The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dhara.consult, 2021-03-31 04:31:06

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

Final Report-2560-อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะห์และประเมนิ ศักยภาพของพนื้ ทเี่ มืองพจิ ติ รและพน้ื ที่โดยรอบ

2.2 ข้อด้อย
ก) องค์ประกอบท่ีมีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี อายุและความเก่าแก่และความ
โดดเดน่ ด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมจะได้รบั ผลกระทบน้อยหากมกี ารปรับปรุง
ข) ราคาค่าปรับปรุงภูมิทัศน์และก่อสร้างอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมส่ิงอํานวยความสะดวก
และระบบสาธารณูปโภคภายในพื้นที่อุทยานเมืองเก่ามีราคาสูงสุด (86.500 ล้านบาท-ดู
รายละเอียดเพ่ิมเตมิ ในสรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสรา้ ง)
ค) ค่าดําเนินการและบํารุงรักษามีราคาสูงสุด (0.865 ล้านบาท/ปี-คิดคํานวณจาก 1% ของ
ราคาคา่ ก่อสรา้ ง)
ง) ระยะเวลาปรับปรุงภูมิทัศน์และก่อสร้างอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวก
และระบบสาธารณูปโภคไม่เกิน 12 เดือน และอาจส่งผลกระทบระดับปานกลางต่อ
นกั ท่องเทย่ี วท่จี ะเข้ามาเย่ยี มชม

3) ทางเลอื กท่ี 3: การออกแบบปรบั ปรุงภมู ทิ ัศนภ์ ายในพื้นทอ่ี ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตรพรอ้ มก่อสร้างสิ่งอํานวย
ความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคเพิม่ เติม โดยไม่มีการออกแบบกอ่ สร้างอาคารสงิ่ ปลูกสร้างใดๆ
3.1 ข้อดี
ก) สภาพแวดลอ้ มภายในพน้ื ท่ีอุทยานเมอื งเกา่ มีความโดดเดน่ และสวยงามเพ่ิมขึ้น
ข) สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวในท้องถ่ินและต่างถิ่นให้เข้ามาเยี่ยมชมได้เพิ่มขึ้นปานกลาง
เนอื่ งจากความพร้อมของส่งิ อํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคตา่ งๆ
3.2 ขอ้ ดอ้ ย
ก) องคป์ ระกอบท่ีมีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี อายุและความเก่าแก่และความ
โดดเดน่ ด้านสถาปตั ยกรรมและศิลปกรรมจะได้รบั ผลกระทบน้อยมากหากมกี ารปรบั ปรุง
ข) ราคาค่าปรับปรุงภูมิทัศน์พร้อมก่อสร้างสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค
ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่ามีราคาปานกลาง (42.981 ล้านบาท-ดูรายละเอียดเพ่ิมเติม
ในสรปุ ผลการประมาณราคาคา่ ก่อสรา้ ง)
ค) ค่าดําเนินการและบํารุงรักษามีราคาปานกลาง (0.430 ล้านบาท/ปี-คิดคํานวณจาก 1%
ของราคาคา่ ก่อสรา้ ง)
ง) ระยะเวลาปรับปรุงภูมิทัศน์และก่อสร้างส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค
ไมเ่ กิน 12 เดอื น และส่งผลกระทบระดับตํา่ ต่อนักทอ่ งเที่ยวท่จี ะเข้ามาเย่ยี มชม
จ) ไม่คุ้มค่ากับค่าลงทุนปรับปรุงภูมิทัศน์พร้อมก่อสร้างสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบ
สาธารณูปโภคภายในพ้ืนท่อี ุทยานเมืองเกา่
ฉ) ได้รบั การยอมรบั จากกลมุ่ ชมุ ชนท้องถ่นิ คดิ เปน็ สดั ส่วนน้อยมากหรือไม่เกิน 7.50%-ดูจาก
ผลการจดั ประชมุ กลุม่ ยอ่ ยครงั้ ที่ 1 และครงั้ ที่ 2)

4) สรุปทางเลือกในการพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้คํานึงถึงปัจจัยหลักท่ีมีผลกระทบเชิงบวกและ
เชิงลบต่อความสําคัญในการตัดสินใจบนพ้ืนฐานข้อมูลสนับสนุนในแต่ละทางเลือกดังอธิบายไว้ในข้อ 1)
ถึงข้อ 3) สรุปว่า ทางเลือกที่ 2 การออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยมี
การออกแบบก่อสร้างอาคารสิ่งปลูกสร้างพร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคเพ่ิมเติม
ตามความจําเปน็ จะมีความเหมาะสมและคมุ้ ค่าต่อการลงทุนมากท่สี ดุ ดังแสดงในตารางท่ี 3.4-2

จงั หวัดพิจิตร 3-44 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 3

“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การวิเคราะหแ์ ละประเมินศกั ยภาพของพ้ืนทเ่ี มืองพิจิตรและพืน้ ทโ่ี ดยรอบ

ตารางที่ 3.4-2
ปจั จัยหลักตา่ งๆ ท่มี ีความสําคัญในการตัดสินใจเพ่อื การพฒั นาพื้นทอ่ี ทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร

คา่ ถว่ ง คะแนนท่ไี ด้รบั รวม

ปจั จยั หลกั ทพี่ ิจารณา น้าํ หนัก ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3

A B AxB B AxB B AxB

1. ระยะเวลาในการร้ือถอนและปลูกสร้างสงิ่ ปลกู สร้างใหม่ 1 5 5 3 3 4 4

2. ผลกระทบตอ่ องคป์ ระกอบที่มีคณุ ค่าด้านตา่ งๆ 3 5 15 3 9 4 12

3. สภาพแวดล้อมภายในมีความโดดเดน่ และสวยงามเพ่ิมขนึ้ 5 2 10 5 25 3 15

4. เงนิ ลงทุนที่ใช้ในการพฒั นาโครงการ 3 4 12 2 6 3 9

5. ความค้มุ ค่ากบั การลงทนุ 5 2 10 5 25 3 15

6. โอกาสในการขยายการรองรบั นกั ท่องเทีย่ วในอนาคต 5 1 5 5 25 3 15

7. การยอมรบั จากกลุ่มชมุ ชนทอ้ งถน่ิ 5 1 5 5 25 2 10

รวมคะแนนทงั้ หมด 62 118 80

หมายเหตุ: 1) ทางเลอื กในการพัฒนาพน้ื ทีอ่ ทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตร ประกอบด้วย

1.1 ทางเลือกท่ี 1 การออกแบบปรบั ปรุงภูมิทัศน์ภายในพนื้ ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร โดยไม่มีการออกแบบก่อสร้าง

อาคารสงิ่ ปลกู สรา้ งใดๆ

1.2 ทางเลอื กท่ี 2 การออกแบบปรับปรุงภมู ทิ ศั นภ์ ายในพนื้ ท่ีอุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร โดยมกี ารออกแบบก่อสร้าง

อาคารสิ่งปลกู สร้างพรอ้ มสง่ิ อํานวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภคเพิ่มเตมิ ตามความจาํ เปน็

1.3 ทางเลือกท่ี 3 การออกแบบปรับปรุงภมู ทิ ศั น์ภายในพ้ืนทอี่ ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ รพรอ้ มกอ่ สรา้ งส่งิ อาํ นวยความสะดวกและ

ระบบสาธารณปู โภคเพม่ิ เตมิ โดยไม่มกี ารออกแบบก่อสรา้ งอาคารส่งิ ปลกู สรา้ งใดๆ

2) คา่ ถว่ งน้าํ หนัก (A)

2.1 สาํ คญั มาก = 5

2.2 สาํ คญั ปานกลาง = 2

2.3 สาํ คัญนอ้ ย = 1

3) ระดับคะแนนท่ไี ด้รับ (B)

3.1 เหมาะสมมากทีส่ ดุ = 5 คะแนน

3.2 เหมาะสมมาก = 4 คะแนน

3.3 เหมาะสมปานกลาง = 3 คะแนน

3.4 เหมาะสมน้อย = 2 คะแนน

3.5 เหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ = 1 คะแนน

จงั หวดั พิจิตร 3-45 มหาวิทยาลยั มหิดล

บทที่ 4
การศึกษาและออกแบบปรบั ปรงุ

พ้ืนทีอ่ ุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร

บทท่ี 4
การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรุงพน้ื ที่อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร

4.1 คํานาํ

การศึกษาเปรียบเทียบแนวทางเลือกเพื่อการพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ได้ข้อสรุปว่า “ทางเลือกที่ 2:
การออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร โดยมีการออกแบบก่อสร้างอาคารส่ิงปลูกสร้าง พร้อม
ส่งิ อาํ นวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคเพ่ิมเติมตามความจําเป็นมีความเหมาะสมและคุ้มค่าต่อการลงทุนมากที่สุด”
จึงได้พิจารณาตําแหนง่ ทต่ี ั้ง รปู รา่ งและขนาดของแปลงที่ดินเพอ่ื วางผงั แม่บทการใช้ท่ีดนิ ภายในพ้ืนที่อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร
และทําการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์และการวางผังพื้นท่ีกลุ่มอาคารสิ่งปลูกสร้างพร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบ
สาธารณปู โภคท่ีจาํ เปน็ ในพ้นื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ รให้มีความเหมาะและมคี วามเช่ือมโยงกับกลุ่มอาคารส่ิงปลูกสร้างอ่ืนๆ
โดยการจัดวางรูปลักษณ์และองค์ประกอบต่างๆ ด้านสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม วิศวกรรมและอื่นๆ ให้สอดคล้อง
กับสภาพพ้ืนท่ี ลักษณะภูมิศาสตร์ ความกลมกลืนกับสภาพธรรมชาติ การรักษาหรือลดผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน การส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีความสวยงามเป็นเอกลักษณ์และประหยัดพลังงาน รวมทั้งมีความ
สอดคล้องตามหลักการจัดการพื้นท่ีอุทยานประวัติศาสตร์ตามแนวทางของกรมศิลปากร โดยเน้นการสนองตอบประโยชน์
ใช้สอยอย่างมีประสิทธิภาพสงู สุดโดยเฉพาะการให้บริการต่อนักท่องเท่ียวท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวต่างถิ่นท่ีเข้ามาเยี่ยมชม
และใชบ้ รกิ าร หรือการควบคุมดแู ลและรกั ษาความปลอดภัยของทรัพย์สนิ ต่างๆ ในพนื้ ที่อุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร

4.2 การออกแบบผังแม่บทพน้ื ทอ่ี ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

4.2.1 การวิเคราะหร์ ูปแบบการใช้ทดี่ นิ

การศกึ ษาและวเิ คราะหร์ ปู แบบการใช้ท่ดี นิ และจัดทาํ ผงั แมบ่ ทเพื่อรองรบั การพัฒนาพน้ื ทอี่ ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ ร
จังหวัดพิจิตร ได้รวมรวมข้อมูลต่างๆ จากสํานักงานจังหวัดพิจิตร กรมศิลปากรโดยสํานักศิลปากรที่ 6 (สุโขทัย) องค์การ
บริหารส่วนตาํ บลเมืองเก่า องคก์ ารบริหารสว่ นตําบลโรงชา้ ง กรมปา่ ไม้และกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์ุพชื ฯลฯ
ได้ขอ้ สรปุ ว่า พ้ืนทีอ่ ุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร (ดรู ูปที่ 4.2-1) มีรูปรา่ งทดี่ นิ เปน็ รูปห้าเหลย่ี ม (Pentagon Shape) ต้ังอยู่หมู่ที่ 4
บา้ นเมืองเกา่ ตาํ บลเมืองเกา่ อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ 16.412354N, 100.295042E คิดเป็น
พื้นที่ทั้งหมด 400 ไร่เศษ พื้นท่ีด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวเขตขนานกับคลองชลประทานสายหลัก โครงการส่งน้ํา
และบํารุงรักษาดงเศรษฐีพื้นท่ีด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้มีแนวเขตติดกับพื้นท่ีตั้งชุมชนบ้านเมืองเก่าเป็นแนวยาวขนานกับ
คลองชลประทานสายซอยโครงการส่งนํ้าและบํารุงรักษาดงเศรษฐี พ้ืนท่ีด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้มีแนวเขตติดกับพื้นท่ีต้ัง
ชมุ ชนบ้านเมืองเกา่ และพ้นื ทดี่ ้านทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือเป็นรูปสามเหล่ยี มมีแนวเขตขนานกบั แม่นา้ํ พจิ ติ รและขนานกบั พนื้
ท่ีต้งั ชมุ ชนบ้านเมอื งเกา่ และพน้ื ทว่ี า่ งเปลา่

สภาพพ้ืนทอี่ ุทยานเมืองเก่าพิจติ รส่วนใหญเ่ ปน็ พน้ื ที่สวนรุกขชาติกาญจนกมุ าร (316.50 ไร)่ เปน็ แหล่งปลกู และ
รวบรวมพรรณไม้มคี า่ ทางเศรษฐกิจขนาดกลาง–ขนาดใหญ่และพืชสมุนไพรหลากหลายขึ้นหนาแน่นไม่น้อยกว่า 214 ชนิด
ยกตัวอย่างพรรณไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ เช่น สัก กฤษณา ประดู่ป่า มะค่าโมง ยางนา ตะแบกนา อินทนิลบก อินทนิลนํ้า
แดง ตะเคียนทอง ฯลฯ พืชสมนุ ไพร (เชน่ ไพลดํา กระเจียวขาว ดปี ลี เถาหญ้านาง วา่ นหางชา้ ง พันงูเขยี ว ฯลฯ)

จังหวดั พิจิตร 4-1 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทที่ 4
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจิตร การศึกษาและออกแบบปรับปรุงพนื้ ทีอ่ ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

รปู ที่ 4.2-1 ขอบเขตการพฒั นาและปรับปรงุ ในพืน้ ท่ีอทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร จังหวดั พจิ ิตร

จงั หวัดพิจติ ร 4-2 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การศึกษาและออกแบบปรบั ปรงุ พน้ื ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร

4.2.2 ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กําหนดผังเมืองรวมพิจติ ร พ.ศ. 2549 (บงั คับใชจ้ นถงึ วันที่ 25 เมษายน 2559)
ผงั เมืองรวมจงั หวัดพจิ ติ ร พ.ศ. 2560

เน่ืองจากพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร เป็นพื้นที่ตามผังเมืองรวมพิจิตร พ.ศ. 2549 (มีผลบังคับใช้จนถึงวันท่ี 25
เมษายน พ.ศ. 2559) ดงั รปู ท่ี 4.2-2 ได้กาํ หนดไว้ตามกฎกระทรวงฯ เป็นพื้นที่สีนํ้าตาลอ่อน เป็นที่ดินประเภทอนุรักษ์เพ่ือ
ส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย และกําหนดให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรม การอนุรักษ์
โบราณสถาน โบราณคดี การท่องเท่ียว การศาสนา และสถาบันราชการเท่าน้ัน ส่วนแผนผังกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรตามท่ีได้จําแนกท้ายกฎกระทรวงให้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2560 ดังแสดงใน
รูปที่ 4.2-3 ต้งั อยู่บรเิ วณเขตสีขาวมีกรอบและเสน้ ทแยงสเี ขียวเปน็ ที่ดนิ ประเภทอนุรักษช์ นบทและเกษตรกรรม

หากจะพัฒนาและปรับปรุงพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรสามารถนํามาใช้ในการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง
ต่างๆ พร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคตามความจําเป็นหรือปรับปรุงภูมิทัศน์ในส่วนราชการได้โดยไม่
ขัดแยง้ กบั ข้อกาํ หนดตามผงั เมอื งรวมฯ แต่ต้องดาํ เนนิ การตามหลกั การจดั การอุทยานประวัติศาสตร์และส่งแบบก่อสร้างและ
ปรับปรุงให้คณะกรรมการวิชาการ สํานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากรพิจารณาและลงมติและต้องได้รับความยินยอมหรือ
อนุญาตจากกรมศิลปากรซงึ่ เป็นหน่วยงานเจ้าของพืน้ ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พิจติ รกอ่ น

4.3 การพัฒนาการออกแบบผังแมบ่ ทพื้นท่ีอทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร

4.3.1 แนวความคดิ ในการวางผังบรเิ วณ (Site Plan)

การกาํ หนดหลักเกณฑใ์ นการวางผังบริเวณ (Site Plan) พ้นื ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พิจิตร ได้พจิ ารณาจากรปู รา่ งและ
ขนาดของทีด่ นิ เส้นทางเข้า-ออกสพู่ ืน้ ท่ีภายนอก เส้นทางสัญจรภายในและความสัมพันธ์กับกลุ่มอาคารอ่ืนๆ ในแปลงท่ีดิน
รวมทัง้ สภาพแวดลอ้ มภายนอกเพ่ือมใิ ห้เกดิ ผลกระทบภายหลงั จากการพัฒนาพ้ืนทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตรดงั อธิบายได้ดังน้ี

1) รูปร่างและขนาดของท่ีดิน (Existing Site) เป็นรูปห้าเหล่ียม (Pentagon Shape) บนแปลงท่ีดินขนาด
400 ไร่เศษ และอย่ใู นการดแู ลของ 3 หน่วยงาน ไดแ้ ก่ กรมศลิ ปากร องคก์ ารบริหารส่วนตําบลโรงช้าง/
องค์การบริหารส่วนตาํ บลเมืองเก่า และกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธพ์ุ ชื

2) เส้นทางสัญจรเข้า-ออกสู่พื้นท่ีภายนอกและเส้นทางสัญจรภายในแปลงที่ดิน (Circulation) ปัจจุบัน
เส้นทางเข้า–ออกหลกั ของพนื้ ท่อี ทุ ยานเมอื งเกา่ ได้แก่ ทางหลวงหมายเลข 1068 (พิจติ ร–วังจิก)

3) ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาคาร (Building Relation) ภายในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร เพ่ือความ
สะดวกรวดเร็วในการสัญจรในพื้นท่ีฯ ได้กําหนดใช้ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดกว้างไม่เกิน 6 เมตร
(ไม่มีไหล่ทาง) บริเวณตอนกลางของพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเป็นเส้นทางหลักเชื่อมโยงกับพื้นที่ส่วน
อ่ืนๆ รวมท้ังการเข้าถึงพ้ืนท่ีตามแนวขอบของพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรสามารถเข้าถึงและต่อเช่ือมได้
จะใชถ้ นนคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ขนาดกว้างไมเ่ กนิ 3.50 เมตร (ไม่มีไหล่ทาง) เป็นเส้นทางก่อสร้างขึ้นใหม่
ตามแนวคูเมือง ความยาวไม่เกิน 1.50 กิโลเมตร หรือการต่อเช่ือมภายในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
โดยใช้เสน้ ทางเดนิ เทา้ และเสน้ ทางจักรยานที่กระจายอยทู่ ่วั ไป ความยาวรวมไม่เกิน 4.50 กิโลเมตร

จงั หวดั พิจิตร 4-3 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 4
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การศกึ ษาและออกแบบปรับปรงุ พนื้ ทอ่ี ุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

แผนผงั กําหนดการใช้ประโยชนท์ ีด่ ินตามทไี่ ดจ้ ําแนกประเภทท้ายกฎกระทรวง
ใหบ้ ังคับผังเมืองรวมเมืองพิจติ ร พ.ศ. 2549
(บงั คับใช้อยู่ถึงวันท่ี 25 เมษายน 2559)

เคร่ืองหมาย

แนวเขตผงั เมอื งรวม 1. เขตสีเหลอื ง 1. ที่ดนิ ประเภทท่อี ยอู่ าศยั หนาแนน่ นอ้ ย ผงั เมอื งรวมเมืองพิจติ ร
เขตตาํ บล 2. เขตสสี ้ม 2. ที่ดินประเภททอ่ี ย่อู าศัยหนาแนน่ ปานกลาง
3. เขตสีแดง 3. ท่ดี นิ ประเภทพาณิชยกรรมและท่อี ยูอ่ าศัยหนาแนน่ มาก (นายพชิ ยั เครอื ชยั พินิต)
เขตเทศบาล 4. เขตสีมว่ งอ่อน 4. ทดี่ นิ ประเภทอุตสาหกรรมเฉพาะกจิ ผ้อู ํานวยการสาํ นักผังเมอื งรวมและผงั เมอื งเฉพาะ
ถนนเดมิ 5. เขตสเี ขียว 5. ทด่ี นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ถนนเดมิ ขยาย 6. เขตสีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสเี ขยี ว 6. ทด่ี นิ ประเภทอนุรกั ษ์ชนบทและเกษตรกรรม (นายฐิระวัฒน์ กลุ ละวณชิ ย)์
ถนนโครงการ 7. เขตสีเขยี วอ่อน 7. ทดี่ ินประเภทท่ีโล่งเพื่อนันทนาการและการรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม อธบิ ดีกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง
ทางรถไฟ 8. เขตสเี ขียวมะกอก 8. ท่ดี ินประเภทสถาบนั การศึกษา
สะพาน 9. เขตสีฟ้ามีเสน้ ทแยงสีขาว 9. ท่ีดินประเภทที่โล่งเพือ่ การรกั ษาคณุ ภาพสิง่ แวดล้อม
แมน่ ํ้า คลอง หว้ ย 10. เขตสนี า้ํ ตาลอ่อน 10. ท่ีดนิ ประเภทอนุรกั ษ์เพอื่ สง่ เสริมเอกลักษณศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย
อ่างเกบ็ นาํ้ หนอง บึง 11. เขตสีเทาออ่ น 11. ท่ีดนิ ประเภทสถาบนั ศาสนา

คลองส่งนา้ํ คลองระบายน้าํ 12. เขตสนี ํา้ เงนิ 12. ท่ดี นิ ประเภทสถาบนั ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณปู การ

รูปท่ี 4.2-2 แผนผังกาํ หนดการใชป้ ระโยชน์ท่ดี นิ ตามท่ีไดจ้ าํ แนกประเภททา้ ยกฎกระทรวงให้บังคบั
ผังเมืองรวมเมืองพิจิตร พ.ศ. 2549 (บังคับใช้อยถู่ งึ วันที่ 25 เมษายน 2559)

จังหวดั พิจิตร 4-4 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรับปรุงพ้ืนทอ่ี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

แผนผงั กําหนดการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ตามทไ่ี ด้จําแนกประเภทท้ายกฎกระทรวง
ให้บังคบั ผังเมอื งรวมจังหวดั พจิ ิตร
พ.ศ. 2560

1. เขตสีชมพู ทด่ี ินประเภทชมุ ชน
2. เขตสีม่วง ทีด่ นิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา้
3. เขตสเี ขยี ว ท่ดี นิ ประเภทชนบทและเกษตรกรรม
4. เขตสขี าวมกี รอบและเส้นทแยงสีเขียว ท่ีดินประเภทอนุรกั ษ์ชนบทและเกษตรกรรม
5. เขตสีเขยี วออ่ นมเี ส้นทแยงสีขาว ทด่ี นิ ประเภทอนรุ ักษป์ ่าไม้

รูปที่ 4.2-3 แผนผงั กาํ หนดการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินตามท่ีได้จาํ แนกทา้ ยกฎกระทรวงใหบ้ งั คบั ผังเมอื งรวมจงั หวัดพจิ ิตร
พ.ศ. 2560

จังหวัดพิจติ ร 4-5 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรุงพื้นทอี่ ุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร

4.3.2 แนวความคิดในการวางผังกลุม่ อาคารและสงิ่ ปลกู สรา้ ง (Building Plan)

เพ่ือมใิ ห้เกิดผลกระทบตอ่ องคป์ ระกอบที่มคี ณุ ค่าทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี อายุและความเก่าแก่ สภาพ
อาคาร สถานท่ีและโบราณสถาน สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม องค์ประกอบและภาพลักษณ์ของชุมชนเมือง (Image of
City) และคุณค่าความสําคัญต่อระบบสังคมและชุมชน รวมทั้งการขอใช้ประโยชน์พื้นท่ีจากหน่วยงานเจ้าของพื้นท่ี (กรม
ศิลปากร) จึงได้กําหนดหลักเกณฑ์การวางผังกลุ่มอาคารและสิ่งปลูกสร้าง (Building Plan) พร้อมสิ่งอํานวยความสะดวก
และระบบสาธารณูปโภคภายในพืน้ ที่อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ รไวใ้ นตําแหน่งเดมิ ยกเว้นกล่มุ อาคารและสิ่งปลูกสร้างท่ีมีสภาพ
ชํารุดทรุดโทรมและมิได้มีการใช้ประโยชน์จะพิจารณาให้รื้อย้ายออกไป รวมท้ังการปรับปรุงภูมิทัศน์เพ่ิมเติมภายในพื้นที่
อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตรได้พิจารณาให้ความสําคัญ มคี วามสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับพื้นทอี่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พิจติ ร

เหตุผลและความจําเป็นในการวางผังกลุ่มอาคารและสิ่งปลูกสร้าง (Building Plan) จะได้พิจารณาเช่นเดียวกับ
การออกแบบด้านสถาปัตยกรรมอ่ืนๆ ยกตัวอย่างเช่น การจัดวางกลุ่มอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้ถูกต้องตามทิศทางแดด
ลม ฝน และการใหค้ วามสาํ คญั กับสภาพแวดลอ้ มโดยรอบเพือ่ กําหนดตาํ แหน่งของพื้นทีส่ ่วนตา่ งๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กันเน้น
การนําเอาสภาพธรรมชาติโดยรอบมาใช้กับกลุ่มอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ เพ่ือเน้นการประหยัดพลังงาน ไม่ว่าจะเป็น
เร่ืองแสงธรรมชาติหรือการลดความรอ้ นของกลุ่มอาคารและสิ่งปลูกสร้างหรือการผสมผสานรูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่น
ประยุกต์เข้ากับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่นําเอาส่วนย่อยๆ ของความเป็นไทยมาใช้เพื่อความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ินท่ี
สอดคล้องกับแนวคิดโดยภาพรวมทั้งหมด รวมทั้งการดึงเอาภูมิทัศน์ภายนอกหรือโดยรอบพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรเข้า
มาใช้ให้เกิดความลื่นไหลของพ้ืนท่ีใช้สอยเพ่ือความผ่อนคลายเหมาะสมต่อประเภทของกลุ่มอาคารและส่ิงปลูกสร้างต่างๆ
ดงั อธบิ ายได้ดังนี้

1) ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพ้ืนที่ใช้สอย (Space Relation)
1.1 ศาลหลักเมืองพิจิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง ได้นําข้อมูลรูปแบบการใช้อาคารเดิมกับ
ความต้องการพื้นที่อาคารใหม่ผนวกเข้ากันเพ่ือแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นท่ีส่วนต่างๆ การ
เข้าถึงและติดต่อถึงกันเพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการเข้าเคารพสักการะศาลหลักเมืองพิจิตรและ
ศาลพอ่ ปู่พระยาโคตรบองที่มคี วามชัดเจนและประสิทธิภาพสงู สุดโดยจะจัดทําเปน็ ศาลหลักเมือง
พจิ ิตร (จาํ ลอง) วางตั้งไว้นอกสถานท่ีต้ังศาลหลักเมืองพิจิตร (เดิม) และจัดทําเป็นร้ัวแก้วโปร่งใส
รูปทรงกระบอกความสูงไม่เกนิ 1.50 เมตรครอบศาลหลักเมืองพิจิตร (เดิม) เนื่องจากไม่ต้องการ
ใหผ้ ู้มาเคารพสักการะศาลหลกั เมอื งพิจิตรยืนคํา้ ศาลพอ่ ปู่พระยาโคตรบองท่ีอยดู่ ้านล่าง
1.2 อาคารสํานกั งานและสว่ นจดั นทิ รรศการ (พรอ้ มสถานที่จอดรถยนต)์ อาคารจําหน่ายสินคา้ ชุมชน
อาคารจําหน่ายธูปเทียน อาคารศาลาพักนักท่องเที่ยว และห้องนํ้าบริการนักท่องเท่ียว ฯลฯ จะ
เน้นความสัมพันธ์ของหน้าที่ใช้สอยของกลุ่มอาคารและการสัญจรระหว่างแต่ละองค์ประกอบให้
ชัดเจน โดยกาํ หนดให้กิจกรรมทจี่ ะเกดิ ขน้ึ แต่ละองคป์ ระกอบตอ้ งมคี วามสมั พันธ์และต่อเนอื่ ง ไม่
เกิดความขัดแย้ง การส่งเสริมให้เกิดความสมบูรณ์ในการใช้งาน การเชื่อมต่อของการสัญจรของ
นักท่องเที่ยว เส้นทางรถเข้า–ออกไปยังสถานท่ีจอดรถยนต์ ทางเดินเท้าจากสถานที่จอดรถยนต์
ไปยังอาคารส่วนอ่ืนๆ เพื่อความต่อเน่ืองและตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวอย่าง
สมบรู ณ์

จังหวัดพิจติ ร 4-6 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การศกึ ษาและออกแบบปรับปรงุ พ้นื ทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร

1.3 ส่วนสนับสนุนส่วนอื่นๆ เช่น สถานท่ีจอดรถยนต์ระดับดิน (ไม่น้อยกว่า 2 แห่ง) ส่วนรักษาความ
ปลอดภัย ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ฯลฯ จะเน้นความสัมพันธ์ของ
หน้าท่ีใช้สอยของสว่ นสนบั สนนุ ต่างๆ การเชื่อมตอ่ ของการสญั จรของนักท่องเทยี่ วหรอื การสัญจร
ระหว่างแต่ละองค์ประกอบให้มีความชัดเจน โดยการกําหนดให้กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดข้ึนในแต่ละ
องค์ประกอบจะต้องมีความสัมพันธ์และมีความต่อเนื่องกัน ไม่เกิดความขัดแย้ง การส่งเสริมให้
เกิดความสมบรู ณแ์ ละตอบสนองความต้องการของนักทอ่ งเที่ยวเป็นอยา่ งดี

2) การจัดวางผังกลุ่มอาคารและส่ิงปลูกสร้าง (Orientation) เนื่องจากมิได้มีการปรับย้ายตําแหน่งไปจาก
ตาํ แหน่งเดมิ แต่จะพจิ ารณาออกแบบและกําหนดอุปกรณต์ ่างๆ ท่ีใช้ภายในกลมุ่ อาคารและส่งิ ปลูกสร้าง
ให้เหมาะสมกับสภาพภมู ิอากาศตามชว่ งฤดกู าล เชน่ หลบแดด รับลม และรับแสงสว่าง ฯลฯ โดยสภาพ
ที่ตั้งกลุ่มอาคารและส่วนประกอบจะมีแสงธรรมชาติเหมาะสม โดยเฉพาะทิศตะวันออกมีแสงธรรมชาติ
ชว่ งเชา้ และทิศใตม้ ีแสงแดดจัดเกือบตลอดวนั แต่จะใช้ร่มเงาจากพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง–ขนาดใหญ่
บดบังแสงแดดให้แกก่ ลุ่มอาคารและสว่ นประกอบไดบ้ างสว่ น

