The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dhara.consult, 2021-03-31 04:31:06

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

บทท่ี 6
การมีสว่ นร่วมของประชาชน

บทท่ี 6
การมสี ่วนรว่ มของประชาชน

6.1 หลกั การและเหตุผล

คณะรัฐบาลภายใต้การนําของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ หรอื คสช. ท่ีเข้ามาบรหิ ารประเทศไทยบนวสิ ยั ทศั น์วา่ “มนั่ คง มัง่ คง่ั และยง่ั ยนื ” มภี ารกิจสาํ คญั ในการขบั เคล่ือน
ปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทางและพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรือง สามารถรับมือกับโอกาส
และภัยคุกคามแบบใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงในยุคศตวรรษท่ี 21 จึงกําหนดวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยหรือโมเดลประเทศไทย 4.0 โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจในกลุ่มท่ี 5 หรือกลุ่ม
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและบริการที่มีมูลค่าสูงโดยส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ฯ เป็นงานส่งเสริมการท่องเที่ยวท้ัง
จากต่างประเทศและภายในประเทศให้มีการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและเพิ่มมูลค่าสูงข้ึนและให้มีรายได้จาก
นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าตัวภายในระยะเวลา 5 ปี และมีนโยบายให้บูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศเพ่ือการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนในการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการท่องเที่ยวและบริการอีกทั้งยุทธศาสตร์
การทอ่ งเท่ยี วไทย พุทธศกั ราช 2558-2560 เน้นการพัฒนาการท่องเทยี่ วและบริการให้มีคุณภาพเทียบเท่ามาตรฐานสากล
และเชือ่ มโยงกับแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พุทธศักราช 2560-2564)

จังหวัดพิจิตรอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ที่มีศักยภาพของแหล่งท่องเท่ียว ประเพณีวัฒนธรรมท่ีมี
ช่ือเสียงระดับประเทศ อาทิ ประเพณีแข่งขันเรือยาวประจําปีชิงถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช แห่งเดยี วของประเทศไทยซึง่ กําหนดจัดขน้ึ ระหวา่ งวนั เสาร–์ อาทติ ย์แรกของเดอื นกนั ยายนของทกุ ปีและมี
พระพุทธรปู คบู่ ้านคู่เมอื งและเปน็ ส่งิ เคารพสักการะของประชาชนทั่วไปนามว่า “หลวงพ่อเพชร” เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ที่
มีอายุมากกว่า 900 ปี ประดิษฐาน ณ วัดท่าหลวง พระอารามหลวง อําเภอเมืองพิจิตร รวมถึงแหล่งท่องเที่ยวสําคัญๆ
ได้แก่ อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ต้ังอยู่ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร เป็นอุทยานทางประวัติศาสตร์และสวนรุกขชาติโดย
ในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเป็นท่ีตั้งศาลหลักเมืองพิจิตร ศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง โบราณสถานและสถานท่ีอนุรักษ์
พันธุ์พืชและเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของนักท่องเท่ียวระดับท้องถ่ินและระดับภูมิภาค สืบเน่ืองจากอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
เปน็ แหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์สําคัญของจังหวัดพจิ ติ รมีสถานภาพปัจจุบนั ชํารดุ ทรุดโทรมตามกาลเวลา ส่ิงกอ่ สร้าง
และส่ิงอํานวยความสะดวก ร้านค้าชํารุดเสียหายและมีการเส่ือมสภาพและสภาพแวดล้อมโดยรอบไม่งดงามเนื่องจากขาด
งบประมาณพัฒนา ปรับปรุง ดูแลและบํารุงรักษา จังหวัดพิจิตรจึงจัดรูปแบบและแผนแม่บทในการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว
เชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” เพื่อสนองตอบด้านส่งเสริมและพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน
และสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ รวมท้ังเป็นการพัฒนาอุทยานเมืองเก่าพิจิตรให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่
และสภาพแวดล้อมโดยรอบและการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม รวมท้ังมีสิ่งอํานวยความสะดวกด้านต่างๆ ให้บริการแก่
นกั ท่องเที่ยวระดบั ทอ้ งถน่ิ และระดบั ภมู ิภาค

6.2 วตั ถุประสงค์ของการจดั กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

เพื่อให้ภาคประชาชนและกลุ่มชุมชนท้องถ่ินได้รับรู้–รับทราบรายละเอียดของการพัฒนาโครงการ และเป็นผู้มี
ร่วมในทุกๆ ขั้นตอนของการขับเคล่ือนกระบวนการวางแนวคิดด้านต่างๆ เพ่ือการออกแบบปรับปรุงพื้นที่อุทยานเมืองเก่า

จงั หวดั พิจติ ร 6-1 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การมีสว่ นร่วมของประชาชน

พิจิตรท่ีเหมาะสมฯ และได้รับการยอมรับและสนองความต้องการและให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อภาคประชาชนและกลุ่ม
ชุมชนท้องถิน่ โดยส่วนรวม

6.3 รปู แบบและกลไกในการจัดกระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชน

กลไกการประสานการจดั กระบวนการมีส่วนร่วมจะจัดให้มีข้ึนทุกระดับและการออกแบบกิจกรรมให้สอดรับกับ
กระบวนการและขั้นตอนการวางแนวคิดเพื่อออกแบบปรับปรุงพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรท่ีเหมาะสมฯ โดยมีช่วงจังหวะ
ของการเข้าร่วมทแี่ ตกตา่ งกันตามขบวนการดาํ เนนิ งานดงั รูปท่ี 6.3-1 ดงั แบง่ ข้นั ตอนการดาํ เนินงานเป็น 3 ข้ันตอนดังน้ี

1) การติดต่อประสานงานและการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้ท่ีเกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้นําชุมชนเพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์และทราบทัศนคติ ความคิดเห็นต่อโครงการในเบ้ืองต้น เป็นการสื่อสารโดยตรงต่อ
กลุ่มเป้าหมาย ด้วยการเข้าพบทําความรู้จักคุ้นเคย ปรึกษาหารือรวมท้ังส่งผ่านข้อมูลโครงการเพ่ือการ
สร้างความเข้าใจและให้ผู้นําชุมชนนําไปถ่ายทอดต่อให้กับกลุ่มเป้าหมาย สรุปกิจกรรม/รูปแบบที่จะ
ดําเนนิ การไดด้ ังนี้
1.1 การเข้าพบปรึกษาหารืออยา่ งไม่เป็นทางการในระยะแรกกับหนว่ ยงานท้องถ่ิน องค์กร ราษฎรใน
ชุมชน ผู้นําชุมชน ผู้นําทางความคิดในชุมชน กลุ่มองค์กรท้ังภาครัฐและเอกชน สื่อมวลชน
ท้องถิ่น นักการเมืองเพื่อรวบรวมข้อมูลของชุมชน สภาพปัญหาต่างๆ ภายในชุมชนและช่องทาง
ในการตดิ ต่อส่ือสารในปัจจบุ ัน
1.2 การประสานงานในการจัดประชุม เป็นการติดต่อกับผู้นําชุมชนและหน่วยงานในท้องถิ่นเพ่ือ
จัดการประชุม การจัดเตรียมสถานที่ การเลือกช่วงเวลาท่ีเหมาะสม การพิจารณาเชิญบุคคล/
ตวั แทนเข้าร่วมประชมุ ฯลฯ

2) การประชุมรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน จัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมประชุมรับฟังความคิดเห็น
จากหน่วยงานเกี่ยวข้องในระดับอําเภอ ท้องถ่ิน ภาคเอกชน ผู้นําชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิและประชาคมใน
พน้ื ทอี่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รจํานวน 4 ครง้ั ไดแ้ ก่ การจดั ประชมุ สัมมนา 2 ครัง้ ๆ ละไม่น้อยกว่า 100 คน
และการจัดประชมุ กล่มุ ยอ่ ย 2 คร้งั ๆ ละไม่น้อยกว่า 50 คน (ครอบคลุมพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและ
พื้นท่ีโดยรอบในรัศมีไม่เกิน 5 กิโลเมตร) เพ่ือร่วมแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะและความต้องการ
การแก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางการพฒั นาและการปรบั ปรุงพื้นท่อี ุทยานเมืองเก่าพจิ ิตรร่วมกัน

3) การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน จะดําเนินงานทุกครั้งที่มีการจัดประชุมและเข้าพบ
ปรึกษาหารือกับกลุ่มเป้าหมาย โดยการสอบถาม/สัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งในลักษณะท่ีเป็น
ทางการและไม่เป็นทางการ ผลท่ีได้รับจากการติดตามตรวจสอบจะนําไปพิจารณาประเมินลักษณะการ
เข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน หน่วยงาน องค์กร ความเข้าใจในการดําเนินงานโครงการ
รวมท้ังนําข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ได้รับจากการดําเนินงานมาทบทวน วิเคราะห์และปรับเปล่ียนลักษณะ
โครงการให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนรวมทั้งจะเป็นประโยชน์ในการจัดทํา
ขอ้ เสนอแนะสําหรบั ดาํ เนินงานประชาสัมพันธแ์ ละแนวทางสง่ เสรมิ กระตนุ้ การมีส่วนร่วมของประชาชน
และชมุ ชนในระยะตอ่ ไปโดยเฉพาะการกระตุ้นให้ตระหนกั ถงึ บทบาทหน้าที่ของชมุ ชนตอ่ การวางแนวคิด
เพ่ือปรับปรุงพน้ื ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ รทเี่ หมาะสม

จังหวัดพิจติ ร 6-2 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 6
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การมสี ่วนรว่ มของประชาชน

(1) ขนั้ เตรยี มการ เขา้ พบหารอื /ชแี้ จงรายละเอยี ดโครงการฯ
ข้อมูลพืน้ ฐานของโครงการฯ
- รายละเอียดของการศกึ ษาฯ ทศั นคต/ิ ความคดิ เหน็
- กลมุ่ ชุมชนทอ้ งถนิ่ ท่ไี ด้รับผลกระทบ ข้อเสนอแนะ
กลมุ่ เปา้ หมาย
จัดทาํ สอ่ื ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ระดบั พื้นท่ีโครงการ
การติดตามตรวจสอบผลการมีสว่ นรว่ มฯ - ชุมชนทอ้ งถนิ่ ท่ไี ด้รับผลกระทบ
- ผู้นาํ ชุมชน/ผู้นําทางความคดิ
และการประชาสมั พนั ธ์โครงการฯ - ประชาชนท่วั ไป
ระดบั เขต
(2) ขัน้ ตอนการศกึ ษาผลกระทบด้านสง่ิ แวดลอ้ ม - หน่วยงานราชการท่ีเก่ยี วขอ้ ง
สัมภาษณ์กลุ่มเปา้ หมาย - องคก์ รพฒั นาเอกชน
- สอ่ื มวลชนสว่ นกลาง/ท้องถ่ิน
ประชมุ ช้ีแจงข้อมลู และรบั ฟงั ความคดิ เห็น สถาบันการศกึ ษา
นาํ ข้อเสนอแนะมาปรบั ปรงุ /แก้ไขเพ่ิมเตมิ พืน้ ที่จังหวดั พจิ ิตร

ประสานขอ้ มลู รายละเอียด ข้อเสนอแนะดา้ นการมีส่วนรว่ มและ
โครงการฯ และผลการศกึ ษาและ ประชาสมั พันธ์โครงการ
ข้อมลู สว่ นอื่นๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับ

จังหวัดพจิ ิตร

รปู ท่ี 6.3-1 ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งานดา้ นการมสี ว่ นร่วมของประชาชนโครงการฯ

จงั หวดั พิจิตร 6-3 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร การมสี ว่ นร่วมของประชาชน

6.4 สรปุ ผลการดาํ เนนิ การประชมุ สัมมนาครง้ั ท่ี 1

6.4.1 วัตถปุ ระสงคข์ องการจัดสมั มนาคร้ังที่ 1

การสัมมนาคร้ังที่ 1 หรือการปฐมนิเทศโครงการมีวัตถุประสงค์เพ่ือแนะนําโครงการ ช้ีแจงข้อมูลเบื้องต้นและ
แผนงานการศึกษาของโครงการ พร้อมท้งั ขอความร่วมมือในการประสานงานและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโครงการให้แก่ผู้ท่ี
เก่ยี วขอ้ งไดร้ บั รู้รับทราบ และการรับฟงั ปญั หา ข้อมูล ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะตอ่ การดาํ เนนิ งานศึกษาโครงการ

6.4.2 การเปิดประชมุ สมั มนาและจาํ นวนผูเ้ ข้าร่วมประชมุ

การประชุมสัมมนาคร้ังท่ี 1 หรือการปฐมนิเทศโครงการได้ดําเนินการเม่ือวันจันทร์ท่ี 7 สิงหาคม 2560 เวลา
08:30 – 12:00 น. ณ ห้องวรพงศ์ โรงแรมมีพรสวรรค์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท หมู่ที่ 8 ตําบลท่าหลวง อําเภอเมือง
จังหวัดพิจิตร โดยมีนายพิษณุ เสนาวิน รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร เป็นประธานการดําเนินการประชุมสัมมนาคร้ังที่ 1
และนายทองทศ อินทมุ าร หัวหน้าสาํ นักงานจงั หวัดพจิ ติ ร เป็นผู้แทนจงั หวัดพิจิตรกลา่ วรายงานการประชุมสมั มนาฯ

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมสัมมนาคร้ังท่ี 1 มีจํานวนผู้เข้าร่วมประชุมท้ังสิ้น 95 คน (ดูรูปท่ี 6.4-1 โดย
ไม่นับรวมคณะกรรมการกํากับฯ และผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดลจํานวน 11 คน) จําแนกเป็นหน่วยงานระดับภูมิภาค/
จังหวัด/อําเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้นําชุมชน ภาคเอกชน/องค์กรพัฒนาเอกชน/องค์กรอิสระ/รัฐวิสาหกิจ
กลุ่มวิชาการอิสระ/สถาบันการศึกษา/ศาสนสถานและสื่อมวลชน ฯลฯ โดยบรรยากาศในการประชุมสัมมนาคร้ังที่ 1 ดัง
แสดงในรปู ที่ 6.4-2 ดงั สรปุ กล่มุ เป้าหมายได้ดงั นี้ (ดรู ายละเอียดเพมิ่ เตมิ ในภาคผนวก ง)

กลุ่มเป้าหมาย จาํ นวนกลุ่มเป้าหมาย (คน)
จํานวนท่ีเชญิ ประชมุ ผู้เข้าร่วมประชมุ
1. หนว่ ยงานราชการระดบั ภูมภิ าค/จงั หวัด/อําเภอ
2. องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นและผ้นู ําชมุ ชน 55 50
3. ภาคเอกชน/องค์กรพัฒนาเอกชน/องคก์ รอิสระ/รัฐวสิ าหกจิ 56 36
4. กลมุ่ วชิ าการอสิ ระ/สถาบันการศึกษา/ศาสนสถาน 16 7
5. สื่อมวลชน 97
12
จาํ นวนรวมกลมุ่ เปา้ หมาย 137 95
คณะกรรมการกํากบั ฯ 52
ผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดล -9
142 106
จาํ นวนรวมทง้ั หมด

จังหวัดพิจิตร 6-4 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 6
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร การมีส่วนร่วมของประชาชน

ส่ือมวลชน

กลุ่มวิชาการอิสระ/สถาบันการศึกษา/
ศาสนสถาน

ภาคเอกชน/องค์การพัฒนาเอกชน/
องคก์ รอิสระ/รัฐวสิ าหกจิ

องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ และผนู้ าํ ชมุ ชน

หนว่ ยงานราชการระดับภมู ิภาค/
จังหวดั /อําเภอ

รูปท่ี 6.4-1 กราฟสรปุ กลุม่ เป้าหมายทเ่ี ขา้ ร่วมประชมุ สัมมนาครงั้ ท่ี 1 จํานวน 95 คน ไมน่ ับรวมคณะกรรมการกํากับฯ
และผแู้ ทนมหาวทิ ยาลยั มหิดลจาํ นวน 11 คน

6.4.3 สรุปประเด็นการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากที่ประชมุ

ข้อคิดเห็น ข้อวิตกกังวล ข้อเสนอแนะและข้อซักถามต่างๆ จากผู้เข้าร่วมประชุมท่ีมีต่อการพัฒนาพื้นที่อุทยาน
เมอื งเกา่ พจิ ิตรพร้อมทงั้ ขอ้ ช้ีแจงจากท่ีปรกึ ษาดังสรุปเป็นประเดน็ ทส่ี าํ คญั ไดด้ งั นี้

1) ต้องการให้ปล่อย WiFi ใหก้ บั ผูม้ าใชบ้ รกิ ารในพื้นทอ่ี ุทยานเมืองเก่าพิจติ รและแหล่งท่องเที่ยวบงึ สีไฟ
2) เห็นด้วยกับการพัฒนาโครงการและช่วงเปิดดําเนินการควรจะมีงบประมาณในการดูแลพื้นท่ีอุทยาน

เมอื งเกา่ และไมป่ ล่อยให้ทรุดโทรมเหมอื นโครงการอนื่ ๆ ท่ผี ่านมา
3) ควรจะมีมคั คเุ ทศก์น้อยเพือ่ แนะนาํ และอธบิ ายความสาํ คญั ให้กับนกั ท่องเท่ียว
4) เห็นด้วยกับแนวทางการพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรในการเป็นศูนย์กลาง Solar Farm Model

จากอทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รและขยายมายังแหลง่ ท่องเทย่ี วบึงสีไฟ
5) ความจางหายของวัฒนธรรมและขนบประเพณีจะต้องมีช่องทางท่ีมีความเหมาะสม ทําให้มีความพอดี

หรอื สมดลุ เพอื่ ใหก้ ลมกลืน ผกู พันกบั วิถีชวี ิตความเปน็ ไทยเน้นเชงิ อนุรกั ษ์ที่มคี วามยง่ั ยืน
6) จัดใหม้ ีห้องประชมุ หรอื ห้องแสดงนทิ รรศการเชงิ อนุรกั ษใ์ นพน้ื ที่อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร
7) เห็นด้วยกับการพัฒนาอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเพื่อสร้างแรงดึงดูดให้นักท่องเท่ียวที่มาให้รู้ว่าพ้ืนท่ีอุทยาน

เมอื งเก่าพจิ ติ รเป็นแหล่งประวตั ิศาสตรส์ าํ คญั ของจงั หวัดพจิ ติ ร
8) ต้องการให้มีการพฒั นาวดั นครชมุ เปน็ แหลง่ ท่องเที่ยวเพิม่ เตมิ อีกแหง่ หน่ึง
9) การพัฒนาอุทยานเมืองเก่าพิจิตรจะต้องนําแบบการพัฒนาโครงการให้กับสํานักศิลปากรที่ 6 สุโขทัย

ตรวจสอบแบบกอ่ นทจี่ ะนาํ ไปพัฒนา
10) การลงพนื้ ทขี่ องที่ปรึกษาเพ่อื ศึกษาข้อมูลควรจะไปพบผนู้ ําชมุ ชนเพ่อื จะได้ข้อมลู ที่แทจ้ รงิ
11) อยากให้ดูระบบระบายนา้ํ ในพนื้ ที่ขา้ งเคียง กรณีมฝี นตกลงมาพบวา่ มกี ารระบายน้ําไปสู่แม่นํ้าน่านไม่ทัน

บางคร้งั เกิดน้าํ ท่วมขงั พนื้ ที่ข้างเคียง เชน่ โรงเรียนวัดโรงช้าง ฯลฯ

จงั หวดั พิจติ ร 6-5 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 6
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การมสี ่วนรว่ มของประชาชน

การประชมุ สัมมนาครั้งท่ี 1
โครงการศกึ ษางานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พจิ ติ ร ในวนั จันทรท์ ่ี 7 สงิ หาคม 2560 เวลา 08:30 – 12:00 น.

