The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บุคคลทำการรบ รส.21-75

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training7005, 2024-05-24 02:30:55

รส.21-75

บุคคลทำการรบ รส.21-75

Keywords: บ

กองทัพบก คู่มืคู่ มื อราชการสนาม ว่า ว่ ด้วย บุค บุ คลทำ การรบ รส.๒๑-๗๕ พ.ศ.๒๕๔๘ (พิมพ์เพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๖๔)


ค าน า คู่มือเล่มนี้มอบให้ทหารทุกคนที่เป็นหลักของความส าเร็จในสนามรบ สงครามไม่ได้ ชนะกันด้วยเครื่องยนต์และอาวุธ แต่อยู่ที่ตัวทหารทุกคนซึ่งเป็นผู้ใช้ กองทัพที่ประกอบด้วยอาวุธ ชั้นเยี่ยมก็ไม่สามารถก าชัยชนะไว้ได้ถ้าปราศจากทหารที่มีใจรุกรบและได้รับการฝึกเป็นอย่างดี กองทัพบกไทยจะชนะสงครามในภายหน้า ทหารจะต้องมีผู้น าที่สามารถกระตุ้นให้ทหารมีใจรุกรบ และทหารทุกคนจะต้องรู้ว่าจะปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ อย่างไร และรู้วิธีอยู่รอดในสนามรบ ความช านาญ พื้นฐานเหล่านี้ทหารจะต้องได้เรียนรู้ตามที่ก าหนด ในความช านาญการทางทหาร (ชกท.) หากผู้ใช้คู่มือเล่มนี้ประสงค์จะให้ข้อเสนอแนะในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือมีข้อคิดเห็น ใด ๆ กรุณาระบุหน้า หัวข้อ และบรรทัดที่ปรากฏในเล่ม พร้อมทั้งเหตุผลประกอบ เพื่อให้เกิดความ เข้าใจอย่างถ่องแท้ และสามารถน าไปประเมินค่าโดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นเหล่านี้ขอให้ส่งไปยัง กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อ าเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๖๐ ศูนย์การทหารราบ


สารบัญ หน้า บทที่ ๑ การก าบัง การหลบซ่อน และการพราง ๑ (COVER CONCEALMENT AND CAMOUFLAGE) ๑ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑ ๑ - ๒ ก าบัง (COVER) ๑ ๑ - ๓ การซ่อนพราง (CONCEALMENT) ๓ ๑ - ๔ การพราง (CAMOUFLAGE) ๔ ๑ - ๕ ข้อพิจารณาในการซ่อนพราง ๕ (CONCEALMENT CONSIDERATION) ๑ - ๖ จะท าการพรางอย่างไร (HOW TO CAMOUFLAGE) ๙ ๑ - ๗ ที่มั่นต่อสู้ (FIGHTING POSITIONS) ๑๐ บทที่ ๒ ที่มั่นต่อสู้ ๑๕ ๒ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๕ ๒ - ๒ ที่ก าบัง (COVER) ๑๕ ๒ - ๓ การหลบซ่อน (CONCEALMENT) ๑๗ ๒ - ๔ เขตการยิง (SECTOR AND FIELD OF FIRE) ๑๙ ๒ - ๕ เราจะสร้างที่มั่นต่อสู้อย่างไร ๒๒ (HOW TO BUILD FIGHTING POSITION) บทที่ ๓ การเคลื่อนที่ (MOVEMENT) ๔๘ ๓ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๔๘ ๓ - ๒ เทคนิคการเคลื่อนที่ (MOVEMENT TECHNIQUES) ๔๘ ๓ - ๓ การปฏิบัติโดยฉับพลันขณะเคลื่อนที่ ๕๒ (IMMEDIATE ACTIONS WHILE MOVING) ๓ - ๔ การเคลื่อนที่เป็นชุด (MOVING WITHIN A TEAM) ๕๖ ๓ - ๕ การยิงและการเคลื่อนที่ (FIRE AND MOVEMENT) ๕๗ ๓ - ๖ การเคลื่อนที่ไปกับรถถัง (MOVING WITH TANKS) ๕๘ บทที่ ๔ การตรวจการณ์ (OBSERVATION) ๕๙ ๔ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๕๙ ๔ - ๒ ทหารจะตรวจการณ์อย่างไร (HOW TO OBSERVE) ๕๙ ๔ - ๓ สิ่งที่ต้องมองและคอยฟัง ๖๑ (THINGS TO LOOK AND LISTEN FOR) ๔ - ๔ การกะระยะ (RANGE ESTIMATION) ๖๑ บทที่ ๕ สงครามนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี (นชค.) ๖๒ (NUCLEAR BIOLOGIEAL AND CHEMICAL WARFARE) ๕ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๖๒ ๕ - ๒ อาวุธนิวเคลียร์ (NUCLEAR WEPONS) ๖๒ ๕ - ๓ อาวุธเคมี (ไอพิษ) และอาวุธแพร่เชื้อโรค ๖๔ (CHEMICAL AND BIOLOGICAL WEAGPONS)


