยชนโ์ ครงการ (Project Benefit) 5-10
5.3.4 การประเมินความเหมาะสมเชงิ เศรษฐกิจของโครงการ 5-10
5.3.5 การวเิ คราะห์ความอ่อนไหวของโครงการ (Sensitivity Analysis)
5.3.6 การวเิ คราะหจ์ ดุ ค้มุ ทุน (Break-even Analysis) 6-1
6-1
บทที่ 6 การมสี ่วนร่วมของประชาชน 6-2
6.1 หลักการและเหตผุ ล 6-4
6.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั กระบวนการมีสว่ นรว่ มของประชาชน 6-4
6.3 รปู แบบและกลไกในการจดั กระบวนการมีส่วนรว่ มของประชาชน 6-4
6.4 สรปุ ผลการดําเนินการประชุมสัมมนาคร้ังท่ี 1 6-5
6.4.1 วัตถปุ ระสงค์ของการจัดสมั มนาครั้งท่ี 1 6-7
6.4.2 การเปดิ ประชมุ สมั มนาและจํานวนผ้เู ข้ารว่ มประชมุ 6-9
6.4.3 สรปุ ประเดน็ การรับฟงั ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากที่ประชมุ 6-9
6.4.4 สรุปผลแบบประเมนิ แสดงความคิดเห็นต่อการประชมุ สมั มนาครง้ั ท่ี 1 6-10
6.5 สรปุ ผลการดําเนินการประชุมกลมุ่ ยอ่ ยครงั้ ที่ 1 6-12
6.5.1 วัตถุประสงค์ของการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยครง้ั ท่ี 1 6-12
6.5.2 การประชุมกลุม่ ย่อยครง้ั ท่ี 1 และจํานวนผู้เขา้ รว่ มประชุม
6.5.3 สรุปประเด็นการรบั ฟงั ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากท่ีประชุม
6.5.4 สรปุ ผลแบบประเมนิ แสดงความคิดเหน็ ตอ่ การประชมุ กลุ่มยอ่ ยครั้งท่ี 1

จังหวัดพิจิตร 3 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ สารบญั
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร
หน้า
สารบญั (ต่อ)
6-14
6.6 สรุปผลการดําเนนิ การประชมุ กลุ่มยอ่ ยครงั้ ท่ี 2 6-14
6.6.1 วัตถุประสงค์ของการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยครงั้ ที่ 2 6-15
6.6.2 การประชุมกลุม่ ย่อยครงั้ ที่ 2 และจาํ นวนผเู้ ขา้ ร่วมประชุม 6-16
6.6.3 สรุปประเด็นการรับฟงั ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากท่ีประชมุ 6-17
6.6.4 สรุปผลแบบประเมินแสดงความคิดเหน็ ตอ่ การประชมุ กลุ่มย่อยครั้งท่ี 2 6-19
6-19
6.7 สรปุ ผลการดําเนินการประชุมสมั มนาครั้งท่ี 2 6-19
6.7.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดสมั มนาคร้งั ที่ 2 6-21
6.7.2 การประชมุ สมั มนาครง้ั ท่ี 2 และจาํ นวนผ้เู ข้ารว่ มประชมุ 6-22
6.7.3 สรุปประเด็นการรบั ฟงั ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะจากท่ปี ระชุม 6-25
6.7.4 สรปุ ผลแบบประเมนิ แสดงความคดิ เหน็ ต่อการประชุมสัมมนาครั้งที่ 2

6.8 บทสรปุ จากการประชมุ สัมมนาและประชมุ กลุ่มยอ่ ย

บทท่ี 7 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 7-1
7.1 บทสรปุ 7-1
7.1.1 สรปุ ผงั แมบ่ ทการพฒั นาพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร (Master Plan) 7-1
7.1.2 การประมาณราคาค่ากอ่ สรา้ ง 7-1
7.1.3 แผนการดาํ เนนิ งาน 7-4
7.2 ขอ้ เสนอแนะ 7-4
7.2.1 การเพ่ิมเตมิ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การสนบั สนุนโครงการ 7-8
7.2.2 ขอ้ เสนอแนะด้านการเชอื่ มโยงพน้ื ที่อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและแหล่งท่องเท่ียวอื่นๆ 7-12
7.2.3 ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาการท่องเทยี่ วท้องถิน่ กับการพัฒนาระบบเศรษฐกจิ
ชุมชนทอ้ งถิ่น 7-16
7.2.4 ข้อเสนอแนะดา้ นการจดั ต้งั องคก์ รบรหิ ารจดั การแหล่งทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนทอ้ งถิ่น

เอกสารอ้างองิ
ภาคผนวก ก การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคดิ เห็น
ภาคผนวก ข แหล่งท่องเทยี่ วสําคญั ในพ้ืนที่จงั หวดั พจิ ติ ร
ภาคผนวก ค รายงานการสาํ รวจและจัดทําแผนท่ีภูมิประเทศ
ภาคผนวก ง การมีส่วนรว่ มของประชาชน

จังหวดั พิจติ ร 4 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ สารบญั
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร
หนา้
สารบญั ตาราง
2-32
ตารางที่ 2-35

2.5-1 แหล่งท่องเท่ยี วสําคัญในพนื้ ท่เี มอื งพจิ ิตรและพน้ื ท่โี ดยรอบ 3-2
2.5-2 จาํ นวนนักท่องเท่ียวและรายได้จากการท่องเทยี่ วในพนื้ ทจ่ี ังหวัดพจิ ติ รในรอบ 8 ปี 3-8
3-9
(พ.ศ. 2552-2559) 3-10
3-40
3.2-1 ประชากร ครวั เรือนและความหนาแน่นของประชากรจําแนกรายอําเภอในจังหวดั พิจติ ร 3-45
3.2-2 จํานวนนักท่องเทีย่ วและรายไดจ้ ากการท่องเทยี่ วในพ้นื ท่ีจงั หวัดพจิ ติ รในรอบ 8 ปี 4-28

(พ.ศ. 2552-2559) 5-5
3.2-3 การคาดคะเนจาํ นวนนักท่องเทย่ี วในพืน้ ท่จี งั หวดั พิจติ รในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)
3.2-4 การคาดคะเนจํานวนรายได้จากการท่องเทยี่ วในพน้ื ที่จังหวัดพจิ ิตรในรอบ 30 ปี 5-7
5-8
(พ.ศ. 2560-2589) 5-9
3.4-1 การจดั กล่มุ คะแนนตามคุณคา่ และศกั ยภาพขององคป์ ระกอบพน้ื ท่ีอทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร 5-11

และพืน้ ที่โดยรอบ 7-2
3.4-2 ปัจจยั หลักตา่ งๆ ทีม่ ีความสําคัญในการตัดสนิ ใจเพอื่ การพัฒนาพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร

4.4-1 สรปุ ผลการประมาณราคาคา่ ก่อสร้าง งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพฒั นา
แหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ “อทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตร” จงั หวดั พิจิตร

5.3-1 สรุปผลประมาณการราคาคา่ ก่อสร้างอาคารสิง่ ก่อสรา้ งพร้อมสง่ิ อํานวยความสะดวก
ระบบสาธารณปู โภค และงานปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์ งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะ
การพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ “อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร” จังหวดั พจิ ิตร

5.3-2 การคาดคะเนจาํ นวนนกั ทอ่ งเทย่ี วในพน้ื ทจ่ี งั หวดั พจิ ติ รและอทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร
ในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)

5.3-3 ประมาณการรายไดใ้ นพนื้ ที่อุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร จังหวดั พจิ ติ ร
5.3-4 การประเมินความเหมาะสมเชิงเศรษฐกจิ ในการพัฒนาพน้ื ที่อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร

จังหวัดพจิ ิตร (กรณอี ตั ราคิดลด 12%)
5.3-5 การประเมนิ ความอ่อนไหวกรณเี ลวร้ายท่สี ุด (worst case) ในการพัฒนาพื้นทอี่ ุทยาน

เมอื งเกา่ พจิ ติ ร จงั หวดั พจิ ิตร (กรณีตน้ ทุนเพ่ิม +10% และผลประโยชนล์ ดลง -10%)

7.1-1 สรุปผลการประมาณราคาคา่ กอ่ สรา้ ง งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนา
แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร” จงั หวัดพจิ ติ ร

จงั หวดั พิจิตร 5 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ สารบัญ
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร
หนา้
สารบญั รปู
1-3
รปู ที่ 2-3
2-4
1.3-1 ขอบเขตพน้ื ท่ีศึกษาครอบคลมุ พน้ื ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร จังหวัดพจิ ิตร และพน้ื ที่โดยรอบ 2-5

2.2–1 สภาพภมู ิประเทศโดยรอบของพื้นทอ่ี ุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร 2-7
2.2-2 สภาพภูมิอากาศในพื้นที่อุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพนื้ ท่ีโดยรอบ 2-9
2.2–3 การกระจายรายเดอื นของตวั แปรภูมอิ ากาศเฉลีย่ ในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2528–2557) 2-11
2-12
ของสถานีตรวจวัดอากาศเกษตร จังหวดั พิจิตร (48386) 2-16
2.2–4 แผนทก่ี ลมุ่ ชุดดนิ โดยรอบของพ้นื ทีอ่ ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร 2-17
2.2–5 สภาพธรณวี ิทยาโดยรอบของพน้ื ทอี่ ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร
2.2-6 กลุ่มรอยเล่อื นมพี ลังพาดผา่ นในประเทศไทย (ครอบคลมุ พ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร) 2-23
2.2-7 เขตเสย่ี งภยั ต่อการเกดิ แผน่ ดินไหวในประเทศไทย (ครอบคลุมพ้ืนทอี่ ุทยานเมืองเก่าพิจิตร)
2.3-1 รปู แบบการใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินในพนื้ ทีเ่ มอื งเก่าพจิ ิตรและพนื้ ท่ีโดยรอบ (พ.ศ. 2560) 2-30
2.3-2 แผนผังกาํ หนดการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ตามทีไ่ ด้จาํ แนกทา้ ยกฎกระทรวงให้บงั คบั ผังเมืองรวม 2-33
2-34
จังหวัดพจิ ิตร พ.ศ. 2560 2-37
2.4-1 การสอบถามและสมั ภาษณ์ดว้ ยแบบสัมภาษณก์ ลุ่มตวั อยา่ งท่อี าศยั อย่ภู ายในพน้ื ทศ่ี ึกษา 3-1
3-4
และพื้นทโี่ ดยรอบ
2.5-1 พ้ืนทีย่ ่านพาณชิ ยกรรมวงั กรด ตั้งอยู่ริมแม่น้ํานา่ นในเขตเทศบาลตาํ บลวังกรด 3-11
2.5-2 ตําแหนง่ ทต่ี ง้ั แหลง่ ท่องเที่ยวสําคัญในพน้ื ท่ีเมอื งพจิ ิตรและพื้นทโี่ ดยรอบ 3-11
2.5-3 จาํ นวนนกั ทอ่ งเทีย่ วและรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วสําคัญในพน้ื ท่เี มอื งพจิ ติ รและพืน้ ท่โี ดยรอบ
2.5-4 การสอบถามและสัมภาษณด์ ว้ ยแบบสมั ภาษณ์กลุ่มนักท่องเทยี่ วในพนื้ ที่ศึกษาและพ้นื ทโ่ี ดยรอบ 3-14

3.2-1 พน้ื ทีเ่ มืองพิจติ รและพน้ื ทตี่ ดิ ตอ่ โดยรอบ 3-41
3.2-2 แผนผงั กาํ หนดการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินตามที่ได้จําแนกท้ายกฎกระทรวงใหบ้ งั คบั 4-2
4-4
ผงั เมืองรวมจงั หวัดพจิ ติ ร พ.ศ. 2560
3.2-3 การคาดคะเนจาํ นวนนกั ท่องเทีย่ วในพื้นทจ่ี ังหวดั พจิ ติ รในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589) 4-5
3.2-4 การคาดคะเนจํานวนรายได้จากการท่องเท่ียวในพ้นื ท่จี งั หวัดพจิ ิตรในรอบ 30 ปี

(พ.ศ. 2560-2589)
3.2-5 แผนผังกาํ หนดการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ตามทไ่ี ด้จาํ แนกประเภทท้ายกฎกระทรวงใหบ้ ังคบั

ผังเมืองรวมเมืองพจิ ิตร พ.ศ. 2549 (บงั คับใชอ้ ยถู่ ึงวันท่ี 25 เมษายน 2559)
3.4-1 ความสาํ คญั ของคณุ ค่าและศักยภาพของโบราณสถาน อาคารหรอื สถานทส่ี ําคญั ในพื้นทเ่ี มืองพจิ ติ ร

4.2-1 ขอบเขตการพัฒนาและปรับปรุงในพน้ื ทอ่ี ุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตร จงั หวดั พิจิตร
4.2-2 แผนผงั กาํ หนดการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินตามทีไ่ ด้จาํ แนกประเภทท้ายกฎกระทรวงใหบ้ งั คับ

ผงั เมืองรวมเมืองพจิ ิตร พ.ศ. 2549 (บังคบั ใชอ้ ยถู่ งึ วนั ท่ี 25 เมษายน 2559)
4.2-3 แผนผังกาํ หนดการใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ตามทีไ่ ดจ้ ําแนกทา้ ยกฎกระทรวงให้บังคับผังเมอื งรวม

จงั หวัดพจิ ติ ร พ.ศ. 2560

จงั หวดั พิจติ ร 6 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ สารบญั
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร

สารบญั รปู (ต่อ)

รูปท่ี หนา้

4.3-1 ผงั แม่บทการพัฒนาพืน้ ที่อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ติ ร 4-8
4.4-1 หมุดหลกั ฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หมายเลข A104650; N = 1,809,543.395 ม., 4-9

E = 634,833.157 ม., EL = 34.780 ม.รทก. 4-10
4.4-2 แผนที่ระดับความสงู ภมู ิประเทศ 0.50 เมตร ภายในพื้นทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร 4-11
4.4-3 แผนท่รี ะดับความสูงภูมิประเทศ 0.50 เมตร ภายในพ้นื ท่อี ุทยานเมืองเกา่ พิจิตร
4-13
บนแผนทอี่ อร์โธสที จ่ี ัดทําโดยใช้อากาศยานไร้คนขบั 4-16
4.4-4 รปู ตัดอาคารศาลหลักเมืองพจิ ติ รและรูปเสมอื นจริงของศาลหลกั เมืองพจิ ิตร 4-17
4.4-5 รูปดา้ นหน้าอาคารสํานักงานและส่วนจดั นิทรรศการ 4-18
4.4-6 รูปเสมอื นจริงของอาคารสํานักงานและส่วนจัดนทิ รรศการ 4-18
4.4-7 รปู ตดั อาคารจาํ หนา่ ยสินคา้ ชมุ ชนและรูปเสมอื นจริงของอาคารจาํ หน่ายสินคา้ ชมุ ชน 4-19
4.4-8 รูปตัดอาคารจาํ หน่ายธปู เทยี นและรูปเสมือนจรงิ ของอาคารจาํ หน่ายธูปเทียน 4-20
4.4-9 รปู เสมอื นจรงิ ของห้องนาํ้ บริการนักทอ่ งเท่ียว 4-21
4.4-10 ตัวอย่างการปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นภ์ ายในพน้ื ท่ีอทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร
4.4-11 ตวั อยา่ งการปรบั ปรุงสภาพพื้นทีท่ ่วั ไปบรเิ วณอาคารศาลหลักเมืองพจิ ิตรและศาลพ่อปู่ 4-21
4-22
พระยาโคตรบอง
4.4-12 ตัวอยา่ งการปรับปรุงภูมิทัศน์สองฝ่งั ถนนหลักภายในพนื้ ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร 4-23
4.4-13 ตัวอย่างการเพม่ิ ถนนยอ่ ยและพ้ืนทพี่ กั คอยเพอื่ รองรบั กจิ กรรมตา่ งๆ 4-24
4-25
ภายในพน้ื ทอ่ี ุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร 4-26
4.4-14 ตัวอย่างการเพิม่ พน้ื ทพ่ี กั คอยและเสน้ ทางจักรยานภายในพื้นท่ีอทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร 4-29
4.4-15 ตวั อยา่ งการปรบั ปรุงพ้นื ทแี่ ละภูมทิ ัศนร์ มิ ฝัง่ คลองคเู มืองเดมิ รปู แบบที่ 1
4.4-16 ตัวอยา่ งการปรบั ปรุงพน้ื ท่ีริมฝั่งคลองคเู มืองเดิม รูปแบบที่ 2
4.4-17 ตวั อย่างรปู แบบ Street Furniture ภายในพ้ืนท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร
4.4-18 แผนงานการก่อสรา้ งและปรับปรงุ กลุ่มอาคารสง่ิ ปลกู สรา้ งพร้อมส่ิงอาํ นวยความสะดวก

ระบบสาธารณูปโภคและงานปรบั ปรงุ ภูมิทศั น์ในพน้ื ท่ีอทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร

5.3-1 กราฟความสมั พันธร์ ะหว่างคา่ ลงทนุ สะสม-จาํ นวนปี-ผลประโยชน์สะสมของการก่อสรา้ ง 5-12
และปรบั ปรงุ พื้นท่ีอทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตร จังหวัดพิจิตร

6.3-1 ข้ันตอนการดําเนนิ งานด้านการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนโครงการฯ 6-3
6.4-1 กราฟสรปุ กลุม่ เป้าหมายท่ีเข้าร่วมประชมุ สัมมนาครง้ั ที่ 1 จาํ นวน 95 คน ไม่นบั รวม 6-5

คณะกรรมการกํากับฯ และผแู้ ทนมหาวทิ ยาลัยมหิดลจาํ นวน 11 คน 6-6
6.4-2 ภาพบรรยากาศการประชุมสัมมนาครัง้ ท่ี 1 6-10
6.5-1 กราฟสรปุ กลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ข้ารว่ มประชุมกล่มุ ยอ่ ยคร้งั ที่ 1 จํานวน 47 คน ไมน่ ับรวม
6-11
ผู้แทนมหาวิทยาลัยมหดิ ลจาํ นวน 5 คน
6.5-2 ภาพบรรยากาศการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยคร้งั ท่ี 1

จงั หวดั พิจิตร 7 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ สารบัญ
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร
หน้า
สารบญั รปู (ตอ่ )
6-15
รูปที่ 6-16
6-20
6.6-1 กราฟสรปุ กลุ่มเป้าหมายทีเ่ ขา้ ร่วมประชมุ กล่มุ ย่อยคร้งั ที่ 2 จาํ นวน 52 คน ไม่นับรวม 6-20
ผ้แู ทนมหาวทิ ยาลัยมหิดลจาํ นวน 5 คน 7-3
7-5
6.6-2 ภาพบรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อยคร้งั ที่ 2 7-5
6.7-1 กราฟสรุปผเู้ ข้าร่วมประชมุ สมั มนาครัง้ ท่ี 2 จาํ นวน 94 คน ไม่นับรวมคณะกรรมการกํากับฯ
7-6
จาํ นวน 2 คนและผ้แู ทนมหาวทิ ยาลยั มหดิ ลจํานวน 7 คน) 7-6
6.7-2 ภาพบรรยากาศการประชมุ สมั มนาคร้งั ที่ 2 7-9
7-10
7.1-1 แผนงานการกอ่ สร้างและปรับปรุงกลมุ่ อาคารส่ิงปลกู สร้างพร้อมสง่ิ อํานวยความสะดวก 7-11
ระบบสาธารณูปโภคและงานปรบั ปรงุ ภมู ิทศั น์ในพนื้ ทอี่ ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

7.2-1 กรอบสีเหลืองซึง่ เปน็ พื้นทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตรทง้ั หมดประมาน 400 ไรเ่ ศษ
7.2-2 วงกลมสดี ําเป็นพ้นื ท่ีทีม่ ีประชาชนท่ัวไปเขา้ มาเยย่ี มชนสถานทส่ี าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตร์

ประเพณี ศาสนา และวฒั นธรรม และกรอบสีเ่ หล่ยี มสีดาํ เป็นพ้ืนทีท่ ใี่ หป้ ระชาชนทั่วไป
ได้พกั ผ่อนหย่อนใจตามอัธยาศยั
7.2-3 ตัวอย่างรปู แบบการตดิ ตง้ั เสาสง่ สญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ พร้อมตวั สง่ สัญญาณ
และตวั รับสัญญาณแบบสายอากาศ
7.2-4 ตําแหนง่ ท่จี ะตดิ ต้ังเสานําสง่ สัญญาณเพอื่ กระจายสญั ญาณ WiFi โดยมที ั้งหมด 3 ตําแหน่ง
ตามสัญลกั ษณร์ ปู ดาวสีแดงซ่งึ อยูใ่ นกรอบส่เี หลยี่ มและวงกลมสดี ํา
7.2-5 รูปแบบการทอ่ งเทย่ี วเริม่ ตน้ จากอุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร ใชเ้ วลาท่องเที่ยวไมเ่ กนิ 1 วนั
7.2-6 รปู แบบการท่องเที่ยวตามเสน้ ทางท่ี 1 เรม่ิ ต้นจากอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
ใช้เวลาทอ่ งเทย่ี วไม่เกิน 2 วนั
7.2-7 รูปแบบการทอ่ งเท่ียวตามเสน้ ทางที่ 2 เรมิ่ ต้นจากอทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตร
ใช้เวลาท่องเที่ยวไม่เกนิ 2 วัน

จังหวัดพิจติ ร 8 มหาวิทยาลัยมหิดล

บทท่ี 1
สรปุ สาระสาํ คญั และขอบเขตของการศกึ ษา

บทที่ 1
สรุปสาระสาํ คัญและขอบเขตของการศกึ ษา

1.1 หลักการและเหตผุ ล

คณะรัฐบาลภายใต้การนําของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.) ที่เข้ามาบริหารประเทศไทยบนวิสัยทัศน์ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืน” มีภารกิจสําคัญในการขับเคล่ือน
ปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ เพ่ือปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทางและพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรือง สามารถรับมือกับโอกาส
และภัยคุกคามแบบใหม่ๆ ที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงในยุคศตวรรษท่ี 21 จึงกําหนดวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยหรือโมเดลประเทศไทย 4.0 โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจในกลุ่มท่ี 5 หรือกลุ่ม
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและบริการที่มีมูลค่าสูง โดยส่วนหน่ึงของวิสัยทัศน์ฯ จะเป็นงานส่งเสริมการท่องเที่ยว
ท้ังจากต่างประเทศและภายในประเทศให้มีการพัฒนาการท่องเท่ียวให้มีคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าสูงข้ึนและให้มีรายได้จาก
นักทอ่ งเทยี่ วเพม่ิ ขนึ้ เปน็ 2 เท่าตัวในระยะเวลา 5 ปี และมีนโยบายให้บูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)
เพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC: ASEAN Economic Community) ในการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศด้านการทอ่ งเท่ียวและบรกิ าร และยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พุทธศักราช 2558–2560 จะเน้นการพัฒนาการ
ท่องเท่ียวและบริการให้มีคุณภาพดีเทียบเท่ามาตรฐานสากล และจะเช่ือมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พุทธศักราช 2560–2564)

