The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุฒิมา อิ่มอำไพ, 2022-09-14 08:57:41

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

แผนการสอน นาฎศิลป์ 65

2. ครูอธิบายเกี่ยวกบั โขนใหน้ กั เรียนฟังวา่ โขนคือนาฏศิลป์ ช้นั สูงของไทย เป็ นการแสดงท่าราทา่ เตน้
ออกท่าทางเขา้ กบั ดนตรี และผแู้ สดงจะตอ้ งสวมศีรษะโขนก่อนทาการแสดง ซ่ึงการแสดงโขนมีอยู่ 5 ประเภท
ไดแ้ ก่

1. โขนกลางแปลง คอื โขนทใี่ ชธ้ รรมชาตจิ ริงเป็นฉากในการแสดง
2. โขนนงั่ ราว คอื โขนท่ีนาไมก้ ระบอกพาดยาวเพอื่ ใหผ้ แู้ สดงนง่ั แทนเตียง
3. โขนฉาก คือ โขนทีม่ ีการเปล่ียนฉากไปตามการดาเนินเร่ือง
4. โขนหนา้ จอ คอื โขน ทีม่ ีการก้นั ฉากดว้ ยผา้ โปร่งสีขาวดา้ นซา้ ยของเวทเี ป็นภาพปราสาทราชวงั
5. โขนโรงใน คอื โขน ทมี่ ีการนาการขบั ร้องและการร่ายราของละครมาใชใ้ นการแสดง
เราชาวไทยทุกคนควรร่วมมือกันในการอนุรักษ์สืบสานมรดกทางนาฏศิลป์ ไทยน้ีให้คงอย่เู ป็ น
เอกลกั ษณ์ของสงั คมไทยตลอดไป
3. ครูใหน้ กั เรียนเล่นเกมจบั คูใ่ หห้ นูหน่อย โดยมีวธิ ีการเล่นและข้นั ตอนการเล่น ดงั น้ี
- ครูนาบตั รคาและแถบประโยคต่อไปน้ีมาตดิ ไวบ้ นกระดานแลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ
จากน้นั ควา่ บตั รคาและสลบั ใหเ้ รียบร้อย

โขนกลางแปลง นาการขบั ร้องและการร่ายราของละครมาใชใ้ นการแสดง

โขนนง่ั ราว เปลี่ยนฉากไปตามการดาเนินเรื่อง

โขนโรงใน ใชธ้ รรมชาติจริงเป็นฉากในการแสดง

โขนหนา้ จอ นาไมก้ ระบอกพาดยาวเพอ่ื ใหผ้ แู้ สดงนงั่ แทนเตียง

โขนฉาก ก้นั ฉากดว้ ยผา้ โปร่งสีขาวดา้ นซา้ ยของเวทีเป็ นภาพปราสาทราชวงั

- ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละเท่า ๆ กนั
- ครูแจกป้ายวงกลมสีแดง สีเขียว สีเหลือง สีชมพู และสีฟ้า ใหแ้ ต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 สี
- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั รอ้ งเพลงที่ทกุ คนร้องได้ จากน้นั ครูเป่ านกหวดี ใหส้ ญั ญาณหยดุ
- ครูออกคาสง่ั ยกป้าย “กลุ่มใดยกป้ายก่อนใหอ้ อกมาพลิกบตั รคาและแถบประโยคที่ควา่ ไว้ หาก
พลิกออกมาแลว้ เป็นคู่กนั จะได้ 1 คะแนน หากพลิกออกมาไม่ใช่คู่กนั ใหก้ ลุ่มอ่ืน ๆ เล่นเกมตอ่ ไป” โดยทกุ คร้ัง
ทพ่ี ลิกบตั รคา และแถบประโยคใหท้ ุกคนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
- กลุ่มใดไดค้ ะแนนมากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ
จากน้นั ครูนาบตั รคาและแถบประโยคมาเขยี นสรุปเป็นแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั แนวทางการอนุรักษโ์ ขนโดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- ถา้ นกั เรียนไดแ้ สดงโขนจะเลือกแสดงเป็ นตวั ละครใด (ตัวอย่างคาตอบ เลือกแสดงเป็ นหนุมาน

เพราะเป็ นผู้มคี วามสามารถและมเี คร่ืองแต่งกายสวยงาม)
- การเล่นโขนมีความสาคญั ตอ่ สงั คมไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้สังคมไทยมีเอกลกั ษณ์ทาง

ศิลปะการแสดงทโ่ี ดดเด่นเป็ นทช่ี ื่นชมของผู้ทีพ่ บเห็น)
- นักเรียนจะมีแนวทางในการร่วมอนุรักษ์และสืบสานการเล่นโขนได้อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ

ศึกษาเก่ยี วกบั เร่ืองโขนและนาไปเผยแพร่ เรียนเก่ียวกับการแสดงโขน)
5. ครูอธิบายเพมิ่ เติมความรู้เก่ียวกบั อาเซียน ดงั น้ี

รามเกียรต์ิ เป็ นมรดกร่วมทางวฒั นธรรมของอาเซียนที่ไดร้ ับอิทธิพลมาจากอินเดีย จนกลายเป็ น
วรรณคดีประจาชาตขิ องหลายประเทศในอาเซียน เช่น ลาว พม่า กมั พชู า มาเลเซีย อินโดนีเซีย

6. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- โขนเป็นนาฏศิลป์ ช้นั สูงของไทย เป็นการแสดงท่ารา ท่าเตน้ ออกท่าทางเขา้ กบั ดนตรี โดยผแู้ สดง

จะตอ้ งสวมศีรษะโขน และเป็นมรดกทางนาฏศิลป์ ไทยทคี่ วรคา่ แก่การอนุรกั ษไ์ วใ้ หค้ งอยคู่ ู่สงั คมไทยตลอดไป
7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การแสดงโขนมีประโยชน์ต่อนาฏศลิ ป์ ไทยอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นอยา่ งมีอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. เกมจบั คูใ่ หห้ นูหน่อย
3. แถบประโยค
4. ป้ายวงกลมสีแดง สีเขียว สีเหลือง สีชมพู และสีฟ้า

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนวาดภาพตวั ละครของการแสดงโขนเร่ืองรามเกียรต์ิท่ีตนเองชอบ พร้อมท้งั ระบายสีให้
สวยงาม แลว้ ครูคดั เลือกผแู้ ทนนกั เรียนท่ีมีผลงานการวาดภาพที่สวยงามจานวน 10 คน ออกมานาเสนอผลงาน
ของตนเองทห่ี นา้ ช้นั เรียน จากน้นั ครูนาผลงานดงั กล่าวไปจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน



แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
\

ปัญหา/อุปสรรค

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………....................

แนวทางการแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน

……………/………………../…..

