The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุฒิมา อิ่มอำไพ, 2022-09-14 08:57:41

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนไหวพ้นื ฐาน เร่ิองการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสัตว์
เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/1 เลียนแบบการเคล่ือนไหว

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายประโยชน์ของการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์ (K)
2. แสดงการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์ (P)
3. ชื่นชมการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์ (A)

สาระสาคญั

การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสัตวจ์ ะช่วยฝึ กจินตนาการและการใช้อวยั วะต่าง ๆ ให้เกิดความ
คล่องแคล่วข้ึน นอกจากน้ียงั ช่วยทาใหม้ นุษยเ์ ขา้ ใจธรรมชาติของสตั วม์ ากข้ึน

สาระการเรียนรู้

การเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

มุ่งมั่นในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ทก่ี ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ ประโยชนข์ องการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์

คาถามท้าทาย

- การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั วช์ นิดใดท่ีทาใหน้ กั เรียนมีการเคลื่อนไหวอวยั วะมากทีส่ ุด

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูคดั เลือกผแู้ ทนนกั เรียนจานวน 6 คน ออกมาแสดงบทบาทสมมุตติ ามบตั รภาพที่ครูแจกให้
ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

ภาพนกบนิ ภาพสุนขั วงิ่ ภาพงเู ล้ือย

ภาพจงิ โจก้ ระโดด ภาพเตา่ คลาน ภาพปลาวา่ ยน้า

ให้ผูแ้ ทนนักเรียนแสดงบทบาทสมมุตติ ามภาพดงั กล่าวทีละคน แลว้ ให้นกั เรียนท่ีเหลือร่วมกนั ทายวา่
ผแู้ ทนนกั เรียนคนดงั กล่าวกาลงั เคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบอะไร

2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์ โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นอกจากสัตวท์ ่ีผูแ้ ทนนักเรียนแสดงการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบแลว้ ยงั มีสัตวช์ นิดอ่ืนอีก

หรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ มี เช่น แมววงิ่ กระต่ายกระโดด ก้งุ ว่ายนา้ ผีเสื้อบนิ )
- นกั เรียนอยากเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสตั วช์ นิดใด (ตัวอย่างคาตอบ กระต่าย)

3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้นักเรียนเล่นเกมฉันคือใคร โดยมี
วธิ ีการและข้นั ตอนการเล่นเกมดงั น้ี

- ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคิดช่ือสัตวแ์ ละท่าทางการเคล่ือนไหวของสัตวช์ นิดน้ัน ๆ จานวน 5 ชื่อ
พร้อมท้งั ฝึกทา่ ทางการเลียนแบบสตั วใ์ หไ้ ดท้ ุกคน

- ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมาแสดงการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั วใ์ หเ้ พื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ ทาย ถา้ กลุ่ม
ใดตอบก่อนและทายถูกจะไดข้ อ้ ละ 2 คะแนน แต่ถา้ ทายผดิ กลุ่มอื่นจะมีสิทธ์ิตอบในขอ้ น้ีแต่จะไดค้ ะแนนเพยี ง
1 คะแนน

- ดาเนินการเล่นเกมไปเร่ือย ๆ จนครบท้งั 5 กลุ่ม กลุ่มใดไดค้ ะแนนมากที่สุดกลุ่มน้นั ชนะ
จากน้นั ให้นกั เรียนเลือกผแู้ ทนนกั เรียนจานวน 5 คน ท่ีสามารถแสดงการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบ
สตั วไ์ ดเ้ หมือนมาแสดงให้เพ่อื น ๆดูอีกคร้ังที่หนา้ ช้นั เรียน พร้อมท้งั บอกวธิ ีการฝึกการแสดงท่าทางการเลียนแบบสัตว์
ใหเ้ หมือนให้เพอ่ื น ๆ ฟัง เพื่อให้เพื่อน ๆ ไดน้ าไปประยกุ ตแ์ ละปรับปรุงการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสัตว์
ของตนเองใหด้ ีข้ึน
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ประโยชน์ของการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสตั ว์ โดยครู
ใชค้ าถามดงั น้ี

- การเคล่ือนไหวร่ างกายเลียนแบบสัตว์มีประโยชน์ต่อตนเองอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ

ใช้อวัยวะต่าง ๆ ได้คล่องแคล่ว ฝึ กการจินตนาการ ฝึ กความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามสนุกสนาน มสี ัมพันธภาพ

ท่ดี ีกบั เพื่อน ๆ)
- นักเรียนสามารถนาการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสัตวไ์ ปใชใ้ นการดาเนินชีวิตได้อยา่ งไร

(ตวั อย่างคาตอบ ใช้เป็ นการเล่น ทาให้ผ่อนคลาย และเป็ นการออกกาลังกายทด่ี ี ทาให้สุขภาพแขง็ แรง)
จากน้ันครูนาขอ้ มูลที่ไดเ้ ก่ียวกบั ประโยชน์ของการเคลื่อนไหวร่างกายเพอ่ื เลียนแบบสัตว์ มาเขียน

สรุปลงในแผนภาพบนกระดาน ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั วจ์ ะช่วยฝึกจนิ ตนาการและการใชอ้ วยั วะตา่ ง ๆ ใหเ้ กิด

ความคล่องแคล่วข้นึ นอกจากน้ียงั ช่วยทาใหม้ นุษยเ์ ขา้ ใจธรรมชาติของสตั วม์ ากข้ึน
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสตั วช์ นิดใดทีท่ าใหน้ กั เรียนมีการเคลื่อนไหวอวยั วะมากทส่ี ุด

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสตั วอ์ ยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. การแสดงบทบาทสมมุติ
2. บตั รภาพ
3. เกมฉนั คือใคร

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนวาดภาพสัตวแ์ ละกิริยาของสัตวท์ ี่ตอ้ งการเคล่ือนไหวร่างกายเพื่อเลียนแบบลงในกระดาษ A4
พร้อมระบายสีให้สวยงาม และระบุว่าเพราะอะไรจึงตอ้ งการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อเลียนแบบสัตวต์ ามภาพ
ดงั กล่าว จากน้นั ครูคดั เลือกผแู้ ทนนกั เรียนท่สี ามารถทาผลงานไดด้ ีจานวน 10 คน มานาเสนอผลงานของตนเอง
พรอ้ มแสดงการเคล่ือนไหวร่างกายตามภาพใหค้ รูและเพอื่ น ๆ ดู แลว้ นาผลงานดงั กล่าวไปจดั ป้ายนิเทศ