จังหวัดพิจติ รเป็นจังหวดั ในกลุ่มจงั หวัดภาคเหนือตอนลา่ ง 2 ทมี่ แี หล่งท่องเทย่ี ว ประเพณีวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียง
ระดับประเทศ อาทิ ประเพณกี ารแขง่ ขนั เรอื ยาวประจาํ ปีชิงถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช แห่งเดียวของประเทศซึ่งกําหนดจัดขึ้นระหว่างวันเสาร์–อาทิตย์แรกของเดือนกันยายนของทุกปี มีพระคู่บ้าน–
คู่เมืองนามว่า “หลวงพ่อเพชร” เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ที่มีอายุมากกว่า 900 ปี ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถวัดท่าหลวง
พระอารามหลวง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร รวมถึงแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร”
ตั้งอยู่ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร เป็นอุทยานทางประวัติศาสตร์และสวนรุกขชาติ โดยภายในบริเวณ
อุทยานเมืองเก่าพิจิตร เป็นที่ต้ังของศาลหลักเมือง ศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง โบราณสถาน และสถานท่ีอนุรักษ์พันธ์ุพืช
และเปน็ แหลง่ พักผอ่ นหย่อนใจของนกั ทอ่ งเทีย่ วภายในและภายนอกจงั หวดั พจิ ติ ร

เนื่องจากอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตร เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์สําคัญของจังหวัดพิจิตรมี
สถานภาพปัจจุบันชํารุด ทรุดโทรมตามกาลเวลา ส่ิงก่อสร้างและส่ิงอํานวยความสะดวก ร้านค้าชํารุดเสียหาย เสื่อมสภาพ
และสภาพแวดล้อมโดยรอบไม่งดงามเน่ืองจากขาดงบประมาณพัฒนา ปรับปรุงและบํารุงรักษาต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน
จังหวัดพิจิตรจึงต้องดําเนินการว่าจ้างท่ีปรึกษาจัดรูปแบบและแผนแม่บทในการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร เพ่ือสนองตอบด้านส่งเสริมและพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน และสอดคล้องกับ
นโยบายของรัฐบาล รวมทั้งเป็นการพัฒนาอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตรให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีและ
การใช้ประโยชน์และมสี ่งิ อํานวยความสะดวกในการใหบ้ รกิ ารท่ีดแี ก่นกั ท่องเท่ียวภายในและภายนอกจังหวดั พจิ ิตร

จงั หวดั พิจิตร 1-1 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 1
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร สรปุ สาระสําคญั และขอบเขตของการศกึ ษา

1.2 วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา

วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาดงั สรุปได้ดังนี้
1) เพอื่ ศกึ ษาและสาํ รวจข้อมลู ต่างๆ ในพืน้ ที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร จงั หวดั พจิ ติ ร และพ้ืนที่โดยรอบท้ังด้าน

สภาพกายภาพ การใช้ประโยชน์ สภาพแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจและสงั คมและการทอ่ งเทย่ี ว
2) เพ่ือวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตรและพื้นท่ีโดยรอบโดยเฉพาะ

ประเด็นการเปลี่ยนแปลงท้ังด้านสภาพกายภาพ การใช้ประโยชน์ สภาพแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจและ
สังคมและการท่องเทยี่ วเพ่อื พัฒนาเปน็ แหล่งท่องเทย่ี วเชิงอนรุ ักษ์
3) เพื่อเสนอแนวความคิดและแนวทางการพัฒนาสภาพพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตร และ
พนื้ ทโ่ี ดยรอบโดยกาํ หนดเป็นผงั ทางเลอื กอย่างน้อย 3 ทางเลอื ก
4) เพ่ือศึกษาและออกแบบปรับปรุงพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตร เพื่อการพัฒนาเป็นแหล่ง
ท่องเท่ียวเชิงอนรุ กั ษ์ รวมท้ังออกแบบสิ่งปลูกสรา้ ง (เชน่ อาคารจาํ หนา่ ยสินค้า อาคารจําหน่ายธูปเทียน
อาคารศาลาพกั นักท่องเที่ยว อาคารหอ้ งนาํ้ บริการนักทอ่ งเทย่ี ว ฯลฯ) ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบ
สาธารณูปโภคต่างๆ ที่จําเป็น เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบบําบัดนํ้าเสีย การบริหารจัดการ
ขยะและสิง่ ปฏิกูล ฯลฯ และการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรตามความ
เหมาะสม (จะต้องนําเสนอให้คณะกรรมการวิชาการ สํานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร พิจารณาและ
ลงมติ)
5) เพื่อจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation: PP) และการรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน พ.ศ. 2548
6) เพื่อมีเอกสารแบบแปลนผังบริเวณ ประมาณราคาก่อสร้าง เอกสารประกวดราคาและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
เสนอเป็นคําของบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์
ทางประวตั ิศาสตร์ “อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พจิ ิตร

1.3 พน้ื ทศ่ี ึกษา

พ้ืนทศ่ี ึกษาครอบคลุมพน้ื ทอ่ี ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร จังหวัดพิจิตร และพน้ื ทโี่ ดยรอบ ดังรปู ท่ี 1.3-1

จังหวดั พิจิตร 1-2 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 1
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจติ ร สรปุ สาระสาํ คญั และขอบเขตของการศึกษา

รูปที่ 1.3-1 ขอบเขตพนื้ ทศ่ี ึกษาครอบคลมุ พืน้ ท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร จงั หวดั พิจติ ร และพนื้ ทโ่ี ดยรอบ

จังหวัดพิจติ ร 1-3 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 1
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจิตร สรปุ สาระสําคัญและขอบเขตของการศกึ ษา

1.4 ขอบเขตการศกึ ษา

การศึกษาและวิเคราะหข์ อ้ มลู จะครอบคลมุ หัวขอ้ ต่างๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งในประเด็นตา่ งๆ ดงั น้ี
1) งานรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลประเด็นตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั พน้ื ทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร ดังนี้

1.1 การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้านนโยบายและกฎหมายต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการจัดการพ้ืนที่
อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร จงั หวดั พิจิตร

1.2 การรวบรวมและสาํ รวจสภาพพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตร ได้แก่ สภาพทางกายภาพ
สภาพภูมิประเทศ สภาพธรณีวิทยา/ฐานราก สภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การใช้
ประโยชน์พ้นื ท่ี สภาพเศรษฐกิจและสังคม การท่องเท่ียว ฯลฯ เพ่ือให้ทราบถึงรายละเอียดต่างๆ
ทจ่ี ําเป็นต่อการปรบั ปรุงและฟื้นฟพู ้ืนท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร รวมทงั้ ปัญหาและอุปสรรคอน่ื ๆ

2) งานวิเคราะห์สถานภาพและศักยภาพในการปรับปรุงสภาพพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตร
และพนื้ ทีโ่ ดยรอบดังน้ี
2.1 การศึกษาและวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) ของพื้นท่ีอุทยาน
เมืองเกา่ พจิ ติ ร จังหวัดพิจติ รและพ้ืนที่โดยรอบโดยเฉพาะประเด็นการเปล่ียนแปลงทั้งด้านสภาพ
ทางกายภาพ การใชป้ ระโยชน์ สภาพแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจและสังคม และการท่องเท่ียวเพ่ือ
พฒั นาเปน็ แหล่งทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนุรักษ์
2.2 การศึกษาและกําหนดแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัด
พิจิตรและพื้นที่โดยรอบเพ่ือการเสริมสร้างศักยภาพด้านการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ และเพ่ิม
ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจให้แก่จังหวัดพิจิตรโดยคํานึงถึงการใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับการ
อนุรักษ์
2.3 การศึกษาเปรียบเทียบแนวทางเลือกอย่างน้อย 3 ทางเลือกเพื่อการพัฒนาสภาพพื้นที่อุทยาน
เมอื งเกา่ พจิ ติ ร จังหวัดพิจิตร และพ้ืนที่โดยรอบ โดยมีความสอดคล้องและมีสาระสําคัญเดียวกับ
บรบิ ทการจัดการพนื้ ท่อี ุทยานประวัตศิ าสตร์ตามแนวทางของกรมศลิ ปากร

3) งานศึกษาและออกแบบปรับปรุงพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวัดพิจิตร เพื่อการพัฒนาเป็นแหล่ง
ท่องเทีย่ วเชงิ อนุรกั ษ์ บรเิ วณศาลหลักเมอื ง ศาลพอ่ ปูพ่ ระยาโคตรบอง รวมทัง้ การออกแบบส่ิงปลูกสร้าง
(เช่น อาคารจําหน่ายสนิ คา้ อาคารจาํ หน่ายธูปเทียน อาคารศาลาพักนักท่องเที่ยว อาคารห้องนํ้าบริการ
นักท่องเที่ยว ฯลฯ) ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ท่ีจําเป็น เช่น ระบบไฟฟ้า
ระบบประปา ระบบบําบัดนํ้าเสีย การบริหารจัดการขยะและส่ิงปฏิกูล ฯลฯ และการออกแบบปรับปรุง
ภูมิทัศน์ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรตามหลักการจัดการพ้ืนที่อุทยานประวัติศาสตร์ตามแนวทาง
ของกรมศิลปากร ดังน้ี
3.1 การออกแบบผังแนวคิด (Conceptual Design) พร้อมการนําเสนอแนวความคิดการออกแบบ
อาคารส่ิงปลูกสร้าง (ได้แก่ อาคารจําหน่ายสินค้า อาคารจําหน่ายธูปเทียน อาคารศาลาพัก
นักท่องเที่ยว และอาคารห้องนํ้าบริการนักท่องเที่ยว ฯลฯ) ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบ
สาธารณูปโภคพร้อมแบบการปรับปรุงภูมทิ ัศนใ์ นพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จังหวดั พิจิตร อย่าง
เปน็ ระบบและมคี วามสอดคลอ้ งตามหลกั การจัดการพนื้ ท่อี ุทยานประวัติศาสตร์ตามแนวทางของ
กรมศิลปากรโดยจัดวางรูปลักษณ์และองค์ประกอบต่างๆ ด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม

จงั หวดั พิจิตร 1-4 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 1
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจติ ร สรุปสาระสําคญั และขอบเขตของการศึกษา

วิศวกรรมและอื่นๆ ใหส้ อดคล้องกับสภาพพื้นท่ี ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ความกลมกลืนกับสภาพ
ธรรมชาติ รักษา/ลดผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งย่งั ยนื
3.2 การจัดทําแบบก่อสร้าง (Detailed Engineering Design) สําหรับงานอาคารส่ิงปลูกสร้าง (เช่น
อาคารจาํ หน่ายสนิ ค้า อาคารจําหน่ายธูปเทียน อาคารศาลาพักนักท่องเท่ียว อาคารห้องน้ําบริการ
นักท่องเที่ยว ฯลฯ) ส่ิงอํานวยความสะดวก ระบบสาธารณูปโภคพร้อมแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ใน
พนื้ ทอี่ ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร จงั หวัดพิจติ ร พรอ้ มรายละเอยี ดดา้ นสถาปตั ยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม
วิศวกรรมโครงสร้างและวศิ วกรรมงานระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยจะต้องคํานึงถึงความเป็นมิตร
กับสภาพแวดล้อม มีประสิทธิภาพสูงด้านการอนุรักษ์พลังงาน เช่น การลดการใช้พลังงานทั้ง
ประเด็นการเลือกใช้วัสดุ การวางพื้นที่ใช้สอยในอาคารสิ่งปลูกสร้าง การใช้พลังงานทดแทนเพ่ือ
ลดการใช้เช้ือเพลิง นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นสําคัญ ฯลฯ โดยสอดคล้องต่อการใช้
งานและมีความกลมกลืนกับสภาพธรรมชาติและรักษาสภาพธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรวมทั้ง
เป็นไปตามหลักการจัดการอุทยานประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรและได้รับอนุมัติจากอธิบดี
กรมศลิ ปากร
3.3 การประมาณราคาค่ากอ่ สรา้ ง จะต้องประมาณราคาค่ากอ่ สร้างตามแบบรายละเอียด โดยจะต้อง
คํานวณปริมาณงาน วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการก่อสร้างและค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ต้อง
เป็นราคาปัจจุบันมากที่สุด โดยให้มีความละเอียดถึงระดับ +10% ของปริมาณงาน และการ
จัดทาํ ประมาณราคางานก่อสร้างแตล่ ะรายการแตล่ ะชนิดของงานจะตอ้ งมีรายละเอยี ด (Backup
Sheet) และรายการสรปุ ใหค้ รบถว้ น ทั้งนีจ้ ะตอ้ งจดั ทําให้เป็นไปตามรูปแบบและหลักเกณฑ์การ
คํานวณราคางานก่อสร้างที่ได้รับความเห็นชอบตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 13 มีนาคม 2555
หรือฉบบั แก้ไขล่าสดุ โดยเปน็ คา่ ก่อสรา้ งทส่ี ามารถนําไปเสนอขออนุมัติวงเงินลงทุน และนําไปใช้
เป็นราคากลางอ้างอิงประกอบการพิจารณาผลการประกวดราคาได้อย่างเหมาะสมซึ่งการจัดทํา
ประมาณราคางานก่อสร้างจะรวมถึงแต่ไม่จํากัดเฉพาะหัวข้อต่างๆ โดยสอดคล้องต่อการใช้งาน
และมคี วามกลมกลืนกับสภาพธรรมชาติและรักษาสภาพธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรวมทั้งเป็นไป
ตามหลักการจัดการอุทยานประวัติศาสตร์ของกรมศิลปากรและได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรม
ศลิ ปากร ดงั ต่อไปนี้
ก) ค่างานวิศวกรรมโยธา/โครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม/ภูมิสถาปัตยกรรม งานวิศวกรรม

สุขาภิบาล งานวิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟ้าและอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น ค่าใช้จ่ายในการ
ปอ้ งกนั แกไ้ ขและลดผลกระทบส่ิงแวดล้อม เปน็ ต้น
ข) ค่าทปี่ รึกษาตา่ งๆ (งานออกแบบ งานบริหารและควบคมุ งานโครงการ ฯลฯ)
ค) ค่าการจัดการด้านความปลอดภัยและค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการและป้องกันแก้ไข
และลดผลกระทบสง่ิ แวดล้อมทัง้ ระหวา่ งการก่อสรา้ งและเปดิ ให้บรกิ าร
ง) คา่ เผือ่ เหลอื เผ่ือขาด ภาษแี ละกําไร
จ) การประมาณราคาค่าก่อสร้างแต่ละหัวข้องานจะต้องแบ่งส่วนประกอบของค่าใช้จ่าย
ได้แก่ คา่ วสั ดุ ค่าอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ฯลฯ โดยการกระจายคา่ ก่อสร้างแยกเป็นรายปีหาก
มีการเพ่ิมข้ึนของราคา (Price Escalation) จะต้องมีเหตุผลและข้อมูลสนับสนุนท่ีชัดเจน

จังหวดั พิจิตร 1-5 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 1
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร สรปุ สาระสาํ คญั และขอบเขตของการศกึ ษา

โดยการกระจายราคาค่าก่อสร้างเป็นรายปีที่ก่อสร้างจะต้องแสดงราคาที่เป็นทั้งปีปฏิทิน
และปงี บประมาณของหนว่ ยงานราชการไทย
ฉ) การจัดทําข้อมูลรายละเอียดเก่ียวกับการประมาณราคาโครงการ มูลค่าการลงทุน
โครงการและอืน่ ๆ โดยละเอียดเพ่ือจัดทํารายงานบญั ชีวสั ดแุ ละประมาณราคาคา่ วสั ดุและ
คา่ แรง (ปร.4; ปร.5; ปร.6) ตามแบบของหน่วยงานราชการพร้อมประมาณราคาครุภัณฑ์
ประกอบอาคารและเอกสารอ่ืนๆ เคร่ืองใช้ของวสั ดุ ค่าขนส่งและแรงงานท่ีอาจเกดิ ขน้ึ
3.4 การจัดทําข้อกําหนดการก่อสร้าง (Detailed Construction Specifications) จะต้องจัดเตรียม
รายละเอียดข้อกําหนดการก่อสร้าง ซ่ึงรวมถึงข้อกําหนดและมาตรฐานที่สอดคล้องกับงาน
ก่อสร้าง ได้แก่ งานวิศวกรรมโยธา/โครงสร้าง งานวิศวกรรมสุขาภิบาล งานวิศวกรรมเคร่ืองกล
และไฟฟ้า งานควบคมุ คุณภาพในการออกแบบและการกอ่ สรา้ ง งานส่ิงอํานวยความสะดวก งาน
มาตรฐานความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อมในการทํางาน งานก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและ
ภมู ิสถาปัตยกรรมและมาตรฐานวัสดุก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและอื่นๆ ที่จําเป็นและเกี่ยวข้อง
ทั้งน้ีการกําหนดรายละเอียดข้อกําหนดในการก่อสร้างจะต้องคํานึงถึงการใช้วัสดุภายในประเทศ
ใหม้ ากที่สดุ หากจะใช้วัสดุท่ีนําเข้าจากต่างประเทศจะต้องมีเหตุผลสนับสนุนความจําเป็นในการ
ใช้งานดังกล่าว โดยสอดคล้องต่อการใช้งานและมีความกลมกลืนกับสภาพธรรมชาติและรักษา
สภาพธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมรวมทั้งเปน็ ไปตามหลกั การจัดการอุทยานประวัติศาสตร์ของกรม
ศิลปากรและได้รับอนมุ ตั จิ ากอธบิ ดีกรมศิลปากร
3.5 การจัดทําเอกสารประกวดราคา จะต้องเสนอ Contract Strategy และจัดแบ่งสัญญางาน
วิศวกรรมโยธา/โครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม/ภูมิสถาปัตยกรรม งานวิศวกรรมสุขาภิบาล งาน
วิศวกรรมเคร่ืองกลและไฟฟ้า ฯลฯ ให้แก่จังหวัดพิจิตร พิจารณาเห็นชอบก่อนจัดทําเอกสาร
ประกวดราคาให้สมบูรณม์ รี ายละเอยี ดครบถ้วนโดยสอดคล้องต่อการใช้งานและมีความกลมกลืน
กับสภาพธรรมชาติและรักษาสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมท้ังเป็นไปตามหลักการจัดการ
อุทยานประวัตศิ าสตรข์ องกรมศิลปากรและได้รับอนุมตั ิจากอธิบดกี รมศลิ ปากร
3.6 สถาบันการศึกษาจะต้องปฏิบัติตามขอบเขตของงานออกแบบให้ครอบคลุมและเป็นไปตาม
ข้อกาํ หนดหรอื มาตรฐานฯ อย่างนอ้ ยดงั นี้
ก) มาตรฐานและข้อกําหนดของวิศวกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย (วสท.)
ข) มาตรฐานและข้อกาํ หนดของสภาวิศวกร และ/หรอื สภาสถาปนกิ
ค) พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535, (ฉบับท่ี
3) พ.ศ. 2543 และ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2550
ง) มาตรฐานและขอ้ กาํ หนดของกรมศิลปากร
จ) มาตรฐานและขอ้ กาํ หนดของกระทรวงอตุ สาหกรรม (มอก.)
ฉ) มาตรฐานและขอ้ กาํ หนดของการไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค (กฟภ.)
ช) มาตรฐานและข้อกําหนดของการประปาสว่ นภูมิภาค (กปภ.)
ซ) มาตรฐานและข้อกําหนดของกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) และสํานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (สผ.)
ฌ) มาตรฐานและขอ้ กาํ หนดของหนว่ ยงานส่วนท้องถน่ิ และทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ฯลฯ

จังหวัดพิจิตร 1-6 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 1
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร สรปุ สาระสาํ คัญและขอบเขตของการศกึ ษา

4) การมสี ่วนร่วมของประชาชน (Public Participation: PP) สถาบันการศึกษาจะต้องดําเนินงานด้านการ
มีสว่ นรว่ มของประชาชนอย่างนอ้ ยครอบคลมุ การดาํ เนนิ งานดังต่อไปนี้
4.1 การเสนอ “แผนการดําเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน” ให้ครอบคลุมตลอดระยะเวลา
การศึกษาไว้ในรายงานเบ้ืองต้น (Inception Report) เสนอต่อจังหวัดพิจิตรให้ความเห็นชอบ
ก่อนเร่ิมการปฏิบัติงาน โดยจะมีกิจกรรมต่างๆ ที่จะดําเนินการ ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย เทคนิคและวิธีการท่ีใช้ ช่วงเวลาและระยะเวลา ผลที่คาดว่าจะได้รับ และวิธีการ
นําข้อเสนอแนะหรือคิดเห็นต่างๆ ที่ได้รับจากที่ประชุมไปใช้ประโยชน์อย่างชัดเจนและส่วนของ
เทคนิคและวิธกี ารที่ใช้จะต้องมีรายละเอียดครบถ้วนครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ
รวบรวมข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล การกาํ หนดกลุม่ เปา้ หมายและการรับฟงั ขอ้ คดิ เหน็ /เสนอแนะ
4.2 การจัดให้สาธารณชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวางและต้องให้ข้อมูลแก่
สาธารณชนตลอดระยะเวลาการศึกษาเป็นระยะๆ เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลของงานการศึกษาอย่าง
ต่อเนื่องและเปิดช่องทางให้ผู้สนใจเสนอข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาพร้อมทั้งดูแล
ปรบั ปรงุ ข้อมลู ให้ทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา และจะต้องจดั การประชมุ ใหญอ่ ยา่ งนอ้ ย 1 คร้งั (ไม่น้อย
กว่า 100 คน) ก่อนการจัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ให้แก่จังหวัดพิจิตร โดยการ
ประชุมใหญจ่ ะตอ้ งพจิ ารณากลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมพ้ืนที่ศึกษา ส่วนการจัดประชุมกลุ่มย่อย
อย่างน้อย 2 ครั้ง (ไม่น้อยกว่า 50 คน) ภายในสถานที่ที่เหมาะสมในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร
จังหวัดพจิ ิตร และตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากจังหวดั พิจิตรกอ่ นการดําเนนิ การทกุ ครง้ั
4.3 การจัดคณะบุคลากรหลักอย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผู้จัดการโครงการ สถาปนิก ภูมิสถาปนิก
วิศวกรโยธา รวมทั้งผู้รับผิดชอบด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนไปนําเสนอ ช้ีแจงและรับฟัง
ขอ้ มลู จากสาธารณชน
4.4 การจัดทําเอกสารประกอบการประชุม ส่อื วีดที ศั น์ ภาพ 3 มิติเคลอื่ นไหวเสมือนจรงิ และสิ่งพิมพ์
ท่ีจะนําไปเผยแพร่ให้แก่ประชาชน โดยสถาบันการศึกษาจะต้องเสนอเอกสารต่างๆ ให้จังหวัด
พิจิตรพิจารณาเห็นชอบก่อนนัดหมายกลุ่มเป้าหมายและเผยแพร่ข้อมูลและเอกสารด้านต่างๆ สู่
สาธารณชน
4.5 การรวบรวมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ท่ีได้รับมาจากกิจกรรมการดําเนินงานการมีส่วน
ร่วมของประชาชนในภาคสนามแต่ละครั้ง รวมถึงการจัดประชุมใหญ่ตามหัวข้อ 4.2 โดยสรุป
ประเด็นและวิเคราะห์และนําเสนอผลการพิจารณาในแต่ละประเด็นอย่างชัดเจน หากมีประเด็น
ท่ีไม่สามารถนําไปดําเนินการในการศกึ ษาได้จะต้องแสดงเหตุผลประกอบใหช้ ัดเจน ท้ังน้ีสถาบัน-
การศกึ ษาจะต้องจัดรายงานสรุปผลการดาํ เนนิ งานการจดั ประชุมส่งให้จงั หวัดพจิ ติ รพิจารณา

