The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แบบประเมนิ ผลการนำเสนอผลงาน

ชื่อกล่มุ ……………………………………………ชั้น………………………หอ้ ง...........................

รายชื่อสมาชกิ

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขที่…….

3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท่ี…….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็

32 1

1 เนอ้ื หาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความร้เู กย่ี วกบั เนอ้ื หา ความถกู ตอ้ ง

ปฏภิ าณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า)

2 รูปแบบการนำเสนอ

3 การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ ในกลมุ่

4 บคุ ลิกลักษณะ กิรยิ า ท่าทางในการพูด น้ำเสียง ซึ่งทำให้ผู้ฟงั มีความ

สนใจ

รวม

ผ้ปู ระเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เน้อื หาสาระครอบคลุมชดั เจนถูกต้อง

3 คะแนน = มีสาระสำคัญครบถว้ นถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสำคญั ไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์

1 คะแนน = สาระสำคญั ไม่ถูกตอ้ ง ไม่ตรงตามจดุ ประสงค์

2. รปู แบบการนำเสนอ

3 คะแนน = มีรูปแบบการนำเสนอทเี่ หมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคทแี่ ปลกใหม่ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี

ประกอบการ นำเสนอที่น่าสนใจ นำวสั ดุในทอ้ งถ่นิ มาประยกุ ต์ใช้อยา่ งคุ้มค่าและประหยดั

2 คะแนน = มีเทคนิคการนำเสนอที่แปลกใหม่ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอท่ีนา่ สน ใจ

แต่ขาดการประยุกตใ์ ช้ วัสดใุ นทอ้ งถ่ิน

1 คะแนน = เทคนิคการนำเสนอไมเ่ หมาะสม และไม่น่าสนใจ

3. การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม

3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกจิ กรรมกลมุ่

2 คะแนน = สมาชกิ ส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนรว่ มกิจกรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมีบทบาทและมสี ่วนร่วมกิจกรรมกลมุ่

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผู้ฟังมากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

2 คะแนน = ผู้ฟงั ร้อยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

1 คะแนน = ผ้ฟู งั น้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 สนใจ และให้ความรว่ มมอื

บนั ทึกหลงั การสอน

หน่วยที่ 4 เร่อื ง การทำงานตามเงอ่ื นไข

ผลการใชแ้ ผนการเรยี นรู้

1. เนื้อหาสอดคล้องกับจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
2. สามารถนำไปใชป้ ฏบิ ัติการสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรียนการสอน
3. ส่ือการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนกั เรียน

1. ผู้เรยี นสว่ นใหญ่มีความสนใจใฝ่รู้ เข้าใจในบทเรียน อภปิ รายตอบคำถามในกลุม่ และรว่ มกนั
ปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

2. ผู้เรียนกระตือรือร้นและรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มเพื่อให้งานสำเร็จทันเวลาที่กำหนด
3. ผเู้ รียนนำความร้เู ร่อื งการทำงานตามเงื่อนไขไปประยกุ ต์ใช้

ผลการสอนของครู

1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสูตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเน้ือหาการสอนทำใหผ้ ู้สอนสอนได้อยา่ งมั่นใจ
3. สอนไดท้ ันตามเวลาท่ีกำหนด

แผนการสอน/แผนการเรียนรภู้ าคทฤษฎี หน่วยท่ี 5
สอนสปั ดาห์ท่ี 5-6
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี คาบรวม 8
ชอ่ื วิชา การโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ช่อื หนว่ ย การทำงานแบบทำซำ้

ชอื่ เร่ือง การทำงานแบบทำซำ้ จำนวนคาบ 8

สมรรถนะอาชพี ประจำหนว่ ย

- เขยี นโปรแกรมในรปู แบบวนรอบทำซำ้ ดว้ ยภาษา C

เรือ่ งท่จี ะศกึ ษา

1. การทำซำ้ แบบ for
2. การทำซำ้ แบบ while
3. การทำซ้ำแบบ do…while

สาระสำคญั

การทำงานแบบทำซ้ำ คือรูปแบบท่ีใช้ควบคุมการทำงานของโปรแกรมให้วนกลับมาทำซำ้ คำสั่งเดิม ซึ่งจะ
ชว่ ยลดจำนวนบรรทัดคำสั่งที่ซ้ำกัน และทำให้โปรแกรมอ่านง่ายขึ้น โดยภาษา C มีรูปแบบการทำงานแบบทำซ้ำ 3
รูปแบบ คอื แบบ for แบบ while และแบบ do.while