4.3.3 สรุปผงั แมบ่ ทการพัฒนาพนื้ ทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร (Master Plan)

จากการตรวจสอบรูปร่างและขนาดของแปลงที่ดินในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรมีลักษณะเป็นรูปห้าเหล่ียม
(Pentagon Shape) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อวางผังแม่บทและกําหนดแนวความคิดในการวางผังการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ให้
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงได้พิจารณาออกแบบผังแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรดังแสดงในรูปท่ี 4.3-1 (ดู
แบบรายละเอยี ดในเอกสารประกวดราคา, พฤศจิกายน 2560) ดังสรุปได้ดังนี้

1) ศาลหลักเมืองพจิ ิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบองและสว่ นประกอบ (พ้ืนทใ่ี ช้สอย 3,760 ตร.ม.)
2) อาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการพร้อมสถานที่จอดรถยนต์ (พื้นท่ีใช้สอย 1,040 ตร.ม.) อาคาร

จําหน่ายสินค้าชุมชน (พื้นที่ใช้สอย 39.78 ตร.ม.) อาคารจําหน่ายธูปเทียน (พ้ืนท่ีใช้สอย 73.78 ตร.ม.)
อาคารศาลาพักนักท่องเท่ียว (พื้นที่ใช้สอย 34 ตร.ม.) และห้องนํ้าบริการนักท่องเท่ียว (พื้นที่ใช้สอย 12
ตร.ม./แห่ง จาํ นวน 2 แห่ง คิดเปน็ พื้นท่ีใชส้ อยรวม 24 ตร.ม.) ฯลฯ
3) พ้นื ที่นงั่ พกั ผ่อนรมิ นํา้ (พน้ื ที่ใช้สอย 100 ตร.ม./แห่ง) จํานวน 7 แห่ง คดิ เป็นพนื้ ทีใ่ ช้สอยรวม 700 ตร.ม.
4) พื้นท่ีนั่งพักผ่อนและจอดจักรยาน (พ้ืนท่ีใช้สอย 100 ตร.ม./แห่ง) จํานวน 12 แห่ง คิดเป็นพื้นท่ีใช้สอย
รวม 1,200 ตร.ม.
5) สถานท่จี อดรถยนตร์ ะดบั ดิน 2 แห่ง ได้แก่ พ้ืนท่ีใต้อาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการ และพื้นท่ีฝั่ง
ตรงขา้ มกับอาคารสาํ นกั งานและสว่ นจัดนิทรรศการ
6) ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบถนนเช่ือมโยง (ความยาวไม่เกิน 1.40 กม.)
ระบบเส้นทางจักรยาน (ความยาวไม่เกิน 4.50 กม.) ระบบไฟฟ้าและสื่อสาร ระบบผลิตน้ําประปา
ระบบสุขาภิบาล ระบบดับเพลงิ และปอ้ งกันอัคคีภยั ฯลฯ
7) การขดุ และปรับปรงุ สระนาํ้ คูเมืองและการปรับปรุงภมู ทิ ศั นภ์ ายในพ้ืนทีอ่ ทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร

จงั หวดั พิจติ ร 4-7 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจิตร

รปู ท่ี 3.4-1 ผงั แม่บทการพฒั นาพื้นท่อี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร จงั หวัดพจิ ติ ร

จังหวัดพิจติ ร

บทท่ี 4
การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรุงพน้ื ท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร

4-8 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 4
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรบั ปรุงพื้นทอ่ี ทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร

4.4 การออกแบบรายละเอยี ดและการประมาณราคาค่ากอ่ สรา้ ง

4.4.1 การสาํ รวจและจัดทาํ แผนทีภ่ มู ิประเทศ

ท่ปี รึกษาไดส้ ํารวจและตรวจสอบรายละเอยี ดสภาพภมู ปิ ระเทศ (topographic survey) ดว้ ยการบินถ่ายโดยใช้
อากาศยานไร้คนขับ (UAV: Unmanned Aerial Vehicle) พร้อมจัดทําแผนท่ีออร์โธสีเชิงเลข และแผนที่ภูมิประเทศ
มาตราสว่ น 1:1,000 ครอบคลมุ พ้ืนท่ีไม่นอ้ ยกว่า 600 ไร่ ในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองพิจิตร
จังหวัดพิจิตร เพื่อใช้ประกอบการสํารวจออกแบบรายละเอียดงานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่ง
ทอ่ งเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ “อทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร” จังหวัดพิจิตร

การจัดทําหมุดหลักฐานถาวรในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรได้ดําเนินการโยงโครงข่ายอ้างอิงหมุด GPS ท่ีมี
ความละเอียดสูงและอยู่ใกล้พื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรมากที่สุด ได้แก่ หมุดหลักฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หมายเลข A104650 ตั้งอยู่ภายในวัดย่านยาว หมู่ท่ี 8 ตําบลวังจิก อําเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร มีค่าพิกัด N =
1,809,543.395 ม. คา่ พกิ ดั E = 634,833.157 ม. ค่าระดับ = 34.780 ม.ร.ท.ก. โซน 47 (Zone 47) ดังรูปท่ี 4.4-1 และ
สรปุ การจัดทําโครงขา่ ยหมุดหลกั ฐานถาวร (Benchmarks) ในพน้ื ท่อี ุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตรไดด้ ังนี้

Name Northing Easting Elevation Combined Ground to
m. m. m. (MSL.) Grid Scale Factor
A104650 34.780
GPS01 1,809,543.395 634,833.157 36.259 0.999824841453773
GPS02 1,814,737.555 638,433.484 36.418 0.999836754045242
GPS03 1,814,771.291 638,317.835 38.649 0.999836333985959
GPS04 1,815,473.615 637,763.709 38.208 0.999834095469050
1,815,593.129 637,799.406 0.999834286223580

ผลการสํารวจและจัดทําแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:1,000 ดังแสดงในรูปที่ 4.4-2 และรูปที่ 4.4-3 (ดู
รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ในภาคผนวก ค-รายงานการสาํ รวจและจัดทําแผนทีภ่ ูมิประเทศ)

จังหวัดพิจิตร รปู ที่ 4.4-1 หมดุ หลกั ฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หมายเลข A104650;
N = 1,809,543.395 ม., E = 634,833.157 ม., EL = 34.780 ม.ร.ท.ก.

4-9 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร

จงั หวดั พจิ ติ ร

รปู ที่ 4.4-2 แผนที่ระดับความสงู ภูมปิ ระเทศ 0.50 เมตรภายในพื้นท่อี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

บทท่ี 4
การศึกษาและออกแบบปรบั ปรุงพนื้ ทอี่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร

4-10 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร

จงั หวดั พจิ ติ ร

รปู ท่ี 4.4-3 แผนที่ระดบั ความสงู ภูมปิ ระเทศ 0.50 เมตรภายในพื้นท่อี ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ รบนแผนที่ออรโ์ ธสีทจ่ี ดั ทําโดยใชอ้ ากาศยานไรค้ นขบั

บทท่ี 4
การศึกษาและออกแบบปรบั ปรุงพนื้ ทอี่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร

4-11 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวดั พิจติ ร การศกึ ษาและออกแบบปรับปรุงพ้นื ท่อี ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร

4.4.2 การออกแบบรายละเอยี ดและปรบั ปรุงพื้นทีต่ ามผังแมบ่ ทการพัฒนาพ้นื ทอ่ี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

แนวความคิดในการออกแบบรายละเอียดและปรับปรุงพ้ืนที่แต่ละส่วนตามผังแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยาน
เมอื งเกา่ พิจิตรดงั สรุปไดด้ งั น้ี

1) ศาลหลักเมืองพิจิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบองและส่วนประกอบดังแสดงในรูปท่ี 4.4-4 เป็นอาคาร
คสล. 1 ช้ัน (รวมอาคารช้นั ใต้ดิน 1 ชนั้ และทางลาดเอียงเขา้ สู่ศาลหลักเมืองพิจิตรและศาลพ่อปู่พระยา
โคตรบอง) พ้นื ทใี่ ช้สอย 3,760 ตร.ม.
1.1 แนวความคดิ หลกั ในการออกแบบปรับปรงุ มดี ังน้ี
ก) กําหนดใหอ้ าคารศาลหลักเมืองพิจิตรและศาลพอ่ ปู่พระยาโคตรบองและส่วนประกอบที่มี
ความยดื หยุน่ สูงในการใช้สอยและเอือ้ อํานวยตอ่ การปรับปรุงรปู แบบต่างๆ ภายในพ้ืนท่ีที่
จัดเตรยี มไว้และรองรับการขยายตวั ในอนาคตไดอ้ ย่างพอเพียง
ข) การสร้างรูปแบบอาคารให้มีคุณลักษณะท่ีเหมาะสมและอิงรูปลักษณ์สถาปัตยกรรมไทย
พื้นถ่ินในพ้ืนท่ีภาคเหนือและเป็นตัวแทนสําคัญของวัฒนธรรมไทยท่ีมีความน่าต่ืนเต้น
เชื้อเชิญและสามารถตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอยและจะต้องสะท้อนความเคลื่อนไหว
ของศลิ ปะไทยร่วมสมัย
ค) การปรบั ปรงุ รปู แบบอาคารใหม้ พี ้ืนทภี่ ายใน (Space) มีความเหมาะสมต่อการใช้งานและ
สามารถกําหนดให้พื้นท่ีใจกลางอาคารแสดงถึงเอกลักษณ์ของอาคารซ่ึงเป็นตัวกําหนด
ภาพรวมของงานตกแต่งภายในอาคารท้ังหมด
ง) การพิจารณาใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติภายในอาคารให้มากที่สุด แต่แสงธรรมชาติ
จะต้องได้รบั การควบคุมและออกแบบให้ตอบสนองตอ่ การใช้งานพ้นื ทีใ่ ห้มากท่สี ุด
1.2 การปรับปรุงอาคารศาลหลักเมืองพิจิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบองจะต้องคํานึงถึงสภาวะน่า
สบายหรือเป็นอาคารประหยัดพลังงาน (ใช้พลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย์) ที่รับรู้ถึงความรู้สึก
ร้อนหนาวของผู้ใช้งานหรือนักท่องเที่ยวโดยสภาวะน่าสบายของมนุษย์จะขึ้นกับขอบเขตของ
สภาวะนา่ สบาย (comfort zone) ทจ่ี ะผันแปรเปลย่ี นตามลกั ษณะดนิ ฟ้าอากาศ สภาพแวดล้อม
ความเคยชินแตกต่างกัน ดังมีปัจจัยหลักที่มีผลกระทบต่อสภาวะน่าสบาย เช่น อุณหภูมิอากาศ
ความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิเฉลี่ยของพ้ืนผิว ความเร็วของกระแสลมพัดผ่าน ฯลฯ หากพิจารณา
ลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้นของประเทศไทยจะพิจารณาใช้การเพ่ิมความเร็วลมและการลด
อุณหภูมิเฉลี่ยของพ้ืนผิวโดยรอบเพื่อช่วยให้นักท่องเท่ียวรู้สึกสบายย่ิงข้ึนถ้าอุณหภูมิโดยรอบตํ่า
กว่าอณุ หภูมผิ วิ กายเปน็ ลบร่างกายจะคายความร้อนให้กับส่ิงรอบข้างได้รับความรู้สึกเย็นลง โดย
แนวทางการปรับปรุงเพื่อลดอิทธิพลของอุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโดยรอบทําได้โดยทําให้พ้ืนผิว
ของสภาพแวดล้อมโดยรอบมีค่าอณุ หภมู ติ า่ํ กวา่ อุณหภูมิผิวกาย (อ้างอิง Design with Climate:
พาศนา ตัณฑลักษณ์, 2527) เพ่ือให้รู้สึกเย็นสบาย เช่น การเลือกใช้กระจกที่มีค่าการป้องกัน
ความร้อนสูงและการปรับปรุงพ้ืนที่ใช้งานจะต้องอยู่ห่างจากแหล่งความร้อนและรังสีความร้อน
หรอื การห้มุ ฉนวนให้กับตัวอาคารหรอื หลังคา เป็นตน้

จงั หวดั พิจติ ร 4-12 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 4
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจิตร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรงุ พน้ื ที่อุทยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

รูปที่ 4.4-4 รูปตดั อาคารศาลหลกั เมอื งพจิ ิตรและรปู เสมอื นจริงของศาลหลักเมอื งพจิ ิตร

จงั หวัดพิจติ ร 4-13 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 4
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรับปรุงพืน้ ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร

1.3 รปู ทรงอาคารศาลหลกั เมืองพิจติ รและศาลพ่อปพู่ ระยาโคตรบอง จะไดพ้ ิจารณากําหนดใหม้ ีพื้นที่
ใชส้ อยแยกออกจากกนั โดยเฉพาะพ้ืนท่ีส่วนเข้าเคารพสักการะศาลหลักเมืองพิจิตรและศาลพ่อปู่
พระยาโคตรบองจะได้ออกแบบและปรับปรุงให้มีความกลมกลืนและสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกนั ด้านสถาปตั ยกรรม หากมีนักทอ่ งเท่ยี วเดนิ เขา้ ส่ดู า้ นหน้าจะมองเหน็ ศาลหลักเมืองพิจิตร
อยู่ด้านบนและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบองอยู่ด้านล่าง ทําให้รูปทรงอาคารเป็นจุดศูนย์กลางและ
นักทอ่ งเทีย่ วสามารถมองเห็นกจิ กรรมอันหลากหลายภายในพ้นื ทอี่ าคารไดช้ ดั เจน

1.4 วสั ดุและการก่อสรา้ งอาคารศาลหลกั เมืองพิจิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบองมีแนวความคิดจะ
ใช้วัสดุภายในประเทศให้มากที่สุดเพราะง่ายในการดูแลและซ่อมบํารุงและจะออกแบบให้ดูดีได้
ตลอดเวลาแม้ว่าจะผ่านการใช้งานและผ่านกาลเวลานานเพียงใด พื้นที่พื้นชั้นล่างและช้ันใต้ดิน
จะเปน็ หนิ ขดั หรอื ปดู ว้ ยกระเบ้อื งจะหมดปัญหาในการปรบั สายตาระหว่างถนนกับพืน้ ชัน้ ล่างของ
ศาลหลักเมอื งพจิ ิตรและศาลพอ่ ป่พู ระยาโคตรบองและจะไดร้ ับการออกแบบตามมาตรฐานสากล
เน้นความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ส่วนกระจกและวัสดุท่ีใช้เคลือบเป็นชนิดที่ได้รับผลกระทบ
จากรังสียูวีน้อยสุดและมีมาตรฐานด้านความปลอดภัยกรณีที่เกิดเพลิงไหม้และระบบไฟฟ้าและ
แสงสวา่ งจะต้องไดม้ าตรฐานสากลและมคี วามทนั สมยั ที่สดุ