1.5 ระยะเวลาดาํ เนนิ การ

กําหนดระยะเวลาในการศึกษาตามข้อกําหนดรายละเอียดของโครงการฯ เปน็ เวลาไม่เกิน 180 วันนับจากวันลง
นามในสัญญาว่าจ้าง โดยจะไม่นบั รวมถึงระยะเวลาทจี่ งั หวัดพจิ ิตรพิจารณาตรวจรับงานในแตล่ ะขน้ั ตอน

จังหวดั พิจิตร 1-7 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

บทที่ 2

สถานภาพทว่ั ไปของพนื้ ทอี่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร
และพื้นที่โดยรอบ

บทท่ี 2
สถานภาพทั่วไปของพ้ืนทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ รและพ้นื ทโี่ ดยรอบ

2.1 คาํ นํา

การรวบรวมข้อมลู พน้ื ฐานดา้ นต่างๆ ของพนื้ ท่อี ุทยานเมืองเก่าพจิ ิตร และการสํารวจตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
และปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดําเนินงานปรับปรุงพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเพื่อวิเคราะห์สถานภาพปัจจุบัน
ของพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยเน้นประเด็นความพร้อมของพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรในการพัฒนาให้เป็นแหล่ง
ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ท่ีมีคณุ ภาพ เพิม่ มูลค่าสูงขึ้นและให้มีรายได้จากนักท่องเท่ียว
เพ่ิมเป็น 2 เท่าตัวในระยะเวลา 5 ปีเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC: ASEAN Economic Community) ในการเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการท่องเที่ยวและบริการตามยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พุทธศักราช
2558–2560 เน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวและการบริการให้มีคุณภาพดีเทียบเท่ามาตรฐานสากลและเชื่อมโยงกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พุทธศักราช 2560–2564) ท่ีปรึกษาได้ทบทวนข้อมูลพ้ืนฐานต่างๆ ที่
เก่ียวข้องกับพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบในรัศมีไม่เกิน 5 กิโลเมตรเพื่อวิเคราะห์สถานภาพปัจจุบันด้าน
ต่างๆ เพื่อใช้ในงานสํารวจและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยาน
เมืองเก่าพจิ ติ ร” จังหวัดพิจติ ร

2.2 สถานภาพทว่ั ไปของพ้นื ที่อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร

2.2.1 สภาพภมู ปิ ระเทศโดยทวั่ ไป

พื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นที่โดยรอบตั้งอยู่ในอําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร
โดยทางรถยนต์ตามทางหลวงหมายเลข 117 เส้นทางผ่านพ้ืนที่อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เข้าสู่แยกอําเภอสามง่าม
จังหวัดพจิ ติ ร และโดยรถไฟระยะทางไม่เกิน 350 กโิ ลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่เขตการบริหารการปกครอง 2 พืน้ ที่ ไดแ้ ก่

1) องค์การบริหารส่วนตําบลเมืองเก่า ต้ังอยู่ริมฝั่งแม่น้ําพิจิตรทั้งสองด้าน (หรือแม่น้ําน่านเก่า) พื้นที่ตําบล
เมืองเก่าเดิมเป็นท่ีตั้งเมืองพิจิตรเก่าและเป็นเมืองลูกหลวงสมัยสุโขทัย ต่อมากระแสน้ําเปล่ียนทางเดิน
กลุ่มประชาชนจึงอพยพโยกย้ายถิ่นฐานจากแม่นํ้าพิจิตรเก่าไปต้ังถิ่นฐานบริเวณแม่น้ําน่านในปัจจุบัน
และโยกย้ายเมืองไปต้ังอยู่ท่ีตําบลท่าหลวงหรือตําบลในเมือง ซ่ึงเป็นเขตเทศบาลเมืองพิจิตรในปัจจุบัน
จึงได้ต้ังช่ือเป็นตําบลเมืองเก่า ต่อมายกฐานะจากสภาตําบลเป็นองค์การบริหารส่วนตําบลตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 19 มกราคม 2539 มีพื้นที่รวม 53 ตร.กม. หรือ 33,125 ไร่ ครอบคลมุ พ้ืนที่
ตําบลเมืองเก่าทั้งตําบล และสถานภาพปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองเป็น 9 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 1
บา้ นเมืองเกา่ หมู่ที่ 2 บา้ นท่าข่อย หมทู่ ี่ 3 บ้านเมืองเกา่ หมทู่ ี่ 4 บ้านวัดขนุน หมู่ท่ี 5 บ้านท่าโพธิ์ หมู่ท่ี
6 บา้ นวงั จนั ทร์ หม่ทู ่ี 7 บ้านไร่ หม่ทู ่ี 8 บ้านเมืองเกา่ และหมู่ท่ี 9 บา้ นท่าโพธ์ิ

2) องค์การบริหารส่วนตําบลโรงช้าง ต้ังอยู่ริมฝั่งแม่นํ้าพิจิตรทั้งสองฝั่ง (หรือแม่น้ําน่านเก่า) ได้รับการยก
ฐานะจากสภาตาํ บลเป็นองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลโรงชา้ งตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี 25
ธันวาคม 2539 มีพื้นท่ีรวม 50 ตร.กม. (31,250 ไร่) ครอบคลุมพ้ืนท่ีตําบลโรงช้างท้ังตําบล และ
สถานภาพปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองเป็น 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมทู่ ี่ 1 บ้านวังทับยา หมู่ที่ 2 บ้านโรงช้าง

จงั หวดั พิจิตร 2-1 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจิตร สถานภาพท่วั ไปของพนื้ ทีอ่ ุทยานเมืองเก่าพิจติ รและพน้ื ทีโ่ ดยรอบ

หมู่ที่ 3 บ้านหัวเมือง หมู่ท่ี 4 บ้านท่าฉนวน หมู่ที่ 5 บ้านคลองโพธ์ิ หมู่ท่ี 6 บ้านโรงช้าง และหมู่ที่ 7
บา้ นวงั ทองดี

ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปของพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนที่โดยรอบ (ดูรูปที่ 2.2–1) เป็นที่ราบลุ่ม
แม่น้ํา (Alluvial Plain) และที่ราบนํ้าท่วมถึง (Flood Plain) อยู่สูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง +37.95 เมตร (ม.ร.ท.ก.)
จงึ เอ้อื อาํ นวยต่อการเพาะปลกู พืชหลากหลายชนดิ โดยเฉพาะการปลูกข้าวนาป/ี ข้าวนาปรงั พชื ผักสวนครัว ไม้ยืนตน้ /ไม้ผล
มีแม่น้ําน่านไหลผ่านจากทิศเหนือสู่ทิศใต้ พื้นท่ีทางฝั่งตะวันตกของแม่นํ้าน่านมีลักษณะพ้ืนท่ีค่อนข้างราบเรียบและพื้นที่
ค่อยๆ สูงขึ้นจากฝั่งแม่น้ําลาดชันขึ้นไปทางทิศตะวันออก และมีแม่น้ําพิจิตร (แม่นํ้าน่านสายเก่า) ไหลพาดผ่านกลางพ้ืนท่ี
เมืองเกา่ พิจติ ร ลักษณะแม่นาํ้ พจิ ิตรมีสภาพค่อนข้างคดเคย้ี วทาํ ให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่แม่น้ําพิจิตรลัดทางเดินใหม่
ส่วนแมน่ ํา้ พิจติ รเดิมท่คี ดเคีย้ วกลายเปน็ ทะเลสาบรปู แอกวัว (Oxbow Lake) ปรากฏอย่ทู ่ัวไปตลอดแนวแมน่ ํา้ พจิ ิตรเดิม

2.2.2 สภาพภูมิอากาศ

พื้นที่เมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบต้ังอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย อยู่ในเขตร้อนชื้นโซนมรสุม
(ดูรูปท่ี 2.2-2) และขึ้นกับอิทธิพลของลมมรสุมท่ีพัดประจําฤดูกาล 2 ชนิด ได้แก่ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดพา
มวลอากาศเย็นและแห้งจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าปกคลุมประเทศไทยต้ังแต่ช่วงกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือน
กุมภาพันธ์เป็นช่วงฤดูหนาวของประเทศไทยจึงมีสภาพอากาศหนาวเย็นและแห้งทั่วไป ส่วนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะพัด
เอาความชุ่มชื้นและไอน้ําจากทะเลฝั่งอันดามันเข้าปกคลุมประเทศไทยจะเป็นช่วงฤดูฝนต้ังแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึง
กลางเดือนตุลาคมสง่ ผลกระทบใหม้ ีปรมิ าณฝนตกหนักชว่ งเดือนพฤษภาคมและปริมาณฝนตกปานกลางช่วงเดือนมิถุนายน
ถึงเดือนสิงหาคม ส่วนเดอื นกันยายนถึงเดือนตุลาคมจะมีปริมาณฝนตกหนักอีกช่วงหนึ่งเน่ืองจากได้รับอิทธิพลของลมพายุ
ดเี ปรสชนั่ จากทะเลจีนใต้ สว่ นฤดแู ล้งเร่ิมต้ังแตก่ ลางเดือนกมุ ภาพนั ธ์ถึงกลางเดอื นพฤษภาคมและเป็นช่วงวา่ งของฤดูมรสมุ
จะมสี ภาพอากาศร้อนอบอ้าวโดยทั่วไปโดยเฉพาะเดือนเมษายน (อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 36.30 องศาเซลเซียส) จะเป็นเดือน
ที่มีสภาพอากาศร้อนอบอ้าวมากท่ีสุดในรอบปี และจากการศึกษาและวิเคราะห์สถิติข้อมูลสภาพภูมิอากาศในรอบ 30 ปี
(พ.ศ. 2528–2557) ของสถานีตรวจวัดอากาศเกษตร จังหวัดพิจิตร (48386) ของกรมอุตุนิยมวิทยา (พ.ศ. 2559) ท่ีตั้งอยู่
ใกล้เคียงพ้นื ทอ่ี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพืน้ ทโี่ ดยรอบได้ขอ้ สรปุ ว่า ค่าอุณหภูมิเฉล่ยี ต่ําสดุ –สูงสุดท้งั ปมี ีคา่ ระหวา่ ง 18.60–
36.30oซ (ค่าเฉลี่ย 27.60oซ) ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยทั้งปีมีค่าระหว่าง 47–96% (ค่าเฉลี่ย 78.60%) มีปริมาณเมฆปกคลุม
โดยเฉลี่ยรายปี 1.90–8.40 (ค่าเฉลี่ย 5.30) ความเร็วลมจะมีค่าตํ่าสุด–สูงสุดท้ังปีมีค่าระหว่าง 0.60–1.60 น๊อต (ค่าเฉล่ีย
1.10 น๊อต) และปริมาณฝนมีค่าเฉล่ีย 1,286.80 มม./ปี การผันแปรรายเดือนของตัวแปรสภาพภูมิอากาศที่สําคัญในพื้นที่
อุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพน้ื ท่ีโดยรอบดังแสดงในรปู ที่ 2.2–3 ดงั สรปุ ค่าเฉล่ียรายปีของตวั แปรภูมอิ ากาศท่ีสําคญั ไดด้ งั นี้

ตวั แปรภูมิอากาศทสี่ าํ คญั คา่ พสิ ัย มหาวทิ ยาลัยมหิดล
1. อุณหภูมิ (องศาเซลเซยี ส) 18.60–36.30
2. ความช้นื สมั พัทธ์ (เปอร์เซ็นต์) 47.0–96.0
3. เมฆปกคลุม (0–10) 1.90–8.40
4. ความเรว็ ลม (นอ๊ ต) 0.60–1.60
5. ปริมาณฝน (มม./ป)ี
1,286.80
ท่ีมา: กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา, 2559
2-2
จังหวัดพิจิตร

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจิตร สถานภาพทั่วไปของพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ รและพืน้ ท่โี ดยรอบ

จังหวัดพิจติ ร รูปที่ 2.2–1 สภาพภูมปิ ระเทศโดยรอบของพ้นื ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร มหาวิทยาลยั มหิดล

2-3

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร สถานภาพทั่วไปของพน้ื ท่ีอุทยานเมืองเกา่ พิจติ รและพืน้ ท่โี ดยรอบ

จงั หวดั พิจติ ร รูปที่ 2.2-2 สภาพภูมอิ ากาศในพื้นทอี่ ทุ ยานเมืองเก่าพิจติ รและพ้นื ที่โดยรอบ มหาวิทยาลัยมหดิ ล

2-4

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร สถานภาพทว่ั ไปของพน้ื ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและพื้นทโ่ี ดยรอบ

ความครืม้ เมฆ (1-10) ความเร็วลม (นอต)

9.0 1.8
8.0 1.6
7.0 1.4
6.0 1.2
5.0 1.0
4.0 0.8
3.0 0.6
2.0 0.4
1.0 0.2
0.0 0.0

ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ปรมิ าณการระเหยจากถาด (มม.) ปริมาณฝน (มม.)

160.0 350.0
140.0 300.0
120.0 250.0
100.0 200.0
80.0 150.0
60.0 100.0
40.0 50.0
20.0
0.0
- ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

จาํ นวนวันท่ีเกิด ปรมิ าณฝน (มม.)

35.0 350.0 ปรมิ าณฝนเฉลยี่
30.0 เมฆหมอก หมอก ลกู เหบ็ ฟา้ คะนอง พายฝุ น 300.0 ฝนสงู สุดใน 24 ชม.
25.0 250.0
20.0 200.0
15.0 150.0
10.0 100.0
5.0 50.0
0.0
0.0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

รูปท่ี 2.2–3 การกระจายรายเดอื นของตัวแปรภูมอิ ากาศเฉลี่ยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2528–2557)
ของสถานตี รวจวัดอากาศเกษตร จงั หวดั พจิ ติ ร (48386)

จังหวัดพิจิตร 2-5 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทั่วไปของพืน้ ทีอ่ ุทยานเมืองเกา่ พิจิตรและพื้นที่โดยรอบ

2.2.3 ระบบแหล่งน้าํ ผิวดิน

พ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบมีแม่น้ําน่าน ต้นกําเนิดจากเทือกเขาหลวงพระบางในจังหวัดน่าน
มีความยาวตลอดลํานํ้า 740 กม. นับเป็นลํานํ้าสายหลักของภาคเหนือและภาคกลาง ไหลผ่านกลางชุมชนเมืองพิจิตรจาก
ทศิ เหนือสู่ทศิ ใต้ โดยในอดตี แม่นํา้ น่านเปล่ยี นทางเดินใหม่แยกจากแม่นาํ้ น่านเดมิ ทีบ่ รเิ วณตาํ บลไผ่ขวาง อาํ เภอเมืองพิจิตร
กระแสนํ้าไหลแรงผ่านเขา้ คลองเรียงทีบ่ า้ นทา่ ฬอ่ ไปบรรจบคลองท่าหลวง คลองคนั ในเขตอาํ เภอเมืองพิจิตร และเลยไปถึง
คลองห้วยคต คลองบษุ บงเหนือ คลองบุษบงใต้ในเขตอาํ เภอบางมลู นากเกดิ เปน็ แมน่ ้าํ นา่ นสายใหม่ไหลบรรจบกับแม่น้ํายม
ทีต่ ําบลเกยไชย อําเภอชุมแสง จังหวดั นครสวรรค์แล้วไหลไปบรรจบกบั แม่น้ําปงิ บรเิ วณบ้านปากนา้ํ โพเปน็ แมน่ ้าํ เจ้าพระยา
สว่ นแมน่ ํา้ พิจิตร (หรอื แม่นํ้าน่านสายเก่า) ไหลผ่านกลางพ้นื ที่ชุมชนเมอื งเก่าพจิ ิตร เน่อื งจากแมน่ ้าํ พจิ ิตรมีลักษณะคดเคยี้ ว
ทาํ ให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาตทิ ี่แม่นํา้ พิจติ รลัดทางเดินใหม่และแนวแม่นํ้าพิจติ รเดมิ ทีค่ ดเคี้ยวกลายสภาพเป็นทะเลสาบ
รปู แอกววั (Oxbow Lake) ปรากฏอยู่ทัว่ ไปตลอดแนวแมน่ า้ํ พิจติ รเดิมและยงั มีแหลง่ นาํ้ ผิวดนิ ทมี่ ีลักษณะเปน็ หนองนาํ้ และ
บึงน้ําขนาดต่างๆ กระจัดกระจายอยู่ท่ัวไปในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นท่ีโดยรอบเป็นจํานวนมาก เช่น บึงสีไฟ
เปน็ แหลง่ น้ําขนาดใหญ่อยูด่ ้านทศิ ตะวนั ออก แต่เดิมบงึ สีไฟมพี นื้ ทป่ี ระมาณ 12,000 ไร่เศษมีขนาดใหญ่เป็นลําดับที่ 5 ของ
ประเทศไทย (https://th.wikipedia.org/wiki/บงึ สไี ฟ) มพี ืน้ ทีร่ องจากบึงบอระเพด็ (จังหวัดนครสวรรค์, พื้นท่ี 132,737 ไร่)
หนองหาร (จังหวัดสกลนคร, พ้ืนท่ี 77,000 ไร่) บึงละหาน (จังหวัดชัยภูมิ, พื้นที่ 18,181 ไร่) และกว๊านพะเยา (จังหวัด
พะเยา, พน้ื ท่ี 12,831 ไร)่ สถานภาพปจั จบุ นั ของบึงสไี ฟมสี ภาพตนื้ เขนิ เป็นสว่ นใหญ่ หลงเหลือพื้นท่ีที่มีน้ําขังตลอดปีเพียง
5,390 ไร่ และได้รับการข้ึนทะเบียนให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้ําที่มีความสําคัญระดับนานาชาติเนื่องจากเป็นแหล่งอาศัยและหากิน
ของพันธุ์นกนํ้าหายากหลายชนิด (เช่น นกกระสานวล เป็ดลาย นกเป็ดผีเล็ก ฯลฯ) และเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุปลานํ้าจืด
หลากหลายชนิดเช่นกนั (เช่น ปลาสรอ้ ยลกู กลว้ ย ปลาพรหมหวั เหม็น ฯลฯ)

2.2.4 ทรพั ยากรดนิ และคุณสมบตั ขิ องดิน

พิจารณาจากแผนท่ีกลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1:50,000 ของกรมพัฒนาที่ดิน (ระบบ GIS-2557) ในพื้นท่ีอุทยาน
เมืองเก่าพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบภายในรัศมี 5 กิโลเมตร (ดูรูปท่ี 2.2-4 ประกอบ) ได้ข้อสรุปว่า ลักษณะของกลุ่มชุดดินมี
ทั้งหมด 4 กลมุ่ ชดุ ดิน (กลุม่ ชุดดิน 4/7/33/33) เป็นทงั้ กลุ่มดนิ ต้นื และดนิ ลกึ ปะปนกนั กลมุ่ ชุดดินท่ีพบมีทั้งดินเหนียวหรือ
ดินรว่ น ดินเหนียวปนทรายหรอื ดินรว่ นปนทรายและดินทรายสลับกนั ดงั อธบิ ายไดด้ งั นี้

1) กลุ่มชุดดินที่ 4–ชุดดินบางมูลนาก (Ban) จัดเป็นดินลึกมากเกิดจากตะกอนนํ้าพาบริเวณท่ีราบนํ้าท่วม
สภาพพ้ืนที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0–1 % การระบายน้ําค่อนข้างเลว การไหลบ่า
ของนา้ํ บนผิวดินและซมึ ผา่ นได้ชา้ ลักษณะดินบนเปน็ ดินเหนียวหรอื ดนิ เหนยี วปนทรายแปง้ สนี ้ําตาลเข้ม
สนี ํ้าตาล สีนํา้ ตาลปนแดง และปฏกิ ริ ยิ าดนิ เปน็ กรดจดั มากถึงเป็นกรดจดั (pH 4.5–5.5) ดินล่างตอนบน
เป็นดินเหนียวสีน้ําตาลปนแดงและปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5–7.0) ดินล่างตอนล่าง
เป็นสีนํ้าตาลปนเทา สีเทาปนแดงหรือสีน้ําตาลปนเทาอ่อน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด
(pH 4.5–5.5) มีจุดประสีน้ําตาลแก่ สีแดงปนเหลืองหรือสีแดงตลอดช้ันดิน ข้อจํากัดการใช้ประโยชน์
อาจมนี ํา้ ทว่ มบา่ และแช่ขังระดบั สูงในฤดฝู นทําให้ข้าวเสียหาย การใช้ประโยชน์ให้หลีกเล่ียงการปลูกช่วง
กลางฤดูฝนที่มีฝนตกหนักมากในพื้นที่ชลประทานและไม่มีปัญหานํ้าท่วมบ่าหรือแช่ขังอาจปลูกพืชไร่
หรือพชื ผักจะต้องยกร่องและปรับสภาพดินให้รว่ นซุยและระบายนํา้ ดโี ดยการเพ่มิ อนิ ทรียวัตถุ

จงั หวัดพิจติ ร 2-6 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทว่ั ไปของพน้ื ท่อี ทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ รและพืน้ ท่โี ดยรอบ

จังหวัดพิจติ ร รูปที่ 2.2–4 แผนทก่ี ลุ่มชุดดนิ โดยรอบของพืน้ ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร มหาวิทยาลยั มหดิ ล

2-7

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทัว่ ไปของพ้นื ท่อี ุทยานเมืองเก่าพิจติ รและพ้ืนทโ่ี ดยรอบ

2) กลุ่มชุดดินท่ี 7–ชุดดินน่าน (Na) และชุดดินอุตรดิตถ์ (Utt) จัดเป็นดินลึกมากเกิดจากตะกอนน้ําพา
บริเวณส่วนตํ่าของสันดินริมนํ้า สภาพพ้ืนท่ีราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0–3% มีการ
ระบายน้ําดีปานกลางถึงค่อนข้างเลว การไหลบ่าของนํ้าบนผิวดินและซึมผ่านได้ช้า ลักษณะดินบนเป็น
ดินร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งสีเทาปนแดงหรือปนสีชมพู มีจุดประสีนํ้าตาลเข้ม
หรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกลาง (pH 5.0–7.0) ดินล่างเป็นดินเหนียว
ปนทรายแป้งถึงดินเหนียว สีเทาปนแดง มีจุดประสีนํ้าตาลแก่หรือสีนํ้าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดปานกลางถงึ เป็นด่างปานกลาง (pH 6.0–8.0) ขอ้ จํากัดการใชป้ ระโยชนด์ นิ ท่ใี ชเ้ พาะปลกู พชื มานาน
ใต้ชั้นไถพรวนจะแน่นทึบ รากชอนไชได้ยาก พ้ืนที่ท่ีดัดแปลงทํานามีน้ําแช่ขังในฤดูฝน ไม่เหมาะท่ีจะใช้
ปลูกพืชไร่หรือไม้ผล พื้นท่ีที่ไม่ได้ดัดแปลงทํานาจะมีดินล่างที่มีการระบายน้ําค่อนข้างเลว ทําให้รากพืช
อาจแช่ขังนํ้าเป็นเวลานานช่วงฤดูฝน การใช้ประโยชน์ให้ทําลายช้ันดานใต้ช้ันไถพรวนโดยการไถให้ลึก
กว่าปกติ ปรบั ปรงุ บาํ รงุ ดินโดยเพิม่ อนิ ทรียวตั ถแุ ละใช้ปุ๋ยอินทรียร์ ่วมกับปยุ๋ เคมเี พื่อเพิม่ ผลผลติ ให้สูงขนึ้

