The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือมาตรฐานความปลอดภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2019-08-18 00:08:29

คู่มือมาตรฐานความปลอดภัย

คู่มือมาตรฐานความปลอดภัย

คูมือการปฏิบัติ

ตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดลอมในการทำงาน
สำหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก

โดย
สถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน (องคการมหาชน)

ค่มู อื การปฏิบัติตามระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการ
ขนาดกลางและขนาดเล็ก

จดั พิมพ์โดย

สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
(องคก์ ารมหาชน)

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ ม
ในการทางาน สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ISBN : 978-616-555-106-9
จัดทาโดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน

(องคก์ ารมหาชน)
ถนนบรมราชชนนี เขตตลงิ่ ชนั กรงุ เทพฯ 10170
โทร. 02 448 9111 โทรสาร. 02 4489098
www.tiosh.or.th
จดั พมิ พ์โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
(องค์การมหาชน)
พิมพ์ครงั้ ท่ี1 เมษายน พ.ศ.2557
จานวน 500 เล่ม
พมิ พ์ท่ี บริษัท รอยลั เปเปอร์ จากัด
37-39 ซอยพระยามนธาตุ แยก 19 แขวงบางบอน เขตบางบอน กรงุ เทพฯ
โทร. 02-4152196 โทรสาร . 02-4152196

ค่มู ือการปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

สารบัญ

บทนา 1

คาแนะนาการใช้คู่มอื 2

คาจากัดความ 6

กรอบแนวคดิ 8

องค์ประกอบของระบบมาตรฐานฯ 9

ขนั้ ตอนและวิธกี ารดาเนินการ 10

ข้อกาหนด 1 นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 11

ข้อกาหนด 2 บทบาทผ้นู าองค์กร 15

ข้อกาหนด 3 การวางแผนและการนาระบบไปปฏบิ ตั ิ 22

3.1 การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ ง 22

3.2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 31

3.3 วัตถุประสงคแ์ ละแผนงาน 34

3.4 ความสามารถและการฝกึ อบรม 38

3.5 การส่อื สาร 47

3.6 การจัดทาเอกสาร 51

3.7 การควบคุมการปฏิบตั งิ าน 57

3.8 การเตรียมความพรอ้ มและการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน 62

ขอ้ กาหนด 4 การประเมนิ ผล 67

4.1 การเฝ้าระวังและการวัดผลการปฏบิ ัตงิ าน 67

4.2 การสอบสวนอบุ ัติการณ์ 70

4.3 การแกไ้ ข การปฏิบัติการแก้ไขและการปฏิบัตกิ ารป้องกัน 79

4.4 การตรวจประเมนิ ภายใน 83

ขอ้ กาหนด 5 การทบทวนการจดั การ 90

ข้ันตอนและวิธกี ารนาระบบเข้าไปใชง้ าน 93

ภาคผนวก

ตวั อยา่ งเอกสารท่ใี ช้ในระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน

สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)

คมู่ ือการปฏบิ ตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

บทนำ

คู่มือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ฉบับนี้ ได้จัดทาขึ้นโดยยึดหลักความ
เหมาะสม สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก เพื่อให้องค์กรดังกล่าวได้นาไปปฏิบัติ
และเกิดระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดีและมี
ประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหาการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการทางานได้ รวมทั้งเพ่ือเป็น
แนวทางในการควบคมุ การดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ขององค์กร นาไปสู่ความมั่นคง ปลอดภัย และส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กร ซึ่งจะทาให้ทั้งพนักงานและ
ชมุ ชนโดยรอบ เกิดความม่ันใจในการประกอบกจิ การขององคก์ รด้วย

ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับสถาน
ประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็กนี้ มีวตั ถุประสงค์มุ่งเน้นให้องค์กรใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดทาระบบ
มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ดงั นี้

1. เพ่อื ลดความเสย่ี งต่ออันตรายและอบุ ัตเิ หตุต่างๆ ของพนักงานและผู้ท่เี กยี่ วข้อง
2. เพือ่ ปรับปรงุ การดาเนินงานของสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็ ใหเ้ กิดความ

ปลอดภยั มอี าชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานทด่ี ี
3. ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ความรับผิดชอบขององค์กรท่ีมีต่อพนักงานภายในองค์กร และ

สงั คมภายนอก
เอกสารคู่มือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเลก็ ประกอบด้วย ส่วนสาคัญท้ังในเร่ืองของ
ข้อกาหนด ขั้นตอนการปฏิบัติ และตัวอย่างของการปฏิบัติ ซ่ึงครอบคลุม ครบถ้วนด้วยเน้ือหาสาระทาง
วิชาการและแนวทางการปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ดีเอกสารคู่มือฉบับนี้ จะเกิดประโยชน์สูงสุดก็ต่อเมื่อ ได้มีการ
นาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานนี้ ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง
เพ่ือปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของสถาน
ประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศไทยสืบไป

โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-1-

คมู่ ือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

คำแนะนำกำรใช้คู่มือ

ผูป้ ระสงค์จะจดั ทาระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ให้ดาเนินการตามคู่มือฉบับน้ี ไปทีละขั้นตอน ก็จะ
สามารถพฒั นาระบบมาตรฐานขึ้นมาในสถานประกอบกจิ การได้

โดยในการจัดทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กนั้น เพ่ือให้องค์กรสามารถท่ีจะบรรลุวัตถุประสงค์
เป้าหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ได้ตามความพร้อมและ
ศกั ยภาพขององค์กร จงึ ไดแ้ บง่ การจัดทาระบบมาตรฐานออกเป็น 4 ระดบั ดังน้ี
1. ระดับ Basic หมายถึง การดาเนินการตามระบบมาตรฐานความปลอดภัยฯ ในระดับต้น โดยเน้นท่ีการ

ป้องกันอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทางานเป็นหลัก ระดับน้ีกาหนดให้องค์กรดาเนินการตามระบบ
มาตรฐานความปลอดภัยฯ เฉพาะข้อกาหนดท่ีจาเป็นในการป้องกันอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการ
ทางานเทา่ นน้ั แต่ยังไม่มกี ระบวนการในการตรวจประเมินและทบทวนระบบ
2. ระดับ Silver () หมายถึง การดาเนินการตามระบบมาตรฐานความปลอดภัยฯ ในระดับดี โดยจะต้องมี
การดาเนินการเพิ่มเติมตามข้อกาหนดเรื่อง การแก้ไข การปฏิบัติการแก้ไขและการปฏิบัติการป้องกัน การ
ตรวจประเมินภายใน การทบทวนการจัดการ ระดับน้ีมุ่งเน้นท่ีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการ
เจ็บป่วยจากการทางาน โดยเร่ิมมีการตรวจสอบและทบทวนระบบการจัดการ ซึ่งถือเป็นระบบมาตรฐานฯ
ทีส่ ่งเสริมใหม้ ีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องได้
3. ระดับ Gold () หมายถึง องค์กรท่ีได้ดาเนินการจัดทาระบบมาตรฐานฯ ได้รับการรับรองระบบ
มาตรฐานในระดับดมี าก โดยจะต้องมีการดาเนินการเพ่ือป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยในเชิงรุก
มากขึ้น มีการชี้บ่งอันตรายก่อนท่ีจะทาการเปล่ียนแปลงกระบวนการต่างๆ มุ่งเน้นการควบคุมความเส่ียง
โดยใช้หลักการบริหารจัดการ การกาหนดคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยง การจัดการกับข้อ
ร้องเรียนและเอกสารที่มาจากภายนอกองค์กร รวมถึงการควบคุมผู้รับเหมาและผู้เย่ียมชม และมีการ
สื่อสารข้อมูลด้านความปลอดภัยและข้อมูลของระบบมาตรฐานฯ ไปยังผู้ปฏิบัติงานมากย่ิงข้ึน ซ่ึงถือเป็น
ระบบมาตรฐานฯ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น
4. ระดับ Platinum () หมายถึง องค์กรท่ีได้ดาเนินการจัดทาระบบมาตรฐานฯ ได้รับการรับรอง
ระบบมาตรฐานในระดับยอดเยี่ยม เป็นระดับที่มีการจัดทาระบบมาตรฐานฯ ในเชิงรุก ดาเนินการตาม
ข้อกาหนดในระบบมาตรฐานฯ ทุกข้อกาหนดอย่างครบถ้วน ซึ่งสามารถยกระดับสมรรถนะด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมขององค์กร ให้อยู่ในระดับท่ีสมบูรณ์ท้ังในด้านของการป้องกัน
การเกิดอบุ ัตเิ หตุและการเจ็บป่วยจากการทางาน และปรับปรงุ อย่างต่อเนื่อง

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

-2-

คู่มือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

สาหรับระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการจัดทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน องค์กรสามารถดาเนินการได้ภายในระยะเวลา 1-3 ปี ขึ้นอยู่กับศักยภาพ
และความพร้อมขององค์กร แต่หากองคก์ รมีความพร้อมและศักยภาพท่ีสามารถดาเนินการได้รวดเร็วกว่าท่ี
กาหนดไว้ ก็ย่ิงเป็นการดีในการที่จะช่วยป้องกันอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทางาน รวมท้ังเป็นการ
ยกระดับระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานขององค์กรให้
สงู ข้ึนต่อไป หรือหากองค์กรต้องการขยายระยะเวลาในการจัดทาระบบมาตรฐานฯ นี้ ออกไปมากกว่า 3 ปี
กส็ ามารถทาไดเ้ ชน่ กัน โดยพจิ ารณาจากความพร้อมและศกั ยภาพขององค์กรเปน็ หลกั

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-3-

คมู่ อื

ตำรำงกำรจดั ระดบั และระยะเวลำในกำรจัดทำระบบมำตรฐำนค

ขอ้ กำหนด (Requirement) ปที ่ี 1
Basic
1. นโยบำยควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัย และ
ทาทกุ ข้อ
สภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน (Occupational Safety ,
Health and Environment Policy) เฉพาะข้อ 2.1 , 2.2

2. บทบำทผนู้ ำองคก์ ร (Management Leadership)

3. กำรวำงแผนและกำรนำระบบไปปฏบิ ตั ิ (Planning and Implementation)

-4- 3.1 การชบ้ี ่งอนั ตรายและการประเมนิ ความเสยี่ ง(Hazard เฉพาะข้อ 1), 2), 3), 5)
Identification and Risk Assessment) 8), 9)

3.2 กฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ สภาพแวดล้อม ทาทกุ ข้อ
ในการทางาน (Occupational Safety , Health and
Environment Legal) เฉพาะข้อ 1), 2.1), 2.
เฉพาะขอ้ จ, ฉ , 2.3),
3.3 วตั ถุประสงคแ์ ละแผนงาน (Objectives and Programme(s))
และ 4)
3.4 ความสามารถและการฝึกอบรม (Competence and
Training) เฉพาะข้อ 2) , 3)

3.5 การสือ่ สาร (Communication) เฉพาะขอ้ 1) , 4)

โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั

อการปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ควำมปลอดภยั อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

ระดับ (Level)

ปที ี่ 2 ปที ่ี 3
Platinum ()
Silver () Gold ()

ทาทุกขอ้ ทาทุกขอ้ ทาทกุ ขอ้

2 ทาทกุ ขอ้ ทาทกุ ขอ้ ทาทุกขอ้

), 7), เฉพาะข้อ 1), 2), 3), 5), 7), ทาเพม่ิ ขอ้ 6) ทาทุกข้อ
8), 9) ทาทกุ ข้อ

ทาทกุ ขอ้ ทาทกุ ข้อ ทาทุกขอ้
ทาทุกข้อ
.2) เฉพาะข้อ 1), 2.1), 2.2) ทาทุกขอ้
3) เฉพาะข้อ จ, ฉ , 2.3), 3) ทาเพ่มิ ขอ้ 2.2) ขอ้ ง.