บรรยากาศการลงทะเบยี น รบั เอกสารประกอบการประชุม การชมบอรด์ นทิ รรศการ การชีแ้ จงรายละเอยี ด
และการถาม–ตอบขอ้ ซกั ถามและขอ้ หว่ งกงั วลตา่ งๆ

รปู ท่ี 6.4-2 ภาพบรรยากาศการประชุมสัมมนาคร้ังท่ี 1

จังหวดั พิจิตร 6-6 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การมีส่วนรว่ มของประชาชน

6.4.4 สรุปผลแบบประเมนิ แสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การประชุมสมั มนาครง้ั ที่ 1

ภายหลังจากการบรรยายภาพรวมของการพัฒนาพน้ื ทอ่ี ุทยานเมืองเก่าพิจิตร การตอบข้อซักถามและการรับฟัง
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ปรึกษาได้ขอความร่วมมือให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตอบแบบประเมินเพื่อแสดงความ
คิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยแบบประเมินเพ่ือสอบถามความคิดเห็นสรุปข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน
ได้แก่ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมิน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ความคิดเห็น
ตอ่ รูปแบบการพัฒนาพืน้ ทอี่ ุทยานเมืองเก่าพิจิตรและความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์และการจัดประชมุ สมั มนาครงั้ ท่ี 1

การประชุมสัมมนาครั้งที่ 1 ได้สํารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมการประชุมโดยใช้แบบประเมินแสดงความ
คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะต่อการประชุมสมั มนาครง้ั ที่ 1 มผี ตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ จาํ นวน 73 คนจากจํานวน
ผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งหมด 95 คนหรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 76.84 และไม่นับรวมคณะกรรมการกํากับฯ และผู้แทน
มหาวิทยาลัยมหิดลจํานวน 11 คน

1) ข้อมูลท่ัวไป ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้แทนจากหน่วยงานราชการระดับ
ภูมภิ าค/จงั หวัด/อําเภอ (รอ้ ยละ 47.95) รองลงมาเป็นผู้นําชุมชน (ร้อยละ 34.25) และองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (ร้อยละ 6.85) และส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 63.01) และเพศหญิง (ร้อยละ 36.99)
โดยเป็นกลุ่มท่ีมีอายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 50-59 ปี (ร้อยละ 46.58) รองลงมาอายุระหว่าง 30-39 ปี
(รอ้ ยละ 23.29) และอายุระหว่าง 40-49 ปี (ร้อยละ 20.55) หรือมีค่าอายุเฉลี่ย 46.01 ปี หากพิจารณา
ระดับการศกึ ษาได้รบั คาํ ตอบวา่ ผตู้ อบแบบประเมนิ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ กลุ่มท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาตรี
คิดเป็นร้อยละ 31.51 และจบการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีคิดเป็นร้อยละ 26.03 และมีอาชีพรับ
ราชการเป็นสว่ นใหญ่ (ร้อยละ 58.90) รองลงมาเป็นอาชีพเกษตรกร (ร้อยละ 20.55) อาชีพรบั จ้างทว่ั ไป
(รอ้ ยละ 17.81) และอาชีพธุรกจิ สว่ นตัว (รอ้ ยละ 2.74)

2) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมิน
ส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการจากส่วนราชการจังหวัด/อําเภอ/ตําบล (ร้อยละ 43.84) รองลงมา
เป็นจดหมายส่งตรงถึงท่าน (ร้อยละ 30.14) และจะได้รับแจ้งจากกลุ่มผู้นําชุมชน (ร้อยละ 23.29) หาก
พิจารณาความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรได้ข้อสรุปว่า ส่วนใหญ่จะมี
ความเข้าใจและสามารถนาํ ไปบอกต่อกลุ่มเป้าหมายอ่ืนๆ ได้ (ร้อยละ 50.68) รองลงมาจะมีความเข้าใจ
บางส่วนแต่ต้องการรับทราบข้อมูลเพ่ิมเติม (ร้อยละ 47.95) และไม่มีความเข้าใจใดๆ (ร้อยละ 1.37)
ส่วนประเด็นช่องทางและวิธีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมที่สะดวกและรวดเร็วท่ีสุด ได้แก่ การจัด
ประชมุ สมั มนาและแจ้งผ่านผู้นําชุมชนเท่ากนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.40 รองลงมาเป็นวิธีการจัดส่งเจ้าหน้าท่ี
เข้าไปช้ีแจงในพื้นท่ีศึกษาคิดเป็นร้อยละ 24.66 และผ่านหนังสือพิมพ์ท้องถ่ินคิดเป็นร้อยละ 6.85 และ
หอกระจายข่าว/วิทยชุ มุ ชนคิดเปน็ ร้อยละ 5.48

3) ความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
ส่วนใหญ่จะมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่ง
ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” ว่ามีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ
97.26 และ ไม่แสดงความคิดเห็นคิดเป็นร้อยละ 2.74 หากพิจารณาประเด็น–ปัจจัยสําคัญท่ีควรให้
ความสําคัญหรือระมัดระวังเป็นพิเศษต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการฯ ได้รับคําตอบว่าโดยส่วนใหญ่จะ

จงั หวดั พิจติ ร 6-7 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การมีส่วนร่วมของประชาชน

เน้นประเด็นการดํารงอยู่ของเมืองเก่าพิจิตร (ร้อยละ 69.86) รองลงมาเป็นการสัญจรและการคมนาคม
ช่วงดําเนินการโครงการ (ร้อยละ 13.70) และฝุ่นละอองและเสยี งช่วงดาํ เนินการ (รอ้ ยละ 9.59)
4) ความคิดเหน็ ต่อการประชาสัมพันธ์และการจัดสัมมนาคร้ังท่ี 1 ไดร้ บั คาํ ตอบในประเด็นต่างๆ ดงั น้ี
4.1 ความเข้าใจในวตั ถปุ ระสงคข์ องการประชมุ ครั้งนไี้ ด้รับตาํ ตอบวา่ ผู้ตอบแบบประเมินโดยสว่ นใหญ่

มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์มาก (ร้อยละ 64.38) รองลงมามีความเข้าใจปานกลาง (ร้อยละ
34.25) และมีความเข้าใจน้อย (ร้อยละ 1.37)
4.2 ความเข้าใจตอ่ วิทยากรในการนําเสนอข้อมลู โดยภาพรวมได้รับตําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
ส่วนใหญ่อธิบายได้ชัดเจนมาก (ร้อยละ 65.75) รองลงมาจะอธิบายได้ชัดเจนปานกลาง (ร้อยละ
31.51) และอธิบายไดช้ ัดเจนนอ้ ย (รอ้ ยละ 2.74)
4.3 ความเขา้ ใจต่อวิทยากรในการอธิบายหรอื การช้ีแจงและตอบข้อซักถามในประเด็นท่ีมีความสงสัย
ได้รับตําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดยส่วนใหญ่จะอธิบายได้อย่างชัดเจนมาก (ร้อยละ 69.86)
รองลงมาจะอธบิ ายไดช้ ดั เจนปานกลาง (รอ้ ยละ 27.40) และชัดเจนน้อย (รอ้ ยละ 2.74)
4.4 เนื้อหาการนาํ เสนอในภาพรวมสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ได้รับตําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
ส่วนใหญ่เห็นว่าเนื้อหาการนําเสนอในภาพรวมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์มาก (ร้อยละ 65.75)
รองลงมาเห็นว่าสอดคล้องปานกลาง (ร้อยละ 32.88) และสอดคล้องน้อย (รอ้ ยละ 1.37)
4.5 การประชมุ สมั มนาเปดิ โอกาสให้ผู้เข้ารว่ มประชมุ ฯ แสดงความคิดเห็นไดร้ ับตาํ ตอบว่าผตู้ อบแบบ
ประเมินโดยส่วนใหญ่เห็นว่าได้เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมฯ แสดงความคิดเห็นมาก (ร้อยละ 76.71)
รองลงมามีการเปิดโอกาสปานกลาง (ร้อยละ 20.55) และเปิดโอกาสนอ้ ย (ร้อยละ 2.74)
4.6 ความเหมาะสมของเนื้อหาในสอ่ื ประกอบการสมั มนาครง้ั ที่ 1
ก) เอกสารประกอบการประชมุ สมั มนาได้รบั คําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมมาก

(ร้อยละ 58.90) รองลงมาจะมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 39.73) และมีความ
เหมาะสมน้อย (ร้อยละ 1.37)
ข) แผ่นพับประกอบการประชมุ สัมมนาได้รับคําตอบว่าสว่ นใหญเ่ หน็ ว่ามีความเหมาะสมมาก
(ร้อยละ 57.53) รองลงมาจะมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 39.73) และมีความ
เหมาะสมน้อย (ร้อยละ 2.74)
ค) บอร์ดนิทรรศการประกอบการประชุมสัมมนาได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความ
เหมาะสมมาก (ร้อยละ 49.32) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 45.21)
และมคี วามเหมาะสมน้อย (ร้อยละ 5.48)
ง) สไลด์ประกอบการนาํ เสนอไดร้ บั คําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ
46.58) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 52.05) และมีความเหมาะสมน้อย
(รอ้ ยละ 1.37)
4.7 ความเหมาะสมของเวลาในการประชุมสมั มนา
ก) ช่วงเวลาการนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมมาก
(ร้อยละ 38.36) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 54.79) และมีความ
เหมาะสมนอ้ ย (รอ้ ยละ 6.85)

จังหวดั พิจิตร 6-8 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 6
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การมีส่วนร่วมของประชาชน

ข) ช่วงเวลาในการตอบข้อซักถามและรับฟังความคิดเห็นได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเห็นว่า
เหมาะสมมาก (ร้อยละ 41.10) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 52.05)
และมคี วามเหมาะสมนอ้ ย (ร้อยละ 6.85)

ค) ช่วงเวลาในการประชุมสัมมนาได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเห็นว่าเหมาะสมมาก (ร้อยละ
42.47) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 47.95) และมีความเหมาะสมน้อย
(รอ้ ยละ 9.59)

4.8 ความเหมาะสมของสถานทจ่ี ดั ประชมุ และส่ิงอํานวยความสะดวกตา่ งๆ
ก) การจัดที่น่งั และสงิ่ อาํ นวยความสะดวกต่างๆ ไดร้ ับคําตอบวา่ สว่ นใหญ่จะเหน็ ว่าเหมาะสม
มาก (ร้อยละ 78.08) รองลงมาจะมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 17.81) และมี
ความเหมาะสมน้อย (รอ้ ยละ 4.11)
ข) จอ/ฉากทีใ่ ช้ในการนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเห็นว่าเหมาะสมมาก
(ร้อยละ 72.60) รองลงมาจะมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 24.66) และมีความ
เหมาะสมนอ้ ย (รอ้ ยละ 2.74)
ค) คุณภาพเสียงในการจัดประชุม ชี้แจงหรือนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่
เหน็ ว่าเหมาะสมมาก (รอ้ ยละ 78.08) และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 21.92)
ง) ความสว่างในการจัดประชุม ชี้แจงหรือนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะ
เห็นว่าเหมาะสมมาก (รอ้ ยละ 80.82) และมีความเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 19.18)
จ) อุณหภูมิภายในห้องประชุมชี้แจงหรือนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะ
เห็นว่าเหมาะสมมาก (ร้อยละ 82.19) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ
16.44) และมคี วามเหมาะสมน้อย (ร้อยละ 1.37)
ฉ) การอํานวยความสะดวก (เช่น การต้อนรับและการลงทะเบียน) ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่
เหน็ วา่ เหมาะสมมาก (ร้อยละ 86.30) และมีความเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 13.70)

5) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากการประชุมสัมมนาครั้งที่ 1 ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความ
พงึ พอใจกับการเขา้ ร่วมประชมุ สัมมนาครั้งท่ี 1 ทําให้รับทราบถึงสภาพพื้นท่ี สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ
ข้อวิตกกังวล ความต้องการ/ทัศนคติของประชาชนในพ้ืนที่ศึกษาซ่ึงเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งจะนําไปใช้
พิจารณาการศึกษาพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับความต้องการ
ของกลุ่มประชาชนทอ้ งถิน่ ให้มากทส่ี ุดบนพ้ืนฐานข้อมลู และความถกู ต้องทางวชิ าการเปน็ ประเด็นสําคัญ

6.5 สรุปผลการดําเนินการประชุมกลุ่มย่อยครัง้ ที่ 1

6.5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 1

การประชุมกล่มุ ย่อยครัง้ ที่ 1 มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อแนะนาํ โครงการ ชี้แจงข้อมูลรูปแบบเบ้ืองต้นและทางเลือกการ
ออกแบบปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร พร้อมทั้งขอความร่วมมือในการประสานงานและเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารโครงการให้แก่ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้รับรู้–รับทราบ และการรับฟังปัญหา ข้อมูล แนวความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อ
การดาํ เนินงานโครงการ

จงั หวดั พิจติ ร 6-9 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

6.5.2 การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยครั้งท่ี 1 และจํานวนผูเ้ ข้ารว่ มประชมุ

การประชุมกลุ่มย่อยครั้งท่ี 1 ได้ดําเนินการเมื่อวันอังคารท่ี 12 กันยายน 2560 เวลา 08:30 – 12:00 น. ณ
ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตําบลโรงช้าง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร โดยมีนายบุรี ฉายศรี รองนายกองค์การ
บริหารส่วนตําบลโรงช้างเป็นประธานฯ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการประชุมกลุ่มย่อยคร้ังท่ี 1 มีจํานวนผู้เข้าร่วมประชุม
ท้ังสิ้น 47 คน (ดูรูปที่ 6.5-1 ไม่นับรวมผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดลจํานวน 5 คน) จําแนกเป็นหน่วยงานราชการส่วนกลาง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้นําชุมชน สถาบันการศึกษา/ศาสนสถานและประชาชนทั่วไป โดยบรรยากาศในการ
ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยครงั้ ที่ 1 ดงั รูปที่ 6.5-2 ดังสรุปกลุม่ เปา้ หมายได้ดงั น้ี (ดรู ายละเอยี ดเพมิ่ เติมในภาคผนวก ง)

กลุ่มเปา้ หมาย ผเู้ ข้าร่วมประชมุ (คน)
1. หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง 3
2. องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและผู้นําชมุ ชน 7
3. สถาบันการศกึ ษา/ศาสนสถาน 4
4. ประชาชนท่วั ไป 33
47
รวมจํานวนผูเ้ ขา้ รว่ มประชมุ 5
ผ้แู ทนมหาวิทยาลยั มหิดล 52

รวมทงั้ หมด

รปู ท่ี 6.5-1 กราฟสรุปกลมุ่ เป้าหมายทเี่ ขา้ รว่ มประชุมกลุ่มยอ่ ยครง้ั ท่ี 1 จาํ นวน 47 คน ไมน่ บั รวม
ผ้แู ทนมหาวทิ ยาลัยมหิดลจาํ นวน 5 คน

จงั หวัดพิจิตร 6-10 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจิตร การมสี ว่ นร่วมของประชาชน

การประชมุ กลุม่ ยอ่ ยคร้ังที่ 1
โครงการศกึ ษางานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร วนั องั คารท่ี 12 กนั ยายน 2560 เวลา 08:30 – 12:00 น.

ณ หอ้ งประชมุ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลโรงช้าง อําเภอเมอื งพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร

บรรยากาศการลงทะเบียน รับเอกสารประกอบการประชมุ การชมบอรด์ นิทรรศการ การช้แี จงรายละเอยี ด
และการถาม–ตอบข้อซกั ถามและข้อหว่ งกังวลตา่ งๆ

รปู ที่ 6.5-2 ภาพบรรยากาศการประชุมกล่มุ ย่อยครั้งที่ 1

จงั หวดั พิจติ ร 6-11 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การมสี ว่ นร่วมของประชาชน

6.5.3 สรุปประเดน็ การรบั ฟังข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากที่ประชมุ

ข้อคิดเห็น ข้อวิตกกังวล ข้อเสนอแนะและข้อซักถามจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยคร้ังที่ 1 ที่มีต่อการพัฒนา
พน้ื ท่ีอุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร พรอ้ มท้ังขอ้ ช้แี จงจากท่ีปรกึ ษาดงั สรุปเป็นประเดน็ ทีส่ าํ คญั ๆ ไดด้ ังนี้

1) เสนอใหม้ กี ารสรา้ งอาคารทเี่ ป็นลักษณะวิหารเพื่อบรรจุรูปป้ันเหมือนของเกจิอาจารย์ผู้เป็นที่เคารพบูชา
ของชาวพิจิตรไว้ภายในอาคาร

2) เสนอให้มีการกอ่ สรา้ งห้องสขุ าในพื้นท่ที เ่ี หมาะสมกว่าเดิมและตอ้ งมีการดแู ลตลอดการใชง้ าน
3) เหน็ ดว้ ยกบั การก่อสร้างถนนลาดยางโดยรอบแนวกําแพงเมืองเก่าพิจิตรและมีเส้นทางเดิน/ทางจักรยาน

เพ่ือใหป้ ระชาชนท้องถ่นิ มาใชใ้ นการออกกําลังกาย
4) เสนอให้สร้างกําแพงเมืองเก่าพิจิตรตลอดแนวขอบเขตพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเน่ืองจากสถานภาพ

ปัจจุบันไมม่ คี วามต่อเน่ือง แตใ่ ห้คงสภาพความเปน็ กองมลู ดนิ เดิมโดยรอบกําแพงเมอื งเก่าพจิ ติ รไว้
5) อยากให้พิจารณาออกแบบซุ้มประตูวัดนครชุมฝ่ังที่ติดกับพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรให้มีลักษณะความ

เปน็ เมืองเกา่ ที่สอดคลอ้ งกับซุ้มประตทู างเขา้ พื้นที่อทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตร
6) เสนอให้พิจารณาเรือ่ งการผนั นาํ้ จากคลองชลประทานเขา้ มาหลอ่ เลีย้ งในคคู ลองในพื้นที่อุทยานเมืองเก่า

พิจิตร หากปล่อยนํ้ามาตามลําห้วยเดิมจะไม่ถึงจุดที่จะนําปริมาณนํ้าเข้าสู่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเพราะ
เป็นพื้นที่ทุ่งนาจะมีค่าระดับต่ําและปริมาณนํ้าจะกระจายไปทั่วทุ่งนาจึงควรทําเป็นท่อส่งน้ําเฉพาะเพื่อ
ใช้ในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยนายช่างโยธาขององค์การบริหารส่วนตําบลโรงช้างยินดีให้ข้อมูล
และนําดพู ้นื ทศี่ ึกษาอยา่ งละเอยี ด

6.5.4 สรุปผลแบบประเมินแสดงความคิดเห็นต่อการประชุมกลุ่มย่อยครง้ั ท่ี 1

ภายหลังจากการบรรยายภาพรวมของการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร การตอบข้อซักถามและการรับฟัง
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ท่ีปรึกษาได้ขอความร่วมมือให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตอบแบบประเมินเพื่อแสดงความ
คิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยแบบประเมินเพื่อสอบถามความคิดเห็นสรุปข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน
ได้แก่ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมิน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ความคิดเห็น
ตอ่ รูปแบบการพัฒนาพน้ื ที่อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ รและความคิดเหน็ ต่อการประชาสัมพนั ธแ์ ละจดั ประชุมกลุ่มย่อยครงั้ ที่ 1

การประชุมกลมุ่ ย่อยครัง้ ท่ี 1 ได้สํารวจความคิดเหน็ ของผู้เข้าร่วมการประชมุ โดยการใช้แบบประเมนิ แสดงความ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการประชุมกลุ่มย่อยครั้งท่ี 1 มีผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นจํานวน 40 คนจาก
จํานวนผู้เข้าร่วมการประชุมท้ังหมด 47 คนหรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 85.11 และไม่นับรวมผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดล
จํานวน 5 คน

1) ข้อมูลทั่วไป ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดยส่วนใหญ่เป็นผู้นําชุมชน (ร้อยละ 32.50) รองลงมา
เป็นผู้แทนจากหน่วยงานราชการระดับภูมิภาค/จังหวัด/อําเภอ (ร้อยละ 22.50) และประชาชนทั่วไป
(ร้อยละ 17.50) และส่วนใหญเ่ ป็นเพศชาย (ร้อยละ 62.50) และเพศหญงิ (ร้อยละ 37.50) โดยเปน็ กลุ่ม
ทม่ี อี ายุส่วนใหญ่อยูร่ ะหว่าง 50-59 ปี (ร้อยละ 42.50) รองลงมาอายรุ ะหวา่ ง 40-49 ปี (ร้อยละ 37.50)
และอายุระหว่าง 30-39 ปี (ร้อยละ 12.50) หรือมีค่าอายุเฉลี่ย 47.04 ปี หากพิจารณาระดับการศึกษา

จงั หวดั พิจติ ร 6-12 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร การมสี ว่ นร่วมของประชาชน

ได้รบั คาํ ตอบวา่ ส่วนใหญ่เป็นกลุม่ ทจี่ บการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง/อนุปริญญาคิดเป็น
รอ้ ยละ 25.00 และจบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรคี ดิ เป็นรอ้ ยละ 22.50 โดยส่วนใหญม่ ีอาชีพรับราชการ
(ร้อยละ 32.50) รองลงมาเป็นอาชีพเกษตรกร (รอ้ ยละ 25.00) อาชีพรับจา้ งทวั่ ไป (ร้อยละ 17.50) และ
อาชพี ธุรกิจส่วนตวั (รอ้ ยละ 7.50)
2) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมิน
สว่ นใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการจากกลมุ่ ผู้นําชุมชน (กํานนั /ผใู้ หญ่บ้าน/ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บ้าน/กรรมการ
หมบู่ ้าน) (รอ้ ยละ 50.00) รองลงมาจะไดร้ บั แจ้งจากสว่ นราชการจังหวัด/อําเภอ/ตําบล (ร้อยละ 27.50)
และจดหมายส่งตรงถึงท่าน (ร้อยละ 17.50) หากพิจารณาความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาพ้ืนท่ี
อุทยานเมืองเก่าพิจิตรได้ข้อสรุปว่า ส่วนใหญ่จะมีความเข้าใจและสามารถนําไปบอกต่อกลุ่มเป้าหมาย
อ่ืนๆ ได้ (ร้อยละ 77.50) และจะมีความเข้าใจบางส่วนแต่ต้องการจะรับทราบข้อมูลเพ่ิมเติม (ร้อยละ
22.50) ส่วนประเดน็ ช่องทางและวธิ ีการรับร้ขู อ้ มลู ขา่ วสารเพิ่มเติมท่ีสะดวกและรวดเร็วท่ีสุด ได้แก่ การ
แจ้งผ่านผู้นําชุมชนคิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาเป็นวิธีการจัดส่งเจ้าหน้าท่ีเข้าไปชี้แจงในพ้ืนท่ีศึกษา
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.50 และผา่ นการจัดประชมุ สมั มนาคิดเปน็ ร้อยละ 12.50
3) ความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
ส่วนใหญ่จะมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” ว่ามีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ
95.00 และ ไม่แสดงความคิดเห็นคิดเป็นร้อยละ 5.00 หากพิจารณาประเด็น–ปัจจัยสําคัญท่ีควรให้
ความสําคัญหรือระมัดระวังเป็นพิเศษต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการฯ ได้รับคําตอบว่าโดยส่วนใหญ่จะ
เน้นการปรับปรุงภูมิสถาปัตย์ใหม่ตามที่นําเสนอโดยคํานึงถึงความกลมกลืนกับสภาพพื้นที่เขตอุทยานฯ
ป่าไม้และการมีส่วนร่วมของชุมชนเพอ่ื เปน็ แรงดึงดูดสาํ หรบั ใชเ้ ป็นสถานทีจ่ ดั กจิ กรรมต่างๆ การพักผ่อน
ของคนในพ้ืนที่และแวะเยี่ยมเยือนของนักท่องเที่ยวคิดเป็นร้อยละ 92.50 และการปรับปรุงส่ิงอํานวย
ความสะดวกทมี่ อี ยูเ่ ดมิ ให้มีสภาพการใชง้ านไดย้ าวนานขึ้นเพียงพอคิดเปน็ รอ้ ยละ 7.50
4) ความคิดเห็นต่อการประชาสมั พันธแ์ ละการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยครงั้ ท่ี 1
4.1 ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการประชุมกลุ่มย่อยคร้ังที่ 1 ได้รับคําตอบว่ามีความเข้าใจมาก