1.5 การปรับปรุงด้านสถาปัตยกรรมภายในและลําดับความสัมพันธ์ของพ้ืนท่ีในอาคารศาลหลักเมือง
พิจิตรและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง จะเน้นทางเข้าสู่อาคารเข้าถึงได้ง่ายโดยทางลาดเอียงและ
จะมองเหน็ ทศั นียภาพภายนอกไดแ้ ละนกั ท่องเทย่ี วสามารถรู้ตําแหน่งท่ีอยู่และเห็นความสัมพันธ์
ของสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่สองส่วนที่แตกต่างกัน ส่วนพ้ืนที่ภายนอกจะมองเห็นกิจกรรมต่างๆ
ในพ้ืนที่ส่วนเคารพสักการะได้ชัดเจน โดยพ้ืนที่ส่วนเคารพสักการะจะพิจารณาออกแบบให้เป็น
องค์ประกอบสําคญั ในการนําเสนอภาพลักษณข์ องอาคารและจะเป็นเสมือนตัวเชื่อมโยงภาพรวม
ของกิจกรรมต่างๆ สามารถดําเนินงานไปอย่างรวดเรว็ ไมว่ กวนและเกดิ ความคลอ่ งตัวสงู มีความ
เป็นระเบียบเรียบร้อยและจะเกิดเป็นภาพรวมของความสุขและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการ
ปรับปรุงมุ่งเน้นให้ดูเป็นภาพลักษณ์ของส่วนนั้นๆ ให้มีจุดเด่นที่ชัดเจนและการปรับปรุงให้อยู่ใน
งบประมาณและการประหยัดพลังงาน ฯลฯ

1.6 ส่วนงานระบบต่างๆ ในอาคารศาลหลกั เมืองพจิ ติ รและศาลพอ่ ปู่พระยาโคตรบอง
ก) แนวความคิดการปรับปรุงระบบไฟฟ้าจะต้ังอยู่บนพ้ืนฐานแนวคิดการประหยัดพลังงาน
มงุ่ เน้นการใช้หลอด LED ประหยัดพลงั งานทดแทนการใช้หลอดไส้โดยระบบแสงสว่างจะ
ควบคุมการเปิด–ปิด ต้ังค่าเวลาการเปิด–ปิดจากส่วนกลางและค่าวัตต์แสงสว่างต่อพ้ืนที่
เป็นไปตามเกณฑข์ องกรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษพ์ ลังงาน
ข) แนวความคิดการปรบั ปรงุ ระบบสขุ าภิบาล
ข.1 การประหยัดพลังงาน พิจารณาเลือกใช้เครื่องสูบนํ้าแบบปรับความเร็วรอบเพื่อ
สูบนาํ้ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นและประหยดั พลังงาน
ข.2 การบํารุงรักษาระบบ การเลือกวัสดุท่อนํ้าเน้นท่ีอายุการใช้งานและความสะดวก
ในการติดต้ังและการซ่อมบํารุงเป็นหลัก โดยการเดินท่อจะหลีกเลี่ยงการเดินท่อ
ฝังใตพ้ ้ืนอาคารใหม้ ากท่ีสุดเพอ่ื ใหง้ ่ายในการซ่อมบํารงุ กรณที ่อแตกหรือท่อรัว่ และ
การเดินท่อนาํ้ ตอ้ งอยบู่ รเิ วณท่ีบํารุงรกั ษาได้ง่ายและสะดวก ฯลฯ ในการออกแบบ

จังหวดั พิจติ ร 4-14 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 4
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรบั ปรุงพืน้ ท่ีอทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร

จะคํานึงถึงกลิ่นท่ีไม่พึงประสงค์และอุปกรณ์ทุกๆ ชนิดท่ีต่อกับท่อระบายนํ้าจะ
ตอ้ งมี P-Trap ตดิ ตง้ั เสมอ
ค) แนวความคิดการออกแบบระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย เนื่องจากเป็นอาคารที่มี
ขนาดเล็กจึงไม่จําเป็นต้องออกแบบระบบดับเพลิงให้เป็นไปตามข้อกฎหมายที่ระบุไว้ แต่
จะพจิ ารณาออกแบบเป็นระบบหวั กระจายนาํ้ ดบั เพลิงอัตโนมัติเป็นระบบดับเพลิงที่ได้รับ
การยอมรับว่ามีประสิทธิผลมากจะต้องมีระยะการวางหัวเป็นไปตามมาตรฐานของ วสท.
และ NFPA 13 โดยหัวกระจายน้ําดับเพลิงจะฉีดน้ําครอบคลุมพ้ืนท่ีต้นเพลิงได้รวดเร็ว
ทาํ ให้เพลิงดบั ในเวลารวดเร็วไม่ลกุ ลามขยายตัวออกไปยังพน้ื ท่สี ่วนอ่นื ๆ ได้
ง) แนวความคิดการออกแบบระบบเครื่องกล (ระบบควบคุมคุณภาพอากาศในช้ันใต้ดินส่วนท่ี
เป็นอาคารศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง) จะพิจารณาส่วนเติมอากาศสะอาดจากภายนอกเข้าสู่
ภายในบริเวณสว่ นปรับอากาศโดยผ่านแผ่นกรองอากาศเพื่อดักฝุ่นควันและละอองต่างๆ โดย
การเติมอากาศจะเป็นไปตามข้อกําหนดของกฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และมาตรฐานการระบายอากาศของ
ASHRAE รวมถงึ จัดเตรยี มระบบระบายอากาศภายในห้องนํ้า ฯลฯ
2) อาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการ (พ้ืนที่ใช้สอย 1,040 ตร.ม.) เป็นอาคาร คสล. 3 ช้ัน (ชั้นล่าง
เป็นสถานที่จอดรถยนต์) อาคารจําหน่ายสินค้าชุมชน (พื้นที่ 39.78 ตร.ม.) อาคารจําหน่ายธูปเทียน
(พื้นที่ใช้สอย 73.78 ตร.ม.) อาคารศาลาพักนักท่องเท่ียว (พื้นท่ีใช้สอย 34 ตร.ม.) และห้องน้ําบริการ
นักท่องเท่ียว (พ้ืนท่ีใช้สอย 12 ตร.ม./หลัง จํานวน 2 แห่ง) ส่วนใหญ่เป็นอาคาร คสล. ดังแสดงในรูปที่
4.4-5 ถึงรปู ที่ 4.4-9 มวี ัตถุประสงค์เพื่อเป็นอาคารบริการให้กับนักท่องเท่ียว โดยเน้นการออกแบบเป็น
อาคารประยุกต์ผสมผสานรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยท้องถ่ินในพ้ืนที่ภาคเหนือเข้ากับสถาปัตยกรรม
สมัยใหม่ และมีรูปแบบการใช้งานที่สามารถปรับเปล่ียนรูปแบบได้อย่างหลากหลาย (Multi-Purpose)
เพ่ือให้เกิดประโยชน์ใช้สอยอย่างเต็มศักยภาพและคํานึงถึงความสวยงามของภูมิทัศน์ด้านหน้าของกลุ่ม
อาคารและรูปแบบท่ีเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นเน้นความเป็นสถาปัตยกรรมไทยท้องถิ่น สามารถสร้าง
คุณค่าและความภาคภูมิใจให้กับชุมชนท้องถ่ินดังสรุปแนวคิดต่างๆ (Programming Concept) เป็น 2
แนวทางดงั น้ี
2.1 แนวความคิดดา้ นหน้าที่การใช้สอย (Function Concepts) เป็นส่วนแสดงรูปแบบความสัมพันธ์
ระหว่างกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นภายในอาคารแต่ละอาคารกับรูปแบบการใช้งานพื้นที่ส่วนต่างๆ
โดยจัดเป็นความสัมพันธใ์ นหลายปจั จัยของข้อมลู พนื้ ฐานดังภาพรวมโครงการจะแยกเปน็ ฟงั ก์ชัน
การใชง้ านตามพน้ื ที่แตล่ ะอาคารแต่ละประเภททยี่ ึดตามขอ้ มลู การออกแบบและวัสดทุ ี่เลือกใชใ้ ห้
ไดต้ ามมาตรฐานสากลดังน้ี
ก) แนวความคิดที่เก่ียวข้องกับความสัมพันธ์ (Relationship) เป็นการแสดงความสัมพันธ์
ของหนา้ ท่ีใชส้ อยและการสญั จรระหว่างแต่ละองค์ประกอบของโครงการ โดยให้กิจกรรม
ท่เี กดิ ขึน้ ในแต่ละองค์ประกอบโครงการจะตอ้ งมคี วามสัมพันธ์และมีความต่อเน่อื งสง่ เสรมิ
ใหเ้ กดิ ความสมบรู ณ์ในการใช้งาน และสามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว
ไดเ้ ปน็ อย่างดี

จังหวดั พิจติ ร 4-15 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรุงพ้นื ทอ่ี ุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตร

ข) แนวความคิดท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรม ได้มาจากวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเท่ียวสัมพันธ์
กับกิจกรรมต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนแต่ละองค์ประกอบและนําไปกําหนดรายละเอียดพ้ืนที่ใช้สอย
ตามฟังก์ชันที่ต้องการในรูปแบบของพื้นท่ีได้ ดังมีข้อมูลพิจารณาประกอบ ได้แก่ จํานวน
นักท่องเท่ียว ระยะเวลาใช้งาน ปริมาณผู้ใช้สูงสุดกรณีพิเศษ ความถ่ีในการใช้งาน ความ
ต้องการใชพ้ น้ื ท่ขี องกิจกรรมต่างๆ พ้ืนที่สัญจร สัดส่วนของพื้นท่ีใช้งานและกฎหมายหรือ
ข้อบังคับหรือเทศบญั ญตั ิ ฯลฯ

2.2 แนวความคิดด้านรูปแบบ (Form Concepts) เน้นรูปแบบอาคารประยุกต์แบบทันสมัยด้วยวัสดุ
และเทคโนโลยีการก่อสร้างที่ผสมผสานความเป็นไทย การเลือกใช้สี รูปแบบของเสาที่มั่นคง
แข็งแรง มีความพล้ิวไหวของเส้นสาย และรูปทรงหลังคาของอาคารสามารถมองเห็นได้จาก
ระยะไกลและได้ถูกผสมผสานกันอย่างลงตัวให้เป็นรูปแบบของอาคารประยุกต์สมัยใหม่มีความ
โดดเด่น โดยโครงสร้างหลังคาจะเลือกใช้กระเบ้ืองสีอิฐคล้ํา (นํ้าตาล) วางบนโครงถัก (Truss) ท่ี
ใช้ Span เสากว้างเป็นพิเศษเพ่ือรองรับฟังก์ชันการใช้สอยภายในอาคารและจะได้เน้นออกแบบ
ให้นําแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะมีการเจาะช่องเปิดภายในอาคารโดยรอบ
และให้เกิดความรูส้ ึกลืน่ ไหลและสรา้ งความน่าสนใจต่อพนื้ ทสี่ ่วนตา่ งๆ

3) รูปแบบการปรับปรุงภูมิทัศน์และส่ิงอํานวยความสะดวกต่างๆ เพื่อรองรับกิจกรรมต่างๆ ภายในพ้ืนที่
อุทยานเมืองเกา่ พจิ ติ รดงั แสดงในรูปที่ 4.4-10 ถงึ รูปที่ 4.4-17

รูปที่ 4.4-5 รูปด้านหน้าอาคารสาํ นักงานและสว่ นจัดนทิ รรศการ

จงั หวัดพิจิตร 4-16 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 4
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรับปรงุ พื้นทอ่ี ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

รปู ท่ี 4.4-6 รูปเสมอื นจรงิ ของอาคารสาํ นักงานและสว่ นจัดนทิ รรศการ

จังหวัดพิจติ ร 4-17 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรับปรุงพน้ื ท่ีอทุ ยานเมอื งเกา่ พิจิตร

รปู ที่ 4.4-7 รปู ตัดอาคารจาํ หน่ายสินคา้ ชุมชนและรปู เสมือนจรงิ ของอาคารจําหน่ายสนิ คา้ ชมุ ชน

รูปที่ 4.4-8 รปู ตัดอาคารจาํ หนา่ ยธปู เทยี นและรูปเสมือนจรงิ ของอาคารจําหนา่ ยธูปเทยี น

จงั หวดั พิจิตร 4-18 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การศึกษาและออกแบบปรับปรงุ พื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร

ก) รปู เสมอื นจรงิ ของหอ้ งน้ําบรกิ ารนกั ท่องเท่ยี ว แหง่ ท่ี 1

ข) รปู เสมือนจรงิ ของห้องนํ้าบรกิ ารนกั ท่องเทย่ี ว แหง่ ท่ี 2
รปู ท่ี 4.4-9 รูปเสมือนจรงิ ของห้องนํา้ บริการนกั ท่องเทย่ี ว

จังหวัดพิจติ ร 4-19 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การศกึ ษาและออกแบบปรับปรงุ พื้นทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร

รูปท่ี 4.4-10 ตัวอยา่ งการปรับปรงุ ภูมทิ ศั นภ์ ายในพ้ืนทอ่ี ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

“เขตโบราณสถาน” จะลดการปลกู ไมพ้ มุ่ เพอื่ ลดปญั หาความชืน้ ท่อี าจเกดิ ความเสียหายกบั โบราณสถานในระยะยาว

“คลองคเู มอื งเดมิ ” สภาพเดิมต้นื เขินและรกร้างจะขุดลอกและปรับปรงุ ภูมทิ ศั น์ตามแนวคลองคูเมอื งและผันนํ้าเขา้ มา
ภายในคลองคูเมอื งเดิมเพือ่ ใหเ้ กดิ ความสวยงามและร่มร่ืน สามารถใช้น้ํามารดตน้ ไมภ้ ายในอทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร
และให้คงสภาพความเปน็ “คลองคเู มอื งเดมิ ” ตามรมิ ตลิ่งจะมกี ารปลกู ไมช้ ายน้าํ เช่น พทุ ธรักษาหรอื กา้ มกุง้ ฯลฯ
เพ่อื ลดการกัดเซาะของหนา้ ดนิ และใหเ้ กิดความร่มรืน่ สวยงาม

จังหวดั พิจติ ร 4-20 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรงุ พืน้ ทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร

รูปที่ 4.4-11 ตัวอยา่ งการปรับปรุงสภาพพนื้ ทท่ี วั่ ไปบริเวณอาคารศาลหลกั เมอื งพจิ ิตรและศาลพอ่ ปพู่ ระยาโคตรบอง

ทศั นยี ภาพมมุ สงู “บรเิ วณศาลหลกั เมอื งพจิ ติ ร” ภายหลงั มกี ารปรบั ปรงุ พ้นื ทใี่ ช้สอยและภมู ทิ ศั นโ์ ดยรอบใหเ้ หมาะสมกับ
สภาพการใชง้ านและมคี วามรม่ รื่นสวยงามมากขึน้

รปู ท่ี 4.4-12 ตวั อย่างการปรบั ปรุงภมู ิทศั นส์ องฝง่ั ถนนหลักภายในพน้ื ที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

การปรับปรงุ ภูมิทัศนแ์ ละตน้ ไมส้ องข้างทางถนนหลกั และมกี ารจัดแบง่ ช่องทางจักรยาน และ
การตดิ ต้ังระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง (ไฟถนน) เพิม่ เติม