และ 4)

เฉพาะขอ้ 2) , 3) ทาทกุ ขอ้

ทาเพิม่ ข้อ 2) ทาทุกข้อ

ย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

คมู่ ือ

ข้อกำหนด (Requirement) ปีท่ี 1
Basic

3.6 การจัดทาเอกสาร (Documentation) เฉพาะขอ้ 1.7)

3.7 การควบคมุ การปฏบิ ตั ิงาน (Operational Control) เฉพาะข้อ 1.1) , 1.2) , 1
และ 1.7)
3.8 การเตรยี มความพร้อมและการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉิน
(Emergency Preparedness and Response) เฉพาะข้อ 1) , 3) , 4) , 5)
6)
4. กำรประเมนิ ผล (Evaluation)
-5-

4.1 การเฝา้ ระวงั และการวัดผลการปฏิบัติงาน (Monitoring and เฉพาะขอ้ 1.1), 1.2), 1

Measurement) 1.7) และ 1.8)

4.2 การสอบสวนอุบตั ิการณ์ (Incident Investigation) เฉพาะข้อ 1.1), 1.2) และ

4.3 การแก้ไข การปฏิบตั ิการแก้ไขและการปฏิบัตกิ ารปอ้ งกัน -
(Correction , Corrective Action and Preventive Action)

4.4 การตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) -

5. กำรทบทวนกำรจัดกำร (Management Review) -

โดย สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั

อการปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ระดับ (Level)

ปที ่ี 2 ปที ่ี 3
Platinum ()
Silver () Gold ()
ทาทกุ ข้อ
ทาเพ่มิ ขอ้ 1.1) ,1.2) , 1.3) , ทาทกุ ขอ้
1.4) , 1.5) ทาทกุ ข้อ

1.5) เฉพาะขอ้ 1.1) , 1.2) , 1.5) และ ทาเพิ่มข้อ 1.4) ทาทกุ ข้อ
1.7)

) และ เฉพาะขอ้ 1) , 3) , 4) , 5) และ ทาทุกขอ้
6)

1.5), เฉพาะข้อ 1.1), 1.2), 1.5), ทาเพ่ิมขอ้ 1.3) และ 1.4) ทาทกุ ข้อ
1.7) และ 1.8) ทาทุกข้อ
ทาทกุ ขอ้
ะ 1.4) เฉพาะข้อ 1.1), 1.2) และ 1.4) ทาทกุ ข้อ ทาทกุ ขอ้
ทาทุกข้อ
เฉพาะข้อ 1.1), 1.2), 1.3), ทาทุกข้อ
1.4) และ 1.6)

เฉพาะข้อ 1) และ 4) ทาทุกขอ้
ทาทุกข้อ
เฉพาะข้อ 1.1) , 1.2) , 1.4) ,
1.6) , 1.7) ,1.9) , 2) , 4)

ย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

บทนยิ ำม

ความหมายของคาท่ีใชใ้ นระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก มีดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน สำหรับสถำน

ประกอบกจิ กำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก หมายถึง ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ขององค์กร เพื่อใช้ในการกาหนดและนาไปปฏิบัติ ให้เกิด
กระบวนการควบคุมอนั ตรายและการจัดการความเสยี่ งขององคก์ ร
2. สถำนประกอบกจิ กำรขนำดกลำงและขนำดเลก็ หมายถงึ องคก์ รใดๆ ที่มีจานวนการจ้างงานต้ังแต่
1-199 คน
3. องค์กร หมำยถึง หน่วยงานซ่ึงมีกิจการและการบริหารเป็นของตนเอง เช่น บริษัท ห้างหุ้นส่วน
หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน สมาคม เป็นต้น สาหรับองค์กรที่มีหน่วยปฏิบัติงานอยู่มากกว่า
หนึง่ แหง่ อาจกาหนดใหห้ น่วยปฏิบัติงานยอ่ ยแหง่ นัน้ เป็นหน่งึ องค์กรได้
4. ผู้ปฏิบัติงำน หมำยถึง ผู้ซึ่งตกลงทางานให้กับองค์กรโดยรับค่าจ้าง ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร และให้
หมายรวมถึงผู้ซ่ึงได้รับความยินยอมให้ทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่องค์กร ไม่ว่าจะเรียกช่ือ
อยา่ งไรกต็ าม
5. ผู้รับเหมำ หมำยถึง บุคคลหรือนิติบุคคลท่ีให้บริการแก่องค์กร ณ สถานที่ทางานขององค์กรตาม
ขอ้ กาหนดและเงอ่ื นไขทตี่ กลงกันไว้กบั องค์กร
6. ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หมายถึง การกระทาหรือสภาพ
การทางาน ซ่ึงปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพ
อนามัย อันเนื่องจากการทางานหรอื เกยี่ วกับการทางาน
7. ควำมเจ็บป่วยจำกกำรทำงำน หมายถึง ความเจ็บป่วยหรือโรคท่ีเกี่ยวเนื่องจากการทางาน ท้ังทาง
ร่างกายและจติ ใจท่ีมสี าเหตุจากกิจกรรมการทางานหรือสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
8. อันตรำย หมายถึง การกระทาหรือสภาพการทางาน ท่ีอาจก่อให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต
ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพอนามัย ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมในการ
ทางานหรือต่อสาธารณชนหรอื สิง่ ต่างๆ เหลา่ นร้ี วมกนั
9. กำรช้บี ่งอันตรำย หมายถงึ กระบวนการในการค้นหาอนั ตรายท่ีมีอยู่และการระบุลกั ษณะอันตราย
10. กำรประเมินควำมเสี่ยง หมายถึง กระบวนการในการประมาณระดับความเส่ียง และสามารถตัดสิน
ได้ว่าความเส่ยี งนัน้ อยใู่ นระดับใด
11. อุบัติกำรณ์ หมายถึง เหตุการณ์ท่ีเก่ียวเน่ืองจากการทางาน ซึ่งทาให้เกิดหรืออาจเกิด การบาดเจ็บ
หรอื ความเจ็บปว่ ยจากการทางาน หรือเสยี ชวี ติ หรอื ความเสยี หายตอ่ ทรัพยส์ ิน

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

-6-

คูม่ ือการปฏบิ ตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

หมำยเหตุ 1 อุบัติเหตุ หมายถึง อุบัติการณ์ ท่ีมีผลทาให้เกิดการบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่วยจากการ
ทางาน หรือเสียชีวิต หรอื ความเสียหายตอ่ ทรัพย์สิน

หมำยเหตุ 2 เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ แต่เมื่อเกิดข้ึนแล้วมี
แนวโนม้ ที่จะก่อใหเ้ กิดอบุ ัติเหตุ

12. ขั้นตอนกำรดำเนินงำน หมายถึง กระบวนการทางานท่ีแสดงถึงขั้นตอนการทางานที่เกี่ยวข้อง
เชื่อมโยง สมั พันธ์กนั กบั หน่วยงานอ่นื ๆ

13. วิธีกำรปฏิบัติงำน หมายถึง ข้ันตอน วิธีการทางานที่แสดงรายละเอียดในการทางานของขั้นตอนใด
ขัน้ ตอนหน่งึ ซงึ่ ดาเนนิ การจนแลว้ เสรจ็ โดยบุคคลใดบุคคลหนงึ่ หรือหลายคนท่ีทางานเช่นเดียวกัน

14. วัตถุประสงค์ด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หมายถึง
จุดมุ่งหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่ต้องการบรรลุ ซ่ึง
กาหนดขึ้นโดยองค์กรในเชิงของผลการดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางาน

15. กำรตรวจประเมินภำยใน หมายถึง กระบวนการท่ีเป็นระบบ เป็นอิสระ และกาหนดไว้เป็นลาย
ลักษณ์อักษรเพ่ือดาเนินการให้ได้มาตรฐานการประเมิน และประเมินผลจากหลักฐานการตรวจ
ประเมิน เพ่ือพจิ ารณาว่าตรงตามเกณฑก์ ารตรวจประเมนิ (Audit Criteria) หรือไม่

16. เอกสำร หมายถึง ข้อมลู และสอ่ื สนบั สนนุ
หมำยเหตุ สื่อสนับสนุนดังกล่าวน้ัน อาจเป็นกระดาษ ภาพถ่าย ตัวอย่างต้นแบบ แผ่นเก็บข้อมูลจาก
คอมพิวเตอร์ ขอ้ มูลอิเล็กทรอนกิ ส์ หรือสิ่งตา่ งๆ ทส่ี ามารถนามาแสดงเปน็ หลักฐานให้เห็นได้เดน่ ชัด

17. บันทึก หมายถึง เอกสารซง่ึ แสดงผลหรือเปน็ หลักฐานการดาเนินการของกจิ กรรม

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-7-

คู่มอื การปฏิบตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

กรอบแนวคิด

ของระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน สำหรับ
สถำนประกอบกิจกำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก เปน็ ดงั นี้

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-8-

คมู่ ือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

องคป์ ระกอบ

ของระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
สำหรบั สถำนประกอบกิจกำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก

ประกอบไปด้วย 5 องคป์ ระกอบหลกั ดงั น้ี

1. นโยบำยควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน (Occupational
Safety , Health and Environment Policy)

2. บทบำทผูน้ ำองคก์ ร (Management Leadership)
3. กำรวำงแผนและกำรนำระบบไปปฏบิ ัติ (Planning and Implementation)