จุดประสงค์ทัว่ ไป

1. เพอ่ื ให้มคี วามรู้และความเข้าใจเกี่ยวกบั คำส่งั ทำซำ้ (ด้านพุทธิพสิ ัย)
2. เพ่อื ใหม้ ที ักษะในการเขียนโปรแกรมโดยใช้คำสง่ั ทำซ้ำ (ดา้ นทกั ษะพสิ ยั )
3. เพอื่ ให้มีเจตคติทดี่ ีในการนำความรมู้ าประยุกตใ์ ช้ (ด้านจิตพิสยั )

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. อธิบายการทำซำ้ แบบ for ได้ (ด้านพุทธิพิสัย)
2. อธบิ ายการทำซำ้ แบบ while ได้ (ด้านพุทธิพสิ ยั )
3. อธบิ ายการทำซ้ำแบบ do…while ได้ (ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย)
4. เขียนโปรแกรมโดยใชค้ ำส่ัง for ได้ (ดา้ นทกั ษะพสิ ัย)
5. เขียนโปรแกรมโดยใช้คำสงั่ while ได้ (ดา้ นทักษะพสิ ยั )
6. เขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง do…while ได้ (ดา้ นทักษะพิสัย)
7. ประยกุ ตใ์ ช้คำส่งั for, while และ do...while ในการเขียนโปรแกรมภาษา C ได้ (ด้านจติ พิสยั )

เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้











กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรียนรูห้ รือกจิ กรรมของนักเรียน

1. ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น (5 นาที) 1. ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน (5 นาที)

1. ผู้สอนช้ีแจงหัวข้อการเรียนและจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนฟังผู้สอนแจ้งหัวข้อการเรียนและ

การเรยี นประจำหนว่ ยท่ี 5 การทำงานแบบทำซ้ำ จุดประสงค์การเรียนประจำหน่วยที่ 5 การทำงานแบบ

ทำซ้ำ

2. ขั้นให้ความรู้ (235 นาที) 2. ข้ันให้ความรู้ (235 นาที)

1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดเอกสารประกอบการ 1. ผู้เรียนฟังผู้สอนอธิบายและช้ีแจงพร้อมเปิด

สอนวิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 5 การ เอกสารวิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หน่วยท่ี 5 การ

ทำงานแบบทำซำ้ ทำงานแบบทำซ้ำ

2. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามในข้อ 2. ผเู้ รยี นซักถามผูส้ อนหากมีขอ้ สงสัย

สงสัยเมอ่ื อธบิ ายเนอื้ หาในหนว่ ยเรยี นจบ

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขัน้ ตอนการเรยี นรหู้ รือกิจกรรมของนักเรยี น

3. ข้ันประยกุ ตใ์ ช้ (225 นาที) 3. ข้นั ประยุกตใ์ ช้ (225 นาที)

1. ผู้สอนใหผ้ ้เู รยี นทำกจิ กรรมเรียนรู้ หน่วยท่ี 5 1. ผู้เรยี นทำกิจกรรมเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5

2. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 5 2. ผ้เู รียนทำแบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 5

4. ขั้นสรปุ และประเมินผล (15 นาที) 4. ข้ันสรปุ และประเมินผล (15 นาที)

1. ผู้สอนร่วมกับผู้เรียนทบทวนความเข้าใจและ 1. ผู้เรียนร่วมกับผู้สอนทบทวนความเข้าใจและ

สรุปเน้ือหาในหน่วยที่ 5 การทำงานแบบทำซ้ำ ให้มี สรุปเนื้อหาในหน่วยท่ี 5 การทำงานแบบทำซ้ำ ให้มี

ความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน ความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั

(บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-7) (บรรลจุ ดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-7)

(รวม 480 นาที หรอื 8 คาบเรียน)

งานท่มี อบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่อนเรยี น

-

ขณะเรียน

1. ทำกจิ กรรมเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 5
2. ทำแบบฝกึ หัด หน่วยที่ 5

หลังเรยี น

-

ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสำเร็จของผูเ้ รียน

1. กิจกรรมเรียนรู้ หน่วยท่ี 5
2. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 5

ส่ือการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

สื่อสิ่งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจดุ ประสงค์

เชงิ พฤติกรรมข้อที่ 1-7)
2. กจิ กรรมเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 5 ใช้ขั้นประยกุ ตใ์ ชข้ ้อ 1
3. แบบฝึกหัด หนว่ ยท่ี 5 ใชข้ น้ั ประยกุ ต์ใชข้ ้อ 2

ส่ือโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. เคร่อื งไมโครคอมพิวเตอร์
2. วีดีทศั น์
3. บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน CAI
4. งานนำเสนอ

สื่อของจรงิ

แหล่งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมดุ
2. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์

นอกสถานศกึ ษา
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถ่นิ

การบูรณาการ/ความสมั พันธก์ บั วิชาอนื่

1. บรู ณาการกับวิชาภาษาไทย เรอ่ื ง การอธิบายการทำซ้ำแบบ for การอธบิ ายการทำซำ้ แบบ while
และการอธิบายการทำซำ้ แบบ do…while

การประเมินผลการเรยี นรู้
• หลักการประเมินผลการเรยี นรู้

กอ่ นเรยี น

-

ขณะเรียน

1. ตรวจกจิ กรรมเรยี นรู้ หน่วยท่ี 5
2. ตรวจแบบฝึกหัด หนว่ ยที่ 5

หลงั เรียน

-

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผูเ้ รยี น

1. กจิ กรรมเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 5
2. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5

สมรรถนะท่ีพึงประสงค์

ผ้เู รียนสร้างความเข้าใจเกย่ี วกับ การทำงานแบบทำซำ้
1. วเิ คราะห์และตคี วามหมาย
2. สาธิตพร้อมแสดงทา่ ทางประกอบ
3. อภิปรายแสดงความคดิ เห็น
4. ประยุกต์ความรู้สงู่ านอาชีพ

สมรรถนะการปฏบิ ตั งิ านอาชพี

เขียนโปรแกรมในรูปแบบวนรอบทำซ้ำด้วยภาษา C

สมรรถนะการขยายผล

ความสอดคล้อง
จากการเรียนสัปดาห์ที่ 5-6 เร่ือง การทำงานแบบทำซ้ำ ผู้เรียนจะมีความรู้เกี่ยวกับการทำซ้ำแบบ for
การทำซ้ำแบบ while และการทำซ้ำแบบ do…while สามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง for while และ
do…while ได้ และประยกุ ตใ์ ช้คำสั่ง for, while และ do...while ในการเขยี นโปรแกรมภาษา C ได้

รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียนรู้

• จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 1 อธบิ ายการทำซ้ำแบบ for ได้

1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2. เครอื่ งมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธบิ ายการทำซำ้ แบบ for ได้ จะได้ 1 คะแนน

• จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 2 อธิบายการทำซำ้ แบบ while ได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธบิ ายการทำซำ้ แบบ while ได้ จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 อธิบายการทำซ้ำแบบ do…while ได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายการทำซ้ำแบบ do…while ได้ จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 4 เขียนโปรแกรมโดยใชค้ ำส่งั for ได้

1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : เขียนโปรแกรมโดยใชค้ ำสงั่ for ได้ จะได้ 2 คะแนน

• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 เขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง while ได้

1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครือ่ งมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : เขียนโปรแกรมโดยใชค้ ำส่งั while ได้ จะได้ 2 คะแนน

• จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 6 เขียนโปรแกรมโดยใช้คำส่งั do…while ได้

1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2. เครอ่ื งมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : เขยี นโปรแกรมโดยใชค้ ำสงั่ do…while ได้ จะได้ 2 คะแนน

• จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 7 ประยุกต์ใช้คำสง่ั for, while และ do...while ในการเขียนโปรแกรม

ภาษา C ได้

1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ประยุกตใ์ ช้คำสั่ง for, while และ do...while ในการเขียนโปรแกรมภาษา

C ได้ จะได้ 1 คะแนน































แบบประเมนิ ผลการนำเสนอผลงาน

ชื่อกล่มุ ……………………………………………ชั้น………………………หอ้ ง...........................

รายชื่อสมาชกิ

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….

3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท่ี…….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็

32 1

1 เนอ้ื หาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู้เกยี่ วกบั เนอ้ื หา ความถกู ตอ้ ง

ปฏภิ าณในการตอบ และการแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า)

2 รูปแบบการนำเสนอ

3 การมสี ่วนรว่ มของสมาชกิ ในกลมุ่

4 บคุ ลิกลักษณะ กิรยิ า ท่าทางในการพูด น้ำเสียง ซึ่งทำให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผ้ปู ระเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เน้อื หาสาระครอบคลุมชดั เจนถูกตอ้ ง

3 คะแนน = มีสาระสำคัญครบถ้วนถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสำคญั ไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจดุ ประสงค์

1 คะแนน = สาระสำคัญไม่ถกู ต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์

2. รปู แบบการนำเสนอ

3 คะแนน = มีรูปแบบการนำเสนอทเี่ หมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคทแี่ ปลกใหม่ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี

ประกอบการ นำเสนอที่น่าสนใจ นำวัสดุในทอ้ งถ่นิ มาประยกุ ต์ใช้อยา่ งคุ้มค่าและประหยดั

2 คะแนน = มีเทคนิคการนำเสนอที่แปลกใหม่ ใช้ส่อื และเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอท่ีนา่ สน ใจ

แต่ขาดการประยุกต์ใช้ วัสดุในทอ้ งถ่ิน

1 คะแนน = เทคนิคการนำเสนอไมเ่ หมาะสม และไม่น่าสนใจ

3. การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม

3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกจิ กรรมกลมุ่

2 คะแนน = สมาชกิ ส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนรว่ มกิจกรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมีบทบาทและมสี ่วนร่วมกิจกรรมกลมุ่