คิดเป็นรอ้ ยละ 70.00 และมคี วามเข้าใจปานกลางคดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.00
4.2 วิทยากรสามารถนําเสนอข้อมูลโดยภาพรวมได้รับคําตอบว่ามีความได้ชัดเจนมากคิดเป็นร้อยละ

67.50 และมคี วามชดั เจนปานกลางคิดเปน็ รอ้ ยละ 32.50
4.3 วิทยากรสามารถอธบิ ายหรอื ชแ้ี จงและตอบขอ้ ซักถามในประเด็นที่มีความสงสัยได้รับคําตอบว่ามี

ความชัดเจนมากคดิ เป็นร้อยละ 57.50 และมคี วามชดั เจนปานกลางคดิ เปน็ ร้อยละ 42.50
4.4 ความเหมาะสมของเนอ้ื หาในส่อื ประกอบการประชุมกลุ่มยอ่ ยครง้ั ที่ 1

ก) ส่วนใหญ่เห็นว่าเอกสารประกอบการประชุมมีความเหมาะสมมากและปานกลางจํานวน
เทา่ กันคดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00

ข) ส่วนใหญ่เห็นว่าแผ่นพับประกอบการประชุมมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 55.00) และ
มีความเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 45.00)

ค) ส่วนใหญ่เหน็ ว่าบอร์ดนิทรรศการมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 55.00) รองลงมาเห็นว่า
มคี วามเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 42.50) และมคี วามเหมาะสมน้อย (ร้อยละ 2.50)

จังหวัดพิจิตร 6-13 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

ง) ส่วนใหญ่เห็นว่าสไลด์การประกอบการนําเสนอมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 57.50)
และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 42.50)

4.5 ความเหมาะสมของเวลาในการประชมุ สมั มนา
ก) ส่วนใหญ่เห็นว่าช่วงเวลาในการนําเสนอจะมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 62.50) และมี
ความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 37.50)
ข) ส่วนใหญ่เห็นว่าช่วงเวลาในการซักถามและรับฟังความคิดเห็นมีความเหมาะสมมากและ
ปานกลางจาํ นวนเท่ากัน (รอ้ ยละ 50.00)

4.6 ความเหมาะสมของสถานท่จี ดั ประชุมและส่ิงอาํ นวยความสะดวกต่างๆ
ก) ส่วนใหญ่เห็นว่าการจัดที่นั่งและสิ่งอํานวยความสะดวกต่างๆ จะมีความเหมาะสมมาก
(ร้อยละ 57.50) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 37.50) และมีความ
เหมาะสมน้อย (ร้อยละ 5.00)
ข) ส่วนใหญ่เห็นว่าจอ/ฉากที่ใช้นําเสนอมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 70.00) และมีความ
เหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 30.00)
ค) ส่วนใหญม่ ีความเหน็ ว่าคณุ ภาพเสียงในห้องประชมุ มคี วามเหมาะสมมาก (ร้อยละ 80.00)
และมีความเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 20.00)
ง) ส่วนใหญ่เห็นว่าความสว่างในห้องประชุมมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 87.50) และมี
ความเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 12.50)
จ) ส่วนใหญ่เห็นว่าอุณหภูมิห้องประชุมมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 87.50) และมีความ
เหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 12.50)
ฉ) ส่วนใหญ่เห็นว่าการอํานวยความสะดวก (เช่น การต้อนรับและการลงทะเบียน) มีความ
เหมาะสมมาก (เป็นรอ้ ยละ 92.50) และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 7.50)

6.6 สรปุ ผลการดําเนินการประชุมกลุ่มยอ่ ยครงั้ ที่ 2

6.6.1 วัตถปุ ระสงค์ของการประชุมกลุ่มยอ่ ยครัง้ ที่ 2

การประชุมกลุ่มย่อยครง้ั ที่ 2 มีวตั ถุประสงค์เพือ่ แนะนาํ โครงการ ชี้แจงข้อมูลรูปแบบเบื้องต้นและทางเลือกการ
ออกแบบปรับปรุงและพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร พร้อมทั้งขอความร่วมมือในการประสานงานและเผยแพร่ข้อมูล
ขา่ วสารโครงการใหแ้ กผ่ ู้ท่เี กี่ยวขอ้ งไดร้ บั ร–ู้ รับทราบ และการรับฟงั ข้อมูลปญั หา แนวความคิดเห็นและข้อเสนอแนะตอ่ การ
ดาํ เนนิ งานโครงการ

จงั หวดั พิจิตร 6-14 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การมสี ่วนร่วมของประชาชน

6.6.2 การประชุมกลุ่มย่อยคร้ังที่ 2 และจาํ นวนผ้เู ขา้ ร่วมประชุม

การประชมุ กลุ่มยอ่ ยครั้งท่ี 2 ได้ดําเนินการเม่ือวันอังคารที่ 10 ตุลาคม 2560 เวลา 08:30 – 12:00 น. ณ ห้อง
ประชุมโรงเรียนบ้านเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร โดยมีนายกิตติพร เช้ือวีระชน ปลัดองค์การบริหารส่วน
ตําบลเมอื งเก่า เป็นประธานฯ กลมุ่ เปา้ หมายทเี่ ขา้ รว่ มประชุมกล่มุ ย่อยครั้งที่ 2 มีจํานวนผู้เข้าร่วมประชุมทั้งส้ิน 52 คน (ดู
รูปที่ 6.6-1 ไม่นับรวมผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดลจํานวน 5 คน) จําแนกเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและผู้นําชุมชน
สถาบันการศึกษา/ศาสนสถานและประชาชนทั่วไป โดยบรรยากาศในการประชุมกลุ่มย่อยคร้ังที่ 2 ดังรูปที่ 6.6-2 ดังสรุป
กลมุ่ เป้าหมายได้ดังนี้ (ดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ในภาคผนวก ง)

กล่มุ เป้าหมาย ผู้เข้ารว่ มประชมุ (คน)

1. องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและผู้นาํ ชมุ ชน 6

2. สถาบนั การศึกษา/ศาสนสถาน 4

3. ประชาชนทวั่ ไป 42

รวมจาํ นวนผู้เขา้ รว่ มประชุม 52

ผแู้ ทนมหาวิทยาลยั มหิดล 5

รวมทง้ั หมด 57

รปู ท่ี 6.6-1 กราฟสรุปกลุ่มเป้าหมายท่เี ขา้ ร่วมประชมุ กลุ่มย่อยครงั้ ที่ 2 จาํ นวน 52 คน ไม่นบั รวม
ผูแ้ ทนมหาวิทยาลยั มหดิ ลจํานวน 5 คน

จงั หวัดพิจติ ร 6-15 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 6
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจติ ร การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

การประชุมกลมุ่ ยอ่ ยครั้งท่ี 2
โครงการศึกษางานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพจิ ิตร วนั องั คารท่ี 10 ตลุ าคม 2560 เวลา 08:30 – 12:00 น.

ณ หอ้ งประชุมโรงเรยี นบา้ นเมืองเกา่ อําเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ติ ร

บรรยากาศการลงทะเบยี น รับเอกสารประกอบการประชมุ การชมบอรด์ นิทรรศการ การช้ีแจงรายละเอียด
และการถาม–ตอบข้อซกั ถามและข้อห่วงกังวลต่างๆ

รปู ท่ี 6.6-2 ภาพบรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อยครง้ั ท่ี 2

6.6.3 สรุปประเด็นการรับฟงั ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะจากที่ประชมุ

ข้อคิดเห็น ข้อวิตกกังวล ข้อเสนอแนะและข้อซักถามจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อยครั้งท่ี 2 ท่ีมีต่อการพัฒนา
พนื้ ท่ีอุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร พรอ้ มทัง้ ขอ้ ชแ้ี จงจากทปี่ รึกษาดงั สรุปเปน็ ประเดน็ ที่สําคญั ๆ ได้ดังน้ี

1) ใหม้ ีงบประมาณระยะหลังดําเนนิ การ
2) เสนอใหม้ ีกลอ้ งวงจรปดิ เชื่อมโยงกบั อาคารสํานกั งานในพนื้ ท่ีอทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร
3) ถนนบรเิ วณเกาะศรมี าลาควรทําให้โล่งเตยี นและขุดเปน็ บอ่ เล้ยี งปลา
4) อยากให้พิจารณาออกแบบซุ้มประตูวัดนครชุมฝ่ังที่ติดกับพื้นท่ีศึกษาให้มีลักษณะความเป็นเมืองเก่าที่

สอดคล้องกับซุม้ ประตูทางเข้าอุทยานเมอื งเกา่

จังหวัดพิจิตร 6-16 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 6
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การมีสว่ นร่วมของประชาชน

6.6.4 สรุปผลแบบประเมนิ แสดงความคดิ เหน็ ตอ่ การประชมุ กลมุ่ ย่อยคร้ังที่ 2

ภายหลงั จากการบรรยายภาพรวมของการพฒั นาพนื้ ทอี่ ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร การตอบข้อซักถามและการรับฟัง
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ปรึกษาได้ขอความร่วมมือให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตอบแบบประเมินเพ่ือแสดงความ
คิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยแบบประเมินเพื่อสอบถามความคิดเห็นสรุปข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน
ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ความคิดเห็น
ตอ่ รปู แบบการพฒั นาพน้ื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตรและความคิดเหน็ ต่อการประชาสมั พันธแ์ ละจัดประชุมกลมุ่ ยอ่ ยครั้งท่ี 2

การประชุมกลุ่มย่อยครั้งท่ี 2 ได้สํารวจความคิดเหน็ ของผู้เขา้ ร่วมการประชมุ โดยการใชแ้ บบประเมนิ แสดงความ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการประชุมกลุ่มย่อยคร้ังที่ 1 มีผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นจํานวน 47 คนจาก
จํานวนผู้เข้าร่วมการประชุมท้ังหมด 52 คนหรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 90.38 และไม่นับรวมผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดล
จํานวน 5 คน

1) ข้อมูลท่ัวไป ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มประชาชนท่ัวไป (ร้อยละ 38.30)
รองลงมาเป็นผู้นําชมุ ชน (ร้อยละ 25.53) และกลมุ่ ผบู้ ริหารในองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ (อบจ./อบต./
เทศบาล) (ร้อยละ 21.80) และส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 53.19) และเพศหญิง (ร้อยละ 46.81)
โดยเป็นกลุ่มที่มีอายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 50-59 ปี (ร้อยละ 36.17) รองลงมาอายุระหว่าง 40-49 ปี
(ร้อยละ 29.79) และอายุมากกว่า 60 ปี (ร้อยละ 21.28) หรือมีค่าอายุเฉลี่ย 51.31 ปี หากพิจารณา
ระดับการศึกษาได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มท่ีจบการศึกษาระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ
36.17 และจบการศึกษาระดับปริญญาตรีคิดเป็นร้อยละ 19.15 และมีอาชีพรับราชการเป็นส่วนใหญ่
(รอ้ ยละ 27.66) รองลงมาเป็นอาชีพเกษตรกร (รอ้ ยละ 23.40) และอาชีพรับจ้างทว่ั ไป (ร้อยละ 19.15)

2) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมิน
สว่ นใหญร่ ับรูข้ อ้ มลู ขา่ วสารโครงการจากกลุ่มผนู้ าํ ชมุ ชน (กาํ นนั /ผ้ใู หญบ่ า้ น/ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บ้าน/กรรมการ
หมบู่ ้าน) (ร้อยละ 42.55) รองลงมาจะไดร้ บั แจง้ จากส่วนราชการจังหวัด/อําเภอ/ตําบล (ร้อยละ 23.40)
และจดหมายส่งตรงถึงท่าน (ร้อยละ 17.02) หากพิจารณาความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาพื้นท่ี
อุทยานเมืองเก่าพิจิตรได้ข้อสรุปว่า ส่วนใหญ่จะมีความเข้าใจและสามารถนําไปบอกต่อกลุ่มเป้าหมาย
อื่นๆ ได้ (ร้อยละ 76.60) และจะมีความเข้าใจบางส่วนแต่ต้องการจะรับทราบข้อมูลเพิ่มเติม (ร้อยละ
23.40) ส่วนประเด็นชอ่ งทางและวธิ กี ารรบั รขู้ อ้ มูลขา่ วสารเพม่ิ เตมิ ท่สี ะดวกและรวดเร็วที่สุด ได้แก่ ผ่าน
การจัดประชุมสัมมนาคิดเป็นร้อยละ 31.91 รองลงมาเป็นวิธีจัดส่งเจ้าหน้าท่ีเข้าไปชี้แจงในพื้นที่ศึกษา
คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.40 และการแจ้งผา่ นผนู้ าํ ชมุ ชนคิดเปน็ รอ้ ยละ 21.28

3) ความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมิน
ทัง้ หมดมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว
เชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” ว่ามีความเหมาะสม (ร้อยละ 100.00) หาก
พิจารณาประเด็น–ปัจจัยสําคัญท่ีควรให้ความสําคัญหรือระมัดระวังเป็นพิเศษต่อรูปแบบการพัฒนา
โครงการฯ ได้รับคําตอบว่าทั้งหมดเน้นการปรับปรุงภูมิสถาปัตย์ใหม่ตามท่ีนําเสนอโดยคํานึงถึงความ
กลมกลืนกับพ้ืนท่ีเขตอุทยานฯ พื้นที่ป่าไม้และการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือเป็นแรงดึงดูดสําหรับใช้เป็น
สถานที่จัดกิจกรรมต่างๆ การพกั ผ่อนของคนในพนื้ ท่แี ละแวะเยือนของนักทอ่ งเที่ยว (ร้อยละ 100.00)

จงั หวดั พิจติ ร 6-17 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การมีส่วนร่วมของประชาชน

4) ความคดิ เหน็ ตอ่ การประชาสมั พันธแ์ ละการประชุมกลุ่มยอ่ ยครั้งที่ 2
4.1 ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการประชุมกลุ่มย่อยคร้ังท่ี 2 ได้รับคําตอบว่ามีความเข้าใจมาก
คิดเปน็ ร้อยละ 68.09 และมีความเข้าใจปานกลางคดิ เปน็ ร้อยละ 31.91
4.2 วิทยากรสามารถนําเสนอข้อมูลโดยภาพรวมได้รับคําตอบว่ามีความได้ชัดเจนมากคิดเป็นร้อยละ
59.57 และมีความชดั เจนปานกลางคดิ เป็นร้อยละ 40.43
4.3 วิทยากรสามารถอธบิ ายหรอื ชีแ้ จงและตอบขอ้ ซกั ถามในประเด็นท่ีมีความสงสัยได้รับคําตอบว่ามี
ความชัดเจนมากคดิ เปน็ ร้อยละ 70.21 และมีความชัดเจนปานกลางคดิ เป็นรอ้ ยละ 29.79
4.4 ความเหมาะสมของเนอื้ หาในส่ือประกอบการประชุมกลุ่มยอ่ ยครง้ั ท่ี 2
ก) สว่ นใหญ่เหน็ ว่าเอกสารประกอบการประชมุ มีความเหมาะสมมาก (รอ้ ยละ 53.19) และมี
ความเหมาะสม (ร้อยละ 46.81)
ข) ส่วนใหญ่เห็นว่าแผ่นพับประกอบการประชุมมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 59.57) และ
มคี วามเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 40.43)
ค) ส่วนใหญเ่ หน็ วา่ บอรด์ นทิ รรศการมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 53.19) รองลงมาเห็นว่า
มคี วามเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 44.68) และมคี วามเหมาะสมนอ้ ย (ร้อยละ 2.13)
ง) ส่วนใหญ่เห็นว่าสไลด์การประกอบการนําเสนอมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 68.09)
และมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 31.91)
4.5 ความเหมาะสมของเวลาในการประชุมสมั มนา
ก) ส่วนใหญ่เห็นว่าช่วงเวลาในการนําเสนอจะมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 57.45) และมี
ความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 42.55)
ข) ส่วนใหญ่เห็นว่าช่วงเวลาในการซักถามและรับฟังความคิดเห็นจะมีความเหมาะสมมาก
(รอ้ ยละ 76.60) และมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 23.40)
4.6 ความเหมาะสมของสถานทจี่ ดั ประชมุ และส่งิ อํานวยความสะดวกตา่ งๆ
ก) ส่วนใหญ่เห็นว่าการจัดที่น่ังและสิ่งอํานวยความสะดวกต่างๆ จะมีความเหมาะสมมาก
(ร้อยละ 61.70) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 34.04) และมีความ
เหมาะสมนอ้ ย (รอ้ ยละ 4.26)
ข) ส่วนใหญ่เห็นว่าจอ/ฉากที่ใช้นําเสนอมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 68.09) และมีความ
เหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 31.91)
ค) สว่ นใหญม่ คี วามเหน็ วา่ คุณภาพเสียงในห้องประชุมมคี วามเหมาะสมมาก (ร้อยละ 78.72)
และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 21.28)
ง) ส่วนใหญ่เห็นว่าความสว่างในห้องประชุมมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 85.11) และมี
ความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 14.89)
จ) ส่วนใหญ่เห็นว่าอุณหภูมิห้องประชุมมีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ 85.11) และมีความ
เหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 14.89)
ฉ) ส่วนใหญ่เห็นว่าการอํานวยความสะดวก (เช่น การต้อนรับและการลงทะเบียน) มีความ
เหมาะสมมาก (เปน็ รอ้ ยละ 80.85) และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 19.15)

จังหวดั พิจติ ร 6-18 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การมีส่วนรว่ มของประชาชน

6.7 สรปุ ผลการดาํ เนนิ การประชุมสัมมนาคร้ังที่ 2

6.7.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั สมั มนาครัง้ ที่ 2

การประชมุ สมั มนาครั้งที่ 2 หรอื ปัจฉิมนิเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอสรุปผลการศึกษาท้ังหมด แนวทางการ
พัฒนาสภาพพืน้ ที่อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ติ ร รวมทงั้ สรปุ ผลการดาํ เนนิ การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนที่ผ่านมาให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ และการรับฟังข้อมูลปัญหา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการพัฒนา
พ้นื ทีอ่ ุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร

6.7.2 การประชมุ สมั มนาครง้ั ที่ 2 และจํานวนผู้เข้ารว่ มประชุม

การประชุมสัมมนาครั้งท่ี 2 ได้ดําเนินการเมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 16 พฤศจิกายน 2560. เวลา 08:30 – 12:00 น.
ณ ห้องวรพงศ์ โรงแรมมีพรสวรรค์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท หมู่ที่ 8 ตําบลท่าหลวง อําเภอเมือง จังหวัดพิจิตร โดยมี
นางณิทฐา แสวงทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร เป็นประธานฯ และนายธนะสิทธ์ิ ศรีคําภา ผู้อํานวยการกลุ่มงาน
ยุทธศาสตร์และข้อมูลเพ่ือการพัฒนาจังหวัดพิจิตรเป็นผู้แทนจังหวัดพิจิตรกล่าวรายงานประชุมสัมมนาฯ กลุ่มเป้าหมายท่ี
เข้าร่วมการประชมุ สมั มนาครั้งท่ี 2 มจี าํ นวนผู้เข้ารว่ มประชมุ ทง้ั ส้ิน 94 คน (ดรู ปู ท่ี 6.7-1 ไม่นบั รวมคณะกรรมการกํากับฯ
จํานวน 2 คนและผู้แทนมหาวิทยาลัยมหิดลจํานวน 7 คน) จําแนกเป็นหน่วยงานราชการระดับภูมิภาค/จังหวัด/อําเภอ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้นําชุมชน ภาคเอกชน/องค์กรพัฒนาเอกชน/องค์กรอิสระ/รัฐวิสาหกิจ กลุ่มวิชาการอิสระ/
สถาบันการศึกษา/ศาสนสถาน สื่อมวลชน และประชาชนท่ัวไป โดยบรรยากาศในการประชุมสัมมนาครั้งที่ 2 ดังแสดงใน
รูปที่ 6.7-2 ดังสรุปกล่มุ เปา้ หมายไดด้ งั นี้ (ดูรายละเอยี ดเพิม่ เติมในภาคผนวก ง)

กล่มุ เปา้ หมาย จาํ นวนกลมุ่ เป้าหมาย
จํานวนที่เชญิ ประชมุ ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ
1. หนว่ ยงานราชการระดับภูมภิ าค/จงั หวดั /อําเภอ
2. องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และผนู้ ําชมุ ชน 55 42
3. ภาคเอกชน/องคก์ รพฒั นาเอกชน/องค์กรอสิ ระ/รฐั วสิ าหกจิ 56 23
4. กลมุ่ วชิ าการอสิ ระ/สถาบนั การศึกษา/ศาสนสถาน 16 5
5. ส่ือมวลชน 96
6. ประชาชนทว่ั ไป 11
- 17
จาํ นวนกลมุ่ เปา้ หมายรวม 137 94
คณะกรรมการกาํ กบั ฯ 52
ผู้แทนมหาวิทยาลยั มหดิ ล -7
142 103
จาํ นวนรวมทง้ั หมด

จังหวัดพิจติ ร 6-19 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร การมสี ่วนร่วมของประชาชน

รูปท่ี 6.7-1 กราฟสรปุ ผู้เขา้ ร่วมประชมุ สัมมนาคร้ังที่ 2 จาํ นวน 94 คน ไมน่ ับรวมคณะกรรมการกาํ กับฯจํานวน 2 คน
และผแู้ ทนมหาวทิ ยาลัยมหดิ ลจาํ นวน 7 คน)

การประชุมสัมมนาครัง้ ที่ 2
โครงการศึกษางานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พจิ ิตร ในวนั พฤหัสดที ่ี 16 พฤศจกิ ายน 2560 เวลา 08.30 – 12.00 น.