จงั หวดั พิจติ ร 4-21 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 4
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรุงพ้ืนท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพจิ ติ ร

รปู ที่ 4.4-13 ตวั อยา่ งการเพม่ิ ถนนย่อยและพนื้ ทพ่ี ักคอยเพือ่ รองรับกจิ กรรมต่างๆ ภายในพน้ื ที่อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร

โคมไฟเสาสงู 6.00 เมตร
(ทกุ ระยะ 10.00 เมตร)

ทางเดนิ เทา้ กว้าง 2.40 เมตร
(บล็อกคอนกรตี )

ทางจกั รยานกว้าง 1.50 เมตร
(แอสฟลั ท์สนี ํา้ ตาลแดง)

สัญลักษณ์แสดงทางจกั รยาน

6.00 เมตร

การปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์และต้นไม้สองขา้ งทางถนนยอ่ ยและมกี ารจดั แบ่งช่องทางจกั รยาน และ
การติดต้ังระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง (ไฟถนน) เพิ่มเตมิ

จังหวัดพิจติ ร 4-22 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรบั ปรงุ พ้นื ทีอ่ ทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร

รูปท่ี 4.4-14 ตัวอยา่ งการเพมิ่ พ้ืนท่พี กั คอยและเส้นทางจักรยานภายในพืน้ ท่ีอทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร

ซุม้ ระแนง ขนาด 2.50x6.00 เมตร ม้านัง่ สนาม ช่องจอดจกั รยาน
ทางจักรยานกวา้ ง 1.50 เมตร direction sign

(แอสฟลั ท์สนี ้ําตาลแดง)

ถงั ขยะมลู ฝอย

ทางเดนิ เท้ากว้าง 2.40 เมตร
(บล็อกคอนกรีต)

direction sign

มา้ น่งั สนาม ช่องจอดจักรยาน ถังขยะ (แยกขยะ)

การเพิม่ จดุ พกั คอยในทกุ ๆ ระยะ 400-500 เมตร มีขนาดพน้ื ทไ่ี มเ่ กนิ 100 ตารางเมตรเช่อื มต่อกับถนนรองทเี่ ปน็
ทางเดินและทางจกั รยานเพื่อเป็นพ้นื ทน่ี งั่ พกั ผอ่ น จดุ จอดจกั รยาน จดุ ท้ิงขยะ และการติดตง้ั direction sign

และแผน่ ป้ายขอ้ มลู ต่างๆ ในพนื้ ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร

จังหวัดพิจติ ร 4-23 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจติ ร การศึกษาและออกแบบปรบั ปรงุ พืน้ ทอี่ ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร

รูปท่ี 4.4-15 ตัวอย่างการปรับปรงุ พนื้ ทแ่ี ละภมู ิทัศนร์ ิมฝง่ั คลองคูเมอื งเดมิ รูปแบบท่ี 1

ม้านง่ั สนาม ซ้มุ ระแนง ขนาด 2.50x5.00 เมตร
ระเบยี งไม้ริมคลองคเู มอื งเดมิ

ช่องจอดจกั รยาน

ถังขยะมลู ฝอย

ซมุ้ ระแนง ขนาด 2.50x5.00 เมตร
ระเบียงไมร้ ิมคลองคเู มอื งเดิม

มา้ นัง่ สนาม

ทศั นยี ภาพมมุ สงู “ศาลารมิ น้าํ แบบที่ 1” ริมฝงั่ คลองคูเมืองเดิมเพอ่ื ใช้เป็นทีพ่ กั ผ่อนหยอ่ นใจจัดเปน็ พื้นที่นงั่ พกั ผอ่ น
ลานกจิ กรรมขนาดเลก็ พ้ืนทป่ี ระมาณ 60 ตารางเมตร จดุ จอดจกั รยาน จดุ ทง้ิ ขยะ และการติดตัง้ direction sign

และแผ่นปา้ ยขอ้ มลู ตา่ งๆ ในพื้นทอี่ ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ิตร

จงั หวดั พิจิตร 4-24 มหาวทิ ยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การศกึ ษาและออกแบบปรับปรุงพ้นื ทีอ่ ุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร

รปู ที่ 4.4-16 ตวั อยา่ งการปรับปรุงพืน้ ทีร่ มิ ฝ่งั คลองคูเมืองเดมิ รูปแบบท่ี 2

ม้านัง่ สนาม ระเบยี งไม้รมิ คลองคูเมอื งเดมิ

ระเบยี งไม้รมิ คลองคเู มอื งเดิม
มา้ น่ังสนาม

ทัศนียภาพรมิ ฝง่ั คลองคูเมอื งเดมิ “ศาลารมิ น้าํ แบบท่ี 2” เพอ่ื ใชเ้ ป็นทพี่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจและเปน็ พื้นที่น่ังพกั ผอ่ นริมนาํ้
ในพ้ืนท่อี ทุ ยานเมืองเก่าพิจติ ร

จงั หวดั พิจิตร 4-25 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 4
“อทุ ยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจิตร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรงุ พ้ืนทอ่ี ุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร

รปู ท่ี 4.4-17 ตวั อยา่ งรปู แบบ Street Furniture ภายในพน้ื ท่ีอุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

1.70 เมตร
0.90 เมตร

ตวั อย่างรูปแบบอุปกรณ์ประกอบตามแนวถนนท่ใี ช้เป็นรูปแบบมาตรฐาน เชน่ direction Signage
จุดจอดจักรยาน ถุงขยะแบบแยกชนดิ ขยะ และมา้ นง่ั แบบตา่ งๆ ฯลฯ

การใช้ Green Infrastructure ภายในพื้นทอี่ ุทยานเมอื งเกา่ พิจิตรเพอื่ ใหส้ ามารถอยอู่ ยา่ งยงั่ ยนื เปน็ มติ รกับเมือง
และชุมชนและสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ ใช้ Bio swale, Wet Land ในการบาํ บัดนํ้าเสียและ
การออกแบบให้มีพืน้ ทีซ่ ึมนา้ํ มากเทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้

จงั หวดั พิจิตร 4-26 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ บทที่ 4
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การศึกษาและออกแบบปรับปรงุ พนื้ ทอ่ี ุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร

4.4.3 การประมาณราคาค่ากอ่ สร้าง

ที่ปรึกษาได้คํานวณค่าก่อสร้างกลุ่มอาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค
และงานปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแบบรายละเอียดตามผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรและเอกสารประกวด
ราคาและเอกสารประมาณราคาคา่ ก่อสรา้ ง (ปร.1 – ปร.6) ดังรายละเอียดการคํานวณราคาค่าใช้จ่ายด้านต่างๆ ดังสรุปว่า
ราคาค่าใช้จ่ายทั้งหมดตามแบบรายละเอียดตามผังแม่บท (นับรวม Factor F = 1.2037) รวมค่าจ้างที่ปรึกษางานบริหาร
และควบคุมงานก่อสร้าง (2.50% = 3.710 ล้านบาท) ดังแสดงในตารางที่ 4.4-1 คิดเป็นเงินรวม 166,950,000 ล้านบาท
(หน่ึงรอ้ ยหกสบิ หกลา้ นเกา้ แสนห้าหมน่ื บาทถ้วน)

4.4.4 แผนการดาํ เนนิ งาน

ท่ีปรกึ ษาได้กาํ หนดระยะเวลาการก่อสร้างและปรับปรุงกลุ่มอาคารสิ่งปลูกสร้างฯ พร้อมส่ิงอํานวยความสะดวก
ระบบสาธารณูปโภคและงานปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแบบรายละเอียดตามผังแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
และเอกสารประกวดราคาเป็นเวลาไม่เกนิ 12 เดอื นดงั แสดงในรูปที่ 4.4-18 สรุปไดด้ ังน้ี

1) งานขุดลอกสระนา้ํ และปรับปรุงคเู มอื งจะใช้เวลาไมเ่ กนิ 6 เดอื น (ปที ี่ 1–เดอื นท่ี 1-6)
2) งานรื้อยา้ ยและปรับปรงุ อาคารศาลหลกั เมอื งพิจติ รและศาลพ่อปู่พระยาโคตรบอง ขนาด 1 ช้ัน (รวมชั้น

ใตด้ นิ 1 ช้นั ) จะใชเ้ วลาไมเ่ กิน 12 เดือน (ปีท่ี 1–เดือนที่ 1-12)
3) งานร้ือย้ายและก่อสร้างอาคารสํานักงานและส่วนจัดนิทรรศการ (พื้นที่ใช้สอย 1,040 ตร.ม.) อาคาร

จําหน่ายธปู เทยี น (พ้ืนที่ใช้สอย 73.78 ตร.ม.) อาคารจําหน่ายสินค้าชุมชน (พ้ืนที่ 39.78 ตร.ม.) อาคาร
ศาลาพักนักท่องเที่ยว (พื้นที่ใช้สอย 34 ตร.ม.) และอาคารห้องนํ้าบริการนักท่องเที่ยว (พื้นที่ใช้สอย 12
ตร.ม./หลงั ) จํานวน 2 แห่ง ฯลฯ จะใช้เวลาไมเ่ กนิ 12 เดอื น (ปีที่ 1–เดอื นที่ 1-12)
4) งานร้ือย้ายและก่อสร้างส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่า
พจิ ติ รจะใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 12 เดือน (ปีท่ี 1–เดอื นที่ 1-12)
5) งานปรับปรงุ ภมู ทิ ัศนใ์ นพ้นื ทีอ่ ุทยานเมอื งเก่าพจิ ิตร จะใช้เวลาไม่เกิน 12 เดือน (ปีท่ี 1–เดือนท่ี 1-12)
6) งานก่อสร้างลานจอดรถยนตร์ ะดับดิน 2 แห่ง จะใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 6 เดอื น (ปที ี่ 1–เดอื นท่ี 1-6)

จังหวัดพิจิตร 4-27 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 4
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การศกึ ษาและออกแบบปรบั ปรงุ พน้ื ทีอ่ ุทยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร

ตารางที่ 4.4-1
สรุปผลการประมาณราคาคา่ ก่อสร้าง งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว

ทางประวัติศาสตร์ “อทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ติ ร” จังหวดั พิจิตร

ลําดบั ที่ รายการ ประมาณการราคาค่าก่อสร้าง (บาท)

สว่ นท่ี 1 ค่างานต้นทุนประกอบด้วย

กลุม่ งานที่ 1

- งานอาคารศาลหลกั เมืองและศาลพ่อปพู่ ระยาโคตรบอง 33,076,030.80

- งานอาคารสํานกั งานและส่วนจัดนิทรรศการ 25,036,960.00

- งานอาคารจาํ หน่ายธูปเทียน 1,245,982.48

- งานอาคารจาํ หนา่ ยสนิ ค้าชุมชน 1,178,113.04

- งานอาคารศาลาพักนักทอ่ งเทยี่ ว 855,087.66

- งานอาคารห้องน้ําบริการนกั ท่องเทีย่ ว 3,176,983.55

กล่มุ งานท่ี 2

- งานสิง่ อาํ นวยความสะดวกและระบบสาธารณปู โภค 43,921,054.31

- งานถนนคอนกรตี 13,821,589.48

- งานขดุ และปรบั ปรงุ สระนาํ้ คูเมือง 2,758,478.33

- งานปรบั ปรงุ ภูมิทศั นภ์ ายในพน้ื ที่อุทยานเมืองเกา่ 23,344,815.75

สว่ นท่ี 2 งานครุภณั ฑจ์ ดั ซ้อื หรือสั่งซอื้

- ครภุ ณั ฑง์ านเฟอรน์ เิ จอรล์ อยตวั -

- ครภุ ณั ฑ์งานระบบโสตทัศนปู กรณ์ -

ส่วนที่ 3 ค่าใชจ้ า่ ยพเิ ศษตามข้อกําหนด -

- ค่าจ้างที่ปรกึ ษางานบริหารและควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง 2.50% 3,710,377.39

- ค่าเผื่อเหลอื เผื่อขาด 10% 14,841,509.54

รวมค่ากอ่ สร้างทง้ั โครงการ/งานกอ่ สรา้ ง 166,966,982.33

สรปุ ราคากลาง 166,950,000.00

ตวั หนงั สอื หนึ่งรอ้ ยหกสบิ หกลา้ นเก้าแสนหา้ หม่ืนบาทถว้ น

ที่มา: อา้ งองิ จากเอกสารประกวดราคาและเอกสารประมาณราคาค่ากอ่ สรา้ ง (ปร.1 – ปร.6),
งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ “อุทยานเมอื งเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจติ ร, พฤศจกิ ายน 2560

จงั หวัดพิจิตร 4-28 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

จังหวัดพิจิตร รปู ท่ี 4.4-18 แผนงานการก่อสรา้ งและปรบั ปรงุ กลุ่มอาคารสิ่งปลูกสรา้ งพรอ้ มส่งิ อาํ นวยความสะดวกระบบสาธารณูปโภคและงานปรับปรงุ ภูมิทัศนใ์ นพ้ืนทอี่ ทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางประวัติศาสตร์
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร
ลําดบั ท่ี รายการ เดือนที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1 งานขุดลอกสระนํ้าและปรับปรุงคูเมือง

2 งานรื้อย้ายและปรับปรุงอาคารศาลหลกั เมืองและศาลพอ่ ปพู่ ระยาโครตบอง

3 งานร้ือย้ายและก่อสร้างอาคารสาํ นักงานและส่วนจัดนิทรรศการ

4 งานรื้อย้ายและกอ่ สร้างอาคารจาํ หน่ายธูปเทยี น

5 งานรื้อย้ายและกอ่ สร้างอาคารจําหน่ายสินคา้ ชมุ ชน

6 งานรื้อย้ายและกอ่ สร้างอาคารศาลาพักนักท่องเท่ียว

7 งานร้ือย้ายและก่อสร้างอาคารหอ้ งนาํ้ บริการนักทอ่ งเท่ียว 2 แห่ง

8 งานร้ือย้ายและกอ่ สร้างส่ิงอาํ นวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคตา่ งๆ

4-29 มหาวิทยาลยั มหิดล 9 งานปรับปรุงภูมิทศั น์ในพนื้ ที่อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร

10 งานกอ่ สร้างลานจอดรถระดับดิน 2 แห่ง

ท่มี า: อ้างองิ จากรายละเอยี ดและปรมิ าณงานในเอกสารประกวดราคา, งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ศิ าสตร์ “อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ติ ร” จังหวดั พิจิตร, พฤศจกิ ายน 2560

บทที่ 4
การศึกษาและออกแบบปรับปรุงพนื้ ทอ่ี ทุ ยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร

บทท่ี 5
การวิเคราะหค์ วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ

ดา้ นเศรษฐศาสตร์

บทที่ 5
การวเิ คราะหค์ วามคุ้มค่าในการลงทนุ ดา้ นเศรษฐศาสตร์

5.1 คํานาํ

การวิเคราะห์ประเมินผลโครงการทงั้ ดา้ นการเงินและเศรษฐศาสตร์จะเป็นข้ันตอนการตรวจสอบความเป็นไปได้
หรือความเหมาะสมของโครงการว่า โครงการที่มีความเป็นไปได้เชิงวิศวกรรมท่ีได้มีการศึกษาและตรวจสอบมาแล้วจะมี
ความเหมาะสมหรือความเป็นไปได้ทางการเงินและเศรษฐศาสตร์หรือไม่ จําเป็นต้องประเมินผลให้เกิดความมั่นใจว่าการ
ลงทุนหรือนําทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่มาใช้ในการพัฒนาโครงการก่อให้เกิดผลตอบแทนต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม
ในภาพรวมสูงสุดหรือคุ้มกับค่าเสียโอกาสของทรัพยากรต่างๆ ท่ีจะนํามาใช้ในการพัฒนาโครงการ การประเมินค่าใช้จ่าย
และผลประโยชน์จะทําใหท้ ราบว่าการลงทุนในโครงการมีค่าใช้จ่ายคิดเป็นมูลค่าเท่าใดและให้ผลตอบแทนเป็นมูลค่าเท่าใด
เพ่ือนํามาใช้ประกอบการตัดสินใจว่าสมควรจะลงทุนในการพัฒนาโครงการน้ันๆ หรือไม่ หรือจะปรับเปล่ียนองค์ประกอบ
ของโครงการอยา่ งไรใหเ้ หมาะสม จงึ จะให้อตั ราผลตอบแทนสงู สดุ บรรลุตามวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษาฯ

ชว่ งระยะเวลาท่ผี ่านมาการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทยจะมงุ่ เน้นใชท้ รัพยากรธรรมชาตเิ ปน็ ปัจจัยการผลิต
สําคัญโดยผ่านกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่และได้ก่อให้เกิดผลกระทบระดับรุนแรงต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มในทิศทางทเี่ สื่อมโทรมลง เป็นทีน่ า่ สงั เกตวา่ หลักการสร้างความยง่ั ยนื ในการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมมีมานานแล้ว โดยเฉพาะประเด็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเสริมสร้างสภาพให้เกิดข้ึนใหม่ได้ยกตัวอย่าง
เชน่ ทรัพยากรการทอ่ งเท่ยี ว ทรพั ยากรประมงและทรพั ยากรป่าไม้ ฯลฯ จงึ มีขอ้ เสนอแนะการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอย่าง
ย่งั ยนื ว่าหากจาํ นวนท่ีนํามาใชใ้ นแตล่ ะปีมพี อดีกบั จาํ นวนทท่ี รัพยากรน้ันๆ จะเสริมสร้างสภาพข้ึนมาใหม่ได้แล้ว ย่อมไม่ก่อ
ให้เกดิ ผลกระทบต่อทรัพยากรต้นทนุ ทม่ี อี ย่ตู ามธรรมชาติ ทาํ ใหท้ รพั ยากรนั้นๆ มีใชอ้ ยูไ่ ด้ตลอดไปโดยไม่มีวันสญู เสียสภาพ
เม่ือนําทรัพยากรน้ันๆ มาใช้ในปัจจุบัน จํานวนที่เหลืออยู่ของทรัพยากรต้นทุนจะต้องไม่ส่งผลกระทบต่อสวัสดิการหรือ
ความอยดู่ ีกินดีของคนรุน่ ต่อๆ ไปในสงั คมในทิศทางที่ลดลง และสถานภาพปัจจุบนั ไดน้ ําหลักการวิเคราะหค์ วามคุ้มทุนทาง
การเงนิ และเศรษฐศาสตรม์ าประยุกตใ์ ช้เพ่ือประเมนิ มูลคา่ ความคุม้ ทนุ ของการพัฒนาโครงการ

การวิเคราะหค์ วามค้มุ ทุนโครงการดา้ นการเงินและเศรษฐศาสตร์เน่ืองจากการพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่อุทยาน
เมืองเก่าพิจิตรได้พิจารณารวบรวมมูลค่างานก่อสร้าง/ปรับปรุงอาคารสิ่งปลูกสร้างต่างๆ พร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและ
ระบบสาธารณปู โภคทจ่ี าํ เป็นและการปรับปรุงภมู ิทัศน์ภายในพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรจะนํามาใช้เป็นข้อมูลการวิเคราะห์
ประกอบการตัดสินใจในเชิงนโยบายว่าการพัฒนาโครงการจะเกิดผลประโยชน์มากที่สุดหรือก่อให้เกิดต้นทุนในการบริหาร
จดั การทรพั ยากรการท่องเที่ยวต่าํ ที่สุด

5.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา

วัตถุประสงค์เพื่อรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อาจเป็นไปได้ท้ังทางตรงและทางอ้อมมีท้ังประเภทท่ี
คิดเป็นมลู คา่ ได้และคิดเปน็ มลู ค่าไม่ได้ และการประเมนิ ผลโครงการดงั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือพิจารณาคัดเลอื กทางเลอื กในการ
พัฒนาโครงการที่มีความเหมาะสมทางเศรษฐกจิ และการเงนิ และกอ่ ใหเ้ กิดผลประโยชน์สูงสุด

จังหวัดพิจิตร 5-1 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 5
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะหค์ วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ ด้านเศรษฐศาสตร์

5.3 รายละเอยี ดการศึกษาและวิเคราะห์ดา้ นเศรษฐศาสตร์

5.3.1 วธิ ีการศึกษา

การศึกษาและวิเคราะห์ด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์ของโครงการจะได้พิจารณาเปรียบเทียบต้นทุนการใช้
ทรัพยากรและผลประโยชน์ท่ีจะได้รับกรณีมีโครงการและกรณีไม่มีโครงการเพ่ือประเมินผลประโยชน์ส่วนเพ่ิมที่จะเกิดแก่
สังคมโดยภาพรวม โดยใชว้ ิธกี ารวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บกระแสคดิ ลดมูลคา่ ของการใช้ทรัพยากรและกระแสคิดลดมูลค่าของ
ผลประโยชนท์ เ่ี กิดจากการพฒั นาโครงการ (Discounting Cash Flow Technique) โดยการขจัดความแตกตา่ งด้านมูลค่า
ของเงินตามกาลเวลาออกไป

1) การวเิ คราะห์ต้นทนุ และผลประโยชน์ (Cost Benefit Analysis) เพื่อหาคา่ EIRR, B/C Ratio และ NPV
จะใชต้ ้นทนุ (Cost) และผลประโยชน์ (Benefit) มดี ังนี้
Cost = Direct Project Cost (Cd) + External Project Cost (Ce)
Benefit = Direct Project Benefit (Bd) + External Project Benefit (Be)
โดย Cd = ต้นทุนทง้ั หมดของโครงการ (บาท)
Bd = ผลประโยชน์ทง้ั หมดของโครงการ (บาท)
Ce = ต้นทุนของการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ งั้ หมดของโครงการ (บาท)
Be = ผลประโยชนข์ องการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ ้ังหมดของโครงการ (บาท)

2) ข้อกําหนดในการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ จะเป็นเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative
Analysis) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิเคราะหต์ วั ช้ีวัดทางเศรษฐศาสตร์จะต้องใช้ข้อมูลด้านต้นทุนโครงการ
(Project Cost) และผลประโยชน์โครงการ (Project Benefit) การวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังกลา่ วจําเป็นต้องมี
ขอ้ กําหนดหรือขอ้ สมมตุ ฐิ านในการวิเคราะหแ์ ละขอ้ กําหนดโดยทัว่ ไปของการวิเคราะหม์ ดี งั น้ี
2.1 การกาํ หนดราคา/มูลค่าเปน็ คงท่ี ณ ปี พ.ศ. 2559
2.2 อายโุ ครงการกาํ หนด 30 ปหี ลังการกอ่ สรา้ งแลว้ เสรจ็ และเปิดใชโ้ ครงการ
2.3 สมั ประสทิ ธิป์ รบั มูลค่าทางการเงนิ เป็นมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ (Conversion Factor; C.F.) จะใช้ค่า
ที่กาํ หนดโดยธนาคารโลกท่ีใช้กับประเทศไทยตามเอกสาร World Bank Staff Working Paper
No.609 (1983) ดังสรุปได้ดงั นี้

รายการ ตวั ปรบั คา่ (Conversion Factor; C.F.)
1. ตวั ปรับคา่ มาตรฐาน 0.92
2. ตัวปรบั คา่ เฉพาะ
2.1 สนิ ค้าบรโิ ภค 0.95
2.2 สนิ คา้ ชน้ั กลาง 0.94
2.3 สนิ ค้าทุน 0.84
2.4 ส่วนเหลอื่ มพอ่ คา้ คนกลาง 0.94
2.5 ไฟฟา้ 0.90
2.6 ปุ๋ยเคมี 0.92

จังหวดั พิจิตร 5-2 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 5
“อทุ ยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวดั พิจิตร การวิเคราะหค์ วามคุ้มคา่ ในการลงทุนดา้ นเศรษฐศาสตร์

รายการ ตัวปรบั ค่า (Conversion Factor; C.F.)

2.7 ยาปราบศัตรูพชื 0.88

2.8 เมล็ดพนั ธ/์ุ ต้นพันธุ์ 0.94

2.9 การก่อสรา้ ง 0.88

2.10 การขนส่ง 0.87

2.11 คา่ แรงงาน 0.92

ทีม่ า: Sadiq Ahmed; Shadow Prices for Economic Appraisal of Project.

An Application to Thailand, World Bank Staff Working Paper. Number 609., 1983

3) การวิเคราะห์ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ เป็นการประเมินความคุ้มค่าของการลงทุนจากงบประมาณ
ของรฐั บาลวา่ ไดใ้ ห้ผลประโยชนแ์ กส่ งั คมโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ทเี่ หมาะสมหรือไม่จะพิจารณาประเมินจาก
คา่ ตัวชีว้ ดั ทางเศรษฐศาสตร์โดยใช้ Discounter Cash Flow Technique ดังสตู รการคาํ นวณดงั นี้
3.1 มลู ค่าปัจจบุ นั ของต้นทนุ (NPV) = PVB – PVC

n

NPV  (Bt  Ct) /(1 r)t
t1

NPV = มลู ค่าปัจจุบนั ของกระแสเงนิ ลงทุนสุทธติ ลอดอายุโครงการ
Bt = มลู ค่าผลประโยชน์ ในปีท่ี t
Ct = มลู ค่าต้นทนุ ในปที ่ี t
r = อตั ราดอกเบี้ย หรอื ค่าเสยี โอกาสของทุน
t = อายุโครงการ มีค่า 1, 2, …, n
3.2 มูลคา่ ปจั จบุ ันของผลประโยชน์ (PVB)

n

PVB  (Bt) /(1 r)t
t 1

3.3 มลู คา่ ปัจจุบันของตน้ ทุน (PVC)

n

PVC  (Ct) /(1 r)t
t 1

3.4 อตั ราผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ (B/C) = PVB/PVC
3.5 อตั ราผลตอบแทนภายในทางเศรษฐกิจ (EIRR)

n

NPV  (Bt Ct)/(1 EIRR)t
t1

3.6 เกณฑ์การประเมนิ ความเหมาะสมโครงการทางเศรษฐกิจโดยทัว่ ไปมีดังนี้
ก) มูลค่าปัจจบุ นั สุทธิ (Net Present Value: NPV>0)
ข) อัตราส่วนผลประโยชนต์ ่อตน้ ทนุ (Benefit Cost Ratio: B/C Ratio>1)
ค) อัตราผลตอบแทนภายในทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ (Economic Internal Rate of
Return: EIRR>อตั ราผลตอบแทนของเงินทุน)

4) การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity Analysis) จะทําการวิเคราะห์เมื่อโครงการมีความเหมาะสม
ทางเศรษฐกิจ กรณีต้นทุนและผลประโยชน์ของโครงการที่เกิดขึ้นตามปกติเป็นกรณีฐาน (Base Case)
การวเิ คราะหค์ วามอ่อนไหวของโครงการเป็นการพิจารณาความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกรณีต้นทุน
ของโครงการเพิ่มขึ้น ผลประโยชน์ของโครงการลดลงหรือท้ังสองกรณีเกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันและ

จังหวดั พิจิตร 5-3 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 5
“อุทยานเมืองเก่าพิจิตร” จังหวัดพิจติ ร การวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทนุ ด้านเศรษฐศาสตร์

การวิเคราะหโ์ ครงการจะพจิ ารณาความเส่ียงสงู สดุ ในสว่ นต้นทุนท่ีเพิ่มข้ึนและผลประโยชน์ท่ีลดลงตํ่าสุด
(worst case) โดยใช้การทดสอบคา่ แปรเปลี่ยน (Switching Value Test: SVT) เพอ่ื วิเคราะห์ดงั น้ี

SVTC = NPV/PVC
SVTB = NPV/PVB
เมอ่ื SVTC = คา่ ความแปรเปล่ยี นของตน้ ทุน
SVTB = คา่ ความแปรเปลยี่ นของผลประโยชน์
PVC = มูลคา่ ปจั จบุ นั ของตน้ ทุนโครงการ
PVB = มูลคา่ ปจั จบุ นั ของผลประโยชนโ์ ครงการ
NPV = มูลคา่ ปัจจบุ นั สทุ ธิ
การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity Analysis) เป็นการพิจารณาการเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกิดขึ้นใน
อนาคตได้คดิ อัตรารอ้ ยละ 5 ของต้นทนุ โครงการและผลประโยชน์ของโครงการจะเพ่ิมข้ึนหรือลดลงโดย
ต้งั สมมุติฐานเป็นกรณีเลวร้ายท่สี ดุ (worst case) ไวว้ า่ ต้นทุนโครงการเพิ่มข้นึ +20 เปอรเ์ ซ็นต์ (+20%)
และผลประโยชน์โครงการลดลง -20 เปอร์เซ็นต์ (-20%)

5.3.2 การวิเคราะห์และประเมินต้นทนุ โครงการ (Project Cost)

การประเมินต้นทุน (Investment Costs) ของการพัฒนาโครงการก่อสร้างและปรับปรุงพ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่า
พจิ ติ รดังแสดงในตารางท่ี 5.3-1 สรุปไดด้ งั น้ี

1) ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและการปรับปรุงอาคารสิ่งปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบ
สาธารณูปโภคที่จําเป็นและการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรรวมเป็นเงินทั้งสิ้น
147.198 ล้านบาท หากแปลงเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจของค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างฯ เท่ากับ 129.534
ลา้ นบาท

2) ค่าใช้จ่ายในการเช่าและติดตั้งอุปกรณ์ WiFi (รวมค่าบริการรายเดือนจํานวน 30 เดือน รวมเป็นเงิน
8.100 ล้านบาท) คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 9.300 ล้านบาท แปลงเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจของค่าใช้จ่ายในการ
เชา่ และติดตงั้ อุปกรณ์ WiFi (รวมค่าบรกิ ารรายเดอื น) เท่ากับ 8.556 ล้านบาท

3) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานและบํารุงรักษา (O&M Costs; Operation and Maintenance Costs) เป็น
ค่าใช้จ่ายประจําปีคิดเป็นร้อยละ 1.00 ของราคาค่าก่อสร้างโครงการ หรือเท่ากับปีละ 1.670 ล้านบาท
แปลงเป็นมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ เทา่ กบั ปีละ 1.533 ลา้ นบาท

4) ค่าลงทุนอื่นๆ ได้แก่ ค่าบริหารและควบคุมงานก่อสร้าง 2.50% ของค่าก่อสร้างโครงการเท่ากับ 3.710
ล้านบาท แปลงเปน็ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ เท่ากบั 3.413 ลา้ นบาท

