The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุฒิมา อิ่มอำไพ, 2022-09-14 08:57:41

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

ชื่อ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง)
1. สิ่งใดทใ่ี ชก้ าหนดความชา้ -เร็วของเพลง

1 เคร่ืองดนตรี
2 จงั หวะ
3 เสียง

2. จงั หวะใดใชส้ าหรับเดินแถว
1 จงั หวะฉ่ิง
2 จงั หวะมาร์ช
3 อินเดียนแดง

3. จงั หวะใดเร็วทส่ี ุด
1 จงั หวะช้นั เดียว
2 จงั หวะสองช้นั
3 จงั หวะสามช้นั

4. จงั หวะเพลงใดทาให้เกิดความรูส้ ึกผอ่ นคลาย
1 จงั หวะสองช้นั
2 จงั หวะสามช้นั
3 จงั หวะช้นั เดียว

5. เพลงจงั หวะชา้ ทาใหร้ ู้สึกอยา่ งไร
1 สนุกสนาน
2 ตน่ื เตน้
3 เศรา้

6. ขอ้ ใดไม่ถูกตอ้ งเก่ียวกบั การอ่านบทกลอน

1 ออกเสียงคาใหถ้ ูกตอ้ ง
2 อ่านตามจงั หวะ
3 อ่านใหเ้ ร็วทส่ี ุด

7. การอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะมีประโยชน์อยา่ งไร
1 บทกลอนจะไพเราะข้ึน
2 เขา้ ใจบทกลอนยากข้นึ
3 อ่านบทกลอนไดพ้ รอ้ มเพรียงกนั

8. ขอ้ ใดเหมาะสมที่สุดในการทาจงั หวะขณะร้องเพลง
1 ใชน้ ้ิวเคาะโตะ๊
2 นาหนงั สือมาตีโตะ๊
3 นากอ้ นหินมาเคาะโตะ๊

9. ขณะท่ีเพอื่ นรอ้ งเพลงนกั เรียนจะมีส่วนร่วมอยา่ งไร
1 รอ้ งเพลงตามเสียงดงั
2 ปรบมือ
3 ตะโกน

10. การเลียนเสียงดว้ ยอุปกรณ์ใดทาใหเ้ กิดเสียงคลา้ ยเสียงกลอง
1 นาใบไมม้ าเป่ า
2 นาดินสอมาเคาะกนั
3 นาไม้ 2 อนั มาตถี งั น้า

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 1 2. 3 3. 3 4. 2 5. 3
6. 1 7. 2 8. 2 9. 1 10. 3

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

1. 2 2. 2 3. 1 4. 2 5. 3
6. 3 7. 3 8. 1 9. 2 10. 3

แบบบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ช่ือ-นามสกลุ ...................................... เลขที่ ............................................ ช้นั ..................................
วนั ที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. .....................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้น้ี

นั ก เรี ย น ยัง ไ ม่ เข้าใจ เรื่ อ ง ใด นักเรี ยน มีความรู้สึ กอย่างไร นกั เรียนไดร้ ับความรู้เรื่องใดบา้ ง
อีกบา้ งทเ่ี ก่ียวกบั หน่วยการเรียนรู้น้ี หลงั จากท่ีเรียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรู้น้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เตมิ น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

หน่วยการเรียนรู้ที่.......
...................................
................................

นักเรี ยน จะสามารถน าความ รู้ ผลงานที่นกั เรียนชอบและตอ้ งการ กิจกรรมท่ีนักเรียนชอบมากท่ีสุดใน
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรู้น้ี คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่ วยการเรียนรู้น้ีคือกิจกรรมใด
ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั การเรียนรู้น้ีคือผลงานใดบา้ ง เพราะอะไร
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ...........................................................
.......................................................

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทกึ น้ีเพอื่ ใหน้ กั เรียนบนั ทกึ ทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอื่ ปรบั ปรุง และพฒั นากระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทึกน้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพอื่ เป็ นผลงานประกอบการเลื่อนวทิ ยฐานะได้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เวลา 4 ชั่วโมง

จงั หวะและการร้องเพลง

ผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

ภาษาไทย
- การพดู แสดงความคดิ เห็น
- การอ่านคา

จงั หวะและการร้องเพลง

ทัศนศิลป์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- การวาดภาพปูดา - การจดั ป้ายนิเทศ
- การจดั ทาแผนภาพ

ตวั ชี้วดั

1. บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ (ศ 2.1 ป.1/2)
2. ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ (ศ 2.1 ป.1/3)
3. มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอยา่ งสนุกสนาน (ศ 2.1 ป.1/4)

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 25

ชือ่ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 จงั หวะและการรอ้ งเพลง เรื่องจงั หวะเพลงสากล

เวลา 1 คาบ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 ผู้สอน นางสฒุ มิ า อม่ิ อาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ
ศ 2.1 ป.1/3 ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ
ศ 2.1 ป.1/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอยา่ งสนุกสนาน

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายเก่ียวกบั จงั หวะเพลงสากล (K)
2. เคาะจงั หวะเพลงมาร์ช (P)
3. ชื่นชมจงั หวะเพลงมาร์ช (A)

สาระสาคญั

จงั หวะเพลงสากลเป็ นความส้ันยาวของเสียงและใชก้ าหนดความชา้ และเร็วของเพลงสากล ซ่ึงทาให้
ผฟู้ ังเกิดความรูส้ ึกที่แตกตา่ งกนั ตามจงั หวะน้นั ๆ จงั หวะเพลงสากลที่นิยมนามาใชส้ าหรับเดินสวนสนามในงาน
พธิ ีต่าง ๆ คือจงั หวะมาร์ช

สาระการเรียนรู้

ความหมายของจงั หวะ จงั หวะเพลงสากล

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

มุ่งม่ันในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีการงาน

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคิด

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ เพลงมาร์ช

คาถามท้าทาย

- จงั หวะมาร์ชมีประโยชน์อยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดเพลงท่ีมีจงั หวะเร็วและชา้ ให้นักเรียนฟังทีละเพลง (เพลงละ 1 นาที) แล้วใชค้ าถามเพ่ือให้
นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เพลงดงั กล่าว ดงั น้ี

- เพลงแรกทีน่ กั เรียนไดฟ้ ังเป็นเพลงเร็วหรือชา้ (ตวั อย่างคาตอบ เร็ว)
- เพลงทีส่ องทีน่ กั เรียนไดฟ้ ังเป็นเพลงเร็วหรือชา้ (ตวั อย่างคาตอบ ช้า)
- เพลงท้งั สองมีความแตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ แตกต่างกนั โดยเพลงแรกเป็ น
เพลงเร็ว แต่เพลงที่สองเป็ นเพลงช้า)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเมื่อไดฟ้ ังเพลงแรก (ตัวอย่างคาตอบ คกึ คกั สนุกสนาน)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเมื่อไดฟ้ ังเพลงทสี่ อง (ตัวอย่างคาตอบ สบายใจ ผ่อนคลาย)
2. ครูนาบตั รคา จงั หวะ มาติดไวบ้ นกระดาน แลว้ นานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ และใชค้ าถาม
เพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั บตั รคาดงั กล่าว ดงั น้ี
- นกั เรียนรู้จกั “จงั หวะ” หรือไม่ (รู้จัก/ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนเคยฟังเพลงท่มี ีท่วงทานองดนตรีชา้ หรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- นกั เรียนเคยฟังเพลงที่มีทว่ งทานองดนตรีเร็วหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)