หน้า บทที่ ๖ ข่าวกรองการรบและการต่อต้านข่าวกรอง ๗๐ (COMBAT INTELLIGENCE AND COUNTERINTELLIGENCE) ๖ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๗๐ ๖ - ๒ แหล่งข่าวสาร (SOURCES OF INFORMATION) ๗๐ ๖ - ๓ อะไรที่ต้องรายงาน ๗๐ ๖ - ๔ มาตรการต่อต้านข่าวกรอง ๗๓ (COUNTERINTELLIGENCE MEASURES) บทที่ ๗ การติดต่อสื่อสาร (COMMUNICATIONS) ๗๕ ๗ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๗๕ ๗ - ๒ วิธีการติดต่อสื่อสาร (MEANS OF COMMUNICATION) ๗๕ ๗ - ๓ ระเบียบการวิทยุโทรศัพท์ (RADIOTELEPHONE PROCEDURE) ๗๗ บทที่ ๘ การปฐมพยาบาล และอนามัยส่วนบุคคล ๙๐ (FIRST AID AND PERSONAL HYGINE) ๘ - ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๙๐ ๘ - ๒ มาตรการช่วยชีวิต (LIFESAVING MEASURES) ๙๐ ๘ - ๓ สิ่งที่ควรและไม่ควรท าในการปฐมพยาบาล ๑๐๗ ๘ - ๔ อนามัยส่วนบุคคล (PERSONAL HYGIENE) ๑๐๗ ๘ - ๕ การรักษาความสะอาดส่วนบุคคล ๑๐๗ ๘ - ๖ การดูแลรักษาปากและฟัน ๑๐๘ ๘ - ๗ การดูแลรักษาสุขภาพของเท้า ๑๐๘ ๘ - ๘ อาหารและน ้าดื่ม ๑๐๙ ๘ - ๙ การออกก าลังกาย ๑๑๐ ๘ - ๑๐ การพักผ่อน ๑๑๐ ๘ - ๑๑ จิตอนามัย ๑๑๐ ๘ - ๑๒ กฎในการหลีกเลี่ยงการป่วยเจ็บในสนาม ๑๑๑ ผนวก ก ทุ่นระเบิด ๑๑๒ ก – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๑๒ ก – ๒ ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล เอ็ม.๑๔ (M14) ๑๑๒ ผนวก ข การระเบิดท าลาย (DEMOLITIONS) ๑๔๖ ข – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๔๖ ข – ๒ การเตรียมระบบการจุดระเบิด ๑๔๖ ผนวก ค เครื่องกีดขวาง (OBSTACLES) ๑๕๕ ค – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๕๕ ค – ๒ วิธีท าช่องทางและเจาะช่องสนามทุ่นระเบิด ๑๕๕ (HOW TO BREACH AND CROSS A MINEFIELD) ค – ๓ การตรวจค้นทุ่นระเบิด (PROBING FOR MINES) ๑๕๕ ค – ๔ การท าเครื่องหมายทุ่นระเบิด (MARKING THE MINE) ๑๕๖ ค – ๕ การเจาะช่องสนามทุ่นระเบิด (CROSSING THE MINCFIELD) ๑๕๗ ค – ๖ วิธีท าช่องทางและเจาะช่องรั้วลวดหนาม ๑๕๗ (HOW TO BREACH AND CROSS WIRE OBSTACLES)


