รายวชิ า คณิตศาสตรเ์ พ่มิ เติม 6
รหัสวิชา ค33202
แผนการจดั การเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ ม.6
ประกอบการใช้แบบฝึกทักษะ
ด้วยรูปแบบ SSCS
นายครรชิต แซโ่ ฮ่
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 15
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการใช้แบบฝึกทักษะด้วยรูปแบบ
SSCS กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค 33202 ชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในสาระสถิติและความน่าจะเป็น ตัวชี้วัด ม. 6/1 หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่
เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงเอกรูป การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปกติ และนาไปใช้ใน
การแก้ปัญหา ท่ีสอดคล้องกับผลการเรียนรูและสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551
ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้น้ีได้ยึดผลการเรียนรูและสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 และดาเนินการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษา เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ มีการวัดผลและประเมินผลท่ีหลากหลายวิธีการ เน้นการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงท่ี
ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อ
มงุ่ เน้นให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง มคี วามสุขจากการเรยี นรู้ นอกจากน้ีการจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้น้ี
ได้นาแนวคิดของการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS มาใช้ ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิด
ทักษะกระบวน การในการแก้ปัญหา ซึ่งมีขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้ 4 ข้ันตอน คือ ข้ันท่ี 1 Search:
S ขน้ั สบื เสาะคน้ หาความรู้ ข้ันที่ 2 Solve: S ข้ันการแก้ปัญหา ข้ันท่ี 3 Create: C ข้ันสร้างความรู้ และ
ขน้ั ท่ี 4 Share: S ข้ันอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น
อน่ึงแผนการจัดการเรียนรู้น้ี สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์
ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ การเตรียมการสอน และการดาเนินการจดั การเรยี นรู้ ให้เป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอนได้ตรงตามจุดประสงค์ และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 นอกจากน้ีแล้วยังช่วยเสริมสร้างลักษณะนิสัยในการเรียนรู้
ของนักเรียน ส่งเสริมสมรรถภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ และช่วยยกระดับ
มาตรฐานดา้ นวิชาการใหส้ ูงข้นึ อกี ด้วย
ขอขอบคณุ ท่านผู้อานวยการโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ คณะครูกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ท่ีให้ความกรุณาและแรงสนับสนุนเป็นอย่างดี และ
ขอขอบคุณคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลาที่ได้ให้
คาปรึกษาแนะนา ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างย่ิง และท่ีสาคัญได้รับกาลังใจจากบิดา-มารดา ตลอดจนครู-
อาจารย์ ท่ปี ระสิทธิประสาทวชิ า ซ่งึ ทาให้แผนการจัดการเรยี นรู้สาเรจ็ เรียบร้อยดว้ ยดี
หวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครู ผู้เรียน และผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน
เปน็ อยา่ งดียิ่ง
ครรชิต แซโ่ ฮ่
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ
รายวชิ า คณิตศาสตร์เพม่ิ เติม 6
รหสั วชิ า ค33202
แผนการจดั การเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ ม.6
ประกอบการใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ
ด้วยรูปแบบ SSCS
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
0
เรอ่ื ง การปฐมนิเทศ
นายครรชติ แซโ่ ฮ่
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ
โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลา
สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 15
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 0 เรือ่ ง การปฐมนิเทศ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 0 เร่อื ง การปฐมนิเทศ
รายวชิ า คณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 6 รหสั วิชา ค33202 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง สถติ ิศาสตรแ์ ละขอ้ มูล เวลาท่ใี ช้ในการจดั การเรยี นรู้ 1 คาบ
มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ัด
-
จดุ เน้นการพฒั นาผู้เรยี น
แสวงหาความร้เู พื่อการแกป้ ัญหา
ใช้เทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นรู้
มที กั ษะการคดิ ขน้ั สงู
มที ักษะชวี ิต
มที กั ษะการสอ่ื สารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามชว่ งวัย
สาระสาคญั (ความเข้าใจทค่ี งทน)
การปฐมนิเทศเป็นการสรา้ งความเขา้ ใจอันดตี ่อกันระหว่างครูผ้สู อนและผู้เรียน เป็นการตกลงใน
เบื้องตน้ ก่อนทจี่ ะเรมิ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ทาใหค้ รูผ้สู อนไดร้ ูจ้ กั ผู้เรียนดีย่ิงขึ้น ทราบความต้องการ
ความรู้สกึ และทศั นคตทิ ี่มีต่อวชิ าที่เรียน ในขณะเดียวกันครูผู้สอนต้องแจ้งให้ผู้เรียนรู้ถึงจุดประสงค์การ
เรียนรู้ รู้แหล่งการเรียนรู้ และรู้เกณฑ์การวัดและประเมินผลเพ่ือให้ผู้เรียนได้เตรียมพร้อมและเข้าใจถึง
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตระหนักถึงความสาคัญที่ต้องเรียนรู้คณิตศาสตร์ จนผู้เรียนเห็น
คณุ คา่ ความสาคัญ และความจาเป็นที่จะต้องเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
สาระการเรียนรู้
ด้านความรูค้ วามสามารถ (K)
ผเู้ รยี นมีความรูค้ วามเข้าใจในคาอธิบายรายวิชา มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด จุดประสงค์
การเรียนรู้ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้รายวิชา
คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ 6 รหสั วชิ า ค33202
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ผเู้ รยี นมีความสามารถใน
1) การแกป้ ัญหา
2) การใหเ้ หตผุ ล
3) การส่อื สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
4) การเช่อื มโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
5) ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 0 เรอ่ื ง การปฐมนเิ ทศ 2
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผู้เรียนมี
1) การทางานเปน็ ระบบ รอบคอบ
2) ระเบียบวินัย
3) ความรบั ผดิ ชอบ
4) ความเช่อื มั่นในตนเอง
5) ความซ่ือสัตย์
สมรรถนะสาคญั
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคดิ
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สื่อ/แหลง่ เรียนรู้
สอื่ การเรียนรู้
1) ใบความรู้ที่ 0
แหลง่ การเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ ของโรงเรยี น
2) การสืบค้นขอ้ มลู จากอนิ เตอร์เน็ต ไดแ้ ก่
- เวบ็ ไซต์ http://www.google.co.th
- คลงั วีดโี อสื่อคณติ ศาสตร์ http://www.youtube.com
- คลังเอกสารส่ือคณติ ศาสตร์ http://www.scribd.com
หลักฐานการเรยี นรู้
ชิน้ งาน
1) -
ภาระงาน
2) -
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 0 เรอ่ื ง การปฐมนเิ ทศ 3
การวัดและประเมนิ ผล
ด้าน รายการประเมนิ วธิ ีการ เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ความรู้ (K) ตอบคาถามได้
ผู้เรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ 1. ประเมนิ การตอบ คาถาม ถูกต้อง
2. ทักษะ
กระบวนการ คาอธบิ ายรายวชิ า คาถามและมี การผา่ นเกณฑ์ต้อง
(P) ไดร้ ะดบั คุณภาพ
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละ สว่ นรว่ มในการจัด โดยภาพรวมตงั้ แต่
3. คณุ ลกั ษณะ 10 คะแนนขนึ้ ไป
อันพงึ ประสงค์ ตัวชว้ี ดั จดุ ประสงคก์ าร กิจกรรมการเรียนรู้ การผ่านเกณฑต์ ้อง
(A) ได้ระดบั คณุ ภาพ
เรียนรู้ แนวทางการจัด โดยภาพรวมตง้ั แต่
10 คะแนนข้นึ ไป
กจิ กรรมการเรียนรู้ แนว
ทางการวัดและประเมนิ ผล
การเรียนรู้รายวิชา
คณิตศาสตร์เพิ่มเตมิ 6
ค33202
ดูจากแบบสงั เกตพฤตกิ รรม 1. สังเกตจากการตอบ แบบสงั เกต
ผู้เรียนด้านทักษะ คาถามในห้องเรยี น พฤติกรรมผู้เรยี น
กระบวนการ 2. สังเกตพฤติกรรม ด้านทักษะ
ผู้เรยี น กระบวนการ
ดูจากแบบสงั เกตพฤตกิ รรม 1. สังเกตจากการตอบ แบบสังเกต
ผู้เรียนดา้ นคุณลกั ษณะ คาถามในหอ้ งเรยี น พฤติกรรมผู้เรียน
อนั พึงประสงค์ 2. สงั เกตพฤติกรรม ดา้ นคุณลกั ษณะ
ผู้เรียน อนั พึงประสงค์
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 0 เรอื่ ง การปฐมนิเทศ 4
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ เตรียมความพร้อม
1. ครใู ห้ผเู้ รียนนั่งสมาธิ เพื่อรวบรวมสติ สมาธแิ ละเตรยี มความพร้อมในการเรยี น
2. ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับหลักการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยนาค่านิยมหลัก
ของคนไทย 12 ประการมาแทรกเป็นกรณีตัวอย่างตามสถานการณ์ ได้แก่ 1) มีความรักชาติ ศาสนา
พระมหากษตั รยิ ์ 2) ซือ่ สัตย์ เสียสละ อดทน เปน็ ตน้
3. ครูชี้แจงวิธีการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
รูปแบบ SSCS
ขนั้ นา
1. ครผู ู้สอนแนะนาตัวเองตอ่ ผู้เรียน
2. ครูผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบว่า เม่ือเรียนจบการจัดกิจกรรมการ
เรียนรนู้ ้ีแล้วผู้เรยี นมคี วามรูค้ วามเข้าใจในคาอธบิ ายรายวิชา ผลการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ัด จดุ ประสงค์การ
เรียนรู้ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายวิชา
คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 6 รหสั วิชา ค33202
ข้นั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบรรยาย/อภิปราย)
1. ครูถามความคิดเหน็ ผเู้ รยี นเกีย่ วกบั การเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ ดังน้ี
1.1) ผลการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ในภาคเรียนท่ีผ่านมาเปน็ อย่างไร
1.2) ผเู้ รยี นชอบเรียนวชิ าคณิตศาสตรห์ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
1.3) ผู้เรียนเตรียมตัวในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างไรจึงจะทาให้ผลการเรียน
พัฒนาข้นึ
2. ครูนาอภิปราย เพ่ือแนะนาวธิ ีการเรียนคณิตศาสตร์รายวิชาคณิตศาสตร์เพม่ิ เติม 6 รหสั
วิชา ค33202 ดังน้ี
2.1) ผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในการอภิปราย ซักถาม การทากิจกรรมท้ังกลุ่มและ
รายบคุ คล มคี วามกระตือรอื ร้นในการแสวงหาความรู้
2.2) ผู้เรียนควรศึกษาเพิ่มเติมจากเอกสาร หนงั สอื ตาราต่าง ๆ และอินเตอรเ์ น็ต
2.3) ผู้เรยี นควรมกี ารบนั ทกึ และสรุปเน้ือหาในแต่ละเรอ่ื ง
2.4) ผูเ้ รยี นตอ้ งลงมือปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทค่ี รูมอบหมาย
2.5) ทุกครั้งที่มีกิจกรรมกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มต้องร่วมมือกันวางแผนและทางานจน
สาเร็จ
3. การวัดและการประเมนิ ผลวชิ าคณติ ศาสตร์ รายละเอยี ดดงั น้ี
3.1) อตั ราส่วนคะแนนระหวา่ งภาคเรียน : ปลายภาค 70 : 30 เป็นดงั นี้
3.1.1) คะแนนระหว่างภาคเรียน ประกอบด้วยคะแนนรายจุดประสงค์การ
เรียนรู้ ซ่ึงประเมินทั้ง 3 ด้าน คือด้านความรู้ ด้านทักษะและกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ คิดเป็น 50 คะแนน และคะแนนสอบระหว่างภาคเรียน คิดเป็น 20 คะแนน รวมท้ังหมด 70
คะแนน
3.1.2) คะแนนสอบปลายภาค คิดเปน็ 30 คะแนน
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 0 เร่ือง การปฐมนิเทศ 5
3.2) การประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์เขียน ด้วยเกณฑข์ ้ันต่า
3.3) การประเมินคุณลักษณะต้องผ่านเกณฑ์ข้ันต่าตามท่ีกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตรก์ าหนด
3.4) เกณฑก์ ารให้ระดบั ผลการเรียน
ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนน
4 ดีเย่ียม 80 – 100
3.5 ดีมาก 75 – 79
3 70 – 74
2.5 ดี 65 – 69
2 ดพี อใช้ 60 – 64
1.5 พอใช้ 55 – 59
1 ปานกลาง 50 – 54
0 ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตา่ 0 – 49
ต้องปรบั ปรุง (ตา่ กวา่ เกณฑข์ ั้นตา่ )
3.5) กรณีเวลาเรียนในช้ันเรียนต่ากว่าร้อยละ 80 (น้อยกว่า 64 คาบ หรือขาดเกิน
16 คาบ) ของเวลาเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 6 รหัสวิชา ค33202 จานวน 80 คาบ ผู้เรียน
จะหมดสทิ ธิส์ อบ (มส) และถ้าสง่ งานไมค่ รบจะตอ้ งรอการตัดสิน ผ้เู รยี นจะติด ร
3.6) คะแนนจิตพิสัย โดยเก็บข้อมูลพฤติกรรมของผู้เรียนด้านจิตพิสัยตลอดทั้งภาค
เรียน โดยใช้การบันทึกคะแนนพฤติกรรมในลักษณะแบบมาตราส่วนประเมินค่า (rating scale) 5
ระดับ ดงั นี้
ผลการประเมิน
ท่ี หัวข้อการประเมิน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี ปาน ตอ้ ง
1 0.8 0.6 กลาง ปรับปรงุ