บรรยากาศการลงทะเบยี น รบั เอกสารประกอบการประชุม การชมบอรด์ นิทรรศการ และการเปิดประชุมฯ
รูปท่ี 6.7-2 ภาพบรรยากาศการประชมุ สัมมนาครง้ั ที่ 2

จงั หวัดพิจติ ร 6-20 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจิตร การมีสว่ นรว่ มของประชาชน

การประชมุ สัมมนาครั้งท่ี 2
โครงการศึกษางานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์
“อุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร” จังหวดั พจิ ติ ร ในวนั พฤหสั ดที ่ี 16 พฤศจกิ ายน 2560 เวลา 08.30 – 12.00 น.

การชแ้ี จงรายละเอยี ดและการถาม–ตอบข้อซกั ถามและขอ้ หว่ งกงั วลต่างๆ
รปู ท่ี 6.7-2 ภาพบรรยากาศการประชุมสัมมนาครง้ั ที่ 2 (ตอ่ )

6.7.3 สรปุ ประเดน็ การรบั ฟงั ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะจากทีป่ ระชมุ

ข้อคิดเห็น ข้อวิตกกังวล ข้อเสนอแนะและข้อซักถามจากผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาครั้งท่ี 2 ที่มีต่อการพัฒนา
พนื้ ที่อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร พร้อมท้ังขอ้ ชี้แจงจากทป่ี รกึ ษาดงั สรปุ เป็นประเดน็ ทีส่ าํ คญั ๆ ไดด้ งั นี้

1) ขอให้ศึกษาและหาข้อมูลรายละเอียดประวัติความเป็นมาของรูปป้ันพ่อปู่หรือพระยาโคตรบองเทวราช
ตามท่ีพระอาจารย์ง่วนได้นิมิตว่าพ่อปู่หรือพระยาโคตรบองเทวราชชอบอยู่ใต้ดิน หากจะจัดทําภูมิทัศน์
ของศาลหลกั เมืองพจิ ิตรเพอ่ื ให้ผูม้ าท่องเที่ยวได้มองเห็นรูปปั้นพ่อปู่ในระยะไกลๆ เสมือนการเปิดโล่งจะ
เป็นไปตามนมิ ติ พระอาจารยง์ ว่ นหรือไม่

2) กรณีมีการเปิด WiFi ในพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรขอให้พึงพิจารณาด้านเวลาในการเปิด WiFi เพราะ
อาจสง่ ผลต่อการเป็นแหล่งมวั่ สุมและสิ่งเสพตดิ ของเด็กนักเรียนหรอื นักศึกษา

จังหวัดพิจิตร 6-21 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การมสี ่วนรว่ มของประชาชน

3) แนวขอบเขตพน้ื ทจ่ี ริงของเขตอุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตรจะมีอาณาเขตกว้างกว่าภาพที่นําเสนอในการศึกษา
ขอให้ศกึ ษาและทาํ แนวกําแพงคูเมอื งใหค้ รอบคลุมพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรท้ังหมด โดยกรมธนารักษ์
ยนิ ดใี หข้ อ้ มลู แนวเขตอทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ รใหเ้ พ่อื เปน็ ขอ้ มลู ในการศกึ ษา

4) เพื่อให้สถานท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเป็นแหล่งท่ีนักท่องเท่ียวสนใจควรจัดกิจกรรมสําคัญๆ ที่สามารถ
ดงึ ดดู การมีส่วนรว่ มของคนในจังหวัดพิจติ รที่ทาํ ให้เกิดเป็นประเพณอี ยา่ งต่อเนื่อง

5) ภายในอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเดิมเคยมีการเล้ียงสัตว์พิจารณาได้จากปัจจุบันยังมีกรงขังสัตว์ หากมีการ
ปรับปรงุ อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรขอใหพ้ ิจารณาถงึ ความเหมาะสมในการบริหารจดั การท้ังด้านงบประมาณ
ในการบาํ รุงรักษาและด้านบุคลากรดูแลรับผิดชอบ

6.7.4 สรุปผลแบบประเมินแสดงความคิดเหน็ ต่อการประชมุ สมั มนาคร้ังที่ 2

ภายหลงั จากการบรรยายภาพรวมของการพัฒนาพนื้ ท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร การตอบข้อซักถามและการรับฟัง
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ท่ีปรึกษาได้ขอความร่วมมือให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตอบแบบประเมินเพ่ือแสดงความ
คิดเห็นต่อการพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยแบบประเมินเพื่อสอบถามความคิดเห็นสรุปข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน
ได้แก่ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมิน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ความคิดเห็น
ตอ่ รปู แบบการพัฒนาพนื้ ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ รและความคดิ เหน็ ตอ่ การประชาสมั พันธ์และจัดประชมุ สัมมนาครั้งที่ 2

การประชุมสัมมนาคร้ังท่ี 2 ได้สํารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมการประชุมโดยการใช้แบบประเมินแสดงความ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการประชุมสัมมนาคร้ังที่ 1 มีผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นจํานวน 83 คนจาก
จํานวนผู้เข้าร่วมการประชุมทั้งหมด 94 คนหรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 88.29 และไม่นับรวมคณะกรรมการกํากับฯ และ
ผแู้ ทนมหาวทิ ยาลยั มหิดลจาํ นวน 9 คน

1) ข้อมูลทั่วไป ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้แทนหน่วยงานราชการภูมิภาค/
จังหวัด/อําเภอ (ร้อยละ 47.00) รองลงมาเป็นผู้นําชุมชน (ร้อยละ 25.30) และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น (รอ้ ยละ 12.00) และสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชาย (รอ้ ยละ 50.60) และเพศหญิง (ร้อยละ 49.40) โดย
เป็นกลุ่มที่มีอายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 50-59 ปี (ร้อยละ 33.70) รองลงมาอายุระหว่าง 30-39 ปี (ร้อยละ
25.30) และอายุระหว่าง 40-49 ปี (ร้อยละ 16.90) หรือมีค่าอายุเฉล่ีย 49.36 ปี หากพิจารณาระดับ
การศึกษาได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาตรีคิดเป็นร้อยละ 16.90
และมีอาชีพรับราชการเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 48.20) รองลงมาเป็นอาชีพเกษตรกร (ร้อยละ 15.70)
และอาชีพประกอบธรุ กิจส่วนตัว (ร้อยละ 10.80)

2) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการ ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมิน
ส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารโครงการจากจดหมายส่งตรงถึงท่าน (ร้อยละ 39.80) รองลงมาจะเป็นส่วน
ราชการจังหวัด/อําเภอ/ตําบล (ร้อยละ 37.50) และจะได้รับแจ้งจากกลุ่มผู้นําชุมชน (ร้อยละ 8.00)
หากพิจารณาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรได้ข้อสรุปว่า ส่วนใหญ่
จะมีความเข้าใจและสามารถนําไปบอกต่อกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ได้ (ร้อยละ 75.49) และจะมีความเข้าใจ
บางส่วนแต่ต้องการจะรับทราบข้อมูลเพ่ิมเติม (ร้อยละ 24.51) ส่วนประเด็นช่องทางและวิธีการรับรู้
ข้อมูลข่าวสารเพ่ิมเติมท่ีสะดวกและรวดเร็วที่สุด ได้แก่ การจัดประชุมสัมมนา (ร้อยละ 33.00) และ

จังหวดั พิจติ ร 6-22 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 6
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การมีสว่ นร่วมของประชาชน

วิธีการจัดส่งเจ้าหน้าท่ีเข้าไปช้ีแจงในพ้ืนที่ศึกษา (ร้อยละ 18.70) ผ่านกลุ่มผู้นําชุมชน (ร้อยละ 13.20)
และหนงั สือพมิ พท์ อ้ งถน่ิ (ร้อยละ 8.80)
3) ความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
ส่วนใหญ่จะมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่ง
ท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” ว่ามีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ
98.80 และ ไม่มีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ 1.20 หากพิจารณาประเด็น–ปัจจัยสําคัญท่ีควรให้
ความสําคัญหรือระมัดระวังเป็นพิเศษต่อรูปแบบการพัฒนาโครงการฯ ได้รับคําตอบว่าโดยส่วนใหญ่จะ
เน้นประเด็นการดํารงอยู่ของเมืองเก่าพิจิตร (ร้อยละ 81.80) รองลงมาเป็นการสัญจรและการคมนาคม
ชว่ งดาํ เนินการโครงการ (รอ้ ยละ 9.10) และฝนุ่ ละอองและเสียงช่วงดาํ เนนิ การ (รอ้ ยละ 5.70)
4) ความคดิ เห็นต่อการประชาสมั พนั ธแ์ ละการจัดสัมมนาคร้งั ท่ี 2 ไดร้ บั คําตอบในประเดน็ ต่างๆ ดงั นี้
4.1 ความเขา้ ใจในวัตถุประสงคข์ องการประชมุ คร้ังน้ไี ดร้ บั ตําตอบว่าผูต้ อบแบบประเมนิ โดยส่วนใหญ่

มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์มาก (ร้อยละ 71.10) รองลงมาจะมีความเข้าใจปานกลาง (ร้อยละ
27.70) และมคี วามเขา้ ใจน้อย (รอ้ ยละ 1.20)
4.2 ความเขา้ ใจตอ่ วทิ ยากรในการนาํ เสนอขอ้ มลู โดยภาพรวมได้รับตําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
สว่ นใหญ่อธบิ ายได้ชดั เจนมาก (ร้อยละ 68.70) และอธิบายได้ชดั เจนปานกลาง (รอ้ ยละ 31.30)
4.3 ความเข้าใจต่อวิทยากรในการอธิบายหรอื การชแ้ี จงและตอบขอ้ ซักถามในประเด็นท่ีมีความสงสัย
ได้รับตําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดยส่วนใหญ่จะอธิบายได้อย่างชัดเจนมาก (ร้อยละ 83.10)
และอธบิ ายได้ชัดเจนปานกลาง (ร้อยละ 16.90)
4.4 เนือ้ หาการนาํ เสนอในภาพรวมสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ได้รับตําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินโดย
ส่วนใหญ่เห็นว่าเนื้อหาการนําเสนอในภาพรวมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์มาก (ร้อยละ 69.90)
รองลงมาเหน็ วา่ สอดคล้องปานกลาง (ร้อยละ 27.70) และสอดคลอ้ งน้อย (ร้อยละ 2.40)
4.5 การประชุมสมั มนาเปิดโอกาสใหผ้ ู้เขา้ รว่ มประชุมฯ แสดงความคิดเหน็ ได้รบั ตาํ ตอบวา่ ผตู้ อบแบบ
ประเมินโดยส่วนใหญ่เห็นว่าได้เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมฯ แสดงความคิดเห็นมาก (ร้อยละ 88.00)
และมีการเปิดโอกาสปานกลาง (รอ้ ยละ 12.00)
4.6 ความเหมาะสมของเนอื้ หาในสื่อประกอบการสมั มนา
ก) เอกสารประกอบการประชุมสมั มนาได้รบั คําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมมาก

(ร้อยละ 72.30) และมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 27.70)
ข) แผน่ พบั ประกอบการประชุมสัมมนาได้รับคําตอบวา่ ส่วนใหญ่เหน็ วา่ มีความเหมาะสมมาก

(ร้อยละ 74.70) และมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 25.30)
ค) บอร์ดนิทรรศการประกอบการประชุมสัมมนาได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความ

เหมาะสมมาก (ร้อยละ 61.40) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 37.30)
และมีความเหมาะสมน้อย (รอ้ ยละ 1.20)
ง) สไลด์ประกอบการนําเสนอได้รบั คําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมมาก (ร้อยละ
61.40) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 37.30) และมีความเหมาะสมน้อย
(ร้อยละ 1.20)

จงั หวัดพิจติ ร 6-23 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 6
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจิตร การมีสว่ นร่วมของประชาชน

4.7 ความเหมาะสมของเวลาในการประชุมสมั มนา
ก) ช่วงเวลาการนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมมาก
(ร้อยละ 71.10) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 24.10) และมีความ
เหมาะสมน้อย (ร้อยละ 4.80)
ข) ช่วงเวลาในการตอบข้อซักถามและรับฟังความคิดเห็นได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเห็นว่า
เหมาะสมมาก (ร้อยละ 56.50) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 42.20)
และมคี วามเหมาะสมน้อย (รอ้ ยละ 1.20)
ค) ช่วงเวลาในการประชุมสัมมนาได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเห็นว่าเหมาะสมมาก (ร้อยละ
62.70) รองลงมามีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 34.90) และมีความเหมาะสมน้อย
(ร้อยละ 2.40)

4.8 ความเหมาะสมของสถานท่ีจดั ประชุมและสง่ิ อํานวยความสะดวกต่างๆ
ก) การจดั ที่นั่งและส่ิงอํานวยความสะดวกต่างๆ ได้รับคาํ ตอบวา่ ส่วนใหญจ่ ะเห็นวา่ เหมาะสม
มาก (ร้อยละ 85.70) และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 13.30)
ข) จอ/ฉากทใ่ี ช้ในการนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะเห็นว่าเหมาะสมมาก
(รอ้ ยละ 73.50) และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 26.50)
ค) คุณภาพเสียงในการจัดประชุม ชี้แจงหรือนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่
เหน็ วา่ เหมาะสมมาก (รอ้ ยละ 73.50) และมีความเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 26.50)
ง) ความสว่างในการจัดประชุม ช้ีแจงหรือนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะ
เห็นว่าเหมาะสมมาก (ร้อยละ 73.50) รองลงมาจะมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ
24.10) และมคี วามเหมาะสมนอ้ ย (ร้อยละ 2.40)
จ) อุณหภูมิภายในห้องประชุมชี้แจงหรือนําเสนอข้อมูลต่างๆ ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่จะ
เหน็ วา่ เหมาะสมมาก (ร้อยละ 73.50) และมีความเหมาะสมปานกลาง (ร้อยละ 26.50)
ฉ) การอาํ นวยความสะดวก (เช่น การต้อนรับและการลงทะเบียน) ได้รับคําตอบว่าส่วนใหญ่
เห็นวา่ เหมาะสมมาก (ร้อยละ 77.10) และมคี วามเหมาะสมปานกลาง (รอ้ ยละ 22.90)

5) ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากการประชุมสัมมนาคร้ังท่ี 2 ได้รับคําตอบว่าผู้ตอบแบบประเมินมีความ
พึงพอใจกับการเข้าร่วมประชุมสัมมนาครั้งที่ 2 ดังสรุปข้อมูลส่วนหนึ่งที่จะนําไปใช้พิจารณาการศึกษา
พัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มประชาชน
ทอ้ งถนิ่ ใหม้ ากท่สี ุดบนพื้นฐานข้อมลู และความถูกตอ้ งทางวชิ าการเปน็ ประเด็นสาํ คัญ ไดแ้ ก่
5.1 การจัดพ้ืนที่ให้นักเรียน/เด็กเล็กเข้าไปศึกษาค้นคว้าได้มีพ้ืนท่ีสืบค้นข้อมูล พักผ่อน/สนามเด็กเล่น
ตามธรรมชาต/ิ สวนไม้หายาก/ไมด้ อก/ไม้ประดับ
5.2 ไม่ควรเกบ็ เงินค่าเขา้ ชมกับนักเรียน/นกั ศึกษา/คนชรา/ผู้พิการ
5.3 การกราบไหว้สง่ิ ศกั ด์ิสทิ ธใ์ิ นพ้ืนทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รควรทําบอร์ดแสดงข้ันตอนให้ชดั เจน เช่น
การกราบไหว้ศาลหลักเมืองพิจิตรหรือพ่อปู่พระยาโครตรบองเทวราชควรจะกระทําส่ิงใดก่อน/
หลังเพราะอะไร หรือกราบไหว้ศาลหลกั เมอื งพิจติ รกอ่ นและใชธ้ ปู เทยี นแบบเดียวกันหรือไม่ หรอื
กราบไหวก้ ีค่ รัง้ อยา่ งไร หรอื เนน้ ประวตั ิศาสตร์เชิงวิชาการให้นักเรียนตระหนักถงึ และซาบซ้งึ
5.4 เน้นการดูแลรักษาอนุรกั ษ์พน้ื ท่ีอทุ ยานเมืองเก่าพิจิตรใหต้ ่อเน่ืองและย่ังยนื

จังหวัดพิจติ ร 6-24 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 6
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การมสี ่วนร่วมของประชาชน

5.5 เห็นด้วยกับการจัดต้ังมูลนิธิหรือหน่วยงานท่ีเป็นกึ่งเอกชนเข้ามาดูแลผลประโยชน์และบํารุงรักษา
พ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร เช่น การเก็บค่าเข้าชม ค่าดูแลระบบเทคโนโลยี กําหนดจุดรับ–ส่ง
นักทอ่ งเท่ียว ฯลฯ แต่ต้องควบคมุ และการบรหิ ารจัดการท่ีมีความชดั เจนโปรง่ ใส

5.6 การจัดกิจกรรมพ้ืนบ้านเพ่ือดึงดูดนักท่องเที่ยว เช่น กีฬาพื้นบ้าน (เช่น การชนไก่ ตะกร้อลอดห่วง
ปีนเสานํ้ามนั แย้ลงรู ฯลฯ) นวดแผนโบราณ และกจิ กรรมเพือ่ สุขภาพ ฯลฯ

5.7 การจัดหางบประมาณเพ่ือการบํารุงรักษาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร เช่น ร้านจําหน่ายค้าชุมชน
บัตรสมาชิกอนรุ กั ษ์เมืองพจิ ติ ร (ค่าบาํ รงุ ปลี ะ100 บาท/คน) ฯลฯ

5.8 เพ่ิมพน้ื ที่จัดตงั้ เป็นพิพิธภณั ฑ์ศูนยร์ วมใจบรมราชอนสุ าวรีย์ รัชกาลท่ี 9
5.9 ควรจัดทําเส้นทางจักรยานยนต์จากพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเชื่อมโยงกับบึงสีไฟให้เป็นรูปแบบ

โดยเฉพาะสวยงามและรนื่ รม
5.10 ควรจัดทําแผนการบริหารจัดการพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรในระยะยาวอย่างย่ังยืนท้ังบุคลากร

แผนงาน โครงสร้างบรหิ ารงบประมาณ คณะบริหารจัดการแบบการมีสว่ นร่วมประชารัฐ ฯลฯ
5.11 จดั ทําแผนท่ตี ําแหนง่ แหล่งท่องเท่ยี วของจังหวัดพิจิตร
5.12 จัดต้ังชมรมถ่ายภาพเพื่อเป็นสิ่งท่ีน่าสนใจของนักเรียน นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปที่รักการ

ถ่ายภาพ
5.13 อยากให้สรุปเนื้อหาให้กระชับในการนําเสนอ แนะนําเปรียบเทียบก่อน–หลังจากการดําเนินงาน

ให้ชัดเจน และส่งเสริมการศึกษาด้านระบบคมนาคมในจังหวัดพิจิตรที่จะสนับสนุนการเดินทาง
มายงั พื้นทอ่ี ทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร
5.14 ต้องมีการจัดตั้งเวทีการมีส่วนร่วมเพ่ือกําหนดคุณสมบัติและคัดเลือกผู้ดูแลและบริหารจัดการ
พื้นที่อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ ร โดยผ่านความเหน็ ชอบจากชมุ ชนทอ้ งถน่ิ
5.15 กรณีศึกษาที่เก่ียวข้องกับกําแพงเมือง–คูเมืองท่ีจะต้องปรับปรุง ปรับเปลี่ยนในการดําเนินการ
ต่างๆ บางส่วน จะต้องดําเนินการประชุมหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น กรมธนารักษ์ กรมศิลปากร
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีเก่ียวข้อง เป็นต้น
เพอื่ ท่ีจะไดท้ ราบเกี่ยวกับการพฒั นาและแนวทางขอ้ กฎหมายต่างๆ ของหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
5.16 น่าจะจัดพื้นท่ีข้างเคียงสถานท่ีปฏิบัติธรรมของวัดเก่าหรือเช่าพื้นท่ีด้านหลังหรือด้านข้างจัดตั้ง
เปน็ สถานท่ีปฏบิ ัติธรรมและดงึ พระมาอย่ปู ระจําเพื่อดึงดูดผู้ชอบความสงบมาปฏิบัติธรรมและยัง
สามารถให้ผู้ปฎิบัติธรรมมาช่วยดูแลพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรได้เพราะพื้นที่อุทยานเมืองเก่า
พจิ ติ รจะไม่เงยี บเหงาหากไมใ่ ชช่ ว่ งทม่ี นี กั ทอ่ งเท่ยี วมาใช้บริการ
5.17 น่าจะจัดทําเป็นฟาร์มโซล่าเซลล์เพื่อใช้เป็นสถานที่ดูงานของประชาชนทั่วไป หน่วยงานราชการ
นักเรยี นและนกั ศกึ ษา ฯลฯ