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 15

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การแสดงนาฏศิลป์ ไทย เร่ืองการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย(ละคร)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/3 บอกสิ่งท่ตี นเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศลิ ป์

ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วัด
ศ 3.2 ป.1/2 บอกส่ิงท่ตี นเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายเก่ียวกบั ละคร (K)
2. แสดงละครตามเร่ืองทแ่ี ต่งข้นึ เอง (P)
3. ชื่นชมการแสดงนาฏศิลป์ ไทย (A)

สาระสาคญั

ละครเป็ นการแสดงท่ีผกู เป็ นเรื่องราว และสร้างสรรคเ์ พื่อความสนุกสนานตามธรรมชาติ วฒั นธรรม
และสงั คม และเป็ นการแสดงท่สี ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงแงค่ ิดทีผ่ ชู้ มควรพจิ ารณาและนาไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

สาระการเรียนรู้

ละคร

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคดิ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ เกี่ยวกบั ละคร

คาถามท้าทาย

- การดูละครเป็นประจามีผลตอ่ การดาเนินชีวติ ของคนเราอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา ละคร มาตดิ ไวบ้ นกระดาน แลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ และใชค้ าถาม
เพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยดูละครหรือไม่ อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ เคยดู โดยเคยดูในโทรทศั น์)
- เม่ือไดด้ ูละครแลว้ นกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ สนุกสนานเพลิดเพลิน)
- นกั เรียนอยากเป็ นเหมือนตวั ละครใด เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ อยากเป็ นพระสังข์ จากเร่ือง
สังข์ทอง เพราะมีอิทธิฤทธ์ิเก่งกล้า)
2. ครูอธิบายเก่ียวกบั ละครให้นักเรียนฟังว่า ละครเป็ นการแสดงท่ีผูกเร่ืองราวสร้างสรรค์เพ่ือความ
สนุกสนานตามธรรมชาติ วฒั นธรรม สังคม และใหแ้ ง่คิดท่ีผชู้ มสามารถนาไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้
เร่ืองราวท่ีนิยมนามาจดั แสดงละคร เช่น สังขท์ อง อิเหนา ไกรทอง ขุนชา้ งขุนแผน จากน้ันครูและนักเรียน
นาขอ้ มูลดงั กล่าวมาเขียนสรุปลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

3. ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มแต่งบทละครส้นั ๆ ที่แฝงแง่คิด
ให้ผชู้ มแลว้ ฝึกแสดงละครตามเรื่องที่แต่งข้ึนจนชานาญ แล้วใหแ้ ต่ละกลุ่มออกมาทาการแสดงละครดงั กล่าว
กลุ่มละประมาณ 5-7 นาที ทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม โดยเม่ือแตล่ ะกลุ่มแสดงละครจบ ใหเ้ พอื่ นและครูคอยให้
คาแนะนาเพ่ิมเติม และกล่าวคาชื่นชมเม่ือนกั เรียนสามารถแสดงละครไดด้ ี เพ่อื เป็ นกาลงั ใจ และเป็ นแนวทาง
ในการปรบั ปรุงผลงานการแสดงละครของกลุ่มน้นั ๆ ใหด้ ีข้ึนในโอกาสตอ่ ไป

4. ครูคัดเลือกผูแ้ ทนนักเรียนจานวน 5 คน ออกมาเล่าการแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่ตนเองชื่นชอบ
1 การแสดงพร้อมท้งั อธิบายเหตุผลท่ีชอบทีละคนจนครบทุกคน จากน้ันครูใชค้ าถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกนั
แสดงความคดิ เห็น ดงั น้ี

- นักเรียนชอบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยเหมือนผูแ้ ทนนักเรียนท้ัง 5 คนหรือไม่ (ชอบ/ไม่ชอบ,

เหมือน/ไม่เหมือน)
- ถ้านักเรียนไม่ชอบเหมือนผูแ้ ทนนักเรียนท้งั 5 คน นักเรียนชอบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยแบบใด

(ตัวอย่างคาตอบ ลิเก เซิ้งกระติบข้าว)
- เพราะเหตุใดนักเรียนจึงชอบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยดังกล่าว (ตัวอย่างคาตอบ เพราะเป็ น

การแสดงที่สนุกสนาน มกี ารแต่งกายทสี่ วยงาม)
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกบั แนวทางการอนุรักษล์ ะครให้อย่คู ู่สังคมไทย โดยครูใช้

คาถาม ดงั น้ี
- การแสดงละครตามนิทานพ้ืนบา้ นของไทยมีความสาคญั ต่อสังคมไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ

ทาให้สังคมไทยมีเอกลกั ษณ์ด้านการแสดงท่ีน่าช่ืนชม)
- นกั เรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์การแสดงละครได้อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษาค้นคว้า

เพ่ิมเติมเก่ียวกบั ละคร ฝึ กการแสดงละครท่ชี ื่นชอบ)
6. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- ละครเป็ นการแสดงที่ผกู เป็ นเรื่องราวและสร้างสรรคเ์ พือ่ ความสนุกสนานตามธรรมชาติ วฒั นธรรม

สงั คม และเป็นการแสดงทีส่ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงแง่คดิ ท่ผี ชู้ มควรพจิ ารณาและนาไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
7. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การดูละครเป็นประจามีผลตอ่ การดาเนินชีวติ ของคนเราอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. บทละครท่นี กั เรียนแตง่ ข้ึนเอง
3. การแสดงละคร

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 3 กลุ่ม ๆ ละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาเก่ียวกบั ละครที่กลุ่ม
ตนเองสนใจกลุ่มละ 1 เร่ือง จากน้ันนาขอ้ มูลทีไ่ ดม้ าจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียนเป็ นการเผยแพร่ละครเร่ืองน้ัน ๆ
ใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ ับรูแ้ ละศกึ ษาเพมิ่ เติม

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินกิจกรรมน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เรื่อง บอกส่ิงท่ีตนเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

ตัวชี้วัด บอกส่ิงทต่ี นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย (ศ 3.2 ป.1/2)

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคะแนน

บอกสิ่งทีต่ นเองชอบใน 4321
การแสดงนาฏศิลป์ ไทย
บอกส่ิงทีต่ นเอง บอกสิ่งทต่ี นเอง บอกสิ่งท่ีตนเอง บอกส่ิงที่ตนเอง
ชอบในการแสดง ชอบในการแสดง ชอบในการแสดง ชอบในการแสดง
นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศลิ ป์ ไทยได้ นาฏศิลป์ ไทยได้
สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้
ที่กาหนดและ ทก่ี าหนดและ ท่ีกาหนด ตามท่ีครู ท่กี าหนด ตามที่ครู
แตกต่างจากท่คี รู แตกต่างจากทีค่ รู ยกตวั อยา่ ง แต่มี ยกตวั อยา่ ง
ยกตวั อยา่ ง มีการ ยกตวั อยา่ ง แต่ การดดั แปลงให้
เชื่อมโยงใหเ้ ห็นถึง เชื่อมโยงให้เห็น แตกต่าง
ความสมั พนั ธก์ บั เฉพาะตนเอง
ตนเองและผอู้ ่ืน

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………................
.