1 ความต้งั ใจเรยี นในห้องเรียน 0.4
2 การตรงต่อเวลาในการเข้าห้องเรยี น คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 0.2
3 การมสี ว่ นร่วมในการเรยี น คะแนน
4 ความมวี นิ ยั ในตนเอง
5 ความรับผิดชอบต่อการเรียน
6 ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรคท์ าง
คณิตศาสตร์
7 ความสามารถทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื
8 ความสามารถในการบรหิ ารและ
จดั การเวลา
9 ความสามารถในการแกส้ ถานการณ์
10 ความสามารถในการตดั สินใจ
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 0 เร่ือง การปฐมนิเทศ 6
4. ครูนาอภิปรายเก่ียวกับเน้ือหารายวิชาคณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 6 รหัสวิชา ค33202 ว่ามี 4
หน่วยการเรยี นรู้ คอื
4.1) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สถิตศิ าสตรแ์ ละข้อมูล
4.2) หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมลู เชิงคุณภาพ
4.3) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง การวเิ คราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชิงปริมาณ
4.4) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความนา่ จะเป็น
5. ช้ีแจงให้ผู้เรียนทราบว่าในชั่วโมงต่อ ๆ ไปอาจมีการทดสอบความรู้เดิมของผู้เรียนก่อน
เรยี น และจะมีการทดสอบหลังเรยี นทกุ ชั่วโมง
6. ผเู้ รยี นทสี่ อบไมถ่ ึงเกณฑ์ของคะแนนสอบตามจุดประสงค์การเรียนรู้ หรือผู้เรียนอื่นท่ีสนใจ
สามารถพัฒนาตนเองด้วยการทากิจกรรมเสริมในข้อเสนอแนะด้วยสื่อต่าง ๆ ได้แก่ แบบฝึกทักษะ
เสริม ใบงานบทเรียนสาเร็จรปู หรอื เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ได้
ขน้ั สรุป
ผ้เู รียนและครูรว่ มกันสรุปเพือ่ ทบทวนในสิง่ ท่ไี ดร้ บั จากการปฐมนิเทศ
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 0 เรอื่ ง การปฐมนเิ ทศ 7
ใบความรู้ที่ การปฐมนเิ ทศ
0
จดุ ประสงค์ ผเู้ รยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจในคาอธบิ ายรายวชิ า มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัด
จุดประสงค์การเรยี นรู้ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เติม 6 รหสั วชิ า ค33202
รายวชิ าคณิตศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ 6 คาอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ค33202
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
80 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
2.0 หน่วยกติ
ศกึ ษาและฝกึ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์อนั ไดแ้ ก่ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล
การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอื่ มโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง
คณติ ศาสตร์ และเชือ่ มโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตรอ์ น่ื ๆ และมีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปนี้
สถิติศาสตร์และข้อมูล ความหมายของสถิติศาสตร์และข้อมูล ได้แก่ สถิติศาสตร์ คาสาคัญ
ในสถติ ิศาสตร์ ประเภทของข้อมลู ได้แก่ การแบง่ ประเภทของข้อมูลตามแหล่งท่ีมาของข้อมูล การแบ่ง
ประเภทของข้อมูลตามระยะเวลาท่ีจัดเก็บ และการแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล
สถติ ิศาสตร์เชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนมุ าน
การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
ด้วยตารางความถี่ ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตาราง
ความถ่ี การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพดว้ ยแผนภาพ
การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
ด้วยตารางความถี่ การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแผนภาพ ค่าวัดทางสถิติ ได้แก่ ค่า
กลางของข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉล่ียเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ค่าวัดการกระจายของข้อมูล
ได้แก่ พิสัย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าวัดตาแหน่งที่ของข้อมูล ได้แก่ ควอไทล์ เดไซล์ และ
เปอร์เซ็นไทล์
ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น ความหมายและชนิดของตัวแปรสุ่ม การแจก
แจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง ได้แก่ การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเน่ือง และการแจกแจง
ทวินาม ความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเน่ือง ได้แก่ การแจกแจงปกติ และการแจกแจงปกติ
มาตรฐาน
การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหา มีทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผลและ
นาประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิด การใช้ทักษะชีวิต กระบวนการ และการใช้เทคโนโลยีท่ีได้ไปใช้
ในชีวิตประจาวันได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังให้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 0 เรือ่ ง การปฐมนิเทศ 8
ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิต
สาธารณะ
การวดั และประเมนิ ผล ใชว้ ธิ ีการหลากหลายตามสภาพเป็นจริง ตามมาตรฐานและตวั ชี้วัดที่
กาหนด
ผลการเรยี นรู้
1. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถติ ใิ นการนาเสนอขอ้ มลู และแปลความหมายของค่าสถิตเิ พ่ือ
ประกอบการตัดสินใจ
2. หาความนา่ จะเป็นของเหตกุ ารณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุม่ ท่ีมกี ารแจกแจงเอกรปู การแจกแจง
ทวินาม และการแจกแจงปกติ และนาไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 0 เรอ่ื ง การปฐมนิเทศ 9
รายวชิ าคณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเติม 6 หนว่ ยการเรยี นรู้ รหสั วชิ า ค33202
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 4 ช่วั โมง/สัปดาห์
80 ชั่วโมง/ภาคเรียน
2.0 หน่วยกิต
ช้ันเรียน/ภาคเรียน หน่วยการเรยี นรู้/สาระการเรยี นรู้ จานวนชัว่ โมง
ม.6
1. สถติ ิศาสตรแ์ ละข้อมลู 10
ภาคเรยี นท่ี 2 1.1 สถติ ศิ าสตร์
1.2 คาสาคัญในสถิตศิ าสตร์ 10
1.3 ประเภทของขอ้ มูล 30
- การแบง่ ประเภทของข้อมูลตามแหลง่ ทม่ี าของข้อมูล
- การแบง่ ประเภทของข้อมลู ตามระยะเวลาทีจ่ ัดเก็บ 30
- การแบ่งประเภทของขอ้ มลู ตามลกั ษณะของขอ้ มูล 80
1.4 สถิติศาสตร์เชงิ พรรณนาและสถิตศิ าสตร์เชงิ อนมุ าน
2. การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
2.1 การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพดว้ ย
ตารางความถี่
- การวเิ คราะห์ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ
- การนาเสนอขอ้ มูลเชงิ คุณภาพด้วยตารางความถ่ี
2.2 การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพด้วยแผนภาพ
3. การวเิ คราะห์และนาเสนอขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ
3.1 การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มลู เชิงปริมาณดว้ ย
ตารางความถ่ี
3.2 การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มูลเชิงปรมิ าณด้วยแผนภาพ
3.3 ค่าวดั ทางสถติ ิ
- คา่ กลางของขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี เลขคณติ มัธยฐาน
และฐานนิยม
- คา่ วดั การกระจายของขอ้ มูล ได้แก่ พสิ ยั และ
ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
- ค่าวัดตาแหนง่ ทีข่ องขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ควอไทล์ และเปอรเ์ ซน็ ไทล์
4. ตัวแปรส่มุ และการแจกแจงความน่าจะเปน็
4.1 ความหมายและชนดิ ของตวั แปรสมุ่
4.2 การแจกแจงความนา่ จะเป็นของตวั แปรสมุ่ ไม่ต่อเนอื่ ง
- การแจกแจงเอกรปู มาตอ่ เนือ่ ง
- การแจกแจงทวินาม
4.3 ความน่าจะเป็นของตวั แปรสุ่มตอ่ เนอื่ ง
- การแจกแจงปกติ
- การแจกแจงปกติมาตรฐาน
รวม
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 0 เร่ือง การปฐมนิเทศ 10
การวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
รายวชิ าคณิตศาสตร์เพ่มิ เติม 6 รหสั วิชา ค33202 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด จดุ ประสงค์การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สถิติศาสตรแ์ ละข้อมูล 1. บอกความหมายและประโยชน์ของ
สถติ ศิ าสตร์ พร้อมท้ังสามารถอธิบาย
1.1 สถติ ิศาสตร์ สาระท่ี ๓ สถิติและความน่าจะเปน็ ได้วา่ การนาเสนอข้อมลู ท่ีพบเหน็ ใน
ชีวิตประจาวัน มคี วามน่าเชอื่ ถือมาก
1.2 คาสาคญั ในสถิติศาสตร์ มาตรฐาน ค ๓.๑ นอ้ ยเพียงใดก่อให้เกิดความเข้าใจ
คลาดเคลอื่ นหรือไม่
1.3 ประเภทของข้อมลู เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้
2. ระบุประชากร ตวั อย่าง ตัวแปร
1.4 สถิตศิ าสตร์เชิงพรรณนาและ ความร้ทู างสถติ ิในการแก้ปญั หา ข้อมูล พารามิเตอร์ และค่าสถิติจาก
สถานการณ์ทีก่ าหนด
สถติ ศิ าสตร์เชงิ อนุมาน ตวั ช้ีวดั
3. จาแนกประเภทของข้อมูลตาม
เข้าใจและใช้ความรทู้ างสถติ ิในการนา แหล่งท่มี าของขอ้ มลู ระยะเวลาท่ี
จัดเกบ็ หรือลกั ษณะของข้อมูล
เสนอขอ้ มลู และแปลความหมายของ
4. ระบุได้ว่าสถานการณท์ ี่กาหนดใช้
ค่าสถิตเิ พ่ือประกอบการตดั สินใจ วิธกี ารของสถิติศาสตร์เชิงพรรณนา
หรอื สถิติศาสตรเ์ ชงิ อนมุ าน
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ือง การวเิ คราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคณุ ภาพ
1. สามารถวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอข้อมลู
2.1 การวเิ คราะห์และนาเสนอ สาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความน่าจะเป็น เชงิ คุณภาพดว้ ยตารางความถี่และ
แผนภาพ(แผนภมู ิรปู ภาพ แผนภูมริ ปู
ข้อมลู เชิงคุณภาพดว้ ยตาราง มาตรฐาน ค ๓.๑ วงกลม และแผนภูมแิ ทง่ ) พร้อมท้งั
สามารถสรุปผลทไ่ี ด้จากการนาเสนอ
ความถ่ี เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ ข้อมลู ด้วยตารางความถ่ีและแผนภาพ
แบบต่าง ๆ
2.2 การวิเคราะห์และนาเสนอ ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา
ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพด้วย ตัวช้ีวัด
แผนภาพ เขา้ ใจและใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการนา
เสนอขอ้ มูล และแปลความหมายของ
ค่าสถิตเิ พอ่ื ประกอบการตดั สินใจ
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 0 เรอ่ื ง การปฐมนิเทศ 11
สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด จุดประสงค์การเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง การวเิ คราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงปรมิ าณ 1. สามารถวิเคราะหแ์ ละนาเสนอข้อมลู
เชิงปรมิ าณด้วยตารางความถี่และ
3.1 การวิเคราะห์และนาเสนอ สาระท่ี ๓ สถิติและความนา่ จะเปน็ แผนภาพ (ฮสิ โทแกรม แผนภาพจุด
แผนภาพลาต้นและใบ แผนภาพกล่อง
ข้อมูลเชิงปรมิ าณดว้ ยตาราง มาตรฐาน ค ๓.๑ และแผนภาพการกระจาย) พร้อมท้ัง
สามารถสรปุ ผลท่ีได้จากการนาเสนอ
ความถ่ี เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ ขอ้ มูลด้วยตารางความถี่และแผนภาพ
แบบต่าง ๆ
3.2 การวิเคราะห์และนาเสนอ ความรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ญั หา
2. หาค่ากลางของขอ้ มูล (คา่ เฉล่ยี เลข
ขอ้ มลู เชิงปริมาณด้วย ตัวชี้วดั คณติ คา่ เฉล่ียเลขคณิตถว่ งนา้ หนัก
มัธยฐาน และฐานนิยม) พร้อมท้งั
แผนภาพ เขา้ ใจและใช้ความรู้ทางสถติ ิในการนา เลอื กใชค้ ่ากลางของข้อมลู ท่เี หมาะสม
เปน็ ตวั แทนของข้อมลู และใช้ค่ากลาง
3.3 ค่าวดั ทางสถิติ เสนอขอ้ มลู และแปลความหมายของ ของข้อมูลในการแก้ปัญหา
ค่าสถิตเิ พื่อประกอบการตดั สินใจ 3. หาคา่ วัดการกระจายสมั บรู ณ์ (พสิ ยั
พิสยั ระหวา่ งควอร์ไทล์ ส่วนเบยี่ งเบน
มาตรฐาน และความแปรปรวน) และ
คา่ วดั การกระจายสัมพัทธ์
(สมั ประสิทธกิ์ ารแปรผนั ) พร้อมท้ัง
เลือกใช้ค่าวดั การกระจายทีเ่ หมาะสม
ในการอธบิ ายการกระจายของขอ้ มูล
และใชค้ ่าวดั การกระจายในการ
แกป้ ญั หา
4. หาคา่ วดั ตาแหนง่ ท่ีของข้อมลู (ควอร์
ไทลแ์ ละเปอรเ์ ซน็ ไทล์) พร้อมทั้งใชค้ ่า
วัดตาแหน่งท่ีของข้อมูลในการ
แก้ปญั หา
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 0 เรอื่ ง การปฐมนเิ ทศ 12
การวัดและการประเมินผลวิชาคณิตศาสตร์
1) อตั ราสว่ นคะแนนระหว่างภาคเรยี น : ปลายภาค 70 : 30 เป็นดงั น้ี
1.1) คะแนนระหวา่ งภาคเรยี น ประกอบดว้ ย
- คะแนนรายจุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงประเมินทั้ง 3 ด้าน คือด้านความรู้
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ และด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คดิ เปน็ 50 คะแนน
- คะแนนสอบระหว่างภาคเรียน คดิ เป็น 20 คะแนน
1.2) คะแนนสอบปลายภาค คิดเป็น 30 คะแนน
2) การประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะหเ์ ขยี น ดว้ ยเกณฑข์ ั้นตา่
3) การประเมินคุณลักษณะต้องผ่านเกณฑ์ข้ันต่าตามที่กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กาหนด