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../……



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การเคลื่อนไหวพน้ื ฐาน เร่ิองการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบส่ิงของ
เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/1 เลียนแบบการเคล่ือนไหว

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายประโยชน์ของการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสิ่งของ (K)
2. แสดงการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสิ่งของ (P)
3. ชื่นชมการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบส่ิงของ (A)

สาระสาคญั

การเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบส่ิงของจะช่วยฝึกจินตนาการ และการใชอ้ วยั วะต่าง ๆ ให้เกิดความ
คล่องแคล่ว นอกจากน้ียงั ทาให้ผเู้ ลียนแบบและผชู้ มเกิดความรู้สึกสนุกสนานกับการแสดงท่าทางเลียนแบบ
ดงั กล่าวไดเ้ ป็ นอยา่ งดี

สาระการเรียนรู้

การเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบส่ิงของ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ ม่ันในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีการงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ ประโยชน์ของการเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสิ่งของ

คาถามท้าทาย

- การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสิ่งของเป็ นประจาจะเกิดผลดีตอ่ ร่างกายอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาภาพเด็กผูช้ ายกาลงั เคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบเกา้ อ้ีมาให้นกั เรียนดู แล้วใชค้ าถามเพื่อให้
นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ภาพดงั กล่าว ดงั น้ี

- เด็กผชู้ ายในภาพกาลงั ทาอะไร (ตัวอย่างคาตอบ กาลังเลียนแบบเก้าอ)ี้
- นักเรียนเคยทาเหมือนเด็กในภาพหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เคย โดยเคยเลียนแบบเป็ น
เก้าอใี้ ห้เพื่อนน่ัง)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเม่ือเลียนแบบเกา้ อ้ีได้ (ตัวอย่างคาตอบ ภูมิใจ)
- นักเรียนเคยเคลื่อนไหวร่างกายเพ่ือเลียนแบบสิ่งของอื่นหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เคย
โดยเคยเลียนแบบเป็ นสะพาน)
2. ครูคดั เลือกผูแ้ ทนนักเรียนจานวน 4 คน มาแสดงการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อเลียนแบบเก้าอ้ี 2 คน
และสะพาน 2 คน ใหค้ รูและเพอ่ื น ๆ ดู แลว้ ครูใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- ระหว่างผูแ้ ทนนักเรียน 2 คน ท่ีเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบเก้าอ้ีคนใดทาได้เหมือนที่สุด
(ตวั อย่างคาตอบ คนที่ 1)
- ผูแ้ ทนนักเรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบเก้าอ้ีไม่เหมือนควรปรับปรุงอยา่ งไร (ตัวอย่าง
คาตอบ ควรย่อเข่าลงอกี นิดเพ่ือให้เหมือนเก้าอมี้ ากขนึ้ )

- ระหว่างผูแ้ ทนนักเรียน 2 คน ท่ีเคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสะพานคนใดทาไดเ้ หมือนที่สุด
(ตัวอย่างคาตอบ คนท่ี 2)

- ผแู้ ทนนกั เรียนที่เคล่ือนไหวร่างกายเลียนแบบสะพานไม่เหมือนควรปรับปรุงอยา่ งไร (ตัวอย่าง
คาตอบ ควรทาหลงั ให้โก่งกว่านี้เพ่ือให้เหมือนสะพานมากขนึ้ )

จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนฝึกการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบเกา้ อ้ีและสะพานจนทุกคนสามารถทาได้
3. ให้นักเรียนร่วมกนั สนทนาชื่อสิ่งของที่ตอ้ งการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อเลียนแบบมา 5 ช่ือ แล้ว
แบ่งออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ไปร่วมกนั ฝึ กปฏิบตั ิจนทุกคนในกลุ่มสามารถทาไดถ้ ูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั
แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมาแสดงการเคล่ือนไหวร่างกายเพ่ือเลียนแบบส่ิงของดังกล่าวให้เพ่ือนและครูดูพร้อม
ตรวจสอบความเหมือน หากพบข้อผิดพลาดให้เสนอแนวทางแก้ไขเพื่อให้กลุ่มน้ัน ๆ นาไปปรับปรุง
การเคลื่อนไหวร่างกายเพอื่ เลียนแบบสิ่งของของตนเองทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ประโยชน์ของการเคล่ือนไหวร่างกายเพอื่ เลียนแบบสิ่งของ
โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี

- การเคล่ือนไหวร่างกายเพื่อเลียนแบบสิ่งของมีประโยชน์ต่อตนเองอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เป็ น
การฝึ กจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ทด่ี ี ฝึ กการใช้อวัยวะต่าง ๆ ให้คล่องแคล่ว มคี วามสนุกสนาน และมี
สัมพนั ธภาพที่ดตี ่อเพ่ือน ๆ)

จากน้นั ครูนาขอ้ มูลท่ีไดม้ าเขยี นสรุปลงในแผนภาพบนกระดาน ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบส่ิงของจะช่วยฝึ กจินตนาการและการใช้อวยั วะต่าง ๆ ให้เกิด

ความคล่องแคล่ว นอกจากน้ียงั ทาให้ผูเ้ ลียนแบบและผูช้ มเกิดความรู้สึกสนุกสนานกับการแสดงท่าทาง
เลียนแบบดงั กล่าวไดเ้ ป็นอยา่ งดี

6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสิ่งของเป็ นประจาจะเกิดผลดีตอ่ ร่างกายอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนมีอิสระในการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบสิ่งของ

สื่อการเรียนรู้

1. ภาพการเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบเกา้ อ้ี
2. การแสดงบทบาทสมมุติ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../…..



แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 แสดงประกอบเพลงที่เกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์ เร่ืองการแสดงทา่ ทางประกอบเพลง(สตั ว)์
เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/1 เลียนแบบการเคลื่อนไหว

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายประโยชน์ของการแสดงประกอบเพลงทีเ่ กี่ยวกบั ธรรมชาติและสตั ว์ (K)
2. แสดงทา่ ทางประกอบเพลงทเี่ กี่ยวกบั ธรรมชาติและสตั ว์ (P)
3. ช่ืนชมการแสดงประกอบเพลงท่ีเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์ (A)

สาระสาคญั

การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงจะช่วยฝึกจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ นอกจากน้ียงั ทาให้
มีพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ท่ดี ี มีการเคลื่อนไหวอวยั วะตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว

สาระการเรียนรู้

การแสดงทา่ ทางประกอบเพลงทเี่ กี่ยวกบั ธรรมชาติและสตั ว์

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

มุ่งมั่นในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ท่กี ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคดิ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ ประโยชน์ของการแสดงท่าทางประกอบเพลงทเี่ ก่ียวกบั ธรรมชาติและสตั ว์

คาถามท้าทาย

- นกั เรียนอยากแสดงทา่ ทางประกอบเพลงใดมากทีส่ ุด เพราะอะไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รภาพชา้ งมาใหน้ กั เรียนดูแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- ภาพทน่ี กั เรียนดูคอื ภาพอะไร (ภาพช้าง)
- นกั เรียนเคยเห็นชา้ งหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เคยเห็น โดยเคยเห็นในโทรทศั น์)
- นกั เรียนแสดงท่าทางเลียนแบบชา้ งไดห้ รือไม่ (ได้/ไม่ได้)
จากน้นั ใหน้ กั เรียนทุกคนเคลื่อนไหวร่างกายเลียนแบบชา้ งอยา่ งอิสระ โดยมีครูคอยดูแลและแนะนา

อยา่ งใกลช้ ิด
2. ครูนาแถบประโยคต่อไปน้ีมาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
การแสดงประกอบเพลงทีเ่ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์
- นกั เรียนเคยแสดงประกอบเพลงที่เก่ียวกับธรรมชาติและสตั วห์ รือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ

เคย โดยเคยแสดงประกอบเพลงมด)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเมื่อไดแ้ สดงทา่ ทางประกอบเพลง (ตวั อย่างคาตอบ สนุกสนาน)
- นกั เรียนรู้จกั เพลงที่เกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั วเ์ พลงใดบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ เพลงมด

เพลงแมงมมุ ลาย เพลงช้าง เพลงเป็ ดอาบน้า เพลงผเี สื้อ)

จากน้นั ครูอธิบายเก่ียวกบั การแสดงประกอบเพลงท่เี ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั วใ์ หน้ กั เรียนฟังเพม่ิ เตมิ
3. ครูนาแผนภูมิเพลงชา้ งมาติดไวบ้ นกระดาน ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนฝึกรอ้ งและแสดงท่าทางประกอบเพลงตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี
- ครูพานกั เรียนอ่านเน้ือรอ้ งเพลงชา้ งทลี ะทอ่ นจนจบเพลง และนกั เรียนอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
- ครูพานกั เรียนรอ้ งเพลงชา้ งทลี ะทอ่ น จนนกั เรียนรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั
- ครูสาธิตการแสดงท่าทางประกอบเพลงชา้ งใหน้ กั เรียนดู และทาตามจานวน 3 รอบ
- ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กนั เพอื่ ร่วมกนั ฝึกการแสดงประกอบเพลงชา้ ง
แบบเพื่อนสอนเพ่ือน โดยมีครูคอยดูแลและแนะนาอย่างใกล้ชิดจนทุกคนสามารถทาได้ถูกต้องสวยงาม
พรอ้ มเพรียงกนั
- ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มออกมาทาการแสดงประกอบเพลงชา้ งใหเ้ พ่ือนกลุ่มอื่น ๆ และครูดู ถา้ เพอ่ื น
ทาไดด้ ีให้แต่ละกลุ่มร่วมกนั แสดงความรู้สึกชื่นชม หากพบขอ้ บกพร่องใหช้ ่วยกนั เสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหา
เพอื่ ใหก้ ลุ่มดงั กล่าวนาไปปรับปรุงแกไ้ ขการแสดงของตนใหด้ ีข้ึนในโอกาสต่อไปทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม
จากน้นั ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความรู้สึกต่อการแสดงประกอบเพลงชา้ ง โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเมื่อไดแ้ สดงประกอบเพลงชา้ ง (ตวั อย่างคาตอบ สนุกสนาน เพลิดเพลิน)
- นกั เรียนตอ้ งการแสดงประกอบเพลงอีกหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ตัวอย่างคาตอบ ต้องการ
เพราะชอบ และเม่ือได้แสดงแล้วรู้สึกสนุกสนาน)
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การแสดงประกอบเพลงทเ่ี ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์
- การแสดงประกอบเพลงท่ีเก่ียวกบั ธรรมชาติและสตั วม์ ีประโยชน์อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ
ฝึ กจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ เคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆ ได้คล่องแคล่ว เข้าใจในธรรมชาติและสัตว์มากขนึ้
สนุกสนาน เพลดิ เพลิน)

จากน้นั ครูนาขอ้ มูลท่ีไดไ้ ป มาเขียนสรุปลงในแผนภาพความคดิ บนกระดาน ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

5. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แลว้ ให้แต่ละกลุ่มส่งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาจบั สลากเพอ่ื เลือกเพลง
ตอ่ ไปน้ีไปร่วมกนั คิดท่าทางประกอบเพลงและฝึกซ้อมจนสามารถทาไดด้ ี ถูกตอ้ ง พร้อมเพรียงกนั ในชวั่ โมง
ต่อไป

- เพลงมด
- เพลงแมงมุมลาย
- เพลงเป็ดอาบน้า
- เพลงผเี ส้ือ
6. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงจะช่วยฝึกจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ นอกจากน้ี
ยงั ทาใหม้ ีพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ท่ีดี มีการเคลื่อนไหวอวยั วะต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว
7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- นกั เรียนอยากแสดงทา่ ทางประกอบเพลงใดมากท่ีสุด เพราะอะไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหอ้ ิสระกบั นกั เรียนในการแสดงท่าทางประกอบเพลงท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รภาพชา้ ง
2. แถบประโยค
3. แผนภูมิเพลงชา้ ง
4. สลาก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนวาดภาพเก่ียวกบั เพลงชา้ งและระบายสีใหส้ วยงาม แลว้ นาผลงานที่ทาไดด้ ีจานวน 10 ช้ิน
ไปจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน

ความรู้เพม่ิ เตมิ สาหรับครู

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../……



แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6

ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 แสดงประกอบเพลงที่เก่ยี วกับธรรมชาติและสัตว์ เรื่องการแสดงท่าทางประกอบเพลง(สตั ว)์
เวลา 1 คาบ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ผู้สอน นางสุฒมิ า อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/1 เลียนแบบการเคลื่อนไหว

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายประโยชน์ของการแสดงประกอบเพลงท่ีเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั วข์ องตนเอง (K)
2. แสดงท่าทางประกอบเพลงท่เี ก่ียวกบั ธรรมชาติและสตั ว์ (P)
3. ชื่นชมการแสดงประกอบเพลงที่เกี่ยวกบั ธรรมชาติและสตั ว์ (A)