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……..
ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 การแสดงนาฏศลิ ป์ เร่ืองการเป็นผชู้ มทด่ี ี

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วัด
ศ 3.1 ป.1/3 บอกสิ่งทีต่ นเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศลิ ป์

ทีเ่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วดั
ศ 3.2 ป.1/2 บอกสิ่งทตี่ นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายเกี่ยวกบั การเป็ นผชู้ มท่ีดี (K)
2. จาแนกลกั ษณะของการเป็นผชู้ มที่ดี (P)
3. ช่ืนชมการปฏบิ ตั เิ ป็นผชู้ มท่ีดี (A)

สาระสาคญั

การมีมารยาทท่ีดีในการชมการแสดงจะส่งผลให้ผแู้ สดงมีสมาธิในการแสดงและผชู้ มการแสดงคนอื่น
ไดร้ บั ความสุข และความสนุกสนานอยา่ งเตม็ ท่ี

สาระการเรียนรู้

การเป็นผชู้ มทด่ี ี

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

- แผนภาพความคดิ เกี่ยวกบั การเป็นผชู้ มทด่ี ี

คาถามท้าทาย

- การมีมารยาทในการชมการแสดงท่ีดีส่งผลต่อบรรยากาศในการชมการแสดงอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูและนักเรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั ประสบการณ์การปฏิบตั ิตนเม่ือชมการแสดงของนักเรียน
โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยชมการแสดงตา่ ง ๆ หรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- ขณะชมการแสดง นกั เรียนจะปฏิบตั ติ นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ น่ังชมการแสดงอย่างสงบ)
- นักเรียนรู้สึกอยา่ งไรถา้ ผูท้ ่ีนั่งชมการแสดงขา้ งนักเรียนวจิ ารณ์การแสดงอยตู่ ลอดเวลาที่นั่งชม
การแสดงน้นั ๆ (ตัวอย่างคาตอบ ราคาญ)
2. ครูคดั เลือกผแู้ ทนนักเรียนท่ีมีประสบการณ์เกี่ยวกบั การแสดงต่าง ๆ มา 2 คน แลว้ ใหผ้ แู้ ทนนกั เรียน
ออกมาเล่าประสบการณ์เก่ียวกบั การเป็ นผชู้ มทด่ี ีและไม่ดีของตนเอง พรอ้ มท้งั ผลทเ่ี กิดข้ึนตอ่ ผชู้ มการแสดงและ
ผแู้ สดงใหค้ รูและเพอื่ น ๆ ฟัง โดยครูและเพอ่ื น ๆ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประสบการณ์ดงั กล่าวทีละ
คนจนครบท้งั สองคน

3. ครูอธิบายเก่ียวกับการปฏิบตั ิตนเป็ นผูช้ มที่ดีให้นักเรียนฟังดังน้ี “เมื่อเราเขา้ ชมการแสดงต่าง ๆ
จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตนเป็นผูช้ มที่ดีโดยไม่พดู เสียงดงั หรือใชโ้ ทรศพั ทร์ บกวนผูอ้ ื่น ไม่เดินไปมาขณะผแู้ สดงกาลงั ทา
การแสดง ชมการแสดงดว้ ยความต้งั ใจ ไม่หยอกลอ้ กนั และแต่งกายดว้ ยความสุภาพ การมีมารยาทท่ีดีในการ
ชมการแสดงจะส่งผลให้ผูแ้ สดงมีสมาธิในการแสดงและผชู้ มการแสดงคนอ่ืนไดร้ ับความสุข ความสนุกสนาน
อยา่ งเตม็ ท่ี”

4. ครูนาภาพที่ผชู้ มน่งั คุยกนั ขณะชมการแสดงมาให้นักเรียนดู แลว้ ใชค้ าถามเพ่อื ใหน้ ักเรียนร่วมกัน
สนทนา ดงั น้ี

- คนที่น่ังชมการแสดงมีการกระทาท่ีไม่เหมาะสมอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ นั่งคุยกันขณะชม
การแสดง)

- ถา้ นกั เรียนน่งั ชมการแสดงกบั คนที่กระทาไม่เหมาะสมจะรูส้ ึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ราคาญ
ไม่พอใจ)

- ถา้ นกั เรียนไปชมการแสดงจะปฏิบตั ติ นอยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ไม่คุยกนั ขณะชมการแสดง)
- การเป็ นผมู้ ีมารยาทที่ดีในการชมการแสดงมีผลดีอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ไม่เป็ นที่ราคาญของ
ผู้อ่ืน)
5. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละเท่า ๆ กนั แลว้ ให้นกั เรียนเล่นเกมมารยาทดีมีคนรกั โดยมี
วธิ ีการเล่นเกมตามข้นั ตอน ดงั น้ี
- ครูนาแถบประโยคต่อไปน้ีมาติดไวบ้ นกระดาน แลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ

รับประทานขนมขบเค้ียวในขณะชมการแสดง

ไม่หยอกลอ้ กบั เพอื่ นหรือพดู คุยเสียงดงั

ไม่เดินไปมาขณะชมการแสดง

คุยโทรศพั ทต์ ลอดการชมการแสดง

สวมกระโปรงส้นั ไปชมการแสดง

ชมการแสดงดว้ ยความต้งั ใจ

แตง่ กายดว้ ยความสุภาพเรียบร้อย

ไปก่อนเวลาการแสดงเริ่ม

- ครูแจกป้ายวงกลมสีแดงและสีเขียว ซ่ึงมีความหมายดงั น้ี
๐ สีแดงใหย้ กข้ึนเม่ือตอ้ งการตอบวา่ เป็นการกระทาของผชู้ มทไ่ี ม่มีมารยาทในการชมการแสดง
๐ สีเขยี วใหย้ กข้นึ เมื่อตอ้ งการตอบวา่ เป็นการกระทาของผชู้ มที่มีมารยาทในการชมการแสดงทด่ี ี

- ครูอ่านแถบประโยคบนกระดานทีละประโยค เมื่ออ่านจบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มยกป้ายวงกลม
ตอบคาถาม กลุ่มใดตอบถูกได้ 1 คะแนน กลุ่มใดไดค้ ะแนนมากทส่ี ุด เป็ นฝ่ายชนะ

จากน้ันครูนาแถบประโยคดังกล่าวมาเขียนสรุปลงในแผนภาพการเป็ นผูช้ มท่ีดีบนกระดาน
ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

6. ให้นักเรียนวาดภาพการแต่งกายที่เหมาะสมกบั การไปชมการแสดงตามเพศของตนเอง พร้อมท้งั
ระบายสีให้สวยงาม แลว้ ครูคดั เลือกผแู้ ทนนักเรียนจานวน 5 คนออกมานาเสนอผลงานของตนเองให้ครูและ
เพอื่ น ๆ ดูและฟังทลี ะคนจนครบทกุ คน

7. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การมีมารยาทท่ีดีในการชมการแสดงจะส่งผลให้ผแู้ สดงมีสมาธิในการแสดงและผชู้ มการแสดงคนอ่ืน

ไดร้ บั ความสุข และความสนุกสนานอยา่ งเตม็ ท่ี
8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การมีมารยาทในการชมการแสดงทีด่ ีส่งผลต่อบรรยากาศในการชมการแสดงอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ประสบการณ์การชมการแสดงอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. ประสบการณ์การชมการแสดงของนกั เรียน
2. ภาพท่ีผูช้ มนงั่ คุยกนั ขณะชมการแสดง
3. เกมมารยาทดีมีคนรัก
4. แถบประโยค
5. ป้ายวงกลมสีแดงกบั สีเขียว

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เคร่ืองมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมนิ
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนจดั ป้ายนิเทศผลงานการวาดภาพการแตง่ กายที่เหมาะสมเมื่อไปชมการแสดง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินกิจกรรมน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เรื่อง บอกส่ิงท่ตี นเองชอบจากการดูหรือร่วมการแสดง

ตัวชี้วัด บอกสิ่งทต่ี นเองชอบจากการดูหรือร่วมการแสดง (ศ 3.1 ป.1/3)

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน

บอกสิ่งทตี่ นเองชอบ 432 1
จากการดูหรือร่วม
การแสดง บอกสิ่งทีต่ นเอง บอกส่ิงที่ตนเอง บอกส่ิงท่ตี นเอง บอกส่ิงที่ตนเอง
ชอบจากการดู ชอบจากการดู ชอบจากการดู ชอบจากการดู
หรือร่วมการแสดง หรือร่วมการแสดง หรือร่วมการแสดง หรือร่วมการแสดง
ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั ไดส้ มั พนั ธก์ บั
หวั ขอ้ ที่กาหนด หวั ขอ้ ที่กาหนด หวั ขอ้ ทีก่ าหนด หวั ขอ้ ที่กาหนด
และแตกต่างจากท่ี และแตกต่างจากท่ี ตามท่คี รูยกตวั อยา่ ง ตามทีค่ รูยกตวั อยา่ ง
ครูยกตวั อยา่ งมีการ ครูยกตวั อยา่ ง แต่ แตม่ ีการดดั แปลง
เชื่อมโยงใหเ้ ห็นถึง เชื่อมโยงใหเ้ ห็น ใหแ้ ตกตา่ ง
ความสมั พนั ธก์ บั เฉพาะตนเอง
ตนเองและผอู้ ่ืน

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงช่ือ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 17

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การแสดงนาฏศิลป์ เรื่องการเป็ นผชู้ มที่ดี

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่านาฏศลิ ป์

ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั
ตวั ชี้วดั
ศ 3.1 ป.1/3 บอกสิ่งท่ีตนเองชอบจากการดูหรือร่วมแสดง
มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศลิ ป์

ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วดั
ศ 3.2 ป.1/2 บอกสิ่งทีต่ นเองชอบในการแสดงนาฏศลิ ป์ ไทย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. ระบุเกี่ยวกบั การเป็นผชู้ มที่ดี (K)
2. ปฏิบตั ติ นเป็นผชู้ มท่ีดี (P)
3. ชื่นชมการปฏิบตั ิเป็นผชู้ มท่ีดี (A)

สาระสาคญั

การมีมารยาทท่ีดีในการชมการแสดงจะส่งผลใหผ้ ูแ้ สดงมีสมาธิในการแสดงและผชู้ มการแสดงคนอ่ืน
ไดร้ ับความสุข และความสนุกสนานอยา่ งเตม็ ท่ี

สาระการเรียนรู้

การเป็นผชู้ มท่ีดี

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. แบบบนั ทึกผลการปฏบิ ตั ติ นเป็นผชู้ มทีด่ ี
2. แผนภาพความคดิ มารยาทในการเป็นผชู้ มทด่ี ี

คาถามท้าทาย

- การเป็นผชู้ มทด่ี ีส่งผลตอ่ สมั พนั ธภาพระหวา่ งผชู้ มกบั ผแู้ สดงอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั สถานการณ์การเป็นผชู้ มการแสดง โดยครูเล่าสถานการณ์ให้
นกั เรียนฟังและใชค้ าถามเพอื่ สนทนา ดงั น้ี

สถานการณ์ท่ี 1
สาวิกาวิจารณก์ ารแสดงของผแู้ สดงตลอดเวลาการชมการแสดง

- การแสดงออกของสาวกิ าเหมาะสมหรือไม่ เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ไม่เหมาะสม
เพราะทาให้ผู้แสดง และผู้ชมคนอื่น ๆ เสียสมาธิ)

สถานการณ์ที่ 2
เขมนิจไปชมการแสดงก่อนเวลาเริ่มการแสดง

- การแสดงออกของเขมนิจเหมาะสมหรือไม่ เพราะอะไร (ตัวย่างคาตอบ เหมาะสม เพราะจะได้
เตรียมความพร้อมในการชมการแสดง)

สถานการณ์ที่ 3
พชั ราภาพูดคุยกบั เพือ่ นในการชมการแสดงเป็นบางคร้ัง

- การแสดงออกของพชั ราภาเหมาะสมหรือไม่ เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ ไม่เหมาะสม เพราะ
เป็ นการรบกวนสมาธิของผู้ชมท่านอื่น)

สถานการณ์ที่ 4
ชนะพลสวมกางเกงขายาว เส้ือเช้ิตไปชมการแสดง

- การแสดงออกของชนะพลเหมาะสมหรือไม่ เพราะอะไร (ตัวอย่างคาตอบ เหมาะสม เพราะเป็ น
การแต่งกายสุภาพ เป็ นการให้เกียรตติ ่อสถานทีแ่ ละผู้แสดง)

จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนเลือกนาสถานการณ์ที่เหมาะสมไปปรับใชก้ บั การเป็นผชู้ มทดี่ ีของตนเอง
2. ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม แลว้ ให้แต่ละกลุ่มร่วมกนั เตรียมการแสดงบทบาทสมมุติ
เก่ียวกบั การเป็ นผชู้ มท่ีดี แลว้ ออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน โดยใหเ้ พ่อื นกลุ่มที่เหลือไดป้ ฏิบตั ิตนเป็ นผชู้ มและ
บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ิตนในการเป็นผชู้ มตามแบบบนั ทกึ ผลน้ีดว้ ยความซื่อสตั ยส์ ุจริต

แบบบนั ทึกผลการปฏิบัตติ นเป็ นผู้ชมท่ดี ี

3. ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 5 คน แลว้ ให้แตล่ ะกลุ่มเลือกมารยาทในการเป็ นผูช้ มท่ดี ีมา
1 ขอ้ ไม่ซ้ากนั และร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ผลที่เกิดข้ึนต่อผชู้ มการแสดงและผลที่เกิดข้ึนต่อผแู้ สดง
จากมารยาทขอ้ ดงั กล่าว เม่ือไดข้ อ้ สรุปร่วมกนั แลว้ ใหน้ ามาเขยี นสรุปลงในแผนภาพดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มส่งผแู้ ทนออกมานาเสนอทีห่ นา้ ช้นั เรียนใหค้ รูและเพอื่ น ๆ ฟังและดู พรอ้ มท้งั
ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลจนครบทุกกลุ่ม

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประโยชนข์ องการเป็ นผชู้ มที่ดีทม่ี ีต่อตนเองและ
ผอู้ ่ืน โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี

- การเป็นผมู้ ีมารยาทในการชมการแสดงทีด่ ีก่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเองอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ
ได้ชมการแสดงด้วยความสนุกสนานและมีความสุข)

- การเป็ นผูม้ ีมารยาทในการชมการแสดงที่ดีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผูอ้ ่ืนอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ
ทาให้ผู้อ่ืนชมการแสดงอย่างมคี วามสุข)

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การมีมารยาททดี่ ีในการชมการแสดงจะส่งผลใหผ้ แู้ สดงมีสมาธิในการแสดง และผชู้ มการแสดง

คนอ่ืนไดร้ บั ความสุขและความสนุกสนานอยา่ งเตม็ ที่
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การเป็นผชู้ มทีด่ ีส่งผลตอ่ สมั พนั ธภาพระหวา่ งผชู้ มกบั ผแู้ สดงอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. สถานการณ์การเป็นผชู้ มการแสดง
2. การแสดงบทบาทสมมุติ
3. แบบบนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ติ นการเป็นผชู้ มทีด่ ี

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วธิ ีการวัดและประเมินผล
1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อิ่มอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…….

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………



หน่วยการเรียนรู้ที่ 8

สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ รหสั วิชา ศ 11101
ปี การศกึ ษา 2565
ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 4 ชวั่ โมง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่องการละเล่นของไทย

ครูผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ

นาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วดั
ศ 3.2 ป.1/1 ระบุและเล่นการละเล่นของเดก็ ไทย

สาระสาคญั

การละเล่นของเด็กไทยมีความสนุกสนานและมีประโยชน์ ดงั น้นั ควรร่วมมือกนั อนุรักษก์ ารละเล่นของ
เดก็ ไทยใหค้ งอยสู่ ืบไป

ความเข้าใจทคี่ งทน (Enduring Understanding)

การละเล่นของเด็กไทย เป็ นการละเล่นที่สนุกสนาน เป็ นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติที่ควรอนุรักษ์
ใหค้ งอยสู่ ืบไป

สาระการเรียนรู้

การละเล่นของเดก็ ไทย : งูกินหาง รีรีขา้ วสาร มอญซ่อนผา้

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.3 อนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมิปัญญาไทย

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคิด

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. การบนั ทึกผลการละเล่นของเดก็ ไทย : งกู ินหาง
2. การบนั ทกึ ผลการละเล่นของเด็กไทย : รีรีขา้ วสาร
3. การบนั ทึกผลการละเล่นของเด็กไทย : มอญซ่อนผา้

การประเมนิ ผล

1. การประเมนิ ผลตัวชี้วดั

1.1 การบนั ทกึ ผลการละเล่นของเดก็ ไทย : งกู ินหาง

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32
เล่นการละเล่น
เล่นการละเล่นงูกนิ หาง เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น งูกินหางไดแ้ ต่
ไม่ถูกตอ้ งตามกติกา
งกู ินหางไดต้ าม งกู ินหางไดต้ าม งูกินหางไดต้ าม

กตกิ าและแนะนา กติกาและมี กตกิ า

ใหผ้ อู้ ื่นเล่นได้ เทคนิคการเล่น

ของตนเอง

1.2 การบนั ทึกผลการละเล่นของเดก็ ไทย : รีรีขา้ วสาร

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32
เล่นการละเล่น
เล่นการละเล่นรีรีขา้ วสาร เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น รีรีขา้ วสารไดแ้ ต่
ไม่ถกู ตอ้ งตาม
รีรีขา้ วสารได้ รีรีขา้ วสารได้ รีรีขา้ วสารได้ กติกา

ตามกติกาและ ตามกติกาและมี ตามกตกิ า

แนะนาใหผ้ อู้ ่ืน เทคนิคการเล่น

เล่นได้ ของตนเอง

1.3 การบนั ทึกผลการละเล่นของเด็กไทย : มอญซ่อนผา้

เกณฑ์การประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32
เล่นการละเล่น
เล่นการละเล่นมอญซ่อนผา้ เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น มอญซ่อนผา้ ได้
มอญซ่อนผา้ ได้ มอญซ่อนผา้ ได้ มอญซ่อนผา้ ได้ แต่ไม่ถูกตอ้ ง
ตามกตกิ าและ ตามกติกาและมี ตามกติกา ตามกตกิ า
แนะนาใหผ้ อู้ ื่น เทคนิคการเล่น
เล่นได้ ของตนเอง

2. การประเมนิ ผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รักความเป็ นไทย

ตวั ช้ีวดั ที่ 7.3 อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดภมู ิปัญญาไทย

พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ยี่ยม (3)

7.3.1 นาภูมิปัญญาไทย ไม่สนใจ บอกชื่อภูมิปัญญาไทย บอกชื่อภมู ิปัญญาไทย บอกช่ือภูมิปัญญาไทย

มาใชใ้ หเ้ หมาะสม ภมู ิปัญญาไทย ทใี่ ชใ้ นทอ้ งถิ่น ทีใ่ ชใ้ นทอ้ งถ่ินของตน ท่ใี ชใ้ นทอ้ งถ่ินของตน

ในวถิ ีชีวติ ของตนได้ เขา้ ร่วมกิจกรรม เขา้ ร่วมและชกั ชวน

7.3.2 ร่วมกิจกรรม ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั คนในครอบครัว

ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ภมู ิปัญญาไทย หรือเพอ่ื นเขา้ ร่วม

ภูมิปัญญาไทย กิจกรรมท่เี กี่ยวขอ้ ง

7.3.3 แนะนา มีส่วนร่วม กบั ภูมิปัญญาไทย

ในการสืบทอด

ภมู ิปัญญาไทย

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั การละเล่นของเด็กไทย
2. ใหน้ กั เรียนฝึกเล่นงกู ินหาง แลว้ บนั ทกึ ผลลงในแบบบนั ทึกการละเล่นของเดก็ ไทย
3. ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั การละเล่นรีรีขา้ วสารแลว้ ฝึกเล่น และบนั ทึกผลลงใน
แบบบนั ทกึ การละเล่นรีรีขา้ วสาร
4. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การละเล่นมอญซ่อนผา้ แลว้ ฝึ กเล่น และบนั ทกึ ลงในแบบบนั ทึก
การละเล่นมอญซ่อนผา้

5. ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษ์การละเล่นของเด็กไทย และสรุปความรู้เก่ียวกับ
การละเล่นของเดก็ ไทย

6. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- การละเล่นของเด็กไทย เป็ นการละเล่นท่ีสนุกสนาน เป็ นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติที่ควร

อนุรกั ษใ์ หค้ งอยสู่ ืบไป

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แผนภมู ิเพลงประกอบการละเล่นงกู นิ หาง
3. แผนภูมิเพลงประกอบการละเล่นรีรีขา้ วสาร
4. แผนภูมิเพลงประกอบการละเล่นมอญซ่อนผา้
5. แบบบนั ทึกการละเล่นงกู ินหาง
6. แบบบนั ทกึ การละเล่นรีรีขา้ วสาร
7. แบบบนั ทกึ การละเล่นมอญซ่อนผา้

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

ช่ือ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขที่______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบทถ่ี ูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง)
1. การละเล่นของไทยมีประโยชน์ต่อร่างกายอยา่ งไร

1 ร่างกายซูบผอม เคลื่อนไหวเชื่องชา้
2 ร่างกายแขง็ แรง เคล่ือนไหวคลอ่ งแคล่ว
3 ร่างกายอ่อนแอ เคลื่อนไหวเช่ืองชา้

2. การละเล่นมอญซ่อนผา้ ผทู้ ี่เป็นมอญตอ้ งทาอยา่ งไร
1 นาผา้ ไปซ่อนขา้ งหลงั ผเู้ ล่น
2 นาผา้ ไล่ตีผเู้ ล่นทกุ คน
3 นาผา้ ไปวางท่ีตกั ผเู้ ล่น

3. “กินน้าบอ่ หิน” จากประโยคลูกงูจะตอ้ งตอบรบั แม่งอู ยา่ งไร
1 โยกไปก็โยกมา
2 ยา้ ยไปกย็ า้ ยมา
3 บินไปก็บนิ มา

4. การละเล่นใดเคลื่อนไหวร่างกายนอ้ ยท่ีสุด
1 หมากเกบ็
2 มอญซ่อนผา้
3 งูกินหาง

5. การร้องเพลงประกอบการละเลน่ มีประโยชนอ์ ยา่ งไร
1 ทาใหเ้ กิดความเรียบรอ้ ย
2 ทาใหเ้ กิดเสียงดงั
3 ทาใหเ้ กิดความสนุกสนาน

6. สิ่งใดใชป้ ระกอบการละเล่นมอญซ่อนผา้
1 กอ้ นหิน
2 ผา้
3 เชือก

7. ขอ้ ใดไม่ใช่การละเล่นของเด็กไทย
1 ฟตุ บอล
2 รีรีขา้ วสาร
3 จ้าจ้ี

8. การละเล่นใดไม่มเี พลงประกอบ
1 ชกั เยอ่
2 มอญซ่อนผา้
3 งูกินหาง

9. การละเล่นใดทมี่ ีผเู้ ล่นที่เป็นประตูซุม้
1 มอญซ่อนผา้
2 งูกินหาง
3 รีรีขา้ วสาร

10. ในการเล่นงกู ินหาง ผเู้ ล่นฝ่ ายใดมีจานวนมากทส่ี ุด
1 แม่งู
2 ลูกงู
3 พอ่ งู

แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)

ชื่อ ______________________ นามสกลุ _______________ เลขท่ี______ ช้นั _______ ได.้ .....................คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ให้ระบายคาตอบท่ถี ูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เตม็ วง (ห้ามระบายนอกวง)
1. การละเล่นใดไม่มีเพลงประกอบ

1 งกู ินหาง
2 ชกั เยอ่
3 มอญซ่อนผา้

2. ขอ้ ใดไม่ใช่การละเล่นของเด็กไทย
1 จ้าจ้ี
2 ฟุตบอล
3 รีรีขา้ วสาร

3. ในการเล่นงูกินหาง ผเู้ ล่นฝ่ายใดมีจานวนมากทสี่ ุด
1 พอ่ งู
2 แม่งู
3 ลูกงู

4. การละเล่นใดที่มีผเู้ ล่นที่เป็นประตซู ุม้
1 งูกินหาง
2 รีรีขา้ วสาร
3 มอญซ่อนผา้

5. สิ่งใดใชป้ ระกอบการละเล่นมอญซ่อนผา้
1 ผา้
2 เชือก
3 กอ้ นหิน

6. การละเล่นมอญซ่อนผา้ ผทู้ ่ีเป็นมอญตอ้ งทาอยา่ งไร
1 นาผา้ ไล่ตีผเู้ ล่นทุกคน
2 นาผา้ ไปวางท่ีตกั ผเู้ ล่น
3 นาผา้ ไปซ่อนขา้ งหลงั ผเู้ ล่น

7. การละเล่นใดเคล่ือนไหวร่างกายนอ้ ยท่สี ุด
1 งกู ินหาง
2 หมากเก็บ
3 มอญซ่อนผา้

8. “กินน้าบ่อหิน” จากประโยคลูกงูจะตอ้ งตอบรับแม่งอู ยา่ งไร
1 บินไปกบ็ ินมา
2 โยกไปกโ็ ยกมา
3 ยา้ ยไปกย็ า้ ยมา

9. การร้องเพลงประกอบการละเล่นมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
1 ทาใหเ้ กิดความสนุกสนาน
2 ทาใหเ้ กิดความเรียบร้อย
3 ทาใหเ้ กิดเสียงดงั

10. การละเล่นของไทยมีประโยชนต์ อ่ ร่างกายอยา่ งไร
1 ร่างกายอ่อนแอ เคลื่อนไหวเช่ืองชา้
2 ร่างกายซูบผอม เคล่ือนไหวเช่ืองชา้
3 ร่างกายแขง็ แรง เคลื่อนไหวคล่องแคล่ว

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)

1. 2 2. 1 3. 3 4. 1 5. 1
6. 2 7. 1 8. 1 9. 3 10. 2

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)

1. 2 2. 2 3. 3 4. 2 5. 1
6. 3 7. 2 8. 1 9. 1 10. 3

แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน

ชื่อ-นามสกลุ ...................................... เลขที่ ............................................ ช้นั ..................................
วนั ที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. .....................
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทกึ สรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี

นกั เรียนยงั ไม่เขา้ ใจเร่ืองใด นกั เรียนมีความรู้สึกอยา่ งไร นกั เรียนไดร้ บั ความรูเ้ รื่องใดบา้ ง
อีกบา้ งทีเ่ ก่ียวกบั หน่วยการเรียนรูน้ ้ี หลงั จากท่เี รียนหน่วยการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรูน้ ้ี
ซ่ึงตอ้ งการใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เตมิ น้ีแลว้ ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .................................................... ....................................................
....................................................... .............. ....................................................

หน่วยการเรียนรู้ท่ี.......
...................................
................................

นกั เรียนจะสามารถนาความรู้ ผลงานทนี่ กั เรียนชอบและตอ้ งการ กิจกรรมที่นักเรียนชอบมากท่ีสุดใน
ความเขา้ ใจจากหน่วยการเรียนรู้น้ี คดั เลือกเป็ นผลงานดีเด่นจากหน่วย หน่ วยการเรียนรู้น้ีคือกิจกรรมใด
ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั การเรียนรูน้ ้ีคือผลงานใดบา้ ง เพราะอะไร
ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ....................................................... ...........................................................
....................................................... ...........................................................
....................................................... .

หมายเหตุ ใหค้ รูสาเนาแบบบนั ทกึ น้ีเพอื่ ใหน้ กั เรียนบนั ทึกทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชเ้ ป็นหลกั ฐานและขอ้ มูลเพอื่ ปรับปรุง และพฒั นากระบวนการเรียนรูข้ องผเู้ รียน
2. ครูสามารถนาแบบบนั ทกึ น้ีไปใชป้ ระกอบการทาวจิ ยั ในช้นั เรียนเพอื่ เป็ นผลงานประกอบการเล่ือนวทิ ยฐานะได้

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 เวลา 3 ชั่วโมง

การละเล่นของเดก็ ไทย

ผงั การเรียนรู้แบบบูรณาการ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- การจดั ทาแผนภาพ

การละเล่นของเดก็ ไทย

ภาษาไทย สุขศึกษาและพลศึกษา
- การพดู แสดงความคิดเห็น - การออกกาลงั กายเคล่ือนไหว
- การอ่าน ร่างกาย
- การฝึกการละเล่นของเด็กไทย
ตัวชี้วดั เดก็ ไทย

 ระบแุ ละเล่นการละเล่นของเดก็ ไทย (ศ 3.2 ป.1/1)

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 18

ชื่อหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 8 การละเล่นไทย เร่ืองการละเล่นไทย (งูกินหาง)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ

นาฏศลิ ป์ ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วดั
ศ 3.2 ป.1/1 ระบุและเล่นการละเล่นของเดก็ ไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายเกี่ยวกบั ประโยชนข์ องการละเล่นงูกินหาง (K)
2. เล่นการละเล่นงกู ินหาง (P)
3. ช่ืนชมการละเล่นงูกินหาง (A)

สาระสาคญั

งกู ินหางเป็ นการละเล่นของเด็กไทยท่ีมีบทเพลงประกอบการละเล่น ทาใหเ้ ดก็ ๆไดร้ ับความสนุกสนาน
และเป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ เป็นการออกกาลงั กายท่ีดี ทาใหม้ ีสุขภาพแขง็ แรง

สาระการเรียนรู้

การละเล่นของเด็กไทย : งกู ินหาง

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ที่ 7.3 อนุรักษแ์ ละสืบทอดภมู ิปัญญาไทย

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

ความสามารถในการคิด

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. แผนภาพความคดิ การละเล่นของเดก็ ไทย
2. แบบบนั ทึกการละเล่นงูกินหาง

คาถามท้าทาย

- การละเล่นงูกินหางมีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา การละเล่นของเด็กไทย มาตดิ ไวบ้ นกระดาน แลว้ ใชค้ าถามเพอื่ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั
สนทนา ดงั น้ี

- นกั เรียนรู้จกั การละเล่นของเด็กไทยหรือไม่ (รู้จกั /ไม่รู้จกั )
- นักเรียนรู้จกั การละเล่นของเด็กไทยอะไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ หมากเก็บ ต่ีจับ งูกินหาง
มอญซ่อนผ้า)
- เม่ือไดเ้ ล่นการละเล่นดงั กล่าวนกั เรียนรูส้ ึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนาน)
2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเพอ่ื รวบรวมช่ือการละเล่นของเด็กไทยที่นกั เรียนรู้จกั แลว้ เขยี นสรุป
ลงในแผนภาพบนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

จากน้นั ครูอธิบายเก่ียวกบั การละเล่นของเด็กไทยใหน้ กั เรียนฟังเพมิ่ เตมิ

3. ครูนาบตั รคา งูกินหาง มาติดไวบ้ นกระดานแลว้ ร่วมกนั สนทนากบั นกั เรียน โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี
- นกั เรียนเคยเล่นการละเล่นงูกินหางหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เมื่อเล่นงูกินหางแลว้ นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนาน)
- การเล่นงูกินหางมีประโยชนต์ ่อผเู้ ล่นอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้มีสุขภาพแขง็ แรง ใช้เวลาว่าง

ให้เป็ นประโยชน์)
จากน้ันครูนาแผนภูมิเพลงประกอบการเล่นงูกินหางมาติดไวบ้ นกระดานและปฏิบตั ิตามข้นั ตอน

ต่อไปน้ี
- นานกั เรียนอ่านแผนภูมิเพลงทลี ะท่อนจนทุกคนอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
- นานกั เรียนรอ้ งเป็นทานองเพลงประกอบจงั หวะทีละท่อนจนทุกคนสามารถร้องไดถ้ ูกตอ้ ง
- อธิบายวธิ ีเล่นและกตกิ าการเล่นงูกินหางใหน้ กั เรียนฟังจนเขา้ ใจ
- คดั เลือกผูแ้ ทนนักเรียน 10 คน ออกมาหน้าช้นั เรียนแบ่งเป็ น 3 ฝ่ าย ได้แก่ ฝ่ ายพ่องู ฝ่ ายแม่งู

ฝ่ายลูกงู เพอื่ สาธิตวธิ ีการเล่นงูกินหางใหน้ กั เรียนดูจานวน 1-2 รอบ
- ใหน้ กั เรียนเล่นงูกินหางและบนั ทึกผลการเล่นลงในแบบบนั ทึกดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

แบบบนั ทกึ การเล่นงูกนิ หาง
ช่ือ ________________ นามสกลุ _____________ ช้นั _____ เลขท_ี่ _____

1. การละเล่นทีเ่ ล่น_____________________________________________
2. ความรู้สึกทมี่ ตี ่อการละเล่นงูกินหาง_________________________________
3. ความรู้สึกเมือ่ ไดเ้ ล่นการละเล่นไทย_________________________________
4. ถา้ มีเวลาวา่ งจะนาการละเล่นไปเล่นกบั เพ่อื นหรือไม่_______________________
5. ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการละเล่นงูกินหาง______________________________

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั แนวทางการอนุรักษก์ ารละเล่นงูกินหาง โดยครูใชค้ าถาม
ดงั น้ี

- นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษก์ ารละเล่นงูกินหางใหค้ งอยคู่ ู่สงั คมไทยไดอ้ ยา่ งไร (ตัวอย่าง
คาตอบ นาการละเล่นงูกนิ หางมาเล่นกับเพ่ือน ๆ อยู่เสมอ)

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- งูกินหางเป็ นการละเล่นของเด็กไทยท่ีมีบทเพลงประกอบการละเล่น ทาให้เด็ก ๆ ได้รับความ

สนุกสนานและเป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ เป็ นการออกกาลงั กายทดี่ ี ทาใหม้ ีสุขภาพแขง็ แรง
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การละเล่นงูกินหางมีประโยชนต์ ่อสุขภาพร่างกายอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนเล่นงูกินหางอยา่ งมีอิสระ

ส่ือการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แผนภูมิเพลงประกอบการละเลน่ งูกินหาง
3. แบบบนั ทึกการเล่นงูกินหาง

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวดั และประเมนิ ผล
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
1.2 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

2. เครื่องมือ
2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การประเมิน
3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน
3.2 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก
คะแนน 7-8 ระดบั ดี
คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้
คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรับปรุง

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินกิจกรรมน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เร่ือง เล่นการละเล่นงูกินหาง

ตวั ชี้วดั ระบแุ ละเล่นการละเล่นของเด็กไทย (ศ 3.2 ป.1/1)

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคะแนน
เล่นการละเล่นงูกนิ หาง
432 1

เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น
งูกินหางไดต้ าม งกู ินหางไดต้ าม งูกินหางไดต้ าม งูกินหางไดแ้ ต่
กตกิ าและแนะนา กตกิ าและมี กตกิ า ไม่ถูกตอ้ งตามกตกิ า
ใหผ้ อู้ ื่นเล่นได้ เทคนิคการเล่น

ของตนเอง



แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ปัญหา/อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………....................................................................................…………………….....
แนวทางการแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….................

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/…..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน
……………/………………../………

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 การละเล่นไทย เรื่องการละเล่นไทย (รีรีขา้ วสาร)

เวลา 1 คาบ ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2565 ผสู้ อน นางสุฒิมา อิ่มอาไพ

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู้
ศ 3.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของ

นาฏศลิ ป์ ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตวั ชี้วัด
ศ 3.2 ป.1/1 ระบุและเล่นการละเล่นของเดก็ ไทย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั

1. อธิบายเกี่ยวกบั ประโยชน์ของการละเล่นรีรีขา้ วสาร (K)
2. เล่นการละเล่นรีรีขา้ วสาร (P)
3. ชื่นชมการละเล่นรีรีขา้ วสาร (A)

สาระสาคญั

รีรีขา้ วสารเป็ นการละเล่นของเด็กไทยท่ีมีบทเพลงประกอบการเล่น ทาให้ผูเ้ ล่นรู้สึกสนุกสนานและ
มีความสุข เป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์และทาใหม้ ีสุขภาพแขง็ แรง

สาระการเรียนรู้

การละเล่นของเดก็ ไทย : รีรีขา้ วสาร

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รักความเป็ นไทย
ตวั ช้ีวดั ท่ี 7.3 อนุรกั ษแ์ ละสืบทอดภมู ิปัญญาไทย

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

ความสามารถในการคดิ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

1. แผนภาพความคิดประโยชน์ของการเล่นรีรีขา้ วสาร
2. แบบบนั ทึกการเล่นรีรีขา้ วสาร

คาถามท้าทาย

- การละเล่นรีรีขา้ วสารมีประโยชน์ต่อพฒั นาการทางดา้ นร่างกายอยา่ งไร

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ครูนาบตั รคา รีรีขา้ วสาร มาตดิ ไวบ้ นกระดาน แลว้ พานกั เรียนอ่านจานวน 1 รอบ จากน้นั ใช้
คาถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ดงั น้ี

- นกั เรียนเคยเล่นรีรีขา้ วสารหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)
- เม่ือเล่นรีรีขา้ วสารแลว้ นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนาน)
2. ครูนาแผนภมู ิเพลงประกอบการเล่นรีรีขา้ วสารมาติดไวบ้ นกระดานและปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอน ดงั น้ี
- พานกั เรียนอ่านทลี ะทอ่ นจนทุกคนสามารถอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
- พานกั เรียนร้องประกอบจงั หวะจนทุกคนสามารถร้องไดถ้ ูกตอ้ ง
- อธิบายวธิ ีการเล่นและกติกาการเล่นรีรีขา้ วสารใหน้ กั เรียนฟังจนเขา้ ใจ
- คดั เลือกผแู้ ทนนกั เรียน 10 คนมาสาธิตการเล่นรีรีขา้ วสารใหน้ กั เรียนดูจานวน 3 รอบ
- ใหน้ กั เรียนเล่นรีรีขา้ วสารแลว้ บนั ทึกผลการเล่น ลงในแบบบนั ทึกดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

แบบบนั ทกึ การเล่นรีรีข้าวสาร
ช่ือ ________________ นามสกลุ _____________ ช้นั _____ เลขท_่ี _____

1. การละเล่นทเี่ ล่น_____________________________________________
2. ความรู้สึกทีม่ ตี ่อการละเล่นรีรีขา้ วสาร________________________________
3. ความรู้สึกเมือ่ ไดเ้ ล่นการละเล่นไทย_________________________________
4. ถา้ มเี วลาว่างจะนาการละเล่นไปเล่นกบั เพอื่ นหรือไม่_______________________
5. ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการละเล่นรีรีขา้ วสาร_____________________________

3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั ประโยชน์ที่นกั เรียนจะไดร้ ับจากการเล่นรีรีขา้ วสาร แลว้ นา
ขอ้ มูลทไ่ี ดม้ าเขยี นสรุปลงในแผนภาพความคดิ บนกระดานดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

4. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั แนวทางการอนุรกั ษก์ ารละเลน่ รีรีขา้ วสาร โดยครูใชค้ าถาม
ดงั น้ี

- นกั เรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษก์ ารละเล่นรีรีขา้ วสารใหค้ งอยคู่ ู่สงั คมไทยไดอ้ ยา่ งไร
(ตัวอย่างคาตอบ นาการละเล่นรีรีข้าวสารมาเล่นกบั เพื่อน ๆ เสมอ)

5. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี
- รีรีขา้ วสารเป็นการละเล่นของเดก็ ไทยทม่ี ีบทเพลงประกอบการเล่น ทาใหผ้ เู้ ล่นรู้สึกสนุกสนาน

และมีความสุขเป็ นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละทาใหม้ ีสุขภาพแขง็ แรง
6. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- การละเล่นรีรีขา้ วสารมีประโยชน์ตอ่ พฒั นาการดา้ นร่างกายอยา่ งไร

การจดั บรรยากาศเชิงบวก

- ใหน้ กั เรียนเล่นรีรีขา้ วสารอยา่ งมีอิสระ

สื่อการเรียนรู้

1. บตั รคา
2. แผนภูมิเพลงประกอบการละเลน่ รีรีขา้ วสาร
3. แบบบนั ทึกการเล่นรีรีขา้ วสาร

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. วิธีการวัดและประเมินผล
- สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม

2. เครื่องมือ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม

3. เกณฑ์การประเมิน
- การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน
ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

การประเมินกิจกรรมน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เรื่อง เล่นการละเล่นรีรีขา้ วสาร

ตวั ชี้วัด ระบุและเล่นการละเล่นของเด็กไทย (ศ 3.2 ป.1/1)

เกณฑ์การประเมนิ ระดับคะแนน

4 32 1

เล่นการละเล่นรีรีขา้ วสาร เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น เล่นการละเล่น
รีรีขา้ วสารได้ รีรีขา้ วสารได้ รีรีขา้ วสารได้
รีรีขา้ วสารได้ ตามกตกิ าและมี ตามกติกา แต่ไม่ถูกตอ้ ง
เทคนิคการเล่น ตามกตกิ า
ตามกติกาและ ของตนเอง

แนะนาใหผ้ อู้ ่ืน

เล่นได้

แบบบนั ทกึ หลงั แผนการสอน

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………....................

แนวทางการแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.................................ผสู้ อน
(นางสุฒิมา อ่ิมอาไพ)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

………/……………………/……..

ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ.........................................
(นายสงั วร คงภกั ดี)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียน

……………/………………../………


Click to View FlipBook Version