4) เกณฑ์การใหร้ ะดบั ผลการเรียน
ระดับผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนน
4 ดเี ยี่ยม 80 – 100
3.5 ดีมาก 75 – 79
3 70 – 74
2.5 ดี 65 – 69
2 ดีพอใช้ 60 – 64
1.5 พอใช้ 55 – 59
1 ปานกลาง 50 – 54
0 ผา่ นเกณฑข์ ้ันต่า 0 – 49
ตอ้ งปรบั ปรงุ (ต่ากวา่ เกณฑข์ ั้นต่า)
5) เวลาเรียน กรณีเวลาเรียนในช้ันเรียนต่ากว่าร้อยละ 80 (น้อยกว่า 64 คาบ หรือขาดเกิน
16 คาบ) ของเวลาเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค33202 จานวน 80 คาบ ผู้เรียน
จะหมดสิทธิส์ อบ (มส) และถ้าส่งงานไมค่ รบจะต้องรอการตดั สิน ผ้เู รียนจะตดิ ร
6) คะแนนจิตพสิ ัย โดยเก็บขอ้ มูลพฤติกรรมของผู้เรียนด้านจิตพิสัยตลอดท้ังภาคเรียน โดยใช้
การบันทึกคะแนนพฤตกิ รรมในลักษณะแบบมาตราสว่ นประเมินคา่ (rating scale) 5 ระดบั ดังนี้
ผลการประเมิน
ท่ี หวั ข้อการประเมนิ ดเี ยย่ี ม ดีมาก ดี ปาน ตอ้ ง
1 0.8 0.6 กลาง ปรับปรุง
0.4
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 0.2
คะแนน
1 ความต้งั ใจเรียนในห้องเรียน
2 การตรงตอ่ เวลาในการเขา้ ห้องเรียน
3 การมีส่วนรว่ มในการเรียน
4 ความมวี ินยั ในตนเอง
5 ความรบั ผดิ ชอบตอ่ การเรียน
6 ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ทางคณติ ศาสตร์
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 0 เรือ่ ง การปฐมนิเทศ 13
ผลการประเมนิ
ที่ หวั ข้อการประเมนิ ดเี ยี่ยม ดีมาก ดี ปาน ตอ้ ง
1 0.8 0.6 กลาง ปรบั ปรงุ
7 ความสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน 0.4
8 ความสามารถในการบรหิ ารและ คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 0.2
คะแนน
จัดการเวลา
9 ความสามารถในการแก้สถานการณ์
10 ความสามารถในการตดั สินใจ
กาหนดการสอน วชิ า คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 6 รหัสวชิ า ค33202
ท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) นา้ หนัก คะแนน
ปกติ ออนไลน์ คะแนนเก็บ ปลายภาค
1 สถิติศาสตรแ์ ละข้อมูล 28 15 5
1.1 สถิตศิ าสตร์
1.2 คาสาคญั ในสถิติศาสตร์
1.3 ประเภทของข้อมูล
- การแบ่งประเภทของข้อมลู ตามแหลง่ ทมี่ าของข้อมลู
- การแบ่งประเภทของข้อมลู ตามระยะเวลาท่ีจัดเก็บ
- การแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมลู
1.4 สถติ ิศาสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถติ ิศาสตรเ์ ชิงอนุมาน
2 การวเิ คราะห์และนาเสนอขอ้ มลู เชิงคุณภาพ 46 15 5
2.1 การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพดว้ ย
ตารางความถ่ี
- การวเิ คราะห์ข้อมลู เชงิ คุณภาพ
- การนาเสนอข้อมลู เชิงคุณภาพด้วยตารางความถ่ี
2.2 การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอข้อมลู เชิงคณุ ภาพดว้ ย
แผนภาพ
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 0 เรือ่ ง การปฐมนิเทศ 14
ท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน
ปกติ ออนไลน์ คะแนนเกบ็ ปลายภาค
3 การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ 14 6 40 20
3.1 การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณดว้ ย
ตารางความถี่ 18 12 25 10
3.2 การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอข้อมลู เชิงปริมาณดว้ ย
แผนภาพ 40 40 70 30
3.3 คา่ วดั ทางสถิติ
- คา่ กลางของข้อมูล ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ียเลขคณติ
มัธยฐานและฐานนยิ ม
- คา่ วดั การกระจายของข้อมลู ไดแ้ ก่ พิสัยและ
สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
- ค่าวัดตาแหน่งท่ขี องข้อมูล ไดแ้ ก่ควอไทล์และ
เปอรเ์ ซน็ ไทล์
4 ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความนา่ จะเป็น
4.1 ความหมายและชนิดของตัวแปรสุ่ม
4.2 การแจกแจงความน่าจะเป็นของตวั แปรสุ่ม
ไม่ต่อเน่ือง
- การแจกแจงเอกรูปมาต่อเน่ือง
- การแจกแจงทวินาม
4.3 ความนา่ จะเป็นของตัวแปรสมุ่ ต่อเน่ือง
- การแจกแจงปกติ
- การแจกแจงปกตมิ าตรฐาน
รวมตลอดภาคเรียน
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 0 เรือ่ ง การปฐมนเิ ทศ 15
แบบบันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่.........เวลา................ชัว่ โมง/คาบ ภาคเรียนที.่ ...........ปีการศกึ ษา...........
เร่อื ง....................................................................................................................... ..................................
รหสั วิชา...............................ชอ่ื วิชา..................................................................ชั้น..................................
1. จานวนนกั เรยี นท่ีร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้
จานวนนักเรียนทง้ั หมด (คน) จานวนนักเรยี นทข่ี าดเรยี น (คน)
นกั เรียนที่ขาดเรียน (เลขท่ี) หมายเหตุ
2. ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรุง
2.2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
2.3 กิจกรรมการเรยี นรู้ ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรุง
2.4 สือ่ การเรยี นรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรุง
............................................................................................................................. ..............
...........................................................................................................................................
2.5 พฤติกรรม/การมสี ่วนร่วมของผ้เู รียน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............
2.6 ผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม/ใบกจิ กรรม/ใบงาน/แบบฝกึ หัด/การทดสอบกอ่ น – หลงั เรยี น
............................................................................................................................. ..............
................................................................................. ..........................................................
3. ปญั หาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
......................................................................................................................... .........................
............................................................................................................................. .....................
ลงช่ือ……….……………………ครูผู้สอน
(นายครรชิต แซโ่ ฮ่)
ตาแหนง่ ครู อันดบั คศ.2
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 0 เรอ่ื ง การปฐมนเิ ทศ 14
แบบสังเกตพฤตกิ รรมผ้เู รยี นด้านทักษะกระบวนการ
รายวิชา คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ 6 รหัส ค 33202 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
ภาคเรียนที่.................. ปกี ารศกึ ษา...................
คาบที.่ ............... วนั ท…ี่ ……..เดือน………………………..พ.ศ………..........
คาชแ้ี จง ให้ใส่คะแนนระดบั คณุ ภาพลงในชอ่ งทักษะกระบวนการแตล่ ะช่องตามเกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมผู้เรยี นด้านทักษะกระบวนการ สรุปผล
ท่ี ช่ือ – สกลุ รวม การประเมนิ
การ การให้ การสื่อสาร การ การคดิ ริเร่มิ ผ่าน ไม่
แก้ปญั หา เหตผุ ล เชอ่ื มโยง สร้างสรรค์ ผา่ น
การผา่ นเกณฑต์ ้องได้ระดบั คุณภาพโดยรวมตั้งแต่ 10 คะแนนข้นึ ไป
ลงช่ือ……………………………………………..ผปู้ ระเมิน
(……………………………………………...)
วนั ที.่ ...........เดอื น.......................พ. ศ................
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 0 เรอ่ื ง การปฐมนเิ ทศ 15
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนด้านทักษะกระบวนการ
1. การแก้ปญั หา
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาทีป่ รากฏใหเ้ ห็น
4 : ดมี าก ใช้ยุทธวธิ ดี าเนนิ การแก้ปญั หาสาเร็จอย่างมปี ระสิทธภิ าพ อธิบายถึง
เหตผุ ลในการใช้วิธีการดงั กล่าวได้เขา้ ใจชดั เจน
3 : ดี ใชย้ ุทธวิธีดาเนนิ การแก้ปัญหาสาเร็จ แตน่ า่ จะอธบิ ายถึงเหตุผล
ในการใช้วธิ กี ารดงั กล่าวได้ดกี วา่ น้ี
2 : พอใช้ มียุทธวธิ ดี าเนินการแก้ปัญหาสาเรจ็ เพยี งบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตุผล
ในการใช้วิธีการดงั กล่าวไดบ้ างสว่ น
1 : ควรแก้ไข มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เรม่ิ คดิ ว่าทาไมจึงตอ้ งใชว้ ธิ ีการนัน้
แลว้ หยดุ อธิบายต่อไมไ่ ด้ แก้ปัญหาไมส่ าเร็จ
0 : ควรปรบั ปรงุ ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์ข้างตน้ หรือไม่มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปญั หา
2. การใหเ้ หตผุ ล
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการให้เหตผุ ลท่ปี รากฏให้เห็น
4 : ดมี าก มีการอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสนิ ใจอย่างมเี หตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงทถี่ ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ
1 : ควรแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสนิ ใจ
0 : ควรปรับปรงุ ไมม่ ีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
3. การสือ่ สาร การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการส่ือสาร การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนาเสนอทปี่ รากฏให้เห็น
ใช้ภาษาและสญั ลักษณ์ทางคณิตศาสตรท์ ่ีถูกต้อง นาเสนอโดยใชก้ ราฟ
4 : ดมี าก แผนภูมิ หรือตารางแสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอนไดเ้ ป็น
ระบบ กระชับ ชัดเจน และมีความละเอียดสมบูรณ์
ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภมู ิ
3 : ดี หรือตารางแสดงขอ้ มลู ประกอบตามลาดบั ข้นั ตอนได้ถูกตอ้ ง
ขาดรายละเอยี ดทส่ี มบูรณ์
2 : พอใช้ ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ พยายามนาเสนอข้อมูลโดยใช้
กราฟ แผนภูมิ หรอื ตารางแสดงข้อมลู ประกอบชัดเจนบางสว่ น
1 : ควรแกไ้ ข ใช้ภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์อยา่ งง่าย ๆ ไมไ่ ด้ใช้กราฟ
แผนภมู หิ รอื ตารางเลย และการนาเสนอข้อมูลไม่ชัดเจน
0 : ควรปรบั ปรงุ ไม่นาเสนอข้อมลู
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 0 เร่อื ง การปฐมนเิ ทศ 16
4. การเชอ่ื มโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการเชอ่ื มโยงทีป่ รากฏใหเ้ หน็
นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชือ่ มโยงกับ
4 : ดมี าก สาระคณิตศาสตร์ / สาระอื่น / ในชวี ติ ประจาวนั เพ่อื ชว่ ย
ในการแก้ปญั หาหรือประยุกต์ใชไ้ ดอ้ ยา่ งสอดคล้องและเหมาะสม
นาความรู้ หลกั การ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงกบั
3 : ดี สาระคณติ ศาสตร์ / สาระอืน่ / ในชีวติ ประจาวัน เพอ่ื ชว่ ยในการ
แก้ปัญหา หรอื ประยุกต์ใชไ้ ด้บางสว่ น
2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชอื่ มโยงกบั สาระ
คณติ ศาสตร์ ไดบ้ างส่วน
1 : ควรแก้ไข นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชอ่ื มโยงยงั ไม่
เหมาะสม
0 : ควรปรบั ปรุง ไม่มีการเชอื่ มโยงกับสาระอน่ื ใด
5. ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์
คะแนน : ระดบั คุณภาพ ความคดิ ริเริมสร้างสรรค์ทีป่ รากฏให้เหน็
4 : ดมี าก มแี นวคดิ / วิธกี ารแปลกใหม่ท่ีสามารถนาไปปฏบิ ัติได้อย่างถูกต้อง
สมบรู ณ์
3 : ดี มีแนวคิด / วธิ กี ารแปลกใหม่ที่สามารถนาไปปฏิบัติได้ถูกต้องแตน่ าไป
ปฏิบตั แิ ล้วไม่ถูกต้องสมบรู ณ์
2 : พอใช้ มีแนวคดิ / วธิ ีการไม่แปลกใหม่แต่นาไปปฏบิ ัตแิ ลว้ ถูกต้องสมบรู ณ์
1 : ควรแก้ไข มีแนวคดิ / วิธกี ารไมแ่ ปลกใหม่และนาไปปฏบิ ตั ิแลว้ ไม่ถูกต้องสมบูรณ์
0 : ควรปรบั ปรงุ ไม่มผี ลงาน
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 0 เร่อื ง การปฐมนิเทศ 17
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมผ้เู รยี นด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม 6 รหัส ค 33202 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ภาคเรยี นที่.................. ปกี ารศกึ ษา...................
คาบท่ี................ วันท…่ี ……..เดอื น………………………..พ.ศ………..........
คาช้ีแจง ให้ใส่คะแนนระดับคุณภาพลงในช่องคุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละช่องตามเกณฑ์การให้
คะแนน
พฤตกิ รรมผู้เรียนดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สรุปผล
ที่ ช่ือ – สกลุ การทางานเป็น ระเบยี บ ความ ความเชอื่ ม่นั รวม การประเมิน
ระบบรอบคอบ วนิ ยั รับผดิ ชอบ ในตนเอง
ความ ผ่าน ไม่
ซือ่ สตั ย์ ผา่ น
การผ่านเกณฑต์ ้องไดร้ ะดบั คุณภาพโดยรวมต้ังแต่ 10 คะแนนขน้ึ ไป
ลงชอื่ ……………………………………………..ผ้ปู ระเมนิ
(……………………………………………...)
วันท.ี่ ...........เดือน.......................พ. ศ................