3) กลุ่มชุดดินท่ี 33/33B เป็นชุดดินตะพานหิน (Tph) จัดเป็นดินลึกมากเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสัน
ดินริมน้ํา สภาพพ้ืนที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชัน 1–3% มีการ
ระบายน้ําค่อนข้างเลว และการไหลบ่าของนํ้าบนผิวดินช้า การซึมผ่านได้ของน้ําปานกลาง ลักษณะดิน
เป็นดนิ ลกึ มาก ดินบนเป็นดินรว่ นหรือดินร่วนปนทรายแป้งสีนํา้ ตาลถึงสีน้ําตาลเข้ม สีนํ้าตาลปนแดงเข้ม
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0–7.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้งถึง
ดินรว่ นเหนยี วปนทรายแป้ง ดินล่างตอนล่างเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง สีนํ้าตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0–7.0) ข้อจํากัดการใช้ประโยชน์ดินท่ีใช้ปลูกพืชไร่มานาน ใต้ชั้นไถ
พรวนจะแน่นทึบ รากชอนไชได้ยาก การใช้ประโยชน์ให้ทําลายช้ันดานใต้ชั้นไถพรวนโดยไถให้ลึกกว่า
ปกติ ปรบั ปรุงบํารุงดินอยู่เสมอโดยเพิม่ อินทรียวัตถุและใช้ปยุ๋ อินทรีย์ร่วมกับปุย๋ เคมีเพ่อื เพมิ่ ผลผลิต

2.2.5 สภาพธรณวี ิทยาและแผ่นดินไหว

การรวบรวมและวิเคราะห์จากแผนท่ีธรณีวิทยาจังหวัดพิจิตร มาตราส่วน 1:100,000 ของกรมทรัพยากรธรณี
(พ.ศ. 2550) และขอ้ มูลเอกสารวชิ าการเกยี่ วกับแผน่ ดินไหวในประเทศไทย (เชน่ ขอ้ มลู แผน่ ดนิ ไหว ของกรมอุตุนิยมวิทยา
พ.ศ. 2559) และบันทึกข้อมูลสถิติแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในสภาพอดีตที่ผ่านมาระหว่าง พ.ศ. 2510-2559 ของสํานักเฝ้า
ระวงั แผ่นดนิ ไหว กรมอตุ นุ ิยมวิทยา (พ.ศ. 2560) ดงั อธบิ ายไดด้ งั นี้

1) สภาพธรณีวทิ ยา เนอ่ื งจากพื้นท่ีอทุ ยานเมืองเก่าพิจิตรและพน้ื ท่ีโดยรอบภายในรศั มี 5 กิโลเมตร ต้งั อยู่ที่
ราบลุ่มนํ้าน่าน–ยม จึงเกิดจากการทับถมของตะกอนดังรูปท่ี 2.2-5 และการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
แผนทธี่ รณวี ทิ ยาจังหวัดพิจติ ร มาตราสว่ น 1:100,000 (พ.ศ. 2550) ได้ข้อสรุปว่าสภาพธรณีวิทยาอยู่ใน
ยคุ ควอเทอร์นารี (Q: Quaternary sediment) ส่วนใหญเ่ ป็นตะกอนนํ้าพา (Qa) มีอายุการตกสะสมตัว
ระหว่าง 0.01-1.60 ล้านปีท่ีผ่านมา ประกอบด้วย ตะกอนทรายปนกรวดปนดินเหนียวและทรายแป้ง
สะสมตวั ภายใตส้ ภาพแวดล้อมของตะกอนนา้ํ พา (Qa) จํานวน 3 ชนิด ไดแ้ ก่

จงั หวดั พิจิตร 2-8 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจิตร สถานภาพทัว่ ไปของพ้นื ทอ่ี ทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ รและพืน้ ท่โี ดยรอบ

จังหวัดพิจติ ร รปู ที่ 2.2–5 สภาพธรณวี ทิ ยาโดยรอบของพน้ื ทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร มหาวิทยาลยั มหดิ ล

2-9

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทว่ั ไปของพืน้ ที่อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและพนื้ ทโ่ี ดยรอบ

1.1 ตะกอนท่ีราบนํ้าท่วมถึง (Qff: flood plain deposits) พบตามแนวสองฝ่ังแม่นํ้าน่าน มีลักษณะ
เป็นดินเหนียว ดนิ เหนียวปนทราย เนื้อละเอยี ดและเนอื้ เหนยี ว

1.2 ตะกอนร่องน้ํา (Qfc: channel deposits) พบตามแนวร่องของแม่นํ้าน่านและแม่นํ้าพิจิตร เป็น
ทรายร่องน้าํ สันดอนทราย และคนั ดินธรรมชาติ

1.3 ตะกอนที่ลุ่มนํ้าขัง (Qfw: swamp deposits) พบตามหนองน้ําและบึงน้ําขนาดต่างๆ กระจัด
กระจายอยทู่ ่วั ไปในพนื้ ที่และยังเป็นพ้นื ที่นาํ้ ขงั หรอื พื้นทีช่ มุ่ น้ํา (บงึ สไี ฟ) มีลกั ษณะเป็นดินเหนียว
สดี าํ เนอ้ื รว่ น มีการสะสมตัวในทะเลสาบรูปแอกววั (Oxbow Lake) หรือพื้นทช่ี มุ่ น้ํา

2) บันทึกข้อมูลสถิติแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในอดีตที่ผ่านมาในคาบ 50 ปี (พ.ศ. 2510-2559) ของสํานักเฝ้า
ระวังแผน่ ดนิ ไหว กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ได้ข้อสรุปว่า จงั หวัดพิจิตร (ครอบคลุมพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร)
จะไม่เป็นศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว แต่มนุษย์อาจรู้สึกส่ันสะเทือน/ส่ันไหวบ้างเมื่อเกิดศูนย์กลาง
แผ่นดินไหวในพื้นท่ีจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดเพชรบูรณ์ เนื่องจากการศึกษาและ
วเิ คราะหพ์ ืน้ ทเ่ี ส่ยี งภัยต่อการเกดิ แผ่นดนิ ไหวและแนวรอยเล่ือนมีพลังท่ีสําคัญและทําให้เกิดแผ่นดินไหว
จากแผนท่ีแสดงรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยของกรมทรัพยากรธรณี (ตุลาคม, 2555) และแผนที่
แสดงบรเิ วณเสี่ยงภัยแผน่ ดินไหวของประเทศไทย (ฉบบั ปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 2 พ.ศ. 2548) พบวา่ สภาพธรณี-
วิทยาโครงสร้างของจังหวัดพิจิตรจะไม่มีกลุ่มรอยเลื่อนพาดผ่าน แต่พ้ืนท่ีด้านทิศเหนืออยู่ใกล้เคียงกับ
รอยเล่ือนอุตรดิตถ์และด้านทิศตะวันออกอยู่ใกล้กับรอยเลื่อนเพชรบูรณ์โดยรอยเล่ือนท้ัง 2 รอยเล่ือน
จัดเปน็ รอยเล่ือนท่ีมีพลัง (Active Fault) (ดงั รปู ท่ี 2.2-6) และจัดอยู่ในพื้นที่เส่ียงภัยเขต 1 (สีเหลือง) มี
ระดับความรุนแรงน้อยกว่า III–V เมอร์คัลลี หรือผู้อาศัยอยู่บนอาคารสูงอาจรู้สึกว่ามีแผ่นดินไหวและมี
ความเสยี่ งน้อยแตอ่ าจมคี วามเสยี หายบา้ ง (รูปที่ 2.2-7) แต่หากส่ิงก่อสร้างต่างๆ ที่ได้รับการออกแบบดี
หรือแหล่งโบราณสถานหรือสถานท่ีสําคัญเชิงประวัติศาสตร์ท่ีมีอายุเก่าแก่ท่ียังไม่ได้รับการบูรณะและ
ปรบั ปรงุ จะไมไ่ ดร้ บั ความเสียหายหรอื ได้รบั ความเสยี หายเลก็ น้อย

2.3 การต้งั ถ่นิ ฐานและการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ในปจั จุบัน

2.3.1 การพฒั นาการทางประวัติศาสตร์ของการตัง้ ถิน่ ฐาน

การพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บริเวณพื้นท่ีราบลุ่มและพ้ืนท่ีรกร้างว่างเปล่าระหว่างแม่น้ํายมและแม่น้ําน่าน
ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง (ครอบคลุมพ้ืนที่จังหวัดพิจิตร) สันนิษฐานว่าจะเริ่มมีการก่อต้ังเป็นแหล่งชุมชนและพบ
หลกั ฐานการอยูอ่ าศัยของมนุษย์มาต้งั แต่ยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตร์ โดยพจิ ารณาจากฐานข้อมูลชุมชนโบราณ (ทิวา ศุภจรรยา,
2558) พบว่าพ้ืนท่ีเขตเมืองพิจิตรตามสถานภาพปัจจุบันมีหลักฐานร่องรอยกําแพงเมือง คูเมืองของเมืองเก่าพิจิตรและ
เมอื งโบราณจํานวน 1 แหง่ (อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร) โดยส่วนใหญพ่ บร่องรอยกาํ แพงเมอื งและคเู มืองในบรเิ วณทิศตะวนั ตก
เฉยี งใต้ของชุมชนเมืองพิจติ ร

จังหวดั พิจิตร 2-10 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจติ ร สถานภาพท่วั ไปของพื้นที่อุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพน้ื ท่ีโดยรอบ

รูปที่ 2.2-6 กลมุ่ รอยเล่ือนมพี ลงั พาดผา่ นในประเทศไทย (ครอบคลุมพ้นื ทอี่ ทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร)

จงั หวดั พิจิตร 2-11 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร สถานภาพทวั่ ไปของพ้นื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ

รูปท่ี 2.2-7 เขตเสีย่ งภยั ตอ่ การเกดิ แผ่นดินไหวในประเทศไทย (ครอบคลุมพนื้ ที่อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร)

จังหวัดพิจติ ร 2-12 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร สถานภาพทวั่ ไปของพืน้ ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตรและพนื้ ท่ีโดยรอบ

ขอ้ สันนษิ ฐานสําคญั ว่า ชมุ ชนเมืองเกา่ พิจิตรจะกลายสภาพเป็นสถานีการค้าหลักช่วงราว พ.ศ. 1900 เน่ืองจาก
ตําแหน่งที่ตั้งเมืองเก่าพิจิตรอยู่บนเส้นทางคมนาคมสําคัญ หากมีการเดินทางออกจากเมืองพิจิตรขึ้นไปทางด้านทิศเหนือ
สามารถไปยังเมืองพิษณุโลก (หรือสรลวงสองแควรวมกับเมืองชัยนาท, จดหมายเหตุกรุงศรี, 2557) เมืองสุโขทัย เมือง
ศรีสัชนาลัย และหัวเมืองในอาณาจักรล้านนาได้อย่างสะดวก แต่หากเดินทางไปยังด้านทิศตะวันตกสามารถเดินทางไปยัง
เมอื งกาํ แพงเพชร เมอื งเชยี งใหม่ เมืองแม่สอด เมืองหงสาวดีและทะเลอันดามันได้ หากเดินทางลงไปยังด้านทิศใต้สามารถ
ไปยังกรุงศรีอยุธยา เมืองสุพรรณบุรีและออกสู่ทะเลอ่าวไทยได้ ตามหลักฐานปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรเก่าที่สุดและ
กล่าวถึงเมืองเก่าพิจิตร คือ พระไอยการ ตําแหน่งนายทหารหัวเมืองที่ตราข้ึนในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่ง
กรุงศรีอยุธยาว่า “ออกญาเทพาธิบดีศรีณรงคฤาไชยอภัยพิรียภาหะ เมืองพิจิตร เมืองตรี นา 5000 ขึ้นประแดงเสนาฏชวา”
(สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2549) รวมท้ังตามพระราชพงศาวดารเหนือที่เขียนข้ึนในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้กล่าวถึงการ
สรา้ งเมอื งพจิ ติ รไว้วา่ “พระยาโคตมเทวราช มีพระราชบุตรองค์หน่ึงชื่อเจ้ากาญจนกมุ าร เป็นพระยาแทนพระบิดา นานมา
จึงช่อื เจ้าไวยยักษา คร้นั ใหญม่ าช่ือเจ้าโคตรบองไปสร้างเมอื งพจิ ิตรจงึ มชี อ่ื พระยาโคตรบอง เจ้าไวยยักษาไปสร้างเมืองพิชัย
จงึ ได้ชื่อพระยามอื เหล็ก” (สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ, 2549) ดังนัน้ เมืองเกา่ พิจิตรนา่ จะมขี อ้ สนั นิษฐานว่ามีการเจรญิ เตบิ โตขึ้นในช่วง
ท่ีมีการรวมรัฐสุโขทัยเข้ากับรัฐอยุธยาในแผ่นดินของสมเด็จพระนครินทราชาธิราชหรือเจ้านครอินทร์ (พ.ศ. 1952–1967)
ซ่งึ ไดม้ ีพฒั นาการเปน็ เมอื งท่ีมีความม่นั คงมากขึน้ ของราชอาณาจักรสยามในขณะนนั้

1) เมืองเก่าพิจิตรในยุคสมัยอยุธยา ภายหลังจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนา
กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานเี มอื่ ปี พ.ศ. 1893 ขณะน้นั เมืองเก่าพิจิตรมฐี านะเปน็ หวั เมืองชน้ั ตรี จนกระทั่ง
ราวปี พ.ศ. 2000 ได้เกิดความขัดแย้งระหว่างกรุงศรีอยุธยากับอาณาจักรล้านนา โดยพระเจ้าติโลกราช
ได้สง่ กองทพั ลงมายึดเมืองสุโขทยั และเมืองศรีสัชนาลัย รวมทั้งเตรียมท่ีจะเข้ามายึดเมืองพิษณุโลกทําให้
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรงุ ศรีอยธุ ยาต้องเสดจ็ ขึ้นไปประทบั ในเมืองพิษณุโลกช่วง พ.ศ. 2006–
2031 ส่งผลให้เมืองเก่าพิจิตรกลายสภาพเป็นสนามรบบ่อยคร้ัง แต่หลังจากสงครามสงบเมืองเก่าพิจิตร
ได้เจริญเติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว ต่อมาใน พ.ศ. 2200 เมืองพิจิตรได้มีส่วนสําคัญเก่ียวข้องกับราชสํานัก
กรุงศรีอยุธยา เม่ือสมเด็จพระเพทราชาได้ใช้เมืองเหนือ ได้แก่ เมืองพิษณุโลกและเมืองพิจิตรเป็นฐาน
กาํ ลังสาํ คญั ในการยึดอาํ นาจจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และพระสนมซ่งึ สมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้
พระราชทานให้เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระเพทราชายังเป็นชาวเมืองพิจิตรและทรงมีพระประสูติกาล
พระราชโอรส ต่อมาขึน้ ครองราชยเ์ ปน็ สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 8 (พระเจ้าเสือ) แห่งกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.
2245–2251) ทําให้เมืองเก่าพิจิตรมีฐานะและความสําคัญมากข้ึน ท้ังนี้สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 ได้
โปรดฯ ใหส้ ร้างวดั โพธปิ์ ระทบั ชา้ งข้นึ เพื่ออทุ ิศถวายเปน็ อนสุ รณ์แห่งสถานทีป่ ระสูตขิ องพระองค์เองและ
เมืองเก่าพิจิตรยังเป็นมาตุภูมิของพระมหาราชครูซึ่งเป็นปราชญ์ในเชิงกวีในรัชสมัยของสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช โดยท่านเป็นผู้แตง่ หนังสอื จินดามณซี ่ึงเป็นแบบเรยี นเล่มแรกของประเทศไทย

2) เมืองเก่าพิจิตรในยุคสมัยกรุงธนบุรี ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ 2 เม่ือ พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราชได้สถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวง และมีการปราบปรามหัวเมืองต่างๆ โดยเฉพาะ
พระยาพษิ ณุโลกขณะนัน้ มีฐานกาํ ลังเป็นเมืองพิษณุโลกและเมืองพจิ ิตร โดยทรงรวบรวมเมืองพจิ ิตรไว้ใน
ราชอาณาจักรได้ในปี พ.ศ. 2313 ต่อมาเกดิ ศึกอะแซหวนุ่ กีเ้ ข้ามายดึ ครองหัวเมอื งเหนอื ในปี พ.ศ. 2318
สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราชจึงทรงใช้เมืองพิจิตรและเมืองพิษณุโลกเป็นท่ีต้ังกองทัพกรุงธนบุรีเพ่ือรับ
ศกึ อะแซหว่นุ กี้

จงั หวัดพิจิตร 2-13 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร สถานภาพทว่ั ไปของพื้นทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพ้ืนทโี่ ดยรอบ

3) เมืองเกา่ พิจิตรในยคุ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ภายหลงั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้
ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ได้เกิดสงครามเก้าทัพข้ึนในปี พ.ศ. 2328 กองทัพพม่ายกเข้ามาทางด้าน
ทิศเหนือได้ปะทะกับกองทัพไทย ณ ปากพิงเหนือเมืองเก่าพิจิตร โดยกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขได้
โปรดให้เจา้ พระยามหาเสนารกั ษาเมืองพิจิตรไว้อยา่ งม่ันคง ภายหลังทพั หลวงได้ยกขน้ึ มาหนุนจงึ ไดเ้ ขา้ ตี
กองทัพพม่าแตกพ่ายไปโดยกองทัพพม่าไม่มีโอกาสได้เข้าตีเมืองพิจิตร ต่อมาปี พ.ศ. 2424–2427
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว (รชั กาลท่ี 5) โปรดฯ ใหย้ า้ ยเมืองพิจิตรไปสร้างสถานที่ใหม่ที่
บ้านปากทาง ตําบลปากทาง สืบเนื่องจากแม่น้ําน่านสายเก่าได้เกิดต้ืนเขินมากข้ึน โดยโปรดฯ ให้หลวง
ธรเณนทร์ (แจ่ม) เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และได้ทรงจัดต้ังมณฑลพิษณุโลกขึ้นในปี พ.ศ.
2435 โดยเมืองพิจิตรข้ึนอยู่ในมณฑลพิษณุโลก ทําให้เมืองเก่าพิจิตรจึงมีความสําคัญมากข้ึนเป็นลําดับ
และปี พ.ศ. 2451 ได้มกี ารสรา้ งทางรถไฟสายเหนือจากปากน้ําโพผา่ นเมอื งพจิ ติ รไปยังเมอื งพษิ ณโุ ลก

2.3.2 รปู แบบการตั้งถ่นิ ฐานในปจั จุบัน

ชุมชนเมืองพิจิตรเก่าด้ังเดิมไม่ได้ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพิจิตรดังท่ีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลง
โยกย้ายที่ต้ังเมืองหลายครั้ง ที่ตั้งเดิมที่มีหลักฐานปรากฏชัดอยู่ในเขตท้องท่ีอําเภอโพทะเลอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ
เมืองพิจิตรปัจจุบันไม่เกิน 90 กิโลเมตร แล้วอพยพโยกย้ายข้ึนมาตามแม่น้ําน่านสายเก่ามุ่งสู่ทางทิศเหนือ มีการก่อสร้าง
บ้านเมืองข้ึนเป็นปึกแผ่นแน่นหนาท่ีบ้านสระหลวงอยู่ในเขตตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร ห่างจากเมืองพิจิตรปัจจุบัน
ไปทางทศิ ตะวนั ตกประมาณ 7 กโิ ลเมตร ต่อมาแม่นาํ้ น่านสายเก่าเปลีย่ นเส้นทางเดินเป็นสาเหตุให้ลําน้ําต้ืนเขินจึงต้องย้าย
เมืองมาต้งั ในทแี่ ห่งใหม่ที่ตาํ บลท่าหลวง อําเภอเมืองพจิ ิตรซ่งึ เปน็ ท่ีตั้งชุมชนเมืองเกา่ พจิ ติ รมาจนถึงปจั จบุ ัน

หากวิเคราะห์บทบาทของชุมชนเมืองพิจิตรและพ้ืนท่ีโดยรอบพบว่าชุมชนเมืองพิจิตรมีบทบาทสําคัญและเป็น
ศนู ยก์ ลางซ้อื ขายผลผลติ การเกษตรภายในจังหวดั พิจติ รและพ้ืนที่ใกล้เคียง เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต
การเกษตร เป็นแหล่งผลติ ข้าวสําคัญและยังเปน็ ศูนยก์ ลางคมนาคมและขนสง่ โดยเฉพาะขนส่งสินค้าการเกษตรเชื่อมต่อกับ
จังหวัดใกล้เคียงในเขตภาคเหนือโดยการขนส่งทางรถไฟสายเหนือและทางรถยนต์และเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวระดับ
ท้องถิ่นท่ีมีความสําคัญด้านการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์และขนบธรรมเนียมประเพณี/วัฒนธรรมท่ีมีความหลากหลาย
จะเห็นได้ว่า บทบาทของชุมชนเมืองพิจิตรประกอบกับความเหมาะสมของตําแหน่งที่ต้ังและสภาพภูมิประเทศที่เป็นพ้ืนที่
ราบลุ่มนํา้ ท่วมถึงและมแี มน่ ้าํ น่านไหลผ่านจากทศิ เหนือลงสู่ทิศใต้แบ่งชุมชนเมืองพจิ ิตรเป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่ พื้นทีฝ่ ัง่ ตะวนั ตก
และพื้นที่ฝ่ังตะวันออกของแม่น้ําน่านส่งผลกระทบให้รูปแบบการต้ังถ่ินฐานของประชากรในพื้นที่ชุมชนโดยเฉพาะชุมชน
เมืองพิจิตรส่วนใหญ่ต้ังถ่ินฐานทางฝ่ังตะวันตกของแม่นํ้าน่าน มีการกระจุกตัวหนาแน่นตามเส้นทางคมนาคมสายหลักที่
ขนานกบั แม่น้าํ น่าน เชน่ ถนนบุษบา ถนนศรีมาลาและถนนสระหลวงเปน็ หลัก จึงเปน็ ศูนยก์ ลางการค้าและบริการท่ีสําคัญ
ของชุมชนเมืองพจิ ิตร ส่วนพน้ื ท่ีฝัง่ ตะวนั ออกของแมน่ ํ้านา่ นมีสภาพทัว่ ไปเปน็ ชุมชนเมอื งก่ึงชนบทมีการเจริญเติบโตช้ากว่า
พืน้ ทฝ่ี ั่งตะวันตกเนอื่ งมาจากมีแม่นํ้าน่านและทางรถไฟสายเหนือเป็นอุปสรรคสําคัญในการขยายตวั ของชุมชนเมอื ง