หน้า ค – ๗ การตัดลวดหนาม (CUTTING THE WIRE) ๑๕๗ ค – ๘ การเจาะช่องทางลวดหนามชนิดหีบเพลง (CONCERTINA) ๑๕๘ ค – ๙ การเจาะช่องรั้วลวดหนาม (CROSSING THE WIRE) ๑๕๙ ค – ๑๐ การข้ามรั้วลวดหนาม ๑๖๐ ค – ๑๑ การใช้บังกาโลตอร์ปิโด (USING A BANGALORE TORPEDO) ๑๖๐ ผนวก ง พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง (URBAN AREAS) ๑๖๒ ง – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๖๒ ง – ๒ จะเคลื่อนที่อย่างไร ๑๖๒ ง – ๓ การข้ามก าแพงผนัง ๑๖๒ ง – ๔ การเคลื่อนที่บริเวณมุมอาคาร ๑๖๓ ง – ๕ การเคลื่อนที่ผ่านช่องหน้าต่าง ๑๖๔ ง – ๖ การเคลื่อนที่ขนานกับตัวอาคาร ๑๖๖ ง – ๗ การผ่านพื้นที่โล่งแจ้ง ๑๖๖ ง – ๘ การเคลื่อนที่ในตัวอาคาร ๑๖๗ ง – ๙ การเข้าไปในตัวอาคาร ๑๖๘ ง – ๑๐ การเข้าตัวอาคารจากชั้นสูง ๑๖๙ ง – ๑๑ การเข้าตัวอาคารจากชั้นล่าง ๑๗๐ ง – ๑๒ การใช้ลูกระเบิดขว้าง ๑๗๑ ง – ๑๓ การใช้พื้นที่ในการต่อสู้ ๑๗๓ ง – ๑๔ มุมอาคาร ๑๗๓ ง – ๑๕ ก าแพง ๑๗๓ ง – ๑๖ หน้าต่าง ๑๗๔ ง – ๑๗ บนหลังคา ๑๗๖ ง – ๑๘ ช่องโหว่ (LOOPHCLES) ๑๗๙ ผนวก จ การสะกดรอย (TRACKING) ๑๘๒ จ – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๘๒ จ – ๒ คุณสมบัติของนักสะกดรอย ๑๘๒ จ – ๓ หลักพื้นฐานของการสะกดรอย ๑๘๒ จ – ๔ การแทนที่ ๑๘๓ จ – ๕ จะวิเคราะห์รอยเท้าอย่างไร ๑๘๓ จ – ๖ สภาพอากาศ ๑๘๗ จ – ๗ เศษขยะ ๑๘๘ จ – ๘ การซ่อนพราง ๑๘๘ จ – ๙ การตีความและการให้ข่าวกรองอย่างทันทีทันใด ๑๘๘ จ – ๑๐ ชุดสะกดรอย ๑๘๙ จ – ๑๑ การต่อต้านการสะกดรอย ๑๘๙ ผนวก ฉ การด ารงชีพ การเล็ดลอด หลบหนีและการต่อต้าน ๑๙๓ (SURVIVAL EVASION RESISTANCE AND ESCAPE) ฉ – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๙๓ ฉ – ๒ การต่อต้าน ๑๙๓


หน้า ฉ – ๓ การหลบหนี (ESCAPE) ๑๙๔ ฉ – ๔ การรักษาความปลอดภัย ๑๙๔ ผนวก ช อาวุธทหารราบและการควบคุมการยิง ๑๙๕ (WEAPONS AND FIRE CONTROL) ช – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๑๙๕ ช – ๒ อาวุธทหารราบ ๑๙๕ ช – ๓ ลักษณะการยิง ๒๐๖ ช – ๔ การระดมยิง (SUPPRESSIVE FIRE) ๒๑๓ ช – ๕ การกระจายการยิง (FIRE DISTRIBUTION) ๒๑๓ ช – ๖ การควบคุมการยิง (FIRE CONTROL) ๒๑๖ ผนวก ซ กับระเบิดแสวงเครื่องต่อสู้รถถัง ๒๑๘ (FIELD EXPEDIENT ANTLARMOR DEVICES) ซ – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๒๑๘ ซ – ๒ วิธีท ากับระเบิดแสวงเครื่องอย่างไร ๒๑๘ ซ – ๓ จุดอ่อนของยานเกราะ ๒๒๓ (WEAK POINT OF ARMORED VEHICLES) ผนวก ด แผ่นจดระยะ (RANGE CARD) ๒๒๕ ด – ๑ กล่าวทั่วไป (GENERAL) ๒๒๕ ด – ๒ ข้อมูลแผ่นจดระยะ (RANGE CARD DATA) ๒๒๕ ด – ๓ การเตรียมท าแผ่นจดระยะของปืนกล เอ็ม.๖๐ ๒๒๖ (PREPARATION OF AN M60 MACHINE GUN RANGE CARD) ด – ๔ แผ่นจดระยะส าหรับปืนกล ขนาด .๕๐ นิ้ว ๒๓๒ (RANGE CARD FOR THE CALIBER .50) ด – ๕ แผ่นจดระยะอาวุธต่อสู้รถถัง (ANTIARMOR RANGE CARD) ๒๓๓