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 0 เร่อื ง การปฐมนเิ ทศ 18
เกณฑ์การให้คะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. การทางานเป็นระบบรอบคอบ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น
- มกี ารวางแผนการดาเนนิ งานเป็นระบบ
3 : ดีมาก - การทางานมีครบทุกขัน้ ตอน ตัดขัน้ ตอนท่ไี ม่สาคญั ออก
- จัดเรียงลาดับความสาคัญก่อน – หลงั ถกู ต้องครบถว้ น
- มกี ารวางแผนการดาเนนิ งาน
2 : ดี - การทางานไมค่ รบทกุ ข้นั ตอน และผิดพลาดบา้ ง
- จัดเรียงลาดบั ความสาคญั ก่อน – หลัง ไดเ้ ป็นส่วนใหญ่
- ไมม่ ีการวางแผนการดาเนินงาน
1 : พอใช้ - การทางานไมม่ ีขน้ั ตอน มีความผิดพลาดต้องแก้ไข
- ไม่จดั เรียงลาดบั ความสาคญั
2. ระเบียบวินยั
คะแนน : ระดับคุณภาพ คุณลกั ษณะท่ปี รากฏใหเ้ หน็
3 : ดมี าก - สมุดงาน ชน้ิ งาน สะอาดเรียบร้อย
- ปฏบิ ัตติ นอยใู่ นข้อตกลงที่กาหนดให้รว่ มกนั ทุกคร้ัง
2 : ดี - สมดุ งาน ชนิ้ งาน ส่วนใหญ่สะอาดเรยี บรอ้ ย
- ปฏบิ ตั ิตนอยู่ในข้อตกลงทกี่ าหนดให้รว่ มกนั เป็นสว่ นใหญ่
- สมุดงาน ช้นิ งาน ไม่ค่อยเรียบร้อย
1 : พอใช้ - ปฏบิ ตั ติ นอยูใ่ นข้อตกลงทก่ี าหนดให้รว่ มกันเปน็ บางคร้ัง ตอ้ งอาศัย
การแนะนา
3. ความรบั ผิดชอบ
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ คณุ ลกั ษณะท่ีปรากฏใหเ้ หน็
- ส่งงานก่อนหรอื ตรงกาหนดเวลานัดหมาย
3 : ดีมาก - รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏิบตั ิตนเองจนเปน็ นสิ ัย
เป็นระบบแกผ่ ู้อื่น และแนะนาชักชวนใหผ้ ้อู ่ืนปฏิบัติ
2 : ดี - สง่ งานช้ากว่ากาหนด แต่ได้มีการติดต่อชแ้ี จงผู้สอน มเี หตุผลทรี่ ับฟังได้
- รบั ผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเปน็ นสิ ัย
1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กาหนด
- ปฏบิ ัตงิ านโดยตอ้ งอาศัยการชี้แนะ แนะนา ตักเตือนหรอื ให้กาลงั ใจ
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 0 เรอื่ ง การปฐมนเิ ทศ 19
4. ความเชอื่ ม่ันในตนเอง
คะแนน : ระดับคุณภาพ คณุ ลักษณะท่ีปรากฏใหเ้ หน็
3 : ดีมาก มีแนวคดิ การตดั สนิ ใจในการทางานดว้ ยตนเองทกุ คร้ัง ใหค้ าแนะนา
ผอู้ นื่ ได้
2 : ดี มแี นวคดิ การตดั สินใจในการทางานด้วยตนเองเป็นบางครัง้ แต่ต้องถาม
ปัญหาบางครัง้
1 : พอใช้ ไมม่ แี นวคดิ ของตนเอง ไมก่ ล้าตดั สินใจด้วนตนเอง
5. ความซ่อื สตั ย์
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ คณุ ลักษณะทีป่ รากฏใหเ้ หน็
3 : ดมี าก มแี นวคดิ ในการทางานดว้ ยตนเองทุกคร้งั ไมน่ าผลงานคนอื่นมา
ลอกเลียนแบบ ไมน่ าผลงานผู้อ่นื มาเป็นผลงานของตนเอง
2 : ดี มแี นวคิดในการทางานด้วยตนเองเปน็ บางคร้งั ลอกเลียนแบบงานจาก
คนอ่ืนบางครัง้ ไม่นาผลงานผู้อื่นมาเปน็ ผลงานของตนเอง
1 : พอใช้ ไมม่ ีแนวคิดของตนเอง ทางานทุกครัง้ ต้องลอกเลียนแบบจากงานเพื่อน
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
รายวิชา คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 6
รหัสวชิ า ค33202
แผนการจดั การเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ ม.6
ประกอบการใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
เร่อื ง สถิตศิ าสตร์และขอ้ มลู ด้วยรปู แบบ SSCS
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
1
เรื่อง สถติ ศิ าสตร์
นายครรชิต แซ่โฮ่
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ
โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 15
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง สถติ ศิ าสตร์ 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง สถิติศาสตร์
รายวชิ า คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค33202 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง สถิติศาสตร์และขอ้ มูล เวลาท่ใี ช้ในการจัดการเรยี นรู้ 2 คาบ
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ัด
สาระที่ 3 สถติ ิและความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ิในการแก้ปญั หา
ตวั ชี้วดั เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถติ ใิ นการนา เสนอข้อมูล และแปล
ความหมายของค่าสถติ ิเพือ่ ประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดเน้นการพัฒนาผ้เู รยี น
แสวงหาความรเู้ พ่อื การแกป้ ัญหา
ใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้
ทกั ษะการคิดข้ันสงู
มที กั ษะชีวิต
ทักษะการสอื่ สารอย่างสร้างสรรคต์ ามช่วงวัย
สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทคี่ งทน)
สถิติศาสตร์ (Statistics) หมายถึงวิชาท่ีว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ
สรุปผลจากข้อมลู ที่เกี่ยวขอ้ ง เพือ่ นามาตอบคาถาม อธิบายปรากฏการณ์หรือประเด็นท่สี นใจ
ประโยชน์ของสถิตศิ าสตร์ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น
ดา้ น ตัวอยา่ งการนาไปใชป้ ระโยชน์
การศึกษา รัฐบาลนาข้อมูลเก่ียวกับประชากรก่อนวัยเรียนและวัยเรียน บุคลากรทางการ
ศึกษา จานวนสถานศึกษา และค่าใช้จ่ายในแต่ละระดับการศึกษา มาวิเคราะห์
เพ่ือกาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาการศึกษาและการกระจายโอกาสทาง
การศึกษาใหก้ บั เด็กและเยาวชน
การเกษตร รัฐบาลนาข้อมูลเกี่ยวกับครัวเรือนท่ีทาเกษตร พ้ืนที่การเพาะปลุก ผลผลิต ราคา
สินค้า แหล่งน้าชลประทาน มาวิเคราะห์เพื่อให้คาแนะนาในการวางแผนการ
เพาะปลกู กับเกษตรในฤดูกาลถดั ไปได้
การผลิต การวางแผนผลิตสินค้าออกจาหน่ายควรเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ว่าสินค้าน้ันเป็น
ทตี่ ้องการของตลาดหรือไม่ มีกาลังผลิตเท่าไหร่ ควรจาหน่ายสินค้าท่ีไหนและทา
อยา่ งไรผลผลิตจะมีอยา่ งต่อเน่อื งและไดส้ นิ ค้าทมี่ ีคณุ ภาพ
การควบคมุ การควบคุมคุณภาพสินค้าท่ีผลิตให้มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด โดยกาหนดวิธีการ
คณุ ภาพสินค้า ตามข้นั ตอนของกระบวนการทางสถติ ิศาสตร์ กล่าวคือในขน้ั ตอนการเกบ็ ข้อมูล
ผูบ้ ริโภค การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าสามารถนาสถิติศาสตร์มาใช้ โดยเก็บข้อมูลเก่ียวกับ
สินค้าท่ีต้องการ แล้วนาข้อมูลท่ีได้ไปวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบข้อมูลจากร้าน
คา้ งต่าง ๆ ท่สี ารวจเพือ่ นามาตดั สนิ ใจว่าจะซอ้ื สินค้าน้ันหรอื ไม่
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง สถิติศาสตร์ 2
ด้าน ตวั อยา่ งการนาไปใช้ประโยชน์
การพยากรณ์ การพยากรณ์เก่ียวกับฝนโดยอาศัยข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งใช้ข้อมูลใน
อดีตและปัจจบุ ันตลอดจนวิเคราะหท์ างสถิติศาสตร์เข้ามาช่วย ทาให้สามารถคาด
เดาสถานการณ์ล่วงหน้าได้วา่ ฝนจะตกหนักหรอื ไม่
ชีวิตประจาวัน จดบันทึกรายรับรายจ่ายในแต่ละเดือนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้
จ่ายซึ่งจะช่วยให้สามารถปรับวิธีการใช้จ่ายเงินและควบคุมค่าใช้จ่ายได้อ่ายงมี
ประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขนึ้
สถิติศาสตร์มีความสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันซ่ึงมีข้อมูลมากกมายอยู่
รอบตัวเรา ผู้วิเคราะห์ข้อมูลจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเคร่ืองมือและกระบวนการทาง
สถิตศิ าสตรท์ เ่ี หมาะสมกบั สถานการณ์ตา่ ง ๆ และสารถแปลความหมายโดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย
หรือความเขา้ ใจคลาดเคลื่อนในภายหลงั นอกจากนี้ ผใู้ ชข้ ้อมูลยังตอ้ งมคี วามรู้ทางสถิติศาสตร์ท่ีจาเป็น
เพื่อให้สามารถสังเกตเห็นข้อมูลท่ีเป็นเท็จหรือทาให้เข้าใจผิด และตระหนักถึงข้อมูลท่ีบิดเบือนไปจาก
ความจรงิ รวมทง้ั สามารถวิเคราะห์ได้ว่าค่าสถิติ แผนภูมิ กราฟ หรือการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ มีความ
น่าเชือ่ ถือมากน้อยเพียงใด ก่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจคลาดเคลอ่ื นหรอื ไม่
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติศาสตร์เบ้ืองต้นเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง ท้ังสาหรับผู้นาเสนอ
ขอ้ มูล เพ่ือใหส้ ามารถนาเสนอภาพรวมที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อสังคมและสาหรับผู้ใช้ข้อมูล เพื่อให้
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่พบตามส่ือต่าง ๆ ทั้งสื่อส่ิงพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ได้ ตลอดจน
รเู้ ท่าทนั ส่อื เหลา่ น้ันว่ามคี วามน่าเชื่อถอื เพียงใด หรอื มีจดุ มงุ่ หมายแอบแฝงหรือไม่
สาระการเรยี นรู้ (มาตรฐานการปฏบิ ัตไิ ด้)
ด้านความรู้ (K) ผเู้ รียนสามารถ
1) บอกความหมายและประโยชนข์ องสถิตศิ าสตร์ได้
2) อธิบายได้ว่าการนาเสนอข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน มีความน่าเชื่อถือมากน้อย
เพียงใดกอ่ ให้เกิดความเขา้ ใจคลาดเคล่ือนหรอื ไม่
ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ผู้เรยี นมคี วามสามารถใน
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตผุ ล
3) การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
4) การเช่อื มโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์
5) ความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์
ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ผเู้ รียนมี
1) การทางานเป็นระบบ รอบคอบ
2) ระเบียบวนิ ยั
3) ความรบั ผดิ ชอบ
4) ความเช่อื ม่นั ในตนเอง
5) ความซ่ือสัตย์
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สถติ ศิ าสตร์ 3
สมรรถนะสาคัญ
ความสามารถในการส่ือสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้
สื่อการเรยี นรู้
1) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เลม่ ท่ี 1 เรือ่ ง สถติ ิศาสตรแ์ ละข้อมูล
แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมุดของโรงเรยี น
2) การสบื คน้ ขอ้ มลู จากอินเตอรเ์ น็ต ได้แก่
- เว็บไซต์ http://www.google.co.th
- คลงั วีดีโอสื่อคณติ ศาสตร์ http://www.youtube.com
- คลังเอกสารสื่อคณติ ศาสตร์ http://www.scribd.com
หลักฐานการเรียนรู้
ชนิ้ งาน
1) -
ภาระงาน
1) แบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 เรอื่ ง สถิติศาสตร์
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง สถิติศาสตร์ 4
การวดั ผลและประเมินผลการจดั การเรยี นรู้
ด้าน รายการประเมิน วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑก์ าร
1. ความรู้ (K) ประเมิน
2. ทักษะ ผเู้ รยี นสามารถ 1. ประเมินจากการทา - แบบฝกึ ทักษะ ทาเอกสาร
กระบวนการ
(P) 1) บอกความหมายและ แบบฝึกทกั ษะ แบบฝึกทกั ษะ/
ประโยชนข์ องสถิติศาสตร์ 2. ตรวจเอกสารแบบฝึก ไดถ้ ูกต้องอยา่ ง
ได้ ทักษะ น้อย 70% ของ
2) อธิบายไดว้ ่าการนาเสนอ คะแนนทงั้ หมด
ข้อมูลที่พบเห็นในชวี ติ
ประจาวนั มคี วามน่า
เช่ือถือมากน้อยเพยี งใด
ก่อใหเ้ กิดความเข้าใจ
คลาด เคลอ่ื นหรือไม่
ดูจากแบบสังเกตพฤตกิ รรม 1. สังเกตจากการตอบ แบบสังเกต การผ่านเกณฑ์
พฤติกรรม ตอ้ งได้ระดับ
ผู้เรยี นด้านทักษะ คาถามในห้องเรียน ผู้เรยี น คณุ ภาพโดย
ดา้ นทกั ษะ ภาพรวมต้งั แต่ 10
กระบวนการ 2. สงั เกตพฤติกรรม กระบวนการ คะแนนข้ึนไป
ผู้เรยี น แบบสังเกต การผา่ นเกณฑ์
พฤติกรรม ต้องได้ระดับ
3. คณุ ลักษณะ ดูจากแบบสังเกตพฤตกิ รรม 1. สงั เกตจากการตอบ ผู้เรียน คณุ ภาพโดย
อันพงึ ประสงค์ ผู้เรียนดา้ นคณุ ลกั ษณะ คาถามในหอ้ งเรยี น ด้านคณุ ลกั ษณะ ภาพรวมตัง้ แต่ 10
(A) อนั พึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ คะแนนขนึ้ ไป
2. สงั เกตพฤติกรรม
ผู้เรยี น
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้ตามรปู แบบ SSCS
ข้นั เตรียมความพรอ้ ม
1. ครใู ห้ผเู้ รียนนง่ั สมาธิ เพอ่ื รวบรวมสติ สมาธแิ ละเตรยี มความพร้อมในการเรยี น
2. ผเู้ รยี นและครรู ่วมกนั สนทนาเกย่ี วกับหลักการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยนาค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการมาแทรกเป็นกรณีตัวอย่างตามสถานการณ์ ได้แก่ 1) กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ครูบาอาจารย์ 2) ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เปน็ ตน้
3. ครูชี้แจงวิธีการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
รูปแบบ SSCS
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง สถติ ิศาสตร์ 5
ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน
1. ผ้เู รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ครแู บ่งกล่มุ ผู้เรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยแต่ละกลุ่มมีการคละความสามารถ
ของผ้เู รียน เกง่ ปานกลาง และออ่ น ตามผลการเรยี นที่พจิ ารณาจากการสอบในภาคเรยี นท่ีผ่านมาเป็น
รายบคุ คล เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นได้ช่วยเหลอื กันและแลกเปล่ยี นประสบการณ์ภายในกลุ่ม และให้ผู้เรียนแต่ละ
กลมุ่ ช่วยกนั เลือกประธาน 1 คน เลขานกุ าร 1 คน และผ้รู ว่ มงาน 2 – 3 คน
3. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ของกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามรปู แบบ SSCS ให้ผ้เู รยี นทราบ
ขน้ั กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 1 Search: S (ขน้ั สืบเสาะค้นหาความรู้)
1.1 ผ้เู รยี นและครรู ว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกับความรู้ทางด้านสถิตศิ าสตร์ ดงั นี้
“ข้อมูลท่ีเกิดขึ้นในปจั จุบนั มหี ลายรูปแบบ และสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง
ๆ เช่น ในการดาเนินธุรกิจ ผู้ประกอบการอาจมีความต้องการปรับปรุงคุณภาพของสินค้าท่ีผลิตข้ึน หรือ
