The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุฒิมา อิ่มอำไพ, 2022-09-14 08:57:41

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์ เร่ืองภาษาทา่ ทางทางนาฏศิลป์ ไทย

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/2 แสดงท่าทางง่าย ๆ เพอื่ ส่ือความหมายแทนคาพดู

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบภุ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยทีฝ่ ึกปฏิบตั ิได้ (K)
2. ปฏิบตั ภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม (P)
3. ชื่นชมภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย (A)

สาระสาคญั

ภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยเป็ นการแสดงทา่ ทางการราอยา่ งมีรูปแบบ ซ่ึงสื่อใหผ้ ชู้ มไดร้ บั รู้ถึง การนึกคิด
อารมณ์หรือถอ้ ยคาที่ผรู้ าตอ้ งการส่ือผา่ นทา่ ราท่สี วยงามตามรูปแบบของนาฏศลิ ป์ ไทย

สาระการเรียนรู้

ภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทย : ฉนั เธอ ไป มา

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ มั่นในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทกี่ ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการสื่อสาร

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย

คาถามท้าทาย

- ถา้ เราฝึกปฏิบตั ภิ าษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยเป็ นประจา จะเกิดผลดีตอ่ นาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดการแสดงนาฏศลิ ป์ ใหน้ กั เรียนชมแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ดงั น้ี
- นกั เรียนเคยชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยหรือไม่ (ตวั อย่างคาตอบ เคยชม/ไม่เคยชม)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเมื่อไดช้ มการแสดง (ตวั อย่างคาตอบ รู้สึกช่ืนชม เกิดความเพลิดเพลิน)

2. ครูอธิบายเกี่ยวกบั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยใหน้ ักเรียนฟังวา่ การแสดงนาฏศลิ ป์ ไม่นิยมแสดงอารมณ์
และความรู้สึกออกมาดว้ ยภาษาพูด จงึ มีความคิดประดิษฐท์ ่าทางในการร่ายราข้นึ มาเพื่อสื่อความหมายระหวา่ ง
ผแู้ สดงและผชู้ มใหเ้ ขา้ ใจความหมายของเร่ืองราวท่ีตรงกนั เรียกวา่ ภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทย

3. ครูคดั เลือกผแู้ ทนนกั เรียนจานวน 2 คน ออกมาแสดงทา่ ทางตามบตั รคาตอ่ ไปน้ีตามจินตนาการของ
ตนเองแลว้ ใหเ้ พอื่ นทายวา่ เป็นทา่ ที่แสดงถึงอะไร

ฉนั เธอ

4. ครูสาธิตท่าราที่มีความหมายว่า ฉนั ให้นกั เรียนดูแลว้ ใหน้ ักเรียนปฏิบตั ิตาม โดยมีครูคอยแนะนา
และดูแลอยา่ งใกลช้ ิดจนนกั เรียนสามารถทาไดถ้ ูกตอ้ ง

5. ครูสาธิตท่าราที่มีความหมายว่า เธอ ให้นักเรียนดูแลว้ ให้นักเรียนปฏิบตั ิตาม โดยมีครูคอยแนะนา
และดูแลอยา่ งใกลช้ ิดจนนกั เรียนสามารถทาไดถ้ ูกตอ้ ง

6. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มฝึกปฏิบตั กิ ารราทา่ ฉนั และทา่ เธอ
จนทุกคนในกลุ่มสามารถทาได้ถูกตอ้ ง แลว้ ให้แต่ละกลุ่มออกมาแสดงท่าราให้ครูและเพื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ ดู
หากพบขอ้ ผิดพลาดใหร้ ่วมกนั เสนอแนะแนวทางแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง ถา้ กลุ่มน้ันแสดงท่าราไดส้ วยงามใหแ้ ต่ละกลุ่ม
แสดงความรู้สึกชื่นชมทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม

7. ครูและนักเรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกับการแสดงท่าราตามภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยที่ปฏิบตั ิ
โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

- ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยที่นกั เรียนปฏิบตั ิคือท่าท่ีใชแ้ ทนอะไร (ตัวอย่างคาตอบ แทนคาว่าฉัน
และแทนคาว่าเธอ)

- ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ท้งั สองท่ามีลกั ษณะโดดเด่นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ อ่อนช้อย งดงาม
สามารถส่ือความหมายได้ชัดเจน)

- นักเรียนสามารถปฏิบตั ิตามภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยท้งั สองท่าได้ถูกต้องหรือไม่ (ถูกต้อง/
ไม่ถูกต้อง)

- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรต่อภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทยท้งั สองทา่ (ตัวอย่างคาตอบ ชอบและชื่นชม)
- เพราะเหตุใดการแสดงนาฏศิลป์ ไทยตอ้ งใชภ้ าษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย (ตัวอย่างคาตอบ เพราะ
การแสดงนาฏศิลป์ ไทยไม่นิยมส่ือความหมายการแสดงด้วยคาพูด แต่นิยมใช้ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย
ท่ีอ่อนช้อย งดงาม เพื่อเป็ นการส่ือสารกันระหว่างผู้ชมกับผู้แสดง)
- นักเรียนรูจ้ กั ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยอื่นอีกหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ รู้จัก โดยมีภาษา
ท่าทางนาฏศิลป์ ไทยท่ีแทนคาว่า ไป มา โกรธ รัก เสียใจ กลัว ดใี จ)
จากน้ันครูนาขอ้ มูลเก่ียวกบั ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยที่นักเรียนรู้จกั มาเขียนสรุปลงในแผนภาพ
บนกระดาน ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

8. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยเป็ นการแสดงท่าทางการราอยา่ งมีรูปแบบ ซ่ึงส่ือให้ผูช้ มไดร้ ับรู้ถึง

การนึกคดิ อารมณ์หรือถอ้ ยคาท่ีผรู้ าตอ้ งการสื่อผา่ นท่าราทสี่ วยงาม ตามรูปแบบของนาฏศลิ ป์ ไทย
9. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- ถา้ เราฝึกปฏิบตั ิภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยเป็นประจาจะเกิดผลดีตอ่ นาฏศลิ ป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนฝึกปฏบิ ตั ิภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. แผน่ บนั ทกึ การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย
2. เคร่ืองเล่นแผน่ บนั ทึกการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
3. บตั รคา

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนศึกษาเก่ียวกบั ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทยเพมิ่ เติมแลว้ นาขอ้ มูลท่ไี ดม้ าจดั ป้ายนิเทศ
หนา้ ช้นั เรียนเพอ่ื เป็นแหล่งความรู้ใหผ้ ทู้ ่สี นใจไดศ้ กึ ษาหาความรู้เพมิ่ เตมิ



แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการแกไ้ ข

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน

……………/………………../………

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ภาษาท่าทางนาฏศิลป์และนาฏยศัพท์ เรือ่ งภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ไทยได้
เวลา 1 คาบ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 ผู้สอน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/2 แสดงท่าทางงา่ ย ๆ เพอื่ ส่ือความหมายแทนคาพดู

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. ระบุภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยท่ีฝึกปฏบิ ตั ิได้ (K)
2. ปฏบิ ตั ิภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ ไทยไดถ้ ูกตอ้ งสวยงาม (P)
3. ชื่นชมภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทย (A)

สาระสาคญั

ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทยเป็นการแสดงท่าทางการราอยา่ งมีรูปแบบ ซ่ึงส่ือใหผ้ ชู้ มไดร้ ับรู้ถึง การนึกคิด
อารมณ์หรือถอ้ ยคาทผี่ รู้ าตอ้ งการสื่อผา่ นทา่ ราทีส่ วยงามตามรูปแบบของนาฏศิลป์ ไทย

สาระการเรียนรู้

ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย : ฉนั เธอ ไป มา

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ม่งุ ม่ันในการทางาน
ตวั ช้ีวดั ที่ 6.1 ต้งั ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่กี ารงาน

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการส่ือสาร

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. ช้ินงานที่ 5 เร่ือง ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย
2. แผนภาพความคิดภาษาท่าราทางนาฏศิลป์ ไทย

คาถามท้าทาย

- ถา้ ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทยสูญหายไปจากเมืองไทยจะเกิดผลเสียต่อนาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ให้นักเรียนทบทวนภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย “ฉัน” กบั “เธอ” พร้อม ๆ กัน แล้วครูใช้คาถาม
เพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย “ฉัน” กับ “เธอ” ไดถ้ ูกตอ้ งหรือไม่ (ถูกต้อง/
ไม่ถูกต้อง)

- นกั เรียนมีวิธีการอยา่ งไรในการปฏิบตั ิภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยท้งั สองท่าให้ถูกตอ้ ง (ตัวอย่าง
คาตอบ ฝึ กปฏิบตั ิซ้า ๆ จนจาได้ และสามารถทาได้ถูกต้อง)

- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเมื่อปฏบิ ตั ิภาษาท่าทางนาฏศลิ ป์ ไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (ตวั อย่างคาตอบ ภาคภูมิใจ)
2. ครูตดิ บตั รคา ท่าไป ทา่ มา ทา่ รกั บนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรียนแสดงท่าราตามจินตนาการ
ของตนเองทลี ะทา่ พรอ้ ม ๆ กนั
3. ครูสาธิตภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยท่ีถูกตอ้ งตามบตั รคาบนกระดานทีละท่าให้นักเรียนดู แลว้ ให้
นกั เรียนฝึกปฏบิ ตั โิ ดยมีครูคอยดูแลและแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด
4. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพอื่ ฝึกปฏิบตั ิภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยตามบตั รคา
บนกระดานแบบเพ่ือนสอนเพื่อน โดยมีครูคอยดูแลและให้คาแนะนาอยา่ งใกล้ชิดจนทุกคนสามารถทาได้
ถูกตอ้ ง จากน้ันให้แต่ละกลุ่มออกมาแสดงภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยดงั กล่าวให้เพื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ และครูชม
ถา้ เพือ่ นทาไดถ้ ูกตอ้ งสวยงามให้กล่าวคาช่ืนชม ถา้ พบขอ้ บกพร่องให้ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเพื่อหาแนว
ทางแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง

5. ครูตดิ บตั รคา ทา่ เธอ ทา่ ฉนั ทา่ ไป ทา่ มา บนกระดาน และพานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ

แลว้ ให้นักเรียนนาบตั รคาดงั กล่าวมาแต่งประโยคแลว้ ใช้ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยบนกระดานแสดงออกมา
แทนคาพูด โดยครูใหเ้ วลานกั เรียนฝึกปฏบิ ตั ิ 10 นาที จากน้นั ให้ออกมาแสดงใหเ้ พอ่ื น ๆ ดู และทายวา่ ประโยค
ที่แสดงน้นั คอื ประโยคอะไร โดยแสดงทีละคนจนครบทุกคน

6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาถึงประโยชนข์ องภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทยมีประโยชนอ์ ยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ใช้สื่อสารเร่ืองราวระหว่าง ผู้แสดง

กับผู้ชม เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของไทย เป็ นการแสดงท่าทางท่ีอ่อนช้อยงดงามดูแล้วมีความสุขเป็ น
เอกลักษณ์ของชาติไทย)

จากน้นั ครูนาขอ้ มูลที่ไดม้ าเขยี นสรุปลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทยเป็ นการแสดงท่าทางการราอยา่ งมีรูปแบบ ซ่ึงสื่อให้ผูช้ มไดร้ ับรู้ถึง

การนึกคิด อารมณ์หรือถอ้ ยคาที่ผรู้ าตอ้ งการส่ือผา่ นท่าราทส่ี วยงามตามรูปแบบของนาฏศิลป์ ไทย
8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- ถา้ ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ ไทยสูญหายไปจากเมืองไทยจะเกิดผลเสียต่อนาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร
9. ใหน้ กั เรียนทาชิ้นงานที่ 5 เร่ือง ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ไทย

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนฝึกปฏิบตั ิภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทยอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. ชิ้นงานท่ี 5 เรื่อง ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1.3 ตรวจชิ้นงานที่ 5

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 4 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แล้วแต่งละครส้ันโดยอาศยั ภาษาท่าราทาง
นาฏศิลป์ ไทยที่เรียนมาได้แก่ ท่า “ฉนั ” “เธอ” “ไป” “มา” “รัก” มาใช้ในการแสดง โดยให้แสดง กลุ่มละ
3-5 นาที

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินชิ้นงานท่ี 5 ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เร่ือง ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ไทย

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32

แสดงภาษาท่าทาง แสดงภาษาท่าทาง แสดงภาษาท่าทาง แสดงภาษาท่าทาง แสดงภาษา

นาฏศิลป์ ไทยไดส้ มั พนั ธ์ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศิลป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ ท่าทางนาฏศิลป์

กบั ประโยคท่แี ตง่ ข้นึ สมั พนั ธก์ บั สมั พนั ธก์ บั สมั พนั ธก์ บั ไทยไดส้ มั พนั ธ์

ประโยคท่ีแต่งข้ึน ประโยคทแ่ี ต่งข้ึน ประโยคทแี่ ต่งข้ึน กบั ประโยคทแ่ี ต่ง

ดว้ ยตนเองได้ ดว้ ยตนเองไดแ้ ต่ ไดอ้ ยา่ งสวยงาม ข้นึ ดว้ ยตนเองได้

อยา่ งสวยงามและ ไม่สวยงามและ โดยมีครูแนะนา แตไ่ ม่สวยงาม

เพอ่ื นในช้นั เรียน เพอ่ื นในช้นั เรียน อยา่ งใกลช้ ิด และ โดยมีครูแนะนา

สามารถทาย สามารถทาย เพอื่ นในช้นั เรียน อยา่ งใกลช้ ิดและ

ความหมายของ ความหมายของ สามารถทาย เพอื่ นในช้นั เรียน

ภาษาทา่ ทาง ภาษาทา่ ทาง ความหมายของ สามารถทาย

นาฏศลิ ป์ ไทย นาฏศลิ ป์ ไทย ภาษาท่าทาง ความหมายของ

ทแ่ี สดงไดถ้ ูก ท่แี สดงไดถ้ ูก นาฏศิลป์ ไทย ภาษาทา่ ทาง

ทุกคน ทกุ คน ที่แสดงไดถ้ ูก นาฏศลิ ป์ ไทยที่

ทุกคน แสดงไดบ้ างคน



แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการแกไ้ ข

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน

……………/………………../………

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7

สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ รายวิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหสั วิชา ศ 11101
ปี การศกึ ษา 2565
ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 4 ชวั่ โมง

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 เรื่องการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ครูผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/3 บอกส่ิงทต่ี นเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์

ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วดั
ศ 3.2 ป.1/2 บอกส่ิงท่ตี นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

สาระสาคญั

การแสดงนาฏศิลป์ ไทยเป็ นการแสดงที่มีความอ่อนชอ้ ยงดงามเป็ นศิลปวฒั นธรรมของชาติ และเป็ น
เอกลกั ษณ์ของชาติ ผชู้ มการแสดงนาฏศิลป์ ไทยตอ้ งมีมารยาทในการชมการแสดงเพ่อื ท่ีจะทาให้ผแู้ สดงมีสมาธิ
และแสดงไดด้ ีอีกท้งั จะทาใหผ้ ชู้ มการแสดงซาบซ้ึงไปกบั การแสดง และเป็นการส่งเสริมการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
ใหค้ งอยสู่ ืบไป

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

การแสดงนาฏศิลป์ ไทยเป็ นการแสดงท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติ และในการชมการแสดงควรมีมารยาท
ในการชมการแสดง จะทาใหเ้ ขา้ ใจ และซาบซ้ึงไปกบั การแสดง

สาระการเรียนรู้

1. ระบา
2. รา
3. ฟ้อน
4. โขน
5. ละคร
6. การเป็นผชู้ มทด่ี ี

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. การเล่าการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยทช่ี ่ืนชอบ
2. การอ่านขอ้ ความแลว้ บอกส่ิงทเี่ ป็นมารยาททีด่ ีในการชมการแสดง

การประเมนิ ผล

1. การประเมินผลตวั ชี้วัด
1.1 การเล่าการแสดงนาฏศิลป์ ไทยทช่ี ่ืนชอบ

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

บอกส่ิงทต่ี นเองชอบใน บอกสิ่งท่ีตนเอง บอกส่ิงท่ีตนเอง บอกส่ิงทต่ี นเอง บอกส่ิงที่ตนเอง
การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย ชอบในการแสดง ชอบในการแสดง ชอบในการแสดง ชอบในการแสดง
นาฏศิลป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศิลป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้
สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้
ทีก่ าหนดและ ทก่ี าหนดและ ที่กาหนดตามที่ ทกี่ าหนดตามที่
แตกตา่ งจากทีค่ รู แตกตา่ งจากทีค่ รู ครูยกตวั อยา่ งแต่ ครูยกตวั อยา่ ง
ยกตวั อยา่ ง มีการ ยกตวั อยา่ ง แต่ มีการดดั แปลงให้
เชื่อมโยงใหเ้ ห็น เช่ือมโยงใหเ้ ห็น แตกตา่ ง
ถึงความสมั พนั ธ์ เฉพาะตนเอง
กบั ตนเองและผอู้ ่ืน

1.2 การอ่านขอ้ ความแลว้ บอกส่ิงท่เี ป็ นมารยาททด่ี ีในการชมการแสดง

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32

บอกส่ิงทต่ี นเองชอบจาก บอกสิ่งทีต่ นเอง บอกสิ่งทีต่ นเอง บอกส่ิงท่ีตนเอง บอกส่ิงท่ีตนเอง
การดูหรือร่วมการแสดง ชอบจากการดู ชอบจากการดู ชอบจากการดู ชอบจากการดู
หรือร่วมการแสดง หรือร่วมการแสดง หรือร่วมการแสดง หรือร่วมการแสดง
ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั
หวั ขอ้ ที่กาหนด หวั ขอ้ ท่กี าหนด หวั ขอ้ ที่กาหนด หวั ขอ้ ท่กี าหนด
และแตกตา่ งจาก และแตกตา่ งจาก ตามท่คี รูยกตวั อยา่ ง ตามท่คี รู
ท่ีครูยกตวั อยา่ ง ที่ครูยกตวั อยา่ ง แต่มีการดดั แปลง ยกตวั อยา่ ง
มีการเช่ือมโยงให้ แต่เช่ือมโยงให้ ใหแ้ ตกตา่ ง
เห็นถึง เห็นเฉพาะตนเอง
ความสมั พนั ธก์ บั
ตนเองและผอู้ ื่น

2. การประเมินผลคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

รักความเป็ นไทย

ตวั ช้ีวดั ท่ี 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยย่ี ม (3)

7.1.1 แต่งกายและ ไม่มีสมั มาคารวะ ปฏบิ ตั ิตนเป็นผมู้ ี ปฏิบตั ติ นเป็นผมู้ ี ปฏบิ ตั ิตนเป็นผมู้ ี

มีมารยาทงดงาม ต่อผใู้ หญ่ มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย

แบบไทย มีสมั มาคารวะ มีสมั มาคารวะ มีสมั มาคารวะ

มีสมั มาคารวะ กตญั ญูกตเวที กตญั ญูกตเวที กตญั ญูกตเวที

กตญั ญูกตเวที ตอ่ ผมู้ ีพระคุณ ตอ่ ผมู้ ีพระคุณ และ ตอ่ ผมู้ ีพระคุณ และ

ตอ่ ผมู้ ีพระคุณ แตง่ กายแบบไทย แตง่ กายแบบไทย

7.1.2 ร่วมกิจกรรม เขา้ ร่วมในกิจกรรม

ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั

ประเพณี ศลิ ปะ ประเพณี ศลิ ปะ

และวฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมไทย

7.1.3 ชกั ชวน แนะนาให้

ผอู้ ื่น ปฏิบตั ิตาม

ขนบธรรมเนียม

ประเพณี ศลิ ปะ

และวฒั นธรรมไทย

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ใหน้ กั เรียนชมการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ระบา รา ฟ้อน โขน ละคร
2. แบ่งกลุ่มร่วมกนั ศกึ ษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยประเภทต่าง ๆ แลว้ ออกมานาเสนอหนา้
ช้นั เรียน
3. ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ ความรูเ้ กี่ยวกบั อาเซียน ดงั น้ี

รามเกียรต์ิ เป็นมรดกร่วมทางวฒั นธรรมของอาเซียนทไ่ี ดร้ ับอิทธิพลมาจากอินเดีย .จนกลายเป็น
วรรณคดีประจาชาติของหลายประเทศในอาเซียน เช่น ลาว พม่า กมั พชู า มาเลเซีย อินโดนีเซีย

4. ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นและสรุปความรู้เก่ียวกบั แนวทางการอนุรกั ษก์ ารแสดงนาฏศิลป์ ไทย
ประเภทตา่ ง ๆ

5. ร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ประสบการณ์ในการปฏบิ ตั ิตนเม่ือชมการแสดง และแสดงความคิดเห็น
เก่ียวกบั การมีมารยาททดี่ ีในการชมการแสดง

6. แบง่ กลุ่มแสดงบทบาทสมมุตเิ ก่ียวกบั การเป็ นผชู้ มทดี่ ี และบนั ทึกผลลงในแบบบนั ทึกการปฏิบตั ติ น
เป็นผชู้ มท่ีดี แลว้ สรุปความรู้เกี่ยวกบั ประโยชน์ของการเป็ นผชู้ มท่ีดี

7. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทยเป็นการแสดงที่เป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ และในการชมการแสดงควร

มีมารยาทในการชมการแสดง จะทาใหเ้ ขา้ ใจ และซาบซ้ึงไปกบั การแสดง

สื่อการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แถบบนั ทึกภาพ
3. เครื่องเล่นแถบบนั ทกึ ภาพ
4. สลาก
5. ภาพการฟ้อนเล็บ
6. เกมจบั คู่ใหห้ นูหน่อย
7. แถบประโยค
8. ป้ายวงกลมสีแดง สีเขยี ว สีเหลือง สีชมพู และสีฟ้า
9. บทละครที่นกั เรียนแต่งข้นึ เอง
10. การแสดงละคร
11. ประสบการณ์การชมการแสดงของนกั เรียน
12. ภาพท่ีผชู้ มนง่ั คุยขณะชมการแสดง
13. เกมมารยาทดีมีคนรกั
14. สถานการณ์การเป็นผชู้ มการแสดง
15. การแสดงบทบาทสมมุติ
16. แบบบนั ทึกผลการปฏิบตั ติ นเป็นผชู้ ม

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

ชื่อ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบท่ีถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. ขณะชมการแสดงควรปฏิบตั ติ นอยา่ งไร

1 รับประทานขนมอยา่ งเงยี บ ๆ ขณะชมการแสดง
2 คุยโทรศพั ทเ์ บา ๆ ขณะชมการแสดง
3 ต้งั ใจชมการแสดงและปรบมือเม่ือเริ่มและจบการแสดง

2. ขอ้ ใดเป็นการแสดงท่เี ป็นเร่ืองราว
1 ฟ้อน
2 ละคร
3 ระบา

3. การเป็ นผชู้ มทดี่ ีจะส่งผลตอ่ ผแู้ สดงอยา่ งไร
1 ผแู้ สดงมีสมาธิ
2 ผแู้ สดงสบั สนในการแสดง
3 ผแู้ สดงตื่นเตน้ นอ้ ย

4. ขอ้ ใดเป็ นลกั ษณะเด่นของการฟ้อน
1 ร่าเริง สนุกสนาน
2 เขม้ แขง็ ฮึกเหิม
3 อ่อนชอ้ ย นุ่มนวล

5. ขนุ ชา้ งขนุ แผน เป็นการแสดงประเภทใด
1 ละคร
2 ฟ้อน
3 โขน

6. ระบาและราแตกต่างกนั อยา่ งไร
1 ระบาแสดงเป็นเรื่องราวแต่การราไม่แสดงเป็ นเรื่องราว
2 ระบาไม่แสดงเป็นเรื่องราวแต่การราแสดงเป็ นเรื่องราว
3 ระบาใชด้ นตรีประกอบการแสดงแต่การราไม่ใชด้ นตรี

7. การแสดงขอ้ ใดเป็นระบามาตรฐาน
1 ระบาลพบุรี
2 ระบามา้
3 ระบาดาวดึงส์

8. ขอ้ ใดเป็ นจดุ เด่นของการแสดงโขน
1 อาวธุ
2 หวั โขน
3 สร้อยคอ

9. ขอ้ ใดหมายถึงการราหมู่
1 การราทีม่ ีผแู้ สดง 2 คน
2 การราทม่ี ีผแู้ สดง 2 คนข้นึ ไป
3 การราท่ีมีผแู้ สดงคนเดียว

10. ราอวยพร เป็นราประเภทใด
1 ราคู่
2 ราหมู่
3 ราเดี่ยว

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

ช่ือ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. การแสดงขอ้ ใดเป็นระบามาตรฐาน

1 ระบามา้
2 ระบาดาวดึงส์
3 ระบาลพบุรี

2. ราอวยพร เป็นราประเภทใด
1 ราเดี่ยว
2 ราคู่
3 ราหมู่

3. ระบาและราแตกต่างกนั อยา่ งไร
1 ระบาใชด้ นตรีประกอบการแสดงแตก่ ารราไม่ใชด้ นตรี
2 ระบาแสดงเป็นเรื่องราวแตก่ ารราไม่แสดงเป็ นเร่ืองราว
3 ระบาไม่แสดงเป็นเร่ืองราวแตก่ ารราแสดงเป็ นเร่ืองราว

4. ขอ้ ใดหมายถึงการราหมู่
1 การราท่มี ีผแู้ สดง 2 คนข้ึนไป
2 การราทมี่ ีผแู้ สดงคนเดียว
3 การราทีม่ ีผแู้ สดง 2 คน

5. ขอ้ ใดเป็ นจุดเด่นของการแสดงโขน
1 หวั โขน
2 สร้อยคอ
3 อาวธุ

6. ขอ้ ใดเป็นการแสดงทเี่ ป็นเรื่องราว
1 ระบา
2 ฟ้อน
3 ละคร

7. ขอ้ ใดเป็ นลกั ษณะเด่นของการฟ้อน
1 เขม้ แขง็ ฮึกเหิม
2 อ่อนชอ้ ย นุ่มนวล
3 ร่าเริง สนุกสนาน

8. ขนุ ชา้ งขนุ แผน เป็นการแสดงประเภทใด
1 โขน
2 ละคร
3 ฟ้อน

9. ขณะชมการแสดงควรปฏิบตั ิตนอยา่ งไร
1 ต้งั ใจชมการแสดงและปรบมือเม่ือเริ่มและจบการแสดง
2 รบั ประทานขนมอยา่ งเงียบ ๆ ขณะชมการแสดง
3 คุยโทรศพั ทเ์ บา ๆ ขณะชมการแสดง

10. การเป็นผชู้ มท่ีดีจะส่งผลต่อผแู้ สดงอยา่ งไร
1 ผแู้ สดงสบั สนในการแสดง
2 ผแู้ สดงต่นื เตน้ นอ้ ย
3 ผแู้ สดงมีสมาธิ

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 3 2. 2 3. 1 4. 3 5. 1
6. 2 7. 3 8. 2 9. 2 10. 1

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)

1. 2 2. 2 3. 3 4. 1 5. 1
6. 3 7. 2 8. 2 9. 1 10. 3

แบบบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ชื่อ-นามสกุล...................................... เลขที่ ............................................ ช้นั ..................................
วนั ที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. .....................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรูจ้ ากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี

นกั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ืองใด นกั เรียนมีความรูส้ ึกอยา่ งไร นกั เรียนไดร้ ับความรูเ้ รื่องใดบา้ ง
อีกบา้ งท่เี ก่ียวกบั หน่วยการเรียนรูน้ ้ี หลงั จากทเ่ี รียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพม่ิ เติม น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

หน่วยการเรียนรู้ท่ี.......
...................................
................................

นกั เรียนจะสามารถนาความรู้ ผลงานที่นกั เรียนชอบและตอ้ งการ กิจกรรมที่นักเรียนชอบมากที่สุดใน
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรู้น้ี คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่ วยการเรียนรู้น้ีคือกิจกรรมใด
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั การเรียนรูน้ ้ีคือผลงานใดบา้ ง เพราะอะไร
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ...........................................................
....................................................... .

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทึกน้ีเพอื่ ใหน้ กั เรียนบนั ทึกทกุ หน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอ่ื ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพอ่ื เป็ นผลงานประกอบการเล่ือนวทิ ยฐานะได้

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 11

ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย เรอื่ งการแสดงนาฏศิลป์ไทย(รา)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้สอน นางสฒุ มิ า อิม่ อาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/3 บอกสิ่งที่ตนเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์

ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วัด
ศ 3.2 ป.1/2 บอกส่ิงทต่ี นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบปุ ระเภทและลกั ษณะของรา (K)
2. จาแนกประเภทของรา (P)
3. ชื่นชมการแสดงนาฏศิลป์ ประเภทรา (A)

สาระสาคญั

ราเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยท่ีมีลีลาท่าทางเขา้ กบั จงั หวะเพลงหรือดนตรี และเป็ นการแสดงที่เป็ น
เรื่องราว ชาวไทยทกุ คนควรร่วมกนั อนุรกั ษแ์ ละสืบสานใหค้ งอยคู่ ู่สงั คมไทยตลอดไป

สาระการเรียนรู้

รา : ราเดี่ยว ราคู่ ราหมู่

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคิด

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดการแสดงรา

คาถามท้าทาย

- การชมการแสดงนาฏศิลป์ ประเภทราเป็นประจาจะเกิดผลดีตอ่ ตนเองอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา รา มาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- นกั เรียนรูจ้ กั การแสดงนาฏศิลป์ ประเภทการราหรือไม่ (รู้จกั /ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนเคยชมการราหรือไม่ อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ เคย โดยเคยชมในโทรทัศน์)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเม่ือไดช้ มการรา (ตวั อย่างคาตอบ ชื่นชอบ มคี วามสุข)

2. ครูเปิ ดแถบบนั ทึกภาพการแสดงนาฏศิลป์ ประเภทการราใหน้ กั เรียนชมแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ให้นกั เรียน
ร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี

- การแสดงนาฏศิลป์ ท่นี กั เรียนไดช้ มคือการแสดงนาฏศิลป์ ประเภทใด (ตวั อย่างคาตอบ รา)
- การแสดงราท่ีนกั เรียนไดช้ มมีช่ือชุดการแสดงวา่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ราฉุยฉาย)
- เม่ือไดช้ มการแสดงราน้ีแลว้ นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ประทบั ใจ)
- นกั เรียนตอ้ งการปฏิบตั ิการแสดงราไดเ้ หมือนบุคคลในภาพหรือไม่ (ต้องการ/ไม่ต้องการ)
- ถา้ ตอ้ งการราไดเ้ หมือนคนในภาพควรทาอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ฝึ กราเสมอ)
จากน้ันครูอธิบายเกี่ยวกบั การราให้นกั เรียนฟังเพม่ิ เติมวา่ การราเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยทีม่ ีลีลา
ท่าทางเขา้ กับจงั หวะเพลงหรือดนตรี เป็ นการแสดงที่เป็ นเร่ืองราว ชาวไทยทุกคนควรร่วมกันอนุรักษแ์ ละ
สืบสานใหค้ งอยคู่ ู่สงั คมไทยตลอดไป

3. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาจบั สลาก
เพอ่ื เลือกหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ีไปศึกษาเพมิ่ เตมิ

- ราเด่ียว
- ราคู่
- ราหมู่
เม่ือแต่ละกลุ่มไดห้ ัวขอ้ ที่รับผิดชอบแล้วให้ช่วยกนั ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบั เรื่องดงั กล่าวเพ่ิมเติม
จนไดร้ ายละเอียดชดั เจน แลว้ นาความรูท้ ี่ไดอ้ อกมารายงานใหค้ รูและเพอื่ นกลุ่มอ่ืน ๆ ฟังท่ีหนา้ ช้นั เรียน โดยมี
ครูคอยอธิบายเพ่ิมเติมทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม แล้วครูนาขอ้ มูลท้งั หมดมาเขียนสรุปลงในแผนความคิดบน
กระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

4. ใหน้ กั เรียนเล่นเกมจบั กลุ่มหรรษา โดยมีข้นั ตอนและกตกิ าการเล่น ดงั น้ี
- ครูนาบตั รคาตอ่ ไปน้ีมาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ พานกั เรียนอ่าน 1 รอบ

ราเดี่ยว ราฉุยฉาย ราพดั ราวงมาตรฐาน

ราคู่ รากลองยาว ราพลายชุมพล ราอวยพร

ราหมู่ รามโนราหบ์ ูชายญั ราแม่บท

- ครูควา่ บตั รคาไวแ้ ลว้ แบ่งนกั เรียนออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั
- ครูเปิ ดบตั รคาแรกแลว้ วางไวเ้ ป็ นบตั รคาหลกั ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มสลบั กนั เปิ ดหาบตั รคาทจี่ ดั อยู่
ในกลุ่มเดียวกนั เช่น ราคู่ ราอวยพร ราแม่บท
- ถา้ กลุ่มใดเปิ ดแลว้ ไดบ้ ตั รคาท่ไี ม่ใช่กลุ่มเดียวกนั และบอกถูกวา่ อยกู่ ลุ่มเดียวกนั กบั บตั รคาหลกั ให้
ไดข้ อ้ ละ 1 คะแนน
- ถา้ เปิ ดแลว้ ไดบ้ ตั รคาท่ีไม่ใช่กลุ่มเดียวกนั แต่บอกถูกวา่ อยกู่ ลุ่มเดียวกนั จะไดร้ ับสิทธ์ิเปิ ดใหม่อีก
1 รอบ แต่ถา้ เปิ ดมาแลว้ ไม่ใช่กลุ่มเดียวกนั และบอกวา่ เป็ นกลุ่มเดียวกนั จะหมดสิทธ์ิไดท้ ้งั คะแนนและไม่มีสิทธ์ิ
เปิ ดใหม่อีกรอบ
- เล่นเกมจบั กลุ่มหรรษาจนไดข้ อ้ มูลดังแผนภาพท่ีสรุปเกี่ยวกบั การรา แลว้ สรุปคะแนนกลุ่มใด
ไดม้ ากทส่ี ุดกลุ่มน้นั ชนะ
5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเพอ่ื หาแนวทางการอนุรกั ษก์ ารรา โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- การรามีความสาคญั ต่อชาติไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เป็ นเอกลักษณ์ทางนาฏศิลป์ ของไทย
ท่ีน่าภาคภูมใิ จแทนคนไทยท้งั ชาต)ิ
- นกั เรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษก์ ารราไดอ้ ยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ
การราเพ่ิมเตมิ ฝึ กปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับการราให้ถูกต้อง)
6. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ราเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยท่ีมีลีลาท่าทางเขา้ กบั จงั หวะเพลงหรือดนตรี และเป็ นการแสดง
ท่ีเป็นเร่ืองราว ชาวไทยทกุ คนควรร่วมกนั อนุรกั ษแ์ ละสืบสานใหค้ งอยคู่ ูส่ งั คมไทยตลอดไป
7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การชมการแสดงนาฏศลิ ป์ ประเภทราเป็นประจาจะก่อใหเ้ กิดผลดีต่อตนเองอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แถบบนั ทกึ ภาพ
3. เครื่องเล่นแถบบนั ทึกภาพ
4. สลาก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ ักเรียนนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ มาจดั ป้ายนิเทศหน้าช้นั เรียนเพื่อเป็ นการเผยแพร่ความรู้
ใหก้ บั ผทู้ สี่ นใจ



แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/………

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เวลา 7 ชั่วโมง

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

ภาษาไทย
- การพดู แสดงความคดิ เห็น
- การอ่าน

การแสดงนาฏศิลป์ ไทย

สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- การเล่นเกม - การจดั ป้ายนิเทศ
- การจดั ทาแผนภาพ

ตวั ชี้วัด

1. บอกสิ่งท่ีตนเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย (ศ 3.2 ป.1/3)
2. บอกส่ิงที่ตนเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง (ศ 3.1 ป.1/3)

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12

ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย เรื่องการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย(ระบา)

เวลา 1 คาบ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสฒุ ิมา อม่ิ อาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/3 บอกส่ิงทต่ี นเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศิลป์

ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วัด
ศ 3.2 ป.1/2 บอกส่ิงทีต่ นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบุประเภทและลกั ษณะของระบา (K)
2. จาแนกประเภทของระบา (P)
3. ช่ืนชมการแสดงระบา (A)

สาระสาคญั

ระบาเป็นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยท่ีใชท้ า่ ฟ้อนรา มีผแู้ สดงต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ไม่เนน้ แสดงเป็ นเรื่องราว
แต่เน้นความสวยงาม ความพร้อมเพรียงของผูร้ า และดนตรีที่ไพเราะ เป็ นมรดกทางนาฏศิลป์ ไทยที่ควรค่า
แก่การอนุรักษใ์ หค้ งอยตู่ ลอดไป

สาระการเรียนรู้

ระบา : ระบามาตรฐาน ระบาเบด็ เตล็ด

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคดิ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดระบา

คาถามท้าทาย

- การแสดงระบามีประโยชนต์ อ่ ผแู้ สดงอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา ระบา มาตดิ ไวบ้ นกระดาน แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- นกั เรียนรูจ้ กั การแสดงระบาหรือไม่ (รู้จกั /ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนเคยชมการแสดงระบาหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เคย โดยเคยชมระบาดาวดงึ ส์ใน

โทรทศั น์)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเม่ือไดช้ มการแสดงระบา (ตัวอย่างคาตอบ ช่ืนชอบ)

2. ครูเปิ ดแถบบนั ทึกภาพการแสดงระบาใหน้ กั เรียนดูแลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- การแสดงนาฏศิลป์ ทีน่ กั เรียนไดช้ ม คือการแสดงอะไร (ตวั อย่างคาตอบ ระบา)
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรเมื่อไดช้ มการแสดงระบา (ตัวอย่างคาตอบ ชอบ)

จากน้นั ครูอธิบายให้นกั เรียนฟังวา่ ระบาเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่ใชท้ ่าฟ้อนรา มีผแู้ สดงต้งั แต่
2 คนข้ึนไป ไม่เนน้ แสดงเป็ นเรื่องราว แต่เน้นความสวยงาม ความพร้อมเพรียงของผูร้ าและดนตรีที่ไพเราะ
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คอื ระบามาตรฐาน และระบาเบด็ เตลด็

3. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มส่งผแู้ ทนกลุ่มออกมาจบั สลาก
เพอ่ื เลือกหวั ขอ้ ไปศึกษาเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี

- ระบามาตรฐาน (2 กล่มุ )
- ระบาเบด็ เตลด็ (2 กล่มุ )
จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาหาความรู้เก่ียวกับหัวขอ้ ดงั กล่าวและนารายละเอียดท่ีได้มา
รายงานใหเ้ พอื่ นกลุ่มอื่น ๆ ฟังทลี ะกลุ่มจนครบท้งั 4 กลุ่ม และครูนาขอ้ มูลท้งั หมดมาเขียนสรุปลงในแผนภาพ
บนกระดานใหน้ กั เรียนดูอีกคร้งั ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

4. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพ่ือหาแนวทางการอนุรักษ์ระบาให้คงอยูค่ ู่สังคมไทยโดยครูใช้
คาถาม ดงั น้ี

- ระบามีความสาคญั ต่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เป็ นมรดกทางนาฏศิลป์ ที่แสดงถึง
ความเป็ นเอกลักษณ์ที่น่าภาคภูมิใจของประเทศไทย)

- นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ระบาให้คงอยคู่ ู่สงั คมไทยอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษา
หาความรู้เกยี่ วกับระบา ฝึ กปฏบิ ตั กิ ารแสดงระบา)

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ระบาเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่ใชท้ ่าฟ้อนรา มีผูแ้ สดงต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป ไม่เน้นแสดงเป็ น

เรื่องราว แต่เน้นความสวยงาม ความพร้อมเพรียงของผูร้ า และดนตรีท่ีไพเราะ เป็ นมรดกทางนาฏศิลป์ ไทย
ทคี่ วรค่าแก่การอนุรักษใ์ หค้ งอยตู่ ลอดไป

6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การแสดงระบามีประโยชน์ต่อผแู้ สดงอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แถบบนั ทึกภาพ
3. เคร่ืองเล่นแถบบนั ทกึ ภาพ
4. สลาก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนวาดภาพระบาท่ีตนเองช่ืนชอบลงในกระดาษ A4 พร้อมท้งั ระบายสีให้สวยงามแลว้ คดั เลือก
ผลงานทท่ี าไดด้ ีไปจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 13

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย เรื่องการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย(ฟ้อน)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/3 บอกส่ิงที่ตนเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์

ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วัด
ศ 3.2 ป.1/2 บอกส่ิงท่ีตนเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายเก่ียวกบั การฟ้อนได้ (K)
2. จาแนกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการฟ้อนกบั ภูมิภาค (P)
3. ช่ืนชมการฟ้อน (A)

สาระสาคญั

ฟ้อนเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยท่ีเน้นความสวยงามของท่ารา เป็ นศิลปะทางภาคเหนือและ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ดนตรีท่ีใช้ประกอบการแสดงมีจงั หวะและทานองค่อนข้างช้า ทาให้ผูช้ มเกิด
ความรู้สึกอ่อนหวาน นุ่มนวลและประทบั ใจเมื่อไดช้ ม

สาระการเรียนรู้

ฟ้อน

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคิด

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดการฟ้อน

คาถามท้าทาย

- การฟ้อนมีความสาคญั ตอ่ ทอ้ งถ่ินภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนืออยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาภาพการฟ้อนเลบ็ ใหน้ กั เรียนดูแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี
- ภาพทน่ี กั เรียนเห็นคอื ภาพอะไร (ตวั อย่างคาตอบ ภาพการฟ้อนเลบ็ )
- การฟ้อนเลบ็ เป็นการฟ้อนของคนในภูมิภาคใด (ตัวอย่างคาตอบ ภาคเหนือ)
- นกั เรียนเคยมีประสบการณ์เหมือนในภาพหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรต่อการราในภาพ (ตัวอย่างคาตอบ ช่ืนชม)

2. ครูนาบตั รคา ฟ้อน มาติดไวบ้ นกระดานแลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น
ดงั น้ี

- นกั เรียนรู้จกั การฟ้อนหรือไม่ อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ รู้จกั เช่น การฟ้อนเล็บ)
- การฟ้อนเป็นศิลปะการแสดงนาฏศลิ ป์ ของภูมิภาคใด (ตวั อย่างคาตอบ ภาคเหนือและ
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ)
- นกั เรียนเคยมีประสบการณ์การฟ้อนหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เคย โดยเคยฟ้อนสาวไหม)
- ในทอ้ งถิ่นของนกั เรียนมีการฟ้อนหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ มี คือการฟ้อนผู้ไทย (ภูไท))

จากน้ันครูอธิบายเก่ียวกับการฟ้อนให้นักเรียนฟังว่า “ฟ้อนเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่เน้น
ความสวยงามของท่ารา เป็ นศิลปะทางภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ดนตรีที่ใชป้ ระกอบการแสดง
มีจงั หวะและทานองคอ่ นขา้ งชา้ ทาใหผ้ ชู้ มเกิดความรู้สึกอ่อนหวาน นุ่มนวล และประทบั ใจเม่ือไดช้ ม”

3. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็ น 4 กลุ่ม แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งผแู้ ทนกลุ่มออกมาจบั สลากเพอ่ื เลือกหวั ขอ้
ไปศกึ ษาเพม่ิ เติม ดงั น้ี

- ฟ้อนเทียน
- ฟ้อนเล็บ
- ฟ้อนสาวไหม
- ฟ้อนผไู้ ทย (ภูไท)
เม่ือแต่ละกลุ่มไดห้ วั ขอ้ ทีร่ ับผดิ ชอบแลว้ ใหไ้ ปศึกษาเพิม่ เตมิ แลว้ นาขอ้ มูลท่ีไดม้ ารายงานใหค้ รูและ
เพื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ ฟังทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม หากพบขอ้ มูลท่ีผิดพลาดใหค้ รูใหค้ าแนะนาแกไ้ ข แลว้ นาขอ้ มูล
ท้งั หมดมาเขียนสรุปลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

4. ให้ครูและนกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั แนวทางการอนุรักษก์ ารฟ้อนโดยครูใชค้ าถาม
ดงั น้ี

- การฟ้อนมีความสาคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ ไทยอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ เป็ นมรดกทาง
นาฏศิลป์ ไทยทค่ี วรค่าแก่การอนุรักษ์)

- นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษก์ ารฟ้อนไดอ้ ยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ
การฟ้อนเพ่ิมเตมิ ฝึ กปฏบิ ตั ิการฟ้อนจนสามารถทาได้ถูกต้องสวยงาม)

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ฟ้อนเป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ไทยท่ีเน้นความสวยงามของท่ารา เป็ นศิลปะทางภาคเหนือและ

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงมีจงั หวะและทานองค่อนข้างช้า ทาให้ผูช้ มเกิด
ความรูส้ ึกอ่อนหวาน นุ่มนวล และประทบั ใจเม่ือไดช้ ม

6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การฟ้อนมีความสาคญั ต่อทอ้ งถิ่นภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนืออยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. ภาพการฟ้อนเลบ็
2. บตั รคา
3. สลาก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนนาขอ้ มูลท่ีใช้รายงานไปจดั ป้ายนิเทศหน้าช้ันเรียน เพื่อเป็ นการเผยแพร่และเป็ นแหล่ง
ความรู้ใหก้ บั ผทู้ ี่สนใจนาฏศลิ ป์ ไทยประเภทฟ้อน

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 14

ชื่อหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7 การแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย เร่ืองการแสดงนาฏศิลป์ ไทย(โขน)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/3 บอกส่ิงทต่ี นเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์

ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วดั
ศ 3.2 ป.1/2 บอกส่ิงที่ตนเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายเกี่ยวกบั การแสดงโขน (K)
2. จาแนกประเภทของโขน (P)
3. ชื่นชมการแสดงโขน (A)

สาระสาคญั

โขนเป็ นนาฏศิลป์ ช้ันสูงของไทย เป็ นการแสดงท่าราท่าเตน้ ออกท่าทางเขา้ กับดนตรี โดยผูแ้ สดง
จะตอ้ งสวมศีรษะโขน และเป็ นมรดกทางนาฏศิลป์ ไทยท่ีควรคา่ แก่การอนุรกั ษไ์ วใ้ หค้ งอยคู่ ู่สงั คมไทยตลอดไป

สาระการเรียนรู้

โขน

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพการแสดงโขน

คาถามท้าทาย

- การแสดงโขนมีประโยชน์ต่อนาฏศิลป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา โขน มาติดไวบ้ นกระดาน แลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ จากน้นั ครูใช้
คาถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยไดย้ นิ คาวา่ “โขน” หรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- นกั เรียนเคยชมการแสดงโขนหรือไม่ อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ เคย โดยเคยชมในโทรทัศน์)
- เม่ือไดช้ มการแสดงโขนนกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ตื่นเต้นมีความสุข)


Click to View FlipBook Version