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผู้ฟังมากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

2 คะแนน = ผูฟ้ ังรอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

1 คะแนน = ผ้ฟู งั น้อยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมอื

บนั ทกึ หลงั การสอน

หน่วยที่ 5 เรื่อง การทำงานแบบทำซำ้

ผลการใช้แผนการเรยี นรู้

1. เนือ้ หาสอดคล้องกบั จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
2. สามารถนำไปใชป้ ฏบิ ตั กิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรยี นการสอน
3. สอ่ื การสอนเหมาะสมดี

ผลการเรยี นของนักเรยี น

1. ผเู้ รียนส่วนใหญ่มีความสนใจใฝ่รู้ เข้าใจในบทเรียน อภิปรายตอบคำถามในกลุ่ม และร่วมกนั
ปฏบิ ัติงานที่ได้รับมอบหมาย

2. ผเู้ รียนกระตือรือรน้ และรบั ผิดชอบในการทำงานกลุ่มเพ่ือให้งานสำเรจ็ ทันเวลาที่กำหนด
3. ผู้เรยี นนำความรเู้ รื่องการทำงานแบบทำซำ้ ไปประยกุ ต์ใช้

ผลการสอนของครู

1. สอนเนือ้ หาไดค้ รบตามหลกั สูตร
2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทำใหผ้ ้สู อนสอนได้อยา่ งมั่นใจ
3. สอนได้ทันตามเวลาที่กำหนด

แผนการสอน/แผนการเรียนรูภ้ าคทฤษฎี หนว่ ยท่ี 2
สอนสัปดาห์ท่ี 2
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี คาบรวม 4
ชอื่ วชิ า การโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ชอ่ื หนว่ ย การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา C

ชอ่ื เรอ่ื ง การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา C จำนวนคาบ 4

สมรรถนะอาชพี ประจำหน่วย

- ติดตง้ั และใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ เพือ่ เขียนโปรแกรมภาษา C

เร่อื งท่ีจะศกึ ษา

1. แนะนำภาษา C
2. โครงสร้างของภาษา C
3. ชนดิ ของข้อมูล
4. องค์ประกอบของโปรแกรม
5. เครือ่ งมือสำหรบั พัฒนาโปรแกรมภาษา C
6. คำสงั่ รบั และแสดงผลข้อมลู

สาระสำคญั

ภาษา C เป็นภาษาหน่ึงที่นิยมใช้ในการฝึกเรียนรู้การเขียนโปรแกรม เนื่องจากรปู แบบการเขียนโปรแกรม
ภาษา C ถูกใช้เป็นต้นแบบของการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงช่วยให้การเรียนรู้เขียน
โปรแกรมกับภาษาคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ได้ง่ายข้ึน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใดก็ตาม ผู้เขียน
โปรแกรมจะต้องทราบองค์ประกอบต่างๆ ของโปรแกรมในภาษาน้ัน ซึ่งไดแ้ ก่ โครงสร้างโปรแกรม ตัวแปร ค่าคงท่ี
รวมไปถึงเครอ่ื งมือที่จะนำมาชว่ ยใหก้ ารเขียนโปรแกรมไดส้ ะดวกรวดเร็วยงิ่ ข้ึน

จดุ ประสงค์ทั่วไป

1. เพอ่ื ให้มคี วามรู้และความเข้าใจเกี่ยวกบั โครงสรา้ ง และองค์ประกอบต่างๆ ของภาษา C (ดา้ นพทุ ธิ
พสิ ยั )

2. เพอื่ ใหม้ ที ักษะในการเขียนคำสั่งรบั และแสดงผลข้อมูล (ด้านทักษะพสิ ยั )
3. เพื่อให้มเี จตคติที่ดีในการนำความรมู้ าประยุกต์ใช้ (ดา้ นจิตพสิ ัย)

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

1. บอกลักษณะโครงสร้างของภาษา C ได้ถูกตอ้ ง (ด้านพทุ ธิพิสัย)
2. วเิ คราะห์องค์ประกอบต่างๆ ของภาษา C ไดอ้ ย่างถกู ต้อง (ด้านพุทธพิ ิสัย)
3. เขยี นคำสง่ั รับและแสดงผลข้อมลู ไดถ้ กู ตอ้ ง (ดา้ นทักษะพสิ ัย)
4. จำแนกชนิดขอ้ มูลในภาษา C ไดถ้ ูกต้อง (ดา้ นจติ พสิ ยั )
5. ประยุกต์ใชเ้ ครอ่ื งมือทช่ี ่วยในการเขียนโปรแกรมภาษา C ได้ (ด้านจติ พิสยั )

เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้






Click to View FlipBook Version