หาแนวทางใหม่ ๆ ในการให้บริการแก่ลูกค้า ดังนั้น ผู้ประกอบการจึงต้องมีการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวกับธุรกิจของตน ไม่ว่าจะเป็นการผลิตสินค้า การเก็บรักษาสินค้าและการขนส่งสินค้า การจ้าง
บคุ ลากรในส่วนต่าง ๆ รายรับและรายจ่ายในแต่ละประเภท และอื่น ๆ หากพิจารณาการประกอบกิจการ
ธุรกิจร้านขายเคร่ืองด่ืมและขนมหวาน ผู้ประกอบการจะต้องเก็บข้อมูลปริมาณวัตถุดิบที่ต้องใช้ในการ
ผลิต เช่น เมล็ดกาแฟ นม น้าตาล แป้งสาลี เนย ผลไม้หรือธัญพืชท่ีใช้ในการทาขนม ราคาและเวลาที่ใช้
ในการส่งั ซ้อื วัตถุดบิ แต่ละชนิด แรงงานหรือทรัพยากรอ่ืน ๆ ที่ต้องใช้ในการผลิตเคร่ืองด่ืมและขนมแต่ละ
ชนิด ปริมาณลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการในแต่ละช่วงเวลาของวัน สัปดาห์ เดือน หรือช่วงเทศกาลต่าง ๆ
รวมท้ังระยะเวลาที่ลูกค้าเข้ามาใช้บริการในร้าน นอกจากน้ี ผู้ประกอบการอาจสอบถามความพึงพอใจ
ของลูกค้า โดยเก็บข้อมูลเก่ียวกับเพศ อายุ เคร่ืองด่ืมหรือขนมท่ีลูกค้านิยม ระดับความพึงพอใจต่อการ
ให้บริการของพนักงาน รวมทั้งความเห็นอ่ืน ๆ เกี่ยวกับร้าน แล้วนาข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์และใช้
ประกอบการพิจารณาเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากข้ึน หรือ
ปรับปรุงการให้บริการ การตัดสินใจทางธุรกิจบนพ้ืนฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลดังตัวอย่างข้างต้นเป็น
ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อความสาเร็จของธุรกิจต่าง ๆ ในปัจจุบัน และความรู้ที่อยู่เบ้ืองหลังการวิเคราะห์
ข้อมลู ดังกลา่ วกค็ ือความรู้ทางดา้ นสถติ ิศาสตร์”
1.2 ครใู ห้ผู้เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั ทากจิ กรรมความหมายของสถิติศาสตร์ จากนั้นผู้เรียนและ
ครรู ว่ มกันสรปุ ความหมายของสถิตศิ าสตร์ โดยครคู อยแนะนาจนกว่าผู้เรยี นเข้าใจ ดงั นี้
“สถิติศาสตร์ (Statistics) หมายถึงวิชาท่ีว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ
สรุปผลจากขอ้ มลู ท่เี ก่ียวข้อง เพอื่ นามาตอบคาถาม อธิบายปรากฏการณห์ รือประเด็นทส่ี นใจ”
1.3 ครูตั้งคาถามให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสถิติศาสตร์ที่ว่า “สถิติศาสตร์
เป็นวิชาที่ว่าด้วยเร่ืองอะไร?” (ตอบ ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลจาก
ขอ้ มลู ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เพ่อื นามาตอบคาถาม อธิบายปรากฏการณ์หรือประเดน็ ที่สนใจ)
1.4 ครใู หผ้ ู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ทากิจกรรมประโยชน์ของสถิติศาสตร์ในด้านต่าง ๆ โดยครู
ใช้การถาม-ตอบ แล้วช่วยกันเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุป
ความรู้ตามความเขา้ ใจของตนเอง
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง สถติ ิศาสตร์ 6
1.5 ครูอธิบายเพ่มิ เติมเกี่ยวกับความสาคัญของสถิตศิ าสตร์ ดงั นี้
สถิติศาสตร์มีความสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในปัจจุบันซ่ึงมีข้อมูลมากมายอยู่
รอบตัวเรา ผู้วิเคราะห์ข้อมูลจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือและกระบวนการทาง
สถติ ิศาสตร์ที่เหมาะสมกบั สถานการณ์ตา่ ง ๆ และสารถแปลความหมายโดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย
หรือความเขา้ ใจคลาดเคล่อื นในภายหลัง นอกจากน้ี ผใู้ ช้ข้อมลู ยังตอ้ งมคี วามรู้ทางสถิติศาสตร์ท่ีจาเป็น
เพ่ือให้สามารถสังเกตเห็นข้อมูลท่ีเป็นเท็จหรือทาให้เข้าใจผิด และตระหนักถึงข้อมูลที่บิดเบือนไปจาก
ความจริง รวมทง้ั สามารถวิเคราะห์ได้ว่าค่าสถิติ แผนภูมิ กราฟ หรือการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ มีความ
นา่ เช่อื ถอื มากน้อยเพยี งใด ก่อให้เกดิ ความเขา้ ใจคลาดเคลอ่ื นหรือไม่
1.6 ให้ผู้เรียนพิจารณาตัวอย่างของการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ ว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อย
เพยี งใด กอ่ ให้เกดิ ความเข้าใจคลาดเคลือ่ นหรอื ไม่ แล้วตัง้ คาถามกระตนุ้ ความคดิ ของผ้เู รยี น ดงั น้ี
ตวั อย่างท่ี 1 ในการวเิ คราะห์ผลการสารวจความคิดเห็นของนักเรียนทม่ี ตี ่อการไปโรงเรยี น ดงั นี้
ผลสารวจความคดิ เห็นของนักเรยี นที่มีตอ่ การไปโรงเรยี น
รอ้ ยละ
รสู้ กึ ดี 62.7
ร้สู กึ เฉย ๆ 29.8
รู้สึกไมด่ ี 3.5
เม่ือพิจารณาอย่างผิวเผิน ผลสารวจดังกล่าวอาจดูปกติ แต่ถ้าพิจารณาให้รอบคอบจะพบว่า
ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไม่ได้บอกรายละเอียดในการสารวจ
คาถาม จากตัวอย่างเมื่อพจิ ารณาอย่างผิวเผนิ ผลสารวจดังกล่าวอาจดูปกติ แต่ถ้าพิจารณาให้
รอบคอบจะพบว่า การนาเสนอข้อมูลดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน
ผูเ้ รียนคดิ วา่ เปน็ เพราะเหตุใด
คาตอบ ข้อมูลดังกล่าวไม่ได้บอกรายละเอียดในการสารวจ เช่น จานวนนักเรียนทั้งหมดที่
สารวจ และเมือ่ นาร้อยละของความคิดเห็นทั้งหมดมารวมกันก็ไม่เท่ากับ 100 ดังนั้น
จึงยังไม่สามารถสรุปได้วา่ ข้อมูลดังกล่าวน่าเชอื่ ถือหรอื ไม่)
ตวั อยา่ งท่ี 2 ค่าเฉล่ียเลขคณิตเป็นค่าท่ีมักพบในการรายงานท่ัวไป เช่น บริษัท A รายงานว่า
พนักงานของบริษัทมีเงินเดือนเฉลี่ย 40,000 บาท หลายคนอาจตีความว่า พนักงาน
ส่วนใหญ่ของบริษัท A มีเงินเดือนประมาณ 40,000 บาท แต่เมื่อพิจารณาข้อมูล
เงนิ เดอื นของพนกั งานทั้งหมดตามที่แสดงในตาราง
เงินเดือน (บาท) จานวนพนกั งาน (คน)
15,000 5
20,000 4
22,000 4
25,000 3
40,000 1
91,000 2
120,000 1
180,000 1
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สถติ ศิ าสตร์ 7
จากตารางจะพบว่ามีพนักงานเพียง 1 คนเท่าน้ันที่มีเงินเดือนเท่ากับค่าเฉลี่ย ในขณะที่
พนักงานส่วนใหญ่มีเงินเดือนอยู่ในช่วง 15,000 – 25,000 บาท ซ่ึงเงินเดือนน้อยกว่าค่าเฉล่ียประมาณ
ครง่ึ หน่งึ และมพี นกั งาน 4 คนเทา่ นั้นที่มีเงนิ เดือนเกินคา่ เฉลยี่
คาถาม การนาเสนอข้อมลู ขา้ งตน้ ดว้ ยค่าเฉลย่ี เลขคณิตเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตใุ ด
คาตอบ ไม่เหมาะสมในการอธิบายของตัวอย่างน้ี เพราะข้อมูลเงินเดือนของพนักงานแต่ละ
คนมคี วามแตกตา่ งกันมาก ซงึ่ อาจกอ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจคลาดเคลือ่ นได้ โดยเฉพาะใน
กรณีท่ีขาดความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับสถิตศิ าสตร์)
1.7 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาตัวอย่างการนาเสนอข้อมูลท่ีอาจก่อให้เกิดความเข้าใจ
คลาดเคล่ือนได้ในรูปแบบอ่ืน ๆ เช่น การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิแท่ง หน้า 8 ของแบบฝึกทักษะ
คณติ ศาสตร์ เลม่ ที่ 1 เรอื่ ง สถติ ศิ าสตร์และขอ้ มลู จากน้นั ผเู้ รยี นและครูร่วมกันสรุปการนาเสนอข้อมูล
ที่อาจกอ่ ให้เกดิ ความเข้าใจคลาดเคลอ่ื นได้ โดยครูคอยแนะนาจนกว่าผู้เรียนเข้าใจ ดังนี้ “ความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับสถิติศาสตร์เบื้องต้นเป็นส่ิงจาเป็นอย่างยิ่ง ท้ังสาหรับผู้นาเสนอข้อมูล เพื่อให้สามารถ
นาเสนอภาพรวมที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อสังคมและสาหรับผู้ใช้ข้อมูล เพ่ือให้สามารถวิเคราะห์
ข้อมลู ข่าวสารทีพ่ บตามสอื่ ตา่ ง ๆ ท้ังสอื่ ส่ิงพิมพแ์ ละสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ ตลอดจนรู้เท่าทันสื่อเหล่านั้น
วา่ มีความน่าเชื่อถอื เพยี งใด หรือมจี ุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่”
ขน้ั ท่ี 2 Solve: S (ข้นั การแกป้ ญั หา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการท่ีใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคิดและวธิ ีการทผี่ ู้เรยี นเลือกใชใ้ นการแกป้ ัญหา
2.2 ครใู ห้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนท่ีผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในท่ีสุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลมุ่ ร่วมกนั ทาแบบฝกึ ทกั ษะท่ี 1 เรอ่ื งสถิติศาสตร์ แลว้ ช่วยกนั เฉลยและตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ขน้ั ที่ 3 Create: C (ข้ันสรา้ งความรู้)
3.1 ครใู หผ้ ู้เรียนเรยี บเรยี งข้นั ตอนการแกป้ ัญหาและบนั ทึกความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เรื่องสถิติศาสตร์ และจากการทาแบบฝึกทักษะท่ี 1 เรื่องสถิติศาสตร์ ลงในสมุดโดยใช้ภาษาที่ง่ายต่อ
การเขา้ ใจ สละสลวยในการเขยี นแสดงแนวคดิ และอธิบายคาตอบของผู้เรียน
ข้นั ท่ี 4 Share: S (ขัน้ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น)
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝกึ ทกั ษะ
4.2 ครสู ุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบท่ีแตกต่างจากเพื่อนก็สามารถ
นาวธิ กี ารหรอื แนวคดิ นนั้ มานาเสนอได้อย่างเต็มท่ี
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลที่ได้ที่เพ่ือนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะท่ีร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นน้ัน ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การสอ่ื สารท้ังในดา้ นการฟงั และการพดู ของผู้เรยี นไปพร้อม ๆ กัน
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สถติ ิศาสตร์ 8
ขั้นสรุปบทเรยี น
ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายและประโยชน์ของสถิติศาสตร์ พร้อมท้ังสรุปการ
นาเสนอข้อมูลท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวันว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดก่อให้เกิดความเข้าใจ
คลาดเคล่อื นหรอื ไม่ อย่างไร ดังน้ี
สถิติศาสตร์ (Statistics) หมายถึงวิชาที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ
สรุปผลจากขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื นามาตอบคาถาม อธบิ ายปรากฏการณห์ รอื ประเดน็ ทส่ี นใจ
ประโยชนข์ องสถติ ศิ าสตร์ในด้านตา่ ง ๆ เชน่
ดา้ น ตวั อย่างการนาไปใช้ประโยชน์
การศึกษา รัฐบาลนาข้อมูลเกี่ยวกับประชากรก่อนวัยเรียนและวัยเรียน บุคลากรทางการ
ศึกษา จานวนสถานศึกษา และค่าใช้จ่ายในแต่ละระดับการศึกษา มาวิเคราะห์
เพ่ือกาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาการศึกษาและการกระจายโอกาสทาง
การศกึ ษาใหก้ บั เด็กและเยาวชน
การเกษตร รัฐบาลนาข้อมูลเกี่ยวกับครัวเรือนที่ทาเกษตร พื้นท่ีการเพาะปลุก ผลผลิต ราคา
สินค้า แหล่งน้าชลประทาน มาวิเคราะห์เพื่อให้คาแนะนาในการวางแผนการ
เพาะปลูกกับเกษตรในฤดกู าลถดั ไปได้
การผลิต การวางแผนผลิตสินค้าออกจาหน่ายควรเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ว่าสินค้าน้ันเป็น
ทีต่ อ้ งการของตลาดหรือไม่ มีกาลังผลิตเท่าไหร่ ควรจาหน่ายสินค้าท่ีไหนและทา
อย่างไรผลผลติ จะมอี ย่างตอ่ เนอื่ งและไดส้ นิ คา้ ท่มี ีคุณภาพ
การควบคุม การควบคุมคุณภาพสินค้าท่ีผลิตให้มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด โดยกาหนดวิธีการ
คุณภาพสนิ ค้า ตามขน้ั ตอนของกระบวนการทางสถติ ิศาสตร์ กล่าวคอื ในขั้นตอนการเก็บขอ้ มลู
ผบู้ รโิ ภค การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าสามารถนาสถิติศาสตร์มาใช้ โดยเก็บข้อมูลเก่ียวกับ
สินค้าท่ีต้องการ แล้วนาข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบข้อมูลจากร้าน
ค้างต่าง ๆ ที่สารวจเพอ่ื นามาตัดสนิ ใจว่าจะซือ้ สินค้านัน้ หรือไม่
การพยากรณ์ การพยากรณ์เก่ียวกับฝนโดยอาศัยข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งใช้ข้อมูลใน
อดีตและปจั จุบนั ตลอดจนวิเคราะห์ทางสถิติศาสตรเ์ ข้ามาช่วย ทาให้สามารถคาด
เดาสถานการณล์ ่วงหน้าไดว้ ่าฝนจะตกหนกั หรือไม่
ชวี ิตประจาวัน จดบันทึกรายรับรายจ่ายในแต่ละเดือนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้
จ่ายซึ่งจะช่วยให้สามารถปรับวิธีการใช้จ่ายเงินและควบคุมค่าใช้จ่ายได้อ่ายงมี
ประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ
สถิติศาสตร์มีความสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันซ่ึงมีข้อมูลมากกมายอยู่
รอบตัวเรา ผู้วิเคราะห์ข้อมูลจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเคร่ืองมือและกระบวนการทาง
สถติ ศิ าสตร์ท่เี หมาะสมกบั สถานการณต์ า่ ง ๆ และสารถแปลความหมายโดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย
หรอื ความเข้าใจคลาดเคลอ่ื นในภายหลงั นอกจากนี้ ผใู้ ชข้ อ้ มลู ยงั ต้องมีความรู้ทางสถิติศาสตร์ที่จาเป็น
เพื่อให้สามารถสังเกตเห็นข้อมูลท่ีเป็นเท็จหรือทาให้เข้าใจผิด และตระหนักถึงข้อมูลที่บิดเบือนไปจาก
ความจริง รวมทัง้ สามารถวิเคราะห์ได้ว่าค่าสถิติ แผนภูมิ กราฟ หรือการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ มีความ
นา่ เช่อื ถอื มากนอ้ ยเพียงใด กอ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจคลาดเคล่ือนหรอื ไม่
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สถิติศาสตร์ 9
ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสถิติศาสตร์เบ้ืองต้นเป็นส่ิงจาเป็นอย่างย่ิง ท้ังสาหรับผู้นาเสนอ
ข้อมูล เพอ่ื ใหส้ ามารถนาเสนอภาพรวมท่ีถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อสังคมและสาหรับผู้ใช้ข้อมูล เพ่ือให้
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่พบตามส่ือต่าง ๆ ทั้งส่ือส่ิงพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ ตลอดจน
รเู้ ทา่ ทนั ส่ือเหล่านั้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด หรือมีจุดมงุ่ หมายแอบแฝงหรือไม่
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง สถิตศิ าสตร์ 10
แบบบนั ทึกผลหลังการจดั การเรยี นรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท.่ี ........เวลา................ชั่วโมง/คาบ ภาคเรียนท.ี่ ...........ปีการศึกษา...........