5) ค่าเผื่อเหลือเผ่ือขาด 10% ของค่าก่อสร้าง/ปรับปรุงโครงการเท่ากับ 14.842 ล้านบาท แปลงเป็นมูลค่า
ทางเศรษฐกจิ เท่ากบั 13.665 ล้านบาท

จังหวดั พิจติ ร 5-4 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์ บทท่ี 5
“อุทยานเมอื งเก่าพิจติ ร” จงั หวัดพิจิตร การวเิ คราะหค์ วามคุม้ คา่ ในการลงทนุ ดา้ นเศรษฐศาสตร์

ตารางที่ 5.3-1
สรุปผลประมาณการราคาคา่ กอ่ สรา้ งอาคารส่ิงกอ่ สร้างพร้อมส่งิ อํานวยความสะดวก ระบบสาธารณปู โภค และ

งานปรับปรุงภูมิทศั น์ งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จังหวดั พิจติ ร

ลาํ ดบั ที่ รายการ ประมาณการราคาค่าก่อสร้าง (บาท)

สว่ นท่ี 1 ค่างานต้นทนุ ประกอบดว้ ย

กลุ่มงานที่ 1

- งานอาคารศาลหลกั เมืองและศาลพอ่ ปพู่ ระยาโคตรบอง 33,076,030.80

- งานอาคารสํานกั งานและสว่ นจัดนทิ รรศการ 25,036,960.00

- งานอาคารจาํ หน่ายธูปเทียน 1,245,982.48

- งานอาคารจําหนา่ ยสนิ คา้ ชุมชน 1,178,113.04

- งานอาคารศาลาพักนักท่องเท่ยี ว 855,087.66

- งานอาคารห้องนา้ํ บริการนกั ท่องเทยี่ ว 3,176,983.55

กลมุ่ งานที่ 2

- งานสิ่งอาํ นวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภค 43,921,054.31

- งานถนนคอนกรตี 13,821,589.48

- งานขดุ และปรับปรงุ สระน้ํา คเู มอื ง 2,758,478.33

- งานปรบั ปรุงภมู ทิ ศั นภ์ ายในพนื้ ที่อุทยานเมอื งเกา่ 23,344,815.75

สว่ นท่ี 2 งานครภุ ัณฑจ์ ดั ซ้อื หรือส่งั ซื้อ

- ครุภัณฑ์งานเฟอรน์ ิเจอร์ลอยตัว -

- ครุภัณฑ์งานระบบโสตทศั นปู กรณ์ -

ส่วนที่ 3 ค่าใช้จ่ายพเิ ศษตามขอ้ กาํ หนด -

- ค่าจ้างทปี่ รึกษางานบริหารและควบคุมงานกอ่ สรา้ ง 2.50% 3,710,377.39

- ค่าเผอ่ื เหลือเผ่ือขาด 10% 14,841,509.54

รวมค่าก่อสร้างท้ังโครงการ/งานกอ่ สรา้ ง 166,966,982.33

สรุป ราคากลาง 166,950,000.00

ตวั หนงั สอื หน่ึงร้อยหกสิบหกล้านเก้าแสนห้าหมน่ื บาทถ้วน

ทีม่ า: อ้างอิงจากเอกสารประกวดราคาและเอกสารประมาณราคาค่ากอ่ สรา้ ง (ปร.1 – ปร.6),
งานจ้างศึกษาและออกแบบคุณลักษณะพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ “อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวดั พิจิตร, พฤศจกิ ายน 2560

จงั หวดั พิจิตร 5-5 มหาวิทยาลัยมหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคุณลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 5
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร การวิเคราะหค์ วามคุ้มคา่ ในการลงทุนดา้ นเศรษฐศาสตร์

5.3.3 การวิเคราะหแ์ ละประเมินผลประโยชน์โครงการ (Project Benefit)

การประเมนิ ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกจิ ของการกอ่ สรา้ งและปรับปรุงพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตร (ได้แก่ อาคาร
ส่ิงปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคที่จําเป็นและการปรับปรุงภูมิทัศน์ ฯลฯ) ได้คํานวณจาก
ผลประโยชน์ด้านการท่องเท่ียวและพักผ่อนหย่อนใจภายในพื้นท่ีจังหวัดพิจิตร หากเปิดใช้พ้ืนท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรจะ
กลายสภาพเป็นแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งพักผ่อนหย่อนใจในระดับท้องถิ่นและระดับต่างถ่ินโดยคาดประมาณว่าจะมี
นกั ทอ่ งเท่ยี วเฉพาะในพ้ืนท่อี ทุ ยานเมืองเกา่ พจิ ิตรคดิ เปน็ สว่ นแบ่งจากการท่องเที่ยวในพ้ืนท่ีจังหวัดพิจิตรไม่เกิน 20% ของ
จํานวนนักท่องเที่ยวท้ังหมดในแต่ละปีดังแสดงในตารางที่ 5.3-2 และคิดเป็นส่วนแบ่งรายได้จากการท่องเที่ยวดังแสดงใน
ตารางท่ี 5.3-3 จําแนกเป็นรายได้จากการจําหน่ายธูปเทียน (คํานวณค่าบริจาคคงเหลือไม่น้อยกว่า 100 บาท/คน/ปี หัก
ต้นทุนแล้ว) รายได้จากค่าเช่าอาคารจําหน่ายสินค้าชุมชน (คํานวณค่าเช่า 200 บาท/ตร.ม./เดือน และจะปรับเพ่ิมข้ึน
10% ทุกๆ 5 ปี) รายได้จากค่าเช่าสถานที่จัดงานเทศกาลฯ (คํานวณค่าเช่าไม่น้อยกว่า 30,000 บาท/ครั้ง และมีผู้เช่าไม่
น้อยกว่า 6 ครั้ง/ปีหรือ 2 เดือน/คร้ัง) และรายได้จากค่าเข้าเย่ียมชมฯ (นักท่องเที่ยวชาวไทย 20 บาท/คน/คร้ัง และ
นักทอ่ งเทย่ี วชาวต่างประเทศ 200 บาท/คน/ครั้ง)

5.3.4 การประเมินความเหมาะสมเชงิ เศรษฐกจิ ของโครงการ

การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์โครงการในข้อ 5.3.2 และข้อ 5.3.3 จะนํามาใช้วิเคราะห์ความเหมาะสม
โครงการเพอื่ หาคา่ ตัวชี้วดั ดา้ นเศรษฐศาสตร์ดงั แสดงในตารางที่ 5.3-4 สรปุ ได้ดังน้ี

รายละเอียด อตั ราคิดลด 8% อตั ราคิดลด 10% อตั ราคดิ ลด 12%
มูลคา่ ปัจจุบันสทุ ธิ (NPV), ลา้ นบาท 129.049 75.147 37.245
อัตราผลประโยชน์ตอ่ ตน้ ทุน (B/C Ratio) 1.98 1.65 1.41
อัตราผลตอบแทนภายในดา้ นเศรษฐศาสตร์ (EIRR) 14.93% 14.93% 14.93%

การประเมนิ ความเหมาะสมโครงการฯ จะมคี วามเหมาะสมเชงิ เศรษฐกจิ โดยพิจารณาจากคา่ อัตราผลตอบแทน
ภายในด้านเศรษฐศาสตร์ (EIRR) ของโครงการ ณ อัตราคิดลด 12% มีค่าเท่ากับ 14.93% คิดเป็นมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)
37.245 ล้านบาท และอัตราผลประโยชน์ตอ่ ตน้ ทุน (B/C Ratio) เทา่ กับ 1.41 แสดงใหเ้ ห็นวา่ การพัฒนาและปรับปรุงพน้ื ท่ี
เมืองเก่าพิจิตร (ได้แก่ อาคารส่ิงปลูกสร้างพร้อมสิ่งอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคที่จําเป็นและการปรับปรุง
ภมู ิทัศน์ ฯลฯ) มีความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจตามเกณฑ์ที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กําหนดอัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของโครงการท่ีมีค่าระหว่างร้อยละ 8-12 เป็นโครงการท่ีมีความเหมาะสมและมี
ความคุ้มคา่ ตอ่ การลงทุน

จงั หวดั พิจติ ร 5-6 มหาวิทยาลยั มหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 5
“อุทยานเมอื งเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะหค์ วามค้มุ ค่าในการลงทนุ ด้านเศรษฐศาสตร์

ตารางท่ี 5.3-2
การคาดคะเนจาํ นวนนกั ทอ่ งเทีย่ วในพื้นท่จี งั หวดั พจิ ิตรและอุทยานเมอื งเกา่ พจิ ิตรในรอบ 30 ปี (พ.ศ. 2560-2589)

จํานวนนกั ท่องเที่ยวใน ประมาณการนกั ท่องเทย่ี วในจังหวัดพจิ ิตร ประมาณการนักท่องเที่ยวในพืน้ ที่อทุ ยานเมอื งเกา่ พจิ ิตร

พ.ศ. นักทอ่ งเท่ยี ว อตั ราเพ่มิ ชาวไทย ชาวตา่ งประเทศ อตั ราเพ่มิ ชาวไทย (คน)1/ ชาวต่างประเทศ (คน)1/
(คน) (%) (คน) (คน) (%)
2552
2553 244,109 245,809 2,458 49,162 492
2554
2555 280,494 14.91 283,005 2,830 15.13 56,601 566
2556
2557 325,543 16.06 320,201 3,202 13.14 64,040 640
2558
2559 352,106 8.16 357,397 3,574 11.62 71,479 715
2560
2561 407,679 15.78 394,593 3,946 10.41 78,919 789
2562
2563 422,856 3.72 431,789 4,318 9.43 86,358 864
2564
2565 805,398 90.47 468,985 4,690 8.61 93,797 938
2566
2567 807,553 0.27 506,181 5,062 7.93 101,236 1,012
2568
2569 543,377 5,434 7.35 108,675 1,087
2570
2571 580,573 5,806 6.85 116,115 1,161
2572
2573 617,769 6,178 6.41 123,554 1,236
2574
2575 654,965 6,550 6.02 130,993 1,310
2576
2577 692,161 6,922 5.68 138,432 1,384
2578
2579 729,357 7,294 5.37 145,871 1,459
2580
2581 766,553 7,666 5.10 153,311 1,533
2582
2583 803,749 8,037 4.85 160,750 1,607
2584
2585 840,945 8,409 4.63 168,189 1,682
2586
2587 878,141 8,781 4.42 175,628 1,756
2588
2589 915,337 9,153 4.24 183,067 1,831
หมายเหต:ุ
952,533 9,525 4.06 190,507 1,905

989,729 9,897 3.90 197,946 1,979

1,026,925 10,269 3.76 205,385 2,054

1,064,121 10,641 3.62 212,824 2,128

1,101,317 11,013 3.50 220,263 2,203

1,138,513 11,385 3.38 227,703 2,277

1,175,709 11,757 3.27 235,142 2,351

1,212,905 12,129 3.16 242,581 2,426

1,250,101 12,501 3.07 250,020 2,500

1,287,297 12,873 2.98 257,459 2,575

1,324,493 13,245 2.89 264,899 2,649

1,361,689 13,617 2.81 272,338 2,723

1,398,885 13,989 2.73 279,777 2,798

1,436,081 14,361 2.66 287,216 2,872

1,473,277 14,733 2.59 294,655 2,947

1,510,473 15,105 2.52 302,095 3,021

1,547,669 15,477 2.46 309,534 3,095

1,584,865 15,849 2.40 316,973 3,170

1,622,061 16,221 2.35 324,412 3,244

1/ นักท่องเท่ยี วชาวไทยคดิ 20% ของนักท่องเทย่ี วในพ้ืนทจ่ี งั หวัดพจิ ติ รและนักทอ่ งเท่ียวชาวตา่ งประเทศคดิ 1% ของนกั ท่องเท่ียวชาวไทย

จังหวดั พิจติ ร 5-7 มหาวิทยาลัยมหิดล

งานจา้ งศกึ ษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทยี่ วทางประวัตศิ าสตร์ บทท่ี 5
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จังหวัดพิจิตร การวิเคราะห์ความคุ้มคา่ ในการลงทนุ ดา้ นเศรษฐศาสตร์

ตารางที่ 5.3-3 ประมาณการรายไดใ้ นพื้นที่อทุ ยานเมืองเก่าพจิ ิตร จงั หวัดพิจิตร

ประมาณการรายได้ ประมาณการรายได้จากการทอ่ งเทย่ี ว

พ.ศ. ในอดตี พน้ื ท่ีจงั หวดั พจิ ติ ร พื้นท่ีอุทยานเมอื งเก่าพจิ ติ ร
รายได้ อัตราเพมิ่
รายได้ อัตราเพิม่ ค่าจําหนา่ ยธปู เทียน คา่ เชา่ อาคารจาํ หน่าย ค่าเช่าสถานท่ฯี ค่าเข้าเยีย่ มชม

(ลา้ นบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) สนิ ค้าชุมชน (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท)

2552 281.70 281.44

2553 319.54 13.43 299.51 6.42

2554 445.37 39.38 451.05 50.60

2555 551.19 23.76 602.59 33.60

2556 597.65 8.43 754.13 25.15

2557 619.05 3.58 905.67 20.09

2558 1,277.33 106.34 1,057.21 16.73

2559 1,334.92 4.51 1,208.75 14.33

2560 1,360.29 12.54

2561 1,511.83 11.14

2562 1,663.37 10.02 15.568 0.095 0.180 3.336

2563 1,814.91 9.11 16.505 0.095 0.180 3.537

2564 1,966.45 8.35 17.442 0.095 0.180 3.738

2565 2,117.99 7.71 18.380 0.095 0.180 3.939

2566 2,269.53 7.15 19.317 0.095 0.180 4.139

2567 2,421.07 6.68 20.254 0.105 0.180 4.340

2568 2,572.61 6.26 21.192 0.105 0.180 4.541

2569 2,724.15 5.89 22.129 0.105 0.180 4.742

2570 2,875.69 5.56 23.066 0.105 0.180 4.943

2571 3,027.23 5.27 24.004 0.105 0.180 5.144

2572 3,178.77 5.01 24.941 0.116 0.180 5.345

2573 3,330.31 4.77 25.879 0.116 0.180 5.545

2574 3,481.85 4.55 26.816 0.116 0.180 5.746

2575 3,633.39 4.35 27.753 0.116 0.180 5.947

2576 3,784.93 4.17 28.691 0.116 0.180 6.148

2577 3,936.47 4.00 29.628 0.127 0.180 6.349

2578 4,088.01 3.85 30.565 0.127 0.180 6.550

2579 4,239.55 3.71 31.503 0.127 0.180 6.751

2580 4,391.09 3.57 32.440 0.127 0.180 6.951

2581 4,542.63 3.45 33.377 0.127 0.180 7.152

2582 4,694.17 3.34 34.315 0.140 0.180 7.353

2583 4,845.71 3.23 35.252 0.140 0.180 7.554

2584 4,997.25 3.13 36.189 0.140 0.180 7.755

2585 5,148.79 3.03 37.127 0.140 0.180 7.956

2586 5,300.33 2.94 38.064 0.140 0.180 8.157

2587 5,451.87 2.86 39.001 0.154 0.180 8.357

2588 5,603.41 2.78 39.939 0.154 0.180 8.558

2589 5,754.95 2.70 40.876 0.154 0.180 8.759

จงั หวดั พิจติ ร 5-8 มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางประวตั ิศาสตร์
“อุทยานเมอื งเก่าพิจิตร” จงั หวดั พิจิตร