สาระสาคญั

การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงจะช่วยฝึกจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ นอกจากน้ียงั ทาให้
มีพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ทดี่ ี มีการเคลื่อนไหวอวยั วะต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว

สาระการเรียนรู้

การแสดงท่าทางประกอบเพลงท่ีเก่ียวกบั ธรรมชาติและสตั ว์

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ มน่ั ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ทก่ี ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคดิ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แบบบนั ทกึ ผลการแสดงท่าทางประกอบเพลงทเ่ี ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์

คาถามท้าทาย

- การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงมีผลตอ่ ความคิดสร้างสรรคอ์ ยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ใหน้ ักเรียนร่วมกนั ร้องเพลงชา้ ง พร้อมท้งั แสดงท่าทางประกอบเพลงจานวน 2 รอบ แลว้ ครูใชค้ าถาม
เพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- เพลงทน่ี กั เรียนแสดงทา่ ทางประกอบคอื เพลงอะไร (ตัวอย่างคาตอบ เพลงช้าง)
- นักเรียนรู้สึกอยา่ งไรเม่ือได้แสดงท่าทางประกอบเพลง (ตัวอย่างคาตอบ ชอบและสนุกสนาน
เพลิดเพลนิ )
- นักเรียนคิดว่าตนเองแสดงท่าทางประกอบเพลงชา้ งไดด้ ีแลว้ หรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ
ดีแล้ว โดยทาได้ถูกต้องและพร้อมเพรียงกนั กับเพ่ือน ๆ)
2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การเตรียมตวั ในการแสดงประกอบเพลงที่ครูมอบหมายให้
แตล่ ะกลุ่มในชว่ั โมงทีแ่ ลว้ โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- กลุ่มของนักเรียนมีปัญหาในการฝึ กซ้อมหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ มี โดยไม่สามารถ
แสดงท่าทางประกอบเพลงได้พร้อมเพรียงกนั )
- กลุ่มของนักเรียนมีแนวทางในการแกป้ ัญหาอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ฝึ กปฏิบัติหลาย ๆ รอบ
จนสามารถทาได้ถูกต้องและพร้อมเพรียงกนั )
- กลุ่มของนกั เรียนมีความพรอ้ มในการแสดงประกอบเพลงหรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ พร้อม)
แลว้ ครูให้เวลานักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมตวั ก่อนการแสดงประกอบเพลงกลุ่มละ 5 นาที จากน้ันให้
แต่ละกลุ่มส่งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาจบั สลากเพื่อเลือกลาดับในการแสดงและทาการแสดงตามลาดบั ดังกล่าว
ทลี ะกลุ่ม เมื่อจบการแสดงของแต่ละกลุ่มใหเ้ พื่อนกลุ่มอ่ืนร่วมกนั แสดงความรู้สึกชื่นชมตอ่ การแสดงดงั กล่าว
และเม่ือพบขอ้ บกพร่องใหร้ ่วมกนั เสนอแนะแนวทางการแกไ้ ข เพอ่ื ใหก้ ลุ่มดงั กล่าวนาไปพฒั นาปรบั ปรุงใหด้ ีข้ึน

3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มบนั ทึกผลการแสดงประกอบเพลงที่เก่ียวขอ้ งกบั ธรรมชาติและสัตวล์ งใน
แบบบนั ทกึ ตอ่ ไปน้ี

แบบบันทกึ ผลการแสดงท่าทางประกอบเพลง___________________

1. ความรู้สึกที่มีต่อการแสดงของกลุ่ม__________________________________________
2. ปัญหาท่ีพบขณะทาการแสดง________________________________________________
3. แนวทางการแกไ้ ขปัญหาที่พบ_______________________________________________
4. วธิ ีการพฒั นาการแสดงประกอบเพลงที่เก่ียวขอ้ งกบั ธรรมชาติและสตั ว์

_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________

จากน้นั ครูใหค้ าแนะนากบั นกั เรียนแต่ละกลุ่มเพม่ิ เติมเพอื่ ใหน้ กั เรียนไดน้ าไปใชเ้ ป็ นแนวทาง
ในการพฒั นาการแสดงของตนเองใหด้ ีข้นึ ในโอกาสตอ่ ไป

4. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงจะช่วยฝึกจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ นอกจากน้ี

ยงั ทาใหม้ ีพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ที่ดี มีการเคล่ือนไหวอวยั วะตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว
5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงมีผลต่อความคิดสรา้ งสรรคอ์ ยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนมีอิสระในการแสดงประกอบเพลง

ส่ือการเรียนรู้

1. การแสดงประกอบเพลงชา้ ง
2. สลาก
3. แบบบนั ทกึ ผลการแสดงประกอบเพลงที่เก่ียวขอ้ งกบั ธรรมชาตแิ ละสตั ว์

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม

1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2. เครื่องมือ

2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม

ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนวาดภาพเกี่ยวกบั เพลงชา้ งและระบายสีใหส้ วยงาม แลว้ นาผลงานท่ีทาไดด้ ีจานวน 10 ชิ้น
ไปจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../……



หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3

สาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ รหสั วชิ า ศ 11101
ปี การศกึ ษา 2565
ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 4 ชวั่ โมง

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย

ครูผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/2 แสดงทา่ ทางง่าย ๆ เพอื่ สื่อความหมายแทนคาพดู

สาระสาคญั

นาฏยศพั ท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยเป็ นการแสดงออกทางนาฏศิลป์ ที่สวยงาม และเป็ นสิ่งที่
บง่ บอกถึงความเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ

ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding)

นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย เป็ นสิ่งท่ีใชใ้ นการแสดงนาฏศิลป์ ทาใหก้ ารแสดงสวยงาม
มีเอกลกั ษณ์

สาระการเรียนรู้

นาฏยศพั ท์ : การจบี การต้งั วง
ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ ไทย : ฉนั เธอ ไป มา

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ มน่ั ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีการงาน

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการส่ือสาร

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. ชิ้นงานท่ี 4 เร่ือง นาฏยศพั ท์
2. ช้ินงานที่ 5 เร่ือง ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย

การประเมนิ ผล

1. การประเมนิ ผลตัวชี้วัด

1.1 ชิ้นงานที่ 4 เร่ือง นาฏยศพั ท์

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ ปฏบิ ตั นิ าฏยศพั ท์ ปฏิบตั นิ าฏยศพั ท์ ปฏิบตั ินาฏยศพั ท์ ปฏิบตั ินาฏยศพั ท์
เบ้ืองตน้
เบ้อื งตน้ ร่วมกบั เบ้ืองตน้ ตามท่ี เบ้ืองตน้ ตามแบบ เบ้อื งตน้ ไดต้ าม

ผอู้ ่ืนในการพฒั นา ตนเองไดค้ ดิ ข้นึ มา ไดถ้ ูกตอ้ ง และมี แบบอยา่ งหรือทา

ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อ เองเพอื่ ใหม้ ี การดดั แปลงให้ ตามทคี่ รูแนะนา

ส่วนรวมและ ประสิทธิภาพทด่ี ีข้ึน เหมาะสมกบั ตนเอง เท่าน้นั

สามารถแกไ้ ข กวา่ แบบอยา่ ง โดย โดยมีครูหรือผอู้ ื่น

ปัญหาในระหวา่ ง มีครูหรือผอู้ ่ืน แนะนาบา้ ง

ปฏบิ ตั ิได้ แนะนาบา้ ง

1.2 ชิ้นงานที่ 5 เร่ือง ภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทย

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน

4321

แสดงภาษาทา่ ทาง แสดงภาษาท่าทาง แสดงภาษาทา่ ทาง แสดงภาษาทา่ ทาง แสดงภาษาทา่ ทาง

นาฏศิลป์ ไทยได้ นาฏศิลป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้

สมั พนั ธก์ บั ประโยค สมั พนั ธก์ บั ประโยค สมั พนั ธก์ บั ประโยค สมั พนั ธก์ บั ประโยค สมั พนั ธก์ บั ประโยค

ท่ีแต่งข้นึ ทแี่ ต่งข้ึนดว้ ยตนเอง ทแ่ี ต่งข้นึ ดว้ ยตนเอง ทแี่ ต่งข้นึ ไดอ้ ยา่ ง ทแ่ี ต่งข้ึนดว้ ยตนเอง

ไดอ้ ยา่ งสวยงาม ได้ แตไ่ ม่สวยงาม สวยงามโดยมีครู ได้ แตไ่ ม่สวยงาม

และเพอื่ นในช้นั เรียน และเพอื่ นในช้นั เรียน แนะนาอยา่ งใกลช้ ิด โดยมีครูแนะนา

สามารถทาย สามารถทาย และเพอ่ื นในช้นั เรียน อยา่ งใกลช้ ิดและ

ความหมายของ ความหมายของ สามารถทาย เพอ่ื นในช้นั เรียน

ภาษาทา่ ทาง ภาษาท่าทาง ความหมายของ สามารถทาย

นาฏศิลป์ ไทยที่ นาฏศลิ ป์ ไทยท่ี ภาษาท่าทาง ความหมายของ

แสดงไดถ้ ูกทุกคน แสดงไดถ้ ูกทกุ คน นาฏศลิ ป์ ไทยที่ ภาษาทา่ ทาง

แสดงไดถ้ ูกทุกคน นาฏศลิ ป์ ไทยที่

แสดงไดบ้ างคน

2. การประเมนิ ผลคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

ม่งุ มน่ั ในการทางาน

ตวั ช้ีวดั ท่ี 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ทีก่ ารงาน

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเย่ียม (3)

6.1.1 เอาใจใส่ตอ่ ไม่ต้งั ใจปฏิบตั ิ เอาใจใส่ต่อการ ต้งั ใจและรับผดิ ชอบ ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบ

การปฏิบตั ิหนา้ ท่ี หนา้ ทกี่ ารงาน ปฏิบตั หิ นา้ ท่ที ่ีไดร้ บั ในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี

ที่ไดร้ ับมอบหมาย มอบหมาย ที่ไดร้ บั มอบหมาย ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

6.1.2 ต้งั ใจและ ใหส้ าเร็จ ใหส้ าเร็จ มีการ

รับผดิ ชอบในการ ปรบั ปรุงการทางาน

ทางานใหส้ าเร็จ ใหด้ ีข้นึ

6.1.3 ปรับปรุงและ

พฒั นาการทางาน

ดว้ ยตนเอง

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

2. ร่วมกันสนทนาเก่ียวกับนาฏยศพั ท์ และแบ่งกลุ่มฝึ กปฏิบตั ินาฏยศพั ท์ และสนทนาสรุปความรู้
เกี่ยวกบั นาฏยศพั ท์

3. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั ชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยและแสดงความคดิ เห็น
4. ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย และแบ่งกลุ่มฝึกปฏบิ ตั ภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทย
5. ร่วมกนั สรุปความรู้เก่ียวกบั ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย
6. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

- นาฏยศพั ท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย เป็ นส่ิงที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ ทาให้การแสดง
สวยงาม มีเอกลกั ษณ์

สื่อการเรียนรู้

1. แถบบนั ทกึ ภาพ
2. เครื่องเล่นแถบบนั ทึกภาพ
3. บตั รคา
4. ภาพนาฏยศพั ท์
5. สลาก
6. ช้ินงานท่ี 4 เร่ือง นาฏยศพั ท์
7. แผน่ บนั ทึกการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย
8. เครื่องเล่นแผน่ บนั ทึกการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
9. ชิ้นงานที่ 5 เร่ือง ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ ไทย

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

ชื่อ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขท่ี______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบทถ่ี ูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง)
1. ภาษาทา่ ราทางนาฏศิลป์ ไทยมีประโยชน์อยา่ งไร

1 ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง
2 ทาใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจโดยที่เราไม่ตอ้ งพดู
3 ทาใหผ้ อู้ ่ืนสนุกสนาน

2. ภาษาทา่ ราทางนาฏศลิ ป์ ไทยขอ้ ใดทีแ่ ทนความหมายวา่ รกั
1 ประสานมือท่ีหนา้ อก
2 จบี หงายแลว้ มว้ นจีบคว่าลง
3 จบี ควา่ ระดบั หนา้ อก

3. เพราะเหตุใดจงึ ควรศึกษาเรื่องทา่ ทางการร่ายรา
1 จะทาใหผ้ ศู้ ึกษามีรายได้
2 ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง
3 เป็นส่ิงท่ีแสดงถึงเอกลกั ษณ์ของชาติ

4. ท่าราทสี่ วยงามมีลกั ษณะอยา่ งไร
1 อ่อนชอ้ ย ถูกตอ้ ง
2 อ่อนชอ้ ย วอ่ งไว
3 เขม้ แขง็ รวดเร็ว