เร่อื ง.........................................................................................................................................................
รหสั วิชา...............................ชอื่ วชิ า...................................... ............................ชั้น..................................
1. จานวนนกั เรยี นทร่ี ่วมกิจกรรมการเรียนรู้ จานวนนกั เรยี นทีข่ าดเรยี น (คน)
จานวนนักเรียนท้งั หมด (คน)
นกั เรยี นทขี่ าดเรียน (เลขที่) หมายเหตุ
2. ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
2.2 ความเหมาะสมของเนอื้ หา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรุง
2.3 กิจกรรมการเรยี นรู้ ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรงุ
2.4 สอ่ื การเรยี นรู้ ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรงุ
............................................................................................................................. ..............
................................................................................................ ...........................................
2.5 พฤติกรรม/การมีส่วนรว่ มของผูเ้ รียน ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรุง
............................................................................................................................ ...............
............................................................................................................................. ..............
2.6 ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม/ใบกิจกรรม/ใบงาน/แบบฝกึ หัด/การทดสอบกอ่ น – หลงั เรยี น
............................................................................................................................... ............
............................................................................................................................. ..............
3. ปญั หาและอุปสรรค
.......................................................................................................................... ........................
.................................................................................................. ................................................
4. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................................ ..................
ลงชอ่ื ……….……………………ครูผ้สู อน
(นายครรชติ แซ่โฮ่)
ตาแหนง่ ครู อันดับ คศ.2
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สถติ ิศาสตร์ 11
แบบสังเกตพฤติกรรมผ้เู รยี นดา้ นทกั ษะกระบวนการ
รายวิชา คณิตศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ 6 รหัสวิชา ค33202 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ภาคเรยี นที่.................. ปีการศึกษา...................
คาบท.่ี ............... วันท…่ี ……..เดือน………………………..พ.ศ………..........
คาชแ้ี จง ใหใ้ ส่คะแนนระดบั คณุ ภาพลงในชอ่ งทักษะกระบวนการแตล่ ะช่องตามเกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมผู้เรยี นดา้ นทกั ษะกระบวนการ สรปุ ผล
ที่ ช่อื – สกุล รวม การประเมนิ
การ การให้ การส่ือสาร การ การคดิ รเิ ริ่ม ผา่ น ไม่
แก้ปัญหา เหตุผล เชอ่ื มโยง สร้างสรรค์ ผา่ น
การผา่ นเกณฑต์ อ้ งได้ระดบั คณุ ภาพโดยรวมต้ังแต่ 10 คะแนนข้นึ ไป
ลงชื่อ……………………………………………..ผู้ประเมิน
(……………………………………………...)
วันท.ี่ ...........เดอื น.......................พ. ศ................
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง สถติ ศิ าสตร์ 12
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนด้านทักษะกระบวนการ
1. การแก้ปญั หา
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาท่ีปรากฏใหเ้ ห็น
4 : ดมี าก ใช้ยทุ ธวธิ ดี าเนนิ การแกป้ ญั หาสาเร็จอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ อธิบายถึง
เหตผุ ลในการใช้วิธีการดังกล่าวได้เขา้ ใจชดั เจน
3 : ดี ใชย้ ุทธวธิ ดี าเนินการแก้ปัญหาสาเร็จ แต่น่าจะอธิบายถงึ เหตุผล
ในการใช้วิธีการดงั กล่าวได้ดกี ว่าน้ี
2 : พอใช้ มียทุ ธวิธดี าเนนิ การแกป้ ัญหาสาเร็จเพยี งบางส่วน อธบิ ายถึงเหตผุ ล
ในการใช้วธิ ีการดงั กล่าวได้บางสว่ น
1 : ควรแก้ไข มรี อ่ งรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เริม่ คิดว่าทาไมจึงต้องใชว้ ธิ กี ารนัน้
แล้วหยดุ อธบิ ายต่อไมไ่ ด้ แก้ปญั หาไม่สาเร็จ
0 : ควรปรบั ปรงุ ทาได้ไมถ่ ึงเกณฑ์ข้างตน้ หรือไมม่ รี ่องรอยการดาเนินการแก้ปญั หา
2. การใหเ้ หตผุ ล
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการให้เหตุผลทป่ี รากฏใหเ้ หน็
4 : ดมี าก มีการอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสนิ ใจอยา่ งมเี หตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงทีถ่ ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไมส่ มเหตุสมผลในการประกอบการตดั สนิ ใจ
1 : ควรแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ
0 : ควรปรับปรงุ ไมม่ ีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
3. การสือ่ สาร การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
และการนาเสนอทป่ี รากฏให้เหน็
ใช้ภาษาและสัญลักษณท์ างคณิตศาสตรท์ ่ีถกู ต้อง นาเสนอโดยใชก้ ราฟ
4 : ดมี าก แผนภูมิ หรือตารางแสดงข้อมูลประกอบตามลาดบั ข้นั ตอนได้เป็น
ระบบ กระชบั ชัดเจน และมีความละเอียดสมบรู ณ์
ใช้ภาษาและสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภมู ิ
3 : ดี หรอื ตารางแสดงขอ้ มลู ประกอบตามลาดับขั้นตอนไดถ้ ูกต้อง
ขาดรายละเอยี ดทส่ี มบูรณ์
2 : พอใช้ ใชภ้ าษาและสัญลักษณท์ างคณติ ศาสตร์ พยายามนาเสนอขอ้ มูลโดยใช้
กราฟ แผนภมู ิ หรอื ตารางแสดงขอ้ มูลประกอบชดั เจนบางสว่ น
1 : ควรแกไ้ ข ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์อยา่ งง่าย ๆ ไมไ่ ด้ใชก้ ราฟ
แผนภูมิหรอื ตารางเลย และการนาเสนอข้อมูลไมช่ ัดเจน
0 : ควรปรบั ปรงุ ไมน่ าเสนอขอ้ มลู
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง สถติ ิศาสตร์ 13
4. การเชอ่ื มโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏใหเ้ หน็
นาความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชอื่ มโยงกับ
4 : ดมี าก สาระคณิตศาสตร์ / สาระอืน่ / ในชวี ติ ประจาวนั เพ่อื ช่วย
ในการแกป้ ัญหาหรือประยกุ ต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสม
นาความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงกบั
3 : ดี สาระคณติ ศาสตร์ / สาระอืน่ / ในชวี ติ ประจาวนั เพ่ือชว่ ยในการ
แก้ปัญหา หรือประยกุ ตใ์ ช้ได้บางส่วน
2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกบั สาระ
คณิตศาสตร์ ไดบ้ างส่วน
1 : ควรแกไ้ ข นาความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงยงั ไม่
เหมาะสม
0 : ควรปรบั ปรงุ ไม่มีการเช่อื มโยงกับสาระอ่นื ใด
5. ความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความคดิ รเิ ริมสร้างสรรคท์ ่ปี รากฏให้เห็น
4 : ดีมาก มแี นวคดิ / วิธีการแปลกใหม่ทีส่ ามารถนาไปปฏบิ ัตไิ ด้อยา่ งถูกต้อง
สมบูรณ์
3 : ดี มีแนวคิด / วธิ ีการแปลกใหม่ทสี่ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ถกู ต้องแตน่ าไป
ปฏบิ ัตแิ ล้วไมถ่ ูกตอ้ งสมบูรณ์
2 : พอใช้ มีแนวคดิ / วิธกี ารไมแ่ ปลกใหมแ่ ตน่ าไปปฏบิ ัตแิ ลว้ ถูกต้องสมบรู ณ์
1 : ควรแกไ้ ข มแี นวคิด / วธิ กี ารไม่แปลกใหม่และนาไปปฏบิ ตั ิแล้วไม่ถูกต้องสมบูรณ์
0 : ควรปรับปรงุ ไม่มผี ลงาน
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สถติ ศิ าสตร์ 14
แบบสงั เกตพฤติกรรมผ้เู รยี นดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
รายวชิ า คณติ ศาสตร์เพ่มิ เตมิ 6 รหสั วชิ า ค33202 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
ภาคเรียนท่ี.................. ปกี ารศึกษา...................
คาบท่ี................ วันท…ี่ ……..เดือน………………………..พ.ศ………..........
คาชแ้ี จง ให้ใส่คะแนนระดับคุณภาพลงในช่องคุณลักษณะอันพึงประสงค์แต่ละช่องตามเกณฑ์การใหค้ ะแนน
พฤติกรรมผู้เรียนดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สรปุ ผล
ที่ ช่ือ – สกลุ การทางานเป็น ระเบยี บ ความ ความเช่อื มน่ั รวม การประเมนิ
ระบบรอบคอบ วนิ ัย รับผดิ ชอบ ในตนเอง
ความ ผ่าน ไม่
ซอื่ สตั ย์ ผา่ น
การผ่านเกณฑ์ต้องไดร้ ะดบั คุณภาพโดยรวมตงั้ แต่ 10 คะแนนขึ้นไป
ลงชื่อ……………………………………………..ผ้ปู ระเมิน
(……………………………………………...)
วนั ท.ี่ ...........เดือน.......................พ. ศ................