6.8 บทสรปุ จากการประชมุ สมั มนาและประชมุ กลมุ่ ย่อย

ท่ีปรึกษาจะได้พิจารณานําข้อมูลสําคัญๆ ไปใช้พิจารณาการศึกษาพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรอย่างเป็น
ระบบและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกลุ่มประชาชนท้องถิ่นให้มากที่สดุ บนพน้ื ฐานข้อมูลและความถกู ต้องทางวชิ าการ
เป็นประเด็นสาํ คญั ได้แก่

จังหวดั พิจติ ร 6-25 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 6
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร การมสี ่วนร่วมของประชาชน

1) การเพ่ิมเติมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเพื่อ
รองรับการเปน็ เมอื งแบบ Smart City ในอนาคต และพจิ ารณานาํ เสนอการให้บริการใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตโดย
ไมเ่ สียคา่ ใช้จา่ ย (Free WiFi) ในส่วนของพื้นท่ีอทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร จงั หวัดพจิ ิตร

2) การพัฒนาพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเพื่อเป็นศูนย์กลาง Solar Farm Model และขยายมายังแหล่ง
ท่องเที่ยวบงึ สีไฟ

3) การออกแบบและปรับปรุงพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรจะเป็นไปตามตามหลักการจัดการพื้นท่ีอุทยาน
ประวัติศาสตร์ตามแนวทางของกรมศลิ ปากร โดยเนน้ การใช้สถาปตั ยกรรมไทยพน้ื บา้ นผสมผสานเข้ากับ
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ มีความพอดีหรือสมดุลเพื่อให้กลมกลืนกับสภาพพ้ืนที่แหล่งประวัติศาสตร์ และ
ความผูกพันกบั วิถชี ีวิตความเปน็ ไทยเน้นเชงิ อนุรักษ์ท่ีมคี วามยัง่ ยืน

4) การออกแบบอาคารสว่ นจดั นทิ รรศการในพนื้ ท่อี ุทยานเมอื งเกา่ พิจิตรเพ่อื สร้างแรงดึงดูดให้นักท่องเท่ียว
ท่ีมาให้รวู้ ่าพ้ืนทอี่ ุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ รเป็นแหลง่ ประวัติศาสตร์สําคญั ของจงั หวดั พิจิตร

5) การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ัศน์ภายในพืน้ ท่ีอทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร และการเพิ่มเติมถนนคอนกรีตโดยรอบและการ
จัดทําเส้นทางเดิน/ทางจักรยาน การปรับปรุงคลองคูเมืองเดิมเพ่ือใช้เป็นท่ีพักผ่อนหย่อนใจและจัดเป็น
พ้ืนที่น่ังพักผ่อน ลานกิจกรรมขนาดเล็กและการติดต้ัง direction sign และแผ่นป้ายข้อมูลต่างๆ ใน
พืน้ ที่อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร

6) การจัดตั้งมูลนิธิหรือหน่วยงานที่เป็นกึ่งเอกชนเข้ามาดูแลผลประโยชน์และบํารุงรักษาพื้นท่ีอุทยานเมือง
เก่าพิจิตร เช่น การเก็บค่าเข้าชม ค่าดูแลระบบเทคโนโลยี กําหนดจุดรับ–ส่งนักท่องเที่ยว ฯลฯ แต่ต้อง
ควบคมุ และการบรหิ ารจัดการท่ีมีความชดั เจนโปรง่ ใส โดยต้องมีการจัดตั้งเวทีการมีส่วนร่วมเพ่ือกําหนด
คุณสมบัติและคัดเลือกผู้ดูแลและบริหารจัดการพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยผ่านความเห็นชอบจาก
ชุมชนทอ้ งถ่นิ

7) การจดั หางบประมาณเพ่ือการดูแลและบํารุงรักษาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร เช่น ร้านจําหน่ายค้าชุมชน
บตั รสมาชกิ อนุรักษ์เมืองพจิ ติ ร (คา่ บาํ รุงปลี ะไม่เกนิ 100 บาท/คน) ฯลฯ

8) การปรบั ปรุงหรือปรบั เปลย่ี นการดาํ เนินการใดๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกับกําแพงเมอื ง–คูเมอื งในพื้นที่อุทยานเมือง
เก่าพิจิตรจะต้องจะต้องดําเนินการประชุมหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น กรมธนารักษ์ กรมศิลปากร กรม
อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช กรมชลประทาน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่เก่ียวข้อง (เช่น
องค์การบรหิ ารส่วนตําบลโรงชา้ ง องค์การบริหารสว่ นตําบลเมืองเกา่ ) เป็นต้น เพื่อที่จะได้ทราบเกี่ยวกับ
การพัฒนาและแนวทางข้อกฎหมายต่างๆ ของหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง
ฯลฯ

จงั หวดั พิจิตร 6-26 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

บทท่ี 7
บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

บทที่ 7
บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

7.1 บทสรปุ

7.1.1 สรุปผังแมบ่ ทการพฒั นาพื้นทีอ่ ุทยานเมืองเก่าพจิ ิตร (Master Plan)

จากการตรวจสอบรูปร่างและขนาดของแปลงที่ดิน การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือวางผังและกําหนดแนวความคิดใน
การวางผังการใช้พ้ืนท่ี จึงได้พิจารณาออกแบบผังแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร (ดูแบบรายละเอียดตาม
เอกสารประกวดราคาและเอกสารประมาณราคาคา่ กอ่ สร้าง (ปร.1 – ปร.6) ดังสรุปได้ดงั นี้

1) ศาลหลกั เมืองพจิ ิตรและศาลพอ่ ปพู่ ระยาโคตรบองและส่วนประกอบ (พน้ื ทีใ่ ชส้ อย 3,760 ตร.ม.)
2) อาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการพร้อมสถานที่จอดรถยนต์ (พ้ืนที่ใช้สอย 1,040 ตร.ม.) อาคาร

จําหน่ายสินค้าชุมชน (พ้ืนที่ใช้สอย 39.78 ตร.ม.) อาคารจําหน่ายธูปเทียน (พื้นที่ใช้สอย 73.78 ตร.ม.)
อาคารศาลาพักนักท่องเที่ยว (พื้นท่ีใช้สอย 34 ตร.ม.) และห้องน้ําบริการนักท่องเท่ียว (พ้ืนท่ีใช้สอย 12
ตร.ม./แหง่ จํานวน 2 แห่ง คิดเปน็ พนื้ ทีใ่ ช้สอยรวม 24 ตร.ม.) ฯลฯ
3) พน้ื ทีน่ ง่ั พักผอ่ นริมนา้ํ (พื้นท่ใี ชส้ อย 100 ตร.ม./แหง่ ) จํานวน 7 แหง่ คดิ เป็นพนื้ ทใ่ี ชส้ อยรวม 700 ตร.ม.
4) พื้นที่น่ังพักผ่อนและจอดจักรยาน (พื้นท่ีใช้สอย 100 ตร.ม./แห่ง) จํานวน 12 แห่ง คิดเป็นพ้ืนท่ีใช้สอย
รวม 1,200 ตร.ม.
5) สถานที่จอดรถยนต์ระดบั ดิน 2 แห่ง ได้แก่ พ้ืนที่ใต้อาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการ และพ้ืนที่ฝั่ง
ตรงขา้ มกับอาคารสาํ นักงานและสว่ นจัดนทิ รรศการ
6) สิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบถนนเชื่อมโยง (ความยาวไม่เกิน 1.40 กม.)
ระบบเส้นทางจักรยาน (ความยาวไม่เกิน 4.50 กม.) ระบบไฟฟ้าและส่ือสาร ระบบผลิตนํ้าประปา
ระบบสขุ าภบิ าล ระบบดบั เพลิงและป้องกันอคั คภี ยั ฯลฯ
7) การขดุ และปรบั ปรุงสระน้าํ คเู มืองและการปรับปรงุ ภมู ิทศั นภ์ ายในพื้นท่อี ทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตร

7.1.2 การประมาณราคาคา่ ก่อสรา้ ง

ท่ีปรึกษาได้คํานวณค่าก่อสร้างกลุ่มอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค
และงานปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแบบรายละเอียดตามผังแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและแบบรายละเอียด
ตามเอกสารประกวดราคาดังสรุปค่าใช้จ่ายด้านต่างๆ ท้ังหมด (ราคากลาง) (นับรวม Factor F = 1.2037) ดังแสดงไว้ใน
ตารางท่ี 7.1-1 คิดเป็นเงนิ รวม 166,950,000 ล้านบาท (หนึ่งรอ้ ยหกสิบหกลา้ นเกา้ แสนห้าหมืน่ บาทถ้วน)

7.1.3 แผนการดาํ เนินงาน

ที่ปรึกษาได้กําหนดระยะเวลาการก่อสร้างและปรับปรุงกลุ่มอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวก
ระบบสาธารณูปโภคและงานปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแบบรายละเอียดตามผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร
และเอกสารประกวดราคาเป็นเวลาไมเ่ กิน 12 เดือนดังแสดงในรปู ที่ 7.1-1 สรปุ ได้ดงั น้ี

จังหวดั พิจิตร 7-1 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

1) งานขดุ ลอกสระนํา้ และปรับปรุงคเู มอื งจะใช้เวลาไมเ่ กนิ 6 เดือน (ปีที่ 1–เดอื นท่ี 1-6)
2) งานรือ้ ย้ายและปรับปรงุ อาคารศาลหลักเมอื งพจิ ิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง ขนาด 1 ช้ัน (รวมช้ัน

ใตด้ นิ 1 ชน้ั ) จะใช้เวลาไม่เกนิ 12 เดือน (ปีที่ 1–เดอื นที่ 1-12)
3) งานรื้อย้ายและก่อสร้างอาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการ (พ้ืนท่ีใช้สอย 1,040 ตร.ม.) อาคาร

จาํ หน่ายธปู เทยี น (พื้นท่ีใช้สอย 73.78 ตร.ม.) อาคารจําหน่ายสินค้าชุมชน (พื้นที่ 39.78 ตร.ม.) อาคาร
ศาลาพักนักท่องเที่ยว (พ้ืนท่ีใช้สอย 34 ตร.ม.) และอาคารห้องน้ําบริการนักท่องเที่ยว (พื้นท่ีใช้สอย 12
ตร.ม./หลัง) จาํ นวน 2 แห่ง ฯลฯ จะใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 12 เดอื น (ปที ่ี 1–เดือนที่ 1-12)
4) งานรื้อย้ายและก่อสร้างสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่า
พจิ ติ รจะใช้เวลาไม่เกิน 12 เดือน (ปีที่ 1–เดอื นที่ 1-12)
5) งานปรบั ปรุงภมู ิทัศนใ์ นพืน้ ที่อทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร จะใช้เวลาไมเ่ กนิ 12 เดอื น (ปที ี่ 1–เดอื นท่ี 1-12)
6) งานกอ่ สร้างลานจอดรถยนตร์ ะดับดนิ 2 แห่ง จะใชเ้ วลาไม่เกนิ 6 เดอื น (ปที ่ี 1–เดือนท่ี 1-6)

ตารางที่ 7.1-1
สรปุ ผลการประมาณราคาคา่ ก่อสร้าง งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว

ทางประวัตศิ าสตร์ “อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจิตร

ลําดับท่ี รายการ ประมาณการราคาค่ากอ่ สรา้ ง (บาท)

สว่ นที่ 1 กลมุ่ งานท่ี 1

- งานอาคารศาลหลกั เมืองและศาลพอ่ ปพู่ ระยาโคตรบอง 33,076,030.80

- งานอาคารสํานักงานและสว่ นจัดนิทรรศการ 25,036,960.00

- งานอาคารจาํ หนา่ ยธูปเทียน 1,245,982.48

- งานอาคารจาํ หน่ายสนิ คา้ ชุมชน 1,178,113.04

- งานอาคารศาลาพักนักทอ่ งเท่ียว 855,087.66

- งานอาคารหอ้ งนาํ้ บรกิ ารนักทอ่ งเท่ียว 3,176,983.55
กลุ่มงานที่ 2
- งานสง่ิ อํานวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค 43,921,054.31
- งานถนนคอนกรตี 13,821,589.48
- งานขุดและปรับปรงุ สระน้ํา คูเมือง 2,758,478.33

- งานปรบั ปรุงภมู ิทศั น์ภายในพืน้ ท่อี ทุ ยานเมืองเกา่ 23,344,815.75

สว่ นที่ 2 งานครภุ ัณฑ์จดั ซ้ือหรือสงั่ ซือ้ ไมม่ ี

สว่ นท่ี 3 ค่าใชจ้ า่ ยพเิ ศษตามข้อกําหนด

- คา่ จ้างท่ปี รกึ ษางานบรหิ ารและควบคุมงานก่อสรา้ ง 2.50% 3,710,377.39

- ค่าเผ่อื เหลอื เผ่ือขาด 10% 14,841,509.54

รวมคา่ ก่อสรา้ งท้ังโครงการ/งานก่อสรา้ ง 166,966,982.33

สรุป ราคากลาง 166,950,000.00

ตวั หนงั สือ หน่งึ รอ้ ยหกสิบหกลา้ นเกา้ แสนห้าหมน่ื บาทถ้วน

ที่มา: อ้างองิ จากเอกสารประกวดราคาและเอกสารประมาณราคาค่ากอ่ สร้าง (ปร.1 – ปร.6),
งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะพฒั นาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ “อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร, พฤศจกิ ายน 2560

จงั หวัดพิจติ ร 7-2 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

จังหวัดพิจติ ร รูปที่ 7.1-1 แผนงานการก่อสรา้ งและปรบั ปรุงกลมุ่ อาคารส่งิ ปลกู สรา้ งพรอ้ มสิ่งอาํ นวยความสะดวกระบบสาธารณปู โภคและงานปรบั ปรงุ ภมู ิทัศนใ์ นพื้นที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวตั ศิ าสตร์
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจิตร
ลําดบั ที่ รายการ เดอื นที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1 งานขุดลอกสระนํา้ และปรับปรุงคูเมือง

2 งานร้ือย้ายและปรับปรุงอาคารศาลหลกั เมืองและศาลพอ่ ปพู่ ระยาโครตบอง

3 งานร้ือย้ายและกอ่ สร้างอาคารสํานักงานและสว่ นจดั นิทรรศการ

4 งานรื้อย้ายและกอ่ สร้างอาคารจาํ หน่ายธูปเทยี น

5 งานร้ือย้ายและกอ่ สร้างอาคารจําหน่ายสินคา้ ชมุ ชน

6 งานรื้อย้ายและกอ่ สร้างอาคารศาลาพักนักท่องเท่ยี ว

7 งานร้ือย้ายและก่อสร้างอาคารห้องนํา้ บริการนักทอ่ งเทีย่ ว 2 แห่ง

8 งานร้ือย้ายและกอ่ สร้างสิ่งอาํ นวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ

7-3 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 9 งานปรับปรุงภูมิทัศน์ในพ้นื ทอ่ี ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร

10 งานก่อสร้างลานจอดรถระดับดนิ 2 แห่ง

ท่มี า: อา้ งองิ จากรายละเอียดและปรมิ าณงานในเอกสารประกวดราคา, งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะพฒั นาแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร” จงั หวดั พจิ ิตร, พฤศจกิ ายน 2560

บทท่ี 7
บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 7
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

7.2 ข้อเสนอแนะ

7.2.1 การเพม่ิ เตมิ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การสนับสนนุ โครงการ

ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนโครงการศึกษาและออกแบบการพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร เป็นการมุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์
แหล่งท่องเท่ียวสําคัญเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ ประเพณี ศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดพิจิตร โดยการนําเอาระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์สูงสุดและใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในจังหวัดพิจิตรตามนโยบายของรัฐบาลที่
พยายามมงุ่ เน้นประเทศไทยสู่ Thailand 4.0 อีกท้งั ยังเปน็ การเพิ่มศักยภาพของจงั หวดั พิจติ รในการแข่งขันกับจังหวัดอ่ืนๆ
ในดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ รองรับการเปน็ เมอื งแบบ Smart City ในอนาคต

ท่ีปรึกษาได้พิจารณานําเสนอการให้บริการใช้อินเตอร์เน็ตโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย (Free WiFi) ในส่วนของพื้นที่
“อุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร” จงั หวดั พิจติ ร ดงั แสดงในรปู ที่ 7.2-1 เปน็ การแสดงกรอบสเี หลอื งเป็นพืน้ ที่อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร
ประมาณ 400 ไร่เศษและรูปท่ี 7.2-2 เป็นการแสดงวงกลมสีดําเป็นพ้ืนท่ีที่มีประชาชนท่ัวไปเข้ามาเยี่ยมชมสถานท่ีสําคัญ
ทางประวัติศาสตร์ ประเพณี ศาสนาและวัฒนธรรมและกรอบส่ีเหลี่ยมสีดําเป็นพ้ืนที่ท่ีให้ประชาชนทั่วไปได้พักผ่อนหย่อน
ใจตามอัธยาศัยดังสรุปรูปแบบในการติดต้ังเสาสัญญาณอินเตอร์เน็ตโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย (Free WiFi) แบ่งได้เป็น 3 แบบ
ดังนี้

1) การติดต้ังเสาสัญญาณอินเตอร์เน็ตและใช้งานแบบสายอากาศ (antenna) เป็นการติดต้ังตัวส่งสัญญาณ
จุดหลักพร้อมอินเตอร์เน็ต ณ ตําแหน่งศาลากลางจังหวัดพิจิตรและการติดตั้งเสาตัวรับสัญญาณพร้อม
กระจายจุดรับสัญญาณ ณ ตําแหน่งอุทยานเมืองเก่าพิจิตร มีระยะทางไม่เกิน 12 กิโลเมตร และมีพื้นท่ี
ภายในอุทยานเมืองเก่าพิจติ รประมาณ 1 ตร.กม. โดยรปู ที่ 7.2-3 แสดงตัวอย่างรูปแบบการติดต้ังเสาส่ง
สัญญาณอินเตอร์เน็ตพร้อมตัวส่งสัญญาณและตัวรับสัญญาณแบบสายอากาศโดยข้อควรระวังรูปแบบ
สายอากาศ (antenna) คือ ตน้ ทุนคา่ ใช้จา่ ยในการลงทนุ สงู มากเน่ืองจากเปน็ ระบบเทคโนโลยชี ้นั สงู และ
มีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลภายหลังติดตั้งระบบทั้งหมด รวมท้ังจะต้องพิจารณาผู้ท่ีทําหน้าท่ีดูแลระบบ
ภายหลังติดต้ังเรียบร้อยแล้ว จําเป็นจะต้องใช้ผู้ท่ีมีความรู้และทักษะในเร่ืองดังกล่าวเพื่อรองรับปัญหาที่
อาจเกดิ ขึ้นในอนาคตได้หรือมีการใช้กําลังไฟฟ้าสูงในการส่งสัญญาณได้ ถ้ามีผู้ใช้บริการเป็นจํานวนน้อย
ทาํ ใหม้ ีความไมค่ มุ้ ค่าในการลงทุน

2) การติดตั้งเสาสัญญาณอินเตอร์เน็ตและการเดินสายนําส่งสัญญาณ จะเป็นการเดินสายนําส่งสัญญาณ
อินเตอร์เน็ตด้วยระบบไฟเบอร์ออฟติก (fiber optic) โดยเริ่มต้น ณ ตําแหน่งศาลากลางจังหวัดพิจิตร
และการเดนิ สายนําสญั ญาณจนกระทง่ั มาทีต่ าํ แหน่งอุทยานเมอื งเก่าจังหวัดพิจิตร มีระยะทางไม่เกิน 12
กโิ ลเมตร และการติดต้งั เสาเพอ่ื กระจายสญั ญาณอนิ เตอร์เน็ตในพืน้ ทีท่ ใี่ หบ้ รกิ ารภายในเขตพื้นทีอ่ ุทยาน
เมืองเกา่ พิจติ รครอบคลุมพ้นื ท่ไี ม่เกนิ 1 ตร.กม. ดงั แสดงในรูปท่ี 7.2-4 เปน็ การแสดงตําแหนง่ ทจ่ี ะติดต้ัง
เสานําส่งสัญญาณเพ่ือกระจายสัญญาณ WiFi โดยมีทั้งหมด 3 ตําแหน่งตามสัญลักษณ์รูปดาวสีแดงอยู่
ในกรอบส่ีเหลี่ยมและวงกลมสีดํา

จงั หวัดพิจติ ร 7-4 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 7
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

รปู ที่ 7.2-1 กรอบสเี หลอื งเป็นพื้นทอี่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รประมาณ 400 ไร่เศษ

รูปที่ 7.2-2 วงกลมสีดําเป็นพ้ืนท่ีทม่ี ีประชาชนทั่วไปเข้ามาเยี่ยมชมสถานทส่ี าํ คญั ทางประวัติศาสตร์ ประเพณี ศาสนา
และวัฒนธรรม และกรอบสี่เหลีย่ มสดี ําเป็นพน้ื ที่ท่ีให้ประชาชนท่วั ไปได้พกั ผอ่ นหยอ่ นใจตามอัธยาศัย

จงั หวัดพิจิตร 7-5 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 7
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

รูปท่ี 7.2-3 ตวั อยา่ งรูปแบบการติดต้ังเสาส่งสญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ พรอ้ มตัวสง่ สัญญาณและ
ตวั รับสัญญาณแบบสายอากาศ

รูปที่ 7.2-4 ตําแหนง่ ทจ่ี ะตดิ ตั้งเสานําส่งสญั ญาณเพอื่ กระจายสญั ญาณ WiFi มที ้งั หมด 3 ตําแหน่งตามสญั ลักษณ์
รูปดาวสีแดงในกรอบสี่เหลยี่ มและวงกลมสดี ํา

จังหวดั พิจิตร 7-6 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร บทสรุปและข้อเสนอแนะ

3) การเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยไร้สายระยะไกล (อ้างองิ ขอ้ มูลจาก SYS2U.COM) จะตอ้ งพิจารณาประเด็นต่างๆ
3.1 อุปกรณ์ Wireless Access Point หรือ Wireless Router จะทําหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่าย
ไร้สายระยะไกลโดยจะตอ้ งพิจารณาว่าอปุ กรณด์ งั กล่าวสามารถรองรบั การทํางานแบบ Wireless
Repeater หรือ WDS (Wireless Distribution System) ได้หรือไม่กรณีต้องการกระจายแบบ
ไรส้ ายหรอื AP Client หรือ Client Bridge (กรณีไม่ต้องการกระจายแบบไรส้ าย)
3.2 กําลังส่ง (Transmission Power) ท่ีอุปกรณ์ Wireless Access Point หรือ Wireless Router
สามารถส่งออกมาเพียงพอกับคุณลักษณะ (Specification) ของเสาอากาศภายนอกท่ีมาเชื่อมต่อ
หรือไม่ เชน่ เสาอากาศภายนอก (Outdoor Antenna) รุ่น Taction LAXO-AN-PG09, 9.0 dBi
Panel Type สามารถเชอื่ มต่อได้ระยะทางสงู สุด 1.80 กิโลเมตร (ในแนวราบไม่มีต้นไม้กีดขวาง)
ทกี่ าํ ลงั ส่ง 100 mW เปน็ ตน้
3.3 เสาอากาศภายนอก (Outdoor Antenna) ที่มีความเหมาะสมกับการใช้งาน ได้พิจารณาศึกษา
จากคุณลักษณะของเสาแต่ละประเภท ทิศทางการกระจายสัญญาณ เช่น เสาแบบรอบทิศทาง
(Omni Antenna) จะเหมาะสมสําหรับกระจายสัญญาณจากส่วนกลางเพ่ือเชื่อมต่อไปยังจุด
กระจายสญั ญาณปลายทางได้หลายจดุ พรอ้ มกัน เปน็ ต้น
3.4 หัวเช่ือมต่อ (Connector) จําเป็นต้องศึกษาจากเอกสารคุณลักษณะของเสาอากาศภายนอก
สายนําสัญญาณแบบสูญเสียต่ําและอุปกรณ์ Wireless Access Point หรือ Wireless Router
ทต่ี อ้ งการเชอ่ื มตอ่ ให้เข้ากันได้ เชน่ เสาอากาศภายนอก (Outdoor Antenna) แบบ N-Female
สายนําสัญญาณปลายข้างที่เช่ือมต่อกับเสาอากาศจะต้องเป็นแบบ N-Male และปลายสายนํา
สัญญาณควรเป็นหัวเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ Wireless Access Point เช่น ถ้าเป็น Linksys
WRT54GL เป็นแบบ RP-TNC Female และปลายสายอีกข้างของสายนําสัญญาณจะต้องเป็น
RP-TNC Male เปน็ ต้น
3.5 สายนําสัญญาณแบบสูญเสียต่ํา (Low-Loss Cable) จะต้องพิจารณาเลือกใช้ความยาวของสาย
นําสัญญาณให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น สายนําสัญญาณ Tactio LAXO-CB-NM2NM-1M
แบบ HDF-200 ความยาว 1 เมตรจะมีอัตราลดทอนของสัญญาณ 0.80 dB/เมตร ฯลฯ หากนํา
สายสัญญาณชดุ นีม้ าเชือ่ มต่อกบั เสาอากาศภายนอกทําให้กําลังส่งถูกลดทอนลงไปในอัตรา 0.80
dB/เมตร ก่อนจะส่งผ่านไปยังเสาอากาศเพ่ือขยายสัญญาณจะมีผลกระทบโดยตรงกับระยะทาง
การเชื่อมต่อท่ีได้และการคํานวณอัตราการสูญเสียของสายนําสัญญาณเป็นการคํานวณเบ้ืองต้น
จากประสบการณ์การใช้งานจริงโดยไม่ได้คํานวณอยู่บนหลักทฤษฎีในการออกแบบเสาอากาศ
ตามหลกั วศิ วกรรมโทรคมนาคมซง่ึ มีปจั จยั หลายปัจจัยจะตอ้ งนํามาพจิ ารณามากกวา่ น้ี
3.6 บริเวณที่เชื่อมต่อสัญญาณแบบไร้สายระยะไกล ในการเชื่อมต่อแบบไร้สายระยะไกลจะเป็นการ
เชื่อมต่อแบบระดบั สายตามองเหน็ (Line-of-Sight) น่ันคือระหว่างเส้นทางที่เชอ่ื มต่อแบบไร้สาย
จะต้องไมม่ ีสง่ิ กีดขวาง เปรียบได้กับสายตาท่ีสามารถมองเห็นจากฝ่ังหนึ่งไปยังอีกฝั่งหน่ึง แต่การ
เชอื่ มตอ่ ท่ีอยู่ในสภาพแวดล้อมท่มี อี ุปสรรคบ้างเล็กนอ้ ย เชน่ ตน้ ไมข้ ้ึนแบบหลวมๆ หรอื มมี มุ อับ
บางส่วน การเชื่อมต่อแบบไร้สายภายนอกสามารถเช่ือมต่อได้แต่ประสิทธิภาพจะถูกลดทอนไป
ตามอุปสรรคท่ีเกิดขนึ้ จริง

จังหวดั พิจิตร 7-7 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

ข้อควรระวงั : รูปแบบการตดิ ตัง้ เสาสญั ญาณอนิ เตอร์เน็ตและการเดินนาํ สง่ สญั ญาณคือ มตี ้นทุนค่าใช้จ่ายในการ
ลงทุนสูงและการเดินสายนําส่งสัญญาณแบบไฟเบอร์ออฟติก (fiber optic) จะมีค่าใช้จ่ายไม่เกิน 1 แสนบาท/กิโลเมตร
สว่ นเสาตดิ ต้ังสําหรับเดินสายนําส่งสัญญาณต้นละไม่เกิน 1 หม่ืนบาท (ระยะที่ 40; 60; 80 เมตร) แต่มีค่าใช้จ่ายสูงในการ
ดแู ลภายหลังจากการตดิ ต้งั ระบบท้ังหมดรวมทงั้ จะตอ้ งพจิ ารณาผู้ทาํ หน้าที่ดูแลระบบภายหลังจากการติดต้ังเรียบร้อยแล้ว
ซ่ึงจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้และทักษะในเรื่องดังกล่าวเป็นอย่างดี เพราะจะเกิดปัญหาข้ึนในอนาคตได้อีกทั้งจํานวนหน่ึง
wireless access point รองรับได้ประมาณ 10 คน หากมีผู้ใช้บริการจํานวนน้อยมากทําให้มีความไม่คุ้มค่าในการลงทุน
ส่วนการใช้ provider ในการดําเนินการติดต้ังระบบเครือข่ายไร้สาย Free WiFi ตามแนวความคิดในรูปแบบข้อท่ี 2 แสดง
ตําแหน่งที่จะทําการติดตั้งเสานําส่งสัญญาณเพ่ือกระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตภายในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดย
รูปแบบ provider สามารถใช้งบประมาณในการลงทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในส่วนของที่ปรึกษา
และงานการติดต้ังระบบเครือข่ายไร้สาย Free WiFi ตามข้อตกลงระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบและผู้รับจ้างท่ีจะเข้ามา
ลงทุนรวมค่าบริการท้ังหมดในการติดต้ังเสาและการให้บริการในแต่ละปีซ่ึงผู้รับจ้างจะเป็นผู้ดูแลระบบทั้งหมดขึ้นอยู่กับ
ระยะเวลาของสัญญา ข้อดีคือ ช่วยลดภาระต้นทุนในการดูแลและบํารุงรักษาภายใต้หน่วยงานที่รับผิดชอบภายหลังจาก
การติดตั้งระบบไร้สายท้ังหมด ถ้าเกิดปัญหาเก่ียวข้องกับระบบสามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันทีทําให้ผู้ใช้บริการพึงพอใจ
กับระบบที่กําลังใชง้ านอยู่

7.2.2 ข้อเสนอแนะด้านการเชอื่ มโยงพืน้ ทอ่ี ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตรและแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วอ่นื ๆ

ข้อเสนอแนะด้านการเชื่อมโยงพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรและแหล่งท่องเท่ียวอ่ืนๆ ภายในจังหวัดพิจิตรและ
พื้นท่ีใกลเ้ คยี งสามารถกําหนดรูปแบบการทอ่ งเท่ยี วได้ดังน้ี

1) การท่องเทย่ี วภายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 1 วนั
1.1 เส้นทางที่ 1 (รูปที่ 7.2-5ก): จากอุทยานเมืองเก่าพิจิตร จะเดินทางท่องเท่ียวรอบเกาะศรีมาลา
เที่ยวชมถํ้าชาละวันเป็นตํานานจากชาวบ้านท้องถิ่นและมีที่มาจากบทวรรณคดีเร่ืองไกรทองเป็น
บทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี 2) และเดินทางต่อ
ประมาณ 5 นาทีเพ่ือไปสักการะศาลหลักเมืองพิจิตรและพ่อปู่พระยาโคตรบอง จากน้ันเดินทาง
ต่อประมาณ 5 นาทีไปยังวัดมหาธาตุเป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองพิจิตร เดินทางต่อไปวัดนครชุม
ประมาณ 10 นาที จากนั้นจึงเดนิ ทางเลยี บแม่นา้ํ พจิ ิตรม่งุ หนา้ ไปยงั วัดโรงช้างระยะทางประมาณ
3 กิโลเมตร และจะเดินทางต่อไปตามทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจิตร–วังจิก) เป็นระยะทาง
ประมาณ 6 กิโลเมตร ใชเ้ วลาประมาณ 15 นาทีเพื่อตามรอยเสด็จประพาส ร.9 บริเวณโรงเรียน
พจิ ติ รพทิ ยาคม จากนน้ั เดินทางต่อไปอกี ประมาณ 7 กิโลเมตรไปยังบึงสีไฟแหล่งนํ้าธรรมชาติที่มี
ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ โดยรอบบึงสีไฟจะมีสถานท่ีท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลายแห่ง
ยกตัวอย่างเช่น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯพิจิตร สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิฯ สถานแสดง
พนั ธุ์ปลาเฉลมิ พระเกียรติ ฯลฯ รวมระยะทางไมเ่ กิน 20 กิโลเมตร
1.2 เสน้ ทางท่ี 2 (รปู ท่ี 7.2-5ข): จากอุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร เดนิ ทางเป็นระยะทาง 11 กโิ ลเมตรไปยงั
สถานีรถไฟพิจติ รและเดนิ ทางตอ่ ประมาณ 3 กิโลเมตรไปยังศูนย์มิตรภาพไทย–เวียดนามบ้านดง
เดินทางต่อไปอีก 10 กิโลเมตรเพื่อไหว้สักการะศาลเจ้าพ่อวังกลมและการเท่ียวชมวิถีชีวิตชุมชน
ตลาดเกา่ วงั กรดซ่ึงหา่ งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 3 กิโลเมตรและเดินทางล่องไปทาง

จังหวัดพิจติ ร 7-8 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 7
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจิตร บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

ทศิ ใต้อีก 7 กโิ ลเมตรเพอ่ื ไปเท่ยี วชมและสกั การะขอพรสง่ิ ศักด์ิสิทธิภ์ ายในวัดหวั ดงและท่องเที่ยว
สถานท่ีน่าสนใจภายในรัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร ได้แก่ วัดเขารูปช้าง วัดใหม่คําวัน วัดดงป่าคํา
วัดโพธ์ิประทับช้างเป็นวัดเก่าแก่สมัยสมเด็จพระเจ้าเสือเพื่อตามรอยเสด็จประพาสต้น ร.5 และ
วัดฆะมัง ฯลฯ รวมระยะทางไม่เกนิ 63 กิโลเมตร
1.3 เส้นทางที่ 3 (รูปท่ี 7.2-5ค): จากอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเดินทางไปบึงสีไฟประมาณ 9 กิโลเมตร
เพ่อื เย่ียมชมแหลง่ นํ้าธรรมชาตทิ ม่ี ขี นาดใหญ่เป็นอนั ดับ 5 ของประเทศ โดยรอบบึงสีไฟมีสถานที่
ท่องเที่ยวท่ีน่าสนใจหลายแห่ง ยกตัวอย่างเช่น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯพิจิตร สวนสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ สถานแสดงพันธ์ุปลาเฉลิมพระเกียรติ ฯลฯ และเดินทางต่อไป 16 กิโลเมตร
จะถึงวัดโพธ์ิประทับช้างเป็นวัดเก่าแก่สมัยสมเด็จพระเจ้าเสือเพ่ือตามรอยเสด็จประพาสต้น ร.5
และเดินทางต่อไปเพื่อนมัสการและสักการะสิ่งศักด์ิสิทธ์ิในวัดดงป่าคํา วัดเขารูปช้าง วัดเขาพระ
และชมุ ชนบ้านหัวดง สิน้ สดุ การเดนิ ทางเพอ่ื เยยี่ มชมวิถีชวี ติ ชมุ ชนตลาดเกา่ วงั กรด รวมระยะทาง
ไมเ่ กิน 56 กโิ ลเมตร

ก) การท่องเทย่ี วตามเส้นทางท่ี 1 ข) การทอ่ งเที่ยวตามเส้นทางท่ี 2

ค) การทอ่ งเทย่ี วตามเสน้ ทางที่ 3
รูปที่ 7.2-5 รปู แบบการทอ่ งเท่ียวเร่ิมต้นจากอทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร ใชเ้ วลาทอ่ งเทยี่ วไมเ่ กนิ 1 วัน

จงั หวัดพิจิตร 7-9 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทที่ 7
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ

2) การท่องเทีย่ วไมเ่ กิน 2 วนั
2.1 การทอ่ งเท่ียวตามเส้นทางท่ี 1 (รูปที่ 7.2-6):
ก) วันที่ 1 (รูปที่ 7.2-6ก) จากอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเดินทางเป็นระยะทางประมาณ 30
กิโลเมตรเพ่ือไปนมัสการและสักการะส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในวัดใหม่ปลายห้วยแล้วเดินทางต่อไป
อีก 11 กิโลเมตร เพื่อตามเสร็จรอยประพาส ร.9 ท่ีตําบลเนินปอ จากน้ันเดินทางต่อไป
อีก 19 กิโลเมตรเพื่อนมัสการและขอพรจากหลวงปู่ขวัญ ปวโร และสักการะสิ่งศักด์ิสิทธิ์
ในวัดบ้านไร่หรือวัดเทพสิทธิการามเป็นวัดชื่อดังและศรัทธาของชาวอําเภอสามง่าม และ
เดนิ ทางตอ่ ไปอกี 19 กโิ ลเมตรตามทางหลวงหมายเลข พจ.3056 และ 115 ไปยังวัดท่าฬ่อ
เพ่ือกราบนมัสการและขอพรจากพระพุทธศิลามหามุนีนาถ (หลวงพ่อหิน) และศาลเจ้า
แม่ทับทิมท่าฬ่อเป็นสถานท่ีประดิษฐานองค์เจ้าแม่ทับทิมและองค์เจ้าพ่อกวนอู (รวมทั้ง
เจ้าพ่อปุ้นเถ่ากงและปุ้นเถ่าม่า) มีอายุมากกว่า 150 ปี และท่องเที่ยวเชิงเกษตรและชิม
มะม่วงนํ้าดอกไม้สีทองหรือมะปรางหวาน/มะยงชิด ณ สวนเกษตรวังทับไทรจะอยู่ห่าง
จากศาลเจา้ แมท่ ับทมิ ทา่ ฬ่อไม่เกนิ 26 กโิ ลเมตร รวมระยะทางไม่เกนิ 97 กิโลเมตร
ข) วันท่ี 2 (รูปท่ี 7.2-6ข) จากอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเดินทางเป็นระยะทางประมาณ 40
กโิ ลเมตรเพ่อื ไปนมัสการและสกั การะส่งิ ศกั ดสิ์ ทิ ธิใ์ นวัดยางสามตน้ วรารามหรือวัดไตรยาง
เป็นวัดเล่ืองลือด้านความศักด์ิสิทธิ์ของหลวงพ่อเงินและรูปเหมือนพระเกจิอาจารย์ดังท่ีมี
มากถึง 25 รูป จากน้ันไปแวะเยี่ยมชมธรรมชาติ ณ ทุ่งดอกกระเจียวป่าเขาหัวโล้น ห่าง
ออกไปประมาณ 10 กิโลเมตรเพ่ือเดินชมความสวยงามของทุ่งดอกกระเจียว และ
เดินทางอีก 21 กิโลเมตร เพ่ือเยี่ยมชมทัศนียภาพสวยงาม ณ วัดพระพุทธบาทเขาทราย
เน่ืองจากวัดอยู่ติดกับเขา มีทําเลคล้ายคลึงกับตํานานทางพระพุทธศาสนา และเดินทาง
ประมาณ 7 กิโลเมตรเพื่อไปเย่ียมชมสวนพระโพธ์ิสัตว์ ณ วัดทับคล้อ และเดินทางต่อไป
ประมาณ 17 กิโลเมตรเพื่อไปนมัสการและสักการะส่ิงศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดพระพุทธบาท
เขารวก และเดินทางไปอีก 17 กิโลเมตรจะส้ินสุดการท่องเท่ียว ณ วัดเทวประสาท และ
กราบนมัสการและขอพรเพ่ือเป็นสิริมงคลจากพระพุทธเกตุมงคล (หลวงพ่อโต) รวม
ระยะทางไม่เกนิ 86 กิโลเมตร

ก) การทอ่ งเท่ียววนั ท่ี 1 ตามเส้นทางที่ 1 ข) การทอ่ งเทย่ี ววันที่ 2 ตามเส้นทางที่ 1

รปู ที่ 7.2-6 รูปแบบการทอ่ งเทีย่ วตามเสน้ ทางท่ี 1 เริ่มตน้ จากอทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร ใชเ้ วลาทอ่ งเทยี่ วไม่เกิน 2 วนั

จังหวัดพิจิตร 7-10 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ บทที่ 7
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

2.2 การทอ่ งเทยี่ วตามเสน้ ทางท่ี 2 (รูปท่ี 7.2-7):
ก) วันที่ 1 (รูปท่ี 7.2-7ก) จากอุทยานเมืองเก่าพจิ ติ รเดินทางเป็นระยะทาง 44 กิโลเมตรเพ่ือ
ไปนมัสการและสักการะส่ิงศักดสิ์ ทิ ธภ์ิ ายในวดั คลองคณู และเย่ียมชมภาพประกอบฝาผนัง
และสักการะรูปป้นั หลวงพอ่ หวั่นและเดนิ ทางตอ่ ไปอกี 34 กโิ ลเมตรเพื่อไปกราบนมัสการ
และขอพรจากหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต (เทพเจ้าวาจาสิทธิ์) ณ วัดสํานักขุนเณร และ
เดินทางต่อไปยังวัดสุขุมารามเพ่ือกราบนมัสการพระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่เป็นอันดับ 3
ของประเทศ (ยาว 55 เมตร) และกราบขอพรจากรูปเหมือนหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต
(เทพเจ้าวาจาสิทธ์ิ) และเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 1069 อีก 3 กิโลเมตรเพื่อ
กราบนมัสการส่ิงศักด์สิ ทิ ธแ์ิ ละเยี่ยมชมภาพจติ รกรรมฝาผนังเก่าโบราณที่ยงั คงเอกลกั ษณ์
แบบเดมิ ไว้ ณ วัดหว้ ยเขน และส้นิ สุดการท่องเที่ยว ณ วัดท่าช้าง เพ่ือกราบนมัสการและ
ขอพรจากหลวงพ่อหนิ เป็นพระพุทธรปู เกา่ แก่มากแกะสลักด้วยหินทรายปางมารวิชัยเป็น
พระพุทธรูปสมัยทวาราวดยี ุคต้น รวมระยะทางไมเ่ กิน 90 กิโลเมตร
ข) วันที่ 2 (รูปท่ี 7.2-7ข) จากอทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ รเดนิ ทางเป็นระยะทาง 55 กิโลเมตรเพื่อ
ไปนมัสการและสักการะส่ิงศักดิ์สิทธิ์ในวัดบ้านน้อยและการเย่ียมชมภาพประกอบฝาผนัง
และสักการะรูปป้ันหลวงพ่อหว่ันและเดินทางต่อไปตามทางหลวงหมายเลข พจ.4048 อีก
5 กิโลเมตรเพ่ือกราบนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์และกราบขอพรจากหลวงพ่อเงินธรรมโชติ ณ
วัดหริ ญั ญารามหรือวัดบางคลาน และเดินทางต่อไปยังวัดท้ายน้ําตามทางหลวงหมายเลข
พจ.4048 และ 1067 ไม่เกิน 20 กิโลเมตรเพ่ือกราบนมัสการหลวงพ่อเงินธรรมโชติ และ
เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเคร่ืองใช้ท่ีเก่ียวข้องกับหลวงพ่อเงินธรรมโชติ และสิ้นสุด
การทอ่ งเที่ยว ณ วดั คุณพ่มุ เพือ่ กราบนมสั การและขอพรจากพระพุทธไตรย์รัตนโลกนาถ
เป็นพระพทุ ธรปู ประจาํ พระองค์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
รวมระยะทางไม่เกนิ 110 กิโลเมตร

ก) การท่องเท่ียววนั ท่ี 1 ตามเสน้ ทางที่ 2 ข) การท่องเที่ยววันที่ 2 ตามเส้นทางท่ี 2

รปู ที่ 7.2-7 รปู แบบการทอ่ งเท่ียวตามเสน้ ทางท่ี 2 เริ่มต้นจากอทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร ใช้เวลาทอ่ งเท่ยี วไมเ่ กนิ 2 วนั

จงั หวัดพิจิตร 7-11 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 7
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

7.2.3 ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาการท่องเทีย่ วทอ้ งถนิ่ กับการพฒั นาระบบเศรษฐกิจชมุ ชนท้องถิ่น

สืบเน่ืองจากช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมาพบว่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนท้องถ่ิน (Community-Based Tourism)
ได้มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและคาดหวังว่าจะเป็นการท่องเที่ยวที่มีศักยภาพเพราะเป็นการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์แบบ
สรา้ งกระบวนการมีสว่ นรว่ มให้แกช่ ุมชนท้องถิ่น การสนับสนุนการอนุรักษ์และฟ้ืนฟู/บูรณะแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทาง
ประวตั ิศาสตร์และโบราณคดีและแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจะเป็นการสร้างเสริมรายได้ให้กับเศรษฐกิจ
ชุมชนท้องถิ่น แต่ระบบตลาดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เป็นการท่องเท่ียวเฉพาะกลุ่มทําให้การพัฒนาการท่องเท่ียวท้องถิ่น
ภายในจงั หวัดพจิ ติ รจะมีความสาํ คญั อย่างมากและเปน็ โอกาสในการสรา้ งและกระจายรายไดเ้ ขา้ สูช่ มุ ชนชนบทและเกดิ การ
จ้างแรงงานในส่วนท้องถิ่น จังหวัดพิจิตรจําเป็นต้องกําหนดยุทธศาสตร์การท่องเท่ียวของชุมชนท้องถ่ินให้สอดคล้องกับ
นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาโดยเฉพาะการสนบั สนุนให้องค์กรส่วนทอ้ งถ่นิ ในจงั หวดั พจิ ติ ร
สามารถกําหนดนโยบาย เป้าหมาย แผนงานและกจิ กรรมด้านการท่องเทยี่ วทอ้ งถิ่นได้อยา่ งเป็นอิสระโดยจังหวัดพิจิตรอาจ
ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาในด้านความรู้ ประสบการณ์และงบประมาณอุดหนุนผ่านกลไก
ของภาครัฐในรูปแบบต่างๆ ทั้งน้ีปัจจัยสําคัญที่สุดในการจะขับเคล่ือนการพัฒนาการท่องเท่ียวท้องถิ่นในจังหวัดพิจิตรเพื่อ
เสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้ระบบเศรษฐกจิ ของชุมชนทอ้ งถ่ิน ดงั อธิบายไดด้ ังนี้

1) “ทรัพยากรต้นทุน” ได้แก่ ต้นทุนด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ต้นทุนด้านความสมบูรณ์ทางสภาพ
ธรรมชาติ ต้นทุนด้านวัฒนธรรมและประเพณีท่ีหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ประจําถิ่น ถือได้ว่าเป็น
เอกลกั ษณส์ าํ คัญของจังหวดั พิจิตร

2) หน่วยงานสนับสนุนในจังหวัดพิจิตรท่ีมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน
ท้องถิ่นจํานวนมากและหลากหลายกระบวนการพัฒนาภายใต้แนวคิดเดียวกันของ “การท่องเที่ยวโดย
ชุมชนท้องถิ่น” ยกตัวอย่างเช่น สํานักงานจังหวัดพิจิตร สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร สํานักงาน
การท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดพิจิตร สํานักงานประมงจังหวัดพิจิตร สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
พิจติ ร และสาํ นักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจงั หวัดพจิ ติ ร ฯลฯ

3) กระบวนการเรียนรูใ้ นการพฒั นาดา้ นการทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนท้องถนิ่ มีความเป็นมาอย่างยาวนาน และมี
ชมุ ชนทอ้ งถิ่นท่มี ีประสบการณม์ ากหลายชุมชน ทําให้กระบวนการเรียนรู้จะเป็นไปตามแบบธรรมชาติที่
ชุมชนท้องถน่ิ อาจแลกเปล่ยี นเรยี นร้รู ะหว่างกนั ส่วนหนง่ึ เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านพ้ืนท่ีที่ถูกจัดขึ้น
โดยหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องต่างๆ ในจังหวัดพิจิตรหรือผลลัพธ์จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จะเป็นข้อมูลหรือ
องค์ความรู้สําคญั ในการขับเคลื่อนงานพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชนท้องถิน่

4) บุคลิกภาพของกลุ่มคนภายในชุมชนท้องถ่ินในจังหวัดพิจิตร เป็นจุดแข็งที่ทําให้กระบวนการพัฒนาการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นไปอย่างราบร่ืนและไม่ยากต่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ตามแบบธรรมชาติ
และบุคลิกภาพของกลุ่มคนในจังหวัดพิจิตรมีผลต่อการสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเท่ียวต่างถิ่น
และนกั ท่องเทยี่ วชาวตา่ งประเทศ

5) ตลาดท่ีเหมาะสมกับการท่องเท่ียวโดยชุมชนท้องถ่ิน (Community-based Tourism) สืบเน่ืองจาก
กระแสการท่องเที่ยวทางเลือกกําลังได้รับความสนใจจากนักท่องเท่ียวต่างถิ่นหรือชาวต่างชาติท่ีมีความ
ใฝ่ฝันอยากมาท่องเท่ียวในพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายของแหล่งท่องเท่ียว ทําให้ระบบการตลาดที่
เหมาะสมสําหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชนท้องถิ่นจะเป็นกลยุทธ์เช่ือมโยงให้เกิดความสมดุลระหว่าง
ชมุ ชนท้องถิน่ และนักท่องเทย่ี วตา่ งถ่ินหรอื ชาวต่างชาติ ดงั สรุประบบการตลาดทอ่ งเทยี่ วที่เหมาะสมเปน็

จงั หวดั พิจิตร 7-12 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

ความพยายามที่จะทําให้นักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวของ
จังหวัดพิจิตร โดยการใช้สิง่ อํานวยความสะดวกทางการท่องเทยี่ วและบรกิ ารภายในแหลง่ ท่องเที่ยวนั้นๆ
ไดแ้ ก่ การให้บริการขอ้ มลู ข่าวสารการท่องเที่ยวและการโฆษณาประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียว แต่จังหวัด
พิจติ รจาํ เปน็ ต้องจัดเตรียมความพรอ้ มประเดน็ ตา่ งๆ ไว้รองรับดงั น้ี
5.1 กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการทําการตลาดท่องเท่ียวให้กับชุมชนท้องถ่ินให้ชัดเจนว่า “ทําเพื่ออะไร

และต้องการได้ผลผลิตใด” โดยจะต้องทําความเข้าใจเป็นพื้นฐานก่อนว่าเม่ือเปรียบเทียบรายได้
กับการท่องเที่ยวกระแสหลักกับการท่องเท่ียวโดยชุมชนท้องถิ่นอาจไม่ใช่คําตอบสุดท้าย หาก
เป็นการท่องเท่ียวเพ่ือการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินโดยใช้กระบวนการท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือน่าจะ
เปน็ ทางเลอื กท่นี ่าสนใจ
5.2 จดั เตรยี มสนับสนนุ ข้อมลู ชมุ ชนท้องถิน่ ในจงั หวัดพจิ ิตรทีม่ ีการจัดการทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น
ที่มีความพร้อมในการบริหารจัดการพร้อมที่จะรองรับนักท่องเที่ยวต่างถิ่นและชาวต่างชาติได้
และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับงานวิจัยที่หลายหน่วยงานกําลังดําเนินการโดยนําข้อมูลแหล่ง
ท่องเที่ยวท้องถ่ินมาจัดเป็นกลุ่มให้ง่ายต่อการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นเพื่อการ
ท่องเท่ยี วและนําประชาสัมพันธ์เชิงรุกมาใช้ในระบบตลาดทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั พจิ ิตรได้
5.3 วางแผนการพัฒนาชุมชนท่องเท่ียว เนื่องจากชุมชนท่องเท่ียวในจังหวัดพิจิตรจําเป็นต้องได้รับ
การพัฒนาศักยภาพอยา่ งต่อเนอ่ื งโดยเฉพาะการบริหารจัดการในชมุ ชนทอ่ งเที่ยวและการจัดการ
ส่วนอื่นๆ ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อความหมายและผู้นําท่องเท่ียว (หรือมัคคุเทศก์
ท้องถิ่น) การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การท่องเทีย่ ว ฯลฯ จะตอ้ งพฒั นาใหช้ ุมชนทอ่ งเทย่ี ว
มีความพร้อมอย่างเต็มศักยภาพและการพัฒนาเพิ่มศักยภาพชุมชนท้องถ่ินที่มีความเกี่ยวข้องกับ
การทอ่ งเท่ยี วรูปแบบใหม่ๆ ควบคกู่ ันไปจะเปน็ การสรา้ งเสริมความเขม้ แขง็ ให้กับชมุ ชนทอ่ งเทีย่ ว
ในจงั หวัดพจิ ิตร โดยมยี ทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาดา้ นการทอ่ งเทีย่ วรว่ มกนั
6) ผลกระทบเชงิ ลบต่อการพฒั นาการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่
6.1 ผลกระทบของการท่องเทีย่ วในเชิงระบบเศรษฐกิจ
ก) ค่าครองชีพสูงขึน้ ตามการทอ่ งเทย่ี วในชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ท่เี กดิ ขึ้นโดยเฉพาะพนื้ ทท่ี ีไ่ ด้รบั ความ

นยิ มจากนักทอ่ งเทย่ี วตา่ งถิ่นและชาวตา่ งชาติจะประสบกับปญั หาค่าครองชีพท่ีเพิ่มสูงข้ึน
ราคาสินค้าอุปโภคและบริโภคจะมีราคาแพงจึงส่งผลกระทบต่อกลุ่มประชาชนในท้องถิ่น
และผู้ประกอบอาชีพสาขาอืน่ ๆ ทม่ี รี ายได้ตา่ํ โดยเฉพาะภาคการเกษตรในระยะยาว ราคา
ที่ดิน ค่าธรรมเนยี มและค่าบรกิ ารต่างๆ ในชมุ ชนท้องถน่ิ จะเพิ่มข้นึ อย่างต่อเนือ่ ง
ข) ปัญหาความไม่เสมอภาคในการพัฒนาด้านระบบโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอํานวยความ
สะดวกต่างๆ โดยเฉพาะพ้ืนท่ีท่ีเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม เช่น การพัฒนา
ระบบไฟฟ้า ระบบการคมนาคมขนส่ง ระบบส่ือสารโทรคมนาคม ฯลฯ ทําให้พื้นท่ีส่วน
อ่ืนๆ จะเกิดความรู้สึกเปรียบเทียบในแง่ความไม่เสมอภาคในการพัฒนาและก่อให้เกิด
ความรู้สึกว่าพื้นที่ใดที่มิได้จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมจะถูกทอดท้ิงและไม่ได้รับการ
เหลยี วแลเท่าที่ควร
ค) การเปลีย่ นมือเจา้ ของธรุ กิจในชมุ ชนทอ้ งถ่นิ จากระบบธุรกจิ ครอบครัวเปน็ ระบบธุรกิจเชิง
การคา้ ของนักธรุ กจิ ภายนอกชุมชนทอ้ งถนิ่

จังหวัดพิจติ ร 7-13 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

6.2 ผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อแหลง่ ท่องเทย่ี ว
ก) ปญั หาความเสื่อมโทรมของแหล่งทอ่ งเทย่ี วทอ้ งถ่นิ และปญั หามลภาวะ จะเห็นว่าลักษณะ
ปัญหาแหล่งท่องเทีย่ วเสอ่ื มโทรม สกปรก มีขยะมลู ฝอยและส่ิงปฏิกูลกระจดั กระจายตาม
แหล่งท่องเท่ียว องค์ประกอบของแหล่งท่องเท่ียวสูญเสียความสมดุลทางธรรมชาติ เช่น
แหล่งน้ําเน่าเสีย มีเศษขยะมูลฝอยและส่งกลิ่นเหม็น พืชพันธุ์และสัตว์ป่าตามธรรมชาติ
ถกู ทาํ ลายจนลดจํานวนหรอื สญู พนั ธุ์ไปอย่างรวดเร็ว ฯลฯ
ข) ปัญหาน้ําเสียและขยะมูลฝอย เป็นปัญหามลภาวะสําคัญท่ีเกิดข้ึนจากนักท่องเท่ียวและ
ผู้ประกอบการดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว เชน่ โรงแรม บงั กะโล ร้านอาหาร ร้านค้า รวมถึงชุมชน
ท่ีตั้งอยูใ่ กล้เคยี งกบั แหล่งท่องเท่ียว รวมท้ังปัญหาคุณภาพอากาศเสีย ฝุ่นละออง เสียงดัง
จากยานพาหนะ ฯลฯ จะทําให้แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมคุณภาพและความสวยงามและเกิด
ผลเสียต่อสุขภาพอนามัยและผลกระทบต่อสภาพจิตใจในลักษณะท่ีก่อให้เกิดความเดือน
ร้อนรําคาญตอ่ นักทอ่ งเทีย่ วท่ีเข้าไปเย่ียมเยือนและไม่เกิดความประทับใจและไม่อยากมา
เยยี่ มเยือนซ้ําอีกในโอกาสตอ่ ไป
ค) ปัญหาการบกุ รุกพ้นื ทส่ี าธารณประโยชน์ เช่น การบุกรุกจับจองพนื้ ที่โดยไม่มีเอกสารสิทธิ์
หรือมีเอกสารสิทธ์ิไม่ถูกต้องตามกฎหมายโดยเฉพาะการเข้าจับจองพ้ืนที่ภูเขาหรือพ้ืนท่ี
ป่าสงวนแห่งชาติเพ่ือสร้างสถานท่ีพักตากอากาศหรือบุกรุกพ้ืนท่ีแหล่งนํ้าธรรมชาติเพื่อ
สรา้ งร้านอาหารหรอื เรอื นแพรองรับนักท่องเท่ียว ฯลฯ หรือรุกล้ําพื้นท่ีสาธารณะที่ติดกับ
พื้นท่ีที่มีเอกสารสิทธ์ิ เช่น การรุกลํ้าสร้างอาคารสิ่งปลูกสร้างยื่นไปในแม่นํ้าหรือลําคลอง
การสร้างเพิงและแผงลอยในพ้ืนที่สาธารณะ เช่น เพิงขายอาหาร/เครื่องด่ืมหรือแผงลอย
ขายสนิ คา้ ทรี่ ะลกึ ตามแหล่งทอ่ งเท่ยี ว ฯลฯ จะเหน็ ได้ว่าปัญหาการบุกรุกหรือล่วงลํ้าพื้นที่
สาธารณประโยชน์ในสภาพอนาคตมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากข้ึน จะก่อให้เกิดปัญหา
สภาพแวดล้อมด้านทัศนียภาพและปัญหาด้านสิ่งอํานวยความสะดวก จึงจําเป็นต้อง
กําหนดมาตรการท่เี หมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพเพอื่ แก้ไขปญั หาและยับย้ังการบุกรุก
ง) ปัญหาการก่อสร้างอาคารส่ิงปลูกสร้างในแหล่งท่องเท่ียวสําคัญและได้รับความนิยมสูง
หากมิได้มีการควบคุมด้านความสูงหรือรูปแบบตามข้อกําหนดของหน่วยงานท้องถิ่นอาจ
ก่อให้เกดิ ปญั หาด้านทัศนียภาพเป็นอยา่ งมากหรือการจดั วางองคป์ ระกอบต่างๆ ในแหล่ง
ท่องเที่ยวที่มีลักษณะขัดต่อสภาพธรรมชาติและไม่กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมเป็นการ
ทําลายภูมทิ ศั นอ์ นั เป็นความงามและเสน่ห์ของแหลง่ ทอ่ งเที่ยวด้ังเดมิ ไป
จ) ปัญหาความแออัดของส่ิงปลูกสร้างในแหล่งท่องเท่ียวที่กําลังได้รับความนิยมในรูปเพิง
ขายอาหาร/เครื่องดื่ม หาบแร่และแผงขายสินค้าที่ระลึก ฯลฯ มีการก่อสร้างและจัดวาง
ไม่เป็นระเบียบกอ่ ใหเ้ กิดทศั นอจุ าดและแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วจะเส่ือมโทรมอยา่ งรวดเร็ว
ฉ) ปัญหาการพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว
โดยไมค่ ํานงึ ถึงสภาพแวดลอ้ มด้ังเดมิ เช่น การปิดถมทางน้ําหรือทะเลสาบ การสร้างถนน
ประชิดชายน้ํามากเกินไป การตัดถนนผ่านพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ การขุดตักดินในพ้ืนท่ีสงวน
และอนุรักษ์ ฯลฯ จะก่อให้เกิดการพังทลายของดินและเกิดตะกอนในแหล่งนํ้าธรรมชาติ
หรอื ทําลายสภาพภูมศิ าสตร์ทางธรรมชาติและความสมดลุ ของระบบนิเวศ

จงั หวดั พิจติ ร 7-14 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร บทสรุปและข้อเสนอแนะ

6.3 ผลกระทบของการทอ่ งเที่ยวต่อระบบสงั คมและวัฒนธรรมท้องถ่นิ
ก) ปัญหาเพศพาณิชย์ มีพน้ื ฐานมาจากปญั หาระบบเศรษฐกิจและเกิดข้ึนมาเป็นเวลานานใน
สังคมไทย เมือ่ การทอ่ งเทย่ี วท้องถิ่นมกี ารขยายตัว เตบิ โตและพฒั นาขึ้นเป็นอุตสาหกรรม
การท่องเท่ียวจะมีบทบาทสําคัญและเป็นตัวเร่งให้ปัญหาเพศพาณิชย์เติบโตและลุกลาม
ขยายวงกว้างข้ึน เช่น การเกิดกามโรค การแพร่กระจายของโรคเอดส์ ยาเสพติด ความ
เส่ือมทางศีลธรรม การลอ่ ลวงผหู้ ญงิ และเด็กหรอื การลอ่ ลวงเพ่ือชิงทรัพย์ ฯลฯ
ข) ปัญหาอาชญากรรมเป็นปัญหาเรื้อรังในสังคมไทยและเกิดข้ึนชุกชุมในสังคมเมืองท่ีมีการ
เตบิ โตขึน้ อยา่ งไม่ค่อยมีระเบียบ เม่ือพิจารณาในแงก่ ารท่องเที่ยวทอ้ งถ่ินจะพบว่ารูปแบบ
ของปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ เช่น การลอ่ ลวงข่มขนื นักท่องเที่ยว การปล้นจช้ี ิงทรพั ยห์ รอื การขโมย
ทรัพย์สินของนักท่องเท่ียวตามสถานที่ต่างๆ เช่น สถานีรถโดยสาร/สถานีรถปรับอากาศ
สถานรี ถไฟ สถานท่ีพักแรมและตามแหลง่ ทอ่ งเท่ียว ฯลฯ
ค) ปญั หาการหลอกลวงเอารดั เอาเปรียบนกั ท่องเท่ยี ว สืบเนื่องจากพื้นฐานทางความคิดของ
ผู้ประกอบการบางรายท่ีต้องการกอบโกยม่งุ เอารัดเอาเปรียบนักท่องเท่ียวและเล็งเห็นแต่
ประโยชน์ส่วนตนและคิดค้ากําไรเกินควรเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดปัญหาและเป็นต้นเหตุ
ของปัญหาต่างๆ เชน่ กลุม่ ไกดผ์ ี กลมุ่ แท็กซ่ีป้ายดาํ กลมุ่ เรอื รับจ้าง หรือกลมุ่ รา้ นขายของ
ที่ระลึก ฯลฯ
ง) ปัญหาหาค่านิยมทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง เป็นประเด็นการลอกเลยี นแบบการบรโิ ภคมุ่งใหค้ วามสาํ คัญ
กับลักษณะการบริโภคนิยมตามอย่างสังคมตะวันตก การให้ความสําคัญกับเรื่องระบบ
เศรษฐกิจและเงินตราจนละท้ิงขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรมและค่านิยม
ด้ังเดิม จึงเป็นปรากฏการณ์สําคัญที่เกิดข้ึนในสังคมไทยปัจจุบันและเป็นไปตามกระแส
ระบบเศรษฐกิจโลก โดยมิไดเ้ ปน็ สิ่งที่ผดิ ปกตจิ นเกนิ ไปแต่จะต้องทบทวนและปรบั แนวคิด
ใหอ้ ยู่ในทศิ ทางที่เหมาะสมและเข้ากบั ระบบสังคมไทย
จ) ปัญหาการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณี หากการหยิบยก
ประเด็นวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มและจารีตประเพณีในชุมชนท้องถ่ินมาเป็นสิ่งดึงดูดใจ
ให้มีการท่องเที่ยวเพ่ิมมากขึ้นเป็นสิ่งดี แต่จะต้องระมัดระวังรูปแบบการเข้าไปมีส่วนร่วม
กับเน้ือหาดั้งเดิมของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีนั้นๆ โดยเฉพาะการ
ลดทอนความประณีตหรือตัดขั้นตอนท่ีเป็นหัวใจหรือเนื้อหาของวัฒนธรรมน้ันๆ แต่เน้น
เก่ียวกับการจดั แสดงเพอื่ โชว์ความต่นื ตาต่ืนใจให้นักทอ่ งเทีย่ วชมโดยการละเลยถงึ สาระท่ี
สมั พนั ธ์กบั วถิ ีชวี ิตของผู้คนในท้องถน่ิ และคุณคา่ ท่แี ท้จริงทม่ี ีต่อสงั คมทอ้ งถนิ่
ช) ปัญหาความขัดแย้งระหวา่ งเจ้าของทอ้ งถิ่นกับนักท่องเทยี่ ว เนอ่ื งจากพฤติกรรมบางอย่าง
ของนักท่องเท่ียว เช่น การแต่งกายไม่สุภาพเข้าไปยังศาสนสถานหรือปูชนียสถานสําคัญ
หรือการกระทาํ อนาจารในสถานที่สาธารณะหรือการกระทําอันรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของกลุ่ม
นักท่องเที่ยวบางกลุ่มในการลบลู่หรือดูถูกวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณี
ของชุมชนท้องถิ่นจะก่อให้เกิดความขัดแย้งกับคนในท้องถ่ินเนื่องจากความแตกต่างด้าน
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณีบางประการ หากเจ้าของท้องถิ่นไม่พอใจมากๆ
อาจถึงขนั้ ตอ่ ต้านและไม่ตอ้ นรบั นักท่องเท่ียวต่อไป

จังหวัดพิจติ ร 7-15 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 7
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร บทสรปุ และข้อเสนอแนะ

ซ) ปัญหาการลดคุณค่าของงานศิลปหัตถกรรม จะได้รับผลกระทบจากความเห็นแก่ได้ของ
ผู้ผลิตและจําหน่าย โดยอาจลดมาตรฐานเพ่ือให้ได้กําไรมากสุดหรือมีการลอกเลียนแบบ
ศิลปหัตถกรรมโดยไม่คํานึงถึงความประณีตและคุณภาพสินค้าเน้นในเรื่องการค้ามากขึ้น
ทําให้ผลงานทางศิลปะและฝีมือช่างพื้นบ้านหมดคุณค่าลงและเสื่อมเสียชื่อเสียงจนหมด
ความนยิ มไป

7.2.4 ขอ้ เสนอแนะดา้ นการจดั ตงั้ องคก์ รบริหารจดั การแหล่งทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนทอ้ งถิน่

เนื่องจากการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชนท้องถ่ินจะก่อให้เกิดรายได้เข้าสู่แหล่งท่องเท่ียวจํานวนมาก หาก
เป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทอ้ งถิน่ ทม่ี หี น่วยงานภาครัฐเปน็ ผรู้ ับผิดชอบในการบริหารจัดการ ควบคุมดแู ลและบํารงุ รกั ษาจะไมเ่ กดิ
ปัญหาด้านการจัดสรรงบประมาณและรายได้ แต่กรณีพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรจะประสบปัญหาสําคัญในการบริหาร
จัดการควบคุมดูแลและบํารุงรักษาเป็นอย่างมากเพราะเป็นพ้ืนท่ีท่ีในความรับผิดชอบของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ กรมศิลปากร
องค์การบริหารส่วนตําบลโรงช้างหรือองค์การบริหารส่วนตําบลเมืองเก่า และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รวมทั้งมิได้มีหน่วยงานใดจัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนา ปรับปรุงและดูแลบํารุงรักษาอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลานาน
ท่ีปรกึ ษาจึงเสนอแนะใหจ้ ดั ตงั้ หน่วยงานรับผิดชอบในรปู แบบองค์การที่ไมห่ วงั ผลกาํ ไร (Non-benefit Organization) โดย
ใช้ช่ือว่า “มูลนิธิร่วมพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” โดยอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย เจ้าหน้าท่ีระดับท้องถ่ินที่
เก่ียวข้องกับการพัฒนาการท่องเท่ียว ผู้นําชุมชนท้องถิ่น ผู้แทนจากสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นโดยการคัดเลือกจากกลุ่ม
สถาบนั การศกึ ษา และปราชญ์หรือผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถิ่นโดยการคัดเลือกจากชุมชนท้องถ่ิน ดังสรุปรูปแบบองค์ประกอบ
ของคณะกรรมการชุดน้ี ประกอบด้วย

ผู้วา่ ราชการจังหวัดพิจติ ร ประธานกรรมการ

รองผูว้ า่ ราชการจงั หวัดพจิ ิตร รองประธานกรรมการ

นายอําเภอเมืองพิจติ ร กรรมการ

ผแู้ ทนกรมศิลปากร กรรมการ

ผูแ้ ทนกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธพุ์ ืช กรรมการ

ผูอ้ าํ นวยการสํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจังหวัดพิจติ ร กรรมการ

ผู้อาํ นวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั พิจิตร กรรมการ

ทอ่ งเทยี่ วและกฬี าจังหวัดพิจิตร กรรมการ

นายกองค์การบริหารส่วนตาํ บลโรงชา้ ง กรรมการ

นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลเมืองเก่า กรรมการ

ผู้แทนสถาบันการศึกษาในท้องถ่นิ กรรมการ

ปราชญ์หรือผทู้ รงคุณวฒุ ิในทอ้ งถิ่นดา้ นศลิ ปะและวัฒนธรรม กรรมการ

ปราชญ์หรอื ผูท้ รงคุณวุฒิในทอ้ งถน่ิ ดา้ นประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดี กรรมการ

ปราชญ์หรอื ผูท้ รงคุณวุฒิในทอ้ งถ่ินด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม กรรมการ

วัฒนธรรมจงั หวัดพจิ ิตร กรรมการและเลขานุการ

จังหวดั พิจติ ร 7-16 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 7
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร บทสรุปและข้อเสนอแนะ

คณะกรรมการชุดน้ีจะทําหน้าท่ีในการบริหารจัดการ ควบคุมดูแลและกําหนดนโยบายและดําเนินการตาม
นโยบายอย่างนอ้ ยดงั นี้

1) ควบคุมดแู ลด้านการเงนิ และทรพั ย์สนิ ตา่ งๆ
2) เสนอรายงานกิจการ รายงานการเงนิ และบัญชีรายรับราย–จ่าย
3) ดําเนนิ การให้เปน็ ไปตามมตทิ ปี่ ระชุมคณะกรรมการฯ และวัตถุประสงคข์ องข้อบงั คับฯ
4) ตราระเบียบเกีย่ วกับการดําเนนิ การบริหารและจัดการกิจการ
5) แต่งต้ังหรือถอดถอนคณะอนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่งหรือหลายคณะเพื่อดําเนินการเฉพาะอย่างภายใต้

การควบคุมของคณะกรรมการฯ
6) เชิญผู้ทรงคุณวุฒิหรือบุคคลที่ทําประโยชน์เป็นพิเศษเป็นกรรมการกิตติมศักด์ิหรือเป็นที่ปรึกษา หรือ

เชญิ ผทู้ รงเกยี รติเปน็ ผอู้ ุปถัมภฯ์
7) แต่งตัง้ หรือถอดถอนเจา้ หน้าที่ประจําฯ โดยต้องเป็นมตเิ สยี งขา้ งมากของที่ประชุมและทป่ี รึกษา
8) ประธานกรรมการ มอี าํ นาจหน้าที่ดงั นี้

8.1 เป็นประธานของการประชมุ คณะกรรมการ
8.2 ส่ังเรยี กประชมุ คณะกรรมการ
8.3 เป็นผูแ้ ทนในการตดิ ตอ่ กบั บุคคลภายนอกหรือลงลายมือชื่อในเอกสารข้อบังคับและสรรพหนังสือ

อนั เปน็ หลกั ฐานสาํ คญั เม่ือประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ได้รับมอบหมายให้ทําการแทนได้ลง
ลายมือช่ือแล้วจงึ มีผลบงั คับได้
8.4 ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ๆ ตามขอ้ บงั คบั และมติของคณะกรรมการ
9) ใหร้ องประธานกรรมการ ทาํ หน้าที่แทนประธานกรรมการเมื่อประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่
ไดห้ รอื กรณที ่ปี ระธานกรรมการมอบหมายให้ทําการแทน
10) ถา้ ประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีในการประชุมคราวหน่ึงคราวใด
ใหท้ ่ีประชมุ คัดเลือกตัง้ กรรมการคนใดคนหนง่ึ เปน็ ประธานกรรมการสําหรบั การประชุมคราวน้นั
11) เลขานุการมีหน้าท่ีควบคุมกิจการและดําเนินการประชุม ติดต่อประสานงานท่ัวไป รักษาระเบียบ
ข้อบังคับ นัดประชุมกรรมการตามคําส่ังของประธานกรรมการและจัดทํารายงานการประชุมตลอดจน
รายงานกจิ กรรมตา่ งๆ
12) เหรัญญิกโดยการคัดเลือกจากที่ประชุมมีหน้าที่ควบคุมการเงิน ทรัพย์สินตลอดจนบัญชีและเอกสารที่
เกีย่ วขอ้ งให้ถกู ต้องและเป็นไปตามระเบียบท่คี ณะกรรมการกาํ หนด
13) กรรมการตําแหน่งอ่นื ๆ ใหม้ เี จ้าหนา้ ทต่ี ามที่คณะกรรมการกําหนด โดยทําเปน็ คําสง่ั ระบอุ าํ นาจหนา้ ทใี่ ห้
ชัดเจน
14) คณะกรรมการมีสทิ ธเิ ข้าร่วมประชมุ กรรมการหรอื อนุกรรมการอื่นๆ ได้

ฯลฯ

จังหวดั พิจิตร 7-17 มหาวิทยาลัยมหิดล

เอกสารอา้ งอิง

กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย, 2560. ผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2560, ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่
134 ตอนที่ 31ก ลงวนั ที่ 31 มกราคม 2560

กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย, 2560. แผนผงั กําหนดการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ตามที่ได้จําแนกท้ายกฎกระทรวงให้บังคับ
ผังเมอื งรวมจังหวดั พจิ ติ ร พ.ศ. 2560

กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย, 2544. พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522, (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535, (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2543

กรมอุตนุ ิยมวิทยา, 2559. สถติ ิภมู อิ ากาศในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2528-2557) ของสถานีตรวจวัดอากาศเกษตร จังหวัดพิจิตร
(48386) ของกรมอุตุนิยมวิทยา

กฎกระทรวงมหาดไทย “กาํ หนดการรับนา้ํ หนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพ้ืนดินท่ีรองรับอาคารต้านทาน
แรงสน่ั สะเทือนของแผน่ ดินไหว พ.ศ. 2550” ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

กราบพระ พิษณุโลก–พิจิตร ตอนท่ี 4 วัดเทพสิทธิการาม (วัดบ้านไร่) อ.สามง่าม จ.พิจิตร, 2560. https://pantip.com/
topic/33252983

กาญจนวทิ ย์ ย่งิ สุนทรวฒั นา, ประวัตศิ าสตร์เมืองพิจติ ร; https://www.gotoknow.org/posts/319306
การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดพิจิตร, 2560. จํานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเท่ียวภายในพื้นที่จังหวัดพิจิตรใน

รอบ 8 ปี (พ.ศ. 2552-2559)
ขอ้ มูลทอ่ งเทยี่ วจงั หวัดพจิ ติ ร, 2560. http://www.paiduaykan.com/province/north/phichit/
เครือขา่ ยกาญจนาภิเษก, 2542–2555. พจิ ิตร, http://kanchanapisek.or.th/kp8/pij/pij104.html
คณะสงฆ์อําเภอโพธิป์ ระทบั ชา้ ง, 2560. http://photabchang_78.igetweb.com/index.php
จังหวดั พจิ ิตร, 2560. http://thailandtopvote.com/
ชิลไปไหน: เที่ยวเมืองพิจิตร ชมตลาดเก่าวังกรด แล้วจับรถไฟไปพิษณุโลก, 2560. http://www.chillpainai.com/

scoop/898
ถ้ําชาละวัน สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วจงั หวดั พจิ ติ ร บา้ นเมอื งเกา่ ตําบลเมอื งเก่า

อาํ เภอเมอื ง จังหวัดพิจิตร, 2558. http://www.kaentong.com/index.php?topic=10376.0
ทุ่งดอกกระเจียวยักษ์บานสะพรั่งในป่าชุมชน จังหวัดพิจิตร, 2560. http://www.mediastudio.co.th/2016/08/23/

41089/
ท่องเที่ยวภาคเหนือตอนล่าง 2: นครสวรรค์ พิจิตร กําแพงเพชร อุทัยธานี, 2560. http://travellowernorth2.slsc.nu.

ac.th/
ท่องเทยี่ วสะดดุ ตา:พจิ ติ ร, 2560. http://sadoodta.com/content/
เท่ียวพิจิตร ไหว้พระเกจิ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน อําเภอโพทะเล, post by PeerapatS, 2555. http://oknation.

nationtv.tv/blog/Smartlearning/2012/01/01/entry-3
ทเ่ี ทยี่ วพิจิตร–10 เทยี่ วหลากสไตล์ ท่องไปในพจิ ติ ร, 2560. www.painaidii.com/diary/diary-detail/002024/lang/th/
ทาํ เนยี บวัดภาคเหนือ, 2560. http://www.dhammathai.org/watthai/north/watphoprathabchang.php
บงึ สีไฟ, 2560. https://th.wikipedia.org/wiki/บึงสไี ฟ
ประวตั ิความเป็นมาวัดใหมค่ ําวนั เพ่อื การทอ่ งเท่ยี ว, 2559. http://watmaikaowan.blogspot.com/
ประวัตบิ ึงสไี ฟ, 2560. joyclubza.blogspot.com/p/blog-page_29.html
ประวตั ิวัดโพธ์ปิ ระทบั ชา้ ง, 2560. https://www.web-pra.com/amulet/

เอกสารอา้ งองิ

พรรณนิภา ปิณฑวณิช และสุชล มัลลิกะมาลย์, 2556. ชุมชนพาณิชกรรมเก่าวังกรด: มิติทางประวัติศาสตร์ การนิยาม
ความหมาย และการฟ้ืนฟู. หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย 9 (กันยายน
2555–สิงหาคม 2556). หนา้ 187–214

พจิ ิตร เมอื งชาละวนั , 2560. http://www.gonorththailand.com/review_detail_162
พจิ ติ ร เมอื งชาละวัน, 2560. https://pantip.com/topic/36260159
“เมืองพจิ ติ ร” ถิ่นชาละวนั , 2560. https://areeya9056.wordpress.com/สถานท่ที ่องเท่ยี ว/
เมืองไทยใหญ่อุดม, 2560. http://oknation.nationtv.tv/blog/political79-2/2015/05/04/entry-2
รายชือ่ โบราณสถานในจังหวัดพจิ ิตร, 2560. https://th.wikipedia.org/wiki/รายชอ่ื โบราณสถานในจงั หวัดพจิ ิตร
วัดคุณพุ่ม :: อุทยานเมืองเก่า ศาลหลักเมือง วัดมหาธาตุ วัดนครชุม จังหวัดพิจิตร, 2560. https://www.bloggang.

com/viewdiary.php?id=noirathsub&month=11-2015&date=12&group=4&gblog=261
วัดใหมค่ าํ วนั , 2560. http://watmaikhamwan.com/page2.html
วัดหริ ัญญาราม หรือวัดบางคลาน, 2560. www.painaidii.com/business/119252/
วัดหิรัญญาราม, LOVE THAICULTURE, กระทรวงวัฒนธรรม, 2560. https://www.m-culture.go.th/young/ewt_

news.php?nid=431
วดั ป่าเขาน้อย, 2560. https://th.wikipedia.org/wiki/วดั ปา่ เขาน้อย
สองแผ่นดิน: วัดโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร ถ่ินประสูติสมเด็จพระเจ้าเสือ, 2560. https://www.bloggang.com/

mainblog.php?id=noirathsub&month=27-11-2015&group=4&gblog=263
สถานท่ีท่องเทยี่ วในจงั หวดั พิจติ ร, 2560. http://www.thailovetrip.com/view.php?id_view=328
สถานทที่ อ่ งเทีย่ วพิจิตร, 2560. https://www.thai-tour.com/place/907
สถานทท่ี อ่ งเท่ียวยอดฮิต, 2560. http://donmueangairportthai.com/th
สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม, 2551. แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม, http://www.

culture.go.th/culture_th/culturemap/index.php?action=about
สํานักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2559.

โครงการกําหนดขอบเขตพน้ื ท่ีเมืองเก่า เมอื งเกา่ พจิ ิตร จัดทาํ โดยสถาบนั วิจยั และให้คําปรึกษาแห่งมหาวทิ ยาลัย
ธรรมศาสตร์
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2540. โครงการศึกษาเพ่ือการประกาศเขตอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อมศลิ ปกรรมเมอื งพจิ ิตรเกา่ อําเภอเมอื ง จงั หวัดพจิ ติ ร
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร กระทรวงวัฒนธรรม (มปป.), หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เอกลักษณ์และภมู ิปัญญา จงั หวัดพจิ ติ ร (เมืองพิจิตร)
ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม, กระทรวงวัฒนธรรม, 2560. http://www.m-culture.in.th/album/135846/พระพุทธรูป
ในจังหวัดพิจิตร_หลวงพ่อสโุ ข_วัดบึงนาราง
ศนู ย์ขอ้ มูลทางวฒั นธรรมจังหวดั พิจิตร, กระทรวงวฒั นธรรม, 2560. ชื่อบา้ น นามเมือง และประวัตหิ มู่บา้ นจงั หวัดพิจติ ร
ศนู ย์ข้อมูลกลางด้านศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม, 2560. http://e-service.dra.go.th/go/3499
อมรรัตน์ บัวป้อม, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, พิพิธภัณฑ์เมืองพิจิตร, 2558. https://sites.google.com/site/
pyachalawannnn/home
อารยะ สุพรรณเภษัช, 2558. การเดินทางไปวัดห้วยเขน, http://www.ariyasound.com/index.php?lay=show&ac=
article&Id=539508689
อุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร, 2560. http://kanchanapisek.or.th/kp8/pij/pij104.html

ภาคผนวก ก
การสํารวจสภาพเศรษฐกจิ สงั คมและความคิดเหน็

ภาคผนวก ก
การสาํ รวจสภาพเศรษฐกจิ สังคมและความคิดเห็น

ตารางที่ ก-1
ข้อมลู พน้ื ฐานของกล่มุ ประชาชนทีอ่ าศยั อยใู่ นพ้นื ทีศ่ ึกษาและพ้นื ท่โี ดยรอบ

รายละเอยี ด จาํ นวน ร้อยละ
(n = 300 ชดุ )
1. เพศ 37.33
(1) ชาย 112 62.67
(2) หญงิ 188
2. ศาสนา 100.00
(1) พทุ ธ 300 0.00
(2) อิสลาม/คริสต์ 0
3. ระดบั การศกึ ษา 0.67
(1) ไม่ไดร้ บั การศกึ ษา 2 76.00
(2) ประถมศึกษา 228 8.00
(3) มธั ยมศึกษาตอนตน้ 24 10.00
(4) มธั ยมศึกษาตอนปลาย 30 0.67
(5) อนปุ รญิ ญา/ปวส. 2 2.67
(6) ปริญญาตรี 8 2.00
(7) สูงกว่าปรญิ ญาตรี 6
4. ภมู ิลาํ เนา 96.00
(1) เกิดทน่ี ี่ 288 4.00
(2) ย้ายมาจากท่ีอน่ื 12 33.33
- จงั หวัดอนื่ ในภาคเหนอื 4 50.00
- จงั หวดั อืน่ ในภาคกลาง 6 16.67
- จงั หวัดอนื่ ในภาคใต้ 2
5. ระยะเวลาการยา้ ยเขา้ มาในพนื้ ทจี่ งั หวดั พิจิตร ปี
(1) ระยะเวลาย้ายเข้ามาเฉลยี่ 55.00 ปี
(2) ระยะเวลาอยใู่ นพื้นท่ตี าํ่ สุด 23.0. ปี
(3) ระยะเวลาอยใู่ นพ้ืนท่สี งู สุด 87.0
6. พาหนะที่ใชใ้ นการเดนิ ทางโดยปกติ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) 92.00
(1) รถจกั รยานยนตส์ ว่ นตัว 276 4.67
(2) รถโดยสารประจาํ ทาง 14 2.67
(3) รถจกั ยานยนต์รบั จ้าง 8 28.00
(4) รถยนตส์ ่วนตัว 84

จงั หวดั พิจติ ร ก-1 มหาวทิ ยาลัยมหิดล


Click to View FlipBook Version