ตาราง
การประเมินความเหมาะสมเชงิ เศรษฐกิจในการพฒั นาพืน้ ทอ่ี

ปีท่ี ค่าก่อสร้าง คา่ เช่าและตดิ ตัง้ อปุ กรณ์ WiFi ค่าลงทนุ (ล้านบาท) คา่ บํารงุ รักษา (1%) รว
ค่าบริหารและควบคมุ งาน (2.5%) คา่ เผอ่ื เหลอื เผ่ือขาด 10%
1 129.534 1.104 1.533
3.413 13.655 1.533
1.533
2 0.248 1.533
1.533
3 0.248 1.533
1.533
4 0.248 1.533
1.533
5 0.248 1.533
1.533
6 0.248 1.533
1.533
7 0.248 1.533
1.533
8 0.248 1.533
1.533
9 0.248 1.533
1.533
10 0.248 1.533
1.533
11 0.248 1.533
1.533
12 0.248 1.533
1.533
13 0.248 1.533
1.533
14 0.248 1.533
1.533
15 0.248 1.533
45.995
16 0.248

17 0.248

18 0.248

19 0.248

20 0.248

21 0.248

22 0.248

23 0.248

24 0.248

25 0.248

26 0.248

27 0.248

28 0.248

29 0.248

30 0.248

31 0.248

รวม 129.534 8.556 3.413 13.655

ระดับอัตราคดิ ลด (%) 12.00% 10.00% 8.00%

ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR) 14.93% 14.93% 14.93%

มูลคา่ ปจั จบุ นั สุทธิ (NPV), ล้านบาท 37.245 75.147 129.049

อัตราส่วนผลประโยชนต์ ่อต้นทุน (B/C Ratio) 1.41 1.65 1.98

จังหวดั พิจิตร

บทที่ 5
การวเิ คราะหค์ วามคุ้มคา่ ในการลงทนุ ดา้ นเศรษฐศาสตร์

งที่ 5.3-4
อุทยานเมืองเกา่ พจิ ิตร จงั หวดั พจิ ติ ร (กรณอี ตั ราคิดลด 8-12%)

วมคา่ ใช้จา่ ย ผลประโยชน์ (ล้านบาท) คา่ เขา้ เยย่ี มชมฯ รวมท้ังหมด ผลประโยชน์เพ่ิมสทุ ธิ
คา่ จาํ หนา่ ยธปู เทยี น ค่าเช่าอาคารจาํ หน่ายสนิ ค้าชุมชน คา่ เชา่ สถานทจี่ ัดงานฯ
147.706 3.069 17.645 (ล้านบาท)
1.782 14.322 0.088 0.166 3.254 18.692
1.782 15.185 0.088 0.166 3.439 19.739 -147.706
1.782 16.047 0.088 0.166 3.623 20.786 15.863
1.782 16.909 0.088 0.166 3.808 21.833 16.910
1.782 17.772 0.088 0.166 3.993 22.889 17.958
1.782 18.634 0.097 0.166 4.178 23.936 19.005
1.782 19.496 0.097 0.166 4.363 24.984 20.052
1.782 20.359 0.097 0.166 4.547 26.031 21.108
1.782 21.221 0.097 0.166 4.732 27.078 22.155
1.782 22.084 0.097 0.166 4.917 28.135 23.202
1.782 22.946 0.106 0.166 5.102 29.182 24.249
1.782 23.808 0.106 0.166 5.287 30.229 25.296
1.782 24.671 0.106 0.166 5.471 31.276 26.353
1.782 25.533 0.106 0.166 5.656 32.323 27.400
1.782 26.395 0.106 0.166 5.841 33.381 28.447
1.782 27.258 0.117 0.166 6.026 34.428 29.495
1.782 28.120 0.117 0.166 6.211 35.475 30.542
1.782 28.982 0.117 0.166 6.395 36.522 31.599
1.782 29.845 0.117 0.166 6.580 37.570 32.647
1.782 30.707 0.117 0.166 6.765 38.628 33.694
1.782 31.569 0.129 0.166 6.950 39.676 34.741
1.782 32.432 0.129 0.166 7.134 40.723 35.788
1.782 33.294 0.129 0.166 7.319 41.770 36.847
1.782 34.156 0.129 0.166 7.504 42.817 37.894
1.782 35.019 0.129 0.166 7.689 43.877 38.941
1.782 35.881 0.141 0.166 7.874 44.924 39.988
1.782 36.744 0.141 0.166 8.058 45.971 41.035
1.782 37.606 0.141 0.166 8.243 47.018 42.095
1.782 38.468 0.141 0.166 8.428 48.066 43.143
1.782 39.331 0.141 0.166 172.456 985.606 44.190
45.237
201.153 804.794 3.388 4.968 46.284

784.453

5-9 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจ้างศึกษาและออกแบบคณุ ลกั ษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 5
“อุทยานเมืองเกา่ พิจิตร” จงั หวัดพิจติ ร การวิเคราะหค์ วามค้มุ ค่าในการลงทุนด้านเศรษฐศาสตร์

5.3.5 การวเิ คราะหค์ วามอ่อนไหวของโครงการ (Sensitivity Analysis)

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการฯ จะเป็นการพิจารณาความเส่ียงที่อาจเกิดขึ้นในสภาพอนาคตกรณี
ต้นทุนโครงการเพิ่มขน้ึ ผลประโยชน์โครงการลดลงหรือทั้งสองกรณเี กิดขน้ึ ในชว่ งเวลาเดียวกนั เพือ่ เป็นข้อมลู ประกอบการ
พจิ ารณาถึงความเส่ียงท่ีจะเกดิ ขึ้นในอนาคตกรณีเลวรา้ ยท่ีสุด (worst case) ดงั สรุปได้

รายละเอียด อัตราคิดลด 12%
กรณฐี าน 12% กรณเี ลวรา้ ยทสี่ ดุ (worst case)

มูลค่าปจั จุบนั สุทธิ (NPV), ล้านบาท 37.245 2.504

อตั ราผลประโยชน์ตอ่ ตน้ ทุน (B/C Ratio) 1.41 1.14

อัตราผลตอบแทนภายในด้านเศรษฐศาสตร์ (EIRR) 14.93% 12.19%

หมายเหต:ุ กรณีเลวรา้ ยทสี่ ดุ (worst case) = ต้นทุนโครงการเพิ่มขน้ึ +10 เปอร์เซน็ ต์ และผลประโยชนโ์ ครงการลดลง -10 เปอร์เซน็ ต์

พิจารณาผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการดังตารางท่ี 5.3-5 จะเห็นได้ว่า หากราคาค่าก่อสร้างและ
ปรับปรุงอาคารสิ่งปลูกสร้างฯ พร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคท่ีจําเป็น และการปรับปรุงภูมิทัศน์
ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรมีต้นทุนโครงการเพ่ิมขึ้น +10% และผลประโยชน์โครงการลดลง -10% ยังมีมูลค่า
ปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value, NPV) มากกว่า 0 อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (B/C Ratio) จะมีค่ามากกว่า 1
และอตั ราผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจ (Economic Internal Rate of Return, EIRR) ยังมีค่าสูงกว่าอัตราคิดลด 12% เมื่อ
ทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนในการก่อสร้างและปรับปรุงอาคารส่ิงปลูกสร้างฯ พร้อมสิ่งอํานวยความสะดวก
และระบบสาธารณูปโภคที่จําเป็นและการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพ้ืนที่อุทยานเมืองเก่าพิจิตรท้ังด้านต้นทุน (STVc) และ
ผลประโยชน์ (STVb) จะเหน็ ได้วา่ ณ อตั ราคดิ ลด 12% (Discount Rate) “การกอ่ สรา้ งและปรับปรุงอาคารส่งิ ปลูกสร้างฯ
พร้อมส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคทจ่ี ําเปน็ และการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตร
ยังมีความเหมาะสมในการลงทนุ และเป็นการพฒั นาโครงการท่ีสามารถเผชิญต่อสภาวะความเสี่ยงและความไม่แน่นอนของ
เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ในสภาพอนาคตทอ่ี าจเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงไดท้ ั้งตน้ ทุนและผลประโยชนไ์ ด้”

5.3.6 การวเิ คราะห์จดุ คมุ้ ทนุ (Break-even Analysis)

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break–even Analysis) ของการก่อสร้างและปรับปรุงส่ิงปลูกสร้างฯ พร้อมสิ่งอํานวย
ความสะดวกและระบบสาธารณูปโภคทจี่ ําเปน็ และการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นท่ีอุทยานเมืองเก่าพิจิตรเป็นการวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนค่าใช้จ่าย–ปริมาณ (จํานวนปี)–ผลประโยชน์ตอบแทน (กําไร) และทําให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายและ
ผลประโยชน์ตอบแทน (กาํ ไร) มีค่าเท่ากันหรือมีค่าเป็นศูนย์ (0) ได้พิจารณาเลือกใช้วิธีกราฟ (graphical approach) เพ่ือ
หาความสัมพันธ์ระหว่างค่าลงทุนสะสม–จํานวนปี–ผลประโยชน์สะสม ได้ข้อสรุปว่า จุดคุ้มทุนของการพัฒนาพ้ืนท่ีอุทยาน
เมืองเก่าพจิ ิตร จงั หวัดพิจติ ร เป็นปที ่ี 8.62 หรอื ใช้เวลา 8 ปี 7 เดือน 13 วนั (ดูรปู ท่ี 5.3-1)

จงั หวดั พิจิตร 5-10 มหาวิทยาลยั มหดิ ล

งานจ้างศกึ ษาและออกแบบคุณลักษณะการพัฒนาแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
“อุทยานเมืองเก่าพิจติ ร” จงั หวดั พิจติ ร

ตาราง
การประเมินความออ่ นไหวกรณีเลวร้ายทส่ี ุด (worst case) ในการพฒั นาพน้ื ท่อี ทุ ยา

ปีท่ี คา่ ก่อสร้าง คา่ เชา่ และตดิ ตั้งอปุ กรณ์ WiFi ค่าลงทุน (ล้านบาท) ค่าบํารงุ รกั ษา (1%) รว
ค่าบรหิ ารและควบคุมงาน (2.5%) คา่ เผือ่ เหลอื เผอื่ ขาด 10%
1.686
1 142.488 1.214 3.755 15.020 1.686
1.686
2 0.273 1.686
1.686
3 0.273 1.686
1.686
4 0.273 1.686
1.686
5 0.273 1.686
1.686
6 0.273 1.686
1.686
7 0.273 1.686
1.686
8 0.273 1.686
1.686
9 0.273 1.686
1.686
10 0.273 1.686
1.686
11 0.273 1.686
1.686
12 0.273 1.686
1.686
13 0.273 1.686
1.686
14 0.273 1.686
1.686
15 0.273 1.686
50.595
16 0.273

17 0.273

18 0.273

19 0.273

20 0.273

21 0.273

22 0.273

23 0.273

24 0.273

25 0.273

26 0.273

27 0.273

28 0.273

29 0.273

30 0.273

31 0.273

รวม 142.488 9.412 3.755 15.020

ระดบั อัตราคิดลด (%) 12.00%

ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR) 12.19%

มูลคา่ ปจั จุบนั สุทธิ (NPV), ลา้ นบาท 2.504

อตั ราส่วนผลประโยชนต์ อ่ ตน้ ทุน (B/C Ratio) 1.14

จงั หวัดพจิ ิตร

บทที่ 5
การวเิ คราะหค์ วามคุ้มค่าในการลงทนุ ด้านเศรษฐศาสตร์

งที่ 5.3-5
านเมอื งเก่าพจิ ิตร จงั หวดั พจิ ิตร (กรณีต้นทุนเพม่ิ +10% และผลประโยชนล์ ดลง -10%)

วมคา่ ใช้จา่ ย ผลประโยชน์ (ลา้ นบาท) คา่ เขา้ เยย่ี มชมฯ รวมทง้ั หมด ผลประโยชน์เพ่ิมสทุ ธิ
คา่ จาํ หน่ายธูปเทียน คา่ เชา่ อาคารจาํ หนา่ ยสนิ คา้ ชมุ ชน คา่ เช่าสถานท่ีจดั งานฯ
162.477 2.762 15.880 (ล้านบาท)
1.960 12.890 0.079 0.149 2.928 16.823
1.960 13.666 0.079 0.149 3.095 17.765 -162.477
1.960 14.442 0.079 0.149 3.261 18.708 13.921
1.960 15.218 0.079 0.149 3.427 19.650 14.863
1.960 15.995 0.079 0.149 3.594 20.600 15.806
1.960 16.771 0.087 0.149 3.760 21.543 16.748
1.960 17.547 0.087 0.149 3.926 22.485 17.690
1.960 18.323 0.087 0.149 4.093 23.428 18.641
1.960 19.099 0.087 0.149 4.259 24.370 19.583
1.960 19.875 0.087 0.149 4.425 25.321 20.526
1.960 20.651 0.096 0.149 4.592 26.264 21.468
1.960 21.427 0.096 0.149 4.758 27.206 22.410
1.960 22.204 0.096 0.149 4.924 28.149 23.362
1.960 22.980 0.096 0.149 5.091 29.091 24.304
1.960 23.756 0.096 0.149 5.257 30.043 25.246
1.960 24.532 0.105 0.149 5.423 30.985 26.189
1.960 25.308 0.105 0.149 5.589 31.928 27.131
1.960 26.084 0.105 0.149 5.756 32.870 28.083
1.960 26.860 0.105 0.149 5.922 33.813 29.026
1.960 27.636 0.105 0.149 6.088 34.766 29.968
1.960 28.412 0.116 0.149 6.255 35.708 30.911
1.960 29.189 0.116 0.149 6.421 36.650 31.853
1.960 29.965 0.116 0.149 6.587 37.593 32.806
1.960 30.741 0.116 0.149 6.754 38.535 33.748
1.960 31.517 0.116 0.149 6.920 39.489 34.691
1.960 32.293 0.127 0.149 7.086 40.432 35.633
1.960 33.069 0.127 0.149 3.895 21.144 36.576
1.960 16.923 0.127 0.199 3.984 21.621 37.530
1.960 17.311 0.127 0.199 4.074 22.098 38.472
1.960 17.699 0.127 0.199 144.906 824.959 19.184
19.661
221.269 672.382 3.050 4.620 20.139

603.690

5-11 มหาวทิ ยาลัยมหิดล

งานจา้ งศึกษาและออกแบบคณุ ลักษณะการพัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวัติศาสตร์ บทท่ี 5
“อุทยานเมืองเกา่ พิจติ ร” จังหวัดพิจิตร การวิเคราะหค์ วามค้มุ ค่าในการลงทุนด้านเศรษฐศาสตร์

รูปท่ี 5.3-1 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างคา่ ลงทุนสะสม–จาํ นวนป–ี ผลประโยชน์สะสมของการกอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ
พนื้ ท่อี ทุ ยานเมอื งเก่าพิจติ ร จงั หวัดพิจิตร

500 ผลประโยชนส์ ะสม 500
ลงทนุ สะสม 400
ผลประโยชน์สะสม

400

่คาลงทุนสะสม ( ้ลานบาท)
ผลประโยชน์สะสม ( ้ลานบาท)
300 300

200 200

ลงทุนสะสม

100 จุดคมุ้ ทนุ (Break–even Analysis) = 8.62 ปี 100

0 0
15 10 15 20 25 30

จังหวดั พิจิตร 5-12 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล


Click to View FlipBook Version