จงั หวัดพิจติ ร 2-14 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจติ ร สถานภาพท่ัวไปของพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพื้นทโ่ี ดยรอบ

2.3.3 รปู แบบการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ปจั จบุ นั

การพิจารณาตรวจสอบการใช้ประโยชน์ท่ีดินตามแผนผังกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จําแนกประเภท
ท้ายกฎกระทรวงให้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2560 และแผนผังกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามท่ีได้จําแนก
ประเภทท้ายกฎกระทรวงให้บังคับผังเมืองรวมเมืองพิจิตร พ.ศ. 2549 (ปัจจุบันยังบังคับใช้อยู่) และการสํารวจภาคสนาม
เพิ่มเตมิ ในช่วงเดอื นกรกฎาคม–สงิ หาคม 2560 (ดรู ปู ที่ 2.3–1) ได้ขอ้ สรุปวา่ พนื้ ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพ้ืนที่โดยรอบ
ภายในรัศมี 5 กิโลเมตรตง้ั อย่บู รเิ วณเขตสีชมพู สเี ขยี ว และเขตสขี าวมกี รอบและเสน้ ทแยงสเี ขียว (ดรู ูปที่ 2.3-2) ดังสรุปได้
ดงั น้ี

1) การใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภทเขตสีชมพู (ที่ดินประเภทชุมชน) ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการอยู่อาศัย
พาณิชยกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
สาํ หรบั การใช้ประโยชน์ที่ดนิ เพือ่ กิจการอนื่ ให้ดําเนนิ การหรือประกอบกิจการได้ในอาคารท่ีไม่ใช่อาคารสูง
หรอื อาคารขนาดใหญ่ ได้แก่
1.1 การใช้ประโยชน์ทีด่ ินเพือ่ การอยูอ่ าศัย พื้นทโ่ี ดยสว่ นใหญ่ตั้งถ่ินฐานกระจายตัวตามพ้ืนที่ระหว่าง
ย่านพาณิชยกรรมและขยายตัวลงมาทางทิศใต้ของเมืองบริเวณถนนสระหลวงและถนนบึงสีไฟ
และทางด้านทิศตะวันตกบริเวณทางหลวงหมายเลข 1068 (สายพิจิตร–วังจิก) และทางหลวง
หมายเลข 115 (สายพิจิตร–สามง่าม) ลักษณะท่ีอยู่อาศัยในเขตชุมชนเมืองพิจิตรส่วนใหญ่เป็น
ตึกแถวหรืออาคารพาณิชย์ขนาด 2-4 ช้ันมีการใช้งานผสมกันระหว่างการประกอบธุรกิจการค้า
และการอยู่อาศัย ส่วนใหญ่ตั้งกระจุกตัวและกระจายอยู่ตามถนนสายหลักและสายรองของเมือง
เชน่ ถนนบุษบา ถนนศรมี าลา ถนนจันทร์สว่าง ถนนประชาอุทิศ ถนนพิจิตร ถนนนอกทางรถไฟ
ถนนมหาราษฎรพ์ ฒั นา และถนนราชวิถี ฯลฯ
1.2 การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการพาณิชยกรรม พ้ืนท่ีโดยส่วนใหญ่เป็นย่านศูนย์กลางการค้าและ
บริการที่สําคัญในเขตชุมชนเมืองพิจิตรตั้งกระจุกตัวและกระจายอยู่ตามถนนสายหลักของเมือง
ได้แก่ ถนนศรมี าลา ถนนบษุ บา ถนนนอกทางรถไฟ ถนนสระหลวง ถนนประชาอุทิศ ถนนพิจิตร
และถนนมหาราษฎร์พัฒนา ซึ่งเป็นแหล่งศูนย์รวมร้านค้า ตลาดสดเทศบาล อาคารพาณิชย์และ
ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า 6 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การค้าเทสโก้ โลตัส (สาขาพิจิตร) ศูนย์การค้า
ท็อปส์ พลาซ่า ห้างสรรพสินค้าแฮปปี้พลาซ่า ห้างสรรพสินค้าชัยพงษ์พลาซ่า ตลาดพิจิตรมอลล์
และศนู ย์การค้าแมค็ โคร
1.3 การใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือสถาบันราชการ และการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ได้แก่ ศูนย์
ราชการเดิมเป็นทตี่ ัง้ ศาลากลางจงั หวัดพิจติ รหลังเก่า ปัจจุบันมีการย้ายจากถนนบุษบามาต้ังเป็น
ศูนย์ราชการจังหวัดพิจิตรแห่งใหม่ บริเวณทางหลวงหมายเลข 113 (สายพิจิตร–ตะพานหิน) มี
สถานท่ีราชการเกาะกลุ่มบริเวณถนนบุษบาตัดกับถนนบึงสีไฟ ถนนสระหลวงตัดกับถนนบึงสีไฟ
ส่วนศาลากลางจังหวัดพิจิตรหลังเก่าได้ปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์เมืองพิจิตรจัดแสดงข้อมูลสําคัญ
ทางประวัติศาสตร์ เรอ่ื งราวความเปน็ มา ภาษา ชาตพิ ันธ์ุ วรรณกรรม และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินของ
จงั หวดั พิจติ รเพ่ือเปน็ แหล่งเรยี นรู้ของทอ้ งถ่นิ และแหล่งศึกษาค้นคว้าเร่ืองราวจังหวัดพิจิตร ฯลฯ
อย่ใู นความดูแลรบั ผดิ ชอบของสาํ นักงานวัฒนธรรมจงั หวดั พิจติ ร

จังหวดั พิจิตร 2-15 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร สถานภาพทัว่ ไปของพ้นื ทอี่ ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตรและพื้นทโ่ี ดยรอบ

รปู ท่ี 2.3-1 รปู แบบการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในพนื้ ทเ่ี มอื งเก่าพิจิตรและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ (พ.ศ. 2560)

จังหวัดพิจิตร 2-16 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร สถานภาพท่ัวไปของพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รและพนื้ ที่โดยรอบ

แผนผังกาํ หนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินตามที่ไดจ้ ําแนกประเภททา้ ยกฎกระทรวง
ให้บงั คบั ผังเมอื งรวมจงั หวดั พจิ ิตร
พ.ศ. 2560

1. เขตสีชมพู ทด่ี ินประเภทชมุ ชน
2. เขตสีม่วง ทีด่ นิ ประเภทอตุ สาหกรรมและคลังสินคา้
3. เขตสเี ขียว ท่ีดนิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
4. เขตสขี าวมกี รอบและเส้นทแยงสีเขียว ทดี่ นิ ประเภทอนรุ กั ษช์ นบทและเกษตรกรรม
5. เขตสเี ขยี วออ่ นมเี สน้ ทแยงสขี าว ทีด่ นิ ประเภทอนุรักษ์ป่าไม้

รูปที่ 2.3-2 แผนผงั กําหนดการใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ตามทไี่ ด้จําแนกทา้ ยกฎกระทรวงใหบ้ งั คบั ผังเมืองรวมจงั หวดั พิจิตร
พ.ศ. 2560

จังหวดั พิจติ ร 2-17 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวัติศาสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทัว่ ไปของพื้นท่อี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและพ้นื ทโี่ ดยรอบ

1.4 การใช้ประโยชน์ท่ีดินเพื่อการอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมต้ังกระจุกตัวและ
กระจายอยโู่ ดยรอบเขตชุมชนเมอื งพจิ ิตรตามริมทางหลวงหมายเลข 115 (พิจิตร–สามง่าม) และ
ทางหลวงหมายเลข 113 (พิจิตร–ตะพานหิน) พาดผ่านพื้นท่ีตอนบนในแนวทิศตะวันออก–
ตะวันตก ได้แก่ โรงสีข้าว/อบเมล็ดพืชและนึ่งข้าวเปลือก (เช่น บริษัท พีบีไรซ์ จํากัด ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรพิจิตร จํากัด บริษัท สิงห์โตทองไรซ์ แวร์เฮาส์ จํากัด โรงสีไฟจิตรเจริญ และ
บริษัท พี ซี ไร้ซ จํากัด ฯลฯ) โรงงานผลิตวัสดุก่อสร้าง/คอนกรีต (เช่น บริษัท เทพนครซีเมนต์
จํากัด บริษัท คิววอล จํากัด ห้างหุ้นส่วนจํากัด พิรมย์คอนกรีต โรงงานคอนกรีตผสมเสร็จพิจิตร
และห้างหุ้นส่วนจํากัด พ.วิริยะคอนกรีต ฯลฯ) โรงงานผลิตภัณฑ์จากไม้ (เช่น บริษัท ไทยวัฒนา
อุตสาหกรรม จํากัด ฯลฯ) และโรงงานผลิตน้ําด่ืม/นํ้าแข็ง (เช่น โรงงานนํ้าแข็งพิจิตรวารีทิพย์
หา้ งหนุ้ สว่ นจํากดั ธาราทิพย์ พจิ ติ ร และห้างหนุ้ สว่ นจํากดั ธรี ะพัชรว์ ศิ วกรรม ฯลฯ) ฯลฯ

1.5 การใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินเพ่อื สถาบันการศึกษา ภายในพ้ืนท่ีชุมชนเมืองพิจิตรมีสถานศึกษาส่วนใหญ่
ตั้งเกาะกลุ่มกันบริเวณถนนบุษบา ตามริมทางหลวงหมายเลข 115 (พิจิตร–สามง่าม) เป็นที่ตั้ง
ของสถานศึกษาสําคัญๆ เช่น โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร วิทยาลัยสารพัด
ชา่ งพจิ ิตร โรงเรยี นบรหิ ารธรุ กิจและเทคโนโลยพี จิ ติ ร และโรงเรียนสระหลวงพทิ ยาคม ฯลฯ

1.6 การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือสถาบันศาสนา พื้นท่ีเขตชุมชนเมืองพิจิตรมีศาสนสถานในพุทธศาสนา
ท่ีสําคัญๆ หลายแห่ง เช่น วัดท่าหลวง พระอารามหลวง ต้ังอยู่ริมแม่น้ําน่านฝ่ังตะวันตกติดกับ
ถนนบุษบา (วัดสําคัญที่ใช้เป็นสถานท่ีในการประกอบพิธีทางศาสนาท่ีสําคัญของจังหวัดพิจิตร)
วดั นครชุม วดั สมาบาป วัดขนนุ วดั ท่าขอ่ ย วดั เขอื่ นนครเขต วดั ประทมและวัดโรงชา้ ง ฯลฯ และ
มีโบสถค์ าทอลกิ 1 แห่ง (คริสตจักรสมั พันธ์พิจติ ร) มสั ยิด 1 แห่ง (มัสยดิ ดิยาอลุ้ อิสลาม พจิ ติ ร)

2) การใชป้ ระโยชน์ท่ีดินประเภทเขตสีเขียว (ท่ีดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม) กําหนดให้ใช้ประโยชน์
ท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับการเกษตรกรรม การอยู่อาศัย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา
สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สําหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้
ดําเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารท่ีไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ ได้แก่ พื้นท่ีโดยรอบ
นอกของชุมชนเมืองพิจิตรตามแนวทางรถไฟสายเหนือด้านฝ่ังตะวันออกและตามสองฝ่ังของแม่น้ําน่าน
ยังมีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการเกษตรและพื้นที่ชนบทอยู่เป็นจํานวนมาก เช่น ชุมชนบ้านวังทับยา
ชุมชนบา้ นทา่ โพธิ์ ชมุ ชนบา้ นวังไมด้ ัก ชุมชนบา้ นเมืองเกา่ ชมุ ชนบา้ นวงั จันทร์ ชมุ ชนบ้านทา่ ข่อย ฯลฯ

3) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทเขตสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว (ท่ีดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและ
เกษตรกรรม) กําหนดให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัย
สถาบนั การศกึ ษา สถาบันศาสนา สถาบนั ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการและการอนุรกั ษ์
และรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม สําหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือกิจการอ่ืนให้ดําเนินการหรือประกอบ
กิจการได้ในอาคารท่ีไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ ได้แก่ พื้นที่การเกษตรหรือพ้ืนท่ีเกี่ยวข้องกับ
การเกษตรหรือชุมชนชนบทตั้งกระจายอยตู่ ามพ้ืนทสี่ ว่ นต่างๆ ของชุมชนเมืองพิจิตรโดยเฉพาะพืน้ ท่ตี าม
แนวฝั่งตะวันตกของแม่น้ําพิจิตรและพ้ืนที่ตอนใต้ของพ้ืนท่ีชุมชนเมืองพิจิตร เช่น บึงสีไฟ สวนสมเด็จ
พระศรีนครินทร์ฯพิจิตร สวนสมเด็จพระนางเจ้าฯสิริกิต์ิ พื้นท่ีตามริมสองฝ่ังแม่นํ้าน่าน/แม่นํ้าพิจิตร
อุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรและสวนรกุ ขชาตกิ าญจนกมุ าร เปน็ ตน้

จงั หวดั พิจติ ร 2-18 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร สถานภาพทว่ั ไปของพื้นทอ่ี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รและพ้นื ทีโ่ ดยรอบ

หากพิจารณาและวิเคราะห์แนวโนม้ การขยายตัวของชุมชนเมืองพิจิตรในสถานภาพปัจจุบันจะมีแนวโน้มในการ
ขยายตัวในลักษณะการเกาะและกระจุกตัวตามแนวเส้นทางคมนาคมสายหลักของชุมชนเมืองพิจิตรใน 2 ทิศทาง ได้แก่
ด้านทิศใต้ตามแนวทางหลวงหมายเลข 113 (พิจิตร–ตะพานหิน) ด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ตามทางหลวง
หมายเลข 115 (พิจิตร–สามงา่ ม) ถนนสระหลวง ถนนบษุ บา ถนนประชาอุทศิ และถนนบงึ สีไฟเนอื่ งจากพืน้ ทโ่ี ดยส่วนใหญ่
เปน็ พนื้ ทดี่ อนไม่มีปญั หาด้านอุทกภัย

2.3.4 ปญั หาและข้อจํากดั ตอ่ การพฒั นาพน้ื ทีช่ ุมชนเมอื งเก่าพจิ ิตร

การพัฒนาชุมชนเมืองเกา่ พิจิตรและพนื้ ท่ีโดยรอบมขี อ้ จํากดั หลายประการ ยกตัวอย่างเช่น
1) ความเสยี เปรยี บด้านตาํ แหนง่ ที่ต้งั เน่อื งจากชุมชนเมืองพิจิตรตัง้ อยู่ใกล้กับเมอื งศูนย์กลางความเจรญิ ของ

ภาคเหนือตอนล่างท้ังเมืองพิษณุโลกและเมืองนครสวรรค์ โดยเฉพาะลักษณะที่ต้ังของเมืองพิจิตรเป็น
เมืองปิดส่งผลกระทบให้ชุมชนเมืองมีการขยายตัวด้านเศรษฐกิจค่อนข้างช้า การลงทุนในกิจกรรมด้าน
เศรษฐกิจต่างๆ จึงเกิดข้ึนภายในเมืองศูนย์กลางระดับภาคทั้งเทศบาลเมืองพิษณุโลกและเทศบาลนคร
นครสวรรค์
2) ลักษณะสภาพพ้ืนท่ีชุมชนเมืองเก่าพิจิตรแบ่งออกเป็นส่วนๆ มีแม่นํ้าน่านและทางรถไฟสายเหนือแบ่ง
พื้นทชี่ มุ ชนในแนวเหนอื –ใต้ จึงขาดความต่อเนื่องในการขยายตัวของพนื้ ที่ชมุ ชน
3) ลกั ษณะชุมชนเมืองพจิ ิตรมกี ารเจรญิ เติบโตเพยี งฝัง่ เดยี วของแม่นํ้าน่านคือฝั่งทิศตะวันตกของแม่นํ้าน่าน
เป็นศูนย์กลางการค้า/การบริการและพาณิชยกรรม การบริการด้านสาธารณูปการต่างๆ เป็นศูนย์กลาง
การบริหารการปกครอง ทําให้ชุมชนเมืองส่วนที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของแม่น้ําน่านเจริญเติบโต
ค่อนข้างชา้ และขาดความสะดวกในการเข้ามาใช้บริการตา่ งๆ ในบรเิ วณศูนย์กลางหลักของชมุ ชนเมอื ง
4) การขาดความตอ่ เนือ่ งของระบบคมนาคมและความสะดวกในการสญั จร ปจั จบุ นั ชุมชนเมอื งเกา่ พจิ ติ รยัง
ขาดความเข้าใจและการศึกษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบการจราจร ขนาดความกว้างของถนนใน
ยา่ นการค้าหลกั มขี นาดคบั แคบ ไม่ไดม้ าตรฐาน ขาดที่จอดรถยนต์ และสถานีรถโดยสารและสถานีรถไฟ
ตั้งอยหู่ ่างกนั และขาดความสะดวกคล่องตัวในการสญั จรของประชาชน

2.4 สภาพเศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม

2.4.1 ภาพรวมของสภาพเศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม

ภาพรวมของสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรมในพ้นื ท่ชี มุ ชนเมอื งพจิ ติ รและพื้นทโ่ี ดยรอบดงั สรุปไดด้ ังนี้
1) ภาพรวมของสภาพเศรษฐกิจ เน่ืองจากทําเลที่ต้ังและสภาพพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองพิจิตรไม่ได้เป็นศูนย์กลาง

ความเจริญด้านการบริการและพาณิชยกรรมหลักท่ีสําคัญ การเติบโตทางเศรษฐกิจยังมีแนวโน้มไม่สูง
เมอ่ื เทียบกับพนื้ ทีใ่ นจงั หวัดใกล้เคียงโดยเฉพาะเมืองพษิ ณุโลกหรือเมืองนครสวรรค์ซ่งึ เป็นศนู ยก์ ลางดา้ น
การบริการและพาณิชยกรรมหลักของพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ประกอบกับสภาพพื้นที่โดยท่ัวไปของ
ชุมชนเมืองพิจิตรเป็นท่ีราบลุ่มจึงเหมาะกับการทําเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยเฉพาะการเพาะปลูกข้าว
รองลงมาคอื ไมผ้ ล/ไมย้ นื ตน้ พชื ไร่และพืชผกั สวนครัว ฯลฯ ดังน้ันบทบาทสําคัญทางด้านเศรษฐกิจของ

จังหวดั พิจติ ร 2-19 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจติ ร สถานภาพทั่วไปของพื้นทีอ่ ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตรและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ

พ้ืนท่ีชุมชนเมืองพิจิตร จึงเป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและเป็นแหล่ง
ปลูกขา้ วสาํ คญั ของประเทศ จะเห็นได้จากการมีโรงสีข้าวจาํ นวนมากต้งั อยู่ภายในจังหวัดพิจิตร และเป็น
ศูนย์กลางคมนาคมขนส่งโดยเฉพาะขนส่งสินค้าทางการเกษตรท่ีเชื่อมต่อกับจังหวัดใกล้เคียง โดยการ
ขนสง่ ทางรถไฟสายเหนอื และทางรถยนต์ ตลอดจนเป็นศนู ยก์ ลางรวบรวมซอื้ ขายผลผลิตทางการเกษตร
ภายในจังหวัดและพ้ืนที่ใกล้เคียง รวมถึงพ้ืนที่ในจังหวัดพิจิตรไม่มีสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ต้ังอยู่ส่งผลกระทบให้ผู้คนท่ีต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาจะต้องย้ายถ่ินเพื่อออกไปศึกษาต่อใน
จังหวัดอ่ืนหรือจังหวัดใกล้เคียงโดยเฉพาะที่จังหวัดพิษณุโลก และชุมชนเมืองพิจิตรยังมีบทบาทเป็น
ศูนย์กลางการท่องเท่ียวระดับท้องถ่ินท่ีมีความสําคัญทางประวัติศาสตร์และประเพณีสามารถบริการ
นักท่องเท่ียวชาวไทยจากภาคเหนือตอนบนที่ต่อเน่ืองมาจากจังหวัดใกล้เคียงและจังหวัดพิษณุโลก ซ่ึง
เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวหลักของภาคเหนือตอนล่าง รวมถึงการมีโรงแรมท่ีพักจํานวนมากพอต่อ
นักท่องเท่ียว แต่นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่นิยมแวะนมัสการหลวงพ่อเพชร วัดท่าหลวง (พระอารามหลวง)
และบงึ สไี ฟเท่านนั้ โดยสว่ นมากจะมาเท่ยี วกันในวันหยุดและเทศกาลตา่ งๆ
2) ภาพรวมของสภาพสังคมและวัฒนธรรม พิจารณาจากข้อมูลงานทะเบียนราษฎรในพ้ืนท่ีอําเภอเมือง
พิจิตร (ครอบคลุมพ้ืนที่เมืองเก่าพิจิตร) และพื้นท่ีโดยรอบ ณ เดือนธันวาคม 2559 มีจํานวนประชากร
109,985 คน ความหนาแน่นของประชากรเฉลยี่ 140.30 คน/ตร.กม. จํานวนบา้ น 41,917 หลงั คาเรอื น
มแี นวโนม้ ลดลงโดยตลอดเนือ่ งมาจากสภาพเศรษฐกิจและการขยายตัวของเมืองพจิ ติ รเติบโตคอ่ นข้างช้า
และประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นหลัก รวมทั้งจังหวัดพิจิตรเป็นเมืองเก่าแก่ท่ีมี
วัฒนธรรมดั้งเดิมต่อเน่ืองมาเป็นเวลายาวนานประกอบกับตําแหน่งต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่ภาคเหนือตอนล่าง
ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดเพชรบูรณ์ ซ่ึงเป็นเขตจังหวัดท่ีติดกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือทําให้มี
ประชากรอพยพโยกย้ายมาตั้งถิ่นฐานจํานวนมาก ภายในพื้นที่จังหวัดพิจิตรจึงมีหลากหลายเช้ือชาติ
ยกตัวอย่างเช่น ไทยภาคกลาง ไทยอีสาน ไทยเช้ือสายจีน ไทยทรงดํา ลาวยวน ลาวพวน ลาวโซ่ง และ
เขมรส่วย เป็นต้น จึงเป็นสาเหตุให้มีสภาพทางสังคม วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ท่ี
ปรากฏสืบทอดกันมามีลักษณะแตกต่างกันและบางส่วนมีการผสมผสานกลมกลืนหรือประยุกต์ขึ้นมา
ใหม่ โดยสังเกตจากงานประเพณแี ละกจิ กรรมสาํ คญั ที่จัดขึน้ ในพื้นที่เมอื งพิจิตรเปน็ หลกั ยกตวั อย่างเช่น
2.1 งานนมัสการหลวงพ่อเพชรและสมโภชเมืองพิจิตร หลวงพ่อเพชรปัจจุบันมีการประดิษฐานใน

พระอุโบสถ วัดท่าหลวง (พระอารามหลวง) ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิจิตร เป็นพระพุทธรูป
สมัยเชียงแสนรุ่นแรกรูปปางมารวิชัยหล่อด้วยโลหะสําริด มีพระพุทธลักษณะงดงาม สร้างใน
ระหว่างปีพุทธศักราช 1660–1880 หรือมากกว่า 890 ปี หลวงพ่อเพชรยังเป็นพระพุทธรูปทรง
ศักด์ิสิทธิ์องค์หนึ่งของประเทศไทย ด้วยเม่ือใครได้ไปเมืองพิจิตรต้องไปนมัสการหลวงพ่อเพชร
เพื่อความเป็นสิริมงคล มีประชาชนนับถืออย่างมากและเป็นม่ิงขวัญศูนย์รวมใจของชาวพิจิตร
และชาวพิจิตรต่างให้ความเคารพนับถืออย่างสูงต่อพระองค์หลวงพ่อเพชร โดยงานนมัสการ
หลวงพ่อเพชรและสมโภชเมืองพิจิตรจัดข้ึนบริเวณวัดท่าหลวง ประมาณเดือนมกราคมของทุกปี
กจิ กรรมประกอบด้วยพธิ ีบวงสรวงบูชาองคห์ ลวงพ่อเพชร การเสย่ี งทายดวงเมืองโดยผวู้ ่าราชการ
จงั หวัดพจิ ิตร พิธีเจริญพุทธมนต์เปิดงาน ขบวนรถบุพชาติตกแต่งอย่างงดงามจากทุกอําเภอและ
เทศบาลเมืองในจังหวัดพิจิตร มีการจัดรูปขบวนที่ยิ่งใหญ่เพ่ือน้อมนํา “พานบัวพุทธบูชา” มา
บูชาหลวงพ่อเพชร มีการแข่งกีฬาพ้ืนบ้าน การแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีแสดงวิถีชีวิตผ่าน

จงั หวดั พิจติ ร 2-20 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร สถานภาพท่วั ไปของพืน้ ทีอ่ ุทยานเมืองเก่าพิจติ รและพ้ืนทโี่ ดยรอบ

การละเล่น ร้อง รํา ทําเพลง ชมการแสดงบนเวทีกลางนํ้า การจัดนิทรรศการของส่วนราชการ
และเอกชน การออกร้านเหล่ากาชาดและจําหน่ายสินค้า OTOP ส่วนช่วงกลางคืนมีการแสดง
แสง สี เสียง การจัดงานไหลเรือไฟประทปี นาวาบชู าหลวงพ่อเพชรและการแสดงมหรสพตา่ งๆ
2.2 งานสงกรานต์ สรงนํ้าพ่อปู่ บูชาหลักเมืองพิจิตร เป็นงานประเพณีที่จัดข้ึนเป็นประจําทุกปีช่วง
เทศกาลสงกรานต์ ณ บริเวณศาลหลักเมืองพิจิตร อุทยานเมืองเก่าพิจิตรโดยเฉพาะ พ.ศ. 2557
จังหวดั พจิ ติ รไดจ้ ดั งานยอ้ นรอยประวัตศิ าสตรเ์ มืองเก่าพิจติ รเพอ่ื เป็นการรําลึกถึงพระยาโคตรบอง
เทวราชหรือพ่อปู่ผู้สร้างเมืองพิจิตรเพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามและเป็นการกระตุ้น
การท่องเท่ียวในช่วงเทศกาลสงกรานต์ กิจกรรมในงานมีการบวงสรวงศาลหลักเมืองพิจิตรและ
การบวงสรวงพระยาโคตรบองเทวราช ผู้สร้างเมืองพิจิตร การแสดงแสง สี เสียงและย้อนรอย
ประวัติศาสตร์เมืองพิจิตร เรื่องตํานานเมืองพิจิตรจากวิทยาลัยนาฏศิลป์สุโขทัยและนักแสดง
กิตติมศักดิ์ การแสดงคณะลิเกจากชมรมลิเกพิจิตร การประกวดอาหารภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
การรดนํ้าดําหัวขอพรผู้สูงอายุ ภายในงานผู้ร่วมงานจะแต่งกายด้วยผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมือง
ทอ้ งถนิ่ และยังมขี บวนแห่รูปเหมอื นพระเกจิช่ือดังของแต่ละอําเภอโดยจะแห่รอบเมืองพิจิตรเพ่ือ
เข้าสอู่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รและยงั มกี ารจาํ หนา่ ยผลิตภัณฑ์ OTOP และผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญา
ทอ้ งถน่ิ
2.3 งานประเพณีแข่งขันเรือยาวจังหวัดพิจิตร มีมาตั้งแต่อดีตการต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จัดขึ้นใน
เดือน 11 และถือเป็นพระราชพิธีประจําเดือนมูลเหตุที่ถือเอาเดือน 11 เป็นเดือนที่ต้องแข่งเรือ
เพราะเดือน 11 มีปริมาณนํ้าเหนือไหลบ่าลงมาจนกระท่ังคนสมัยก่อนเอ่ยขานเป็นคํากลอนจน
ตดิ ปากวา่ “เดือนสิบเอ็ดน้ํานอง เดือนสิบสองน้ําทรง” ทั้งนี้เพราะเดือน 11 ปริมาณนํ้าท่วมเต็ม
พอถงึ เดือน 12 ปรมิ าณนํา้ จะทรงตวั และคอ่ ยๆ ลดลง จุดประสงคข์ องการแขง่ เรอื ในสมัยโบราณ
จัดเป็นประเพณีหลวงและเป็นการเสี่ยงทาย ขณะเดียวกันเป็นการฝึกฝีพายต่อมาประชาชน
ธรรมดาจึงได้แข่งเรือบา้ ง จนบางแหง่ ถอื เปน็ ประเพณีท่ีต้องมีการแข่งขันเป็นประจํา ต่อมามีการ
ขุดเรือยาวขึ้นประจําและมีการฝึกซ้อมอย่างจริงจังเพราะว่าการแข่งขันจะต้องมีผู้แพ้และชนะ
การแขง่ เรอื จึงถอื เป็นประเพณีทน่ี ยิ มกนั แทบทกุ ภาค
2.4 งานประเพณกี ารทําบญุ กลางบ้าน เปน็ ประเพณีเก่ยี วกับอาชพี การเกษตรตามความเชอ่ื ซ่งึ กระทาํ
ในเดือน 6 ของทุกปี เพ่ือทําบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรรมนายเวร ขอความ
คุ้มครองให้อยู่เย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรือง ขับไล่ส่ิงเลวร้ายต่างๆ ในรอบปีท่ีผ่านมาให้หมด
ส้นิ ไป และขอใหม้ ปี รมิ าณฝนตกต้องตามฤดูกาลอนั จะทําให้พืชพันธธ์ุ ญั ญาหารอุดมสมบูรณ์
2.5 งานพิธีบชู านพเคราะห์ เป็นพธิ กี รรมตามความเชื่อของชาวพิจิตรที่ทําสืบต่อกันมาแต่โบราณเพ่ือ
บชู าเทวดานพเคราะห์ (เทวดาประจาํ วันเกดิ ) มคี วามเชอ่ื วา่ เทวดานพเคราะห์มอี ํานาจบนั ดาลให้
เกิดคณุ และโทษแก่มนษุ ย์เนอื่ งจากเทวดาเป็นผู้ที่สร้างสมคุณความดีมาช้านานจนมีบารมีแก่กล้า
เมอื่ ผู้ใดไดท้ ําความเคารพและสักการะเทวดาย่อมประสบผลดี มีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นพิธีบูชา
นพเคราะห์ของชาวพิจิตรจัดขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคมหรือช่วงเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
ของทุกปี โดยเฉพาะวัดท่าหลวง พระอารามหลวง มีการจัดพิธีบูชานพเคราะห์โดยการทําพิธี
อัญเชิญเทวดานพเคราะห์ท้ัง 9 มารับเคร่ืองสังเวยและช่วยขจัดปัดเป่าส่ิงชั่วร้ายในปีเก่าให้หมด
ส้ินไปเพอื่ ความสขุ กายสขุ ใจ ต้อนรบั วันปใี หม่

จังหวดั พิจิตร 2-21 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร สถานภาพทว่ั ไปของพน้ื ทอ่ี ทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตรและพน้ื ที่โดยรอบ

2.4.2 สภาพเศรษฐกจิ สงั คมและความคิดเห็นของประชาชนในระดบั ทอ้ งถิ่น

การสํารวจและวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษาและออกแบบคุณลักษณะ
การพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร ได้ใช้การสอบถามและ
สัมภาษณ์ด้วยแบบสัมภาษณ์จากเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานภาครัฐและประชาชนท่ีอาศัยอยู่ภายในพ้ืนท่ีศึกษาและพ้ืนท่ี
โดยรอบภายในรัศมี 5 กิโลเมตร ระหว่างวนั ที่ 20 – 30 กันยายน 2560 (ดูรูปที่ 2.4-1) และสุ่มตัวอย่างสอบถามอย่างง่าย
เนอื่ งจากกลุ่มประชากรตวั อยา่ งมลี กั ษณะทางประชากรที่มพี ืน้ ฐานด้านสงั คมและวัฒนธรรมไม่แตกต่างกันและการกําหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างใช้ Parel and Others (SAMPLING DESIGN AND PROCEDURES. Singapore: The Agricultural
Council., 1973) คาํ นวณหาขนาดกล่มุ ตวั อย่างท่ีใชใ้ นการศกึ ษาไดจ้ ํานวนทัง้ ส้นิ 300 ตัวอยา่ งดังอธิบายผลการศึกษาและ
วเิ คราะหด์ ้านสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความคดิ เห็นเกี่ยวกับการดาํ เนนิ การโครงการไว้ในภาคผนวก ก ดงั สรุปไดด้ ังน้ี

1) ข้อมูลพ้ืนฐานของกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ศึกษาและพื้นที่โดยรอบดังตารางที่ ก-1 พบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็น
เพศหญิงรอ้ ยละ 62.67 มากกวา่ เพศชายรอ้ ยละ 37.33 หรือคิดเป็นสัดส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1:1.68
กลมุ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษาร้อยละ 76.00 และกลุ่มตัวอย่างท้ังหมดนับถือศาสนาพุทธ
ร้อยละ 100.00 หากพิจารณาสภาพการอาศัยอยู่ในพื้นท่ีศึกษาได้รับคําตอบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่
เกิดและเติบโตท่ีน่ี (พ้ืนที่จังหวัดพิจิตร) ร้อยละ 96.00 และโยกย้ายมาจากสถานท่ีอ่ืนๆ ร้อยละ 4.00
โดยสถานที่โยกย้ายมาส่วนใหญ่มาจากจังหวัดในภาคกลางมากสุดคิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาเป็น
ภาคเหนือร้อยละ 33.33 และภาคใต้ร้อยละ 16.67

2) การประกอบอาชีพ (ตารางท่ี ก-2) พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอาชีพทําการเกษตรร้อยละ 29.33
รองลงมาเป็นอาชีพค้าขายร้อยละ 23.67 อาชีพรับจ้างท่ัวไปร้อยละ 19.33 และมีรายได้ของครัวเรือน
โดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 10,001-15,000 บาท/เดือน ร้อยละ 48.67 หรือคิดเป็นรายได้ของครัวเรือน
เฉล่ีย 14,550 บาท/เดือน หากพิจารณารายจ่ายของครัวเรือนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 43.67 มีค่าอยู่
ในช่วง 10,001-15,000 บาท/เดือน หรือคิดเป็นรายจ่ายของครัวเรือนเฉล่ยี 11,875 บาท/เดือน จะเหน็
ได้ว่าสภาวะการเงินส่วนใหญ่มีพอใช้และมีเงินเหลือเก็บร้อยละ 85.33 และมีพอใช้แต่ไม่มีเงินเหลือเก็บ
ร้อยละ 13.67

3) สภาพสังคมและลักษณะความสัมพันธ์โดยทั่วไปของกลุ่มคนภายในชุมชนกดังตารางที่ ก-3 พบว่า
สถานภาพการถือครองท่ีดินของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเจ้าของเองคิดเป็นร้อยละ 96.67 เป็นผู้เช่า
ท่ีดินร้อยละ 3.33 หากพิจารณาสถานที่พักอาศัยจะเป็นบ้านเดี่ยวคิดเป็นร้อยละ 93.67 รองลงมาได้แก่
ทาวน์เฮ้าส์คิดเป็นร้อยละ 3.33 และตึกแถว/อาคารพาณิชย์คิดเป็นร้อยละ 2.67 ส่วนลักษณะ
ความสัมพันธ์โดยท่ัวไปของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเห็นว่าชุมชนมีความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างเพื่อน
บ้านคิดเป็นร้อยละ 100.00 รองลงมาเป็นเพื่อนบ้านไปมาหาสู่ซึ่งกันและกันร้อยละ 90.67 ชุมชนมี
ความเข้มแข็งและให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนร้อยละ 86.67 และกลุ่มคนภายในชุมชน
เชื่อฟังและปฏบิ ัติตามผู้นําชุมชนร้อยละ 64.67 ส่วนประเด็นปญั หาสําคญั ทพี่ บภายในชุมชนทั้งหมดเป็น
ปัญหายาเสพติดคดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 ปัญหาความยากจนรอ้ ยละ 13.67 และปัญหาการทะเลาะววิ าท
และปัญหาการลักขโมยในสัดส่วนเท่ากันคิดเป็นร้อยละ 10.67 โดยสรุปความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่าง
ทัง้ หมดท่ีมีต่อชุมชนคิดว่าเปน็ ชุมชนท่นี า่ อยูอ่ าศัยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00

จงั หวดั พิจิตร 2-22 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจติ ร สถานภาพทั่วไปของพืน้ ท่ีอุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตรและพื้นท่โี ดยรอบ

รูปที่ 2.4-1 การสอบถามและสมั ภาษณ์ด้วยแบบสมั ภาษณ์กลุ่มตวั อย่างทอ่ี าศยั อย่ภู ายในพ้นื ทศ่ี กึ ษาและพื้นท่ีโดยรอบ

จงั หวดั พิจติ ร 2-23 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร สถานภาพทั่วไปของพ้ืนที่อุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตรและพ้นื ทีโ่ ดยรอบ

4) สภาพสาธารณสุขของครัวเรือนในรอบปีท่ีผ่านมาดังตารางท่ี ก-4 พบว่ากลุ่มตัวอย่างเจ็บป่วยจนต้องพา
เข้าไปรับการรักษาคิดเป็นร้อยละ 77.33 และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้วิธีการเดินทางไปพบแพทย์แผน
ปัจจุบัน ณ โรงพยาบาลของภาครัฐและภาคเอกชนคิดเป็นร้อยละ 87.33 และศูนย์สาธารณสุขคิดเป็น
รอ้ ยละ 37.67 และการซื้อยามาทานเองหรือปล่อยให้หายเองร้อยละ 4.33 หากพิจารณาภาวะเจ็บป่วย
ของสมาชิกในครัวเรือนจากสาเหตุ 21 กลุ่มโรคได้ข้อสรุปว่า ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
โภชนาการ และเมตะบอลิซึม (เช่น โรคคอพอก โรคไทรอยด์ และโรคเบาหวาน) คิดเป็นร้อยละ 54.00
รองลงมาเป็นกลุ่มโรคระบบไหลเวียนเลือด (เช่น โรคหัวใจ โรครูมาติก โรคความดันโลหิต โรคริดสีดวง
โรคเลือดออกในสมองและโรคตอ่ มนา้ํ เหลอื งอกั เสบ) คดิ เป็นร้อยละ 53.33 และกล่มุ โรคระบบกลา้ มเนื้อ
รวมโครงรา่ งและเนอื้ ยึดเสรมิ (เช่น โรคไขข้ออักเสบ โรคข้อเส่ือมและโรคกระดูก) คิดเป็นร้อยละ 11.67
สว่ นภาวะเจบ็ ป่วยของสมาชิกในครัวเรอื นจากกลุม่ โรคเฝ้าระวงั 10 กลมุ่ โรคพบว่ากลุม่ ตวั อย่างส่วนใหญ่
เป็นไขห้ วดั ใหญ่รอ้ ยละ 41.33 รองลงมาเปน็ วณั โรคร้อยละ 32.67 และไข้เลือดออกร้อยละ 21.33

5) การได้รับผลกระทบสิ่งแวดล้อมสําคัญในสถานภาพปัจจุบันในชุมชนท้องถิ่นดังตารางที่ ก-5 พบว่ากลุ่ม
ตัวอย่างท้ังหมดร้อยละ 100.00 ไม่ได้รับผลกระทบเน่ืองจากหน่วยงานภาครัฐท่ีรับผิดชอบให้บริการดี
และมีความตอ่ เนื่องในการแกไ้ ขปัญหา ไดแ้ ก่ ปัญหากลิ่นเหม็น ปัญหาด้านมูลฝอย ปัญหานํ้าเสีย ปัญหา
ฝุ่นละออง ปญั หาระดับเสียงดงั และการสน่ั สะเทือน ปญั หาเร่อื งการจราจรติดขัด ปัญหาความแออัดของ
ชุมชน ปัญหาเร่ืองการบดบังแสงแดดและการบดบังทิศทางลม แต่มีกลุ่มตัวอย่างบางกลุ่มจะได้รับ
ผลกระทบดา้ นเขม่า/ควันจากยานพาหนะร้อยละ 8.00 และปัญหาดา้ นสงั คมร้อยละ 0.67

6) การรบั รแู้ ละความคิดเหน็ ต่อการกอ่ สรา้ ง/ปรบั ปรงุ พน้ื ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรดงั ตารางท่ี ก-6 ได้แก่
6.1 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับทราบว่าจะมีการก่อสร้าง/ปรับปรุงพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเกิดข้ึน
ร้อยละ 55.33 และมีความเห็นว่าการก่อสร้าง/ปรับปรุงองค์ประกอบสําคัญโดยเฉพาะอาคาร
ศาลหลักเมอื ง อาคารพกั นกั ทอ่ งเทีย่ ว อาคารจําหน่ายธูปเทียน และอาคารร้านค้า ฯลฯ) จะต้อง
มีระบบการจัดการมูลฝอยท่ีดีร้อยละ 78.67 ระบบสาธารณูปโภคครบครันร้อยละ 76.67 ระบบ
การจราจรที่ดีร้อยละ 74.67 และระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีร้อยละ 50.67 ฯลฯ ส่วน
ประเด็นข้อเสนอแนะเพิ่มเติมพบว่ากลุ่มตัวอย่างเห็นว่าจะต้องมีการดูแลอย่างต่อเน่ือง มีการ
บูรณะกําแพงอุทยานให้เหมือนเมืองเก่า ให้อัญเชิญรูปป้ันพ่อปู่ขึ้นมาข้างบน ให้มีการปรับปรุง
ทัศนียภาพไม่ให้รกร้าง การจัดทําแนวเขตอุทยานเมืองเก่าให้ชัดเจน การปรับปรุง/บูรณะถนน
ภายในและโดยรอบของอทุ ยานเมอื งเกา่ การปรับปรงุ /บรู ณะโบราณสถานและการเพม่ิ สงิ่ ดงึ ดดู /
แรงจงู ใจในการทอ่ งเทย่ี วภายในอทุ ยานเมืองเก่า ฯลฯ

6.2 กลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญเ่ หน็ วา่ การกอ่ สรา้ ง/ปรับปรงุ พื้นทอี่ ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตรจะไมส่ ่งผลกระทบ

ใดๆ ต่อชุมชนท้องถิ่นร้อยละ 76.67 และคิดว่ามีผลกระทบเชิงบวกระดับมากเกิดขึ้นร้อยละ
69.57 ยกตัวอย่างเช่น ก่อให้เกิดรายได้จากการขายสินค้าและบริการให้ผู้พักอาศัยในพื้นที่
อุทยานเมืองเก่าฯ ร้อยละ 99.33 ช่วยให้ชุมชนท้องถิ่นเจริญเติบโตและพัฒนาไปมากกว่าเดิม
ร้อยละ 99.33 ทําให้ธุรกิจการค้าในพื้นท่ีใกล้เคียงดีขึ้นร้อยละ 99.33 ทําให้เกิดการจ้างงานใน
ชุมชนท้องถิ่นเพ่ิมมากขึ้นร้อยละ 94.67 ฯลฯ ส่วนประเด็นผลกระทบเชิงลบท่ีคาดว่าเกิดขึ้นใน
พื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรจะได้รับคําตอบจากลุ่มตัวอย่างท้ังหมดหรือร้อยละ 100.00 ว่าไม่มี
ผลกระทบเกดิ ขึ้น

จังหวัดพิจิตร 2-24 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร สถานภาพท่วั ไปของพ้นื ท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ รและพื้นท่โี ดยรอบ

2.5 แหล่งมรดกทางประวตั ิศาสตร์ วัฒนธรรมและธรรมชาติทส่ี ําคญั

2.5.1 แหล่งมรดกทางประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรมและธรรมชาติในพนื้ ทเ่ี มอื งพิจติ ร

เมอื งพจิ ติ รเป็นเมอื งที่มปี ระวตั คิ วามเป็นมาและพฒั นาการด้านประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมมายาวนาน
ส่งผลให้ในเมืองพิจิตรมีแหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและธรรมชาติที่สําคัญหลายแห่งทั้งท่ีเป็นโบราณสถาน
อาคาร และสถานท่ีที่มเี อกลักษณเ์ ฉพาะถนิ่ ดังสรุปไดด้ งั นี้

1) บึงสีไฟ ตั้งอยู่ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิจิตร อยู่ห่างไปทางทิศตะวันตกของศาลากลางจังหวัดพิจิตร
ไม่เกนิ 1 กิโลเมตรเป็นแหล่งนํ้าจืดขนาดใหญ่อันดับท่ี 5 ของประเทศ (https://th.wikipedia.org/wiki
/บึงสีไฟ) รองจากบึงบอระเพ็ด (132,737 ไร่) หนองหาร (77,000 ไร่) บึงละหาน (18,181 ไร่) และ
กว๊านพะเยา (12,831 ไร่) ปัจจุบันเหลือพื้นที่อยู่ประมาณ 5,390 ไร่ ซึ่งลดลงมาภายหลังจากการสร้าง
เข่ือนสิริกิต์ิ เดิมบึงสีไฟมีพ้ืนท่ีมากกว่า 12,000 ไร่ ครอบคลุมอาณาเขตติดต่อ 4 ตําบลในพื้นท่ีอําเภอ
เมืองพิจิตร ได้แก่ ตําบลท่าหลวง ตําบลโรงช้าง ตําบลคลองคะเชนทร์และตําบลเมืองเก่า โดยบึงสีไฟ
เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ําจืดและแหล่งที่อยู่อาศัยของพันธ์ุปลาและนกหายากหลากหลายชนิด เป็น
สถานท่ีศึกษาหาความรู้เก่ียวกับพันธ์ุปลาน้ําจืดชนิดต่างๆ และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจท่ีสําคัญของ
จังหวัดพจิ ติ ร โดยจังหวดั พจิ ติ รได้พฒั นาและประกาศเป็นเขตอนุรกั ษพ์ ันธุส์ ตั วท์ ั้งสตั วน์ ้ําจดื และนกนาํ้

2) แม่นํ้าพิจิตร (แม่นํ้าน่านสายเก่า) และแม่นํ้าน่าน มีต้นน้ําอยู่ในเทือกเขาหลวงพระบาง จังหวัดน่าน มี
ความยาวตลอดลํานํา้ 740 กม. มีความยาวที่สุดในแควต้นนํ้าของแม่น้ําเจ้าพระยา นับเป็นหนึ่งในแม่นํ้า
สายหลักในภาคเหนือและภาคกลาง โดยการเปล่ียนแปลงของแม่นํ้าน่านช่วงไหลผ่านจังหวัดพิจิตร
เกดิ ขึ้นในสมยั รัชกาลท่ี 4 ราวปี พ.ศ. 2410 กระแสน้ําในแม่นํ้านา่ นเปล่ยี นทางเดินใหม่ คอื แยกออกจาก
ลํานํ้าเดิมบริเวณตําบลไผ่ขวาง อําเภอเมืองพิจิตร กระแสนํ้าไหลรุนแรงผ่านเข้าคลองเรียงที่บ้านท่าฬ่อ
ไปบรรจบคลองท่าหลวง คลองคัน ในเขตอําเภอเมืองพิจิตร เลยไปถึงคลองห้วยคต คลองบุษบงเหนือ
และคลองบษุ บงใตใ้ นอาํ เภอบางมลู นากเกิดเปน็ แมน่ ํ้าสายใหม่ไหลไปบรรจบกับแม่นํ้ายมทตี่ าํ บลเกยไชย
อําเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ แล้วไหลไปบรรจบกับแม่นํ้าปิงท่ีปากน้ําโพ รวมเป็นแม่นํ้าเจ้าพระยา
การเปลย่ี นแปลงของกระแสน้ําในแม่น้ํานา่ นส่งผลกระทบตอ่ การตั้งถิ่นฐานของชาวเมืองพิจิตร กล่าวคือ
เมืองพิจิตรท่ีตั้งอยู่ริมแม่น้ําน่านสายเก่า เม่ือกระแสนํ้าเปล่ียนทางเดินทําให้แม่น้ําน่านตื้นเขิน แคบลง
และขาดเป็นตอนๆ ไม่สามารถใช้เป็นเส้นทางคมนาคมได้เหมือนเดิม ทําให้เส้นทางการค้าขายทางเรือ
ต้องเปลี่ยนมาใช้ทางน้ําสายใหม่ทดแทน จึงทําให้ประชาชนท้ิงท่ีอยู่อาศัยอพยพมาตั้งอยู่ท่ีต้ังเมืองใหม่
กลายเปน็ ศูนยก์ ลางการค้าของจงั หวัดพจิ ติ รและมีผู้คนโยกย้ายเข้ามาอยู่อาศัยกันอย่างหนาแน่นมากขึ้น
เม่ือมีทางรถไฟเกดิ ขนึ้ ภายหลงั ยง่ิ ทําใหเ้ มอื งพจิ ติ รที่อพยพย้ายมาอยูร่ ิมแม่นํ้าน่านสายปัจจุบันเพิ่มความ
เจรญิ เตบิ โตขึน้ เพราะมเี ส้นทางคมนาคมท้ังทางรถไฟและทางเรอื สะดวกท้ังสองทาง (คณะกรรมการฝา่ ย
ประมวลเอกสารและจดหมายเหต,ุ หนา้ 50)

3) วดั ท่าหลวง พระอารามหลวง เป็นวัดสําคัญคู่บ้านคู่เมืองพิจิตร ต้ังอยู่ริมฝ่ังแม่นํ้าน่านฝ่ังตะวันตก ตําบล
ในเมอื ง อาํ เภอเมืองพจิ ติ ร มพี นื้ ที่ 43 ไร่ 3 งาน มถี นนบษุ บาตดั ผ่านกลางวัด เปน็ วัดเกา่ แก่ทมี่ มี ากอ่ นที่
จะอพยพย้ายเมืองพิจิตรเก่ามาตั้งที่เมืองพิจิตรใหม่ วัดน้ีสร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2388 ในรัชสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หัว เดิมมีโบสถ์เก่า วิหารเก่าและศาลาการเปรียญตั้งริมฝ่ังแม่นํ้าน่าน

จงั หวัดพิจิตร 2-25 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจติ ร สถานภาพทั่วไปของพ้ืนที่อุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ รและพน้ื ทโ่ี ดยรอบ

และได้ถูกรอ้ื ออกไป ภายในพระอุโบสถเปน็ ท่ีประดิษฐานหลวงพอ่ เพชร ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย
สมัยเชียงแสนรุ่นแรก (พ.ศ. 1660–1800) หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ มีพุทธลักษณะงดงาม มีหน้าตักกว้าง
1.40 เมตร สูง 1.60 เมตร เป็นพระพุทธรูปสําคัญคู่เมืองพิจิตร มีประวัติว่าพระพิจิตรซ่ึงเป็นเจ้าเมือง
อยากได้พระประธานมาประดิษฐานท่ีจังหวัดพิจิตร จึงขอร้องแม่ทัพว่าเม่ือปราบปรามขบถเสร็จแล้วให้
หาพระมาฝาก เมื่อเสร็จศึกแม่ทัพจึงได้อาราธนาพระพุทธรูปหลวงพ่อเพชรลงแพลูกบวบล่องมาทาง
แม่นํ้าปิง โดยฝากเจ้าเมืองกําแพงเพชรไว้ ต่อมาได้อาราธนาหลวงพ่อเพชรมาประดิษฐานไว้ ณ อุโบสถ
วัดนครชุม ก่อนแลว้ จึงย้ายมาประดิษฐานทพี่ ระอุโบสถวัดท่าหลวง อาํ เภอเมอื งพจิ ิตร จนถงึ ปจั จุบนั
4) วัดนครชุม ต้ังอยู่บนทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจิตร–สามง่าม–วังจิก) เป็นวัดท่ีสร้างในสมัยสุโขทัย
มีอายปุ ระมาณ 800 ปี ดา้ นตะวันออกมีพระอุโบสถเกา่ แกม่ าก กอ่ สรา้ งดว้ ยอิฐฉาบปูน เคร่ืองบนเป็นไม้
โดยใช้สลักไม้แทนตะปู มีช่องระบายลมแทนหน้าต่าง พระอุโบสถหลังน้ีเคยเป็นสถานท่ีประดิษฐาน
หลวงพ่อเพชร ซึ่งปัจจุบันได้อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ วัดท่าหลวง พระอารามหลวง แต่สถานภาพ
ปจั จุบนั เป็นสถานทีป่ ระดษิ ฐานพระพุทธรูปแบบสุโขทัยขนาดใหญ่หน้าตักกว้าง 3 วา ก่ออิฐถือปูน และ
เป็นพระพุทธรูปทใี่ ชเ้ ป็นพระประธานในพิธีถือนํา้ พระพิพัฒนส์ ัตยาในสมัยกอ่ น
5) วัดสมาบาป ต้ังอยู่ที่บ้านท่าโพธิ์ ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร มีพื้นที่ประมาณ 24 ไร่ ได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2525 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมชาวบ้านเคย
เรียกว่า “วัดขมาบาป” ผู้สูงอายุบางท่านเล่าว่าเดิมช่ือว่า “วัดสละบาป” สร้างข้ึนประมาณปี พ.ศ. 2379
การก่อตั้งวดั สมัยเร่ิมแรกไมไ่ ด้มกี ารบันทกึ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน ลกั ษณะเดน่ ในวัดสมาบาป คือ มีพระพุทธรูป
ประธานในอุโบสถนามว่า “หลวงพ่อแสน” มีขนาดหน้าตักกว้าง 3 ศอก 9 นิ้ว สูง 4 ศอก ชาวบ้านเชื่อ
ว่าเป็นพระพุทธรูปท่ีสร้างข้ึนพร้อมกับพระอุโบสถหลังเก่า หลวงพ่อแสนเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ิ เป็น
ทเ่ี คารพสกั การะของชาวบา้ น เดมิ มีเศยี รสวยงามมากแตถ่ ูกโจรกรรมจงึ ตอ้ งจัดสร้างขึ้นใหม่ วดั สมาบาป
จดั เป็นศนู ยร์ วมใจของประชาชนในพ้ืนท่ีเมืองพิจิตรและในเทศกาลวันสําคัญทางพุทธศาสนาต่างๆ จะมี
ชาวบ้านมาทาํ บุญท่ีวัดสมาบาปจํานวนมาก โดยเฉพาะวันสงกรานต์จะมีการสรงน้ําพระและรดนํ้าดําหัว
ผู้เฒา่ ผแู้ ก่ (สาํ นักงานวฒั นธรรมจังหวดั พจิ ิตร, หนา้ 107–108)
6) วัดขนุน ต้ังอยู่ที่ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร มีพ้ืนท่ีประมาณ 10 ไร่ พ้ืนท่ีวัดเป็นพ้ืนที่ราบลุ่ม มี
คลองข้าวตอกไหลผ่านทางทิศตะวันตก วัดสร้างขึ้นด้วยจิตศรัทธาของผู้ที่บริจาคท่ีดินให้สร้างวัดเมื่อปี
พ.ศ. 2471 ได้รับพระราชทานวสิ งุ คามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2502 ภายในพระอุโบสถมีพระประธานสร้างในปี
พ.ศ. 2501 มีอาคารสําคัญ ได้แก่ อุโบสถทรงไทยเป็นอาคารไม้สร้างในปี พ.ศ. 2503 ศาลาการเปรียญ
หอสวดมนต์ และกฏุ สิ งฆ์ (สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั พิจติ ร, หน้า 106)
7) วัดเข่ือนนครเขต ต้ังอยู่ท่ีตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร มีพ้ืนท่ีประมาณ 32 ไร่ ต้ังอยู่ติดทางหลวง
หมายเลข 1068 (พิจิตร–สามง่าม–วังจิก) เดิมเรียก “วัดเขมาราม” ชาวบ้านเรียก “วัดเขื่อนนครเขต”
ตามคํากล่าวของผูส้ งู อายุว่า เปน็ หมบู่ ้านทีม่ ีอาณาเขตติดต่อกบั กําแพงดินกน้ั เขตเมอื งพิจิตร วัดสร้างขึ้น
เม่ือปี พ.ศ. 2375 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเม่ือวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2544 มีพระประธานใน
อุโบสถเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย เป็นพระพุทธรูปประธานคู่กับวัดมาต้ังแต่สร้างวัด มีอาคาร
สําคัญภายในวัด ได้แก่ พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญทรงไทยเสาไม้ หอสวดมนต์ กุฏิสงฆ์ และเจดีย์เก่า
(สํานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พจิ ติ ร, หน้า 107)

จงั หวดั พิจติ ร 2-26 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพทวั่ ไปของพ้ืนทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและพนื้ ทีโ่ ดยรอบ

8) วัดท่าข่อย ต้ังอยู่ที่ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร มีพื้นที่ประมาณ 42 ไร่ สร้างขึ้นเม่ือปี พ.ศ. 2463
มีนางมุก สิงห์สง่า ซึ่งมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนาได้บริจาคท่ีดินให้สร้างวัดและได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมาเม่ือวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 พระประธานในอุโบสถนามว่า “หลวงพ่อชาญณรงค์”
เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร สร้างด้วยทองเหลืองและพระพุทธรูปหลวงพ่อสิงห์สง่า มีอาคารสําคัญ
ภายในวัด ไดแ้ ก่ อโุ บสถทรงไทยเสาไมแ้ ละพืน้ ปูน ศาลาการเปรยี ญ หอสวดมนต์และกุฏิสงฆ์ (สํานักงาน
วัฒนธรรมจงั หวัดพิจิตร, หน้า 106)

9) วัดประทม ต้ังอยู่ที่ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร มีพื้นท่ีประมาณ 29 ไร่ ท่ีต้ังวัดเป็นที่ราบลุ่มและมี
แม่น้ํานา่ นสายเกา่ ไหลผา่ นทางทิศตะวันออก ตามคาํ บอกเล่าของผสู้ ูงอายวุ ่าวัดประทมเคยเป็นที่ประทับ
บรรทมของพระเจ้าเสือ จึงนํานิมิตมาเป็นท่ีสร้างวัดและได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเม่ือ พ.ศ. 2508
มีพระประธานท่ีประดิษฐานในพระอุโบสถเป็นพระพุทธรูปเน้ือสัมฤทธิ์สมัยอู่ทอง มีอาคารสําคัญ ได้แก่
ศาลาการเปรยี ญ หอสวดมนต์และกฏุ สิ งฆ์ (สํานกั งานวัฒนธรรมจังหวดั พจิ ิตร, หน้า 105)

10) วดั โรงชา้ ง ต้ังอยู่ทีต่ าํ บลโรงชา้ ง อําเภอเมอื งพิจติ ร ตดิ กับทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจิตร–วังจิก) เป็น
วัดเก่าแก่สมัยอยุธยาเม่ือพระยาโคตรบองข้ึนครองราชย์ สถานที่แห่งน้ีเรียกว่า “กองช้าง” เพราะเป็น
สถานท่ีพักของกองช้าง ต่อมาได้เรียกกันเพ้ียนไปเป็น “คลองช้าง” จนกระท่ังหน่วยงานราชการได้เปิด
โรงเรียนประชาบาลข้ึนจึงเปล่ียนเป็น “วัดโรงช้าง” บริเวณวัดมีพระพุทธรูปใหญ่ตั้งอยู่กลางแจ้ง 3 องค์
เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ปางห้ามญาติและปางไสยาสน์ ส่ิงท่ีน่าสนใจในวัดคือเจดีย์องค์ใหญ่สร้าง
เม่อื ปี พ.ศ. 2517 บรเิ วณรอบองค์เจดยี ์มตี ู้พระไตรปิฎกจํานวน 108 ตู้ เพื่อให้ประชาชนท่ัวไปได้ทําบุญ
ใส่ตู้เพอ่ื เปน็ สริ มิ งคล และภายในองค์เจดียไ์ ดส้ ร้างเป็นหอ้ งลบั ใต้ดินใช้เก็บแผ่นอิฐจารึกพระไตรปิฎก ซึ่ง
หลวงพ่อทวีหรือพระครูพิลาศธรรมกิตต์ ได้เป็นผู้ริเร่ิมจารึกพระไตรปิฎกลงบนแผ่นอิฐจํานวน 84,000
พระธรรมขันธ์และเก็บรักษาไว้ในพระเจดีย์ของวัดโรงช้าง เจตนารมณ์ของท่านท่ีจารึกพระไตรปิฎกลง
บนแผน่ อฐิ เน่อื งจากหลวงพ่อทวีกลัวระเบิดนิวเคลียร์ทําลายพระไตรปิฎกท่ีเป็นใบลาน และหลวงพ่อทวี
มรณภาพในปี พ.ศ. 2530 รวมสิริอายุ 76 ปี สังขารของหลวงพ่อถูกบรรจุในโลงไม้ธรรมดาเพื่อรอการ
พระราชทานเพลิงเปน็ เวลา 23 ปี เม่อื เปดิ โลงออกปรากฏวา่ สรรี ะของหลวงพอ่ ไมเ่ นา่ เปือ่ ย ศิษยานุศิษย์
จึงร่วมทุนทรัพย์สร้างวิหารเพ่ือนําสรีระหลวงพ่อทวีบรรจุในโลงแก้วแล้วนําประดิษฐานไว้ในวิหารเมื่อปี
พ.ศ. 2553 ส่ิงก่อสร้างท่ีมีซุ้มจระนําภายในเจดีย์ทรงระฆัง แผ่นอิฐมีจารึกอักษรขอมโบราณและประวัติ
สร้างเมอื งพจิ ิตรเก่าโดยพระยาโคตรบองเทวราช ต่อมาสมัยสโุ ขทยั จงึ มีการปฏสิ งั ขรณ์โดยพอกเจดีย์ทรง
ระฆงั ทับ สรา้ งพระวิหารและขุดคูนาํ้ ล้อมรอบเนอื่ งจากเมืองพจิ ติ รเกา่ มคี วามสาํ คญั เปน็ หวั เมอื งเอกสมัย
สุโขทัยเป็นราชธานีดังปรากฏเมืองสระหลวงในจารึกสมัยสุโขทัย จนกระท่ังในสมัยอยุธยาได้สร้างพระ
อุโบสถต่อเติมด้านหลังวัดมหาธาตุในแนวแกนของส่ิงก่อสร้างหลัก โดยปรากฏช่ือเมืองพิจิตรในพระราช
พงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยาฉบับสมเดจ็ พระนพรัตน์ (http://www.sac.or.th, 2558)

11) อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ต้ังอยู่ท่ีบ้านเมืองเก่า ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร อยู่ห่างจากเมืองพิจิตร
ตามทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจิตร–วังจิก) ประมาณ 7 กิโลเมตร สันนิษฐานตามพงศาวดารเหนือ
เรื่องพระยาแกรก (หวน พินธุพันธ์ 2520: 3) เช่ือว่าเป็นที่ต้ังเมืองพิจิตรเก่า สร้างขึ้นราว พ.ศ. 1601
โดยเจ้ากาญจนกมุ าร เปน็ ราชบตุ รของพระยาโคตรบองเจ้าเมืองละโว้ท่ีล้ีภัยมาสร้างเมืองชัยบวร (ตําบล
บ้านน้อย ตําบลบางคลาน อําเภอโพทะเลในปัจจุบัน) โดยเมืองพิจิตรท่ีเจ้ากาญจนกุมารสร้างขึ้นครอง
เมืองเป็นพระยาโคตรบองเทวราชตั้งอยู่ฝ่ังตะวันออกของแม่นํ้าน่านสายเก่า ภายในกําแพงเมืองมีพื้นที่

จังหวัดพิจิตร 2-27 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร สถานภาพทัว่ ไปของพืน้ ทีอ่ ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ รและพ้ืนที่โดยรอบ

ประมาณ 400 ไร่เศษ มีลักษณะเป็นเมืองโบราณ ประกอบด้วย กําแพงเมือง 2 ชั้นก่อด้วยอิฐล้อมรอบ
ด้านเหนือยาว 10 เส้น ด้านใต้ยาว 10 เส้น ด้านตะวันตกยาว 35 เส้น (กรมศิลปากร 2516: 274) มี
ป้อม ค่าย คู ประตูหอรบ และเจดีย์เก่า ฯลฯ สถานภาพปัจจุบันมีสวนรุกขชาติกาญจนกุมารจัดตั้งโดย
กรมป่าไม้เม่ือปี พ.ศ. 2520 ภายในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรมีต้นไม้และพรรณไม้นานาชนิดร่มร่ืน
เหมาะสมเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และมีหน่วยงานดูแลรักษาอุทยานเมืองเก่าพิจิตร 3 หน่วยงาน ได้แก่
กรมศิลปากร องค์การบริหารส่วนตําบลเมืองเก่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (สํานักงาน
วฒั นธรรมจังหวัดพิจติ ร, 2558) ภายในอุทยานเมอื งเกา่ พิจติ รยงั มสี ถานที่สาํ คัญๆ ไดแ้ ก่
11.1 วัดมหาธาตุ เมืองพิจิตร สร้างขึ้นในสมัยสุโขทัยและมีการใช้งานต่อเน่ืองจนถึงสมัยอยุธยา

สถานภาพปจั จบุ ันเป็นโบราณสถานร้างกอ่ ด้วยอฐิ ต้งั อยู่ก่ึงกลางเมืองพิจิตรเก่าทางฝั่งตะวันออก
ของแม่นํ้าน่านเก่า (ชาวบ้านเรียกแม่นํ้าเมืองเก่าหรือแม่นํ้าพิจิตร) สันนิษฐานว่าเป็นวัดที่สร้างคู่
กับเมืองพิจิตร และภายในวัดมหาธาตุประกอบดว้ ยส่งิ สาํ คญั ๆ ได้แก่
ก) เจดีย์ประธาน เป็นทรงระฆังแบบสุโขทัย มีชุดบัวถลาสามช้ันบนฐานเตี้ยๆ รองรับทรง

ระฆังขนาดค่อนข้างใหญ่ เหนือองค์ระฆังเป็นบัลลังก์ส่ีเหล่ียม แกนปล้องไฉน ปล้องไฉน
และเม็ดน้ําค้างซ่ึงเคยถูกต้นยางล้มฟาดจนปล้องไฉนหัก เม่ือปี พ.ศ. 2479 ส่วนยอดยัง
เหลือให้เห็นพุทธบัลลังก์สูงพ้นยอดไม้และมีต้นโพธ์ิขนาดย่อมขึ้นบริเวณช้ันพุทธบัลลังก์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 ต้นโพธ์ถิ กู ลมพัดหกั โค่นลงมา พระธาตุเจดีย์ส่วนที่หลงเหลือพังลง
มาเกดิ เป็นโพรงทําให้เห็นวา่ มซี มุ้ จระนําอยู่ภายในพระเจดีย์ มีพวงมาลัยร้อยด้วยลวดเงิน
ลกู ปดั เปน็ หยก แต่ถกู คนร้ายโจรกรรมไป (พละ วัฒโน 2508: 232) เจดีย์องค์ในอาจเป็น
สิง่ ก่อสรา้ งสมยั สร้างเมอื งพิจติ รน่าจะเปน็ ไดด้ ังปรากฏหลกั ฐานแผ่นอิฐมจี ารึกอักษรขอม
ข) พระอุโบสถ ต้ังอยู่ทางทิศตะวันออกหรือด้านหลังเจดีย์ประธาน สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นใน
สมัยอยุธยาเน่ืองจากสมัยสุโขทัยไม่นิยมสร้างพระอุโบสถ โดยสมัยอยุธยาจะนิยมสร้าง
พระอุโบสถในแนวเดยี วกับวิหารและเจดีย์สอดรับกับผลการขุดแต่งเนินโบราณสถานในปี
พ.ศ. 2534 ของกรมศิลปากรที่พบว่าวัดมหาธาตุมีส่ิงก่อสร้าง 2 สมัย ได้แก่ สมัยสุโขทัย
และสมยั อยุธยา (สมัย สุทธธิ รรม 2542: 48)
ค) วิหารเก้าห้อง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกหรือด้านหน้าเจดีย์ประธาน (วัดหันหน้าไปทางทิศ
ตะวนั ตกส่แู ม่นํ้าพิจติ รหรอื แมน่ ํ้านา่ นสายเกา่ ) มีขนาด 9 ห้อง
ง) พระสุพรรณบัฏ เป็นโบราณวัตถุช้ินสําคัญชิ้นหน่ึงได้จากภายในองค์เจดีย์ประธาน จารึก
อักษรขอมโบราณปรากฏชื่อ “เมืองสระหลวง” ปี พ.ศ. 1959 (สมัย สุทธิธรรม 2542: 7)
ตรงกับศิลาจารึกพ่อขุนรามคําแหง หลักท่ี 1 สันนิษฐานว่าอาจเป็นเมืองพิจิตรเก่า (หวน
พินธุพันธ์ 2520: 6 อ้างสาสน์สมเด็จ) โดยพระสุพรรณบัฏหรือลานทองเป็นแผ่นทองคํา
กว้าง 4.5 เซนติเมตร ยาว 14.2 เซนติเมตร ข้อความที่ปรากฏเป็นประกาศพระบรมราช
โองการเลื่อนพระสมณศักดิ์ภกิ ษรุ ูปหนง่ึ ของวดั มหาธาตุ (พละ วฒั โน 2508: 237-241)
จ) โบราณวัตถุสําคัญอื่นๆ มีทั้งที่ชาวบ้านค้นพบและพบโดยกรมศิลปากร ในปี พ.ศ. 2495
กรมศิลปากรดําเนินการขุดค้นเจดีย์ประธานพบแผ่นอิฐมีจารึกอักษรขอมโบราณ 2 แผ่น
มคี วามว่า “สุนทร” อาจเกย่ี วกับคําว่า “พิจิตร” แปลว่างามเหมือนกัน (คณะกรรมการฯ
2445: 73) จากการพิจารณาตัวอักษรบนแผ่นอิฐโดยกรมศิลปากรที่เข้าไปตรวจสอบใน

จังหวัดพิจิตร 2-28 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร สถานภาพท่ัวไปของพืน้ ท่ีอทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ รและพ้นื ที่โดยรอบ

วัดมหาธาตุในปี พ.ศ. 2495 ได้กําหนดอายุตัวอักษรราวพุทธศตวรรษที่ 18 (พละ วัฒโน
2508: 232) ส่วนโบราณวัตถุอื่นๆ ท่ีพบก่อนกรมศิลปากรเข้าไปสํารวจพ้ืนที่เท่าที่พอ
สืบค้นได้จะเป็นพระเคร่ืองชนดิ ต่างๆ ได้แก่ พระบเุ งิน บทุ อง ใบตาํ แย ใบมะยม พระแก้ว
สีต่างๆ พระแผง พระบูชาขนาดต่างๆ เทวรูปประจําทิศโลหะ เสล่ียงเล็กๆ ผอบ บาตร
พวงมาลัยหยกร้อยด้วยลวดเงินลวดทอง แผ่นอิฐปิดทองขนาดใหญ่ 25x75x15 เซนติเมตร
(สภาวัฒนธรรมแหง่ ชาติ 2500: 29)
11.2 เกาะศรีมาลา มีลักษณะเป็นมูลดินคล้ายเกาะเล็กๆ อยู่กลางคูเมืองนอกกําแพงเก่า มีคูล้อมรอบ
เกาะแต่ตื้นเขิน สันนิษฐานว่าแต่เดิมน่าจะเป็นป้อมหรือหอคอยรักษาการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เพราะตั้งอยูน่ อกเมืองและอย่กู ลางคูเมือง
11.3 ถา้ํ ชาละวนั มที ่ีมาจากวรรณคดเี รือ่ งไกรทอง บทพระราชนิพนธ์ของรัชกาลท่ี 2 ลักษณะเป็นช่อง
ขุดลกึ ลงไปในดนิ มเี ร่อื งเล่าว่าเมื่อประมาณ 65 ปีมาแล้ว พระภิกษุวัดนครชุมรูปหน่ึงจุดเทียนไข
เดินเข้าไปในถํ้าจนหมดเทียนเล่มหนึ่งยังไม่ถึงก้นถํ้า จึงไม่ทราบว่าภายในถ้ําชาละวันจะสวยงาม
วิจิตรพิสดารเพียงใด ลักษณะถ้ํากว้างเพียง 1.0 เมตร ยาว 1.5 เมตร ลึก 4.0 เมตร ในปัจจุบัน
ดินพังทลายทับถมจนต้ืนเขินและทรุดโทรมตามกาลเวลา จังหวัดพิจิตรจึงได้สร้างรูปป้ันไกรทอง
และชาละวนั ไวท้ ี่บริเวณปากถาํ้
12) ศาลหลักเมอื งพจิ ิตร สรา้ งเม่ือปี พ.ศ. 1601 สมัยพระเจ้ากาญจนกุมารหรือพระยาโคตรบองเทวราช แต่
ชํารดุ ทรุดโทรมตามกาลเวลาจึงไมส่ ามารถระบุสถานท่ตี ง้ั ได้อย่างแนช่ ดั ตอ่ มาปี พ.ศ. 2507–2510 นาย
แสวง ศรีมาเสริม ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร มีดําริจะบูรณะฟ้ืนฟูเมืองพิจิตรเก่าเพื่อเป็นสถานท่ีพักผ่อน
หย่อนใจ จึงกําหนดให้มีการฝังเสาหลักเมืองขึ้นใหม่เพ่ือเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมืองพิจิตร โดยมี
หลวงปู่โงน่ โสรโย นง่ั ฌานสมาธิเห็นทต่ี ้งั ศาลหลกั เมืองเกา่ เม่ือขดุ ลงไปพบซากไม้ที่ใช้ทําหลักเมือง ซาก
โครงกระดูกและวัตถุโบราณจํานวนหลายอย่าง จึงพอสันนิษฐานได้ว่าท่ีต้ังศาลหลักเมืองปัจจุบันเป็น
ที่ต้ังศาลหลักเมืองสมัยท่ีพระยาโคตรบองฝังไว้ท่ีเดิม อาคารศาลหลักเมืองสร้างเม่ือปี พ.ศ. 2520
แบ่งเป็น 2 ช้ัน ได้แก่ ด้านบนเป็นท่ีต้ังศาลหลักเมือง ด้านล่างเป็นที่ประดิษฐานรูปป้ันพระยาโคตรบอง
ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “พ่อปู่” สภาพแวดล้อมโดยรอบศาลหลักเมืองมีความร่มรื่นและต้นไม้นานาชนิด
มากมาย
13) ย่านพาณิชยกรรมวงั กรด ตัง้ อยูร่ ิมแม่น้าํ น่านในเขตเทศบาลตําบลวังกรด อําเภอเมืองพิจิตร อยู่ห่างจาก
เมืองพจิ ติ ร 10 กิโลเมตร เดิมชือ่ “บา้ นวงั กลม เปล่ยี นมาเป็น วังกรด” ตามช่ือสถานีรถไฟ ตลาดวังกรด
เป็นตลาดที่เกิดจากการเป็นชุมทางการเดินทางที่สําคัญ คือ การเกิดของทางรถไฟสายเหนือ และสถานี
รถไฟบ้านวังกลม ในปี พ.ศ. 2451 มีการสร้างตลาดขึ้นเป็นชุมชนค้าขายโดยหลวงประเทืองคดี ต่อมา
ตลาดวงั กรดไดก้ ลายเป็นศูนย์กลางการค้าขายแหล่งใหญ่ของจังหวัดพิจิตร เรียกได้ว่าเศรษฐกิจการค้าดี
มากกว่าในเมอื งพจิ ติ ร ภายในชุมชนย่านการค้าวังกรดมสี ถานทีน่ ่าสนใจหลายแห่ง (ดูรูปท่ี 2.5-1) ได้แก่
(http://www.sadoodta.com, 2558)
13.1 โรงหนังมิตรบันเทิง เดิมเป็นโรงตลาดมาก่อนแล้วเปลี่ยนมาเป็น “โรงหนังมิตรบันเทิง” หรือชาว
ตลาดเรียกว่า “วกิ ตาเหงี่ยม” เปน็ โรงหนังขนาดใหญ่ มลี ักษณะพิเศษ คอื เก้าอ้ีโรงหนงั จะเปน็ ไม้
ยางพาราบนขาไม้ เมื่อการขยายตัวของวัฒนธรรมภายในจังหวัดพิจิตรและมีโทรทัศน์เข้ามาสู่
บา้ นเรอื นและร้านตลาดโดยทวั่ ไป ทําให้โรงหนงั ต้องปดิ ตวั ลงไปในที่สดุ

จังหวัดพิจติ ร 2-29 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 2

“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร สถานภาพทวั่ ไปของพ้นื ทอ่ี ุทยานเมืองเก่าพจิ ิตรและพน้ื ทโี่ ดยรอบ

13.2 วัดวังกลม เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ใกล้สถานีรถไฟ และตลาดวังกรดประมาณ 500 เมตร สร้างขึ้น
ราว พ.ศ. 2461 พระประธานในอุโบสถวัดวังกลมมีชอ่ื เสียงเปน็ ที่รจู้ ักกนั ดวี า่ หลวงพ่อลือวัดวังกลม
เปน็ จุดศนู ย์กลางของชาวบ้านหลายหมู่บ้านในพ้ืนท่แี ถบนี้

13.3 อาคารเรือนแถวไม้ย่านตลาดวังกรด แบ่งช่วงการสร้างเป็น 2 ช่วง ได้แก่ อาคารส่วนที่สร้างช่วง
ก่อนสงครามโลกคร้ังที่ 2 และช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ลักษณะการเรียงตัวของอาคาร คือ
อาคารกลุ่มหนึ่งต้ังขนานกับแนวทางรถไฟ และอีกกลุ่มเรียงตัวกันตั้งแต่หน้าสถานีรถไฟลงไปยัง
ริมแม่น้ําน่าน ลักษณะอาคารเป็นเรือนแถวไม้สองช้ัน หลังคาทรงปั้นหยา เป็นอาคารท่ีมีคุณค่า
ทางสถาปตั ยกรรม ในอดีตการใช้ประโยชน์ของอาคารเป็นร้านค้าต่างๆ ได้แก่ ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า
ร้านขายอาหาร ร้านซ่อมนาฬิกา ร้านขายทอง ร้านถ่ายรูป ร้านขายเคร่ืองมือ/เคร่ืองใช้และของ
อปุ โภคบรโิ ภคตา่ งๆ เป็นต้น

13.4 บ้านหลวงประเทืองคดี หลวงประเทืองคดีเป็นอัยการและเป็นผู้ริเริ่มและสนับสนุนให้ชาวบ้าน
สรา้ งตลาดวังกรด บ้านหลวงประเทืองคดีในปัจจุบันเป็นอาคารทรงตึกหลังแรกของตลาดวังกรด
สร้างในชว่ งท่ีหลวงประเทอื งอายไุ ด้ประมาณ 80 ปี

13.5 ศาลเจ้าพอ่ วังกลมและงานง้ิววังกรด ศาลเจ้าพ่อวังกลมเป็นศูนย์รวมใจสําคัญของชาวตลาดวังกรด
ประมาณปี พ.ศ. 2455 กิจการค้าขายในตลาดรุ่งเรืองดี หลวงประเทืองคดีจึงได้ให้นายจ๊ับ แซ่ตั้ง
อญั เชิญเจา้ พอ่ วังกลมเขา้ มาอยใู่ นตลาดและสรา้ งศาลเจ้าให้ และทําพิธีเบิกเนตรในปี พ.ศ. 2494
งานสําคัญของตลาดวังกรดที่จัดทุกปีคือ “งานฉลองเจ้าพ่อวังกลม” หรือเรียกว่า “งานงิ้ว”
จัดเปน็ งานใหญ่เป็นเวลา 10–15 คืน สะท้อนให้เหน็ วัฒนธรรมของชาวไทยเช้ือสายจีน รวมทงั้ ยงั
เป็นงานที่เช่ือมความสัมพนั ธ์ของลกู หลานบา้ นวงั กรดใหก้ ลบั มายังบา้ นเกิดประจาํ ทุกปี

13.6 ศูนย์ข้อมูลชุมชน (บ้านเก่าเล่าเรื่อง) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณการปรับปรุงจากการเคหะ
แห่งชาติให้เปน็ แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมและการอนุรักษ์อาคาร
ของชุมชน ภายในอาคารมที ้ังนทิ รรศการและส่วนจัดแสดงส่งิ ของทช่ี าวตลาดวังกรดนําของสะสม
ส่วนตัวที่มีเร่ืองราวเบื้องหลังมาร่วมกันจัดแสดงเป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเล็กๆ เพ่ือสะท้อนภาพ
วนั วานของตลาดวงั กรด

(อ้างอิง http://sadoodta.com/content/

รปู ที่ 2.5-1 พนื้ ท่ียา่ นพาณิชยกรรมวงั กรด ตง้ั อยู่ริมแม่นา้ํ น่านในเขตเทศบาลตาํ บลวงั กรด

จังหวดั พิจิตร 2-30 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 2

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร สถานภาพท่วั ไปของพนื้ ที่อุทยานเมอื งเก่าพิจิตรและพืน้ ท่โี ดยรอบ

2.5.2 แหล่งทอ่ งเทีย่ วสําคญั ในพน้ื ที่เมอื งพิจิตร

การรวบรวมขอ้ มูลแหล่งทอ่ งเท่ยี วสําคัญในพน้ื ทเี่ มอื งพิจติ รและพืน้ ที่โดยรอบภายในรศั มี 50 กิโลเมตรจากพื้นท่ี
โครงการได้จากสํานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดพิจิตร (พ.ศ. 2560) กรมการท่องเท่ียว (พ.ศ. 2560) และการสํารวจ
ภาคสนามในเดือนกรกฎาคม–กันยายน 2560 จาํ แนกเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ แหลง่ ท่องเท่ียวธรรมชาติ แหล่งท่องเท่ียวเชิง
เกษตร แหล่งท่องเที่ยวโบราณสถาน/โบราณสถาน/โบราณวัตถุ/ประวัติศาสตร์/ศาสนสถาน และแหล่งท่องเท่ียวอื่นๆ
จํานวนทงั้ ส้นิ 47 แห่ง (ดรู ายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ในภาคผนวก ข) ดงั แสดงในตารางที่ 2.5-1 และรูปท่ี 2.5-2 ดังอธิบายได้ดงั น้ี

1) อําเภอเมืองพจิ ิตร 25 แห่ง ได้แก่ อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร (พนื้ ที่โครงการ) ศาลหลกั เมอื ง (พื้นทีโ่ ครงการ)
วัดมหาธาตุ (พื้นที่โครงการ) ถํ้าชาละวัน (พ้ืนที่โครงการ) เกาะศรีมาลา (พ้ืนท่ีโครงการ) วัดนครชุม
(พื้นที่โครงการ) วดั โรงชา้ ง (0.91 กโิ ลเมตรจากพื้นที่โครงการ) บึงสีไฟ (4.16 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ)
โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม (รอยเสด็จประพาส ร.9-4.75 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) สถานแสดงพันธ์ุ
ปลาเฉลิมพระเกียรติ (4.78 กิโลเมตรจากพ้ืนที่โครงการ) สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิฯ (4.89 กิโลเมตร
จากพื้นที่โครงการ) สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯพิจิตร (5.14 กิโลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการ) พิพิธภัณฑ์
เมืองพิจิตร (6.34 กิโลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการ) สถานีรถไฟพิจิตร (รอยเสด็จประพาส ร.9-6.49
กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ) วัดท่าหลวง (6.59 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ) ศาลเจ้าพ่อวังกลม (7.85
กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) ตลาดเก่าวังกรด (9.38 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ) วัดฆะมัง (10.54
กโิ ลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการ) วดั ดงป่าคํา (รอยเสดจ็ ประพาสต้น ร.5-10.65 กโิ ลเมตรจากพน้ื ท่โี ครงการ)
ศาลเจ้าแม่ทับทิมท่าฬ่อ (10.89 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) ศูนย์มิตรภาพไทย–เวียดนามบ้านดง
(พิพิธภัณฑโ์ ฮจมิ ินห-์ 11.02 กโิ ลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ) วัดท่าฬ่อ (11.80 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ)
วัดใหม่คําวัน (12.33 กิโลเมตรจากพ้ืนที่โครงการ) วัดหัวดง (12.45 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ) และ
วัดเขารปู ช้าง (14.07 กโิ ลเมตรจากพน้ื ที่โครงการ)

2) อําเภอบางมูลนาก 3 แห่ง ได้แก่ วัดท่าช้าง (44.70 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) วัดห้วยเขน (45.90
กิโลเมตรจากพืน้ ท่ีโครงการ) และวัดสุขมุ าราม (48.11 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ)

3) อําเภอสามง่าม 3 แห่ง ได้แก่ ตําบลเนินปอ (รอยเสด็จประพาส ร.9-15.85 กิโลเมตรจากพ้ืนที่โครงการ)
วัดบ้านไร่ (14.16 กิโลเมตรจากพื้นท่ีโครงการ) และวัดใหม่ปลายห้วย (21.81 กิโลเมตรจากพ้ืนที่
โครงการ)

4) อําเภอโพทะเล 3 แห่ง ได้แก่ วัดหิรัญญารามหรือวัดบางคลาน (43.52 กิโลเมตรจากพ้ืนที่โครงการ)
วดั ทา้ ยนาํ้ (30.65 กโิ ลเมตรจากพ้นื ที่โครงการ) และวัดบ้านนอ้ ย (39.94 กิโลเมตรจากพน้ื ทโ่ี ครงการ)

5) อาํ เภอทบั คล้อ 3 แหง่ ไดแ้ ก่ ท่งุ ดอกกระเจยี วป่าเขาหวั โล้น ตําบลเขาเจ็ดลูก (33.59 กโิ ลเมตรจากพ้นื ที่
โครงการ) วัดทับคล้อ (สวนพระโพธิสัตว์-39.62 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) และวัดพระพุทธบาท
เขาทราย (44.88 กโิ ลเมตรจากพืน้ ท่โี ครงการ)

6) อาํ เภอตะพานหนิ 3 แห่ง ไดแ้ ก่ พระพทุ ธเกตุมงคล (หลวงพ่อโต) วัดเทวประสาท (24.44 กิโลเมตรจาก
พื้นที่โครงการ) วัดคลองคูน (30.67 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) และวัดพระพุทธบาทเขารวก (32.06
กโิ ลเมตรจากพืน้ ที่โครงการ)

7) อําเภอโพธิ์ประทับช้าง 1 แห่ง ได้แก่ วัดโพธ์ิประทับช้าง (รอยเสด็จประพาสต้น ร.5-11.65 กิโลเมตรจาก
พื้นทีโ่ ครงการ)

จังหวัดพิจติ ร 2-31 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 2

“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร สถานภาพทว่ั ไปของพนื้ ทีอ่ ุทยานเมืองเกา่ พิจติ รและพ้ืนท่โี ดยรอบ

8) อาํ เภอสากเหลก็ 1 แหง่ ได้แก่ สวนเกษตรวงั ทบั ไทร (22.07 กิโลเมตรจากพน้ื ทโี่ ครงการ)
9) อําเภอวงั ทรายพูน 2 แหง่ ได้แก่ วัดยางสามต้น (29.66 กิโลเมตรจากพ้ืนท่ีโครงการ) และวัดป่าเขาน้อย

(31.93 กิโลเมตรจากพืน้ ทโ่ี ครงการ)
10) อําเภอบงึ นาราง 2 แห่ง ได้แก่ วัดคุณพุ่ม (22.98 กิโลเมตรจากพื้นที่โครงการ) และวัดบึงนาราง (29.45

กิโลเมตรจากพ้ืนทโี่ ครงการ)
11) อาํ เภอดงเจรญิ 1 แหง่ ได้แก่ วดั สํานักขนุ เณร (49.58 กิโลเมตรจากพื้นท่โี ครงการ)

ตารางท่ี 2.5-1
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วสาํ คญั ในพื้นทีเ่ มืองพิจติ รและพ้ืนทีโ่ ดยรอบ

ประเภทแหลง่ ท่องเทยี่ ว ประเภทแหล่งท่องเท่ียว
1. บึงสไี ฟ อําเภอเมืองพิจิตร1 27. วดั คลองคณู อําเภอตะพานหนิ 4
2. สวนสมเด็จพระศรนี ครินทรฯ์ พจิ ิตร อาํ เภอเมืองพจิ ติ ร1 28. วัดคณุ พุ่ม อําเภอบงึ นาราง4
3. สวนสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ิต์ิฯ อําเภอเมอื งพจิ ติ ร1 29. วดั บงึ นาราง อาํ เภอบงึ นาราง4
4. ทงุ่ ดอกกระเจยี วปา่ เขาหวั โล้น อําเภอทบั คล้อ1 30. วดั ท้ายน้าํ อาํ เภอโพทะเล4
5. สวนเกษตรวังทบั ไทร อาํ เภอสากเหลก็ 2 31. วัดบ้านน้อย อําเภอโพทะเล4
6. ตลาดเกา่ วังกรด อาํ เภอเมอื งพิจติ ร3 32. วัดสขุ ุมาราม อําเภอบางมูลนาก4
7. ศาลเจ้าพ่อวังกลม อําเภอเมอื งพจิ ิตร3 33. วัดห้วยเขน อําเภอบางมลู นาก4
8. ศาลเจ้าแมท่ ับทิมท่าฬอ่ อาํ เภอเมอื งพิจติ ร3 34. วัดท่าช้าง อาํ เภอบางมูลนาก4
9. สถานแสดงพันธุป์ ลาเฉลิมพระเกยี รติ อําเภอเมอื งพจิ ิตร3 35. วดั เขารปู ชา้ ง อาํ เภอเมอื งพิจิตร4
10. สถานีรถไฟพจิ ิตร อาํ เภอเมอื งพจิ ติ ร (รอยเสดจ็ ประพาส ร.9)3 36. วดั หัวดง อําเภอเมอื งพจิ ติ ร4
11. โรงเรียนพจิ ิตรพทิ ยาคม อาํ เภอเมอื งพจิ ติ ร (รอยเสด็จประพาส ร.9)3 37. วดั ใหม่คาํ วัน อําเภอเมอื งพิจิตร4
12. ตําบลเนนิ ปอ อําเภอสามงา่ ม (รอยเสด็จประพาส ร.9)3 38. วัดท่าฬอ่ อาํ เภอเมอื งพจิ ิตร4
13. อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร อาํ เภอเมืองพิจิตร4 39. วดั ฆะมงั อําเภอเมืองพิจติ ร4
14. วัดมหาธาตุ อาํ เภอเมืองพิจติ ร4 40. วดั นครชมุ อําเภอเมืองพิจติ ร4
15. ศาลหลักเมอื ง อําเภอเมอื งพิจิตร4 41. วดั โรงช้าง อําเภอเมืองพิจิตร4
16. ถ้ําชาละวัน อาํ เภอเมืองพิจติ ร4 42. พิพิธภณั ฑเ์ มืองพจิ ิตร อําเภอเมืองพิจิตร4
17. เกาะศรมี าลา อาํ เภอเมืองพิจิตร4 43. วัดสํานกั ขุนเณร อําเภอดงเจรญิ 4
18. วดั ทา่ หลวง พระอารามหลวง อาํ เภอเมอื งพิจติ ร4 44 วัดบา้ นไร่ อําเภอสามง่าม4
45. วดั ใหมป่ ลายห้วย อําเภอสามงา่ ม4
19. วดั ดงป่าคาํ (รอยเสด็จประพาสต้น ร.5) อาํ เภอเมอื งพจิ ติ ร
20. ศูนยม์ ิตรภาพไทย-เวยี ดนามบ้านดง (พพิ ิธภัณฑ์โฮจมิ นิ ห)์ อําเภอเมืองพิจติ ร4 46. วดั ยางสามต้น อาํ เภอวงั ทรายพูน4
21. วดั โพธ์ิประทับชา้ ง (รอยเสด็จประพาสต้น ร.5) อําเภอโพธ์ิประทับชา้ ง4 47. วัดปา่ เขาน้อย อําเภอวังทรายพูน4
22. วัดทับคลอ้ (สวนพระโพธสิ ตั ว์) อาํ เภอทับคล้อ4
23. วดั พระพุทธบาทเขาทราย อาํ เภอทบั คลอ้ 4
24. วดั หริ ญั ญาราม หรือวดั บางคลาน อําเภอโพทะเล4
25. พระพุทธเกตุมงคล (หลวงพอ่ โต) วัดเทวประสาท อาํ เภอตะพานหิน4
26. วัดพระพทุ ธบาทเขารวก อําเภอตะพานหิน4

หมายเหต:ุ 1/ = แหลง่ ท่องเท่ยี วธรรมชาติ 2/ = แหล่งทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตร 3/ = แหลง่ ท่องเท่ยี วอ่นื ๆ

4/ = แหล่งทอ่ งเที่ยวโบราณสถาน/โบราณสถาน/โบราณวตั ถ/ุ ประวตั ิศาสตร/์ ศาสนสถาน

จงั หวดั พิจิตร 2-32 มหาวิทยาลยั มหิดล


Click to View FlipBook Version