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง สถิติศาสตร์ 15
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1. การทางานเป็นระบบรอบคอบ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ คณุ ลักษณะทปี่ รากฏให้เหน็
- มกี ารวางแผนการดาเนนิ งานเปน็ ระบบ
3 : ดมี าก - การทางานมีครบทุกขั้นตอน ตัดขน้ั ตอนทไ่ี ม่สาคญั ออก
- จดั เรยี งลาดบั ความสาคัญก่อน – หลงั ถูกต้องครบถว้ น
- มกี ารวางแผนการดาเนนิ งาน
2 : ดี - การทางานไม่ครบทกุ ข้นั ตอน และผิดพลาดบ้าง
- จดั เรียงลาดับความสาคญั ก่อน – หลงั ไดเ้ ป็นส่วนใหญ่
- ไมม่ ีการวางแผนการดาเนินงาน
1 : พอใช้ - การทางานไมม่ ีข้ันตอน มีความผิดพลาดต้องแกไ้ ข
- ไม่จัดเรยี งลาดับความสาคัญ
2. ระเบยี บวินยั
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ คุณลกั ษณะที่ปรากฏให้เหน็
3 : ดีมาก - สมุดงาน ช้ินงาน สะอาดเรยี บรอ้ ย
- ปฏิบัติตนอยูใ่ นข้อตกลงที่กาหนดให้รว่ มกนั ทุกครง้ั
2 : ดี - สมดุ งาน ชิ้นงาน ส่วนใหญ่สะอาดเรียบร้อย
- ปฏบิ ัตติ นอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้รว่ มกนั เป็นส่วนใหญ่
- สมุดงาน ช้ินงาน ไมค่ ่อยเรียบรอ้ ย
1 : พอใช้ - ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นข้อตกลงทีก่ าหนดให้รว่ มกนั เปน็ บางคร้ัง ต้องอาศยั
การแนะนา
3. ความรับผิดชอบ
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏใหเ้ หน็
- สง่ งานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานดั หมาย
3 : ดีมาก - รับผิดชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏบิ ัติตนเองจนเปน็ นสิ ัย
เป็นระบบแก่ผู้อื่น และแนะนาชักชวนให้ผู้อนื่ ปฏิบตั ิ
2 : ดี - ส่งงานช้ากว่ากาหนด แตไ่ ด้มีการตดิ ต่อชแี้ จงผูส้ อน มีเหตุผลที่รบั ฟงั ได้
- รบั ผดิ ชอบในงานทไ่ี ด้รับมอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเปน็ นิสยั
1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากว่ากาหนด
- ปฏบิ ตั ิงานโดยตอ้ งอาศยั การชแี้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง สถติ ิศาสตร์ 16
4. ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง
คะแนน : ระดับคุณภาพ คณุ ลักษณะท่ีปรากฏใหเ้ หน็
3 : ดีมาก มีแนวคดิ การตัดสนิ ใจในการทางานด้วยตนเองทกุ คร้ัง ใหค้ าแนะนา
ผ้อู ืน่ ได้
2 : ดี มีแนวคดิ การตดั สินใจในการทางานด้วยตนเองเป็นบางครัง้ แต่ต้องถาม
ปัญหาบางคร้งั
1 : พอใช้ ไม่มแี นวคดิ ของตนเอง ไมก่ ล้าตดั สินใจด้วนตนเอง
5. ความซื่อสตั ย์
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ คณุ ลักษณะทีป่ รากฏใหเ้ หน็
3 : ดมี าก มแี นวคดิ ในการทางานดว้ ยตนเองทุกคร้งั ไมน่ าผลงานคนอื่นมา
ลอกเลียนแบบ ไมน่ าผลงานผู้อ่นื มาเป็นผลงานของตนเอง
2 : ดี มแี นวคิดในการทางานด้วยตนเองเปน็ บางคร้ัง ลอกเลียนแบบงานจาก
คนอ่ืนบางครงั้ ไม่นาผลงานผู้อื่นมาเปน็ ผลงานของตนเอง
1 : พอใช้ ไมม่ ีแนวคิดของตนเอง ทางานทุกครัง้ ต้องลอกเลียนแบบจากงานเพื่อน
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
รายวิชา คณิตศาสตร์เพ่มิ เตมิ 6
รหัสวิชา ค33202
แผนการจดั การเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ ม.6
ประกอบการใช้แบบฝกึ ทกั ษะ
เรอื่ ง สถติ ศิ าสตรแ์ ละขอ้ มลู ดว้ ยรูปแบบ SSCS
แผนการจดั การเรียนรู้ที่
2
เรอื่ ง คาสาคัญในสถิตศิ าสตร์
นายครรชิต แซ่โฮ่
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 15
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์
รายวิชา คณติ ศาสตร์เพ่ิมเตมิ 6 รหสั วิชา ค33202 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่ือง สถติ ิศาสตรแ์ ละข้อมูล เวลาทใี่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ 2 คาบ
มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั
สาระที่ 3 สถิติและความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา
ตวั ชี้วดั เข้าใจและใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการนา เสนอข้อมูล และแปล
ความหมายของคา่ สถติ เิ พื่อประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดเน้นการพฒั นาผเู้ รยี น
แสวงหาความรเู้ พื่อการแกป้ ัญหา
ใชเ้ ทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นรู้
ทักษะการคดิ ข้นั สูง
มที ักษะชีวติ
ทักษะการสอ่ื สารอย่างสรา้ งสรรค์ตามช่วงวยั
สาระสาคัญ (ความเข้าใจทค่ี งทน)
ประชากร (Population) หมายถึงกลุ่มของหน่วยท้ังหมดในเรื่องที่สนใจศึกษา หน่วยในท่ีนี้
อาจเป็นคนสัตว์ หรือสง่ิ ของ
ตัวอย่าง (Sample) หมายถึงกลุ่มย่อยของประชากรท่ีถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากร
โดยทวั่ ไปมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือใชต้ ัวอยา่ งในการสรุปผลเก่ียวกบั ลกั ษณะของประชากรที่สนใจ
ตัวแปร (Variable) หมายถงึ ลักษณะบางประการของประชากรหรือตวั อย่างทีส่ นใจศึกษา
ข้อมูล (Data) หมายถึงข้อความจริงเก่ียวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงท่ีสามารถใช้ในการสรุปผลใน
เร่อื งทสี่ นใจศึกษา อาจเปน็ ได้ท้งั ตวั เลขหรือไม่ใช่ตวั เลข หรืออาจหมายถงึ คา่ ของตัวแปรที่สนใจศึกษา
พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึงค่าวัดท่ีแสดงลักษณะของประชากร ซึ่งเป็นค่าคงตัวท่ี
คานวณหรอื ประมวลจากข้อมูลท้งั หมดของประชากร
ค่าสถิติ (Statistic) หมายถึงค่าคงตัวท่ีพิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่ออธิบายลักษณะของตัวอย่างน้ันหรือเพ่ือประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้วนาไปใช้ในการอธิบาย
ลกั ษณะของประชากร
สาระการเรียนรู้ (มาตรฐานการปฏิบตั ไิ ด้)
ดา้ นความรู้ (K) ผู้เรยี นสามารถ
1) ระบุประชากร ตัวอยา่ ง ตวั แปร ข้อมูล พารามิเตอร์ และค่าสถติ ิจากสถานการณ์ท่ี
กาหนดได้
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 2
ด้านทักษะกระบวนการ (P) ผเู้ รยี นมคี วามสามารถใน
1) การแกป้ ัญหา
2) การใหเ้ หตผุ ล
3) การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
4) การเชือ่ มโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์
5) ความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ผู้เรียนมี
1) การทางานเป็นระบบ รอบคอบ
2) ระเบียบวนิ ัย
3) ความรับผดิ ชอบ
4) ความเชือ่ มั่นในตนเอง
5) ความซ่อื สัตย์
สมรรถนะสาคัญ
ความสามารถในการส่ือสาร
ความสามารถในการคดิ
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้
สือ่ การเรียนรู้
1) แบบฝึกทักษะคณติ ศาสตร์ เลม่ ท่ี 1 เร่อื ง สถติ ิศาสตรแ์ ละข้อมูล
แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งสมุดของโรงเรียน
2) การสบื ค้นข้อมูลจากอนิ เตอรเ์ นต็ ไดแ้ ก่
- เวบ็ ไซต์ http://www.google.co.th
- คลงั วีดีโอส่ือคณติ ศาสตร์ http://www.youtube.com
- คลังเอกสารสอื่ คณติ ศาสตร์ http://www.scribd.com
หลกั ฐานการเรียนรู้
ชนิ้ งาน
1) -
ภาระงาน
1) แบบฝึกทกั ษะท่ี 2 เร่อื ง คาสาคัญในสถิติศาสตร์
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 3
การวัดผลและประเมินผลการจดั การเรยี นรู้
ด้าน รายการประเมนิ วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑก์ าร
1. ความรู้ (K) ประเมนิ
ผูเ้ รยี นสามารถ 1. ประเมนิ จากการทา
2. ทักษะ 1) ระบปุ ระชากร ตวั อย่าง แบบฝึกทักษะ - แบบฝึกทกั ษะ ทาเอกสาร
กระบวนการ
(P) ตวั แปร ขอ้ มูล พารา 2. ตรวจเอกสารแบบฝึก แบบฝกึ ทักษะ/
มเิ ตอร์ และคา่ สถติ ิจาก ทักษะ
สถานการณ์ทก่ี าหนดได้ ไดถ้ ูกต้องอยา่ ง
ดูจากแบบสังเกตพฤติกรรม 1. สงั เกตจากการตอบ
ผู้เรยี นดา้ นทักษะ คาถามในห้องเรียน น้อย 70% ของ
กระบวนการ
2. สงั เกตพฤติกรรม คะแนนทั้งหมด
ผู้เรียน
แบบสงั เกต การผ่านเกณฑ์
พฤติกรรม ต้องได้ระดบั
ผู้เรยี น คุณภาพโดย
ดา้ นทักษะ ภาพรวมตั้งแต่ 10
กระบวนการ คะแนนขน้ึ ไป
3. คุณลกั ษณะ ดูจากแบบสังเกตพฤติกรรม 1. สังเกตจากการตอบ แบบสงั เกต การผ่านเกณฑ์
อันพงึ ประสงค์ ผู้เรียนดา้ นคณุ ลักษณะ คาถามในห้องเรียน
(A) อนั พึงประสงค์ พฤติกรรม ต้องได้ระดบั
2. สังเกตพฤติกรรม
ผู้เรยี น ผู้เรยี น คุณภาพโดย
ด้านคณุ ลกั ษณะ ภาพรวมต้ังแต่ 10
อนั พงึ ประสงค์ คะแนนขึน้ ไป
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้ตามรูปแบบ SSCS
ขั้นเตรียมความพรอ้ ม
1. ครใู ห้ผู้เรียนน่ังสมาธิ เพือ่ รวบรวมสติ สมาธิและเตรียมความพรอ้ มในการเรียน
2. ผเู้ รยี นและครรู ว่ มกันสนทนาเก่ยี วกับหลักการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยนาค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการมาแทรกเป็นกรณีตัวอย่างตามสถานการณ์ ได้แก่ 1) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย
2) มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ เป็นตน้
3. ครูช้ีแจงวิธีการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
รปู แบบ SSCS
ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน
1. ครแู บ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยแต่ละกลุ่มมีการคละความสามารถ
ของผู้เรียน เกง่ ปานกลาง และอ่อน ตามผลการเรียนทีพ่ จิ ารณาจากการสอบในภาคเรยี นที่ผ่านมาเป็น
รายบุคคล เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นได้ชว่ ยเหลือกันและแลกเปลยี่ นประสบการณ์ภายในกลุ่ม และให้ผู้เรียนแต่ละ
กลมุ่ ชว่ ยกันเลอื กประธาน 1 คน เลขานุการ 1 คน และผู้รว่ มงาน 2 – 3 คน
2. ครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามรปู แบบ SSCS ใหผ้ ูเ้ รยี นทราบ
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 4
3. ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนา ทบทวนเกี่ยวกับความรู้เดิม เรื่องความหมายและประโยชน์
ของสถิติศาสตร์ พร้อมท้ังสรุปการนาเสนอข้อมูลท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวันว่ามีความน่าเชื่อถือมาก
น้อยเพียงใดก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคล่ือนหรือไม่ อย่างไร โดยครูใช้การถาม-ตอบ แล้วช่วยกัน
ยกตัวอยา่ งและตรวจสอบความเข้าใจ
ขน้ั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขนั้ ที่ 1 Search: S (ขนั้ สบื เสาะค้นหาความรู้)
1.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมคาสาคัญในสถิติศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสืบค้น
หรือค้นคว้าหาคาศัพท์ คาแรกคือ “ประชากร” จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคา
สาคัญในสถิตศิ าสตร์ โดยครคู อยแนะนาจนกวา่ ผู้เรยี นเขา้ ใจ ดงั น้ี
“ประชากร (Population) หมายถึงกลุ่มของหน่วยท้ังหมดในเรื่องท่ีสนใจศึกษา หน่วยในท่ีนี้
อาจเป็นคนสัตว์ หรือสิง่ ของ”
1.2 ครตู ้งั คาถามใหผ้ ู้เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับประชากร ดงั น้ี
“การสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ผเู้ รียนคิดวา่ ประชาการในท่นี ค้ี ืออะไร” (ตอบ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย
ปกี ารศกึ ษา 2563)
1.3 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมคาสาคัญในสถิติศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสืบค้น
หรือค้นคว้าหาคาศัพท์ คาที่สองคือ “ตัวอย่าง” จากนั้นผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคา
สาคญั ในสถิติศาสตร์ โดยครูคอยแนะนาจนกวา่ ผู้เรียนเข้าใจ ดงั น้ี
“ตวั อย่าง (Sample) หมายถึงกลุ่มย่อยของประชากรท่ีถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากร
โดยทว่ั ไปมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือใช้ตวั อย่างในการสรปุ ผลเกีย่ วกบั ลกั ษณะของประชากรท่สี นใจ”
1.4 ครตู ง้ั คาถามให้ผู้เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับตวั อยา่ ง ดงั น้ี
“การสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ผู้เรียนคิดว่า ตัวอย่างในที่น้ีคืออะไร” (คาตอบมีหลากหลาย เช่น นักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563 ที่สุ่มตัวอย่างมาจานวน 50,000 คน หรือ นักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาในภาคใต้ของประเทศไทย ปกี ารศกึ ษา 2563)
1.5 ครูอธิบายเพมิ่ เติมเกี่ยวกบั ความหมายของประชากรและตวั อย่าง ดงั น้ี
จากความหมายของประชากรและตัวอย่าง สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ประชากรและตัวอย่าง ได้ดังรปู
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 5
1.6 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมคาสาคัญในสถิติศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสืบค้น