จากน้ันครูอธิบายใหน้ ักเรียนฟังวา่ “จงั หวะคือสิ่งท่ีใช้กาหนดความส้ันยาวของเสียงและใชก้ าหนด
ความชา้ เร็วของเพลง โดยเพลงท่ีมีจงั หวะชา้ จะให้ความรู้สึกสบายใจ ผ่อนคลาย ส่วนเพลงท่ีมีจงั หวะเร็วจะให้
ความรู้สึกคึกคกั สนุกสนาน เมื่อไดฟ้ ังจงั หวะโดยทวั่ ไปแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ จงั หวะเพลงสากลและจงั หวะ
เพลงไทย”

3. ครูเปิ ดเพลงกราวกีฬาให้นักเรียนฟังแลว้ ใชค้ าถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเพลง
กราวกีฬา ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยฟังเพลงกราวกีฬาหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เมื่อไดฟ้ ังเพลงกราวกีฬาแลว้ นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ สนุกสนาน)
- เพลงกราวกีฬาเป็นเพลงทีม่ ีจงั หวะเร็วหรือชา้ (ตัวอย่างคาตอบ เร็ว)
- จงั หวะของเพลงกราวกีฬาเป็นจงั หวะเพลงประเภทใด (ตวั อย่างคาตอบ จังหวะเพลงสากล)
จากน้ันครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มฝึ กปรบมือประกอบจงั หวะ
เพลงกราวกีฬา โดยมีครูช่วยฝึ กปฏิบตั ิก่อนให้นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึ กกนั เองจนคล่องแคล่วแล้วให้แต่ละกลุ่ม
ออกมาปรบมือประกอบจงั หวะใหเ้ พอ่ื นกลุ่มอ่ืน ๆ และครูฟังพร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
4. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนฟังวา่ “เพลงกราวกีฬาเป็นเพลงจงั หวะสากล ทม่ี ีชื่อเรียกวา่ จงั หวะมาร์ช ซ่ึงจงั หวะ
น้ีจะใชส้ าหรบั การเดินแถวหรือเดินสวนสนามในงานพธิ ีตา่ ง ๆ” จากน้นั ครูนาบตั รคา
แตร็ก + แตร็ก + ตะระแล็กแตร็ก มาตดิ ไวบ้ นกระดานและใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กนั
แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มฝึกปฏิบตั ิการปรบมือตามจงั หวะเพลงมาร์ชดงั กล่าว โดยใหป้ รบมือตามเครื่องหมาย (+) จน
ทกุ กลุ่มสามารถปฏบิ ตั ไิ ดด้ ีและถูกตอ้ ง จากน้นั ใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมาปฏิบตั ิใหค้ รูและเพอื่ นกลุ่มอน่ื ๆ ดูพรอ้ มท้งั
ตรวจสอบความถูกตอ้ งทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม
5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั เพลงที่มีจงั หวะมาร์ชที่นกั เรียนรูจ้ กั แลว้ ครูนาคาตอบทีไ่ ดม้ า
เขียนสรุปลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

เพลงต่ืนเถดิ
ชาวไทย

เพลงกราวกฬี า เพลงท่ีมีจังหวะมาร์ช เพลงมาร์ชตารวจ

เพลงมาร์ช
ราชวลั ลภ

6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- จงั หวะเพลงสากลทีน่ ิยมนามาใชใ้ นการเดินสวนสนามในงานพธิ ีตา่ ง ๆ คอื จงั หวะเพลงมาร์ช

7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- จงั หวะมาร์ชมีประโยชนอ์ ยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั จงั หวะมาร์ชอยา่ งอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. เคร่ืองเล่นแถบบนั ทึกเสียง
2. แถบบนั ทกึ เสียง
3. บตั รคา

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……………

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………………



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 จงั หวะและการร้องเพลง เรื่องจงั หวะเพลงสากล

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ
ศ 2.1 ป.1/3 ทอ่ งบทกลอน ร้องเพลงงา่ ย ๆ
ศ 2.1 ป.1/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอยา่ งสนุกสนาน

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบุจงั หวะเพลงไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (K)
2. เคาะจงั หวะเพลงไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
3. ชื่นชมการบรรเลงเพลงไทยตามจงั หวะไดถ้ ูกตอ้ ง (A)

สาระสาคญั

เพลงไทยเป็ นเพลงที่ขบั ร้องโดยมีจงั หวะและการบรรเลงดว้ ยเคร่ืองดนตรีไทย ซ่ึงมีความชา้ เร็วข้ึนอยู่
กับจงั หวะท่ีกาหนดท้งั จงั หวะช้ันเดียว จงั หวะสองช้นั และจงั หวะสามช้ัน ดงั น้ันเมื่อบรรเลงเพลงไทยได้
ถูกตอ้ งตามจงั หวะจะทาใหก้ ารบรรเลงเพลงน้นั ไพเราะยง่ิ ข้นึ

สาระการเรียนรู้

จงั หวะเพลงไทย

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

มุ่งมัน่ ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีการงาน

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคิด

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดแสดงจงั หวะเพลงไทย

คาถามท้าทาย

- การฟังเพลงไทยจะช่วยให้เกิดผลดีตอ่ ชาตไิ ทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดเพลงลาวดวงเดือนใหน้ ักเรียนฟังแลว้ ใชค้ าถามเพ่ือใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เพลง
ดงั กล่าว ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยฟังเพลงน้ีหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เพลงน้ีช่ือเพลงอะไร (ตวั อย่างคาตอบ เพลงลาวดวงเดือน)
- เพลงลาวดวงเดือน บรรเลงดว้ ยเครื่องดนตรีไทยหรือเครื่องดนตรีสากล (เครื่องดนตรีไทย)
- เพลงลาวดวงเดือนมีจงั หวะเป็ นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ช้า)
- นักเรียนชอบฟังเพลงลาวดวงเดือนหรือไม่ เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ชอบ เพราะฟังแล้วรู้สึก
ผ่อนคลาย)

2. ครูนาแผนภมู ิอตั ราจงั หวะเพลงไทยต่อไปน้ีมาติดไวบ้ นกระดาน จงั หวะช้นั เดียว

ฉิ่ง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉ่ิง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉ่ิง ฉบั ฉ่ิง ฉบั

-+ -+ -+ -+ -+ -+ -+ -+

ฉิ่ง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉ่ิง ฉบั ฉิ่ง ฉบั

- + - + - + - + จงั หวะสองช้นั

ฉ่ิง ฉบั ฉ่ิง ฉบั

- + - + จงั หวะสามช้นั

แลว้ นานักเรียนอ่านจงั หวะเพลงไทยในแผนภูมิดงั กล่าวจานวน 1 รอบ จากน้นั ครูตีฉ่ิงตามจงั หวะ
ดงั กล่าวใหน้ กั เรียนฟังจานวนแผนภมู ิละ 3 รอบ แลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาดงั น้ี

- การตฉี ่ิงตามจงั หวะเพลงไทยใดทเี่ ร็วที่สุด (ตัวอย่างคาตอบ จงั หวะช้ันเดียว)
- การตีฉิ่งตามจงั หวะเพลงไทยใดที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลาง (ตัวอย่างคาตอบ จังหวะ
สองช้ัน)
- การตฉี ่ิงตามจงั หวะเพลงไทยใดท่ีมีความเร็วอยใู่ นระดบั ชา้ ที่สุด (ตัวอย่างคาตอบ จงั หวะสามช้ัน)
- นกั เรียนชอบฟังเพลงไทยท่ีมีจงั หวะแบบใด เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ จังหวะสองช้ัน เพราะ

ฟังสบาย ไม่เร็วหรือช้าเกินไป)
3. ให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แลว้ ให้แต่ละกลุ่มพดู ตามจงั หวะ “ฉิ่ง ฉับ” พร้อมท้งั เคาะจงั หวะตาม

โดยแบมือเม่ือเป็ นจงั หวะฉิ่ง (-) และปรบมือเมื่อเป็ นจงั หวะฉับ (+) ซ่ึงมีครูเป็ นผูส้ าธิตและฝึกปฏิบตั ิร่วมกนั
ก่อนท่จี ะใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ฝึกแบบเพอื่ นช่วยเพอื่ น หากพบปัญหาใหเ้ พอื่ นที่ปฏิบตั ิไดด้ ีและถูกตอ้ ง
ในกลุ่มช่วยแนะนา และมีครูเป็ นผูต้ รวจสอบความถูกต้องจนนักเรียนทุกคนสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง
คล่องแคล่ว จากน้ันครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงให้เพ่ือนกลุ่มอ่ืน ๆ และครูดูพร้อมท้งั ตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งอีกคร้งั ทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั เพลงไทยทีม่ ีอตั ราจงั หวะตา่ ง ๆ โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- เพลงไทยที่บรรเลงดว้ ยจงั หวะช้นั เดียวมีลกั ษณะจงั หวะเป็ นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ

มีจังหวะเร็ว)
- เพลงไทยท่บี รรเลงดว้ ยจงั หวะสองช้นั มีลกั ษณะจงั หวะเป็ นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ จังหวะ

ปานกลาง)
- เพลงไทยท่บี รรเลงดว้ ยจงั หวะสามช้นั มีลกั ษณะจงั หวะเป็นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ จังหวะช้า)
- นกั เรียนรู้จกั เพลงไทยเพลงใดบา้ งที่บรรเลงดว้ ยจงั หวะช้นั เดียว
- นกั เรียนรู้จกั เพลงไทยเพลงใดบา้ งทบ่ี รรเลงดว้ ยจงั หวะสองช้นั
- นกั เรียนรูจ้ กั เพลงไทยเพลงใดบา้ งที่บรรเลงดว้ ยจงั หวะสามช้นั
- นกั เรียนชอบฟังเพลงไทยประเภทใดมากทส่ี ุด (ตัวอย่างคาตอบ เพลงไทยจงั หวะช้ันเดยี ว)

จากน้ันครูนาคาตอบที่ไดม้ าเขียนสรุปเป็ นแผนภาพความคิดบนกระดานดังตวั อย่างต่อไปน้ีพร้อมท้งั
อธิบายเพม่ิ เตมิ

5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั แนวทางการอนุรักษเ์ พลงไทย โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นกั เรียนมีแนวทางในการอนุรกั ษเ์ พลงไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ฝึ กการบรรเลงเพลงไทย

ศึกษาและสืบสานเพลงไทย ส่งเสริมการเล่นดนตรีไทยและการขบั ร้องเพลงไทย เผยแพร่เพลงไทยให้รู้จักอย่าง
แพร่หลาย)

- การอนุรกั ษเ์ พลงไทยมีประโยชนต์ ่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ทาให้คงรักษา
เอกลกั ษณ์ของชาตไิ ทยไว้ ทาให้ชาวไทยเกดิ ความภาคภูมใิ จและรู้สึกหวงแหนประเทศไทย)

6. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- เพลงไทยเป็ นเพลงที่ขบั ร้องโดยมีจงั หวะและการบรรเลงดว้ ยเครื่องดนตรีไทย ซ่ึงมีความชา้ เร็ว

ข้ึนอยกู่ บั จงั หวะที่กาหนด ท้งั จงั หวะช้นั เดียว จงั หวะสองช้นั และจงั หวะสามช้ัน ดงั น้ันเมื่อบรรเลงเพลงไทย
ไดถ้ ูกตอ้ งตามจงั หวะ จะทาใหก้ ารบรรเลงเพลงน้นั ไพเราะยง่ิ ข้ึน

7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การฟังเพลงไทยจะช่วยใหเ้ กิดผลดีต่อชาติไทยอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนฝึกปรบมือตามจงั หวะเพลงไทยอยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. เคร่ืองเล่นแถบบนั ทกึ เสียง
2. แถบบนั ทึกเสียง
3. แผนภูมิอตั ราจงั หวะเพลงไทย

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินกิจกรรมน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เรื่อง บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ

ตวั ชี้วดั บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ (ศ 2.1 ป.1/2)

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

บอกลกั ษณะของเสียง บอกลกั ษณะ บอกลกั ษณะ บอกลกั ษณะ บอกลกั ษณะ

ดงั -เบา และความชา้ -เร็ว ของเสียงดงั -เบา ของเสียงดงั -เบา ของเสียงดงั -เบา ของเสียงดงั -เบา

ของจงั หวะ และความชา้ -เร็ว และความชา้ -เร็ว และความชา้ -เร็ว และความชา้ -เร็ว

ของจงั หวะได้ ของจงั หวะได้ ของจงั หวะได้ ของจงั หวะได้

สมั พนั ธก์ บั สมั พนั ธก์ บั สมั พนั ธห์ วั ขอ้ ที่ สมั พนั ธก์ บั

หวั ขอ้ ทีก่ าหนด หวั ขอ้ ที่กาหนด กาหนด และ หวั ขอ้ ที่กาหนด

และแตกต่างจาก และแตกตา่ งจาก แตกต่างจากที่ ตามทคี่ รู

ทีค่ รูยกตวั อยา่ ง ท่คี รูยกตวั อยา่ ง ครูยกตวั อยา่ ง ยกตวั อยา่ ง

มีการเช่ือมโยง แตเ่ ชื่อมโยง แต่มีการ

ใหเ้ ห็นถึง ใหเ้ ห็นเฉพาะ ดดั แปลงให้

ความสมั พนั ธ์ ตนเอง แตกตา่ ง

กบั ตนเองและ

ผอู้ ื่น

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…………

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………………



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 จงั หวะและการร้องเพลง เร่ืองการอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผูส้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ
ศ 2.1 ป.1/3 ทอ่ งบทกลอน รอ้ งเพลงง่าย ๆ
ศ 2.1 ป.1/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอยา่ งสนุกสนาน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายประโยชน์ของจงั หวะตอ่ การอ่านบทกลอน (K)
2. อ่านบทกลอนตามจงั หวะไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
3. ช่ืนชมการอ่านบทกลอนตามจงั หวะทถ่ี ูกตอ้ ง (A)

สาระสาคญั

จงั หวะสามารถใชเ้ ป็ นตวั กาหนดความชา้ เร็วในการอ่านบทกลอน ช่วยให้เราอ่านบทกลอนไดถ้ ูกตอ้ ง
พร้อมเพรียงกนั และไพเราะมากข้นึ

สาระการเรียนรู้

การอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ มน่ั ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทกี่ ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. แผนภาพความคดิ ประโยชน์ของจงั หวะตอ่ การอ่านบทกลอน
2. ช้ินงานที่ 2 เรื่อง การอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ

คาถามท้าทาย

- การอ่านบทกลอนไดพ้ รอ้ มเพรียงกนั มีประโยชนอ์ ยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาแผนภูมิบทกลอน “น่ีของของเธอ” มาตดิ ไวบ้ นกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรียนอ่านพรอ้ ม ๆ กนั ดงั น้ี

แผนภูมิบทกลอนน่ีของของเธอ

น่ีของของเธอ นน่ั ของของฉนั
มนั สบั เปล+่ียนกนั + ฉนั ค+ืนใหเ้ ธอ +
น่ีขอ+งของเธอ + ที่ทาต+ กไว ้ +
ฉนั น้+ีเก็บได้ + นา+มาใหเ้+ธอ

++ ++

แลว้ ครูใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั การอ่านแผนภมู ิบทกลอนน่ีของของเธอ ดงั น้ี
- นกั เรียนอ่านบทกลอนไดพ้ ร้อมเพรียงกนั หรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ ไม่พร้อมเพรียงกนั )
- นกั เรียนอ่านบทกลอนไดถ้ ูกตอ้ งทกุ คาหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ไม่)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเมื่ออ่านบทกลอนไม่พรอ้ มเพรียงกนั (ตัวอย่างคาตอบ ไม่ชอบ ราคาญ)

2. ครูพานักเรียนอ่านแผนภูมิบทกลอนน่ีของของเธอทีละท่อน จานวน 2 รอบ จากน้ันครูให้นกั เรียน
ฝึกอ่านตาม โดยครูเคาะจงั หวะประกอบตามเคร่ืองหมาย (+) ในแผนภูมิจานวน 2 รอบ แลว้ ให้นกั เรียนทุกคน
ฝึกอ่านตามจงั หวะที่ครูเคาะใหจ้ นพรอ้ มเพรียงกนั และครูใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนอ่านบทกลอนไดถ้ ูกตอ้ งทกุ คาหรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ ถูกต้องทกุ คา)
- นกั เรียนอ่านบทกลอนไดพ้ ร้อมเพรียงกนั หรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ พร้อมเพรียง)
- เพราะเหตุใดนกั เรียนจึงสามารถอ่านบทกลอนไดพ้ รอ้ มเพรียงกนั (ตัวอย่างคาตอบ เพราะทกุ คน
อ่านตามจงั หวะทค่ี รูเคาะให้)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเมื่ออ่านบทกลอนไดพ้ รอ้ มเพรียงกนั (ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนาน)
จากน้ันครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเคาะจงั หวะประกอบการอ่านบทกลอนจะทาให้เราแบ่ง
วรรคตอนในการอ่านไดถ้ ูกตอ้ งและทกุ คนสามารถอ่านบทกลอนไดอ้ ยา่ งพร้อมเพรียงกนั
3. ให้นักเรียนแบง่ กลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มร่วมกนั ฝึกอ่านบทกลอน
ฝนตกแดดออกตามวธิ ีการอ่านบทกลอนน่ีของของเธอ โดยครูนาแผนภูมิบทกลอนฝนตกแดดออกมาติดไวบ้ น
กระดาน ดงั น้ี

จากน้ันครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านทีละท่อนพร้อมท้งั เคาะจงั หวะประกอบจานวน 2 รอบ แลว้ ให้
แต่ละกลุ่มฝึกอ่านเอง พร้อมท้งั เคาะจงั หวะประกอบจนทุกคนในกลุ่มสามารถอ่านบทกลอนฝนตกแดดออกได้
ถูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั และให้แต่ละกลุ่มออกมาอ่านบทกลอนฝนตกแดดออกใหเ้ พ่ือนกลุ่มอื่น ๆ และครูฟัง
พร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกตอ้ งทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม

จากน้ันครูใช้คาถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการฝึ กปฏิบัติการอ่าน
บทกลอนประกอบจงั หวะดงั กล่าว ดงั น้ี

- นกั เรียนสามารถอ่านบทกลอนไดถ้ ูกตอ้ งทุกคาหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ถูกต้อง)
- นกั เรียนอ่านบทกลอนฝนตกแดดออกไดพ้ รอ้ มเพรียงกนั หรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ พร้อมเพรียงกนั )
- นกั เรียนสามารถเคาะจงั หวะไดถ้ ูกตอ้ งหรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ ถูกต้อง)
- นกั เรียนสามารถอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะไดถ้ ูกตอ้ งหรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ ถูกต้อง)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรในการอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ (ตัวอย่างคาตอบ ชอบ)

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ประโยชน์ของการเคาะจงั หวะต่อการอ่านบทกลอนโดยครูใช้
คาถาม ดงั น้ี

- ประโยชนข์ องจงั หวะต่อการอ่านบทกลอนมีอะไรบา้ ง (ตวั อย่างคาตอบ อ่านบทกลอนได้ถูกต้อง
อ่านบทกลอนได้พร้อมเพรียงกนั อ่านบทกลอนได้ไพเราะน่าฟังมากขนึ้ สนุกสนาน)

จากน้นั ครูนาคาตอบทีไ่ ดม้ าเขยี นสรุปเป็ นแผนภาพความคดิ บนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

อ่านบทกลอนไดถ้ ูกตอ้ ง

ทาให้มีความสนุกสนาน ประโยชน์ของ อ่านบทกลอนไดพ้ ร้อมเพรียงกนั
จงั หวะต่อการ
อ่านบทกลอน

อ่านบทกลอนไดไ้ พเราะ
น่าฟังมากข้ึน

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- จงั หวะสามารถใชเ้ ป็นตวั กาหนดในการอ่านบทกลอน ช่วยใหเ้ ราอ่านบทกลอนไดถ้ ูกตอ้ ง

พร้อมเพรียงกนั และไพเราะมากข้นึ
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การอ่านบทกลอนไดพ้ ร้อมเพรียงกนั มีประโยชนอ์ ยา่ งไร
7. ใหน้ กั เรียนทาชิ้นงานท่ี 2 เรื่อง การอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. แผนภูมิบทกลอนนี่ของของเธอ
2. แผนภมู ิบทกลอนฝนตกแดดออก
3. ช้ินงานที่ 2 เร่ือง การอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1.3 ตรวจชิ้นงานท่ี 2

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินช้ินงานท่ี 2 ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เร่ือง การอ่านบทกลอนประกอบจงั หวะ

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

อ่านบทกลอนประกอบ อ่านบทกลอน อ่านบทกลอน อ่านบทกลอน อ่านบทกลอน

จงั หวะ ประกอบจงั หวะ ประกอบจงั หวะ ประกอบจงั หวะ ประกอบจงั หวะ

ร่วมกบั ผอู้ ื่นใน ที่ตนเองคิดข้ึนมา ตามแบบได้ ไดต้ ามแบบอยา่ ง

การพฒั นาใหเ้ กิด เองเพอื่ ใหม้ ี ถูกตอ้ ง และมี หรือทาตามทีค่ รู

ประโยชนต์ อ่ ประสิทธิภาพทด่ี ี การดดั แปลงให้ แนะนาเทา่ น้นั

ส่วนรวม และ ข้ึนกวา่ แบบอยา่ ง เหมาะสมกบั

สามารถแกไ้ ข โดยมีครูหรือผอู้ ื่น ตนเอง โดยมีครู

ปัญหาในระหวา่ ง แนะนาบา้ ง หรือผอู้ ่ืนแนะนา

การปฏบิ ตั ไิ ด้ บา้ ง

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการแกไ้ ข

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/………

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสังวร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน

……………/………………../………………

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 28

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 จงั หวะและการร้องเพลง เร่ืองการรอ้ งเพลงประกอบจงั หวะ

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565 ผูส้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ
ศ 2.1 ป.1/3 ทอ่ งบทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ
ศ 2.1 ป.1/4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอยา่ งสนุกสนาน

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายประโยชนข์ องจงั หวะตอ่ การร้องเพลง (K)
2. ร้องเพลงประกอบจงั หวะไดถ้ ูกตอ้ ง (P)
3. ช่ืนชมผอู้ ื่นทีร่ ้องเพลงไดถ้ ูกตอ้ งไพเราะ (A)

สาระสาคญั

การใชจ้ งั หวะประกอบการร้องเพลง จะช่วยให้เรารู้สึกและเขา้ ใจอารมณ์ของเพลงน้ัน และสามารถ
ร้องเพลงไดถ้ ูกตอ้ งไพเราะมากข้ึน

สาระการเรียนรู้

การร้องเพลงประกอบจงั หวะ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ ม่นั ในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่การงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคดิ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดประโยชน์ของจงั หวะตอ่ การร้องเพลง

คาถามท้าทาย

- การร้องเพลงประกอบจงั หวะอยเู่ สมอมีประโยชนต์ อ่ ตนเองอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาภาพปดู ามาติดไวบ้ นกระดานแลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- ภาพที่นกั เรียนเห็นคือภาพอะไร (ตวั อย่างคาตอบ ภาพปูดา)
- ปูดามีรูปร่าง ลกั ษณะเป็ นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ มีตา 2 ข้าง มีขา 8 ขา มีก้าม 2 ก้าม มีตวั อยู่

ตรงกลาง)
- นกั เรียนจะพบปดู าไดใ้ นบริเวณใดบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ แหล่งน้าต่าง ๆ)
จากน้ันครูคดั เลือกผูแ้ ทนนักเรียน จานวน 5 คน ออกมาแสดงบทบาทสมมุติการเดินของปูดาที่

หนา้ ช้นั เรียนใหเ้ พอื่ น ๆ ดู
2. ครูนาแผนภูมิเพลงจบั ปูดามาติดไวบ้ นกระดาน ดงั น้ี

และครูพานักเรียนอ่านเน้ือเพลงจบั ปูดาทีละท่อนจานวน 2 รอบ จากน้ันฝึ กให้นักเรียนอ่าน
ประกอบกบั จงั หวะการเคาะของครูจานวน 3 รอบหรือจนนักเรียนอ่านไดค้ ล่องถูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั แลว้ ครู
พานกั เรียนร้องเพลงจบั ปูดาตามจงั หวะเคาะ (+) จนทุกคนสามารถร้องไดถ้ ูกตอ้ ง จากน้ันครูสาธิตการแสดง
ทา่ ทางประกอบเพลงจบั ปูดาใหน้ กั เรียนดู 1 รอบ

3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบท่าทางประกอบการ
รอ้ งเพลงจบั ปูดาและฝึกซอ้ มจนทกุ คนในกลุ่มทาไดถ้ ูกตอ้ งสวยงามพรอ้ มเพรียงกนั จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนแต่ละ
กลุ่มออกมาทาการแสดงให้เพ่อื นและครูดูทีละกลุ่ม แลว้ ให้แต่ละกลุ่มแสดงความชื่นชมการแสดงของเพื่อน
จนครบทุกกลุ่ม

4. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกบั ประโยชน์ของจงั หวะต่อการร้องเพลง แลว้ ครูนาคาตอบ
ท่ไี ดม้ าเขียนสรุปเป็นแผนภาพความคดิ บนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

เป็นท่ีชื่นชมของผทู้ ่ีไดร้ ับฟังเพลง

ประโยชน์ของจงั หวะ
ต่อการร้องเพลง

ร้องเพลงไดไ้ พเราะข้ึน ร้องเพลงไดถ้ ูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั

ทาใหเ้ ราเขา้ ใจอารมณ์ของเพลง
ดีข้ึน

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การใชจ้ งั หวะประกอบการร้องเพลง จะช่วยใหเ้ รารู้สึกและเขา้ ใจอารมณ์ของเพลงน้ัน และสามารถ

รอ้ งเพลงไดถ้ ูกตอ้ ง ไพเราะมากข้นึ
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การรอ้ งเพลงประกอบจงั หวะอยเู่ สมอมีประโยชน์ต่อตนเองอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- รอ้ งเพลงประกอบจงั หวะอยา่ งอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. ภาพปดู า
2. แผนภูมิเพลงจบั ปดู า
3. การแสดงบทบาทสมมุติ
4. การแสดงทา่ ทางประกอบเพลง

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

1. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้แตล่ ะกลุ่มเลือกเพลงประจากลุ่มมา
1 เพลง พร้อมคิดท่าทางประกอบเพลง จากน้ันฝึ กซ้อมท่าทางจนถูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั และออกมาแสดง
ใหเ้ พอื่ นและครูดูทลี ะกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม

2. ให้นักเรียนวาดภาพปูดาในจินตนาการของตนเองพร้อมท้งั ตกแต่งให้สวยงาม แลว้ นาผลงานท่ีดี
10 ช้ิน ไปจดั ป้ายนิเทศ

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินกิจกรรมน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เร่ือง ทอ่ งบทกลอนร้องเพลงงา่ ย ๆ

ตวั ชี้วัด 1. ทอ่ งบทกลอนรอ้ งเพลงงา่ ย ๆ (ศ 2.1 ป.1/3)
2. มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีอยา่ งสนุกสนาน (ศ 2.1 ป.1/4)

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32

ทอ่ งบทกลอน ร้องเพลง ท่องบทกลอน ทอ่ งบทกลอน ทอ่ งบทกลอน ทอ่ งบทกลอน

ง่าย ๆ ร้องเพลงง่าย ๆได้ รอ้ งเพลงงา่ ย ๆได้ ร้องเพลงง่าย ๆ ได้ ร้องเพลงง่าย ๆ

ดว้ ยตนเอง โดย โดยครูแนะนา โดยครูแนะนา แต่ไม่สามารถ

ครูไม่ตอ้ งแนะนา บา้ ง และสามารถ อยา่ งใกลช้ ิด และ แนะนาผอู้ ่ืนได้

และสามารถไป แนะนาผอู้ ื่นได้ สามารถแนะนา

ฝึกซอ้ มใหผ้ อู้ ่ืน ผอู้ ื่นได้

ได้

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………………



หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหสั วชิ า ศ 11101
ปี การศึกษา 2565
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 6 ชวั่ โมง

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 เพลงในชีวติ ประจาวนั

ครูผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเกี่ยวขอ้ งของเพลงท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

สาระสาคญั

บทเพลงต่างๆ มีความหมายและให้อารมณ์ ความรู้สึกแก่ผูฟ้ ังแตกต่างกนั ซ่ึงเน้ือหาของบทเพลงอาจ
สอดแทรกขอ้ คดิ เรื่องราวตา่ ง ๆ ไวใ้ นบทเพลงเพอื่ ใหผ้ ฟู้ ังไดซ้ าบซ้ึงและเขา้ ใจบทเพลงมากข้ึน

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

บทเพลงต่าง ๆ มีความหมายและอารมณ์ ความรู้สึกแตกตา่ งกนั ข้นึ กบั ผฟู้ ัง

สาระการเรียนรู้

1. เพลงกล่อมเด็ก
2. เพลงประกอบการละเลน่
3. เพลงสาคญั ของชาติ

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- ช้ินงานที่ 3 เรื่อง เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย : วาดภาพสิ่งท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เพลงสาคญั ของชาติไทย

การประเมนิ ผล

1. การประเมินผลตัวชี้วัด

ช้ินงานท่ี 3 เรื่อง เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

วาดภาพส่ิงที่เก่ียวขอ้ งกบั วาดภาพสิ่งที่ วาดภาพส่ิงที่ วาดภาพส่ิงท่ี วาดภาพสิ่งท่ี

เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย เกี่ยวขอ้ งกบั เพลง เก่ียวขอ้ งกบั เพลง เก่ียวขอ้ งกบั เพลง เกี่ยวขอ้ งกบั เพลง

สาคญั ของชาต-ิ สาคญั ของชาต-ิ สาคญั ของชาต-ิ สาคญั ของชาต-ิ

ไทย นอกเหนือ ไทย นอกเหนือ ไทยตามทคี่ รู ไทยตามรูปแบบ

จากทีค่ รูอธิบาย จากท่ีครูอธิบาย ยกตวั อยา่ ง แตม่ ี ที่กาหนดใหไ้ ด้

ไดส้ วยงามดว้ ย ไดแ้ ตไ่ ม่สวยงาม การดดั แปลงให้ แต่ไม่สามารถ

ตนเอง และเขยี น และเขยี นบอกช่ือ แตกต่าง และ เขยี นบอกชื่อ

บอกชื่อเพลงได้ เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง เขียนบอกชื่อ เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง

ถูกตอ้ งสมั พนั ธ์ สมั พนั ธก์ บั เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง สมั พนั ธก์ บั

กบั รูปภาพ รูปภาพ สมั พนั ธก์ บั รูปภาพ

รูปภาพ

2. การประเมินผลคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ตวั ช้ีวดั ท่ี 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

1.1.1 ยนื ตรงเคารพ ไม่ยนื ตรงเคารพ ยนื ตรงเม่ือไดย้ นิ ยนื ตรงเม่ือไดย้ นิ ยนื ตรงเมื่อไดย้ นิ
เพลงชาติ ร้องเพลง เพลงชาติ ร้องเพลง
ธงชาติ รอ้ งเพลงชาติ ธงชาติ เพลงชาติ ชาติได้ และบอก ชาตไิ ด้ และบอก
ความหมายของ ความหมายของ
และอธิบาย รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ เพลงชาตไิ ดถ้ ูกตอ้ ง เพลงชาติไดถ้ ูกตอ้ ง
ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิ ปฏิบตั ิตนตามสิทธิ
ความหมายของ และหนา้ ทีข่ อง และหนา้ ทขี่ อง
นกั เรียน นกั เรียน ให้
เพลงชาติไดถ้ ูกตอ้ ง
ความร่วมมือ ร่วมใจ
1.1.2 ปฏบิ ตั ติ น ในการทางานกบั
สมาชิกในช้นั เรียน
ตามสิทธิและ

หนา้ ท่ีพลเมืองดี

ของชาติ

1.1.3 มีความสามคั คี

ปรองดอง

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เพลงกล่อมเด็กแตล่ ะภาค
2. ให้นักเรียนแสดงความรู้สึกช่ืนชมบทเพลงกล่อมเด็กแต่ละภาคหลงั ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั วิธีการ
อนุรักษเ์ พลงกล่อมเด็ก
3. ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการละเล่นของไทย และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความรู้สึกที่มีต่อ
การละเล่นของไทย
4. ใหน้ กั เรียนฝึ กรอ้ งเพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี และร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เพลงสาคญั
ของชาตทิ รี่ ูจ้ กั
5. ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เพลงในชีวติ ประจาวนั และสรุปความรูเ้ ก่ียวกบั เพลงสาคญั ของชาติ
6. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

- บทเพลงตา่ ง ๆ มีความหมายและอารมณ์ ความรู้สึกแตกต่างกนั ข้ึนกบั ผฟู้ ัง

สื่อการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. เครื่องเล่นแถบบนั ทกึ เสียง
3. แถบบนั ทกึ เสียง
4. การแสดงบทบาทสมมุติ
5. แผนภมู ิเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ
6. แผนภูมิเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง
7. แผนภูมิเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
8. แผนภูมิเพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้
9. สลาก
10. แผนภมู ิเพลงรีรีขา้ วสาร
11. แผนภมู ิเพลงชาติ
12. แผนภมู ิเพลงสรรเสริญพระบารมี
13. ช้ินงานที่ 3 เร่ือง เพลงสาคญั ของชาติไทย : วาดภาพส่ิงท่เี กี่ยวขอ้ งกบั เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

ชื่อ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบท่ีถูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. การรอ้ งเพลงสรรเสริญพระบารมี มีจุดประสงคอ์ ยา่ งไร

1 แสดงความจงรักภกั ดีต่อสถาบนั พระมหากษตั ริย์
2 ใหค้ นไทยมีความสามคั คี
3 เพอ่ื ราลึกถึงบุญคุณของครู

2. ขอ้ ใดเป็นเพลงสาคญั ของชาติ
1 เพลงพรปี ใหม่
2 เพลงค่าน้านม
3 เพลงชาติไทย

3. ขอ้ ใดคอื ประโยชนข์ องการร้องเพลงประกอบการละเล่น
1 ทาใหเ้ กิดความเรียบร้อย
2 ทาใหก้ ารละเล่นสนุกสนานยงิ่ ข้ึน
3 ทาใหเ้ กิดเสียงดงั

4. การรอ้ งเพลงชาติไทยทาให้เกิดความรู้สึกอยา่ งไร
1 ความร่าเริงใจ
2 ความสบายใจ
3 ความสามคั คี

5. เพลงใดใชใ้ นงานพธิ ีสาคญั ต่าง ๆ
1 เพลงสยามานุสติ
2 เพลงสรรเสริญพระบารมี
3 เพลงชาตไิ ทย

6. การละเล่นใดไม่มีเพลงประกอบการละเล่น

1 หมากเกบ็
2 มอญซ่อนผา้
3 งูกินหาง

7. การร้องเพลงกล่อมเด็กมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
1 ทาใหเ้ ด็กสนุกสนาน
2 ทาใหเ้ ด็กฉลาด
3 ทาใหเ้ ดก็ หลบั งา่ ย

8. “เลือกทอ้ งใบลาน...” ขอ้ ความใดร้องตอ่ จากขอ้ ความทก่ี าหนดให้
1 เก็บเบ้ยี ใตถ้ ุนร้าน
2 พานเอาคนขา้ งหลงั ไว้
3 คดขา้ วใส่จาน

9. เน้ือเพลงกล่อมเด็กควรมีลกั ษณะอยา่ งไร
1 มีจงั หวะทนั สมยั
2 เป็นบทรอ้ ยกรอง
3 ใชค้ าทผี่ ใู้ หญเ่ ขา้ ใจงา่ ย

10. เพลงกล่อมเด็กมีจงั หวะอยา่ งไร
1 เร็ว
2 ชา้
3 เร็วมาก

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

ช่ือ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบท่ีถูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. เน้ือเพลงกล่อมเดก็ ควรมีลกั ษณะอยา่ งไร

1 ใชค้ าท่ผี ใู้ หญเ่ ขา้ ใจงา่ ย
2 มีจงั หวะทนั สมยั
3 เป็นบทร้อยกรอง

2. เพลงกล่อมเดก็ มีจงั หวะอยา่ งไร
1 เร็วมาก
2 เร็ว
3 ชา้

3. การละเล่นใดไม่มีเพลงประกอบการละเล่น
1 งกู ินหาง
2 หมากเก็บ
3 มอญซ่อนผา้

4. การรอ้ งเพลงกล่อมเด็กมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
1 ทาใหเ้ ด็กฉลาด
2 ทาใหเ้ ดก็ หลบั ง่าย
3 ทาใหเ้ ด็กสนุกสนาน

5. “เลือกทอ้ งใบลาน...” ขอ้ ความใดร้องตอ่ จากขอ้ ความที่กาหนดให้
1 คดขา้ วใส่จาน
2 เกบ็ เบ้ยี ใตถ้ ุนรา้ น
3 พานเอาคนขา้ งหลงั ไว้

6. ขอ้ ใดคอื ประโยชนข์ องการร้องเพลงประกอบการละเล่น

1 ทาใหเ้ กิดเสียงดงั
2 ทาใหเ้ กิดความเรียบรอ้ ย
3 ทาใหก้ ารละเล่นสนุกสนานยง่ิ ข้ึน

7. ขอ้ ใดเป็นเพลงสาคญั ของชาติ
1 เพลงชาติไทย
2 เพลงพรปี ใหม่
3 เพลงคา่ น้านม

8. การรอ้ งเพลงชาติไทยทาให้เกิดความรู้สึกอยา่ งไร
1 ความสามคั คี
2 ความร่าเริงใจ
3 ความสบายใจ

9. เพลงใดใชใ้ นงานพธิ ีสาคญั ตา่ ง ๆ
1 เพลงชาตไิ ทย
2 เพลงสยามานุสติ
3 เพลงสรรเสริญพระบารมี

10. การร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี มีจุดประสงคอ์ ยา่ งไร
1 ใหค้ นไทยมีความสามคั คี
2 เพอื่ ราลึกถึงบุญคุณของครู
3 แสดงความจงรกั ภกั ดีต่อสถาบนั พระมหากษตั ริย์

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 1 2. 3 3. 2 4. 3 5. 2
6. 1 7. 3 8. 1 9. 2 10. 2

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

1. 3 2. 3 3. 2 4. 2 5. 2
6. 3 7. 1 8. 1 9. 3 10. 3

แบบบนั ทึกสรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ช่ือ-นามสกุล...................................... เลขที่ ............................................ ช้นั ..................................
วนั ที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. .....................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรูจ้ ากหน่วยการเรียนรู้น้ี

นั ก เรี ย น ยัง ไ ม่ เข้าใจ เรื่ อ ง ใด นักเรี ยน มีความรู้สึ กอย่างไร นกั เรียนไดร้ บั ความรูเ้ รื่องใดบา้ ง
อีกบา้ งท่ีเก่ียวกบั หน่วยการเรียนรู้น้ี หลังจากท่ีเรียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เติม น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

หน่วยการเรียนรู้ที่.......
...................................
................................

นักเรี ยน จะสามารถน าความ รู้ ผลงานทน่ี กั เรียนชอบและตอ้ งการ กิจกรรมที่นักเรียนชอบมากท่ีสุดใน
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรู้น้ี คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่ วยการเรียนรู้น้ีคือกิจกรรมใด
ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั การเรียนรู้น้ีคือผลงานใดบา้ ง เพราะอะไร
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ...........................................................
.......................................................

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทกึ น้ีเพอ่ื ใหน้ กั เรียนบนั ทึกทกุ หน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอ่ื ปรบั ปรุง และพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทึกน้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพอ่ื เป็นผลงานประกอบการเล่ือนวทิ ยฐานะได้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เวลา 6 ช่ัวโมง

เพลงในชีวติ ประจาวนั

ผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

ภาษาไทย
- การพดู แสดงความคดิ เห็น
- การอ่านคา

เพลงในชีวติ ประจาวัน

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ศิลปะ: ทัศนศิลป์
- การจดั ป้ายนิเทศ - การวาดภาพ
- การจดั ทาแผนภมู ิ

ตัวชี้วัด
• บอกความเก่ียวขอ้ งของเพลงทใ่ี ชใ้ นชีวติ ประจาวนั (ศ 2.1 ป.1/5)

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 29

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เพลงในชีวคิ ประจาวนั เรื่องเพลงกล่อมเดก็ (ภาคเหนือ)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วัด
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเก่ียวขอ้ งของเพลงที่ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายเก่ียวกบั เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ (K)
2. ร้องเพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือได้ (P)
3. ช่ืนชมเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ (A)

สาระสาคญั

เพลงกล่อมเด็กของภาคเหนือมีการสืบทอดเป็ นลกั ษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาชา้ นาน คนใน
ทอ้ งถ่ินเรียกเพลงอื่อลูก เป็ นวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นท่ีสะทอ้ นให้เห็นถึงความเชื่อ และค่านิยมของภาคเหนือ ทาให้
เด็กเกิดความเพลิดเพลิน หลบั ง่ายและเกิดความอบอุ่นใจ

สาระการเรียนรู้

เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ

คาถามท้าทาย

- การอนุรักษเ์ พลงกล่อมเด็กของภาคเหนือมีประโยชนต์ อ่ ทอ้ งถิ่นอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา เพลงกล่อมเด็ก มาติดไวบ้ นกระดานแลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 2 รอบ จากน้นั ใช้
คาถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนรูจ้ กั เพลงกล่อมเดก็ หรือไม่ (รู้จกั /ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนเคยไดย้ นิ เพลงกล่อมเด็กหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- ในทอ้ งถ่ินของนกั เรียนมีเพลงกล่อมเด็กหรือไม่ (ตัวอย่างคาตอบ ม)ี
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเม่ือไดย้ นิ เพลงกล่อมเดก็ (ตัวอย่างคาตอบ เพลดิ เพลนิ )
จากน้นั ครูอธิบายใหน้ กั เรียนฟังวา่ “เพลงกล่อมเด็กเป็ นวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินท่ีสะทอ้ นให้เห็นถึงความ
เช่ือและค่านิยมในทอ้ งถ่ินต่าง ๆ โดยมีลักษณะสาคญั คือ เป็ นบทร้อยกรองส้ัน ๆ มีรูปแบบการสัมผสั คาท่ี
แน่นอน ใช้คาท่ีเขา้ ใจง่าย มีจงั หวะและทานองท่ีเรียบง่ายสนุกสนาน จาง่าย เน้ือหาของบทเพลงมักเป็ น
วรรณคดี นิทาน ส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั คติ วธิ ีการดูแลเด็กหรือการแสดงความรักความห่วงใยของแม่ที่มีต่อลูก”
2. ครูเปิ ดเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือใหน้ กั เรียนฟังแลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเดก็ ทีน่ กั เรียนไดย้ นิ เป็ นเพลงกล่อมเดก็ ของภาคใด (ตัวอย่างคาตอบ ภาคเหนือ)
- นกั เรียนสงั เกตจากส่ิงใดจงึ รูว้ า่ เป็นเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ (ตวั อย่างคาตอบ ภาษาพูด)
- เม่ือไดฟ้ ังเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือแลว้ นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ สนุกสนาน
เพลิดเพลนิ )

3. ครูนาแผนภมู ิเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือมาตดิ ไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

แผนภูมเิ พลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือ

อ่ือ อื่อ อือ จา ป้อนายแตง้ สา

แม่นายไปนานอกบา้ น เก็บบา่ สา้ นใส่โถง

เกบ็ ลูกก๋งใส่วา้ เก็บบา่ หา้ ใส่ป๊ ก

หน่วยหน่ึงเอาไวก้ ินเม่ือแลง หน่วยหน่ึงเอาไวข้ ายแลกขา้ ว

หน่วยหน่ึงเอาไวเ้ ป็นเป้ื อนเจา้ อื่อ อือ จา

จากน้ันพานักเรียนอ่านทีละท่อนจนจบเพลงจานวน 3 รอบ แลว้ พานักเรียนร้องตามจงั หวะและ
ทานองทถี่ ูกตอ้ งทีละท่อน จนนกั เรียนสามารถร้องไดถ้ ูกตอ้ งพรอ้ มเพรียงกนั

4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้แต่ละกลุ่มฝึ กร้องเพลงกล่อมเด็ก
ภาคเหนือพรอ้ มแสดงบทบาทสมมุติประกอบเพลง และแปลความหมายของเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือมาเล่าให้
เพ่ือนดูและฟังทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม เม่ือทุกกลุ่มทาการแสดงเสร็จแล้ว ครูแปลความหมายของเพลง
กล่อมเด็กภาคเหนือเพลงดงั กล่าวให้นักเรียนฟังเพื่อใหน้ ักเรียนเขา้ ใจและซาบซ้ึงในเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ
มากข้ึน

5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความรู้สึกช่ืนชมเพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือทลี ะคนจนครบทุกคน แลว้ ครูให้
นักเรียนร่วมกนั เสนอชื่อเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือที่นกั เรียนรู้จกั เพิม่ เติม และนาคาตอบที่ไดม้ าเขียนสรุปเป็ น
แผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

เพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือ

6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั วิธีการอนุรกั ษเ์ พลงกล่อมเด็กภาคเหนือ โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเด็กภาคเหนือมีความสาคญั ต่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้ประเทศไทย

มเี อกลักษณ์ทีน่ ่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เป็ นสมบัตขิ องชาตสิ ืบชั่วลูกชั่วหลาน)
- นกั เรียนมีวธิ ีการอนุรักษเ์ พลงกล่อมเดก็ ภาคเหนืออยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ศึกษาเพลงกล่อมเด็ก

ภาคเหนือ สืบสานเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ ให้การส่งเสริมการนาเพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือไปใช้)
7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเด็กของภาคเหนือ มีการสืบทอดเป็ นลกั ษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาชา้ นาน

คนในทอ้ งถ่ินเรียกเพลงอื่อลูกเป็ นวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นที่สะทอ้ นให้เห็นถึงความเชื่อและค่านิยมของภาคเหนือ
ทาใหเ้ ดก็ เกิดความเพลิดเพลิน หลบั ง่าย และเกิดความอบอุ่นใจ

8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การอนุรกั ษเ์ พลงกล่อมเด็กภาคเหนือมีประโยชน์ตอ่ ทอ้ งถ่ินอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนแสดงบทบาทสมมุตปิ ระกอบการรอ้ งเพลงกล่อมเด็กภาคเหนือ โดยใชค้ วามคดิ จนิ ตนาการ
อยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. เคร่ืองเล่นแถบบนั ทึกเสียง
3. แถบบนั ทกึ เสียง
4. การแสดงบทบาทสมมุติ
5. แผนภูมิเพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้แต่ละกลุ่ม ไปศึกษาคน้ ควา้ เพิ่มเติม
เก่ียวกบั เพลงกล่อมเดก็ ภาคเหนือกลุ่มละ 1 เพลง แลว้ นามาเล่าใหเ้ พอ่ื นกลุ่มอ่ืน ๆ ฟังทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../……


Click to View FlipBook Version