3.1 การชบี้ ง่ อันตรายและการประเมินความเสย่ี ง (Hazard Identification and Risk
Assessment)

3.2 กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (Occupational
Safety , Health and Environment Legal)

3.3 วัตถุประสงคแ์ ละแผนงาน (Objectives and Programme(s))
3.4 ความสามารถและการฝึกอบรม (Competence and Training)
3.5 การส่ือสาร (Communication)
3.6 การจัดทาเอกสาร (Documentation)
3.7 การควบคุมการปฏบิ ัตงิ าน (Operational Control)
3.8 การเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน (Emergency Preparedness and

Response)
4. กำรประเมนิ ผล (Evaluation)

4.1 การเฝ้าระวังและการวดั ผลการปฏบิ ัตงิ าน (Monitoring and Measurement)
4.2 การสอบสวนอบุ ัติการณ์ (Incident Investigation)
4.3 การแก้ไข การปฏิบตั ิการแก้ไขและการปฏบิ ัติการป้องกนั (Correction , Corrective Action

and Preventive Action)
4.4 การตรวจประเมินภายใน (Internal Audit)
5. กำรทบทวนกำรจัดกำร (Management Review)

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-9-

คู่มือการปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ขน้ั ตอนและวิธีกำรดำเนินกำรจดั ทำระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และ
สภำพแวดล้อมในกำรทำงำน สำหรบั สถำนประกอบกจิ กำรขนำดกลำงและขนำดเล็ก

กาหนดโครงสรา้ ง บทบาท หน้าที่ ความรับผดิ ชอบ

แต่งตั้งผแู้ ทนฝ่ายบริหารดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางานและคณะทางานจดั ทาระบบมาตรฐาน

ช้บี ่งอนั ตรายและประเมินความเสย่ี ง กฎหมายความปลอดภัยฯ

จดั ทานโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั ความสามารถและการ
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ฝึกอบรม

วตั ถุประสงคแ์ ละแผนงาน การสื่อสาร

การควบคุมการปฏบิ ตั ิงาน การจดั ทาเอกสาร

การเฝา้ ระวังและการวดั ผลการ การเตรยี มความพร้อมและ
ปฏิบตั ิงาน การตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน

การสอบสวนอุบัติการณ์

การตรวจประเมินภายใน

การแก้ไข การปฏบิ ัติการแกไ้ ข
และการปฏบิ ตั ิการปอ้ งกัน

การทบทวนการจดั การ

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-10-

คมู่ อื การปฏิบตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ขน้ั ตอนและวธิ กี ำรดำเนินกำร

1. นโยบำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน
(Occupational Safety , Health and Environmental Policy)

ข้อกำหนดที่ :
1. นโยบำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน (Occupational

Safety , Health and Environmental Policy)
1.1 ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร ต้องกาหนดนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจัดทาเป็นเอกสารพร้อมท้ังลงนาม ซึ่งนโยบายดังกล่าว
ต้อง
1) เหมาะสมกบั ขนาด ลกั ษณะกจิ กรรม และระดบั ความเสยี่ งขององคก์ ร
2) เป็นกรอบในการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดล้อมในการทางาน
3) แสดงความมุ่งมั่นในการป้องกัน การบาดเจ็บ การเจ็บป่วย โรคและอุบัติการณ์ที่

เกดิ ขึน้ จากการทางาน
4) แสดงความมุ่งม่ันในการปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
5) สือ่ สารใหท้ ุกคนทราบอย่างทัว่ ถึง
1.2 มีการทบทวนนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่านโยบายที่กาหนดขึ้นมีความเหมาะสมกับ
องคก์ ร

จากข้อกาหนดสามารถนามาประยุกต์เป็นแนวทางขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตามกระบวนการทางาน
(Work flow) ไดด้ ังนี้

โดย สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-11-

คมู่ อื การปฏิบตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

แนวทำงขนั้ ตอนกำรปฏบิ ตั ิ :

เรมิ่ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงอื่ นไข/การตดั สินใจ เชื่อมตอ่ กระบวนการ ความสมั พนั ธ์และทศิ ทางของกระบวนการ

ลาดบั ขน้ั ตอน ผูร้ ับผดิ ชอบ เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง
ผู้แทนฝ่ายบรหิ ารฯ
1

จัดทารา่ งนโยบายความปลอดภัยฯ
นาเสนอผบู้ ริหารสูงสดุ พิจารณา

2 ผู้บรหิ ารสงู สุด

1

พิจารณาเหน็ ชอบ
นโยบายฯ และลงนาม
เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร
ไมใ่ ช่

ใช่

3 ผ้แู ทนฝ่ายบรหิ ารฯ

ดาเนินการส่ือสารนโยบายความปลอดภัยฯ โดย
ผ่านช่องทางต่างๆ ตามความเหมาะสม เช่น การ
ติดบอรด์ ประชาสัมพันธ์ และการประชุม เปน็ ต้น

4 ผูแ้ ทนฝ่ายบริหารฯ

นาเสนอวาระการทบทวนนโยบายความปลอดภยั ฯ
ในทปี่ ระชมุ การทบทวนการจัดการ ตามระยะเวลา

ท่ีกาหนดไว้

A

โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-12-

คมู่ ือการปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ลาดับ ข้นั ตอน ผูร้ บั ผดิ ชอบ เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง
ผูบ้ ริหารสูงสุด
5A

ดาเนินการทบทวน ผ้แู ทนฝา่ ยบริหารฯ
นโยบายความปลอดภัยฯ ผู้บรหิ ารสูงสดุ
วา่ ยงั มคี วามเหมาะสม

ใช่ อยูห่ รือไม่

จบ
ไมใ่ ช่

6

ทาการปรบั ปรงุ นโยบายความปลอดภยั ฯ
หากเห็นวา่ ยงั ไม่เหมาะสม

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-13-

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ตัวอย่ำง

นโยบำยควำมปลอดภยั อำชวี อนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน
บริษัท ควำมปลอดภัยไทย จำกดั

บริษัท ความปลอดภัยไทย จากัด มีพันธะสัญญาท่ีจะจัดการให้เกิดความปลอดภัย
สุขภาพอนามัย และมีสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดี โดยการนาระบบมาตรฐานความ
ปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน มาดาเนนิ การดว้ ยความม่งุ ม่นั ดงั น้ี

1. ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกาหนด ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางานทเ่ี กี่ยวข้อง

2. ป้องกนั การเกดิ อุบัตเิ หตุ อันตราย และความเจ็บป่วยจากการทางานของพนักงาน
จากการดาเนินกจิ การของบรษิ ัท

3. ลดการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ อันตราย และความเจบ็ ปว่ ยจากการทางานของพนกั งาน
4. ปรับปรงุ ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ

ทางานของบริษัท อย่างต่อเนอ่ื ง

ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน ข้างต้น บริษัทฯ ขอให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ รับทราบและ
ปฏบิ ัติตามนโยบายความปลอดภยั ฯ อย่างจรงิ จงั

(นายองอาจ ปลอดภัย)
ผูจ้ ดั การใหญ่

วันที่ 2 มิถนุ ายน 2557

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-14-

ค่มู ือการปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

2. บทบำทผู้นำองค์กร
(Management Leadership)

ขอ้ กำหนดที่ :
2. บทบำทผู้นำองค์กร (Management Leadership)

2.1 ผู้บริหารสูงสุดต้องแสดงความมุ่งม่ัน เพ่ือให้มั่นใจว่ามีทรัพยากรท่ีเพียงพอในการจัดทา
ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ทั้งในด้าน
บุคลากร เทคโนโลยี รวมถึงดา้ นการเงินด้วย

2.2 ผู้บริหารสูงสุดต้องกาหนดโครงสร้างการบริหาร บทบาท อานาจหน้าที่และความ
รับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน ภายในองคก์ ร เปน็ เอกสารและสอื่ สารใหท้ ราบอย่างทว่ั ถึง

2.3 ผู้บริหารสูงสุดต้องแต่งตั้งบุคคลระดับผู้บริหารขององค์กร เพื่อเป็นผู้แทนฝ่ายบริหารด้าน
ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยมีอานาจ หน้าท่ี และ
ความรับผดิ ชอบ ดงั น้ี 
1) ดูแลให้ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางานท่ีได้จัดทาขึ้น มีการนาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ให้เป็นไปตามข้อกาหนดใน
มาตรฐานนีอ้ ย่างต่อเน่อื ง
2) รายงานผลการปฏิบัติงานของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางานตอ่ ผบู้ ริหารระดบั สงู 
3) ใหข้ ้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนื่อง
4) สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของผปู้ ฏิบตั ิงานทกุ คนในองค์กร

โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-15-

คมู่ อื การปฏบิ ตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

แนวทำงขน้ั ตอนกำรปฏบิ ัติ :

เร่มิ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงอื่ นไข/การตัดสินใจ เช่อื มตอ่ กระบวนการ ความสัมพันธ์และทิศทางของกระบวนการ

ลาดับ รายละเอยี ด ผู้รับผิดชอบ เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง

1 จดั หาทรพั ยากรในการจัดทาระบบ ผ้บู ริหารสงู สดุ
มาตรฐานความปลอดภัยฯ

2 ผู้แทนฝา่ ยบริหาร

จดั ทารา่ งโครงสรา้ งการบรหิ าร บทบาท

หน้าที่และความรบั ผิดชอบดา้ นความ

ปลอดภยั ของผู้ปฏิบตั ิงาน นาเสนอ

ผบู้ ริหารสงู สดุ พจิ ารณา

3 ผ้บู รหิ ารสงู สุด

2 พิจารณาเห็นชอบ
โครงสร้างการบริหาร
ไมใ่ ช่ บทบาท หน้าทแ่ี ละความ
รับผดิ ชอบ พร้อมลงนาม

ใช่

4 ผู้บรหิ ารสูงสดุ

แตง่ ตง้ั ผูแ้ ทนฝา่ ยบริหารด้านความปลอดภยั
อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการ

ทางาน และคณะทางานจัดทาระบบมาตรฐาน

A

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-16-

คูม่ อื การปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ลาดับ รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง
ผ้บู รหิ ารสูงสุด
5 ผู้แทนฝา่ ยบริหาร
A

ดาเนนิ การสือ่ สารโครงสร้างการบริหาร
บทบาท หน้าท่ีและความรับผิดชอบ
ด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ ตามความเหมาะสม

ตัวอย่ำง

กำหนดบทบำทหน้ำที่ และควำมรับผดิ ชอบ ของผ้ปู ฏิบัตงิ ำนแต่ละระดบั ในกำรจัดทำระบบ
มำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนขององค์กร ดงั น้ี

1. ผู้บรหิ ำร มีหนำ้ ที่
(1) แสดงความมุ่งม่ันในการดาเนินการให้บรรลุตามข้อกาหนดของระบบมาตรฐานความปลอดภัย
อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) สนับสนนุ ด้านการเงนิ บคุ ลากร และทรพั ยากรตา่ งๆ
(3) ตดิ ตามความก้าวหน้าเป็นระยะๆ หากพบปญั หาต้องช่วยเหลอื
(4) เปน็ ประธานการประชมุ ทบทวนของฝา่ ยบริหาร
(5) มอบหมายและตดิ ตามงานในการแก้ไขต่างๆ จากการประชมุ ทบทวนของฝา่ ยบรหิ าร

2. หัวหนำ้ งำน มหี นำ้ ท่ี
(1) ให้ความร่วมมือและส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ในการจัดทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) มีสว่ นร่วมในการกาหนดนโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(3) สอ่ื สารนโยบายความปลอดภยั ฯ ให้ผปู้ ฏิบตั ิงานในหนว่ ยงานทราบ
(4) นานโยบายความปลอดภัยฯ ไปสู่การปฏิบัติ
(5) ควบคุมการปฏิบัติตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางานของพนกั งานในหนว่ ยงาน
(6) รายงานปัญหา อุปสรรคในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานให้
ผูบ้ ริหารทราบ

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

-17-

คู่มือการปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

3. พนักงำน มหี น้ำท่ี
(1) ให้ความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในการจัดทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย
อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) มีสว่ นรว่ มในการกาหนดนโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
(3) ปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย กฎ ระเบียบ ขั้นตอน ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางานอยา่ งเคร่งครัด
(4) รายงานสภาพปญั หา อปุ สรรค ความไมป่ ลอดภัยต่างๆ ต่อหัวหนา้ งานหรือผู้บริหารทราบทันที

4. คณุ สมบัติของผแู้ ทนฝำ่ ยบรหิ ำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำร
ทำงำน
ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร แต่งต้ังผู้แทนฝ่ายบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอ้ มในการทางาน โดยคานึงถงึ คุณสมบัติของผูแ้ ทนฝา่ ยบรหิ ารด้านความปลอดภยั ฯ ดงั น้ี
(1) มคี วามเป็นผ้นู า มีความสามารถในการบรหิ ารจัดการ
(2) มีความเข้าใจในระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
เปน็ อยา่ งดี
(3) มที กั ษะในการพดู อธิบายให้คนอ่นื เขา้ ใจ มีความสามารถในการจูงใจ
(4) เป็นผ้ทู ม่ี ีความตงั้ ใจ เห็นความสาคัญด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน
(5) เปน็ ที่ยอมรับ ให้ความเชอื่ ถือจากบคุ ลากรหน่วยงานอ่นื ๆ
(6) ไดร้ ับการสนบั สนนุ จากผบู้ รหิ ารระดบั สงู เป็นอยา่ งดี

5. หน้ำท่ีของผู้แทนฝ่ำยบริหำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำร
ทำงำน
(1) ติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินการตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) ติดตามใหม้ กี ารดาเนินการอยา่ งต่อเนือ่ ง
(3) ตดิ ตามการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ รว่ มกับผู้ท่เี ก่ียวข้อง
(4) วางแผนและดาเนินการตรวจติดตามภายใน
(5) ตดิ ตามการแกไ้ ขผลท่ไี ด้จากการตรวจติดตาม
(6) รายงานผลการดาเนินการ ปัญหาต่างๆ ใหผ้ ้บู รหิ ารสงู สุดทราบ

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

-18-

คู่มือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

6. คณะทำงำนจดั ทำระบบมำตรฐำนควำมปลอดภยั ฯ
ประกอบด้วยตัวแทนจากหนว่ ยงานตา่ งๆ เชน่ ฝา่ ยผลิต บารุงรักษา วิศวกร เทคนิค บุคคล จัดซื้อ บัญชี
เป็นตน้ เพอ่ื จดั ทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เช่น
ทบทวนสถานะเริ่มต้น ประเมินความเสี่ยง จัดทาแผนงาน จัดทาขั้นตอนการดาเนินงาน ตามระบบ
มาตรฐานความปลอดภยั ฯ เปน็ ต้น โดยคานึงถึงคณุ สมบัตขิ องคณะทางาน ดงั นี้
(1) เปน็ ผู้ปฏบิ ัติงานระดับหวั หนา้ งาน
(2) เขา้ ใจงานที่รบั ผิดชอบเป็นอย่างดี
(3) มจี ติ สานึกท่ีจะชว่ ยปรบั ปรงุ ปัญหาความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
(4) มคี วามเข้าใจในข้อกาหนดระบบมาตรฐาน

7. หนำ้ ท่ีของคณะทำงำนจดั ทำระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัยฯ มีดงั น้ี
(1) ศึกษาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับ
สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก กฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับความ
ปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) จดั ทาแผนการดาเนนิ งาน
(3) จัดทาคู่มือต่างๆ ท่ีจะต้องใช้ในการดาเนินงานตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
(4) ดาเนินงานตามแผนงานและรายงานความคืบหน้าต่อผู้บริหาร

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-19-

คู่มือการปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ตวั อยำ่ ง

กำรแตง่ ต้ังผู้แทนฝำ่ ยบริหำรด้ำนควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน

คำสง่ั ท่ี 1/2557
เรือ่ ง แตง่ ตั้งผู้แทนฝำ่ ยบริหำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั
และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน บริษทั ควำมปลอดภยั ไทย จำกดั
_____________________________________________________________________________
ตามท่ีบริษัท ความปลอดภัยไทย จากัด ได้นาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน เขา้ ใช้งานในบริษัท
เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ จึงขอแต่งตั้งให้
นายองอาจ หาญกล้า เป็นผ้แู ทนฝ่ายบริหาร ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน โดยมหี นา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตามรายการกาหนดหนา้ ท่ี ดังแนบทา้ ยคาส่งั ฉบบั นี้
ท้ังนต้ี ง้ั แตว่ นั ท่ี 1 กรกฎาคม 2557 เปน็ ตน้ ไป

ส่งั ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2557

(นายสง่ เสริม ปลอดภยั )
ผ้จู ัดการใหญ่

รำยกำรกำหนดหนำ้ ท่ี แนบทำ้ ยคำสง่ั ที่ 1/2557
หน้าท่ีและความรับผิดชอบของผู้แทนฝ่ายบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน มดี งั นี้
1. ติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินการตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
2. ติดตามให้มกี ารดาเนินการอย่างต่อเนือ่ ง
3. ติดตามการแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ร่วมกับผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
4. วางแผนและดาเนนิ การตรวจติดตามภายใน
5. ตดิ ตามการแกไ้ ขผลทีไ่ ดจ้ ากการตรวจติดตาม
6. รายงานผลการดาเนินการ ปญั หาตา่ งๆ ใหผ้ ู้บริหารสูงสุดทราบ

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-20-

คมู่ ือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ตัวอยำ่ ง

กำรแตง่ ต้ังคณะทำงำนระบบมำตรฐำนควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำร
ทำงำน

คำส่ังท่ี 2/2557
เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะทำงำนระบบมำตรฐำนควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัย
และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน บริษทั ควำมปลอดภยั ไทย จำกัด
_______________________________________________________________________

เพื่อให้การดาเนินงานของบริษัท ความปลอดภัยไทย จากัด เป็นไปตามระบบมาตรฐานความ

ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุ

วตั ถุประสงค์ในการจดั ทาระบบมาตรฐานความปลอดภยั ฯ จงึ ขอแต่งตงั้ คณะทางาน ดังน้ี

1. ผูจ้ ดั การโรงงาน หวั หน้าคณะทางาน

2. หัวหน้าฝา่ ยซอ่ มบารงุ คณะทางาน

3. วศิ วกรประจาโรงงาน คณะทางาน

4. หัวหน้าฝ่ายเทคนิค คณะทางาน

5. หวั หนา้ ฝา่ ยบคุ คล คณะทางาน

6. หัวหน้าฝ่ายจดั ซอ้ื คณะทางาน

7. หัวหน้าฝ่ายบญั ชี คณะทางาน

8. หวั หนา้ ฝ่ายคลงั สนิ ค้า คณะทางาน

9. เจ้าหน้าท่คี วามปลอดภยั ในการทางานในการทางาน คณะทางานและเลขานกุ าร

ใหค้ ณะทำงำนฯ มหี น้ำทแี่ ละควำมรับผิดชอบ ดังนี้
1. ศกึ ษาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน สาหรับ

สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก กฎหมายและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ

ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน

2. จดั ทาแผนการดาเนนิ งาน

3. จัดทาคู่มือต่างๆ ที่จะต้องใช้ในการดาเนินงานตามระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดล้อมในการทางาน

4. ดาเนนิ งานตามแผนงานและรายงานความคืบหน้าต่อผู้บรหิ าร

ทัง้ นี้ ตงั้ แต่วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2557

ส่งั ณ วนั ที่ 25 มิถนุ ายน 2557
(นายสง่ เสริม ปลอดภัย)
ผูจ้ ดั การใหญ่

โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-21-

คมู่ ือการปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

3. กำรวำงแผนและกำรนำระบบไปปฏบิ ัติ
(Planning and Implementation)

3.1 กำรชี้บ่งอนั ตรำยและกำรประเมนิ ควำมเสย่ี ง
(Hazard Identification and Risk Assessment)

ข้อกำหนดท่ี :
3.1 กำรช้ีบง่ อันตรำยและกำรประเมินควำมเสีย่ ง (Hazard Identification and Risk

Assessment)
1) องคก์ รต้องจดั ทาข้ันตอนการดาเนนิ งานการชบ้ี ง่ อันตรายและการประเมินความเส่ียง
2) องค์กรต้องชี้บ่งอันตรายและประเมินความเส่ียงของกิจกรรม และสภาพแวดล้อมในการ

ทางานของผู้ปฏิบัติงานภายในองค์กร ให้ครอบคลุมท้ังกิจกรรมท่ีทาเป็นประจาและไม่เป็น
ประจา
3) องค์กรมีการช้ีบ่งอันตรายท่ีเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมท่ีไม่ปลอดภัยของ ผู้ปฏิบัติงาน
ขีดความสามารถของรา่ งกาย
4) องค์กรมีการชบี้ ่งอันตรายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบพื้นที่ สถานีงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ใน
การทางาน และท่าทางในการทางานทีไ่ ม่เหมาะสม
5) องค์กรมีการจัดทาการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงของกิจกรรมและ
สภาพแวดลอ้ มในการทางานของผรู้ บั เหมา บคุ คลภายนอก และผเู้ ยย่ี มชม
6) กรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลง องค์กรจะต้องช้ีบ่งอันตรายและประเมินความเส่ียงก่อนท่ีจะทา
การเปล่ยี นแปลง
7) องคก์ รต้องทบทวนการชีบ้ ง่ อันตรายและประเมินความเสย่ี งตามช่วงเวลาท่ีกาหนด
8) องค์กรต้องสือ่ สารความเสี่ยงไปยังผทู้ ่เี ก่ียวข้อง
9) องคก์ รตอ้ งจัดทาและเกบ็ บนั ทึกการชี้บง่ อันตรายและการประเมนิ ความเสี่ยง

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-22-

ค่มู อื การปฏบิ ตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

แนวทำงขนั้ ตอนกำรปฏิบัติ :

เรมิ่ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เง่อื นไข/การตัดสินใจ เชอื่ มต่อกระบวนการ ความสมั พันธแ์ ละทศิ ทางของกระบวนการ

ลาดับ รายละเอียด ผู้รับผดิ ชอบ เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

1 คณะทางานจดั ทาระบบ แบบฟอร์มทะเบียน

ทาการรวบรวมรายการตาแหนง่ งานและ ผู้จัดการฝา่ ย รายการตาแหนง่ งาน

รายการงานท่รี ับผดิ ชอบทง้ั หมด หัวหน้างาน

2 คณะทางานจดั ทาระบบ แบบสารวจ

การสารวจพื้นที่ในการทางานเพอื่ ค้นหา ผจู้ ดั การฝา่ ย สภาพแวดลอ้ มในการ

สภาพแวดลอ้ มท่ไี ม่ปลอดภัย หัวหนา้ งาน ทางาน

3 คณะทางานจดั ทาระบบ แบบฟอร์มชี้บง่ อันตราย

การชบ้ี ง่ อนั ตรายจากรายการงานท่ีรับผดิ ชอบ ผจู้ ดั การฝา่ ย และประเมินความเสยี่ ง

และผลการสารวสภาพแวดล้อม หัวหน้างาน

4 คณะทางานจดั ทาระบบ แบบฟอร์มชี้บง่ อันตราย

ทาการประเมินความเสี่ยงโดยพจิ ารณา ผจู้ ัดการฝา่ ย และประเมนิ ความเส่ยี ง
โอกาสและความรุนแรง หวั หน้างาน

5 คณะทางานจดั ทาระบบ แบบฟอร์มทะเบยี น

จัดทาทะเบียนความเสี่ยงโดยการ ผ้จู ดั การฝา่ ย ความเส่ยี ง
เรียงลาดับระดบั ความเสย่ี ง หัวหนา้ งาน

6 ผู้จดั การฝา่ ย

การสอ่ื สารความเสย่ี งไปยงั พนกั งานท่ี หวั หน้างาน

เกย่ี วข้อง

A

โดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-23-

ค่มู ือการปฏิบตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ลาดบั รายละเอยี ด ผรู้ ับผดิ ชอบ เอกสารท่เี กยี่ วข้อง

7 คณะทางานจดั ทาระบบ

A ผจู้ ัดการฝา่ ย

หัวหนา้ งาน

ทาการทบทวนความเสย่ี ง
ตามช่วงเวลาทก่ี าหนดไว้

กำรรวบรวมรำยกำรตำแหน่งงำน รำยกำรงำนท่ีรับผิดชอบ และกำรสำรวจสภำพแวดล้อมในกำร
ทำงำน
ทาการรวบรวม รายการตาแหน่งงาน และรายการงานที่รบั ผิดชอบทง้ั หมด ดงั น้ี
1. ระบุรายการตาแหนง่ งานและรายการงานทีร่ ับผิดชอบท้ังหมด

(1) ระบุรายการตาแหน่งงาน ตามตัวอย่างแบบฟอร์มทะเบียนรายการตาแหน่งงาน เช่น พนักงานฝ่าย
ผลิต พนักงานหอ้ งปฏิบตั ิการ เป็นต้น

(2) ระบุรายการงานที่รับผิดชอบของแต่ละตาแหน่งงานท้ังหมด ตามตัวอย่าง เช่น งานควบคุม
เครือ่ งจักร งานประกอบช้นิ สว่ น งานผสมสารเคมี เป็นต้น

2. จดั ทาแบบสารวจสภาพแวดล้อมในการทางานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน โดยพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมทที่ าให้เกดิ อันตรายต่อผปู้ ฏิบัติงานได้

กำรช้ีบง่ อนั ตรำย
องค์กรสามารถใช้แนวทางในการช้ีบ่งอันตรายตามคู่มือฉบับนี้ เพื่อทาการช้ีบ่งอันตรายจากรายการงานท่ี
รับผิดชอบ และผลการสารวจสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน โดยการชี้บง่ อนั ตรายจะตอ้ งพิจารณาถึงสงิ่ ต่อไปน้ี
1. มแี หลง่ กาเนิดของอันตรายหรอื ไม่

(1) แหลง่ ทเ่ี ป็นเคร่อื งจักร อุปกรณ์ เช่น ส่วนท่หี มนุ ได้ สว่ นทเี่ ก่ียวกับไฟฟา้ เปน็ ตน้
(2) แหล่งท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั วสั ดุหรือสารเคมตี ่างๆ เช่น วัตถุดิบ สารเคมอี ันตราย ผลติ ภัณฑ์ เป็นต้น
2. ใครจะเปน็ ผู้ได้รบั อันตราย เชน่ พนักงาน ผู้รับเหมา เป็นตน้
3. อันตรายจะเกิดขึ้นได้อยา่ งไร โดยใช้ลักษณะของอนั ตรายตอ่ ไปน้ี มาช่วยในการพจิ ารณา
(1) การตกจากทส่ี ูง
(2) การลื่น หกล้ม
(3) การถกู กระแทก/ถกู ตี
(4) การถูกหนีบ/ถูกบบี
(5) ถกู บดหรือกดทับ

โดย สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-24-

คมู่ อื การปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

(6) ถูกของแหลมมคี ม ตดั บาด ทิ่มแทง
(7) สมั ผสั สารเคมี ( ทางการหายใจ ผิวหนงั และทางปาก)
(8) ไฟฟา้ ดดู
(9) สัมผสั ความร้อน ความเย็น รงั สี เสยี งดัง
(10) การเกดิ ไฟไหม้
(11) การระเบิด

กำรประเมนิ ควำมเส่ียง
ข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการชี้บ่งอันตรายทั้งหมด จะต้องนาไปประเมินความเสี่ยง ตามตัวอย่าง โดย
พิจารณาใน 2 ประเด็น ได้แก่
1. โอกำสทจี่ ะเกดิ อันตรำย ลักษณะโอกาสทีจ่ ะเกดิ ของอนั ตรายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดงั นี้

(1) โอกาสมาก
เป็นเหตุการณ์ทส่ี ามารถเกิดขน้ึ ไดบ้ ่อย มีความถ่ีในการเกิดมากกว่า 1 ครง้ั ใน 1 ปี

(2) โอกาสเกดิ ปานกลาง
มีความถีใ่ นการเกิด 1 ครงั้ ในชว่ ง 1-5 ปี

(3) โอกาสเกิดนอ้ ย
ไม่นา่ จะเกิดหรือยากทีจ่ ะเกิดและไม่เคยเกิดเหตกุ ารณข์ ึ้นเลยในช่วง 10 ปี

2. ระดับควำมรนุ แรงท่ีอำจเกดิ ขึน้
(1) ระดับความรุนแรงมาก
การบาดเจ็บ/เจ็บป่วยในระดับรุนแรง เช่น การสูญเสียอวัยวะ กระดูกแตกหัก การได้รับพิษ
การบาดเจ็บหลายๆ ส่วนของร่างกาย การบาดเจ็บท่ีทาให้เสียชีวิต โรคมะเร็งที่เกิดจากการทางาน
โรคร้ายแรงทที่ าใหเ้ สยี ชวี ิตฉบั พลัน ทรัพยส์ นิ เสยี หายมมี ูลคา่ มากกว่า 100,000 บาท
(2) ระดับความรุนแรงปานกลาง
การบาดเจ็บ/เจ็บป่วยในระดับกลาง เช่น บาดแผลฉีกขาด แผลไฟไหม้ อาการข้อเคล็ดอย่างรุนแรง
กระดูกร้าวเล็กน้อย อาการหูหนวก โรคผิวหนังอักเสบ โรคหืด อาการผิดปกติของมือและแขน
ทรัพยส์ นิ เสยี หายมากกว่า 5,000 แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท
(3) ระดบั ความรนุ แรงน้อย
การบาดเจ็บ/เจ็บป่วยในระดับเล็กน้อย เช่น การบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆ การระคายเคืองตาจากฝุ่น
ส่ิงรบกวนท่ีทาให้เกิดความราคาญ (เช่น ทาให้ปวดศีรษะ) ความเจ็บป่วยท่ีทาให้ไม่สบายเป็นคร้ัง
คราว ทรัพย์สนิ เสยี หายเลก็ น้อย มมี ูลค่าไม่เกนิ 5,000 บาท

โดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

-25-

คมู่ อื การปฏบิ ัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

กำรตัดสินควำมเสี่ยงจะพิจำรณำ โดยใช้ “ระดับควำมเส่ียง” ของควำมรุนแรงและโอกำสที่จะเกิด
ของอนั ตรำย มำประมำณควำมเสี่ยง ตำมตำรำงกำรประมำณระดบั ควำมเสี่ยง ดังนี้

ตำรำงกำรประมำณระดบั ควำมเสี่ยง

โอกำสที่จะเกิดอันตรำย มำก ควำมรนุ แรง นอ้ ย
ปำนกลำง ควำมเสี่ยงปำนกลำง
มำก ควำมเสย่ี งทยี่ อมรบั
ไมไ่ ด้ ควำมเสย่ี งสงู

ปำนกลำง ควำมเส่ยี งสูง ควำมเสี่ยงปำนกลำง ควำมเสี่ยงยอมรับได้

นอ้ ย ควำมเส่ยี งปำนกลำง ควำมเสย่ี งทยี่ อมรับ ควำมเสี่ยงเล็กนอ้ ย
ได้

กำรจัดทำทะเบียนควำมเสี่ยง

โดยการนาผลการประมาณระดับความเสี่ยงของทุกกิจกรรมไปบันทึกในทะเบียนความเส่ียง โดยเรียงลาดับ
ระดบั ความเสย่ี งจากความเส่ียงท่ยี อมรับไม่ได้ ความเส่ยี งสูง ความเส่ยี งปานกลาง ความเส่ียงยอมรับได้ และ
ความเสีย่ งเลก็ น้อย เพื่อใช้พจิ ารณาความเรง่ ด่วนในการนาไปวางแผนการควบคุมความเส่ียงต่อไป

โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-26-

คมู่ ือการปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ตวั อย่ำง กำรจำแนกงำน กิจกรรม สถำนที่ อุปกรณ์

แบบฟอร์มทะเบียนรำยกำรตำแหนง่ งำน

ตำแหน่งงำน งำนทร่ี บั ผดิ ชอบ

1.พนกั งานผลติ 1. งานถา่ ยเทสารเคมี
2. งานควบคุมเคร่ืองจกั ร
3. งานทาความสะอาดเครอื่ งจักร
4. งานเคลื่อนยา้ ยสารเคมีดว้ ยรถโฟล์คลิฟท์
5. งานบันทึกผลการผลติ ด้วยคอมพวิ เตอร์
6. งานตรวจสอบเครอื่ งจกั รประจาวนั

แบบฟอรม์ รำยกำรสำรวจสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

พ้นื ท่ี สภำพแวดล้อมในกำรทำงำนทไี่ ม่ปลอดภยั

1.อาคารผลิต 1. มนี า้ มันหลอ่ ล่นื ของเคร่อื งจักรหกท่พี ืน้
2. สารเคมีทเ่ี กบ็ ไวไ้ มม่ ปี ้ายแสดงชนิด และไมม่ ีข้อมลู
2.อาคารเกบ็ วตั ถดุ บิ
ความ ปลอดภัยของสารเคมี
3.อาคารซ่อมบารงุ 3. มกี ารวางพาเลทกดี ขวางประตูหนีไฟ
4. พ้นื ท่ปี ฏิบัติงานมฝี นุ่ ฟุ้งกระจาย
1. การจดั วางสิ่งของบนชนั้ วางของไม่มั่นคง มีโอกาสตก

หลน่ ได้ง่าย
2. อุปกรณด์ บั เพลิงอยูใ่ นสภาพไมพ่ รอ้ มใชง้ าน
3. มสี ารเคมีหกทพี่ ้ืน
4. การวางซ้อนพาเลทสงู เกนิ 2 ชนั้ มโี อกาสล้มได้
1. เครือ่ งจักรไม่มกี ารด์ ครอบส่วนทหี่ มุนได้
2. ไมม่ โี ซค่ ล้องถงั แกส๊
3. มีการวางถงั สารเคมไี วไฟ ไวใ้ นพน้ื ท่งี านเชื่อม
4. อปุ กรณด์ ับเพลิงอยู่ในสภาพไม่พรอ้ มใชง้ าน

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-27-

ค่มู อื การปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ตวั อย่ำง

แบบฟอรม์ ชี้บง่ อันตรำย

จำกทะเบียนรำยกำรตำแหน่งงำน และรำยกำรสำรวจสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน

งำนทร่ี บั ผดิ ชอบ / แหล่งกำเนดิ ของ ใคร (หรืออะไร) ลักษณะกำรเกดิ อนั ตรำย
ผลกำรสำรวจพนื้ ที่ อันตรำย เปน็ ผู้ไดร้ บั อนั ตรำย

งานถา่ ยเทสารเคมี โซดาไฟ ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน - โซดาไฟกระเดน็ ถกู ตวั ขณะเท
โซดาไฟจากถงั 20 ลิตร
ฝาถงั ผสมสารเคมี
- ปวดหลังเนอื่ งจากทา่ ทางการยกที่
ไมถ่ ูกตอ้ ง

- สูดดมไอระเหยของโซดาไฟ

ผ้ปู ฏบิ ัติงาน - ฝาถงั ผสมสารเคมที ับมอื หรือเทา้

มีน้ามนั หลอ่ ล่ืนของ น้ามนั หล่อล่นื ผปู้ ฏิบัตงิ าน - ลน่ื หกล้ม
เครื่องจกั รหกทีพ่ ืน้ เพื่อนร่วมงาน
- เกิดการตดิ ไฟ หากมีการปฏิบตั ิงาน
ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ท่ที าใหเ้ กิดความรอ้ นหรอื ประกาย
เพือ่ นรว่ มงาน ไฟในพ้ืนทด่ี ังกล่าว
ทรพั ย์สินของบริษทั

สารเคมที เ่ี กบ็ ไวไ้ มม่ ปี ้าย สารเคมี ผู้ปฏิบัตงิ าน - อาจมกี ารนาสารเคมไี ปใชผ้ ดิ
แสดงชนิด และไมม่ ีข้อมูล เพอ่ื นรว่ มงาน ประเภท ทาใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อ
ความปลอดภยั ของ ผปู้ ฏบิ ัติงานได้
สารเคมี

โดย สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-28-

คมู่ อื

ตัวอยำ่ ง แบบฟอรม์ ชี้บ่งอนั ตรำยและประเมินควำมเสยี่ ง : งำนถ

งานทรี่ บั ผดิ ชอบ / แหล่งกาเนดิ ของ ใคร (หรืออะไร) ลกั ษณะการเกดิ อ
ผลการสารวจพ้นื ท่ี อันตราย เป็นผไู้ ดร้ ับอันตราย

งานถ่ายเทสารเคมี โซดาไฟ ผู้ปฏิบัติงาน โซดาไฟกระเด็นถกู ตวั ขณะเ
20 ลิตร
ปวดหลังเนื่องจากทา่ ทางกา

สูดดมไอระเหยของโซดาไฟ

-29- ฝาถังผสม ผู้ปฏิบัติงาน ฝาถังผสมสารเคมีทบั มอื หรอื
สารเคมี
มี น้ า มั น ห ล่ อ ล่ื น นา้ มนั หล่อลน่ื ผปู้ ฏิบตั งิ าน ลนื่ หกลม้
เครอ่ื งจกั รหกท่ีพ้นื เพื่อนร่วมงาน
ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน เกดิ การตดิ ไฟ หากมีการปฏ
สารเคมีที่เก็บไว้ไม่ สารเคมี เพ่ือนร่วมงาน เกิดความรอ้ นหรอื ประกายไ
มี ป้ า ย แ ส ด ง ช นิ ด ทรัพยส์ ินของบรษิ ัท ดงั กล่าว
แ ล ะ ไ ม่ มี ข้ อ มู ล ผปู้ ฏิบตั ิงาน อาจมกี ารนาสารเคมีไปใชผ้ ดิ
ความปลอดภัยของ เพ่ือนรว่ มงาน เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบตั ิงาน
สารเคมี

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั แ

อการปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ถ่ำยเทสำรเคมี

โอกาสท่จี ะเกิดอนั ตราย ระดบั ความรุนแรง ระดับความ
เสี่ยง
อันตราย นอ้ ย ปาน มาก นอ้ ย ปาน มาก
เทโซดาไฟจากถงั กลาง กลาง ปานกลาง

 

ารยกที่ไมถ่ กู ตอ้ ง   ปานกลาง

  เล็กน้อย

อเทา้   ยอมรับได้

 ยอมรับได้

ฏิบัตงิ านทีท่ าให้   ปานกลาง
ไฟในพืน้ ท่ี

ดประเภท ทาให้   ปานกลาง
นได้

และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

คมู่ อื การปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ตวั อยำ่ ง แบบฟอรม์ ทะเบยี นควำมเสี่ยง (ตำมลำดับจำกมำกไปน้อย)

งำนทร่ี บั ผดิ ชอบ / แหลง่ กำเนดิ ใคร (หรืออะไร) ลักษณะกำรเกดิ ระดับ แผน
ผลกำรสำรวจพน้ื ที่ ของอนั ตรำย เป็นผ้ไู ดร้ บั อนั ตรำย ควำมเสีย่ ง ควบคมุ
อันตรำย
สารเคมีทเ่ี ก็บไว้ไมม่ ี สารเคมี อาจมกี ารนาสารเคมี ปานกลาง แผนควบคมุ
ป้ายแสดงชนดิ และ ผปู้ ฏบิ ัติงาน ไปใชผ้ ิดประเภททาให้ 001/2556
ไมม่ ีขอ้ มลู ความ เกดิ อนั ตรายต่อ
ปลอดภัยของสารเคมี เพื่อนร่วมงาน ผปู้ ฏิบตั ิงานได้

มนี ้ามนั หลอ่ ลนื่ น้ามนั หล่อลืน่ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน เกิดการตดิ ไฟ หากมี ปานกลาง แผนควบคมุ
เครื่องจักรหกทีพ่ น้ื เพื่อนร่วมงาน การปฏบิ ตั งิ านทท่ี าให้ 001/2556
ทรพั ย์สนิ ของ เกิดความร้อนหรือ
บริษทั ประกายไฟในพ้นื ที่
ดงั กล่าว

มีนา้ มันหล่อลน่ื น้ามนั หลอ่ ลื่น ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ลื่น หกลม้ ยอมรับได้ แผนควบคุม
เคร่ืองจักรหกทพี่ น้ื เพ่อื นรว่ มงาน 001/2556
ทรัพยส์ ินของ
บริษทั

หมำยเหตุ :
ตวั อย่ำงกำรชบี้ ่งอันตรำยและกำรประเมนิ ควำมเสย่ี ง ด้วยเทคนคิ วิธีอน่ื ๆ สำมำรถดู
เพิ่มเติมไดท้ ีภ่ ำคผนวก เร่อื ง กำรชีบ้ ่งอันตรำยและประเมนิ ควำมเสีย่ ง

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
-30-

ค่มู ือการปฏิบตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

3.2 กฎหมำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน
(Occupational Safety , Health and Environment Legal)

ข้อกำหนดท่ี :
3.2 กฎหมำยควำมปลอดภยั อำชวี อนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน

(Occupational Safety , Health and Environment Legal)
1) องค์กรต้องจัดทาข้ันตอนการดาเนินงาน ในการช้ีบ่งและติดตามกฎหมายความปลอดภัย

อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ให้เป็นปัจจุบันอยู่
เสมอ
2) องคก์ รต้องกาหนดผูร้ ับผิดชอบในการนากฎหมายไปปฏบิ ตั ิและรักษาไว้ในองค์กร
3) องค์กรมีการประเมินความสอดคล้องในการปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัย
อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
4) องคก์ รต้องจัดทาและเก็บบันทกึ ทเ่ี ก่ียวข้อง

ในการจัดทาระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
จาเปน็ ที่จะตอ้ งปฏิบัตติ ามกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน เพ่ือใช้
เป็นแนวทางในการปฏิบัติ โดยในระบบมาตรฐานฉบับนี้ จะเน้นการปฏิบัติตามกฎหมายท่ีออกตาม พรบ.
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 และ พรบ. คุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541

โดย สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-31-

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

แนวทำงข้ันตอนกำรปฏบิ ตั ิ :

เริ่ม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงอื่ นไข/การตัดสินใจ เชอ่ื มตอ่ กระบวนการ ความสมั พนั ธแ์ ละทิศทางของกระบวนการ

ลำดับ รำยละเอียด ผรู้ บั ผดิ ชอบ เอกสำรทเี่ กย่ี วขอ้ ง
เจา้ หนา้ ทค่ี วาม
1 ปลอดภยั ในการ

รวบรวมกฎหมายท่อี อกตาม พรบ.ความปลอดภัย ทางาน
2554 และ พรบ. คุ้มครองแรงงาน 2541

2 เจา้ หนา้ ท่คี วาม

คัดเลอื กกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสถานประกอบ ปลอดภัยในการ

กิจการ ทางาน

3 เจา้ หนา้ ทีค่ วาม

จัดทาสรุปสาระสาคญั ของกฎหมาย ปลอดภัยในการ
ทางาน

4 เจ้าหนา้ ทค่ี วาม แบบฟอร์มทะเบียน
จัดทาทะเบยี นกฎหมาย
ปลอดภยั ในการ กฎหมาย

ทางาน

5 เจา้ หนา้ ที่ความ

การส่ือสารกฎหมายไปยังหนว่ ยงานต่างๆ ปลอดภัยในการ

ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ทางาน

6 ผจู้ ัดการฝา่ ย
หวั หนา้ งาน
ดาเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี ฎหมาย
กาหนดไว้

7 เจา้ หนา้ ท่ีความ

ประเมนิ ความสอดคล้องในการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ปลอดภัยในการ
ทางาน

8 ผู้จัดการฝา่ ย
หัวหนา้ งาน
ดาเนนิ การแก้ไขหากพบวา่ ไมเ่ ปน็ ไปตามที่
กฎหมายกาหนดไว้

โดย สถาบันส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-32-

ค่มู อื การปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ตัวอยำ่ ง

ทะเบียนกฎหมำยควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน

ชอื่ กฎหมาย ข้อกาหนดท่ีต้องปฏบิ ัติตาม ผู้รบั ผิดชอบ ส่งิ ทตี่ อ้ งปฏิบัติ

ประกาศกรมสวัสดิการ - จัดใหม้ ีการฝึกอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ ฝา่ ยบคุ คล - จัดให้มีการฝึกอบรม

และคุ้มครองแรงงาน ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจ่ัน พนักงานที่เกี่ยวข้อง

เรื่อง หลักเกณฑ์และ ผูย้ ึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และ ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์

วิธีการอบรม หลักสูตร การอบรมทบทวนการทางานเกี่ยวกับป้ันจั่น วิธีการท่ีทางราชการ

การปฏิ บัติ หน้าที่ผู้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ หลักสูตรการฝึกอบรม กาหนด

บังคับปั้นจั่น ผู้ให้ และวทิ ยากรฝกึ อบรมทีก่ าหนดไวใ้ นประกาศนี้

สัญญาณแก่ผู้บังคับ - จัดทาทะเบียนรายช่ือผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ฝ่ายบคุ คล - จดั ทาทะเบียนรายช่อื
ปั้นจ่ัน ผู้ยึดเกาะวัสดุ วัน เวลาที่ฝึกอบรม พร้อมรายช่ือวิทยากรเก็บ พนักงานท่ีผ่านการ
หรือผู้ควบคุมการใช้ ไว้ ณ สถานประกอบกิจการหรอื สานกั งานของ ฝึ ก อ บ ร ม พ ร้ อ ม
ปั้นจั่น และการอบรม นายจ้างพร้อมที่จะให้พนักงานตรวจแรงงาน รายช่ือวิทยากรเก็บ
ทบทวนการทางาน ตรวจสอบได้ตลอดเวลา ไว้ที่สถานประกอบ
เกี่ยวกับปั้นจ่ัน พ.ศ. กจิ การ
2554 - ในการทดสอบภาคปฏิบัติผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมจะต้องได้รับการทดสอบภาคปฏิบัติ - มี ก า ร อ บ ร ม ต า ม

ในสถานที่จริง หรือมีลักษณะเหมือนสถานที่ เงือ่ นไขท่ีกาหนดไว้

จริง

- จัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการทางาน

เกยี่ วกับปั้นจ่ันไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง กรณีหน่ึง

กรณีใดดังน้ี

o ผู้ผ่านการอบรมและทางานมาแล้วเป็น

ระยะเวลา 2 ปี
o เม่ือมีสถิติอุบัติเหตุสูงขึ้นหรือเกิดอุบัติเหตุ

รา้ ยแรงเกยี่ วกบั ปนั้ จ่ันในสถานท่ีทางาน

o เม่ือมีการนาป้ันจ่ันชนิดหรือลักษณะท่ี

แตกต่างจากเดมิ มาใช้งาน

แหล่งข้อมูล : เพอ่ื คน้ หากฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน เชน่

 http://www.oshthai.org/ สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน

 http://www.diw.go.th/ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

 http://www.krisdka.go.th สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า

 http://www.ratchakitcha.soc.go.th ราชกจิ จานเุ บกษา

โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-33-

คู่มือการปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

3.3 วัตถุประสงคแ์ ละแผนงำน
(Objectives and Programme(s))

ข้อกำหนดที่ :
3.3 วตั ถุประสงค์และแผนงำน (Objectives and Programme(s))

1) องค์กรต้องจัดทาวัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน โดยจดั ทาเปน็ เอกสาร วัตถปุ ระสงค์นี้จะตอ้ ง
1.1) วดั ผลได้
1.2) สอดคล้องกับนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน
1.3) สอดคล้องกับกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
1.4) มุ่งม่ันในการป้องกันอันตราย และความเจ็บป่วยจากการทางานโดยมีการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง

2) องค์กรต้องจัดทาแผนงานเป็นเอกสารเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยแผนงาน
อย่างน้อยต้องรวมถงึ
2.1) การกาหนดความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่ในระดับและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภายในองคก์ ร
2.2) วธิ ีการในการกาหนดมาตรการควบคมุ ความเส่ยี ง ควรจะกาหนดลาดับความสาคัญ
ดงั น้ี
ก. การกาจัด 
ข. การเปล่ยี นหรือทดแทน
ค. การควบคุมทางด้านวศิ วกรรม
ง. การควบคุมดา้ นการบรหิ ารจัดการ
จ. การเตือนอนั ตราย
ฉ. การใช้อปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล
2.3) กรอบเวลาดาเนินการ

3) ดาเนินการตรวจติดตามและวัดผลการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอเพ่ือให้บรรลุตาม
วตั ถุประสงค์และแผนงาน พร้อมทง้ั ปรบั เปลย่ี นตามความเหมาะสม

4) องคก์ รต้องจัดทาและเกบ็ บันทึกท่เี ก่ยี วข้อง

โดย สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

-34-

คู่มือการปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

แนวทำงขั้นตอนกำรปฏบิ ตั ิ :

เริ่ม/จบกระบวนการ กิจกรรม เงอ่ื นไข/การตดั สนิ ใจ เชอ่ื มตอ่ กระบวนการ ความสมั พนั ธ์และทิศทางของกระบวนการ

ลำดับ รำยละเอียด ผรู้ ับผิดชอบ เอกสำรที่เกย่ี วขอ้ ง
ผู้จัดการฝา่ ย
1 หัวหน้างาน

แตล่ ะหน่วยงานรวบรวมความเสยี่ งทต่ี อ้ งกาหนด
มาตรการควบคุม

2 ผ้จู ดั การฝา่ ย แบบฟอรม์ แผนงาน
หวั หน้างาน ควบคมุ ความเสี่ยง
จดั ทาวัตถุประสงคด์ า้ นความปลอดภัย
อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน

3 ผจู้ ัดการฝา่ ย แบบฟอรม์ แผนงาน
หวั หน้างาน ควบคมุ ความเสย่ี ง
จัดทาแผนงานเพื่อให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์
ท่ีตั้งไว้

4 ผจู้ ดั การฝา่ ย
หวั หน้างาน
ดาเนนิ การตามแผนงานทกี่ าหนดไว้

5 คณะทางานจดั ทา

ตดิ ตามความกา้ วหน้าในการดาเนนิ การตาม ระบบ

แผนงาน ตวั แทนฝ่ายบริหาร

6 ผจู้ ัดการฝา่ ย
หัวหน้างาน
ดาเนินการแกไ้ ขหากพบวา่ ไมเ่ ปน็ ไปตาม
วัตถปุ ระสงค์ทตี่ ง้ั ไว้

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-35-

คมู่ อื การปฏบิ ัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ตัวอย่ำง

กำรตัง้ วตั ถุประสงค์ดำ้ นควำมปลอดภยั อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน

เพม่ิ หรอื ปรบั ปรุง :
 เพิ่มจานวนการใช้อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล
 เพิม่ จานวนการรายงานเหตุการณ์เกือบอุบตั เิ หตุ
 ปรับปรงุ การ์ดครอบเครื่องจกั ร
 ปรบั ปรงุ พนื้ ทจี่ ัดเก็บสารเคมี

ลด
 ลดอุบัตเิ หตจุ ากการทางานกับเครื่องจกั ร
 ลดความเสย่ี งใหอ้ ยใู่ นระดับทีย่ อมรับได้

ขจัดหรือเปล่ยี น
 เปล่ียนการใชส้ ารเคมีจากเบนซนี เปน็ โทลูอนี แทนในการผสมสี

เร่ิมหรือนำมำใช้
 นาระบบการรายงานสภาพแวดลอ้ มทีไ่ ม่ปลอดภยั และการกระทาท่ไี มป่ ลอดภัย เขา้ มาใช้งาน
ต้ังแตเ่ ดอื นมกราคม 2557
 นาระบบการตรวจสอบความปลอดภัยเขา้ มาใช้งานตัง้ แต่เดือนมกราคม 2557

โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-36-

คมู่ อื

ตวั อย่ำง แผนงำนควบคุมควำมเส่ียง

ชอ่ื แผนงำน : ลดอบุ ตั เิ หตจุ ากการถ่ายเทโซดาไฟในแผนกผลิต
วตั ถปุ ระสงค์ : ลดอบุ ตั เิ หตจุ ากการถา่ ยเทโซดาไฟลงถงั ผสมสารเคมี
ตัวชว้ี ัด : จานวนครงั้ ของการเกิดอบุ ตั เิ หตุ

ลำดบั กจิ กรรม ผรู้ ับผิดชอบ ทรพั ยำ

1 จดั ทาอปุ กรณ์ยกถงั โซดาไฟ หัวหนา้ แผนกซอ่ มบารงุ 100,000

2 จัดทาวิธกี ารปฏิบัตงิ าน การใชอ้ ปุ กรณ์ยก หวั หนา้ แผนกผลิต บคุ ลากร/เ
ถงั 1,000 บ
-37- 5,000 บ
3 จดั อบรมวธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน การใชอ้ ปุ กรณ์ หัวหน้าแผนกผลิต 30,000 บ
ยกถงั บุคลากร/เ
บุคลากร/เ
4 จดั อบรมความปลอดภยั ในการทางานกับ จป.วชิ าชพี
สารเคมี

5 จัดหาอุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยส่วน จป.วชิ าชพี
บุคคลทเี่ หมาะสม

6 ตรวจติดตามการทางานของพนักงานใน หัวหน้าแผนกผลติ
การถา่ ยเทโซดาไฟ

7 สรุปประเมนิ ผลโครงการควบคุมความ ผ้จู ดั การแผนกผลิต
เส่ยี ง

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั แ

อการปฏิบัตติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

ผรู้ บั ผิดชอบโครงกำร : ผจู้ ดั การแผนกผลติ

เป้ำหมำย : ไมเ่ กดิ อุบตั ิเหตจุ ากการถา่ ยเทโซดาไฟลงถงั ผสมสารเคมี

วนั ท่ีเร่ิมใช้ : แกไ้ ขครั้งท่ี :

ำกร กำหนด กำหนดกำร หมำยเหตุ

เสรจ็ 1 2 3 4 5 6 7 8

บาท 28 ก.พ. 58

เวลา 30 มี.ค. 58

บาท 30 เม.ย. 58

บาท 30 เม.ย. 58

บาท 30 พ.ค. 58

เวลา 30 มิ.ย. 58

เวลา 31 ส.ค. 58

และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)

คมู่ อื การปฏบิ ตั ติ าม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรบั สถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

3.4 ควำมสำมำรถและกำรฝกึ อบรม
(Competence and Training)

ข้อกำหนดท่ี :
3.4 ควำมสำมำรถและกำรฝกึ อบรม (Competence and Training)

1) องค์กรตอ้ งกาหนดความสามารถของผปู้ ฏิบตั งิ านซึ่งมคี วามเสยี่ งทีจ่ ะเกิดอันตรายจากการ
ปฏิบัติงาน โดยพิจารณาจากการศึกษา การฝึกอบรม ทักษะ และประสบการณ์ท่ี
เหมาะสม 

2) องค์กรต้องช้ีบง่ ความจาเปน็ ในการฝึกอบรมท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ความเส่ียง และระบบมาตรฐาน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยจัดให้มีการฝึกอบรม
ให้สอดคล้องกับความจาเป็นในการฝึกอบรมท่ีกาหนดไว้ ประเมินประสิทธิผลของการ
ฝกึ อบรม และทบทวนเปน็ ระยะ

3) องคก์ รต้องจดั ทาและเกบ็ บันทึกทเี่ ก่ียวข้อง

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน)
-38-

คู่มือการปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

แนวทำงขน้ั ตอนกำรปฏิบัติ :

เรม่ิ /จบกระบวนการ กจิ กรรม เงื่อนไข/การตัดสินใจ เช่อื มตอ่ กระบวนการ ความสมั พันธแ์ ละทิศทางของกระบวนการ

ลำดับ รำยละเอียด ผรู้ บั ผดิ ชอบ เอกสำรที่เกี่ยวขอ้ ง
ผจู้ ัดการฝา่ ย แบบฟอร์มกาหนด
1
บุคคล หน้าที่และ
กาหนดความสามารถของลูกจา้ งทม่ี คี วามเสย่ี งใน ความสามารถ
การปฏบิ ัตงิ าน

2 ผูจ้ ดั การฝา่ ยบคุ คล แบบฟอร์มการระบุ

ช้ีบ่งหรอื ระบคุ วามจาเปน็ ในการฝกึ อบรม ผู้จัดการฝา่ ยตา่ งๆ ความจาเป็นในการ

หวั หน้างาน ฝึกอบรม

3 ผู้จดั การฝา่ ย แบบฟอร์มแผนการ
บคุ คล ฝกึ อบรม
จัดทาแผนการฝึกอบรม

4 ผจู้ ัดการฝา่ ย

จัดฝึกอบรมตามแผนงานที่กาหนดไว้ หัวหนา้ งาน

54 คณะทางานจดั ทา แบบประเมินผลการ
ระบบ ฝึกอบรม
ประเมินผลการ
ฝึกอบรม ตวั แทนฝ่ายบริหาร

ไม่ผา่ น ผู้จดั การฝา่ ย
หัวหนา้ งาน
ผา่ น

6

ทบทวนการฝึกอบรมตามชว่ งเวลาที่
กาหนดไว้

โดย สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-39-

คูม่ อื การปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ตัวอย่ำง

รำยกำรกำหนดหนำ้ ทแ่ี ละควำมสำมำรถ

ตำแหน่งงำน : ชา่ งเชอ่ื ม วันท่เี ร่มิ ใช้ : 8/11/57

จัดทำโดย : หวั หน้างานเชื่อม แก้ไขครั้งท่ี : 0

อนมุ ตั ิโดย : ผู้จัดการแผนกบคุ คล หนำ้ _1__/__1__

หนำ้ ท่ีหลัก
1. เชอ่ื มช้นิ งานในกระบวนการผลิตโดยใช้เคร่อื งเชือ่ มกา๊ ซ

2. ตรวจสอบช้นิ งานเช่ือม

คณุ สมบัติ
1. จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวชิ าชพี หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชั้นสงู สาขาช่างเชือ่ ม

2. มีประสบการณ์ในการเชอ่ื มงานไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี

ทักษะและควำมสำมำรถอ่ืน
1. ผา่ นการฝึกอบรมการเชื่อมช้ินงานอย่างปลอดภัย

2. สามารถสือ่ สารภาษาองั กฤษได้

กำรชี้บ่งหรอื ระบุควำมจำเป็นในกำรฝึกอบรม
องค์กรจะตอ้ งมีการระบคุ วามจาเป็นในการฝึกอบรมสาหรับผู้ปฏิบัติงานในแต่ละตาแหน่ง เพ่ือให้เกิดความ
มน่ั ใจวา่ ผู้ปฏิบัตงิ านจะมีความรคู้ วามสามารถท่ีเพียงพอ ทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านได้อย่างปลอดภัย ไม่เกิดอุบัติเหตุ
และการเจ็บปว่ ยจากการทางาน โดยองคก์ รจะต้องมกี ารช้ีบง่ ความจาเป็นในการฝึกอบรมใหก้ ับ
 ผปู้ ฏิบตั งิ านใหม่
 ผปู้ ฏบิ ตั ิงานในปัจจุบัน และ
 ผู้รบั เหมาหรือผรู้ ับเหมาชว่ ง

โดย สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-40-

คู่มือการปฏิบตั ิตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเลก็

ตัวอย่ำง

หวั ขอ้ ทแี่ ต่ละตำแหนง่ งำน หรอื หน่วยงำนควรจะรู้ หรอื ควรได้รับกำรฝกึ อบรม

1. ตาแหน่งผจู้ ัดการข้ึนไป
 นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 แนวทางของระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 กฎหมายความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 ขน้ั ตอนการดาเนินงานท่ีเก่ียวขอ้ ง
 ขั้นตอนการดาเนินงาน เร่ือง การเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน
 อ่ืนๆ

2. ตวั แทนฝ่ายบริหารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 แนวทางของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 ขัน้ ตอนการดาเนินงานท่เี กี่ยวข้อง
 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน เร่ือง การเตรียมความพรอ้ มและการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน
 วธิ กี ารช้บี ง่ อันตรายและประเมินความเส่ียง
 การตรวจติดตามระบบการจัดการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
 อื่นๆ

3. ตาแหนง่ หัวหน้างาน
 นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 แนวทางของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 กฎหมายความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 ขั้นตอนการดาเนินงานทีเ่ ก่ียวข้อง
 ขั้นตอนการดาเนินงาน เร่ือง การเตรียมความพรอ้ มและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
 วธิ กี ารชบ้ี ่งอันตรายและประเมินความเส่ียง
 อน่ื ๆ

โดย สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-41-

ค่มู อื การปฏิบัติตาม ระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
สาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก

4. ตาแหน่งปฏบิ ัติการ
 นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 แนวทางของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 การปฏบิ ัติตามข้อกาหนด กฎหมาย ทีเ่ กี่ยวข้อง
 วธิ กี ารชบี้ ง่ อนั ตรายและประเมนิ ความเสย่ี ง
 บทบาทหน้าที่ของตนเอง เมื่อเกดิ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉิน
 ความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานและการปฏิบตั เิ พอื่ ลดความเสยี่ งดังกลา่ ว
 อ่ืนๆ

5. ฝ่ายซ่อมบารงุ
 นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 แนวทางของระบบมาตรฐานความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 การปฏบิ ัติตามขอ้ กาหนด กฎหมาย ที่เกีย่ วขอ้ ง
 วิธกี ารชบ้ี ่งอนั ตรายและประเมนิ ความเสยี่ ง
 ความเสยี่ งจากการปฏิบัตงิ านและการปฏิบัติเพือ่ ลดความเสย่ี งดังกล่าว
 การสอบเทียบและวธิ กี ารบารุงรักษาเคร่อื งมอื
 บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง เม่ือเกิดเหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ
 ขน้ั ตอนการดาเนินงานทีเ่ กี่ยวข้องโดยตรง
 อน่ื ๆ

6. ฝา่ ยจดั ซื้อจดั หา
 นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 แนวทางของระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
 การปฏบิ ัติตามข้อกาหนด กฎหมาย ท่เี กีย่ วขอ้ ง
 วิธีการเลอื กบริการ ผลิตภณั ฑ์จากผสู้ ่งมอบ ผ้ขู าย ผู้รบั เหมา ท่ีจะไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อความ
ปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
 บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง เม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ
 ขัน้ ตอนการดาเนินงานท่ีเก่ียวขอ้ งโดยตรง
 อน่ื ๆ

โดย สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน)
-42-


Click to View FlipBook Version