หรือค้นคว้าหาคาศัพท์ คาที่สามคือ “ตัวแปร” จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคา
สาคัญในสถิตศิ าสตร์ โดยครคู อยแนะนาจนกวา่ ผู้เรยี นเข้าใจ ดงั น้ี
“ตัวแปร (Variable) หมายถึงลกั ษณะบางประการของประชากรหรือตวั อย่างที่สนใจศึกษา”
1.7 ครตู ้งั คาถามให้ผู้เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับตัวแปร ดงั น้ี
“ผ้เู รียนคิดว่า ตัวแปรท่ีแสดงถึงลักษณะบางประการของข้อมูลท่ีเราสนใจมีอะไร” (คาตอบมี
หลากหลาย เชน่ เพศ อายุ ความสงู นา้ หนัก สถานภาพ เป็นตน้ )
1.8 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมคาสาคัญในสถิติศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสืบค้น
หรือค้นคว้าหาคาศัพท์ คาที่สี่คือ “ข้อมูล” จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคาสาคัญ
ในสถิตศิ าสตร์ โดยครูคอยแนะนาจนกว่าผู้เรียนเขา้ ใจ ดงั นี้
“ข้อมูล (Data) หมายถึงข้อความจริงเก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งท่ีสามารถใช้ในการสรุปผลใน
เรอ่ื งท่สี นใจศกึ ษา อาจเป็นได้ทั้งตวั เลขหรอื ไม่ใชต่ ัวเลข หรอื อาจหมายถงึ ค่าของตัวแปรทสี่ นใจศึกษา”
1.9 ครตู ัง้ คาถามใหผ้ ู้เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคาสาคัญในสถิติศาสตร์ทั้งส่ีคาท่ี
ผ่านมา ดงั นี้
ตัวอยา่ งท่ี 1 จากการเลือกตัวอย่างนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
จานวน 50 คน เพ่ือพิจารณาดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) ซึ่งใช้เป็น
มาตรฐานในการประเมนิ สภาวะของรา่ งกายวา่ อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่ โดยได้
สารวจขอ้ มูลต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ปรากฏผลดังตาราง
ท่ี เลขประจาตวั นกั เรียน เพศ อายุ (ปี) นา้ หนกั ส่วนสูง
(กิโลกรมั ) (เซนตเิ มตร)
1 45164 ชาย 17 70 171
2 48184 หญิง 16 45 156
3 49217 ชาย 18 55 168
50 470135 หญงิ 16 50 158
คาถาม ผู้เรยี นคดิ ว่า ประชากร ตัวอย่าง ตวั แปร และขอ้ มลู การสารวจน้คี อื อะไร
คาตอบ ประชากร คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท้ังหมดของโรงเรียนแห่งน้ี
ตัวอยา่ ง คอื นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนแห่งนี้จานวน 50 คน
ตวั แปร คือ เลขประจาตัวนักเรยี น เพศ อายุ น้าหนัก และส่วนสูง และข้อมูล คือ ค่า
ของตัวแปรแต่ละตัวท่เี ก็บรวบรวมได้ ดังทป่ี รากฏในตาราง
1.10 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมคาสาคัญในสถิติศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสืบค้น
หรอื ค้นควา้ หาคาศัพท์ คาทหี่ า้ คอื “พารามเิ ตอร์” จากนนั้ ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคา
สาคัญในสถติ ศิ าสตร์ โดยครูคอยแนะนาจนกวา่ ผู้เรียนเขา้ ใจ ดงั นี้
“พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึงค่าวัดท่ีแสดงลักษณะของประชากร ซึ่งเป็นค่าคงตัวท่ี
คานวณหรอื ประมวลจากขอ้ มูลทง้ั หมดของประชากร”
1.11 ครตู ั้งคาถามให้ผู้เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพารามิเตอร์ ดังน้ี
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 6
“การสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) เช่น ถ้าในแบบสารวจมีการสอบถามระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน
ทางไกลของนักเรียน (มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด) ผู้เรียนคิดว่า พารามิเตอร์ในที่น้ีคือ
อะไร” (ตอบ ฐานนิยมของระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนทางไกลของนักเรียน
นกั เรยี นระดับมธั ยมศึกษาในประเทศไทย ปกี ารศึกษา 2563)
1.12 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมคาสาคัญในสถิติศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสืบค้น
หรือค้นคว้าหาคาศัพท์ คาสุดท้ายคือ “ค่าสถิติ” จากนั้นผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคา
สาคญั ในสถติ ศิ าสตร์ โดยครูคอยแนะนาจนกวา่ ผู้เรียนเข้าใจ ดังนี้
“ค่าสถิติ (Statistic) หมายถึงค่าคงตัวท่ีพิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ืออธิบายลักษณะของตัวอย่างนั้นหรือเพ่ือประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้วนาไปใช้ในการอธิบาย
ลกั ษณะของประชากร”
1.13 ครตู ้งั คาถามให้ผู้เรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับคา่ สถิติ ดงั น้ี
“การสารวจความคิดเห็นของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และเลอื กตวั อยา่ งของนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563 ท่ีสุ่ม
ตัวอย่างมาจานวน 50,000 คน เช่น ถ้าในแบบสารวจมีการสอบถามระดับความพึงพอใจต่อการ
จัดการเรียนการสอนทางไกลของนักเรียน (มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด) ผู้เรียนคิดว่า
ค่าสถิติในที่นี้คืออะไร” (ตอบ ฐานนิยมของระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนทางไกล
ของนักเรียนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ปีการศึกษา 2563 สุ่มตัวอย่างมาจานวน
50,000 คน)
1.14 ครอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ เกีย่ วกบั คา่ สถิตใิ ห้กบั ผู้เรยี นดังนี้
จากความหมายของ คา่ สถิติ (Statistic) ซง่ึ หมายถึงคา่ คงตวั ที่พจิ ารณาจากข้อมลู ของตัวอย่าง
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ืออธิบายลักษณะของตัวอย่างนั้นหรือเพื่อประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้ว
นาไปใช้ในการอธิบายลักษณะของประชากร โดยคาที่ขีดเส้นใต้ หมายถึง การประมาณค่ามี
ความหมายตรงกับคาว่า estimation ในภาษาอังกฤษ ที่หมายถึงการกะประมาณค่าเท่าท่ีควรจะเป็น
หรอื การกาหนดคา่ ไวอ้ ยา่ งคร่าว ๆ เช่น ในการประมาณค่าของคา่ เฉลี่ยเลขคณิตของประชากร อาจทา
ได้โดยการสุ่มตัวอย่าง แล้วหาค่าเฉล่ียเลขคณิตของตัวอย่าง จากน้ันนาไปใช้ประมาณค่าของค่าเฉลี่ย
เลขคณติ ของประชากร
การประมาณค่าในที่น้ีมีความหมายแตกต่างจากคาว่า approximation ท่ีหมายถึงการกะ
หรอื คะเนให้ใกล้เคียงคา่ ท่แี ทจ้ ริง โดยให้มีความละเอียดเพยี งพอทีจ่ ะนาไปใช้ เช่น ถา้ เราคานวณขนาด
ตัวอย่างเพื่อใช้ในงานวิจัยโดยใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ได้เป็น 120.8 แล้วสามารถประมาณได้ว่าขนาด
ตัวอยา่ งทีค่ วรสมุ่ เพื่อใชใ้ นงานวจิ ัยคอื 121 ตวั อยา่ ง
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 7
1.15 ให้ผเู้ รียนพิจารณาตัวอย่างของการระบุประชากร ตัวอย่าง ตัวแปร ข้อมูล พารามิเตอร์
และคา่ สถิตจิ ากสถานการณท์ กี่ าหนด แล้วตงั้ คาถามกระต้นุ ความคิดของผูเ้ รียน ดงั น้ี
ตวั อย่างท่ี 2 จากการสารวจเกี่ยวกับอาชีพในฝันของนกั เรียนในยุคดิจิทัลของจังหวัดแห่งหนึ่ง โดย
สารวจจากนักเรียนที่มีอายุ 15 – 18 ปี ท่ีเลือกมากจากทุกโรงเรียนในจังหวัด รวม
ท้ังสิ้น 300 คน พบว่า อาชีพในฝันของนักเรียนในยุคดิจิทัล 5 อันดับแรก ได้แก่
อันดับที่ 1 อาชีพธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 35 อันดับท่ี 2 อาชีพครู ร้อยละ 22 อันดับท่ี
3 อาชีพรับราชการ ร้อยละ 17 อันดับท่ี 4 อาชีพแพทย์ ร้อยละ 12 และอันดับที่ 5
อาชพี วศิ วกร ร้อยละ 7
คาถาม ผู้เรียนคดิ ว่า ประชากร ตัวอย่าง ตวั แปร ข้อมลู และคา่ สถติ ขิ องการสารวจนค้ี อื อะไร
ตอบ 1) ประชากร คือ นักเรยี นทุกคนในจงั หวดั นี้ 2) ตัวอย่าง คือ นักเรียนที่มีอายุ 15–18
ปี ทเี่ ลอื กมากจากทกุ โรงเรียนในจังหวดั รวมทัง้ ส้ิน 300 คน 3) ตัวแปร คือ อาชีพใน
ฝันของนักเรียนในยุคดิจิทัล 4) ข้อมูล คือ อาชีพในฝันของนักเรียนในยุคดิจิทัลของ
นักเรียนแต่ละคนที่เก็บรวบรวมมาได้ 5) ค่าสถิติ คือ ร้อยละของนักเรียนท่ีเลือก
อาชีพในฝันในยุคดจิ ิทลั 5 อันดับแรกซ่งึ คานวณจากตวั อยา่ งจานวน 300 คน
ตวั อย่างที่ 3 จากการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 สานักงานสถิติ
แห่งชาติได้เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วง 6 เดือนแรกของ พ.ศ. 2563 จากครัวเรือน
ตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศท้ังในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลประมาณ
26,00 ครัวเรือน เพื่อศึกษารายได้เฉล่ียต่อเดือนของครัวเรือนท่ัวประเทศ โดยจาก
ข้อมูลตัวอย่างได้ข้อสรุปว่าค่าประมาณของรายได้เฉล่ียต่อเดือนของครัวเรือนท่ัว
ประเทศคือ 26,973 บาท
คาถาม ผู้เรียนคิดว่า ประชากร ตัวอย่าง พารามิเตอร์ ตัวแปร ข้อมูล และค่าสถิติของการ
สารวจน้คี อื อะไร
ตอบ 1) ประชากร คือ ครัวเรือนทั้งหมดในประเทศไทยในช่วง 6 เดือนแรกของ พ.ศ.
2563 2) ตัวอย่าง คือ ครัวเรือนตัวอย่างในทุกจังหวัดทั่วประเทศท้ังในเขตเทศบาล
และนอกเขตเทศบาลประมาณ 26,00 ครัวเรอื น 3) ตวั แปร คือ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ของครัวเรือน 4) ข้อมูล คือ รายได้เฉล่ียต่อเดือนของแต่ละครัวเรือนตัวอย่างที่เก็บ
รวบรวมมาได้ 5) พารามิเตอร์ คือ รายได้เฉล่ียต่อเดือนของครัวเรือนท่ัวประเทศ 6)
ค่าสถิติ คือ ค่าประมาณของรายได้เฉล่ียต่อเดือนของครัวเรือนทั่วประเทศคือ
26,973 บาท
ขัน้ ที่ 2 Solve: S (ขั้นการแกป้ ัญหา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการท่ีใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคดิ และวิธกี ารทผ่ี ู้เรยี นเลือกใช้ในการแกป้ ญั หา
2.2 ครใู ห้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนท่ีผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในท่ีสุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกทักษะท่ี 2 เร่ืองคาสาคัญในสถิติศาสตร์ แล้วช่วยกันเฉลยและตรวจสอบความ
ถกู ตอ้ ง
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง คาสาคัญในสถิติศาสตร์ 8
ขั้นท่ี 3 Create: C (ขนั้ สร้างความรู้)
3.1 ครใู หผ้ ู้เรียนเรยี บเรียงขนั้ ตอนการแกป้ ัญหาและบันทกึ ความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เร่อื งคาสาคญั ในสถิติศาสตร์ และจากการทาแบบฝึกทกั ษะที่ 2 เรอ่ื งคาสาคัญในสถิติศาสตร์ ลงในสมุด
โดยใชภ้ าษาท่ีง่ายต่อการเข้าใจ สละสลวยในการเขียนแสดงแนวคดิ และอธบิ ายคาตอบของผู้เรยี น
ขั้นท่ี 4 Share: S (ขนั้ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น)
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝกึ ทักษะ
4.2 ครูสุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบที่แตกต่างจากเพื่อนก็สามารถ
นาวธิ ีการหรอื แนวคิดนนั้ มานาเสนอไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลท่ีได้ท่ีเพื่อนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะที่ร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นน้ัน ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การสื่อสารทงั้ ในด้านการฟงั และการพดู ของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กนั
ขน้ั สรปุ บทเรียน
ผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของคาสาคัญในสถิติศาสตร์ ได้แก่ ประชากร ตัวอย่าง
ตวั แปร ข้อมูล พารามิเตอร์ และคา่ สถติ ิ ดังน้ี
ประชากร (Population) หมายถึงกลุ่มของหน่วยทั้งหมดในเรื่องท่ีสนใจศึกษา หน่วยในท่ีน้ี
อาจเปน็ คนสตั ว์ หรอื สงิ่ ของ
ตัวอย่าง (Sample) หมายถึงกลุ่มย่อยของประชากรท่ีถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากร
โดยทวั่ ไปมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือใชต้ ัวอย่างในการสรปุ ผลเกีย่ วกบั ลกั ษณะของประชากรทส่ี นใจ
ตัวแปร (Variable) หมายถงึ ลักษณะบางประการของประชากรหรอื ตัวอย่างทีส่ นใจศกึ ษา
ข้อมูล (Data) หมายถึงข้อความจริงเก่ียวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึงที่สามารถใช้ในการสรุปผลใน
เรือ่ งท่ีสนใจศกึ ษา อาจเปน็ ได้ทัง้ ตัวเลขหรือไม่ใชต่ วั เลข หรอื อาจหมายถึงคา่ ของตวั แปรท่ีสนใจศึกษา
พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึงค่าวัดท่ีแสดงลักษณะของประชากร ซึ่งเป็นค่าคงตัวท่ี
คานวณหรอื ประมวลจากข้อมูลท้ังหมดของประชากร
ค่าสถิติ (Statistic) หมายถึงค่าคงตัวท่ีพิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่ออธิบายลักษณะของตัวอย่างนั้นหรือเพื่อประมาณค่าของพารามิเตอร์แล้วนาไปใช้ในการอธิบาย
ลกั ษณะของประชากร
พร้อมทั้งยกตัวอย่างให้ผู้เรียนได้ระบุประชากร ตัวอย่าง ตัวแปร ข้อมูล พารามิเตอร์ และ
ค่าสถติ จิ ากสถานการณท์ ี่กาหนดให้ได้
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา