แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 9
แบบบนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท.่ี ........เวลา................ชั่วโมง/คาบ ภาคเรยี นท.ี่ ...........ปกี ารศกึ ษา...........
เรอ่ื ง.........................................................................................................................................................
รหสั วิชา...............................ชือ่ วิชา...................................... ............................ช้นั ..................................
1. จานวนนักเรยี นทีร่ ว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ จานวนนักเรียนทีข่ าดเรยี น (คน)
จานวนนักเรยี นท้ังหมด (คน)
นกั เรียนทข่ี าดเรยี น (เลขที่) หมายเหตุ
2. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
2.2 ความเหมาะสมของเนื้อหา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
2.3 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรงุ
2.4 สือ่ การเรยี นรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง
.................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. ..............
2.5 พฤตกิ รรม/การมสี ว่ นร่วมของผู้เรียน ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
............................................................................................................................. ..............
........................................................................................ ........................................... ........
2.6 ผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม/ใบกจิ กรรม/ใบงาน/แบบฝึกหดั /การทดสอบกอ่ น – หลังเรยี น
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ..............
3. ปัญหาและอุปสรรค
............................................................................................. .....................................................
.......................................................................................................................... ........................
4. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
................................................................................................................................ ..................
............................................................................................................................. .....................
ลงชื่อ……….……………………ครูผ้สู อน
(นายครรชติ แซ่โฮ่)
ตาแหนง่ ครู อนั ดบั คศ.2
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง คาสาคัญในสถิติศาสตร์ 10
แบบสังเกตพฤตกิ รรมผ้เู รยี นด้านทกั ษะกระบวนการ
รายวิชา คณิตศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ 6 รหัสวิชา ค33202 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ภาคเรียนที่.................. ปีการศึกษา...................
คาบที่................ วันท…ี่ ……..เดอื น………………………..พ.ศ………..........
คาชแี้ จง ให้ใส่คะแนนระดับคุณภาพลงในชอ่ งทักษะกระบวนการแตล่ ะชอ่ งตามเกณฑ์การให้คะแนน
พฤตกิ รรมผู้เรยี นดา้ นทักษะกระบวนการ สรุปผล
ท่ี ชอ่ื – สกลุ รวม การประเมิน
การ การให้ การสื่อสาร การ การคิดริเรม่ิ ผา่ น ไม่
แกป้ ญั หา เหตุผล เชอ่ื มโยง สรา้ งสรรค์ ผา่ น
การผา่ นเกณฑต์ ้องไดร้ ะดบั คณุ ภาพโดยรวมตง้ั แต่ 10 คะแนนขน้ึ ไป
ลงช่อื ……………………………………………..ผ้ปู ระเมนิ
(……………………………………………...)
วนั ท.่ี ...........เดือน.......................พ. ศ................
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง คาสาคัญในสถิติศาสตร์ 11
เกณฑ์การให้คะแนนดา้ นทักษะกระบวนการ
1. การแกป้ ญั หา
คะแนน : ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาทปี่ รากฏให้เห็น
4 : ดมี าก ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแกป้ ญั หาสาเรจ็ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ อธบิ ายถงึ
เหตผุ ลในการใช้วิธีการดงั กล่าวไดเ้ ข้าใจชัดเจน
3 : ดี ใช้ยุทธวธิ ดี าเนนิ การแก้ปญั หาสาเรจ็ แต่น่าจะอธิบายถึงเหตุผล
ในการใชว้ ธิ ีการดังกล่าวได้ดกี ว่านี้
2 : พอใช้ มียุทธวิธีดาเนินการแกป้ ัญหาสาเรจ็ เพียงบางส่วน อธบิ ายถึงเหตุผล
ในการใช้วธิ กี ารดงั กลา่ วได้บางส่วน
1 : ควรแกไ้ ข มรี ่องรอยการแก้ปัญหาบางส่วน เรม่ิ คิดว่าทาไมจงึ ต้องใชว้ ธิ กี ารน้นั
แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แก้ปญั หาไม่สาเร็จ
0 : ควรปรบั ปรุง ทาได้ไมถ่ ึงเกณฑข์ ้างต้นหรือไม่มีร่องรอยการดาเนนิ การแก้ปญั หา
2. การให้เหตุผล
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการให้เหตผุ ลทป่ี รากฏใหเ้ ห็น
4 : ดีมาก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ
1 : ควรแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
0 : ควรปรบั ปรุง ไม่มแี นวคิดประกอบการตดั สินใจ
3. การส่ือสาร การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์
และการนาเสนอทป่ี รากฏให้เห็น
ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ท่ีถูกต้อง นาเสนอโดยใชก้ ราฟ
4 : ดีมาก แผนภมู ิ หรือตารางแสดงขอ้ มูลประกอบตามลาดับขน้ั ตอนได้เป็น
ระบบ กระชับ ชดั เจน และมีความละเอยี ดสมบรู ณ์
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภมู ิ
3 : ดี หรือตารางแสดงขอ้ มลู ประกอบตามลาดบั ขัน้ ตอนได้ถูกต้อง
ขาดรายละเอียดท่ีสมบรู ณ์
2 : พอใช้ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ พยายามนาเสนอข้อมูลโดยใช้
กราฟ แผนภมู ิ หรือตารางแสดงขอ้ มูลประกอบชัดเจนบางสว่ น
1 : ควรแก้ไข ใช้ภาษาและสัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์อย่างงา่ ย ๆ ไม่ไดใ้ ชก้ ราฟ
แผนภูมิหรือตารางเลย และการนาเสนอข้อมูลไม่ชัดเจน
0 : ควรปรบั ปรงุ ไม่นาเสนอขอ้ มูล
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง คาสาคัญในสถิติศาสตร์ 12
4. การเชือ่ มโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
คะแนน : ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการเช่ือมโยงทีป่ รากฏใหเ้ หน็
นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชือ่ มโยงกบั
4 : ดีมาก สาระคณิตศาสตร์ / สาระอ่นื / ในชวี ิตประจาวนั เพ่ือชว่ ย
ในการแกป้ ัญหาหรอื ประยุกต์ใชไ้ ดอ้ ยา่ งสอดคล้องและเหมาะสม
นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอื่ มโยงกับ
3 : ดี สาระคณิตศาสตร์ / สาระอ่นื / ในชีวติ ประจาวัน เพอ่ื ชว่ ยในการ
แกป้ ญั หา หรือประยุกต์ใช้ได้บางสว่ น
2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับสาระ
คณิตศาสตร์ ไดบ้ างสว่ น
1 : ควรแก้ไข นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงยงั ไม่
เหมาะสม
0 : ควรปรับปรุง ไม่มีการเชื่อมโยงกบั สาระอื่นใด
5. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คะแนน : ระดบั คุณภาพ ความคิดรเิ รมิ สร้างสรรค์ทีป่ รากฏให้เห็น
4 : ดมี าก มแี นวคิด / วิธกี ารแปลกใหม่ทส่ี ามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้อยา่ งถกู ต้อง
สมบรู ณ์
3 : ดี มีแนวคดิ / วิธีการแปลกใหม่ทสี่ ามารถนาไปปฏบิ ัติได้ถูกต้องแตน่ าไป
ปฏบิ ตั ิแล้วไมถ่ ูกต้องสมบูรณ์
2 : พอใช้ มแี นวคิด / วธิ กี ารไมแ่ ปลกใหม่แต่นาไปปฏบิ ัติแล้วถูกต้องสมบูรณ์
1 : ควรแก้ไข มแี นวคิด / วิธีการไม่แปลกใหม่และนาไปปฏิบัติแลว้ ไม่ถกู ต้องสมบรู ณ์
0 : ควรปรับปรงุ ไมม่ ผี ลงาน
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ือง คาสาคัญในสถิติศาสตร์ 13
แบบสงั เกตพฤติกรรมผ้เู รยี นดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
รายวชิ า คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เติม 6 รหัสวิชา ค33202 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ภาคเรยี นที่.................. ปกี ารศกึ ษา...................
คาบที่................ วันท…ี่ ……..เดือน………………………..พ.ศ………..........
คาชี้แจง ให้ใส่คะแนนระดับคุณภาพลงในช่องคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์แต่ละช่องตามเกณฑก์ ารให้คะแนน
พฤติกรรมผู้เรียนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สรุปผล
ท่ี ชือ่ – สกลุ การทางานเปน็ ระเบยี บ ความ ความเช่ือมนั่ รวม การประเมนิ
ระบบรอบคอบ วนิ ยั รับผดิ ชอบ ในตนเอง
ความ ผา่ น ไม่
ซ่อื สัตย์ ผา่ น
การผา่ นเกณฑ์ต้องไดร้ ะดบั คุณภาพโดยรวมตงั้ แต่ 10 คะแนนข้นึ ไป
ลงชอ่ื ……………………………………………..ผปู้ ระเมิน
(……………………………………………...)
วนั ท.่ี ...........เดือน.......................พ. ศ................
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง คาสาคัญในสถิติศาสตร์ 14
เกณฑ์การให้คะแนนดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. การทางานเป็นระบบรอบคอบ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ คณุ ลักษณะท่ีปรากฏใหเ้ ห็น
- มีการวางแผนการดาเนนิ งานเปน็ ระบบ
3 : ดมี าก - การทางานมีครบทุกขั้นตอน ตดั ขนั้ ตอนท่ีไมส่ าคญั ออก
- จดั เรียงลาดบั ความสาคญั ก่อน – หลัง ถกู ต้องครบถว้ น
- มกี ารวางแผนการดาเนินงาน
2 : ดี - การทางานไม่ครบทุกข้นั ตอน และผิดพลาดบา้ ง
- จัดเรยี งลาดับความสาคัญก่อน – หลัง ไดเ้ ป็นส่วนใหญ่
- ไม่มกี ารวางแผนการดาเนนิ งาน
1 : พอใช้ - การทางานไม่มีข้ันตอน มีความผิดพลาดต้องแกไ้ ข
- ไมจ่ ัดเรียงลาดบั ความสาคัญ
2. ระเบียบวนิ ยั
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็
3 : ดมี าก - สมดุ งาน ชิน้ งาน สะอาดเรียบร้อย
- ปฏิบตั ิตนอยู่ในข้อตกลงท่กี าหนดให้ร่วมกันทุกครั้ง
2 : ดี - สมดุ งาน ชนิ้ งาน สว่ นใหญส่ ะอาดเรยี บรอ้ ย
- ปฏบิ ัติตนอยใู่ นข้อตกลงทีก่ าหนดใหร้ ่วมกนั เป็นสว่ นใหญ่
- สมดุ งาน ชิ้นงาน ไม่ค่อยเรยี บรอ้ ย
1 : พอใช้ - ปฏบิ ัติตนอยูใ่ นข้อตกลงทก่ี าหนดใหร้ ว่ มกันเปน็ บางครง้ั ต้องอาศยั
การแนะนา
3. ความรบั ผดิ ชอบ
คะแนน : ระดับคุณภาพ คุณลกั ษณะทป่ี รากฏใหเ้ หน็
- ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
3 : ดมี าก - รับผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเป็นนสิ ัย
เปน็ ระบบแก่ผู้อื่น และแนะนาชักชวนใหผ้ อู้ ่ืนปฏิบัติ
2 : ดี - ส่งงานช้ากวา่ กาหนด แต่ได้มกี ารตดิ ต่อช้ีแจงผ้สู อน มเี หตุผลท่รี บั ฟงั ได้
- รบั ผดิ ชอบในงานที่ไดร้ บั มอบหมายและปฏิบัตติ นเองจนเป็นนิสยั
1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กาหนด
- ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการช้ีแนะ แนะนา ตักเตือนหรอื ใหก้ าลังใจ
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง คาสาคัญในสถติ ิศาสตร์ 15
4. ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คณุ ลักษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น
3 : ดีมาก มแี นวคดิ การตัดสนิ ใจในการทางานดว้ ยตนเองทุกคร้งั ใหค้ าแนะนา
ผอู้ ื่นได้
2 : ดี มแี นวคดิ การตดั สินใจในการทางานด้วยตนเองเป็นบางคร้งั แต่ต้องถาม
ปญั หาบางครัง้
1 : พอใช้ ไม่มแี นวคดิ ของตนเอง ไมก่ ล้าตดั สินใจด้วนตนเอง
5. ความซ่อื สัตย์
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏให้เห็น
3 : ดีมาก มีแนวคดิ ในการทางานดว้ ยตนเองทุกคร้ัง ไม่นาผลงานคนอน่ื มา
ลอกเลียนแบบ ไมน่ าผลงานผู้อ่ืนมาเป็นผลงานของตนเอง
2 : ดี มแี นวคิดในการทางานดว้ ยตนเองเป็นบางคร้ัง ลอกเลียนแบบงานจาก
คนอื่นบางครั้ง ไม่นาผลงานผู้อน่ื มาเป็นผลงานของตนเอง
1 : พอใช้ ไม่มีแนวคดิ ของตนเอง ทางานทุกคร้งั ต้องลอกเลียนแบบจากงานเพื่อน
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
รายวชิ า คณติ ศาสตร์เพิม่ เตมิ 6
รหสั วิชา ค33202
แผนการจดั การเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ ม.6
ประกอบการใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
เรื่อง สถติ ศิ าสตร์และข้อมลู ด้วยรปู แบบ SSCS
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
3
เร่อื ง ประเภทของข้อมูล
นายครรชติ แซโ่ ฮ่
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลา
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 15
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง ประเภทของข้อมูล 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เร่อื ง ประเภทของขอ้ มูล
รายวิชา คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 6 รหัสวิชา ค33202 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง สถติ ิศาสตร์และขอ้ มูล เวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ 3 คาบ
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั
สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการแกป้ ญั หา
ตวั ช้ีวดั เขา้ ใจและใชค้ วามร้ทู างสถิตใิ นการนา เสนอข้อมลู และแปล
ความหมายของค่าสถิตเิ พื่อประกอบการตัดสนิ ใจ
จุดเน้นการพฒั นาผ้เู รียน
แสวงหาความร้เู พ่ือการแก้ปญั หา
ใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นรู้
ทกั ษะการคดิ ขั้นสูง
มที กั ษะชวี ิต
ทักษะการสอื่ สารอยา่ งสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
สาระสาคญั (ความเข้าใจที่คงทน)
ขอ้ มลู ที่จะนามาใช้ศึกษาสามารถแบง่ ได้หลายประเภทที่สาคัญมดี งั นี้
1. การแบ่งประเภทของข้อมลู ตามแหล่งทมี่ าของขอ้ มลู
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามแหล่งที่มาของข้อมูลเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
คานึงว่าผ้ใู ชข้ ้อมลู เปน็ ผ้จู ดั เกบ็ ข้อมูลเอง หรือเป็นข้อมูลท่ีบุคคลหรือหน่วยงานอื่นเป็นผู้จัดเก็บแล้ผู้ใช้
เพียงแคน่ ามาใช้จงึ แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) หมายถึงข้อมูลท่ีผู้ใช้ดาเนินการเก็บรวบรวมจาก
เจ้าของขอ้ มลู หรือตน้ กาเนดิ ของข้อมูลโดยตรง
2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) หมายถึงข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ได้ดาเนินการเก็บรวบรวม
จากเจา้ ของขอ้ มลู หรอื ต้นกาเนิดของข้อมูลโดยตรง แต่ใช้ข้อมูลที่บุคคลหรือหน่วยงานอ่ืนเก็บรวบรวม
มา ซ่ึงส่วนใหญ่ผู้ใช้มักจะใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมโดยภาครัฐซึ่งเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลตามภารกิจ
ของหนว่ ยงาน
2. การแบง่ ประเภทของขอ้ มูลตามระยะเวลาท่จี ัดเก็บ
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามระยะเวลาท่ีจัดเก็บเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
พิจารณาจากช่วงเวลาทมี่ ขี ้อมลู เกิดขึน้ และมีการจดั เก็บ จึงแบง่ ขอ้ มูลออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี
1) ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series data) หมายถงึ ชดุ ข้อมลู ทเ่ี กดิ ขน้ึ และจดั เกบ็ ตาม
ลาดับเวลาตอ่ เนื่องกันไปตลอดชว่ ง ๆ หน่ึง
2) ขอ้ มลู ตดั ขวาง (Cross-sectional data) หมายถึงขอ้ มูลทบี่ อกสถานะหรือสภาพของส่ิง
ท่ีสนใจ ณ จุดหนง่ึ ของเวลา
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื ง ประเภทของข้อมลู 2
3. การแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของขอ้ มลู
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
พจิ ารณาจากข้อมลู นนั้ แสดงถึงปริมาณของส่งิ ๆ หน่งึ หรอื ไม่ จึงแบง่ ข้อมลู ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) หมายถึงข้อมูลท่ีได้จากการวัดหรือการนับค่า
โดยแสดงเปน็ ตัวเลขหรือปริมาณทส่ี ามารถนาไปบวก ลบ คูณ หรอื หาร และเปรียบเทียบกันได้
2) ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ (Qualitative data) หมายถึงข้อมูลท่ีแสดงลักษณะ ประเภท สมบัติ
ในเชงิ คณุ ภาพและอ่นื ๆ ท่ไี มส่ ามารถวดั ค่าเปน็ ตัวเลขทีน่ ามาบวก ลบ คณู หรอื หารกันได้
สาระการเรียนรู้ (มาตรฐานการปฏิบตั ไิ ด้)
ด้านความรู้ (K) ผูเ้ รยี นสามารถ
1) จาแนกประเภทของข้อมูลตามแหล่งท่ีมาของข้อมลู ระยะเวลาที่จดั เก็บ หรือลกั ษณะของ
ขอ้ มูลได้
ด้านทักษะกระบวนการ (P) ผู้เรียนมคี วามสามารถใน
1) การแก้ปัญหา
2) การใหเ้ หตผุ ล
3) การสอ่ื สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
4) การเชอื่ มโยงความรทู้ างคณิตศาสตร์
5) ความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์
ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผ้เู รียนมี
1) การทางานเป็นระบบ รอบคอบ
2) ระเบยี บวนิ ัย
3) ความรบั ผิดชอบ
4) ความเชอื่ ม่นั ในตนเอง
5) ความซอื่ สตั ย์
สมรรถนะสาคัญ
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปญั หา
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สือ่ /แหล่งเรียนรู้
ส่ือการเรียนรู้
1) แบบฝกึ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง สถิติศาสตรแ์ ละข้อมูล
แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมดุ ของโรงเรียน
2) การสืบค้นขอ้ มูลจากอินเตอรเ์ น็ต ได้แก่
- เวบ็ ไซต์ http://www.google.co.th
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง ประเภทของข้อมลู 3
- คลังวีดีโอสอื่ คณิตศาสตร์ http://www.youtube.com
- คลงั เอกสารสื่อคณติ ศาสตร์ http://www.scribd.com
หลักฐานการเรยี นรู้
ช้ินงาน
1) -
ภาระงาน
1) แบบฝกึ ทกั ษะที่ 3 เรื่อง ข้อมูลปฐมภูมแิ ละข้อมลู ทุติยภูมิ
2) แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 4 เรอื่ ง ข้อมูลอนุกรมเวลาและข้อมูลตัดขวาง
3) แบบฝึกทักษะท่ี 5 เรือ่ ง ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณและขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ
การวดั ผลและประเมินผลการจดั การเรยี นรู้
ด้าน รายการประเมิน วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์การ
1. ความรู้ (K) ประเมนิ
2. ทกั ษะ ผ้เู รียนสามารถ 1. ประเมินจากการทา - แบบฝึกทักษะ ทาเอกสาร
กระบวนการ 1) จาแนกประเภทของ แบบฝกึ ทกั ษะ
(P) แบบฝกึ ทกั ษะ/
ขอ้ มูลตามแหลง่ ท่ีมาของ 2. ตรวจเอกสารแบบฝึก
ข้อมูล ระยะเวลาท่ี ทักษะ ไดถ้ ูกต้องอยา่ ง
จัดเก็บ หรอื ลกั ษณะของ
ขอ้ มูลได้ 1. สงั เกตจากการตอบ น้อย 70% ของ
คาถามในหอ้ งเรียน
ดจู ากแบบสงั เกตพฤตกิ รรม คะแนนทั้งหมด
ผู้เรยี นดา้ นทกั ษะ 2. สงั เกตพฤติกรรม
กระบวนการ ผู้เรียน แบบสงั เกต การผ่านเกณฑ์
พฤติกรรม ตอ้ งได้ระดับ
3. คุณลักษณะ ดูจากแบบสงั เกตพฤติกรรม 1. สงั เกตจากการตอบ ผู้เรยี น คุณภาพโดย
อนั พึงประสงค์ ผู้เรียนด้านคุณลักษณะ คาถามในห้องเรียน ดา้ นทกั ษะ ภาพรวมตัง้ แต่ 10
(A) อันพึงประสงค์ กระบวนการ คะแนนข้นึ ไป
2. สังเกตพฤติกรรม
ผู้เรียน แบบสงั เกต การผา่ นเกณฑ์
พฤติกรรม ต้องได้ระดบั
ผู้เรียน คณุ ภาพโดย
ด้านคุณลักษณะ ภาพรวมต้ังแต่ 10
อันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นไป
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เรือ่ ง ประเภทของข้อมูล 4
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรียนรตู้ ามรูปแบบ SSCS
ขน้ั เตรียมความพรอ้ ม
1. ครใู ห้ผู้เรยี นนง่ั สมาธิ เพอื่ รวบรวมสติ สมาธิและเตรยี มความพรอ้ มในการเรยี น
2. ผูเ้ รียนและครูร่วมกันสนทนาเกยี่ วกบั หลักการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยนาค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการมาแทรกเป็นกรณีตัวอย่างตามสถานการณ์ ได้แก่ 1) เข้าใจเรียนรู้การเป็น
ประชาธิปไตย 2) มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จักการเคารพผ้ใู หญ่ เป็นตน้
3. ครูชี้แจงวิธีการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
รปู แบบ SSCS
ขนั้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแบง่ กลุม่ ผู้เรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยแต่ละกลุ่มมีการคละความสามารถ
ของผ้เู รยี น เกง่ ปานกลาง และออ่ น ตามผลการเรยี นทพ่ี จิ ารณาจากการสอบในภาคเรียนที่ผ่านมาเป็น
รายบุคคล เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนได้ชว่ ยเหลือกนั และแลกเปลีย่ นประสบการณ์ภายในกลุ่ม และให้ผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มช่วยกนั เลอื กประธาน 1 คน เลขานุการ 1 คน และผรู้ ว่ มงาน 2 – 3 คน
2. ครแู จง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ของกิจกรรมการเรียนรูต้ ามรูปแบบ SSCS ใหผ้ ู้เรยี นทราบ
3. ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนา ทบทวนเก่ียวกับความรู้เดิม เรื่องคาสาคัญในสถิติศาสตร์
ได้แก่ประชากร ตัวอย่าง ตัวแปร ข้อมูล พารามิเตอร์ และค่าสถิติ พร้อมท้ังยกตัวอย่างให้ผู้เรียนระบุ
ประชากร ตัวอย่าง ตัวแปร ข้อมูล พารามิเตอร์ และค่าสถิติจากสถานการณ์ท่ีกาหนด โดยครูใช้การ
ถาม-ตอบ เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ
ขั้นกจิ กรรมการเรยี นรู้ (คาบที่ 1)
ขนั้ ที่ 1 Search: S (ขน้ั สืบเสาะค้นหาความร)ู้
1.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสแกน QR code เพื่อเข้าไปศึกษาวีดิทัศน์ซ่ึงจัดทาข้ึนภายใต้
โครงการ Project14 ของสสวท.
หรือเว็บไซต์ที่ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-math-basic/m6-math-basic/math-m6-003/
จากนั้นผเู้ รียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของข้อมลู โดยครูคอยแนะนาจนกว่าผู้เรยี นเขา้ ใจ ดังนี้
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามแหล่งท่ีมาของข้อมูลเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
คานึงวา่ ผใู้ ช้ขอ้ มลู เปน็ ผจู้ ดั เกบ็ ข้อมูลเอง หรือเป็นข้อมูลท่ีบุคคลหรือหน่วยงานอื่นเป็นผู้จัดเก็บแล้ผู้ใช้
เพยี งแคน่ ามาใช้ จงึ แบง่ ข้อมลู ออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เร่อื ง ประเภทของข้อมลู 5
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) หมายถึงข้อมูลที่ผู้ใช้ดาเนินการเก็บรวบรวมจาก
เจา้ ของขอ้ มลู หรือต้นกาเนิดของข้อมูลโดยตรง
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) หมายถึงข้อมูลท่ีผู้ใช้ไม่ได้ดาเนินการเก็บ
รวบรวมจากเจ้าของข้อมูลหรือต้นกาเนิดของข้อมูลโดยตรง แต่ใช้ข้อมูลที่บุคคลหรือหน่วยงาน
อ่ืนเก็บรวบรวมมา ซ่ึงส่วนใหญ่ผู้ใช้มักจะใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมโดยภาครัฐซ่ึงเป็นการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลตามภารกจิ ของหน่วยงาน
1.2 ครูต้ังคาถามให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบ่งประเภทของข้อมูลตาม
แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู ดังนี้
คาถามที่ 1 ข้อมูลความพึงพอใจในสินค้าที่เจ้าของสินค้าเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้สินค้าหรือ
ผู้บริโภค ขอ้ มูลนี้เปน็ ข้อมูลประเภทใด
คาตอบ ข้อมูลปฐมภูมิ
คาถามท่ี 2 ข้อมูลการรักษรพยาบาลท่ีโรงพยาบาทบันทึกไว้ในประวัติผู้ป่วย ข้อมูลน้ีเป็นข้อมูล
ประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มูลปฐมภูมิ
คาถามที่ 3 ขอ้ มลู ทน่ี ักเรียนบันทึกจากการทดลองฟิสิกส์ในห้องปฏิบัติการของโรงเรียน ข้อมูลนี้
เปน็ ขอ้ มลู ประเภทใด
คาตอบ ข้อมลู ปฐมภมู ิ
คาถามที่ 4 รายงานข้อมูลทะเบียนประวัติของนักเรียนท่ีส่งไปยังเขตพ้ืนที่การศึกษา ข้อมูลนี้เป็น
ขอ้ มูลประเภทใด
คาตอบ ข้อมูลทุตยิ ภมู ิ
คาถามที่ 5 รายงานข้อมูลนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาประเทศไทยจัดเก็บโดยสานักงานตรวจคน
เขา้ เมือง ข้อมลู น้เี ป็นขอ้ มลู ประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มลู ทุติยภูมิ
คาถามที่ 6 คะแนนสูงสุดและต่าสุดของการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของทุกมหาวิทยาลัย
ขอ้ มูลนเี้ ป็นข้อมลู ประเภทใด
คาตอบ ข้อมูลทุติยภมู ิ
1.3 ครูตง้ั คาถามใหผ้ ูเ้ รียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ขอ้ ดขี องขอ้ มลู ปฐมภูมิและข้อมูล
ทตุ ยิ ภมู ิ เป็นอยา่ งไร
คาตอบ ข้อดีของข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ ข้อมูลท่ีได้ตรงกับความต้องการ ข้อมูลมีความเป็น
ปจั จบุ ัน
ข้อดีของข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู เองสามารถนาข้อมูลทีม่ ีผู้อนื่ เก็บรวบรวมไว้แล้วมาใชไ้ ดเ้ ลย
1.4 ครตู งั้ คาถามให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั การนาขอ้ มลู ทตุ ยิ ภูมิมาใช้จึงมีส่ิง
สาคญั ที่ควรพจิ ารณา มอี ะไรบา้ ง อยา่ งไร
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรือ่ ง ประเภทของข้อมลู 6
คาตอบ
1. บคุ คลหรือหน่วยงานท่ีจัดทารายงาน บทความ หรือเอกสาร มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเร่ือง
นน้ั และมีความน่าเช่อื ถือหรอื ไม่
2. ควรเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง ถ้าสามารถทาได้ เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลว่า
ขอ้ มูลท่ตี อ้ งการมคี วามผดิ พลาดจากการคัดลอกหรือเข้าใจผิดหรือไม่
3. พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล ถ้าเป็นข้อมูลที่เป็นความจริง ข้อทูลที่ได้จากทะเบียนหรือ
ขอ้ มลู ที่เป็นความคดิ เห็นหรือเจตคติ ส่วนใหญ่มกั จะมคี วามถกู ตอ้ งและเช่อื ถือได้มาก
4. ถ้าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจากการสารวจตัวอย่าง ควรจะต้องตรวจสอบวิธีการที่ใช้ในการ
เลอื กตวั อย่าง ขนาดตัวอยา่ ง และวิธีเคราะหข์ อ้ มูลวา่ เหมาะสมหรือไม่
ขน้ั ที่ 2 Solve: S (ข้ันการแก้ปญั หา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการท่ีใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคดิ และวธิ กี ารทผ่ี ู้เรยี นเลือกใชใ้ นการแก้ปัญหา
2.2 ครใู ห้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนท่ีผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในท่ีสุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกทักษะที่ 3 ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ แล้วช่วยกันเฉลยและตรวจสอบ
ความถกู ตอ้ ง
ขนั้ ท่ี 3 Create: C (ข้นั สรา้ งความรู้)
3.1 ครใู หผ้ ู้เรยี นเรยี บเรยี งข้ันตอนการแก้ปัญหาและบนั ทึกความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เรอื่ งข้อมูลปฐมภมู ิและขอ้ มลู ทตุ ยิ ภูมิ และจากการทาแบบฝึกทักษะท่ี 3 ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติย
ภูมิ ลงในสมุดโดยใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ สละสลวยในการเขียนแสดงแนวคิดและอธิบายคาตอบ
ของผู้เรยี น
ขัน้ ท่ี 4 Share: S (ขั้นอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น)
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝึกทกั ษะ
4.2 ครูสุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบที่แตกต่างจากเพื่อนก็สามารถ
นาวธิ กี ารหรอื แนวคดิ นั้นมานาเสนอได้อยา่ งเตม็ ที่
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลที่ได้ที่เพื่อนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะท่ีร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นน้ัน ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การส่อื สารทงั้ ในดา้ นการฟงั และการพดู ของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กนั
ขน้ั กจิ กรรมการเรียนรู้ (คาบท่ี 2)
ข้นั ที่ 1 Search: S (ขัน้ สืบเสาะคน้ หาความร้)ู
1.5 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวีดิทัศน์ต่อ จากนั้นผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของ
ข้อมลู โดยครคู อยแนะนาจนกว่าผู้เรยี นเข้าใจ ดังนี้
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามระยะเวลาที่จัดเก็บเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
พจิ ารณาจากชว่ งเวลาท่มี ขี อ้ มูลเกดิ ขึน้ และมีการจัดเกบ็ จึงแบง่ ข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื ง ประเภทของข้อมูล 7
1. ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series data) หมายถึงชุดข้อมูลท่ีเกิดข้ึนและจัดเก็บ
ตามลาดับเวลาต่อเนอ่ื งกนั ไปตลอดชว่ ง ๆ หนง่ึ
2. ข้อมูลตัดขวาง (Cross-sectional data) หมายถึงข้อมูลท่ีบอกสถานะหรือสภาพ
ของส่ิงทีส่ นใจ ณ จดุ หนงึ่ ของเวลา
1.6 ครูต้ังคาถามให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการแบ่งประเภทของข้อมูลตาม
ระยะเวลาทจ่ี ดั เก็บ ดงั น้ี
คาถามที่ 1 ยอดขายสินค้ารายเดือนต้ังแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2563 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2563
ขอ้ มลู นเ้ี ปน็ ข้อมูลประเภทใด
คาตอบ ข้อมลู อนุกรมเวลา
คาถามท่ี 2 มหาวทิ ยาลยั ยอดนยิ มทน่ี กั เรยี น ม.6 เลือกเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในช่วง 5 ปที ีผ่ า่ นมา ข้อมูลน้ี
เปน็ ขอ้ มลู ประเภทใด
คาตอบ ข้อมลู อนกุ รมเวลา
คาถามท่ี 3 ราคาโทรศัพท์มือถอื ย่ีหอ้ หนงึ่ ในช่วงไตรมาศแรก ข้อมลู น้เี ปน็ ข้อมูลประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มูลอนุกรมเวลา
คาถามที่ 4 รายงานผลการศกึ ษาของนักเรยี นเมอื่ ส้ินภาคการศึกษา ขอ้ มูลน้เี ปน็ ข้อมูลประเภทใด
คาตอบ ข้อมูลตัดขวาง
คาถามท่ี 5 จานวนประชากรของประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ข้อมูลนี้เป็น
ขอ้ มูลประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มลู ตดั ขวาง
คาถามท่ี 6 น้าหนักของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เม่ือเปิดภาคการศึกษา ข้อมูลน้ีเป็นข้อมูล
ประเภทใด
คาตอบ ข้อมลู ตัดขวาง
ขั้นที่ 2 Solve: S (ขน้ั การแกป้ ญั หา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการท่ีใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคดิ และวิธกี ารทผ่ี ู้เรียนเลอื กใช้ในการแก้ปญั หา
2.2 ครใู ห้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนที่ผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในที่สุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกทักษะที่ 4 ข้อมูลอนุกรมเวลาและข้อมูลตัดขวาง แล้วช่วยกันเฉลยและ
ตรวจสอบความถกู ต้อง
ข้นั ที่ 3 Create: C (ข้ันสรา้ งความรู้)
3.1 ครใู หผ้ ู้เรยี นเรยี บเรียงขั้นตอนการแกป้ ัญหาและบันทกึ ความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เร่ืองข้อมูลอนุกรมเวลาและข้อมูลตัดขวาง และจากการทาแบบฝึกทักษะที่ 4 ข้อมูลอนุกรมเวลาและ
ข้อมูลตัดขวาง ลงในสมุดโดยใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ สละสลวยในการเขียนแสดงแนวคิดและ
อธบิ ายคาตอบของผู้เรียน
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง ประเภทของข้อมลู 8
ขนั้ ท่ี 4 Share: S (ข้ันอภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ )
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปล่ียนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝึกทักษะ
4.2 ครูสุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบท่ีแตกต่างจากเพื่อนก็สามารถ
นาวิธีการหรือแนวคิดนัน้ มานาเสนอไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลท่ีได้ที่เพื่อนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะท่ีร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นน้ัน ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การสือ่ สารท้งั ในดา้ นการฟังและการพูดของผู้เรยี นไปพร้อม ๆ กัน
ขน้ั กิจกรรมการเรยี นรู้ (คาบท่ี 3)
ขน้ั ที่ 1 Search: S (ข้ันสืบเสาะคน้ หาความรู)้
1.7 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวีดิทัศน์ต่อ จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของ
ขอ้ มลู โดยครูคอยแนะนาจนกวา่ ผู้เรยี นเข้าใจ ดังน้ี
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
พจิ ารณาจากข้อมูลนัน้ แสดงถึงปริมาณของสง่ิ ๆ หนึง่ หรอื ไม่ จึงแบ่งขอ้ มลู ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้
1. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) หมายถึงข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือการนับ
คา่ โดยแสดงเป็นตัวเลขหรือปริมาณทส่ี ามารถนาไปบวก ลบ คูณ หรอื หาร และเปรยี บเทียบกันได้
2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) หมายถึงข้อมูลท่ีแสดงลักษณะ ประเภท
สมบตั ใิ นเชงิ คุณภาพและอน่ื ๆ ทไ่ี มส่ ามารถวดั คา่ เปน็ ตวั เลขที่นามาบวก ลบ คูณ หรือหารกนั ได้
1.8 ครูต้ังคาถามให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการแบ่งประเภทของข้อมูลตาม
ลกั ษณะของข้อมลู ดังน้ี
คาถามท่ี 1 คะแนนสอบวชิ าคณติ ศาสตรข์ องนกั เรยี น ข้อมลู นีเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ
คาถามท่ี 2 จานวนนกั เรยี นท่ใี ชบ้ รกิ ารห้องสมุดของโรงเรยี น ขอ้ มลู น้ีเป็นขอ้ มลู ประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ
คาถามท่ี 3 ยอดขายโทรศพั ทม์ ือถือรายเดอื น ขอ้ มลู นเ้ี ป็นขอ้ มูลประเภทใด
คาตอบ ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ
คาถามที่ 4 อาชีพของผูป้ กครองของนกั เรียน ข้อมลู น้ีเปน็ ข้อมูลประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ
คาถามที่ 5 ยี่หอ้ โทรศพั ท์มอื ถือ ขอ้ มูลน้เี ป็นข้อมลู ประเภทใด
คาตอบ ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
คาถามท่ี 6 เลขประจาตัวของนักเรียน ขอ้ มลู นีเ้ ป็นขอ้ มลู ประเภทใด
คาตอบ ข้อมลู เชงิ คุณภาพ
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เร่อื ง ประเภทของข้อมลู 9
ขน้ั ที่ 2 Solve: S (ขน้ั การแก้ปญั หา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการท่ีใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคิดและวธิ ีการทผี่ ู้เรียนเลือกใช้ในการแก้ปญั หา
2.2 ครใู ห้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนท่ีผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในที่สุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกทักษะที่ 5 ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ แล้วช่วยกันเฉลยและ
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
ข้นั ท่ี 3 Create: C (ขั้นสรา้ งความรู้)
3.1 ครใู หผ้ ู้เรยี นเรยี บเรยี งขนั้ ตอนการแกป้ ญั หาและบันทกึ ความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เร่ืองขอ้ มูลเชิงปรมิ าณและขอ้ มูลเชิงคุณภาพ และจากการทาแบบฝึกทักษะท่ี 5 ข้อมูลเชิงปริมาณและ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ลงในสมุดโดยใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ สละสลวยในการเขียนแสดงแนวคิดและ
อธิบายคาตอบของผู้เรยี น
ขั้นที่ 4 Share: S (ขั้นอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ )
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝกึ ทักษะ
4.2 ครูสุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบที่แตกต่างจากเพื่อนก็สามารถ
นาวิธีการหรอื แนวคดิ นั้นมานาเสนอได้อย่างเต็มท่ี
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลที่ได้ท่ีเพื่อนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะที่ร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนั้น ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การสอื่ สารท้ังในดา้ นการฟงั และการพูดของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กัน
ครอู ธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกบั ขอ้ มลู เชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพให้กับผู้เรยี น ดงั น้ี
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ อาจจัดกลุ่มหรือช่วงของค่าเพ่ือตีความเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพได้ ตัวอย่าง
เช่น ผลผลิตข้าวต่อไร่ในพ้ืนท่ีบริเวณหนึ่งมีค่าเป็นไปได้ตั้งแต่ 295 ถึง 560 กิโลกรัม โดยมีค่าเฉล่ียอยู่ที่
400 กิโลกรมั อาจเปลย่ี นเปน็ ข้อมลู ปรมิ าณผลผลิตข้าวตอ่ ไรเ่ ป็นข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีบอกระดับผลผลิตว่า
ต่า ปานกลาง หรือสูงได้ โดยกาหนดให้ผลผลิตต่าคือผลผลิตตั้งแต่ 295 กิโลกรัม แต่น้อยกว่า 375
กิโลกรัม ผลผลิตปานกลางคือผลผลิตต้ังแต่ 375 กิโลกรัม แต่น้อยกว่า 450 กิโลกรัม และผลผลิตสูงคือ
ผลผลิตต้ังแต่ 450 กิโลกรัม ถึง 560 กิโลกรัม แต่ข้อมูลท่ีบันทึกใหม่จะไม่มีรายละเอียดของข้อมูลมาก
เท่ากบั ขอ้ มลู เดิมและต้องใช้วธิ ีการวิเคราะหท์ ี่แตกต่างออกไปด้วย
2) ข้อมูลท่ีนามาประมวลผลหรือวิเคราะห์เพื่อตอบคาถามหรือโจทย์ท่ีต้ังไว้ อาจแบ่งตาม
ประเภทต่าง ๆ ข้างต้นได้มากว่าหนึ่งประเภท เช่น ข้อมูลหนึ่งอาจเป็นทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูล
อนุกรมเวลา เช่น จานวนนักท่องเท่ียวชาวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาที่สนามบินสุวรรณภูมิในแต่ละ
วนั ในเดือนธนั วาคม พ.ศ.2563
3) นักเรียนอาจเข้าใจว่า ผลการเรียนหรือเกรด (4, 3, 2, 1, 0) เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ในทาง
ทฤษฎี เกรดจัดเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพที่สามารถเปรียบเทียบมากน้อยได้ เช่นเดียวกับ เบอร์รองเท้า
ระดบั ความพงึ พอใจ พ.ศ. ผลการจัดอันดับต่าง ๆ ฯลฯ เนื่องจากข้อมูลเชิงปริมาณจะต้องสามารถนาไป
บวก ลบ คูณ หรือหาร และเปรียบเทียบกันได้ แต่การนาเกรดมาคูณหรือหารกันไม่ก่อให้เกิด
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง ประเภทของข้อมูล 10
ความหมายใด ๆ เช่น ไม่สามารถบอกได้ว่านักเรียนที่ได้เกรด 4 ได้คะแนนเป็นสองเท่าของนักเรียนท่ีได้
เกรด 2 ทั้งน้ี ในทางปฏิบัติเป็นที่นิยมโดยทั่วไปให้สามารถพิจารณาข้อมูลลักษณะน้ีเป็นข้อมูลเชิง
ปรมิ าณและสามารถหาค่าเฉลยี่ ได้
ขัน้ สรปุ บทเรียน
ผู้เรยี นและครูร่วมกนั สรุปประเภทของขอ้ มูล ดงั นี้
ขอ้ มูลทีจ่ ะนามาใช้ศกึ ษาสามารถแบง่ ได้หลายประเภททีส่ าคัญมดี ังน้ี
1. การแบ่งประเภทของขอ้ มลู ตามแหล่งที่มาของข้อมูล
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามแหล่งท่ีมาของข้อมูลเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
คานึงวา่ ผใู้ ช้ขอ้ มลู เป็นผจู้ ัดเก็บข้อมูลเอง หรือเป็นข้อมูลท่ีบุคคลหรือหน่วยงานอ่ืนเป็นผู้จัดเก็บแล้ผู้ใช้
เพียงแคน่ ามาใช้จึงแบ่งขอ้ มูลออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้
1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) หมายถึงข้อมูลที่ผู้ใช้ดาเนินการเก็บรวบรวมจาก
เจา้ ของข้อมูลหรอื ตน้ กาเนิดของข้อมลู โดยตรง
2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) หมายถึงข้อมูลท่ีผู้ใช้ไม่ได้ดาเนินการเก็บรวบรวม
จากเจ้าของขอ้ มลู หรอื ต้นกาเนิดของข้อมูลโดยตรง แต่ใช้ข้อมูลท่ีบุคคลหรือหน่วยงานอื่นเก็บรวบรวม
มา ซ่ึงส่วนใหญ่ผู้ใช้มักจะใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมโดยภาครัฐซ่ึงเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลตามภารกิจ
ของหน่วยงาน
2. การแบง่ ประเภทของข้อมลู ตามระยะเวลาทีจ่ ดั เกบ็
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามระยะเวลาที่จัดเก็บเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
พิจารณาจากชว่ งเวลาที่มีขอ้ มลู เกดิ ขนึ้ และมกี ารจัดเกบ็ จงึ แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี
1) ข้อมลู อนุกรมเวลา (Time series data) หมายถงึ ชดุ ข้อมูลทีเ่ กดิ ขึ้นและจัดเกบ็ ตาม
ลาดบั เวลาต่อเนอื่ งกนั ไปตลอดช่วง ๆ หน่ึง
2) ข้อมูลตัดขวาง (Cross-sectional data) หมายถึงข้อมูลท่บี อกสถานะหรือสภาพของส่ิง
ทส่ี นใจ ณ จุดหน่งึ ของเวลา
3. การแบ่งประเภทของขอ้ มูลตามลักษณะของขอ้ มูล
การแบ่งประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลเป็นการแบ่งประเภทของข้อมูล โดย
พิจารณาจากข้อมลู นัน้ แสดงถึงปรมิ าณของส่ิง ๆ หนึ่งหรือไม่ จึงแบง่ ขอ้ มลู ออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) หมายถึงข้อมูลท่ีได้จากการวัดหรือการนับค่า
โดยแสดงเปน็ ตัวเลขหรอื ปริมาณท่ีสามารถนาไปบวก ลบ คูณ หรือหาร และเปรียบเทียบกันได้
2) ข้อมลู เชงิ คุณภาพ (Qualitative data) หมายถึงข้อมูลที่แสดงลักษณะ ประเภท สมบัติ
ในเชิงคุณภาพและอื่น ๆ ท่ไี มส่ ามารถวัดค่าเป็นตวั เลขทีน่ ามาบวก ลบ คูณ หรือหารกันได้
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง ประเภทของข้อมูล 11
แบบบันทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที.่ ........เวลา................ช่วั โมง/คาบ ภาคเรียนท.่ี ...........ปีการศกึ ษา...........
เร่อื ง.........................................................................................................................................................
รหสั วิชา...............................ช่อื วิชา...................................... ............................ชน้ั ..................................
1. จานวนนกั เรียนท่รี ่วมกิจกรรมการเรียนรู้ จานวนนักเรยี นท่ขี าดเรยี น (คน)
จานวนนกั เรยี นท้งั หมด (คน)
นักเรียนท่ขี าดเรียน (เลขท่ี) หมายเหตุ
2. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรุง
2.2 ความเหมาะสมของเน้ือหา ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง
2.3 กิจกรรมการเรยี นรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรงุ
2.4 สอื่ การเรียนรู้ ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรงุ
............................................................................................................................... ............
............................................................................................................................. ..............
2.5 พฤตกิ รรม/การมีสว่ นรว่ มของผเู้ รียน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรับปรงุ
............................................................................................................................. ..............
................................................................................................................................... ........
2.6 ผลการปฏิบัติกิจกรรม/ใบกจิ กรรม/ใบงาน/แบบฝกึ หดั /การทดสอบก่อน – หลงั เรยี น
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............
3. ปญั หาและอุปสรรค
..................................................................................................................................................
.......................................................................................................................... ........................
4. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .....................
........................................................................................ ........................................ ..................
ลงชอื่ ……….……………………ครูผูส้ อน
(นายครรชิต แซ่โฮ่)
ตาแหนง่ ครู อนั ดับ คศ.2
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง ประเภทของข้อมลู 12
แบบสังเกตพฤตกิ รรมผ้เู รยี นดา้ นทกั ษะกระบวนการ
รายวิชา คณติ ศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหสั วิชา ค33202 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ภาคเรียนท่ี.................. ปีการศึกษา...................
คาบที่................ วนั ท…ี่ ……..เดือน………………………..พ.ศ………..........
คาชแี้ จง ให้ใส่คะแนนระดับคณุ ภาพลงในช่องทกั ษะกระบวนการแต่ละช่องตามเกณฑ์การใหค้ ะแนน
พฤติกรรมผู้เรียนด้านทกั ษะกระบวนการ สรปุ ผล
ที่ ชื่อ – สกุล รวม การประเมนิ
การ การให้ การสอื่ สาร การ การคิดรเิ ร่มิ ผา่ น ไม่
แกป้ ญั หา เหตุผล เชือ่ มโยง สรา้ งสรรค์ ผ่าน
การผ่านเกณฑ์ตอ้ งไดร้ ะดับคุณภาพโดยรวมตงั้ แต่ 10 คะแนนข้นึ ไป
ลงช่อื ……………………………………………..ผูป้ ระเมนิ
(……………………………………………...)
วันที่............เดือน.......................พ. ศ................
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง ประเภทของข้อมูล 13
เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านทักษะกระบวนการ
1. การแกป้ ัญหา
คะแนน : ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาทป่ี รากฏใหเ้ ห็น
4 : ดมี าก ใช้ยทุ ธวธิ ีดาเนนิ การแก้ปญั หาสาเร็จอย่างมีประสทิ ธภิ าพ อธิบายถึง
เหตุผลในการใชว้ ิธกี ารดงั กลา่ วได้เขา้ ใจชัดเจน
3 : ดี ใชย้ ทุ ธวิธดี าเนนิ การแก้ปัญหาสาเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถึงเหตุผล
ในการใช้วธิ ีการดังกล่าวไดด้ ีกว่านี้
2 : พอใช้ มยี ุทธวธิ ดี าเนนิ การแก้ปัญหาสาเร็จเพยี งบางส่วน อธิบายถึงเหตผุ ล
ในการใชว้ ธิ กี ารดังกล่าวไดบ้ างส่วน
1 : ควรแก้ไข มีร่องรอยการแก้ปญั หาบางสว่ น เร่มิ คิดวา่ ทาไมจงึ ตอ้ งใช้วธิ ีการน้นั
แล้วหยุด อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แก้ปัญหาไม่สาเรจ็
0 : ควรปรบั ปรุง ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์ข้างต้นหรือไมม่ รี ่องรอยการดาเนินการแก้ปญั หา
2. การให้เหตุผล
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ปี รากฏใหเ้ หน็
4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจอย่างมเี หตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงท่ถี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไมส่ มเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ
1 : ควรแกไ้ ข มคี วามพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสนิ ใจ
0 : ควรปรับปรงุ ไมม่ แี นวคิดประกอบการตัดสินใจ
3. การสอื่ สาร การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการสือ่ สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนาเสนอท่ีปรากฏให้เห็น
ใช้ภาษาและสัญลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ที่ถกู ต้อง นาเสนอโดยใช้กราฟ
4 : ดีมาก แผนภมู ิ หรือตารางแสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขนั้ ตอนได้เป็น
ระบบ กระชบั ชดั เจน และมีความละเอียดสมบูรณ์
ใชภ้ าษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิ
3 : ดี หรือตารางแสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอนได้ถูกต้อง
ขาดรายละเอยี ดท่สี มบูรณ์
2 : พอใช้ ใช้ภาษาและสัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์ พยายามนาเสนอข้อมูลโดยใช้
กราฟ แผนภมู ิ หรือตารางแสดงข้อมูลประกอบชดั เจนบางสว่ น
1 : ควรแกไ้ ข ใชภ้ าษาและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์อยา่ งงา่ ย ๆ ไม่ไดใ้ ช้กราฟ
แผนภูมหิ รอื ตารางเลย และการนาเสนอข้อมูลไมช่ ดั เจน
0 : ควรปรับปรงุ ไมน่ าเสนอขอ้ มูล
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื ง ประเภทของข้อมูล 14
4. การเชอ่ื มโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการเชอื่ มโยงที่ปรากฏใหเ้ ห็น
นาความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ
4 : ดีมาก สาระคณิตศาสตร์ / สาระอ่นื / ในชีวิตประจาวนั เพ่อื ชว่ ย
ในการแก้ปัญหาหรอื ประยุกต์ใช้ไดอ้ ยา่ งสอดคล้องและเหมาะสม
นาความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ
3 : ดี สาระคณติ ศาสตร์ / สาระอ่นื / ในชวี ติ ประจาวนั เพือ่ ชว่ ยในการ
แก้ปญั หา หรอื ประยุกตใ์ ช้ได้บางส่วน
2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชอ่ื มโยงกบั สาระ
คณติ ศาสตร์ ได้บางสว่ น
1 : ควรแก้ไข นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ในการเช่ือมโยงยงั ไม่
เหมาะสม
0 : ควรปรบั ปรุง ไมม่ ีการเชอ่ื มโยงกบั สาระอื่นใด
5. ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ ความคดิ รเิ รมิ สรา้ งสรรคท์ ปี่ รากฏใหเ้ หน็
4 : ดีมาก มแี นวคดิ / วธิ ีการแปลกใหม่ท่ีสามารถนาไปปฏบิ ัติได้อยา่ งถกู ต้อง
สมบรู ณ์
3 : ดี มีแนวคิด / วธิ กี ารแปลกใหม่ทสี่ ามารถนาไปปฏิบัติได้ถกู ต้องแต่นาไป
ปฏบิ ตั ิแลว้ ไมถ่ ูกต้องสมบรู ณ์
2 : พอใช้ มแี นวคดิ / วธิ ีการไมแ่ ปลกใหมแ่ ตน่ าไปปฏิบตั ิแลว้ ถกู ต้องสมบูรณ์
1 : ควรแกไ้ ข มแี นวคดิ / วธิ ีการไมแ่ ปลกใหม่และนาไปปฏบิ ตั แิ ล้วไม่ถูกต้องสมบรู ณ์
0 : ควรปรับปรุง ไม่มผี ลงาน
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เรือ่ ง ประเภทของข้อมลู 15
แบบสงั เกตพฤติกรรมผ้เู รียนด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
รายวชิ า คณติ ศาสตร์เพมิ่ เติม 6 รหสั วิชา ค33202 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ภาคเรยี นท่ี.................. ปกี ารศกึ ษา...................
คาบท.ี่ ............... วนั ท…่ี ……..เดอื น………………………..พ.ศ………..........
คาช้แี จง ใหใ้ ส่คะแนนระดบั คุณภาพลงในช่องคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์แตล่ ะช่องตามเกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมผู้เรียนดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สรปุ ผล
ท่ี ชอื่ – สกลุ การทางานเป็น ระเบียบ ความ ความเชื่อมั่น รวม การประเมนิ
ระบบรอบคอบ วนิ ยั รับผดิ ชอบ ในตนเอง
ความ ผา่ น ไม่
ซื่อสตั ย์ ผา่ น
การผ่านเกณฑต์ ้องได้ระดับคุณภาพโดยรวมตั้งแต่ 10 คะแนนขนึ้ ไป
ลงช่อื ……………………………………………..ผปู้ ระเมิน
(……………………………………………...)
วนั ที.่ ...........เดอื น.......................พ. ศ................
ครคู รรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื ง ประเภทของข้อมูล 16
เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. การทางานเป็นระบบรอบคอบ
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คณุ ลักษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น
- มีการวางแผนการดาเนินงานเป็นระบบ
3 : ดีมาก - การทางานมีครบทุกข้นั ตอน ตดั ข้ันตอนที่ไมส่ าคัญออก
- จดั เรียงลาดับความสาคญั ก่อน – หลงั ถูกต้องครบถว้ น
- มีการวางแผนการดาเนนิ งาน
2 : ดี - การทางานไม่ครบทกุ ขั้นตอน และผิดพลาดบา้ ง
- จัดเรียงลาดบั ความสาคญั ก่อน – หลงั ไดเ้ ป็นสว่ นใหญ่
- ไมม่ กี ารวางแผนการดาเนนิ งาน
1 : พอใช้ - การทางานไม่มีข้นั ตอน มีความผิดพลาดต้องแกไ้ ข
- ไม่จดั เรยี งลาดบั ความสาคัญ
2. ระเบยี บวินัย
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏให้เห็น
3 : ดมี าก - สมุดงาน ชน้ิ งาน สะอาดเรียบรอ้ ย
- ปฏบิ ตั ิตนอยู่ในข้อตกลงท่ีกาหนดให้รว่ มกนั ทุกคร้งั
2 : ดี - สมุดงาน ชน้ิ งาน ส่วนใหญ่สะอาดเรยี บรอ้ ย
- ปฏิบัตติ นอยใู่ นข้อตกลงทก่ี าหนดใหร้ ่วมกนั เป็นส่วนใหญ่
- สมุดงาน ชิน้ งาน ไมค่ ่อยเรยี บร้อย
1 : พอใช้ - ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงทก่ี าหนดใหร้ ว่ มกันเป็นบางครงั้ ต้องอาศยั
การแนะนา
3. ความรับผดิ ชอบ
คะแนน : ระดับคุณภาพ คุณลกั ษณะทป่ี รากฏใหเ้ หน็
- ส่งงานก่อนหรอื ตรงกาหนดเวลานัดหมาย
3 : ดมี าก - รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเป็นนสิ ัย
เปน็ ระบบแกผ่ ู้อน่ื และแนะนาชกั ชวนใหผ้ ้อู ่นื ปฏิบตั ิ
2 : ดี - ส่งงานชา้ กว่ากาหนด แตไ่ ด้มีการติดต่อชีแ้ จงผู้สอน มีเหตุผลทร่ี ับฟงั ได้
- รับผดิ ชอบในงานท่ไี ด้รับมอบหมายและปฏิบตั ิตนเองจนเปน็ นิสยั
1 : พอใช้ - สง่ งานชา้ กวา่ กาหนด
- ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการชแี้ นะ แนะนา ตักเตือนหรอื ใหก้ าลังใจ
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เร่อื ง ประเภทของข้อมูล 17
4. ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ คุณลักษณะทีป่ รากฏให้เหน็
3 : ดมี าก มแี นวคิด การตัดสินใจในการทางานด้วยตนเองทกุ ครั้ง ใหค้ าแนะนา
ผอู้ นื่ ได้
2 : ดี มีแนวคิด การตัดสินใจในการทางานด้วยตนเองเป็นบางครงั้ แต่ตอ้ งถาม
ปญั หาบางคร้ัง
1 : พอใช้ ไมม่ แี นวคดิ ของตนเอง ไมก่ ล้าตดั สินใจดว้ นตนเอง
5. ความซ่ือสตั ย์
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คุณลกั ษณะทปี่ รากฏให้เหน็
3 : ดีมาก มีแนวคดิ ในการทางานดว้ ยตนเองทุกครั้ง ไมน่ าผลงานคนอน่ื มา
ลอกเลียนแบบ ไม่นาผลงานผู้อ่ืนมาเป็นผลงานของตนเอง
2 : ดี มแี นวคิดในการทางานดว้ ยตนเองเป็นบางครัง้ ลอกเลียนแบบงานจาก
คนอืน่ บางคร้ัง ไม่นาผลงานผู้อนื่ มาเป็นผลงานของตนเอง
1 : พอใช้ ไมม่ แี นวคดิ ของตนเอง ทางานทกุ ครงั้ ต้องลอกเลียนแบบจากงานเพอื่ น
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
รายวชิ า คณติ ศาสตร์เพ่มิ เตมิ 6
รหัสวิชา ค33202
แผนการจดั การเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ม.6
ประกอบการใช้แบบฝกึ ทักษะ
เรือ่ ง สถติ ิศาสตรแ์ ละขอ้ มลู ดว้ ยรปู แบบ SSCS
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
4
เรอ่ื ง สถติ ศิ าสตรเ์ ชิงพรรณนาและ
สถิตศิ าสตร์เชงิ อนมุ าน
นายครรชติ แซ่โฮ่
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 15
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง สถิตศิ าสตร์เชงิ พรรณนาและสถติ ิศาสตร์เชิงอนมุ าน 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เร่ือง สถิติศาสตร์เชงิ พรรณนาและสถิติศาสตรเ์ ชิงอนุมาน
รายวิชา คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค33202 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สถิติศาสตรแ์ ละข้อมูล เวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 3 คาบ
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
สาระที่ 3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวช้วี ัด เข้าใจและใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการนา เสนอข้อมลู และแปล
ความหมายของคา่ สถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ
จุดเน้นการพฒั นาผเู้ รียน
แสวงหาความรู้เพ่ือการแกป้ ญั หา
ใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้
ทักษะการคิดขัน้ สูง
มที ักษะชวี ติ
ทักษะการส่ือสารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามชว่ งวัย
สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทีค่ งทน)
สถิติศาสตร์เชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีสรุปสาระ
สาคัญของข้อมูลชุดหนึ่งซ่ึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลเชิงปริมาณ เพื่ออธิบายลักษณะหรือสภาพ
ของข้อมูลชุดน้ันว่าเป็นอย่างไร โดยทั่วไปข้อมูลเชิงคุณภาพจะใช้การนาเสนอด้วยตารางความถ่ีแผนภูมิ
แท่ง ฐานนิยม และอ่ืน ๆ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณจะใช้การนาเสนอด้วยฮิสโทแกรมแผนภาพกล่อง ค่า
ต่าสุด ค่าสูงสดุ ค่าเฉลี่ย และอื่น ๆ
สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน (Inferential statistics) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีใช้ทฤษฎีท่ี
เกยี่ วกบั ความน่าจะเปน็ ในการหาขอ้ สรุปเกยี่ วกับลักษณะของประชากรโดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่างท่ีได้มา
จากประชากรน้ัน
สาระการเรยี นรู้ (มาตรฐานการปฏบิ ตั ิได้)
ด้านความรู้ (K) ผู้เรยี นสามารถ
1) ระบไุ ด้ว่าสถานการณ์ที่กาหนดใช้วธิ กี ารของสถิตศิ าสตรเ์ ชิงพรรณนาหรอื สถิตศิ าสตรเ์ ชงิ
อนุมาน
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ผู้เรียนมคี วามสามารถใน
1) การแก้ปัญหา
2) การให้เหตผุ ล
3) การสือ่ สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
4) การเช่ือมโยงความรูท้ างคณิตศาสตร์
5) ความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 เร่อื ง สถิตศิ าสตร์เชงิ พรรณนาและสถิตศิ าสตร์เชงิ อนมุ าน 2
ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผู้เรยี นมี
1) การทางานเปน็ ระบบ รอบคอบ
2) ระเบยี บวนิ ัย
3) ความรับผิดชอบ
4) ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง
5) ความซ่อื สัตย์
สมรรถนะสาคัญ
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
สื่อ/แหลง่ เรียนรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1) แบบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ เลม่ ที่ 1 เรือ่ ง สถิติศาสตร์และข้อมลู
แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องสมดุ ของโรงเรียน
2) การสบื คน้ ข้อมูลจากอินเตอรเ์ น็ต ไดแ้ ก่
- เว็บไซต์ http://www.google.co.th
- คลังวีดโี อสื่อคณติ ศาสตร์ http://www.youtube.com
- คลังเอกสารสือ่ คณติ ศาสตร์ http://www.scribd.com
หลักฐานการเรียนรู้
ช้นิ งาน
1) -
ภาระงาน
1) แบบฝึกทกั ษะท่ี 6 สถิติศาสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถติ ศิ าสตร์เชิงอนมุ าน
2) กจิ กรรม เรยี งร้อยความหมาย
3) กจิ กรรม การอนญุ าตใหใ้ ส่ชดุ ลาลองมาโรงเรยี นได้
4) กิจกรรม แบบสอบถามพน้ื ฐานทางสงั คมและเศรษฐกจิ ของนักเรยี น
5) แบบฝกึ หัดทา้ ยบท สถติ ศิ าสตร์และข้อมลู
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สถติ ศิ าสตร์เชิงพรรณนาและสถติ ศิ าสตร์เชิงอนุมาน 3
การวดั ผลและประเมินผลการจดั การเรียนรู้
ดา้ น รายการประเมิน วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ าร
1. ความรู้ (K) ประเมิน
ผเู้ รยี นสามารถ 1. ประเมนิ จากการทา
2. ทักษะ 1) ระบุได้วา่ สถานการณ์ที่ แบบฝกึ ทักษะ - แบบฝกึ ทักษะ ทาเอกสาร
กระบวนการ
(P) กาหนดใชว้ ธิ ีการของ 2. ตรวจเอกสารแบบฝึก แบบฝึกทกั ษะ/
สถิตศิ าสตร์เชงิ พรรณนา ทักษะ
หรอื สถิตศิ าสตร์เชิง ไดถ้ ูกต้องอย่าง
อนมุ าน 1. สังเกตจากการตอบ
ดจู ากแบบสังเกตพฤตกิ รรม คาถามในหอ้ งเรยี น นอ้ ย 70% ของ
ผู้เรยี นดา้ นทกั ษะ
กระบวนการ 2. สังเกตพฤติกรรม คะแนนทัง้ หมด
ผู้เรียน
แบบสังเกต การผา่ นเกณฑ์
3. คณุ ลกั ษณะ ดจู ากแบบสังเกตพฤติกรรม 1. สงั เกตจากการตอบ พฤติกรรม ตอ้ งได้ระดบั
อันพงึ ประสงค์ ผู้เรียนดา้ นคณุ ลกั ษณะ คาถามในหอ้ งเรยี น ผู้เรียน คณุ ภาพโดย
(A) อนั พึงประสงค์ ด้านทักษะ ภาพรวมตั้งแต่ 10
2. สังเกตพฤติกรรม กระบวนการ คะแนนข้ึนไป
ผู้เรยี น
แบบสังเกต การผา่ นเกณฑ์
พฤติกรรม ต้องไดร้ ะดบั
ผู้เรียน คณุ ภาพโดย
ด้านคุณลกั ษณะ ภาพรวมต้ังแต่ 10
อนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ ไป
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
กจิ กรรมการเรียนรู้ตามรปู แบบ SSCS
ขน้ั เตรียมความพรอ้ ม
1. ครใู ห้ผเู้ รยี นน่งั สมาธิ เพือ่ รวบรวมสติ สมาธิและเตรยี มความพรอ้ มในการเรยี น
2. ผเู้ รียนและครรู ว่ มกันสนทนาเก่ยี วกบั หลกั การดาเนินชีวิตประจาวัน โดยนาค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการมาแทรกเป็นกรณีตัวอย่างตามสถานการณ์ ได้แก่ 1) มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา 2) รู้จัก
ดารงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ต้น
3. ครูช้ีแจงวิธีการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
รปู แบบ SSCS
ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น
1. ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยแต่ละกลุ่มมีการคละความสามารถ
ของผู้เรียน เกง่ ปานกลาง และออ่ น ตามผลการเรียนท่พี ิจารณาจากการสอบในภาคเรยี นที่ผ่านมาเป็น
รายบุคคล เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนได้ช่วยเหลือกันและแลกเปลย่ี นประสบการณ์ภายในกลุ่ม และให้ผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มช่วยกันเลอื กประธาน 1 คน เลขานกุ าร 1 คน และผู้รว่ มงาน 2 – 3 คน
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เร่ือง สถิตศิ าสตร์เชิงพรรณนาและสถิตศิ าสตรเ์ ชงิ อนมุ าน 4
2. ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของกิจกรรมการเรียนรตู้ ามรปู แบบ SSCS ใหผ้ เู้ รียนทราบ
3. ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนา ทบทวนเกี่ยวกับความรู้เดิม เรื่องประเภทของข้อมูล พร้อม
ทั้งยกตัวอย่างให้ผู้เรียนจาแนกประเภทของข้อมูลตามแหล่งที่มาของข้อมูล ระยะเวลาท่ีจัดเก็บ หรือ
ลกั ษณะของข้อมลู โดยครใู ช้การถาม-ตอบ เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ
ข้ันกจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 Search: S (ข้ันสบื เสาะค้นหาความร้)ู
1.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสแกน QR code เพ่ือเข้าไปศึกษาวีดิทัศน์ซึ่งจัดทาขึ้นภายใต้
โครงการ Project14 ของสสวท.
หรือเว็บไซต์ที่ https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-math-basic/m6-math-basic/math-m6-004/
จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของสถิติศาสตร์เชิงพรรณนา โดยครูคอยแนะนาจนกว่า
ผู้เรยี นเข้าใจ ดังนี้
การวเิ คราะห์ข้อมลู แบง่ ข้อมลู ได้เป็นสถติ ิศาสตรเ์ ชงิ พรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน
โดยมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้
สถิติศาสตร์เชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่สรุป
สาระ สาคัญของข้อมูลชุดหน่ึงซ่ึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลเชิงปริมาณ เพ่ืออธิบายลักษณะ
หรอื สภาพของขอ้ มลู ชดุ นน้ั ว่าเป็นอย่างไร โดยท่ัวไปข้อมูลเชิงคุณภาพจะใช้การนาเสนอด้วยตาราง
ความถ่ีแผนภูมิแท่ง ฐานนิยม และอื่น ๆ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณจะใช้การนาเสนอด้วยฮิสโทแกรม
แผนภาพกล่อง ค่าต่าสุด ค่าสูงสดุ คา่ เฉลย่ี และอืน่ ๆ
1.2 ครยู กตัวอยา่ งการใช้สถิตศิ าสตร์เชงิ พรรณนาใหผ้ ู้เรยี น ดังนี้
1) คะแนนสงู สดุ ในการสอบกลางภาควิชาคณติ ศาสตร์ คอื 29 คะแนน
2) รายได้เฉลี่ยของผูป้ กครองนกั เรียนช้ัน ม.6
3) นกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลัยแห่งหนงึ่ ทมี่ ภี มู ิลาเนาอยู่ภาคใต้คิดเป็นร้อยละ 20 ของ
นักศกึ ษาทั้งหมด
1.3 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันยกตัวอย่างอ่ืน ๆ ท่ีเป็นการใช้สถิติศาสตร์เชิงพรรณนามา
กลมุ่ ละ 3 ตวั อยา่ ง
1.4 ให้ผู้เรียนพจิ ารณาตัวอย่างขอ้ มูล แลว้ ต้งั คาถามกระตนุ้ ความคดิ ของผ้เู รยี น ดังน้ี
คะแนนสอบวชิ าคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ห้องหนึ่ง จานวน 50 คน เก็บ
รวบรวมมาได้ดงั น้ี
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรอื่ ง สถติ ิศาสตร์เชิงพรรณนาและสถิติศาสตรเ์ ชิงอนุมาน 5
81 79 74 50 47 53 66 62 98 70
78
77 73 86 73 52 69 85 64 54 91
49
81 80 74 95 70 72 93 62 58 59
50 69 45 85 82 78 68 78 67
49 55 67 67 89 58 53 55 90
คาถามที่ 1 จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ นกั เรียนทไ่ี ดค้ ะแนนสอบมากกวา่ 80 คะแนน มกี ีค่ น
คาตอบ 12 คน
คาถามที่ 2 จากคาถามท่ี 1 ผู้เรียนมวี ธิ ีคดิ อยา่ งไรถึงไดค้ าตอบ
คาตอบ โดยการไล่นับข้อมูลทีละจานวน
คาถามท่ี 3 จากข้อมูลขา้ งตน้ นักเรียนทีไ่ ดค้ ะแนนสอบต้ังแต่ 61 – 70 คะแนน มีก่คี น
คาตอบ 12 คน
คาถามท่ี 4 จากคาถามท่ี 3 ผเู้ รียนมวี ธิ คี ดิ อยา่ งไรถึงได้คาตอบ ยังมีวิธีอน่ื อกี หรือไม่
คาตอบ โดยการไล่นับข้อมูลทีละจานวน
จากคาถามข้างตน้ จะเห็นได้ว่า การตอบคาถามข้างตน้ ได้จะต้องมีการไล่นับข้อมูลทีละจานวน
ถงึ สองรอบ ซงึ่ ถ้าข้อมูลมจี านวนมากยิ่งจะให้เราเสียเวลามากข้ึนด้วย ดังน้ัน ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้
อาจมีจานวนมากหรือเก็บรวบรวมไม่เป็นระบบจึงไม่สามารถนามาอธิบายลักษณะที่สาคัญของข้อมูล
ไดช้ ัดเจน จงึ ต้องใช้วธิ ีการของสถิติศาสตรเ์ ชิงพรรณนาในการสรปุ ผลจากข้อมูลด้วยการนาเสนอข้อมูล
ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพื่อให้สามารถอ่านและแปลความหมายของข้อมูลไดง้ า่ ยขนึ้
จากข้อมูลข้างต้น อาจใช้วิธีการของสถิติศาสตร์เชิงพรรณนาในการนาเสนอข้อมูลด้วยตาราง
โดยแบ่งชว่ งคะแนนได้ดงั นี้
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน)
41 – 50 6
51 – 60 9
61 – 70 12
71 – 80 11
81 – 90 8
91 – 100 4
รวม 50
จะเห็นวา่ การนาเสนอข้อมูลด้วยตารางจะทาใหอ้ า่ นและแปลความหมายของข้อมูลได้ง่ายกว่า
การพิจารณาจากขอ้ มูลท่ีเกบ็ รวบรวมมาได้ท้งั หมดโดยทยี่ งั ไม่ไดจ้ ัดกลมุ่ ขอ้ มูลในรูปของตาราง
นอกจากน้ยี งั เป็นการวิเคราะหข์ ้อเพือ่ สรุปส่ิงท่ีสนใจได้ เช่น จากตารางมีนักเรียนที่ได้คะแนน
สอบมากกว่า 60 คะแนน จานวน 12 + 11 + 8 + 4 = 35 คน ซึ่งมากกว่าร้อยละ 50 ของนักเรียน
ทงั้ หมด
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เรือ่ ง สถิตศิ าสตร์เชงิ พรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน 6
1.5 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวีดิทัศน์ต่อ จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมาย
ของสถิตศิ าสตร์เชงิ อนุมาน โดยครูคอยแนะนาจนกวา่ ผู้เรียนเขา้ ใจ ดังน้ี
สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน (Inferential statistics) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีใช้ทฤษฎีที่
เก่ียวกับความน่าจะเป็นในการหาข้อสรุปเก่ียวกับลักษณะของประชากรโดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่าง
ที่ไดม้ าจากประชากรนนั้
1.6 ครูยกตัวอย่างการใช้สถิติศาสตร์เชิงพรรณนาให้ผู้เรียน แล้วต้ังคาถามกระตุ้นความคิด
ของผูเ้ รียน ดังน้ี
ตัวอยา่ งของการใชส้ ถติ ศิ าสตรเ์ ชงิ อนุมาน
ในการสารวจพฤติกรรมการเดินทางท่องเท่ียวของคนไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ใน พ.ศ. 2559
ซ่ึงจัดทาโดยสานักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้มีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลในเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 จากคนไทยท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไปทั่วประเทศ
ทเี่ ลอื กตวั อยา่ งจานวน 63,060 คน และได้ขอ้ สรปุ ดงั แสดงในรูป
ร้อยละของคนไทยที่มอี ายุ 15 ปีขึน้ ไป ทเ่ี ดนิ ทางทอ่ งเที่ยวจาแนกตามวัตถปุ ระสงคห์ ลกั
ในการเดนิ ทางท่องเทีย่ ว 5 อนั ดับแรก ในรอบปี 2559
คาถาม ผเู้ รยี นคดิ ว่า ประชากร ตวั อยา่ ง และค่าสถิติของการสารวจนี้คืออะไร
ตอบ 1) ประชากร คือ คนไทยทมี่ ีอายุ 15 ปขี ้ึนไป ใน พ.ศ. 2559
2) ตัวอย่าง คือ คนไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ใน พ.ศ. 2559 ท่ีเลือกตัวอย่างจานวน
63,060 คน
3) ค่าสถิติ คือ ร้อยละของคนไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่เดินทางท่องเท่ียวจาแนก
ตามวัตถุประสงค์หลักในการเดินทางท่องเที่ยว 5 อันดับแรก ในรอบปี 2559 ท่ี
เลือกตัวอย่างจานวน 63,060 คน
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เร่อื ง สถิตศิ าสตร์เชิงพรรณนาและสถติ ศิ าสตร์เชงิ อนมุ าน 7
จากข้อมูลขา้ งต้นจะเห็นวา่ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปลักษณะท่ีสาคัญของตัวอย่าง การ
วิเคราะห์ขอ้ มูลขา้ งตน้ เปน็ การใช้สถติ ศิ าสตร์เชงิ พรรณา
และจากรูปจะได้ข้อสรุปว่าวัตถุประสงค์หลักอันดับท่ี 1 ในการเดินทางท่องเที่ยวของคนไทย
ทั้งประเทศที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ใน พ.ศ. 2559 คือการเยี่ยมครอบครัว/ญาติ/เพ่ือน ซึ่งคิดเป็น 33.1%
ซึ่งสอดคล้องกับคาสาคัญในสถิติศาสตร์คือ พารามิเตอร์ เพราะเป็นผลสรุปจากการเดินทางท่องเท่ียว
ของคนไทยทั่วประเทศท่ีมีอายุ 15 ปีข้ึนไป ใน พ.ศ. 2559 ซ่ึงเป็นประชากรของข้อมูลชุดนี้ จากการ
สรุปโดยใชค้ ่าเดยี วกับค่าสถิตขิ องตัวอย่าง การสรุปในลักษณะน้ีจะเป็นการสรุปลักษณะของประชากร
โดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่างท่ีได้จากประชากร เรียกการวิเคราะห์ข้อมูลข้างต้นน้ีว่าสถิติศาสตร์เชิง
อนุมาน
ข้อสรุปที่ได้จากวิธีการของสถิติศาสตร์เชิงอนุมานใช้อธิบายลักษณะของประชากร โดยค่าท่ี
แสดงลักษณะของประชากรหรอื พารามิเตอรจ์ ะไม่สามารถหาได จากวธิ ีการของสถติ ิศาสตร์เชิงอนุมาน
แต่วิธีการของสถิติศาสตร์เชิงอนุมานสามารถใช้หาค่าประมาณของพารามิเตอร์ได้ ซ่ึงค่าประมาณ
ดังกล่าวเป็นค่าสถิติ เน่ืองจากเป็นค่าที่พิจารณาจากข้อมูลของตัวอย่าง เช่น จากตัวอย่างของการใช้
สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน ตัวเลข 33.1% ในข้อสรุปข้างต้นเป็นค่าสถิติท่ีใช้ประมาณค่าของพารามิเตอร์
โดยได้จากการนาขอ้ มูลของตัวอย่างจานวน 63,060 คน มาใช้ในการอธิบายลักษณะของประชากร ซ่ึง
คือคนไทยทั้งประเทศที่มีอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ใน พ.ศ. 2559
จากทก่ี ลา่ วมา จะเห็นวา่ สถติ ิศาสตร์ครอบคลุมเรือ่ งของขอ้ มูลและการจัดการกับข้อมูลเพื่อให้
ได้ผลสรปุ ทส่ี ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ โดยมีองค์ประกอบที่สาคัญ เช่นการเก็บรวบรวมข้อมูล การ
วิเคราะหข์ ้อมูล และการสรปุ ผลจากขอ้ มลู ท่เี กย่ี วข้อง
ขั้นที่ 2 Solve: S (ขั้นการแกป้ ัญหา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคิดและวิธีการทผ่ี ู้เรียนเลอื กใชใ้ นการแกป้ ัญหา
2.2 ครูให้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนที่ผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในท่ีสุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกทักษะท่ี 6 สถิติศาสตร์เชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน แล้วช่วยกัน
เฉลยและตรวจสอบความถกู ต้อง
2.3 ครูใหผ้ ู้เรยี นทบทวนความรูเ้ ร่อื งสถิติศาสตร์และขอ้ มลู โดยให้นกั เรยี นทากิจกรรมต่อไปนี้
1) กจิ กรรม เรยี งรอ้ ยความหมาย (15 นาท)ี
2) กจิ กรรม การอนญุ าตใหใ้ สช่ ดุ ลาลองมาโรงเรียนได้ (10 นาท)ี
3) กิจกรรม แบบสอบถามพนื้ ฐานทางสังคมและเศรษฐกจิ ของนกั เรียน (10 นาที)
4) แบบฝึกหดั ท้ายบท สถติ ิศาสตรแ์ ละข้อมูล (การบ้าน)
แล้วช่วยกันเฉลยและตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ขัน้ ท่ี 3 Create: C (ข้นั สรา้ งความรู้)
3.1 ครูให้ผู้เรียนเรียบเรียงข้ันตอนการแก้ปัญหาและบันทึกความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เรอื่ งสถิติศาสตรเ์ ชงิ พรรณนาและสถติ ิศาสตรเ์ ชิงอนุมาน และจากการทาแบบฝึกทักษะที่ 6 สถิติศาสตร์
เชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน ลงในสมุดโดยใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ สละสลวยในการ
เขยี นแสดงแนวคดิ และอธิบายคาตอบของผู้เรียน
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เร่ือง สถติ ศิ าสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชงิ อนุมาน 8
ข้ันท่ี 4 Share: S (ขน้ั อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ )
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝกึ ทักษะ
4.2 ครสู ุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบท่ีแตกต่างจากเพื่อนก็สามารถ
นาวธิ กี ารหรือแนวคิดนนั้ มานาเสนอได้อย่างเตม็ ท่ี
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลท่ีได้ที่เพื่อนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะท่ีร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นนั้น ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การสื่อสารท้ังในด้านการฟังและการพดู ของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กนั
ขั้นสรปุ บทเรยี น
ผเู้ รียนและครรู ่วมกนั สรปุ ความหมายของสถิตศิ าสตร์เชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน
ดงั น้ี
สถิติศาสตร์เชิงพรรณนา (Descriptive statistics) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีสรุปสาระ
สาคัญของข้อมูลชุดหน่ึงซ่ึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือข้อมูลเชิงปริมาณ เพ่ืออธิบายลักษณะหรือสภาพ
ของข้อมูลชุดน้ันว่าเป็นอย่างไร โดยท่ัวไปข้อมูลเชิงคุณภาพจะใช้การนาเสนอด้วยตารางความถี่แผนภูมิ
แท่ง ฐานนิยม และอ่ืน ๆ ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณจะใช้การนาเสนอด้วยฮิสโทแกรมแผนภาพกล่อง ค่า
ตา่ สุด คา่ สงู สุด ค่าเฉล่ยี และอ่นื ๆ
สถิติศาสตร์เชิงอนุมาน (Inferential statistics) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีใช้ทฤษฎีท่ี
เกย่ี วกบั ความนา่ จะเป็นในการหาขอ้ สรปุ เกย่ี วกับลักษณะของประชากรโดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่างท่ีได้มา
จากประชากรน้ัน
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เรื่อง สถติ ิศาสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถิตศิ าสตรเ์ ชิงอนมุ าน 9
แบบบนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่.ี ........เวลา................ช่ัวโมง/คาบ ภาคเรียนท่ี............ปกี ารศกึ ษา...........
เร่ือง.........................................................................................................................................................
รหัสวชิ า...............................ชอ่ื วิชา...................................... ............................ช้ัน..................................
1. จานวนนักเรียนที่รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ จานวนนกั เรยี นทีข่ าดเรียน (คน)
จานวนนกั เรยี นทง้ั หมด (คน)
นกั เรยี นที่ขาดเรียน (เลขที่) หมายเหตุ
2. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรุง
2.2 ความเหมาะสมของเน้ือหา ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรงุ
2.3 กิจกรรมการเรียนรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรงุ
2.4 สอื่ การเรียนรู้ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ตอ้ งปรบั ปรุง
............................................................................................................................... ............
....................................................................................................................... ....................
2.5 พฤตกิ รรม/การมีส่วนรว่ มของผู้เรียน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรบั ปรงุ
............................................................................................................................. ..............
................................................................................................................................... ........
2.6 ผลการปฏิบัติกจิ กรรม/ใบกิจกรรม/ใบงาน/แบบฝกึ หัด/การทดสอบก่อน – หลงั เรียน
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............
3. ปัญหาและอปุ สรรค
.......................................................................................................................... ........................
......................................................................................................................... .........................
4. ข้อเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
ลงช่อื ……….……………………ครูผสู้ อน
(นายครรชิต แซ่โฮ่)
ตาแหนง่ ครู อันดบั คศ.2
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เร่อื ง สถติ ศิ าสตร์เชงิ พรรณนาและสถิตศิ าสตรเ์ ชิงอนมุ าน 10
แบบสังเกตพฤติกรรมผ้เู รยี นดา้ นทักษะกระบวนการ
รายวิชา คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม 6 รหัสวชิ า ค33202 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ภาคเรียนท่ี.................. ปีการศกึ ษา...................
คาบที่................ วนั ท…ี่ ……..เดอื น………………………..พ.ศ………..........
คาชีแ้ จง ให้ใส่คะแนนระดับคุณภาพลงในช่องทักษะกระบวนการแต่ละช่องตามเกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมผู้เรยี นดา้ นทกั ษะกระบวนการ สรปุ ผล
ท่ี ชื่อ – สกลุ รวม การประเมิน
การ การให้ การสอื่ สาร การ การคิดริเรมิ่ ผา่ น ไม่
แก้ปัญหา เหตผุ ล เชอื่ มโยง สรา้ งสรรค์ ผ่าน
การผา่ นเกณฑ์ต้องได้ระดบั คณุ ภาพโดยรวมตง้ั แต่ 10 คะแนนขน้ึ ไป
ลงช่ือ……………………………………………..ผู้ประเมนิ
(……………………………………………...)
วันท่.ี ...........เดือน.......................พ. ศ................
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง สถติ ิศาสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถิตศิ าสตร์เชงิ อนุมาน 11
เกณฑ์การให้คะแนนด้านทักษะกระบวนการ
1. การแกป้ ญั หา
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ปี รากฏให้เห็น
4 : ดีมาก ใช้ยทุ ธวิธดี าเนนิ การแก้ปัญหาสาเร็จอยา่ งมีประสิทธภิ าพ อธบิ ายถงึ
เหตุผลในการใชว้ ิธกี ารดงั กลา่ วได้เข้าใจชดั เจน
3 : ดี ใช้ยทุ ธวิธีดาเนนิ การแกป้ ญั หาสาเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถงึ เหตุผล
ในการใช้วธิ กี ารดงั กล่าวได้ดกี ว่าน้ี
2 : พอใช้ มยี ทุ ธวิธดี าเนนิ การแกป้ ัญหาสาเรจ็ เพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตุผล
ในการใชว้ ิธีการดงั กลา่ วได้บางส่วน
1 : ควรแกไ้ ข มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางสว่ น เรมิ่ คิดว่าทาไมจึงตอ้ งใชว้ ิธีการน้ัน
แล้วหยุด อธิบายต่อไมไ่ ด้ แก้ปัญหาไม่สาเร็จ
0 : ควรปรับปรงุ ทาได้ไมถ่ ึงเกณฑข์ ้างตน้ หรือไมม่ รี อ่ งรอยการดาเนินการแก้ปัญหา
2. การให้เหตผุ ล
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ปี รากฏให้เห็น
4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงท่ถี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สนิ ใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสนิ ใจ
1 : ควรแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ
0 : ควรปรับปรุง ไมม่ ีแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ
3. การส่ือสาร การสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการสื่อสาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์
และการนาเสนอท่ปี รากฏให้เห็น
ใช้ภาษาและสัญลักษณท์ างคณติ ศาสตร์ที่ถูกต้อง นาเสนอโดยใชก้ ราฟ
4 : ดมี าก แผนภูมิ หรือตารางแสดงขอ้ มูลประกอบตามลาดบั ข้นั ตอนได้เป็น
ระบบ กระชบั ชดั เจน และมีความละเอียดสมบรู ณ์
ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิ
3 : ดี หรอื ตารางแสดงข้อมูลประกอบตามลาดับข้นั ตอนไดถ้ ูกต้อง
ขาดรายละเอยี ดทีส่ มบรู ณ์
2 : พอใช้ ใชภ้ าษาและสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์ พยายามนาเสนอขอ้ มลู โดยใช้
กราฟ แผนภูมิ หรอื ตารางแสดงข้อมูลประกอบชัดเจนบางสว่ น
1 : ควรแก้ไข ใช้ภาษาและสัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์อย่างง่าย ๆ ไมไ่ ด้ใชก้ ราฟ
แผนภูมหิ รอื ตารางเลย และการนาเสนอข้อมูลไม่ชัดเจน
0 : ควรปรับปรงุ ไม่นาเสนอข้อมูล
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 เรอื่ ง สถิติศาสตร์เชงิ พรรณนาและสถติ ศิ าสตรเ์ ชิงอนุมาน 12
4. การเช่ือมโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์
คะแนน : ระดับคุณภาพ ความสามารถในการเช่ือมโยงทป่ี รากฏใหเ้ ห็น
นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ
4 : ดมี าก สาระคณติ ศาสตร์ / สาระอื่น / ในชีวิตประจาวนั เพอื่ ชว่ ย
ในการแก้ปญั หาหรอื ประยกุ ต์ใช้ไดอ้ ย่างสอดคล้องและเหมาะสม
นาความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชอ่ื มโยงกบั
3 : ดี สาระคณติ ศาสตร์ / สาระอน่ื / ในชีวติ ประจาวัน เพอ่ื ช่วยในการ
แก้ปัญหา หรือประยุกต์ใชไ้ ด้บางสว่ น
2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับสาระ
คณิตศาสตร์ ไดบ้ างสว่ น
1 : ควรแก้ไข นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงยังไม่
เหมาะสม
0 : ควรปรบั ปรงุ ไม่มีการเชอื่ มโยงกับสาระอน่ื ใด
5. ความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์
คะแนน : ระดับคณุ ภาพ ความคิดริเรมิ สร้างสรรค์ทป่ี รากฏใหเ้ หน็
4 : ดีมาก มแี นวคิด / วิธกี ารแปลกใหม่ทีส่ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างถูกต้อง
สมบรู ณ์
3 : ดี มีแนวคดิ / วธิ กี ารแปลกใหม่ทสี่ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ถูกต้องแต่นาไป
ปฏบิ ตั ิแลว้ ไมถ่ กู ต้องสมบูรณ์
2 : พอใช้ มแี นวคิด / วธิ ีการไม่แปลกใหมแ่ ต่นาไปปฏบิ ัติแลว้ ถูกต้องสมบูรณ์
1 : ควรแกไ้ ข มแี นวคดิ / วิธีการไมแ่ ปลกใหมแ่ ละนาไปปฏบิ ัติแล้วไม่ถกู ต้องสมบรู ณ์
0 : ควรปรบั ปรุง ไมม่ ีผลงาน
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เรอื่ ง สถิตศิ าสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถิติศาสตร์เชงิ อนมุ าน 13
แบบสงั เกตพฤติกรรมผู้เรยี นด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
รายวิชา คณิตศาสตรเ์ พมิ่ เติม 6 รหสั วชิ า ค33202 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6
ภาคเรียนที่.................. ปกี ารศึกษา...................
คาบท.่ี ............... วนั ท…ี่ ……..เดอื น………………………..พ.ศ………..........
คาช้ีแจง ใหใ้ ส่คะแนนระดับคณุ ภาพลงในช่องคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์แต่ละชอ่ งตามเกณฑก์ ารให้คะแนน
พฤติกรรมผู้เรยี นดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สรปุ ผล
ท่ี ชือ่ – สกุล การทางานเปน็ ระเบยี บ ความ ความเช่ือมั่น รวม การประเมนิ
ระบบรอบคอบ วนิ ัย รบั ผดิ ชอบ ในตนเอง
ความ ผ่าน ไม่
ซอื่ สัตย์ ผา่ น
การผ่านเกณฑ์ต้องไดร้ ะดับคณุ ภาพโดยรวมต้งั แต่ 10 คะแนนขน้ึ ไป
ลงชื่อ……………………………………………..ผู้ประเมิน
(……………………………………………...)
วนั ที.่ ...........เดือน.......................พ. ศ................
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรือ่ ง สถิตศิ าสตร์เชงิ พรรณนาและสถติ ศิ าสตร์เชิงอนมุ าน 14
เกณฑ์การให้คะแนนดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. การทางานเป็นระบบรอบคอบ
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ คณุ ลักษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น
- มีการวางแผนการดาเนินงานเป็นระบบ
3 : ดมี าก - การทางานมีครบทุกขน้ั ตอน ตดั ขัน้ ตอนทีไ่ ม่สาคัญออก
- จัดเรียงลาดบั ความสาคญั ก่อน – หลัง ถกู ต้องครบถว้ น
- มกี ารวางแผนการดาเนนิ งาน
2 : ดี - การทางานไมค่ รบทกุ ข้ันตอน และผิดพลาดบ้าง
- จดั เรยี งลาดับความสาคัญก่อน – หลัง ได้เปน็ ส่วนใหญ่
- ไมม่ ีการวางแผนการดาเนนิ งาน
1 : พอใช้ - การทางานไมม่ ีขนั้ ตอน มีความผิดพลาดต้องแกไ้ ข
- ไม่จดั เรยี งลาดบั ความสาคัญ
2. ระเบียบวินัย
คะแนน : ระดับคุณภาพ คุณลกั ษณะทป่ี รากฏให้เหน็
3 : ดีมาก - สมดุ งาน ชน้ิ งาน สะอาดเรยี บร้อย
- ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงท่ีกาหนดใหร้ ่วมกนั ทุกครงั้
2 : ดี - สมุดงาน ชน้ิ งาน สว่ นใหญส่ ะอาดเรยี บรอ้ ย
- ปฏิบัติตนอยูใ่ นข้อตกลงท่กี าหนดใหร้ ่วมกันเป็นสว่ นใหญ่
- สมดุ งาน ชิ้นงาน ไมค่ ่อยเรยี บรอ้ ย
1 : พอใช้ - ปฏบิ ัตติ นอยใู่ นข้อตกลงท่กี าหนดใหร้ ่วมกนั เปน็ บางครัง้ ต้องอาศัย
การแนะนา
3. ความรบั ผดิ ชอบ
คะแนน : ระดับคุณภาพ คณุ ลักษณะท่ปี รากฏใหเ้ ห็น
- ส่งงานกอ่ นหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
3 : ดมี าก - รับผิดชอบในงานท่ีไดร้ บั มอบหมายและปฏิบตั ิตนเองจนเปน็ นสิ ัย
เป็นระบบแกผ่ ู้อนื่ และแนะนาชักชวนให้ผูอ้ ืน่ ปฏิบตั ิ
2 : ดี - สง่ งานชา้ กว่ากาหนด แตไ่ ด้มีการตดิ ต่อช้แี จงผสู้ อน มเี หตุผลทรี่ บั ฟังได้
- รับผดิ ชอบในงานที่ได้รบั มอบหมายและปฏบิ ัตติ นเองจนเปน็ นสิ ัย
1 : พอใช้ - ส่งงานช้ากวา่ กาหนด
- ปฏิบตั ิงานโดยตอ้ งอาศยั การชี้แนะ แนะนา ตักเตือนหรอื ใหก้ าลังใจ
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เร่อื ง สถติ ศิ าสตรเ์ ชิงพรรณนาและสถติ ิศาสตรเ์ ชงิ อนมุ าน 15
4. ความเชื่อม่นั ในตนเอง
คะแนน : ระดบั คุณภาพ คุณลกั ษณะทปี่ รากฏให้เหน็
3 : ดมี าก มีแนวคดิ การตดั สินใจในการทางานด้วยตนเองทุกคร้ัง ให้คาแนะนา
ผูอ้ ื่นได้
2 : ดี มีแนวคิด การตัดสินใจในการทางานดว้ ยตนเองเป็นบางครั้ง แต่ต้องถาม
ปัญหาบางครัง้
1 : พอใช้ ไมม่ แี นวคดิ ของตนเอง ไมก่ ล้าตัดสนิ ใจดว้ นตนเอง
5. ความซ่ือสัตย์
คะแนน : ระดบั คณุ ภาพ คณุ ลักษณะที่ปรากฏให้เห็น
3 : ดีมาก มแี นวคิดในการทางานด้วยตนเองทุกครัง้ ไม่นาผลงานคนอ่นื มา
ลอกเลียนแบบ ไม่นาผลงานผู้อนื่ มาเปน็ ผลงานของตนเอง
2 : ดี มแี นวคดิ ในการทางานดว้ ยตนเองเปน็ บางครัง้ ลอกเลียนแบบงานจาก
คนอนื่ บางคร้ัง ไม่นาผลงานผู้อ่ืนมาเปน็ ผลงานของตนเอง
1 : พอใช้ ไม่มแี นวคิดของตนเอง ทางานทกุ ครง้ั ต้องลอกเลียนแบบจากงานเพื่อน
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
รายวิชา คณิตศาสตรเ์ พ่มิ เติม 6
รหัสวชิ า ค33202
แผนการจดั การเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ ม.6
ประกอบการใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ
เรื่อง การวเิ คราะห์และนาเสนอขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ
ด้วยรปู แบบ SSCS
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี
1
เรอ่ื ง การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพ
ดว้ ยตารางความถี่
นายครรชิต แซ่โฮ่
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 15
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง การวเิ คราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่ 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพดว้ ยตารางความถ่ี
รายวชิ า คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 6 รหัสวิชา ค33202 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอื่ ง เวลาท่ใี ชใ้ นการจัดการเรียนรู้ 5 คาบ
การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ
มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ดั
สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรูท้ างสถิติในการแกป้ ัญหา
ตัวชีว้ ดั เขา้ ใจและใช้ความรทู้ างสถิตใิ นการนา เสนอข้อมลู และแปล
ความหมายของคา่ สถติ ิเพ่อื ประกอบการตัดสินใจ
จุดเนน้ การพฒั นาผูเ้ รยี น
แสวงหาความรเู้ พ่อื การแก้ปญั หา
ใช้เทคโนโลยีเพ่อื การเรียนรู้
ทักษะการคดิ ขัน้ สงู
มีทกั ษะชีวิต
ทกั ษะการสอื่ สารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั
สาระสาคญั (ความเข้าใจท่คี งทน)
ความถ่ี (Frequency) หมายถึงจานวนคร้ังของการเกิดข้อมูลข้อมูลหน่ึงหรือค่าของตัวแปร
คา่ หนง่ึ
ฐานนิยม (Mode) หมายถึงข้อมูลท่ีมีจานวนคร้ังของการเกิดซ้ากันมากที่สุดหรือข้อมูลที่มี
ความถสี่ ูงสุดทีม่ ากกว่า 1
ข้อมูลเชิงคณุ ภาพควรมกี ารนาเสนอข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ให้มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกัน
ตามสงิ่ ท่ีต้องการทราบ โดยอาจนาเสนอข้อมูลในรูปตารางหรือแผนภาพ เพ่ือให้สามารถอ่านและแปล
ความหมายของข้อมูลเหล่าน้ีได้ง่ายขึ้น เรียกการนาเสนอข้อมูลโดยการแสดงความถี่ของข้อมูลในรูป
ตารางหรือแผนภาพ ว่า การแจกแจงความถ่ี (Frequency distribution)
ตารางความถ่ีจาแนกทางเดียวเป็นการนาเสนอข้อมูลในรูปตารางโดยแสดงข้อมูลและ
ความถี่ของข้อมูลของตัวแปรเพียงหน่ึงตัว มักใช้ในการนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพเพ่ือสรุปลักษณะท่ี
สนใจหรือเปรียบเทียบความถแี่ ต่ละข้อมลู
ความถสี่ มั พทั ธ์ (Relative frequency) หมายถงึ สัดส่วนของความถี่ของแต่ละข้อมูล เทียบ
กบั ผลรวมของความถ่ีท้งั หมด
ความถี่สมั พทั ธ์อาจเขยี นในรปู สดั สว่ น ไดเ้ ป็น
ความถ่ี
ความถี่สมั พัทธ์ (สัดส่วน) = ความถี่ รวม
หรืออาจเขียนความถี่สัมพทั ธ์ในรูปรอ้ ยละ ไดเ้ ปน็
ความถ่ี
ความถี่สัมพทั ธ์ (รอ้ ยละ) = ความถ่ี รวม 100
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอข้อมลู เชิงคุณภาพด้วยตารางความถ่ี 2
ตารางความถ่จี าแนกสองทางเป็นการนาเสนอข้อมูลในรูปตารางซึ่งมีตัวแปรที่สนใจศึกษา 2
ตวั โดยแสดงความถี่ของขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพของแต่ละตัวแปรท่ีสนใจศกึ ษาในรูปตาราง
สาระการเรียนรู้ (มาตรฐานการปฏบิ ตั ไิ ด้)
ด้านความรู้ (K) ผเู้ รียนสามารถ
1) วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถ่ี พร้อมท้ังสามารถสรุปผลท่ีได้
จากการนาเสนอข้อมลู ดว้ ยตารางความถี่
ด้านทักษะกระบวนการ (P) ผูเ้ รียนมคี วามสามารถใน
1) การแกป้ ัญหา
2) การใหเ้ หตุผล
3) การสือ่ สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ
4) การเช่อื มโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
5) ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ผู้เรยี นมี
1) การทางานเปน็ ระบบ รอบคอบ
2) ระเบียบวินยั
3) ความรับผิดชอบ
4) ความเชอื่ มั่นในตนเอง
5) ความซอ่ื สตั ย์
สมรรถนะสาคัญ
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคดิ
ความสามารถในการแก้ปญั หา
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ส่ือ/แหล่งเรียนรู้
สื่อการเรยี นรู้
1) แบบฝึกทักษะ เล่มท่ี 2 เรอ่ื งการวิเคราะหแ์ ละนาเสนอขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งสมุดของโรงเรยี น
2) การสืบค้นข้อมลู จากอนิ เตอรเ์ นต็ ได้แก่
- เว็บไซต์ http://www.google.co.th
- คลงั วดี ีโอสอ่ื คณติ ศาสตร์ http://www.youtube.com
- คลงั เอกสารสอื่ คณติ ศาสตร์ http://www.scribd.com
หลกั ฐานการเรียนรู้
ชนิ้ งาน
1) -
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอข้อมูลเชงิ คุณภาพดว้ ยตารางความถ่ี 3
ภาระงาน
1) แบบฝึกทักษะที่ 1 เรอ่ื ง การวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ
2) แบบฝกึ ทักษะท่ี 2 เรื่อง การนาเสนอข้อมูลเชงิ คุณภาพดว้ ยตารางความถ่ี
การวัดผลและประเมินผลการจดั การเรยี นรู้
ด้าน รายการประเมิน วิธีการ เครื่องมอื เกณฑก์ าร
1. ความรู้ (K) ประเมนิ
ผู้เรยี นสามารถ 1. ประเมินจากการทา
2. ทกั ษะ 1) วิเคราะหแ์ ละนาเสนอ แบบฝกึ ทกั ษะ - แบบฝกึ ทกั ษะ ทาเอกสาร
กระบวนการ
(P) ขอ้ มลู เชิงคุณภาพดว้ ย 2. ตรวจเอกสารแบบฝึก แบบฝึกทักษะ/
ตารางความถี่ พรอ้ มทง้ั ทักษะ
สามารถสรุปผลทไ่ี ดจ้ าก ไดถ้ ูกต้องอยา่ ง
การนาเสนอข้อมลู ดว้ ย 1. สงั เกตจากการตอบ
ตารางความถี่ คาถามในหอ้ งเรยี น น้อย 70% ของ
ดจู ากแบบสังเกตพฤตกิ รรม
ผู้เรยี นด้านทักษะ 2. สงั เกตพฤติกรรม คะแนนทง้ั หมด
กระบวนการ ผู้เรยี น
แบบสงั เกต การผา่ นเกณฑ์
3. คณุ ลกั ษณะ ดจู ากแบบสังเกตพฤติกรรม 1. สังเกตจากการตอบ พฤติกรรม ตอ้ งได้ระดับ
อนั พึงประสงค์ ผู้เรยี นดา้ นคณุ ลักษณะ คาถามในหอ้ งเรยี น ผู้เรยี น คณุ ภาพโดย
(A) อนั พึงประสงค์ ดา้ นทักษะ ภาพรวมตง้ั แต่ 10
2. สงั เกตพฤติกรรม กระบวนการ คะแนนขึน้ ไป
ผู้เรยี น
แบบสงั เกต การผ่านเกณฑ์
พฤติกรรม ตอ้ งได้ระดบั
ผู้เรียน คุณภาพโดย
ดา้ นคุณลกั ษณะ ภาพรวมต้ังแต่ 10
อันพงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ ไป
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามรปู แบบ SSCS
ขนั้ เตรียมความพรอ้ ม
1. ครใู ห้ผ้เู รียนนั่งสมาธิ เพ่ือรวบรวมสติ สมาธิและเตรยี มความพรอ้ มในการเรียน
2. ผเู้ รยี นและครรู ว่ มกันสนทนาเกยี่ วกับหลกั การดาเนินชีวิตประจาวัน โดยนาค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการมาแทรกเป็นกรณีตัวอย่างตามสถานการณ์ ได้แก่ 1) กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ครบู าอาจารย์ 2) ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศึกษาเลา่ เรียนทงั้ ทางตรงและทางอ้อม เปน็ ตน้
3. ครูช้ีแจงวิธีการเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตาม
รูปแบบ SSCS
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เร่อื ง การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มลู เชิงคุณภาพดว้ ยตารางความถี่ 4
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ครูแบ่งกล่มุ ผู้เรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน โดยแต่ละกลุ่มมีการคละความสามารถ
ของผูเ้ รยี น เกง่ ปานกลาง และอ่อน ตามผลการเรยี นที่พจิ ารณาจากการสอบในภาคเรียนที่ผ่านมาเป็น
รายบุคคล เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนไดช้ ่วยเหลอื กันและแลกเปลย่ี นประสบการณ์ภายในกลุ่ม และให้ผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มช่วยกนั เลอื กประธาน 1 คน เลขานกุ าร 1 คน และผูร้ ่วมงาน 2 – 3 คน
3. ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของกิจกรรมการเรยี นรู้ตามรปู แบบ SSCS ให้ผู้เรยี นทราบ
ขั้นกจิ กรรมการเรยี นรู้ (คาบที่ 1 – 2)
ข้ันท่ี 1 Search: S (ข้ันสบื เสาะค้นหาความรู้)
1.1 ผเู้ รยี นและครรู ่วมกนั สนทนาเกยี่ วกับการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังน้ี
“ความรู้ทางสถิติศาสตร์ในการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเร่ืองใดเรื่องหน่ึง เป็น
การวิเคราะห์เพ่ือให้ทราบลักษณะโดยรวมของข้อมูลเก่ียวกับเรื่องน้ัน ๆ ที่ส่ือถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ท่ี
น่าสนใจ และสรุปผลเพื่อสื่อความหมายที่นาไปใช้ประโยชน์ได้จึงเป็นสิ่งสาคัญ สาหรับข้อมูลที่เก็บ
รวบรวมมาเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพนั้นอาจวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง แผนภูมิรูปภาพ
แผนภูมริ ปู วงกลม หรือแผนภมู แิ ท่ง ซึง่ การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอข้อมูลจะช่วยบอกลักษณะบางประการ
ที่เป็นประโยชน์ต่อการทาความเข้าใจข้อมูลชุดน้ันได้ อันจะส่งผลให้เกิดการนาข้อมูลไปใช้ในเชิง
วิเคราะห์หรือช่วยในการตัดสินใจ เช่น ร้านกาแฟร้านแห่งหนึ่งเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเพศของลูกค้าและ
เครอื่ งดม่ื ท่ีนยิ มดืม่ เพอื่ ทจ่ี ะนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ว่าลูกค้าเพศชายและเพศหญิงมีความนิยมด่ืม
เครื่องด่ืมที่แตกต่างกันอย่างไร ซ่ึงจะทาให้ร้านค้ามีข้อมูลเพ่ือใช้ในการย่ืนข้อเสนอหรือส่วนลดต่าง ๆ
ให้กับกลุ่มลูกค้าเพ่ือเป็นการจูงใจให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการ หรืออาจใช้ในการประกอบการตัดสินใจใน
การออกแบบสินคา้ ใหม่ ๆ ใหต้ อบสนองตอ่ ความต้องการของลูกค้า”
1.2 ครใู ห้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ จากนั้นผู้เรียน
และครรู ่วมกันสรุปความหมายของข้อมูลเชิงคณุ ภาพ โดยครูคอยแนะนาจนกว่าผู้เรียนเข้าใจ ดังนี้
ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลท่ีแสดงลักษณะ ประเภท สมบัติในเชิงคุณภาพ และอ่ืน ๆ ที่ไม่
สามารถวัดคา่ เป็นตวั เลขท่นี ามาบวก ลบ คณู หรอื หารกันได้ เชน่ ถา้ พจิ ารณาตวั แปรคอื เพศของผู้ที่เข้า
มาใชบ้ รกิ ารในรา้ นอาหารแหง่ หน่ึง ฉะนัน้ ขอ้ มูลทเ่ี ป็นไปได้ คือ ชาย หรือ หญงิ
โดยทั่วไปในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีมีจานวนมากอาจมีข้อมูลที่ซ้ากันอยู่ ฉะน้ันจึงต้องมี
การจดั ระเบียบของข้อมูล เพ่ือให้สังเกตลักษณะของข้อมูลได้ง่ายและสามารถหาข้อสรุปที่มีความหมาย
และนาไปใช้ประโยชน์ได้
1.3 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสแกน QR code เพ่ือเข้าไปศึกษาวีดิทัศน์ซึ่งจัดทาข้ึนภายใต้
โครงการ Project14 ของสสวท.
ครูครรชติ แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง การวิเคราะห์และนาเสนอขอ้ มูลเชงิ คุณภาพดว้ ยตารางความถ่ี 5
หรือเว็บไซต์ท่ี https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-math-basic/m6-math-basic/math-m6-005/
จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปความหมายของความถ่ีและฐานนิยม โดยครูคอยแนะนาจนกว่า
ผู้เรียนเขา้ ใจ ดงั น้ี
ความถ่ี (Frequency) หมายถึงจานวนคร้ังของการเกิดข้อมูลข้อมูลหนึ่งหรือค่าของ
ตัวแปรคา่ หน่ึง
ฐานนิยม (Mode) หมายถึงข้อมูลที่มีจานวนคร้ังของการเกิดซ้ากันมากท่ีสุดหรือ
ข้อมูลท่มี ีความถสี่ งู สดุ ท่มี ากกวา่ 1
ขอ้ สงั เกต
1. ขอ้ มลู บางชดุ อาจไม่มีฐานนยิ ม เนื่องจากข้อมูลมีความถี่เปน็ 1 เทา่ กนั หมด
2. ขอ้ มลู บางชุดอาจมฐี านนยิ มมากกวา่ 1 คา่
3. ในบทเรียนนี้ จะพจิ ารณาเฉพาะชดุ ข้อมูลทีม่ ฐี านนยิ มเพยี งค่าเดยี ว
1.4 ให้ผู้เรียนพิจารณาตัวอย่างของการหาความถ่ีและฐานนิยมจากข้อมูลท่ีกาหนดให้ แล้ว
ตั้งคาถามกระตุน้ ความคดิ ของผู้เรยี น ดงั น้ี
ตวั อยา่ งที่ 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแห่งหนึ่งได้สารวจหมู่เลือดในระบบ ABO ของ
ชาวบ้านท่ีอาศัยอยู่ใกลโ้ รงพยาบาลจานวน 30 คนไดผ้ ลสารวจดงั นี้
A B O AB O B AB O B A
O O A B AB O B AB O B
OB OOAOAOB O
คาถาม ผู้เรียนคดิ วา่ ความถข่ี องเลอื ดแตล่ ะหมแู่ ละฐานนิยมของข้อมลู ชดุ นี้เปน็ อยา่ งไร
คาตอบ เมื่อพิจารณาขอ้ มูลทก่ี าหนดให้ จะพบว่า
เลือดหมู่ A มคี วามถ่ีเป็น 5 เลือดหมู่ B มีความถ่ีเป็น 8
เลอื ดหมู่ AB มีความถีเ่ ป็น 4 เลือดหมู่ O มคี วามถีเ่ ป็น 13
และจะเห็นว่า ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ คือ เลือดหมู่ O เนื่องจากเลือดหมู่ O มี
ความถส่ี ูงสดุ
ตวั อยา่ งท่ี 2 ในการเลือกตั้งประธานสภานักเรียนของโรงเรียนแห่งหน่ึง ซึ่งมีนักเรียนจานวน 40
คน โดยมีนักเรียนท่ีลงสมัครเลือกตั้งเป็นประธานสภานักเรียนจานวน 3 คน คือ
กานดา (K) ใบบวั (B) และเสกสรร (S) ปรากฏผลดงั นี้
BSKKBSSSBS
SKKBBBSBKS
KBSSBKSKKB
SKBBSKSSBS
คาถาม ผ้เู รยี นคิดวา่ ความถ่ีของผลคะแนนในการเลอื กตัง้ ประธานสภานกั เรียนของผ้สู มัคร
แตล่ ะคน เปน็ อย่างไร และจงสรุปผลเลอื กตัง้ ประธานสภานักเรียนของโรงเรียนแห่งนี้
คาตอบ 1) ความถข่ี องผลการเลือกตง้ั ประธานสภานกั เรียนของผูส้ มัครแต่ละคน
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การวิเคราะหแ์ ละนาเสนอข้อมูลเชงิ คุณภาพดว้ ยตารางความถี่ 6
ผู้ที่เลือกให้กานดา (K) เป็นประธานสภานักเรียนมีจานวน 11 คน
ผู้ทเี่ ลอื กให้ใบบวั (B) เปน็ ประธานสภานกั เรยี นมีจานวน 13 คน
ผทู้ ีเ่ ลอื กให้เสกสรร (S) เปน็ ประธานสภานกั เรียนมจี านวน 16 คน
2) สรุปผลเลอื กตัง้ ประธานสภานักเรยี นของโรงเรียนแหง่ น้ี
ประธานสภานักเรยี นของโรงเรียนแหง่ นี้ คือ เสกสรร (S)
ตวั อยา่ งท่ี 3 บริษัทแห่งหนึ่งได้เก็บรวบรวมข้อมูลกีฬาพ้ืนบ้านที่พนักงานชอบเล่นมากที่สุด โดย
คาถาม สารวจจากพนกั งานฝ่ายผลิตและฝ่ายขาย จานวน 50 คน ได้ข้อมลู ดังน้ี
คาตอบ
พนักงานฝ่ายผลติ
กินวิบาก กินวบิ ากเ กา้ อี้ดนตรี สกบี ก เกา้ อ้ดี นตรี
ชักเย่อ สกบี ก ชกั เยอ่ ชกั เย่อ สกีบก
เกา้ อด้ี นตรี ชักเย่อ สกีบก กนิ วบิ าก เกา้ อด้ี นตรี
สกบี ก สกบี ก กินวบิ าก สกบี ก ชกั เย่อ
พนักงานฝ่ายขาย
เกา้ อี้ดนตรี เกา้ อีด้ นตรี สกบี ก กนิ วบิ าก เก้าอ้ดี นตรี
ชกั เยอ่ สกบี ก กนิ วิบาก สกีบก กินวิบาก
กินวบิ าก เก้าอี้ดนตรี เก้าอด้ี นตรี กินวิบาก ชกั เยอ่
ชักเยอ่ สกบี ก ชกั เยอ่ ชักเยอ่ กนิ วบิ าก
กินวิบาก กินวบิ าก เก้าอีด้ นตรี ชักเยอ่ เกา้ อีด้ นตรี
กินวิบาก ชกั เยอ่ สกบี ก กินวบิ าก สกบี ก
ผเู้ รียนพจิ ารณาวา่
1) ถ้าบรษิ ทั ต้องการจดั การแข่งขันกฬี าพืน้ บา้ นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน
ฝ่ายผลิตบริษทั ควรจัดการแขง่ ขนั กีฬาชนิดใด
2) ถา้ บรษิ ทั ตอ้ งการจัดการแขง่ ขันกฬี าพื้นบ้านเพือ่ สรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน
ฝ่ายขายบรษิ ทั ควรจัดการแข่งขนั กฬี าชนิดใด
3) ถา้ บรษิ ทั ตอ้ งการจดั การแขง่ ขนั กฬี าพน้ื บา้ นเพ่อื สรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่างพนักงาน
ท่สี ารวจท้ังหมดบรษิ ทั ควรจัดการแขง่ ขันกีฬาชนิดใด
1) พิจารณาขอ้ มลู กฬี าพืน้ บ้านท่ีพนกั งานฝ่ายผลิตชอบเล่นมากท่สี ดุ จะไดว้ ่า
กนิ วบิ าก มีความถี่เป็น 4 ชกั เยอ่ มีความถเี่ ปน็ 5
เก้าอี้ดนตรี มคี วามถเี่ ป็น 4 สกีบก มคี วามถ่ีเป็น 7
จะเหน็ วา่ ฐานนยิ มของกีฬาพน้ื บา้ นท่ีพนกั งานฝ่ายผลิตชอบเล่นมากท่ีสุด คอื สกีบก
ดงั นัน้ บรษิ ทั ควรจัดการแขง่ ขันสกีบก ให้กับพนักงานฝ่ายผลิต
2) พิจารณาขอ้ มูลกีฬาพน้ื บา้ นที่พนกั งานฝ่ายขายชอบเล่นมากที่สุด จะไดว้ า่
กนิ วิบาก มีความถี่เป็น 10 ชักเย่อ มคี วามถเี่ ปน็ 7
เกา้ อดี้ นตรี มีความถี่เปน็ 7 สกบี ก มคี วามถ่เี ป็น 6
จะเห็นว่า ฐานนยิ มของกีฬาพน้ื บ้านทีพ่ นกั งานฝ่ายขายชอบเล่นมากที่สดุ คือ กนิ วบิ าก
ดงั น้นั บริษทั ควรจัดการแขง่ ขนั กินวบิ าก ใหก้ บั พนักงานฝ่ายขาย
3) พจิ ารณาขอ้ มลู กีฬาพืน้ บา้ นท่ีพนักงานทัง้ หมดที่สารวจชอบเลน่ มากทส่ี ดุ จะไดว้ า่
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชงิ คุณภาพดว้ ยตารางความถ่ี 7
กนิ วิบาก มีความถเ่ี ปน็ 14 ชักเย่อ มีความถเ่ี ปน็ 12
เกา้ อดี้ นตรี มคี วามถ่ีเป็น 11 สกีบก มคี วามถเ่ี ปน็ 13
จะเหน็ ว่า ฐานนิยมของกีฬาพนื้ บ้านที่พนักงานทงั้ หมดชอบเล่นมากทสี่ ดุ คือ กินวิบาก
ดังนน้ั บรษิ ัทควรจัดการแข่งขันกินวิบาก ให้กับพนักงานทส่ี ารวจทงั้ หมด
ข้นั ที่ 2 Solve: S (ข้นั การแก้ปญั หา)
2.1 ครูให้ผู้เรียนวางแผนและเลือกวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยครูจะไม่จากัด
แนวคดิ และวิธกี ารทผี่ ู้เรียนเลอื กใชใ้ นการแกป้ ัญหา
2.2 ครใู ห้ผู้เรียนดาเนินการตามแผนท่ีผู้เรียนได้วางไว้ จนได้คาตอบในที่สุด โดยผู้เรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันทาแบบฝึกทักษะท่ี 1 เร่ือง การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ แล้วช่วยกันเฉลยและ
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
ข้ันท่ี 3 Create: C (ขนั้ สรา้ งความรู้)
3.1 ครใู หผ้ ู้เรยี นเรียบเรยี งขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาและบันทึกความรู้ของผู้เรียนได้จากการศึกษา
เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และจากการทาแบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง
คุณภาพ ลงในสมุดโดยใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ สละสลวยในการเขียนแสดงแนวคิดและอธิบาย
คาตอบของผู้เรียน
ขนั้ ที่ 4 Share: S (ขนั้ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ )
4.1 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ นาเสนอแนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหา
ของตนจากการทาแบบฝึกทกั ษะ
4.2 ครูสุ่มผู้เรียนออกมานาเสนอการสรุปความรู้ แนวคิดและวิธีการในการแก้ปัญหาจากการ
ทากิจกรรม และถ้ามีผู้เรียนคนใดมีแนวคิดหรือวิธีการในการหาคาตอบท่ีแตกต่างจากเพ่ือนก็สามารถ
นาวิธกี ารหรือแนวคิดน้นั มานาเสนอได้อย่างเตม็ ท่ี
4.3 ผู้เรียนและครูร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการต่าง ๆ และผลท่ีได้ที่เพื่อนผู้เรียนแต่ละคนได้
ออกมานาเสนอ โดยขณะที่ร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นน้ัน ครูจะมีการสังเกตพฤติกรรม
การสือ่ สารท้ังในดา้ นการฟังและการพดู ของผู้เรียนไปพร้อม ๆ กนั
ขัน้ กจิ กรรมการเรียนรู้ (คาบที่ 3 – 5)
ขน้ั ท่ี 1 Search: S (ข้ันสบื เสาะคน้ หาความร้)ู
1.5 ผูเ้ รียนและครรู ่วมกันสนทนาเก่ยี วกบั การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ ดงั นี้
ข้อมูลเชิงคุณภาพควรมีการนาเสนอข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ให้มีความสั มพันธ์
เก่ียวข้องกันตามส่ิงที่ต้องการทราบ โดยอาจนาเสนอข้อมูลในรูปตารางหรือแผนภาพ เพ่ือให้สามารถ
อ่านและแปลความหมายของข้อมูลเหล่านี้ได้ง่ายขึ้น เรียกการนาเสนอข้อมูลโดยการแสดงความถี่ของ
ขอ้ มูลในรูปตารางหรือแผนภาพ วา่ การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution)
1.6 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวีดิทัศน์ต่อ จากน้ันผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปการนาเสนอ
ข้อมูลเชิงคุณภาพในรูปตารางความถ่ี (Frequency table) โดยครูคอยแนะนาจนกว่าผู้เรียนเข้าใจ
ดงั น้ี
การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพในรูปตารางความถ่ี (Frequency table) ท่ีจะกล่าวถึงในท่ีน้ี
ได้แก่ ตารางความถี่จาแนกทางเดียว (One-way frequency table) และ ตารางความถี่จาแนกสอง
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง การวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอข้อมลู เชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่ 8
ทาง (Two-way frequency table)
1) ตารางความถีจ่ าแนกทางเดียว
ตารางความถ่ีจาแนกทางเดียวเป็นการนาเสนอข้อมูลในรูปตารางโดยแสดงข้อมูลและ
ความถ่ีของข้อมูลของตัวแปรเพียงหนึ่งตัว มักใช้ในการนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อสรุปลักษณะท่ี
สนใจหรอื เปรยี บเทียบความถแ่ี ต่ละขอ้ มูล
1.7 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมสารวจหมู่เลือดจากนั้นผู้เรียนและครูร่วมกัน
สรุปตารางความถจี่ าแนกทางเดียว โดยครคู อยแนะนาจนกวา่ ผู้เรียนเข้าใจ ดังน้ี
การนาเสนอข้อมลู ด้วยตารางความถ่ีจาแนกทางเดียวทาให้เห็นความถ่ีของข้อมูลตามลักษณะ
ที่สนใจได้ชัดเจนกว่าการพิจารณาจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาโดยตรง สาหรับการเปรียบเทียบข้อมูล
นอกจากจะใช้ตารางความถ่ีในการเปรียบเทียบแล้ว ยังสามารถใช้ความถ่ีสัมพัทธ์หรือร้อยละของ
ความถส่ี ัมพัทธ์เปรียบเทยี บขอ้ มูลได้
1.8 ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสแกน QR code เพ่ือเข้าไปศึกษาวีดิทัศน์ซ่ึงจัดทาข้ึนภายใต้
โครงการ Project14 ของสสวท.
หรือเว็บไซต์ท่ี https://proj14.ipst.ac.th/m4-6-math-basic/m6-math-basic/math-m6-006/
จากนั้นผู้เรียนและครูร่วมกันสรุปการเปรียบเทียบข้อมูลโดยใช้ความถี่สัมพัทธ์หรือร้อยละของความถ่ี
สัมพทั ธ์ โดยครคู อยแนะนาจนกวา่ ผู้เรียนเขา้ ใจ ดังน้ี
ความถี่สัมพัทธ์ (Relative frequency) หมายถึงสัดส่วนของความถี่ของแต่ละข้อมูล
เทียบกับผลรวมของความถี่ท้ังหมด
ความถสี่ มั พทั ธ์อาจเขียนในรปู สดั สว่ น ไดเ้ ปน็
ความถ่ี
ความถี่สัมพัทธ์ (สัดสว่ น) = ความถ่ี รวม
หรืออาจเขยี นความถี่สัมพัทธ์ในรูปร้อยละ ได้เปน็
ความถี่
ความถส่ี ัมพทั ธ์ (ร้อยละ) = ความถี่ รวม 100
เสรมิ ความรู้ ในทางสถิติศาสตร์ สัดส่วน (Proportion) คือ จานวนของลักษณะหรือกลุ่มท่ี
สนใจเมอื่ เทียบกับจานวนรวมทั้งหมด โดยกาหนดใหส้ ดั สว่ นท้ังหมดเปน็ 1 เชน่ ในการสารวจคน
ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งจานวน 500 คน พบว่ามีเพศชาย 200 คน จะได้สัดส่วนของผู้อาศัยเพศชาย
ในหมู่บ้านแห่งน้ี คือ 200 2 0.40 และสัดส่วนของผู้อาศัยเพศหญิงในหมู่บ้านแห่งนี้ คือ
500 5
1 0.40 0.60
ครูครรชิต แซ่โฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา