The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุฒิมา อิ่มอำไพ, 2022-09-14 08:57:41

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 30

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เพลงในชีวคิ ประจาวนั เรื่องเพลงกล่อมเด็ก (ภาคกลาง)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเกี่ยวขอ้ งของเพลงทีใ่ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายเกี่ยวกบั เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง (K)
2. ร้องเพลงกล่อมเด็กภาคกลางได้ (P)
3. ชื่นชมเพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง (A)

สาระสาคญั

เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็ นเพลงที่รู้จกั กันแพร่หลายและมีการบนั ทึกไวเ้ ป็ นหลกั ฐาน โดยเพลง
กล่อมเด็กจะเนน้ การใชเ้ สียงทุม้ เยน็ ไพเราะอ่อนหวาน

สาระการเรียนรู้

เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง

คาถามท้าทาย

- ถา้ ทกุ คนนาเพลงกล่อมเดก็ ของภาคกลางมารอ้ งกล่อมเด็กจะเกิดผลดอี ยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดเพลงกล่อมเด็กภาคกลางใหน้ กั เรียนฟัง แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเด็กท่นี กั เรียนไดย้ นิ เป็ นเพลงกล่อมเด็กภาคใด (ตวั อย่างคาตอบ ภาคกลาง)
- นกั เรียนสงั เกตจากสิ่งใดจึงรูว้ า่ เป็นเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง (ตวั อย่างคาตอบ ภาษาท่ีใช้ขบั ร้อง)
- เมื่อไดฟ้ ังเพลงกล่อมเดก็ ภาคกลางแลว้ นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ผ่อนคลาย สบายใจ

เพลดิ เพลิน)
2. ครูนาบตั รคา เพลงกล่อมเด็กภาคกลาง มาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 2 รอบ

จากน้นั ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- นกั เรียนรู้จกั เพลงกล่อมเด็กภาคกลางหรือไม่ (รู้จัก/ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนเคยไดย้ นิ เพลงกล่อมเด็กภาคกลางหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลางมีลกั ษณะการใชค้ าเป็นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ใช้คาเข้าใจง่าย และ

คล้องจองกัน)
จากน้นั ครูอธิบายเก่ียวกบั เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลางใหน้ กั เรียนฟังเพม่ิ เติม

3. ครูนาแผนภูมิเพลงกล่อมเดก็ ภาคกลางมาตดิ ไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

แผนภูมิเพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง

โอละเห่เอย แม่จะเห่ใหน้ อนวนั

ต่ืนข้นึ มาจะอาบน้าทาขวญั นอนวนั เถิดแม่คุณ

พอ่ เน้ือเยน็ เอย แม่มิใหเ้ จา้ ไปเล่นท่ที า่ น้า

จระเขห้ รา มนั จะคาบเจา้ เขา้ ถ้า

เจา้ ทองคาพอ่ คุณ

จากน้นั ครูพานักเรียนอ่านทีละท่อนจนจบเพลงจานวน 3 รอบ แลว้ พานกั เรียนร้องตามจงั หวะและ
ทานองท่ีถูกตอ้ งทลี ะท่อน จนนกั เรียนสามารถรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั

4. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แล้วให้แต่ละกลุ่มฝึ กร้องเพลงกล่อมเด็ก
ภาคกลางพร้อมแสดงบทบาทสมมุติประกอบเพลง และแปลความหมายของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางมาให้
เพ่ือน ๆ และครูดูและฟังพร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกตอ้ งทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม เม่ือทุกกลุ่มทาการแสดง
เสร็จแล้ว ครูแปลความหมายของเพลงกล่อมเด็กภาคกลางที่ถูกตอ้ งให้นักเรียนฟังเพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจและ
ซาบซ้ึงในเพลงกล่อมเด็กภาคกลางมากข้ึน

5. ใหน้ กั เรียนแสดงความรูส้ ึกช่ืนชมเพลงกล่อมเด็กภาคกลางทลี ะคนจนครบทกุ คน แลว้ ครูใหน้ กั เรียน
ร่วมกนั เสนอช่ือเพลงกล่อมเด็กภาคกลางที่นกั เรียนเคยไดย้ นิ หรือรู้จกั เพิม่ เติม และนาคาตอบที่ไดม้ าเขียนสรุป
เป็นแผนภาพความคิดบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง

6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั วธิ ีการอนุรักษเ์ พลงกล่อมเดก็ ภาคกลางโดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลางมีความสาคญั ตอ่ ประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้ประเทศไทย

มเี อกลักษณ์ทน่ี ่าภาคภูมใิ จ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เป็ นสมบัติของชาติสืบชั่วลูกชั่วหลาน)
- นกั เรียนมีแนวทางอนุรกั ษเ์ พลงกล่อมเดก็ ภาคกลางอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ศึกษาค้นคว้าเกีย่ วกับ

เพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง สืบสานเพลงกล่อมเดก็ ภาคกลาง ให้การส่งเสริมการนาเพลงกล่อมเดก็ ภาคกลางไปใช้)
7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเด็กภาคกลางเป็ นเพลงที่รู้จกั กนั แพร่หลายและมีการบนั ทึกไวเ้ ป็ นหลกั ฐาน โดยเพลง

กล่อมเดก็ จะเนน้ การใชเ้ สียงทมุ้ เยน็ ไพเราะอ่อนหวาน
8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- ถา้ ทุกคนนาเพลงกล่อมเด็กของภาคกลางมาร้องกล่อมเดก็ จะเกิดผลดีอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนแสดงบทบาทสมมุติประกอบการรอ้ งเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง โดยใชค้ วามคิดจินตนาการ
อยา่ งอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. แถบบนั ทึกเสียง
2. เครื่องเล่นแถบบนั ทกึ เสียง
3. บตั รคา
4. การแสดงบทบาทสมมุติ
5. แผนภูมิเพลงกล่อมเด็กภาคกลาง

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มไปศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั เพลง
กล่อมเดก็ ภาคกลาง กลุ่มละ 1 เพลง แลว้ ออกมารายงานหนา้ ช้นั เรียนใหเ้ พ่ือนกลุ่มอ่ืน ๆ และครูฟังทลี ะกลุ่มจน
ครบทกุ กลุ่ม

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../….......



แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 31
ช่ือหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 เพลงในชีวคิ ประจาวนั เรื่องเพลงกล่อมเด็ก (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ)
เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผูส้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วัด
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเกี่ยวขอ้ งของเพลงที่ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายเก่ียวกบั เพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (K)
2. รอ้ งเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือได้ (P)
3. ช่ืนชมเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (A)

สาระสาคญั

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน มีเพลงกล่อมเด็กท่ีใช้ภาษาสาเนียงของอีสานตอนเหนือ
ทขี่ ้ึนตน้ ดว้ ยคาวา่ นอนสาหลา้ นอนสาเดอหรือนอนสาแม่เยอทาใหเ้ ป็ นเอกลกั ษณ์ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ทค่ี วรค่าแก่การอนุรกั ษไ์ ว้

สาระการเรียนรู้

เพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคิดเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

คาถามท้าทาย

- การนาเพลงกล่อมเด็กของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มาเผยแพร่จะเกิดผลดีตอ่ ทอ้ งถ่ินอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือใหน้ ักเรียนฟัง แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ให้นกั เรียนร่วมกนั
สนทนา ดงั น้ี

- เพลงกล่อมเดก็ ทนี่ กั เรียนไดย้ นิ เป็ นเพลงกล่อมเด็กภาคใด (ตัวอย่างคาตอบ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

- นกั เรียนสงั เกตจากสิ่งใดจงึ รูว้ า่ เป็นเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (ตัวอย่างคาตอบ
ภาษาทใี่ ช้ขบั ร้อง)

- เมื่อไดฟ้ ังเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือแลว้ นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ
ผ่อนคลาย สบายใจ เพลิดเพลนิ )

2. ครูนาบตั รคา เพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ พานกั เรียนอ่าน
จานวน 2 รอบ จากน้นั ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนรู้จกั เพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหรือไม่ (รู้จัก/ไม่รู้จกั )
- นกั เรียนเคยไดย้ นิ เพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีลกั ษณะการใชค้ าเป็นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ใช้ภาษา
และสาเนียงเป็ นภาษาถนิ่ )

จากน้นั ครูอธิบายเกี่ยวกบั เพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ใหน้ กั เรียนฟังเพมิ่ เตมิ
3. นาแผนภูมิเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมาตดิ ไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

แผนภูมเิ พลงกล่อมเด็กภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

นอนสาหลา้ หลบั ตาแม่สิกล่อม

แม่ไปไฮ่ ป้ิ งไก่มาหา

แม่ไปนา ป้ิ งปลามาป้อน

แม่เล้ียงมอ้ น นอนอู่สายไหม

จากน้ันครูพานักเรียนอ่านทีละท่อนจนจบเพลงจานวน 3 รอบ แล้วพานักเรียนร้องตามจงั หวะและ
ทานองทีถ่ ูกตอ้ งทลี ะทอ่ น จนนกั เรียนสามารถรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ งพร้อมเพรียงกนั

4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้แต่ละกลุ่มฝึ กร้องเพลงกล่อมเด็ก
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ พร้อมแสดงบทบาทสมมุติประกอบเพลง และแปลความหมายของเพลงกล่อมเด็ก
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือใหเ้ พื่อน ๆ และครูดูและฟัง พร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกตอ้ งทีละกลุ่มจนครบทกุ กลุ่ม
เมื่อทุกกลุ่มทาการแสดงเสร็จแลว้ ครูแปลความหมายของเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือท่ีถูกตอ้ ง ให้
นกั เรียนฟังเพอ่ื ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจและซาบซ้ึงในเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมากข้ึน

5. ให้นักเรียนแสดงความรู้สึกช่ืนชมเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือทีละคนจนครบทุกคน
แลว้ ครูให้นักเรียนร่วมกนั เสนอชื่อเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือที่นักเรียนเคยรู้จกั หรือเคยไดย้ ิน
เพม่ิ เติมแลว้ ครูนาคาตอบทีไ่ ดม้ าเขยี นสรุปลงในแผนภาพความคิดบนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั วธิ ีอนุรกั ษเ์ พลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือโดยครูใช้
คาถาม ดงั น้ี

- เพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีความสาคญั ต่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ

ทาให้ประเทศไทยมเี อกลักษณ์ทีน่ ่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เป็ นสมบัติของชาตสิ ืบต่อกนั ไปช่ัวลูก
ช่ัวหลาน)

- นกั เรียนมีแนวทางการอนุรักษเ์ พลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนืออยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ
ศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับเพลงกล่อมเด็กภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สืบสานเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ให้การส่งเสริมสนับสนุนการนาเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือไปใช้)

7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานมีเพลงกล่อมเด็กท่ีใช้ภาษาและสาเนียงของอีสาน

ตอนเหนือทข่ี ้ึนตน้ ดว้ ยคาวา่ นอนสาหลา้ นอนสาเดอ หรือนอนสาแม่เยอ ทาใหก้ ลายเป็ นเอกลกั ษณ์ท่ีควรค่า
แก่การอนุรักษไ์ ว้

8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การนาเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมาเผยแพร่จะเกิดผลดีตอ่ ทอ้ งถิ่นอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติประกอบการร้องเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ โดยใช้
ความคิดจินตนาการอยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. แถบบนั ทกึ เสียง
2. เครื่องเล่นแถบบนั ทึกเสียง
3. บตั รคา
4. การแสดงบทบาทสมมุติ
5. แผนภมู ิเพลงกล่อมเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน

3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………………



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 31

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เพลงในชีวคิ ประจาวนั เรื่องเพลงกล่อมเด็ก (ภาคใต)้

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเกี่ยวขอ้ งของเพลงทใี่ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายเกี่ยวกบั เพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้ (K)
2. รอ้ งเพลงกล่อมเดก็ ภาคใตไ้ ด้ (P)
3. ช่ืนชมเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ (A)

สาระสาคญั

ภาคใตม้ ีเพลงกล่อมเด็กท่ีมีความเป็นเอกลกั ษณ์ของภมู ิภาคโดยมีการใชค้ าเป็ นภาษาถ่ินและเน้ือหาของ
เพลงสามารถสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงวถิ ีการดาเนินชีวติ ค่านิยมและความเช่ือของคนในทอ้ งถิ่นไดเ้ ป็ นอยา่ งดี

สาระการเรียนรู้

เพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ เพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้

คาถามท้าทาย

- การนาเพลงกล่อมเด็กของภาคใตม้ าเผยแพร่จะเกิดผลดีตอ่ ทอ้ งถ่ินอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูเปิ ดเพลงกล่อมเดก็ ภาคใตใ้ หน้ กั เรียนฟัง แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเดก็ ทน่ี กั เรียนไดย้ นิ เป็นเพลงกล่อมเดก็ ภาคใด (ตวั อย่างคาตอบ ภาคใต้)
- นกั เรียนสงั เกตจากสิ่งใดจงึ รูว้ า่ เป็ นเพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้ (ตวั อย่างคาตอบ ภาษาทีใ่ ช้ขบั ร้อง)
- เมื่อไดฟ้ ังเพลงกล่อมเด็กภาคใตแ้ ลว้ นักเรียนรู้สึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ผ่อนคลาย สบายใจ

เพลิดเพลนิ )
2. ครูนาบตั รคา เพลงกล่อมเด็กภาคใต้ มาติดไวบ้ นกระดานแลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 2 รอบ

จากน้นั ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- นกั เรียนรูจ้ กั เพลงกล่อมเด็กภาคใตห้ รือไม่ (รู้จกั /ไม่รู้จัก)
- นกั เรียนเคยไดย้ นิ เพลงกล่อมเด็กภาคใตห้ รือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เพลงกล่อมเด็กภาคใตม้ ีลกั ษณะการใชค้ าเป็ นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ใช้ภาษาถ่ิน)
จากน้นั ครูอธิบายเก่ียวกบั เพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้ ใหน้ กั เรียนฟังเพม่ิ เติม

3. นาแผนภมู ิเพลงกล่อมเดก็ ภาคใตม้ าตดิ ไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

แผนภูมเิ พลงกล่อมเดก็ ภาคใต้

นอ้ งนอนเหอ นอนใหส้ าบาย

แม่เซ่อท้งั หลาย อยา่ มาหลอกหลอน

แม่เซ่อขวญั ขา้ ว กลอมเจา้ ใหน้ อน

แม่เซอ้ ขวญั อ่อน เชิญเจา้ ใหน้ อน...บาย

จากน้ันครูพานักเรียนอ่านทีละท่อนจนจบเพลงจานวน 3 รอบ แล้วพานักเรียนร้องตามจงั หวะและ
ทานองทถี่ ูกตอ้ งทีละท่อน จนนกั เรียนสามารถรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ งพรอ้ มเพรียงกนั

4. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้แต่ละกลุ่มฝึกร้องเพลงกล่อมเด็กภาคใต้
พรอ้ มแสดงบทบาทสมมุติประกอบเพลง และแปลความหมายของเพลงกล่อมเด็กภาคใตใ้ ห้เพอ่ื น ๆ และครูดู
และฟัง พร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกตอ้ งทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม เม่ือทุกกลุ่มทาการแสดงเสร็จแลว้ ครูแปล
ความหมายของเพลงกล่อมเด็กภาคใตท้ ่ีถูกตอ้ งใหน้ กั เรียนฟังเพ่ือใหน้ กั เรียนเขา้ ใจและซาบซ้ึงในเพลงกล่อมเด็ก
ภาคใตม้ ากข้นึ

5. ให้นักเรียนแสดงความรู้สึกช่ืนชมเพลงกล่อมเด็กภาคใตท้ ีละคนจนครบทุกคน แลว้ ครูให้นักเรียน
ร่วมกนั เสนอชื่อเพลงกล่อมเด็กภาคใตท้ ่ีนกั เรียนเคยรู้จกั หรือเคยไดย้ นิ เพมิ่ เติมโดยครูนาคาตอบท่ีไดม้ าเขียน
สรุปลงในแผนภาพความคิดบนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

เพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้

6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั วธิ ีการอนุรักษเ์ พลงกล่อมเด็กภาคใตโ้ ดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- เพลงกล่อมเด็กภาคใตม้ ีความสาคญั ต่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้ประเทศไทย

มเี อกลกั ษณ์ท่ีน่าภาคภูมใิ จ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เป็ นสมบตั ิของชาติสืบต่อกนั ไปชั่วลูกชั่วหลาน)
- นักเรียนมีแนวทางการอนุรักษ์เพลงกล่อมเด็กภาคใตอ้ ย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษาค้นคว้า

เก่ียวกับเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ สืบสานเพลงกล่อมเดก็ ภาคใต้ ให้การส่งเสริมสนับสนุนการนาเพลงกล่อมเด็ก
ภาคใต้ไปใช้)

7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ภาคใตม้ ีเพลงกล่อมเด็กทม่ี ีความเป็ นเอกลกั ษณ์ของภูมิภาคโดยมีการใชค้ าเป็ นภาษาถิ่น และเน้ือหา

ของเพลงสามารถสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงวถิ ีการดาเนินชีวติ ค่านิยมและความเช่ือของคนในทอ้ งถ่ินไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การนาเพลงกล่อมเดก็ ของภาคใตม้ าเผยแพร่จะเกิดผลดีตอ่ ทอ้ งถ่ินอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติประกอบการร้องเพลงกล่อมเด็กภาคใต้ โดยใชค้ วามคิดจินตนาการ
อยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. แถบบนั ทกึ เสียง
2. เครื่องเล่นแถบบนั ทึกเสียง
3. บตั รคา
4. การแสดงบทบาทสมมุติ
5. แผนภมู ิเพลงกล่อมเด็กภาคใต้

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวัดและประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มไปศกึ ษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั เพลง
กล่อมเด็กภาคใต้ กลุ่มละ 1 เพลง แลว้ ออกมารายงานหนา้ ช้นั เรียนให้เพอื่ นกลุ่มอ่ืน ๆ และครูฟังทีละกลุ่มจน
ครบทุกกลุ่ม

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..
ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../……



แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 33

ช่ือหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 เพลงในชีวติ ประจาวนั เรื่องเพลงประกอบการละเล่น

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเกี่ยวขอ้ งของเพลงทใ่ี ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบกุ ารละเล่นของไทยทมี่ ีเพลงประกอบ (K)
2. เล่นการละเล่นของไทยพรอ้ มท้งั ร้องเพลงและแสดงทา่ ทางประกอบ (P)
3. ช่ืนชมการละเล่นของไทยท่มี ีเพลงประกอบ (A)

สาระสาคญั

การละเล่นของเด็กไทยมีมาต้งั แตส่ มยั บรรพบุรุษ มีกติกาการเล่นงา่ ย ๆ ส่วนใหญม่ กั เล่นกนั ในทอ้ งถิ่น
บางการละเล่นมีบทเพลงพร้อมท้งั ท่าเตน้ และท่าราประกอบ ทาให้ผูเ้ ล่นมีความสนุกสนานและเป็ นการใช้
เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ พร้อมท้งั เป็นการออกกาลงั กายที่ดี

สาระการเรียนรู้

เพลงประกอบการละเลน่

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ การละเล่นของไทย

คาถามท้าทาย

- ถา้ ทกุ การละเล่นของไทยมีเพลงประกอบจะเกดิ ผลดีอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคาตอ่ ไปน้ีมาติดไวบ้ นกระดาน รีรีขา้ วสาร งูกินหาง มอญซ่อนผา้

แลว้ พานกั เรียนอ่านบตั รคาดงั กล่าวคาละ 2 รอบ แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยเล่นรีรีขา้ วสารหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)

- นกั เรียนเคยเล่นงกู ินหางหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)

- นกั เรียนเคยเล่นมอญซ่อนผา้ หรือไม่ (เคย/ไม่เคย)

- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเม่ือเล่นการละเล่นเหล่าน้ี (ตวั อย่างคาตอบ สนุกสนาน)

- นกั เรียนชอบเล่นการละเล่นเหล่าน้ีหรือไม่ (ชอบ/ไม่ชอบ)

- นอกจากการละเล่นเหล่าน้ีแลว้ นักเรียนรู้จกั การละเล่นของไทยอ่ืนอีกหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่าง

คาตอบ รู้จกั เช่น ว่าว เตย โพงพาง)

2. ครูนาแผนภมู ิเพลงรีรีขา้ วสารมาตดิ ไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

แผนภูมเิ พลงรีรีข้าวสาร

รีรีขา้ วสาร สองทะนานขา้ วเปลอื ก

เลือกทอ้ งใบลาน เก็บเบ้ียใตถ้ ุนร้าน

คดขา้ วใส่จาน พานเอาคนขา้ งหลงั ไว้

แลว้ ครูพานักเรียนอ่านทีละท่อน จนจบเพลงจานวน 2 รอบ จากน้ันครูพานักเรียนร้องเพลง
รีรีขา้ วสารประกอบจงั หวะทีละทอ่ นจนทกุ คนสามารถร้องไดถ้ ูกตอ้ งและพรอ้ มเพรียงกนั

3. ครูคดั เลือกผูแ้ ทนนักเรียนจานวน 10 คน ออกมาฝึกเล่นรีรีขา้ วสารแลว้ ใหน้ กั เรียนที่เหลือเป็ นผรู้ ้อง
เพลงประกอบการละเล่นรีรีขา้ วสาร จานวน 5 รอบ

4. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาจบั
สลากเพอื่ เลือกการละเล่นไปฝึกปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่

- รีรีขา้ วสาร
- งูกินหาง
- มอญซ่อนผา้
เม่ือแตล่ ะกลุ่มไดก้ ารละเล่นประจากลุ่มแลว้ ครูใหบ้ ทร้องประกอบการละเล่น และพานกั เรียนซอ้ ม
จนแตล่ ะกลุ่มร้องเพลงประกอบการละเล่นของตนเองไดถ้ ูกตอ้ ง และสามารถเล่นการละเล่นดงั กล่าวถูกตอ้ งตาม
กติกา จากน้นั ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมาเล่นการละเล่นประกอบเพลงใหเ้ พ่อื นกลุ่มอื่น ๆ ดูทีละกลุ่มจนครบ
ทกุ กลุ่ม
5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ความรูส้ ึกท่ีมีตอ่ การละเล่นของไทยโดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรต่อการละเล่นของไทยที่มีการร้องเพลงประกอบ (ตัวอย่างคาตอบ ชอบเล่น
เล่นแล้วสนุกสนาน)
- การละเล่นของไทยมีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เป็ นการออกกาลงั กายท่ดี ี ทาให้เกิดความสนุกสนาน)
6. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั การละเล่นของไทยท่ีนกั เรียนรู้จกั โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นกั เรียนรู้จกั การละเล่นของไทยอะไรบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ รีรีข้าวสาร มอญซ่อนผ้า งูกินหาง
ตจี่ ับ เตย ว่าว โพงพาง)
- นักเรียนจะอนุรักษ์การละเล่นของไทยให้คงอยูค่ ู่ชาติไทยได้อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษา
ค้นคว้าเกย่ี วกับการละเล่นของไทย นาการละเล่นของไทยมาเล่น เผยแพร่การละเล่นของไทยโดยการเล่าให้คน
อ่ืนฟัง)
จากน้นั ครูนาคาตอบทไ่ี ดม้ าเขียนสรุปลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

ตวั อย่าง

7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การละเล่นของไทยมีมาต้งั แต่สมยั บรรพบรุ ุษ มีกตกิ า การเล่นง่าย ๆ ส่วนใหญ่มกั เล่นกนั ในทอ้ งถ่ิน

บางการละเล่นมีบทเพลงพร้อมท้งั ท่าเตน้ และท่าราประกอบ ทาให้ผเู้ ล่นมีความสนุกสนาน และเป็ นการใชเ้ วลาวา่ ง
ใหเ้ กิดประโยชน์ พรอ้ มท้งั เป็นการออกกาลงั กายที่ดี

8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- ถา้ ทกุ การละเล่นของไทยมีเพลงประกอบจะเกิดผลดีอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนเล่นการละเล่นของไทยอยา่ งอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แผนภมู ิเพลงรีรีขา้ วสาร
3. สลาก

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนวาดภาพการละเล่นของไทยคนละ 1 ประเภท พร้อมท้งั ระบายสีให้สวยงาม จากน้ันครู
คดั เลือกผลงานท่ีทาไดส้ วยงามมา 10 ชิ้น เพอื่ จดั ป้ายนิเทศหน้าช้นั เรียนเป็ นการใหก้ าลงั ใจแก่นกั เรียนที่ทางาน
ไดด้ ี และเป็นแรงจงู ใจใหน้ กั เรียนคนอื่น ๆ พฒั นาผลงานของตนเอง



แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..........................................

แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสังวร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
………/………………../……

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ รายวิชา ดนตรี-นาฏศลิ ป์ รหสั วชิ า ศ 11101
ปี การศึกษา 2565
ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 4 ชวั่ โมง

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี1 เสียงและการกาเนิดของเสียง

ครูผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วดั
ศ 2.1 ป.1/1 รู้วา่ ส่ิงตา่ ง ๆ สามารถก่อกาเนิดเสียงทแ่ี ตกต่างกนั
ศ 2.1 ป.1/2 บอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา และความชา้ -เร็วของจงั หวะ

สาระสาคญั

เสียงที่อยรู่ อบตวั เรามาจากแหล่งกาเนิดเสียงทีต่ า่ งกนั และเสียงจะมีคุณลกั ษณะแตกตา่ งกนั

ความเข้าใจทค่ี งทน (Enduring Understanding)

เสียงท่ีอยรู่ อบตวั เรามาจากแหล่งกาเนิดเสียงที่แตกต่างกนั แตล่ ะเสียงมีลกั ษณะเสียงทแ่ี ตกต่างกนั

สาระการเรียนรู้

1. การกาเนิดเสียง
2. คุณสมบตั ขิ องเสียง
3. เสียงจากเคร่ืองดนตรี
4. สีสนั ของเสียงมนุษย์

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ใฝ่ เรียนรู้
ตวั ช้ีวดั ที่ 4.1 ต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคดิ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. ชิ้นงานที่ 1 เรื่อง การกาเนิดเสียง
2. การสงั เกตภาพและบอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา

การประเมนิ ผล

1. การประเมนิ ผลตัวชี้วดั
1.1 ชิ้นงานท่ี 1 เรื่อง การกาเนิดเสียง

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

วาดภาพเสียงทไ่ี ดย้ นิ วาดภาพเสียงทไี่ ดย้ นิ วาดภาพเสียงที่ไดย้ นิ วาดภาพเสียงทไี่ ดย้ นิ วาดภาพเสียงท่ไี ดย้ นิ

ในชีวติ ประจาวนั และ ในชีวติ ประจาวนั และ ในชีวติ ประจาวนั และ ในชีวติ ประจาวนั และ ในชีวติ ประจาวนั และ

จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง

ได้ ไดน้ อกเหนือจากทค่ี รู ไดต้ ามทีค่ รูยกตวั อยา่ ง ไดต้ ามที่ครูยกตวั อยา่ ง ไดต้ ามรูปแบบที่

ยกตวั อยา่ งไดส้ วยงาม แตไ่ ม่สวยงามดว้ ยตนเอง แตม่ ีการดดั แปลง กาหนดใหไ้ ด้ แต่ไม่

ดว้ ยตนเอง และเขียน และเขียนจาแนก ใหแ้ ตกตา่ งและเขยี น สามารถเขียนจาแนก

จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง แหล่งกาเนิดเสียงได้ จาแนกแหล่งกาเนิดเสียง แหล่งกาเนิดเสียงได้

ไดถ้ ูกตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ถูกตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ไดถ้ ูกตอ้ งสมั พนั ธก์ บั สมั พนั ธก์ บั รูปภาพ

รูปภาพ รูปภาพ รูปภาพ

1.2 การสังเกตและบอกลกั ษณะของเสียงดงั -เบา

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคะแนน

43 2 1

บอกลกั ษณะของเสียง บอกลกั ษณะของเสียง บอกลกั ษณะของเสียง บอกลกั ษณะของเสียง บอกลกั ษณะของเสียง

ดงั -เบา และความชา้ -เร็ว ดงั -เบา และความชา้ -เร็ว ดงั -เบา และความชา้ -เร็ว ดงั -เบา และความชา้ -เร็ว ดงั -เบา และความชา้ -เร็ว

ของจงั หวะ ของจงั หวะไดส้ มั พนั ธก์ นั ของจงั หวะได้ มีการ ของจงั หวะไดส้ อดคลอ้ ง ของจงั หวะได้ แต่

มีการเชื่อมโยงใหเ้ ห็น จาแนกขอ้ มลู หรือ กบั ขอ้ มลู มีการเขียน ไม่สอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู

เป็นภาพรวมแสดงให้ อธิบายใหเ้ ห็นถึง ขยายความ และมีการ ทอี่ ่าน เขยี นตามขอ้ มูล

เห็นถึงความสมั พนั ธก์ บั ความสมั พนั ธก์ บั ตนเอง ยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ ทีอ่ ่าน ไม่มีการอธิบาย

ตนเองและผอู้ ่ืน อยา่ งเป็ นเหตเุ ป็นผล ใหเ้ ขา้ ใจง่าย เพมิ่ เตมิ

2. การประเมนิ ผลคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่ เรียนรู้

ตวั ช้ีวดั ท่ี 4.1 ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

4.1.1 ต้งั ใจเรียน ไม่ต้งั ใจเรียน ต้งั ใจ เอาใจใส่ ต้งั ใจเรียน เอาใจใส่ ต้งั ใจเรียน เอาใจใส่

4.1.2 เอาใจใส่และ ในการเรียน และมีความเพยี ร- และมีความเพยี ร-

มีความเพยี รพยายาม พยายามในการเรียน พยายามในการ

ในการเรียนรู้ เรียนรู้ เขา้ ร่วม

4.1.3 สนใจเขา้ ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ

ตา่ ง ๆ

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เสียงต่าง ๆ
2. ครูสรุปความรูเ้ กี่ยวกบั แหล่งกาเนิดเสียงและอธิบายเพม่ิ เตมิ
3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั เสียงท่ีเคยไดย้ นิ ในชีวติ ประจาวนั แลว้ ทาใบงานท่ี 1
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั คุณลกั ษณะของเสียง
5. เล่นเกมเสียงหรรษา
6. ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เสียงและคุณลกั ษณะของเสียงที่ไดย้ นิ ในชีวติ ประจาวนั
7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั คุณลกั ษณะของเสียงและเล่นเกมทายสิเอ่ยวา่ เสียงใด
8. สรุปความรูเ้ ก่ียวกบั เสียงและการกาเนิดเสียง
9. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

- เสียงทอี่ ยรู่ อบตวั เรามาจากแหล่งกาเนิดเสียงที่แตกตา่ งกนั แตล่ ะเสียงมีลกั ษณะเสียงทีแ่ ตกตา่ งกนั

ส่ือการเรียนรู้

1. เกมเสียงใครเอ่ย
2. บตั รภาพ
3. บตั รคา
4. ช้ินงานที่ 1 เร่ือง การกาเนิดเสียง
5. เกมเสียงหรรษา
6. ฉิ่ง
7. กลอง

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

ชื่อ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบท่ถี ูกต้องลงในวงกลมตวั เลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. ขอ้ ใดเป็นคุณลกั ษณะของเสียง

1 ทมุ้ แหลม ดงั เบา
2 ใหญ่ เลก็ หนกั เบา
3 ส้นั ยาว บาง หนา

2. เสียงแกว้ ตกแตกมีลกั ษณะเสียงอยา่ งไร
1 เสียงทมุ้
2 เสียงดงั
3 เสียงแหลม

3. เคร่ืองดนตรีขอ้ ใดมีเสียงทมุ้
1 ปี่
2 ฆอ้ งโหม่ง
3 ฉ่ิง

4. เสียงใดที่อาจทาใหต้ กใจ
1 เสียงดงั
2 เสียงทมุ้
3 เสียงเบา

5. ขอ้ ใดเมื่ออ่านออกเสียงจะเป็ นเสียงส้นั
1 ขายาว
2 เกะกะ
3 ลาธาร

6. เสียงใดเกิดข้ึนจากธรรมชาติ
1 ฟ้ารอ้ ง

2 แตรรถยนต์
3 ตีกลอง

7. การกระทาใดทาใหเ้ กิดเสียง
1 นอนหลบั
2 นงั่ สมาธิ
3 รอ้ งเพลง

8. เสียงนาฬิกามีแหล่งกาเนิดจากขอ้ ใด
1 มนุษย์
2 เคร่ืองดนตรี
3 ธรรมชาติ

9. นกร้องมีเสียงอยา่ งไร
1 ครืน ครืน
2 จิบ๊ จบ๊ิ
3 ติ๊ก ตอ๊ ก

10. เสียงดงั บร้ืน บร้ืน คือเสียงใด
1 เสียงนกร้อง
2 เสียงน้าไหล
3 เสียงรถยนต์

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

ช่ือ ______________________ นามสกุล_______________ เลขท่ี______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบท่ีถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง)
1. การกระทาใดทาใหเ้ กิดเสียง

1 ร้องเพลง
2 นอนหลบั
3 นงั่ สมาธิ

2. นกรอ้ งมีเสียงอยา่ งไร
1 จิ๊บ จบ๊ิ
2 ตกิ๊ ตอ๊ ก
3 ครืน ครืน

3. เสียงดงั บร้ืน บร้ืน คอื เสียงใด
1 เสียงน้าไหล
2 เสียงรถยนต์
3 เสียงนกรอ้ ง

4. เสียงนาฬิกามีแหล่งกาเนิดจากขอ้ ใด
1 ธรรมชาติ
2 มนุษย์
3 เคร่ืองดนตรี

5. เสียงใดเกิดข้นึ จากธรรมชาติ
1 แตรรถยนต์
2 ตีกลอง
3 ฟ้าร้อง

6. เสียงแกว้ ตกแตกมีลกั ษณะเสียงอยา่ งไร
1 เสียงแหลม

2 เสียงทมุ้
3 เสียงดงั

7. เสียงใดที่อาจทาใหต้ กใจ
1 เสียงเบา
2 เสียงดงั
3 เสียงทมุ้

8. ขอ้ ใดเม่ืออ่านออกเสียงจะเป็ นเสียงส้นั
1 เกะกะ
2 ขายาว
3 ลาธาร

9. ขอ้ ใดเป็นคุณลกั ษณะของเสียง
1 ใหญ่ เลก็ หนกั เบา
2 ส้นั ยาว บาง หนา
3 ทมุ้ แหลม ดงั เบา

10. เคร่ืองดนตรีขอ้ ใดมีเสียงทมุ้
1 ฉิ่ง
2 ป่ี
3 ฆอ้ งโหม่ง

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 1 2. 3 3. 2 4. 1 5. 2
6. 1 7. 3 8. 1 9. 2 10. 3

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)
1. 1 2. 1 3. 2 4. 2 5. 3
6. 1 7. 2 8. 1 9. 3 10. 3

แบบบนั ทึกสรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ช่ือ-นามสกลุ ...................................... เลขที่ ............................................ ช้นั ..................................
วนั ที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. .....................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกสรุปผลการเรียนรูจ้ ากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี

นกั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ืองใด นกั เรียนมีความรู้สึกอยา่ งไร นกั เรียนไดร้ บั ความรูเ้ รื่องใดบา้ ง
อีกบา้ งทเ่ี กี่ยวกบั หน่วยการเรียนรู้น้ี หลงั จากทเ่ี รียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เตมิ น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

หน่วยการเรียนรู้ท่ี.......
...................................
................................

นกั เรียนจะสามารถนาความรู้ ผลงานที่นกั เรียนชอบและตอ้ งการ กิจกรรมทนี่ กั เรียนชอบมากที่สุดใน
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรู้น้ี คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่วยการเรียนรู้น้ีคอื กิจกรรมใด
ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั การเรียนรู้น้ีคือผลงานใดบา้ ง เพราะอะไร
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ...........................................................
.......................................................

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทึกน้ีเพอื่ ใหน้ กั เรียนบนั ทกึ ทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอ่ื ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพอื่ เป็ นผลงานประกอบการเล่ือนวทิ ยฐานะได้

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 34

ชื่อหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 เพลงในชีวคิ ประจาวนั เรื่องความสาคญั ของชาติ

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผูส้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรีอยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตัวชี้วัด
ศ 2.1 ป.1/5 บอกความเกี่ยวขอ้ งของเพลงที่ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. ระบุเพลงสาคญั ของชาติ (K)
2. รอ้ งเพลงสาคญั ของชาติ (P)
3. ชื่นชมเพลงสาคญั ของชาติ (A)

สาระสาคญั

ประเทศไทยมีเพลงสาคญั ของชาติที่มีเน้ือร้อง และทานองของเพลงท่ีแสดงถึงความจงรักภกั ดีต่อ
สถาบนั พระมหากษตั ริย์ และทาใหเ้ กิดความรกั ความสามคั คี รวมใจคนไทยใหเ้ ป็ นหน่ึงเดียว ช่วยกนั พฒั นา
ประเทศไทยใหเ้ จริญกา้ วหนา้ และสงบสุข

สาระการเรียนรู้

เพลงสาคญั ของชาติ : เพลงชาตไิ ทย เพลงสรรเสริญพระบารมี

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ตวั ช้ีวดั ที่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. แผนภาพความคดิ เพลงสาคญั ของชาติ
2. ช้ินงานที่ 3 เร่ือง เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย : วาดภาพส่ิงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เพลงสาคญั ของชาติไทย

คาถามท้าทาย

- ถา้ ทกุ คนในชาตไิ ทยปฏิบตั ิตนไดด้ งั เพลงสาคญั ของชาติจะเกิดผลดีอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาเพลงชาติมาเปิ ดใหน้ กั เรียนฟัง แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี
- เพลงทน่ี กั เรียนไดฟ้ ังคอื เพลงอะไร (เพลงชาติ)
- นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไรเมื่อไดฟ้ ังเพลงชาติ (ตัวอย่างคาตอบ ภาคภูมิใจในความเป็ นไทย)
- นกั เรียนร้องเพลงชาตไิ ทยไดถ้ ูกตอ้ งหรือไม่ (ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง)
- นกั เรียนฝึกร้องเพลงชาติดว้ ยวธิ ีใด (ตัวอย่างคาตอบ ฝึ กร้องตามโทรทศั น์ทกุ วัน)

2. ครูนาแผนภมู ิเพลงชาติไทยมาติดไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

แผนภูมิเพลงชาติไทย
ประเทศไทยรวมเลือดเน้ือชาติเช้ือไทย
เป็ นประชารฐั ไผทของไทยทกุ ส่วน
อยดู่ ารงคงไวไ้ ดท้ ้งั มวล ดว้ ยไทยลว้ นหมายรกั สามคั คี
ไทยน้ีรักสงบแตถ่ ึงรบไม่ขลาด
เอกราชจะไม่ใหใ้ ครข่มข่ี
สละเลือดทกุ หยาดเป็นชาติพลี
เถลิงประเทศชาติไทยทวี มีชยั ชโย

แลว้ ใหน้ กั เรียนฝึกร้องเพลงชาตติ ามข้นั ตอนต่อไปน้ี
- ครูนานกั เรียนฝึกอ่านเน้ือรอ้ งเพลงชาติจนนกั เรียนอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
- ใหน้ กั เรียนฝึกร้องเพลงชาติตามครูทลี ะท่อนจนจบเพลงและรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ ง
- ใหน้ กั เรียนฝึกรอ้ งเพลงชาติดว้ ยตนเอง โดยมีครูคอยดูแลและแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด

จากน้ันใหน้ ักเรียนทุกคนร้องเพลงชาติพร้อมกนั โดยมีครูตรวจสอบความถูกตอ้ งและแกไ้ ขปัญหา
ถา้ นกั เรียนร้องไม่ถูกตอ้ ง จนทุกคนสามารถรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ งพรอ้ มเพรียงกนั

3. ครูนาแผนภูมิเพลงสรรเสริญพระบารมีมาตดิ ไวบ้ นกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

แผนภูมิเพลงสรรเสริญพระบารมี

ขา้ วรพทุ ธเจา้ เอามโนและศิระกราน

นบพระภูมิบาลบุญดิเรก เอกบรมจกั ริน

พระสยามินทร์พระยศยง่ิ ยง เยน็ ศิระเพราะพระบริบาล

ผลพระคุณ ธ รกั ษา ปวงประชาเป็ นสุขศานต์

ขอบนั ดาล ธ ประสงคใ์ ด จงสฤษด์ิดงั

หวงั วรหฤทยั ดุจถวายชยั ชโย

แลว้ ใหน้ กั เรียนฝึกร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี
- ครูนานกั เรียนฝึกอ่านเน้ือรอ้ งเพลงสรรเสริญพระบารมีจนนกั เรียนอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
- ใหน้ กั เรียนฝึกร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีตามครูทลี ะทอ่ นจนจบเพลงและรอ้ งไดถ้ ูกตอ้ ง
- ใหน้ กั เรียนฝึกรอ้ งเพลงสรรเสริญพระบารมีดว้ ยตนเองโดยมีครูคอยดูแลและแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด
จากน้ันให้นักเรียนทุกคนรอ้ งเพลงสรรเสริญพระบารมีพร้อมกนั โดยมีครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง
และแกไ้ ขปัญหาถา้ นกั เรียนร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีไม่ถูกตอ้ งจนทกุ คนสามารถร้องไดถ้ ูกตอ้ งพรอ้ มเพรียงกนั
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เพลงที่ฝึกรอ้ งท้งั สองเพลง โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นักเรียนรู้สึกอยา่ งไรเม่ือได้ร้องเพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมี (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้

คนไทยมีจติ ใจรักชาติและเคารพรักเชิดชูสถาบนั พระมหากษัตริย์)
- เพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมีมีความสาคญั ต่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ

ทาให้คนไทยมีจติ ใจรักชาติและพระมหากษตั ริย์มากขึ้น)
- เพราะเหตใุ ดจึงกล่าววา่ เพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมีเป็ นเพลงสาคญั ของชาติ (ตัวอย่าง

คาตอบ เพราะเป็ นเพลงที่ทาให้คนไทยเกิดความรู้สึกรักชาติ และจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และทาให้เกิด

ความสามัคคตี ่อคนในชาติ)
5. ครูและนักเรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั เพลงสาคญั ของชาติท่ีนักเรียนรู้จกั แลว้ นาคาตอบท่ีได้มา

เขยี นสรุปลงในแผนภาพความคิดบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

6. ให้นักเรียนวาดภาพสิ่งท่ีเกี่ยวข้องกับเพลงสาคญั ของชาติไทย และระบายสีให้สวยงามแล้วครู

คดั เลือกผแู้ ทนนกั เรียนทม่ี ีผลงานทีส่ วยงามจานวน 1 คน ออกมานาเสนอผลงานของตนเองหนา้ ช้นั เรียน

7. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั เพลงในชีวิตประจาวนั โดยครูนาบตั รคาต่อไปน้ีมาติดไวบ้ น

กระดาน เพลงชาติไทย เพลงกล่อมเดก็ เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงประกอบการละเล่น

แลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 2 รอบ และใชค้ าถาม ดงั น้ี
- เพลงทใ่ี ชร้ อ้ งเพอื่ ทาใหเ้ ดก็ หลบั ง่ายคอื เพลงอะไร (ตัวอย่างคาตอบ เพลงกล่อมเดก็ )
- เพลงที่ใชร้ อ้ งในงานพธิ ีสาคญั คอื เพลงอะไร (ตวั อย่างคาตอบ เพลงสรรเสริญพระบารมี)
- เพลงท่ีใชร้ ้องเพอ่ื เคารพธงชาติคอื เพลงอะไร (ตวั อย่างคาตอบ เพลงชาติไทย)
- เพลงท่ีใชร้ ้องเพื่อทาให้การละเล่นสนุกสนานคือเพลงอะไร (ตัวอย่างคาตอบ เพลงประกอบ

การละเล่น)
- เพลงทนี่ กั เรียนฟังในชีวติ ประจาวนั มีความหมายเหมือนกนั หรือไม่ (เหมือน/ ไม่เหมือน)
- เพลงที่นกั เรียนฟังในชีวติ ประจาวนั มีประโยชน์เหมือนกนั หรือไม่ (เหมือน/ไม่เหมือน)
- เพลงท่ีนักเรียนฟังในชีวิตประจาวนั มีจุดประสงคใ์ นการนาไปใช้เหมือนกนั หรือไม่ (เหมือน/

ไม่เหมือน)
8. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ประเทศไทยมีเพลงสาคญั ของชาติที่มีเน้ือร้องและทานองเพลงที่แสดงถึงความจงรักภกั ดีต่อ

สถาบนั พระมหากษตั ริย์ และทาให้เกิดความรัก ความสามคั คี รวมใจคนไทยให้เป็ นหน่ึงเดียว ช่วยกนั พฒั นา
ประเทศไทยใหเ้ จริญกา้ วหนา้ และสงบสุข

9. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- ถา้ ทุกคนในชาติไทยปฏิบตั ิตนไดด้ งั เพลงสาคญั ของชาติจะเกิดผลดีอยา่ งไร

10. ใหน้ กั เรียนทาช้ินงานที่ 3 เรื่อง เพลงสาคญั ของชาติไทย : วาดภาพสิ่งทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั เพลงสาคญั ของ
ชาติไทย

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร้องเพลงสาคญั ของชาติอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. แถบบนั ทึกเสียง
2. เคร่ืองเล่นแถบบนั ทกึ เสียง
3. บตั รคา
4. แผนภมู ิเพลงชาติ
5. แผนภูมิเพลงสรรเสริญพระบารมี
6. ช้ินงานที่ 3 เร่ือง เพลงสาคญั ของชาติไทย : วาดภาพสิ่งทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1.3 ตรวจชิ้นงานท่ี 3

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน -4 ระดบั ควรปรับปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นกั เรียนนาผลงานการวาดภาพเก่ียวกบั สิ่งท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เพลงสาคญั ของชาติไทยที่สวยงามจานวน
1 ภาพ มาจดั ป้ายนิเทศหน้าช้นั เรียนเพ่ือเป็ นกาลังใจให้กับนักเรียนท่ีทาผลงานได้ดี และเป็ นแรงกระตุ้น
ใหน้ กั เรียนคนอ่ืน ๆ พฒั นาผลงานของตนเอง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินชิ้นงานท่ี 3 ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เรื่อง เพลงสาคญั ของชาตไิ ทย

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน
4321
วาดภาพสิ่งทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
กบั เพลงสาคญั ของ วาดภาพสิ่งท่ี วาดภาพส่ิงท่ี วาดภาพสิ่งที่ วาดภาพส่ิงท่ี
ชาตไิ ทย
เกี่ยวขอ้ งกบั เก่ียวขอ้ งกบั เกี่ยวขอ้ งกบั เก่ียวขอ้ งกบั

เพลงสาคญั เพลงสาคญั เพลงสาคญั เพลงสาคญั

ของชาตไิ ทย ของชาติไทย ของชาตไิ ทย ของชาตไิ ทย

นอกเหนือจากท่ี นอกเหนือจากท่ี ตามทคี่ รู ตามรูปแบบท่ี

ครูอธิบายได้ ครูอธิบายได้ แต่ ยกตวั อยา่ ง แตม่ ี กาหนดใหไ้ ด้

สวยงามดว้ ย ไม่สวยงามและ การดดั แปลงให้ แต่ไม่สามารถ

ตนเอง และ เขียนบอกช่ือ แตกต่างและ เขยี นบอกชื่อ

เขียนบอกช่ือ เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง เขยี นบอกชื่อ เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง

เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง สมั พนั ธก์ บั เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง สมั พนั ธก์ บั

สมั พนั ธก์ บั รูปภาพ สมั พนั ธก์ บั รูปภาพ

รูปภาพ รูปภาพ

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
.
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………

สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 รหัสวิชา ศ 11101
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 บทเพลงในทอ้ งถิ่น รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ เวลาเรียน 4 ชวั่ โมง
ครูผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ ภาคเรียนท่ี 1

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 2.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีท่ี

เป็ นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วัด
ศ 2.2 ป.1/1 เล่าถึงเพลงในทอ้ งถิ่น
ศ 2.2 ป.1/2 ระบุสิ่งท่ชี ่ืนชอบในดนตรีทอ้ งถ่ิน

สาระสาคญั

บทเพลงทอ้ งถิ่นสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงวถิ ีชีวติ ความเป็นอยขู่ องคนในแต่ละทอ้ งถ่ิน เป็ นมรดกของทอ้ งถ่ิน
และของชาติท่ีควรค่าแก่การอนุรกั ษไ์ วใ้ หค้ งอยตู่ ่อไป

ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding)

บทเพลงทอ้ งถิ่นสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงวถิ ีชีวิตความเป็ นอยขู่ องแตล่ ะทอ้ งถิ่น ซ่ึงเป็ นมรดกของทอ้ งถิ่นและ
ของชาตจิ ึงควรคา่ แก่การอนุรกั ษไ์ วใ้ หค้ งอยตู่ อ่ ไป

สาระการเรียนรู้

1. เพลงพน้ื บา้ นภาคเหนือ
2. เพลงพน้ื บา้ นภาคกลาง
3. เพลงพน้ื บา้ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
4. เพลงพ้นื บา้ นภาคใต้

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย

ตวั ช้ีวดั ที่ 7.3 อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. การเล่าถึงเพลงในทอ้ งถิ่น
2. การระบุเก่ียวกบั ส่ิงทีช่ ื่นชอบในบทเพลงและดนตรีทอ้ งถ่ิน

การประเมนิ ผล

1. การประเมนิ ผลตวั ชี้วัด
1.1 การเล่าถึงเพลงในทอ้ งถ่ิน

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32

เล่าถึงเพลงในทอ้ งถิ่น เล่าถึงเพลง เล่าถึงเพลง เล่าถึงเพลง เล่าถึงเพลง
ในทอ้ งถ่ินได้ ในทอ้ งถ่ินได้ ในทอ้ งถ่ินได้ ในทอ้ งถ่ินได้
สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้
ทก่ี าหนด และ ทีก่ าหนด และ ทกี่ าหนด ตามที่ ทีก่ าหนด ตามที่
แตกตา่ งจากทคี่ รู แตกตา่ งจากทค่ี รู ครูยกตวั อยา่ ง แต่ ครูยกตวั อยา่ ง
ยกตวั อยา่ ง มีการ ยกตวั อยา่ ง แต่ มีการดดั แปลงให้
เช่ือมโยงใหเ้ ห็น เช่ือมโยงใหเ้ ห็น แตกต่าง
ถึงความสมั พนั ธ์ เฉพาะตนเอง
กบั ตนเองและ
ผอู้ ่ืน

1.2 การระบุเกี่ยวกบั ส่ิงท่ีชื่นชอบในบทเพลงและดนตรีทอ้ งถ่ิน

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน

ระบสุ ่ิงที่ชื่นชอบ 4 321
ในดนตรีทอ้ งถิ่น
ระบุสิ่งทช่ี ่ืนชอบ ระบุสิ่งท่ีช่ืนชอบ ระบุส่ิงที่ชื่นชอบ ระบุสิ่งทีช่ ่ืนชอบ
ในดนตรีทอ้ งถ่ิน ในดนตรีทอ้ งถ่ิน ในดนตรีทอ้ งถิ่น ในดนตรีทอ้ งถิ่น
ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั
หวั ขอ้ ท่ีกาหนด หวั ขอ้ ท่กี าหนด หวั ขอ้ ทีก่ าหนด หวั ขอ้ ที่กาหนด
และแตกต่างจาก และแตกต่างจาก ตามท่ีครูยก ตามทคี่ รูยก
ท่ีครูยกตวั อยา่ ง ท่ีครูยกตวั อยา่ ง ตวั อยา่ งแตม่ ี ตวั อยา่ ง
มีการเชื่อมโยง แต่เช่ือมโยงให้ การดดั แปลง
ใหเ้ ห็นถึงความ เห็นเฉพาะตนเอง ใหแ้ ตกตา่ ง
สมั พนั ธก์ บั ตนเอง
และผอู้ ื่น

2. การประเมนิ ผลคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย

ตวั ช้ีวดั ท่ี 7.3 อนุรักษแ์ ละสืบทอดภมู ิปัญญาไทย

พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ยี่ยม (3)

7.3.1 นาภูมิปัญญาไทย ไม่สนใจ บอกช่ือภมู ิปัญญาไทย บอกช่ือภูมิปัญญาไทย บอกช่ือภูมิปัญญาไทย

มาใชใ้ หเ้ หมาะสม ภมู ิปัญญาไทย ทใี่ ชใ้ นทอ้ งถ่ิน ทีใ่ ชใ้ นทอ้ งถ่ินของตน ท่ีใชใ้ นทอ้ งถิ่นของตน

ในวถิ ีชีวติ ของตนได้ เขา้ ร่วมกิจกรรม เขา้ ร่วมและชกั ชวน

7.3.2 ร่วมกิจกรรม ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั คนในครอบครวั

ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ภูมิปัญญาไทย หรือเพอื่ นเขา้ ร่วม

ภูมิปัญญาไทย กิจกรรมท่เี กี่ยวขอ้ ง

7.3.3 แนะนา มีส่วนร่วม กบั ภมู ิปัญญาไทย

ในการสืบทอด

ภมู ิปัญญาไทย

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูและนักเรียนร่วมกนั สนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงพ้ืนบา้ นภูมิภาคต่าง ๆ ไดแ้ ก่
ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคใต้

2. ร่วมกนั สรุปความรู้เก่ียวกบั เพลงพ้นื บา้ นภมู ิภาคต่าง ๆ ลงในแผนภาพบนกระดาน
3. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกมานาเสนอผลงานเกี่ยวกบั เพลงพ้นื บา้ น
4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั บทเพลงในทอ้ งถิ่นของตนเอง
5. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกบั เพลงพ้ืนบา้ นในทอ้ งถิ่นตามหัวขอ้ ที่กาหนด และเขียนเก่ียวกบั
เพลงพ้นื บา้ นท่ตี นเองชอบ
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การแสดงบทเพลงพ้นื บา้ น และใหแ้ ต่ละกลุ่มทาการแสดงขบั รอ้ ง
และแสดงท่าทางประกอบเพลงพน้ื บา้ น ตามทไ่ี ดร้ บั ผดิ ชอบ
7. ใหน้ กั เรียนบนั ทึกผลการแสดงเพลงพ้นื บา้ นของตนเอง
8. ร่วมกนั เสนอแนวทางวธิ ีการอนุรักษบ์ ทเพลงพน้ื บา้ น
9. ร่วมกนั สนทนาและสรุปความรูเ้ ก่ียวกบั ประโยชนข์ องเพลงพ้นื บา้ น
10. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

- บทเพลงทอ้ งถิ่นสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงวถิ ีชีวติ ความเป็นอยขู่ องแตล่ ะทอ้ งถ่ิน ซ่ึงเป็ นมรดกของทอ้ งถิ่น
และของชาติ จึงควรคา่ แก่การอนุรักษไ์ วใ้ หค้ งอยตู่ อ่ ไป

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. เครื่องเล่นแถบบนั ทกึ เสียง
3. แถบบนั ทกึ เสียง
4. เกมจบั คูพ่ าเพลิน
5. การแสดงบทเพลงพ้นื บา้ น
6. แบบบนั ทึกผลการแสดงบทเพลงพ้นื บา้ น

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)


Click to View FlipBook Version