5. จีบหงายมือซา้ ยช้ีทอ่ี ก หมายถึง ภาษาทา่ ราทางนาฏศลิ ป์ ไทยในขอ้ ใด
1 ท่าไป
2 ทา่ เธอ
3 ทา่ ฉนั

6. ภาพใดไม่ใช่ภาพต้งั วงล่าง

12 3

7. ขอ้ ใดคอื นาฏยศพั ทท์ ้งั หมด
1 ไป ต้งั วง
2 ต้งั วง จบี
3 ฉนั จบี

8. ขอ้ ใดหมายถึงนาฏยศพั ท์
1 คาอธิบายทา่ ราต่าง ๆ
2 คาที่ใชเ้ รียกกิริยาทา่ ทางในการแสดงนาฏศิลป์
3 คาที่บง่ บอกถึงลกั ษณะของการแสดง

9. จากภาพเป็นการแสดงทา่ อะไร
1 ท่าต้งั วงล่าง
2 ท่าสะบดั มือ
3 ท่าจีบควา่

10. การต้งั วงบนของตวั พระและตวั นางมีสิ่งใดแตกต่างกนั
1 ระดบั ความสูงของการต้งั วง
2 การหกั ขอ้ มือ
3 ความอ่อนของนิ้ว

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

ช่ือ ______________________ นามสกุล_______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. ขอ้ ใดคอื นาฏยศพั ทท์ ้งั หมด

1 ฉนั จีบ
2 ไป ต้งั วง
3 ต้งั วง จบี

2. ขอ้ ใดหมายถึงนาฏยศพั ท์
1 คาที่ใชเ้ รียกกิริยาท่าทางในการแสดงนาฏศิลป์
2 คาทีบ่ ่งบอกถึงลกั ษณะของการแสดง
3 คาอธิบายทา่ ราตา่ ง ๆ

3. การต้งั วงบนของตวั พระและตวั นางมีส่ิงใดแตกตา่ งกนั
1 การหกั ขอ้ มือ
2 ความอ่อนของนิ้ว
3 ระดบั ความสูงของการต้งั วง

4. ภาพใดไม่ใช่ภาพต้งั วงล่าง

123

5. จากภาพเป็นการแสดงท่าอะไร
1 ท่าจีบควา่
2 ทา่ ต้งั วงล่าง
3 ท่าสะบดั มือ

6. ภาษาท่าราทางนาฏศลิ ป์ ไทยขอ้ ใดท่แี ทนความหมายวา่ รกั
1 จีบคว่าระดบั หนา้ อก

2 ประสานมือทหี่ นา้ อก
3 จบี หงายแลว้ มว้ นจบี คว่าลง

7. จบี หงายมือซา้ ยช้ีทอ่ี ก หมายถึง ภาษาท่าราทางนาฏศลิ ป์ ไทยในขอ้ ใด
1 ท่าเธอ
2 ทา่ ฉนั
3 ทา่ ไป

8. ภาษาทา่ ราทางนาฏศลิ ป์ ไทยมีประโยชน์อยา่ งไร
1 ทาใหผ้ อู้ ่ืนสนุกสนาน
2 ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง
3 ทาใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจโดยท่ีเราไม่ตอ้ งพดู

9. ท่าราท่ีสวยงามมีลกั ษณะอยา่ งไร
1 อ่อนชอ้ ย วอ่ งไว
2 เขม้ แขง็ รวดเร็ว
3 อ่อนชอ้ ย ถูกตอ้ ง

10. เพราะเหตุใดจึงควรศึกษาเร่ืองท่าทางการร่ายรา
1 เป็นส่ิงทแ่ี สดงถึงเอกลกั ษณ์ของชาติ
2 จะทาใหผ้ ศู้ กึ ษามีรายได้
3 ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 2 2. 1 3. 3 4. 1 5. 3
6. 3 7. 2 8. 2 9. 3 10. 1

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

1. 3 2. 1 3. 3 4. 2 5. 1
6. 2 7. 2 8. 3 9. 3 10. 1

แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ช่ือ-นามสกลุ ...................................... เลขท่ี ............................................ ช้นั ..................................
วนั ท่ี ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. .....................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้น้ี

นกั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจเรื่องใด นกั เรียนมีความรูส้ ึกอยา่ งไร นกั เรียนไดร้ ับความรู้เร่ืองใดบา้ ง
อีกบา้ งที่เก่ียวกบั หน่วยการเรียนรู้น้ี หลงั จากที่เรียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เตมิ น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

หน่วยการเรียนรู้ท่ี.......
...................................
................................

นกั เรียนจะสามารถนาความรู้ ผลงานทนี่ กั เรียนชอบและตอ้ งการ กิจกรรมท่ีนักเรียนชอบมากท่ีสุดใน
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่ วยการเรียนรู้น้ีคือกิจกรรมใด
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั การเรียนรูน้ ้ีคอื ผลงานใดบา้ ง เพราะอะไร
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ...........................................................
....................................................... .

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทกึ น้ีเพอ่ื ใหน้ กั เรียนบนั ทึกทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทึกน้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอ่ื ปรบั ปรุง และพฒั นากระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพอื่ เป็นผลงานประกอบการเล่ือนวทิ ยฐานะได้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6

ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยและนาฏยศัพท์

ผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ เวลา 4 ช่ัวโมง

ภาษาไทย
- การพดู แสดงความคิดเห็น
- การอ่าน

ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย
และนาฏยศัพท์

ศิลปะ: ทัศนศิลป์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- การวาดภาพ - การจดั ป้ายนิเทศ
- การจดั ทาแผนภาพ

ตวั ชี้วัด
• แสดงท่าทางง่าย ๆ เพอ่ื สื่อความหมายแทนคาพดู (ศ 3.1 ป.1/2)

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7

ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 ภาษาท่าทางนาฏศิลปแ์ ละนาฏยศพั ท์ เรอ่ื งนาฏศพั ท์
เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ผ้สู อน นางสุฒมิ า อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/2 แสดงท่าทางงา่ ย ๆ เพอ่ื สื่อความหมายแทนคาพดู

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบุนาฏยศพั ทท์ ่ีแสดงออก (K)
2. ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ (P)
3. ช่ืนชมท่านาฏยศพั ท์ (A)

สาระสาคญั

นาฏยศพั ทเ์ ป็ นคาที่ใชเ้ รียกลักษณะหรือกิริยาท่าทางการแสดงนาฏศิลป์ ไทย โดยใชอ้ วยั วะท้งั ศีรษะ
ใบหนา้ ลาตวั แขน ขา มือ และเทา้ ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ กิดเป็ นทา่ ราทงี่ ดงามอ่อนชอ้ ย

สาระการเรียนรู้

นาฏยศพั ท์ : การจีบ ต้งั วง

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ มัน่ ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทก่ี ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการส่ือสาร

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ นาฏยศพั ท์

คาถามท้าทาย

- ถา้ คนไทยทกุ คนปฏบิ ตั ติ ามนาฏยศพั ทไ์ ด้ จะเกิดผลดีตอ่ นาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดแถบบนั ทึกภาพการแสดงนาฏศลิ ป์ ใหน้ กั เรียนดู จากน้นั ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น
โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

- การแสดงน้ีเป็นการแสดงอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ระบาดอกบัว)
- การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยน้ีมีลกั ษณะท่าทางอยา่ งไรบา้ ง (ตวั อย่างคาตอบ มีการจีบมือ มีการกระดกเท้า)
- นักเรียนชอบการแสดงในภาพหรือไม่ เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ชอบเพราะ มีการร่ายราที่
สวยงาม อ่อนช้อย)
- นกั เรียนเคยมีประสบการณ์เหมือนคนในภาพหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
2. นาบตั รคา นาฏยศพั ท์ มาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- นกั เรียนรู้จกั คาวา่ นาฏยศพั ทห์ รือไม่ (รู้จกั /ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนรูจ้ กั นาฏยศพั ทค์ าใดบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ การจบี การต้งั วง)
จากน้นั ครูอธิบายเก่ียวกบั นาฏยศพั ทใ์ หน้ ักเรียนฟังวา่ นาฏยศพั ท์ เป็ นคาทใ่ี ชเ้ รียกช่ือ ลกั ษณะหรือ
กิริยาท่าทางในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย โดยใช้อวยั วะท้ังศีรษะ ใบหน้า ลาตวั แขน ขา มือ และเท้า
ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ กิดเป็นท่าราทง่ี ดงามอ่อนชอ้ ยข้นึ

3. ครูนาภาพนาฏยศพั ทใ์ หน้ กั เรียนดูทลี ะภาพ จากน้นั ครูสาธิตการทาทา่ นาฏยศพั ทท์ ีละทา่ ดงั น้ี
- จบี คว่า
- จบี หงาย
- ต้งั วงบนตวั พระ
- ต้งั วงบนตวั นาง
- ต้งั วงล่างตวั พระ
- ต้งั วงล่างตวั นาง
จากน้ันให้นักเรียนฝึ กปฏิบตั ิตามทีละท่าโดยมีครูคอยดูแลและแนะนาอย่างใกล้ชิดจนนักเรียน

สามารถทาไดถ้ ูกตอ้ ง
4. ครูคดั เลือกผูแ้ ทนนกั เรียนจานวน 6 คน มาแสดงท่าราตามนาฏยศพั ทด์ งั กล่าวคนละ 1 ท่า แล้วให้

เพอ่ื นๆ ร่วมกนั ทายวา่ คอื นาฏยศพั ทใ์ ด ถา้ ผแู้ ทนนกั เรียนทาไดถ้ ูกตอ้ งใหเ้ พอ่ื น ๆ แสดงความรู้สึกช่ืนชม ถา้ พบ
ขอ้ บกพร่องใหร้ ะบุถึงขอ้ บกพร่องและร่วมกนั แสดงความคิดเห็นและเสนอแนวทางแกไ้ ขเพอ่ื ให้เพือ่ นนาไป
ปรับปรุงแกไ้ ขการราของตนเองใหด้ ีข้นึ

5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั นาฏยศพั ทอ์ ื่น ๆ ทน่ี กั เรียนรู้จกั โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นักเรียนรู้จกั นาฏยศพั ท์อื่นอีกหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ รู้จัก เช่น ประเท้า ก้าวไขว้

ล่อแก้ว ต้งั วงกลาง)
- นกั เรียนสามารถราตามนาฏยศพั ทด์ งั กล่าวไดห้ รือไม่ (ได้/ไม่ได้)
จากน้นั ครูนาขอ้ มูลทไี่ ดม้ าเขยี นสรุปลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

6. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็ น 6 กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งผแู้ ทนกลุ่มมาจบั สลาก
เพอื่ เลือกนาฏยศพั ทต์ ่อไปน้ี 1 ทา่ ไปฝึกซอ้ มร่วมกนั เพอ่ื แสดงใหเ้ พอื่ นกลุ่มอื่น ๆ ดูในชวั่ โมงต่อไป

- จีบคว่า
- จีบหงาย
- ต้งั วงบนตวั พระ
- ต้งั วงบนตวั นาง
- ต้งั วงล่างตวั พระ
- ต้งั วงล่างตวั นาง

7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- นาฏยศพั ทเ์ ป็ นคาท่ีใช้เรียกลกั ษณะหรือกิริยาท่าทาง การแสดงนาฏศิลป์ ไทย โดยใชอ้ วยั วะท้งั

ศีรษะ ใบหนา้ ลาตวั แขน ขา มือ และเทา้ ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ กิดเป็ นทา่ ราทง่ี ดงามอ่อนชอ้ ย
8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- ถา้ คนไทยทุกคนปฏบิ ตั ิตามนาฏยศพั ทไ์ ดจ้ ะเกิดผลดีตอ่ นาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนฝึกซอ้ มการปฏิบตั นิ าฏยศพั ทอ์ ยา่ งมีอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. แถบบนั ทกึ ภาพ
2. เคร่ืองเล่นแถบบนั ทกึ ภาพ
3. บตั รคา
4. ภาพนาฏยศพั ท์
5. สลาก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนวาดภาพนาฏยศพั ทท์ ่ีนักเรียนชอบลงในกระดาษ A4 พร้อมตกแต่งระบายสีให้สวยงาม
แลว้ ครูคดั เลือกผลงานท่ที าไดด้ ี 10 ชิ้น ไปจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ และนาฏยศพั ท์ เรื่องนาฏศพั ท์
เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/2 แสดงท่าทางง่าย ๆ เพอ่ื สื่อความหมายแทนคาพดู

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบุนาฏยศพั ทไ์ ดต้ รงกบั ทา่ ราทแี่ สดงออก (K)
2. ปฏบิ ตั ทิ ่าราตามนาฏยศพั ทไ์ ดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม (P)
3. ช่ืนชมการแสดงท่าราตามนาฏยศพั ท์ (A)

สาระสาคญั

นาฏยศพั ทถ์ ือเป็ นพ้นื ฐานท่าราไทยที่นกั เรียนควรเรียนรู้และฝึ กฝนให้เกิดความชานาญ เพ่ือให้ตนเอง
สามารถเรียนและปฏบิ ตั ทิ า่ ราไทยหรือแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม

สาระการเรียนรู้

นาฏยศพั ท์ : การจีบ ต้งั วง

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

มุ่งมัน่ ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ทกี่ ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการส่ือสาร

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- ชิ้นงานท่ี 4 เร่ือง นาฏยศพั ท์

คาถามท้าทาย

- นาฏยศพั ทม์ ีความสาคญั ต่อนาฏศลิ ป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูคดั เลือกผูแ้ ทนนกั เรียน 2 คน มาปฏบิ ตั ทิ ่านาฏยศพั ทท์ ่ตี นเองช่ืนชอบ ใหเ้ พือ่ น ๆ ชมและทายว่า
คอื ทา่ นาฏยศพั ทใ์ ด และตรวจสอบวา่ ผแู้ ทนนกั เรียนปฏบิ ตั ิไดถ้ ูกตอ้ งหรือไม่

2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั การฝึกปฏิบตั ิตามนาฏยศพั ทท์ ่ีแต่ละกลุ่มไดร้ ับผิดชอบโดย
ครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

- กลุ่มของนกั เรียนฝึกปฏิบตั ินาฏยศพั ทใ์ ด (ตวั อย่างคาตอบ จบี ควา่ )
- กลุ่มของนกั เรียนมีปัญหาในการฝึกปฏิบตั นิ าฏยศพั ทห์ รือไม่ อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ มี โดยใน
การฝึ กแรก ๆ ไม่สามารถปฏบิ ัตินาฏยศัพท์ให้อ่อนช้อยได้)
- กลุ่มของนักเรียนมีแนวทางในการแกป้ ัญหาอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ฝึ กปฏิบัติบ่อย ๆ และขอ
คาแนะนาจากผู้มีความรู้)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเม่ือสามารถปฏิบตั ิตามนาฏยศพั ทไ์ ด้ (ตัวอย่างคาตอบ ภาคภูมิใจ ดใี จ)
จากน้นั ใหเ้ วลานกั เรียนแตล่ ะกลุ่มเตรียมตวั ในการแสดงประมาณ 5 นาที
3. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มส่งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาจบั สลากเพ่อื เลือกลาดบั ในการออกมาแสดงนาฏยศพั ท์
หนา้ ช้นั เรียน เมื่อนกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงนาฏยศพั ทแ์ ลว้ ใหน้ กั เรียนกลุ่มท่ีเหลือและครูปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

- ถา้ กลุ่มที่ออกมาทาการแสดงนาฏยศพั ทส์ ามารถระบุนาฏยศพั ทไ์ ดส้ มั พนั ธก์ บั ท่ารา และทาได้
ถูกตอ้ งสวยงาม ใหร้ ่วมกนั กล่าวคาชมเชย

- ถา้ กลุ่มที่ออกมาทาการแสดงนาฏยศพั ทม์ ีขอ้ บกพร่องในการแสดงใหท้ ุกคนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น
เสนอแนวทางแกไ้ ข ใหก้ ลุ่มดงั กล่าวนาไปปรบั ปรุงแกไ้ ขผลการปฏบิ ตั นิ าฏยศพั ทข์ องตนใหด้ ีข้นึ

จากน้นั ครูสาธิตการราตามนาฏยศพั ทใ์ ห้นักเรียนดูอีก 1 รอบ และใหน้ กั เรียนใชว้ ธิ ีการเพอ่ื นสอน
เพอ่ื นเรียนรู้การปฏิบตั นิ าฏยศพั ทข์ องกลุ่มอื่น ๆ จนทกุ คนสามารถปฏบิ ตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั นาฏยศพั ทข์ องนาฏศิลป์ ไทย กบั มรดกทางวฒั นธรรมของไทย
โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

- นาฏยศพั ทข์ องนาฏศิลป์ ไทยมีความสาคญั ตอ่ ชาตไิ ทยอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ทาให้ชาตไิ ทยของ
เรามีมรดกทางวฒั นธรรมท่เี ป็ นเอกลกั ษณ์ทีน่ ่าภาคภูมใิ จ)

- นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มรดกทางวฒั นธรรมน้ีได้อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษา
เก่ยี วกบั นาฏยศัพท์เพมิ่ เติม ฝึ กปฏบิ ตั ทิ ่าราตามนาฏยศัพท์ให้ถูกต้องสวยงาม เข้าชมการแสดงนาฏศิลป์ ไทย)

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- นาฏยศพั ทเ์ ป็ นพ้ืนฐานท่าราที่นักเรียนควรเรียนรู้และฝึ กฝนให้เกิดความชานาญ เพ่ือให้ตนเอง

สามารถเรียนและปฏิบตั ทิ ่าราไทยหรือการแสดงนาฏศิลป์ ไทยไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- นาฏยศพั ทม์ ีความสาคญั ต่อนาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร
7. ใหน้ กั เรียนทาช้ินงานท่ี 4 เรื่อง นาฏยศพั ท์

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนฝึกซอ้ มการปฏบิ ตั ินาฏยศพั ทอ์ ยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. สลาก
2. ชิ้นงานที่ 4 เร่ือง นาฏยศพั ท์

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1.3 ตรวจช้ินงานที่ 4

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินชิ้นงานท่ี 4 ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เร่ือง ปฏิบตั ินาฏยศพั ทเ์ บ้ืองตน้

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคะแนน

ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ 4 32 1
เบ้อื งตน้
ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ ปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์
เบ้อื งตน้ ร่วมกบั เบ้อื งตน้ ไดต้ าม
ผอู้ ื่นในการพฒั นา เบ้อื งตน้ ตามท่ี เบ้ืองตน้ ตามแบบ แบบอยา่ งหรือทา
ใหเ้ กิดประโยชน์ ตามที่ครูแนะนา
ต่อส่วนรวมและ ตนเองไดค้ ดิ ข้นึ มา ไดถ้ ูกตอ้ งและมี เทา่ น้นั
สามารถแกไ้ ข
ปัญหาในระหวา่ ง เองเพอ่ื ใหม้ ี การดดั แปลงให้
การปฏบิ ตั ไิ ด้
ประสิทธิภาพท่ดี ี เหมาะสมกบั

ข้ึนกวา่ แบบอยา่ ง ตนเอง โดยมีครู

โดยมีครูหรือผอู้ ่ืน หรือผอู้ ่ืนแนะนา

แนะนาบา้ ง บา้ ง


Click to View FlipBook Version