- ๑ - บทที่ ๑ การกา บงัการซ่อนพราง และการพราง (COVER CONCEALMENT AND CAMOUFLAGE) ๑ - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) ก. ในการรบ ถ้าหากข้าศึกสามารถตรวจการณ์เห็นทหารฝ่ายเรา ข้าศึกก็จะท าการระดมยิงมายังทหาร ฝ่ายเรา ดังนั้นเราจึงต้องมีการซ่อนพราง (CONCEALMENT) จากการตรวจการณ์ของข้าศึก และต้องเข้าหาที่ก าบัง (COVER) จากการยิงของข้าศึก ข. ในบางภูมิประเทศไม่อ านวยต่อการก าบัง และซ่อนพรางได้ เราต้องเตรียมสร้างที่ก าบังและใช้วัสดุตาม ธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ซ่อนพราง (CONCEALMENT) ตัวเรา ยุทโธปกรณ์ และที่วางตัวของเรา บทเรียนที่ ๑ นี้เป็นการศึกษาแนวทางในการเตรียม และใช้ที่ก าบัง การซ่อนพราง และการพราง ๑ - ๒ ก าบัง (COVER) ที่ก าบังคือที่ที่ให้การป้องกันจากกระสุนปืน สะเก็ดระเบิด เปลวไฟ ผลกระทบจากอาวุธ นิวเคลียร์ อาวุธเคมี ที่ก าบังยังช่วยให้ทหารซ่อนพรางการตรวจการณ์จากข้าศึกได้อีกด้วย ที่ก าบังอาจมีอยู่ตาม ธรรมชาติหรือเป็นที่ซึ่งมนุษย์สร้างขึ้น รูปที่ ๑ - ๑ ชนิดของที่กา บงั


- ๒ - ก. ที่ก าบังตามธรรมชาติหมายถึง สิ่งต่าง ๆ เช่น ท่อนซุง ต้นไม้ ตอไม้ ห้วยแห้ง และโพรงต่าง ๆ ที่ก าบัง ที่มนุษย์สร้างขึ้นหมายถึง ที่มั่นต่อสู้ (หลุมปืน) คูติดต่อก าแพง ก้อนหินใหญ่ หลุม ที่ก าบังนั้นอาจเป็นร่องเล็ก ๆ หรือซอกมุมที่มีอยู่บนพื้นดิน เราสามารถใช้เป็นที่ก าบังได้ จงมองหาและใช้ทุก ๆ สิ่งที่ก าบังตัวเราจากการยิงได้ เท่าที่ภูมิประเทศจะอ านวยให้ ข. ในการรบ ทหารต้องป้องกันตนเองจากการยิงด้วยกระสุนปืนเล็ก หรืออาวุธกระสุนวิถีโค้ง ค.ในการตั้งรับ ทหารต้องสร้างที่มั่นต่อสู้โดยดัดแปลงเพิ่มเติมจากที่ก าบังตามธรรมชาติที่มีอยู่ในภูมิประเทศ รูปที่ ๑ - ๒ ที่มั ่นต่อสู้มีที่ก าบังเหนือศีรษะ ง. การเสาะหาที่ก าบังจากการยิงของข้าศึกในการรุก หรือขณะเคลื่อนที่ใช้เส้นทางที่ให้การก าบังจากการ ตรวจการณ์ของข้าศึก ใช้ล าธารที่แห้ง เนินลูกเล็ก ป่าไม้ ก าแพง และสิ่งก าบังอื่น ๆ หลีกเลี่ยงพื้นที่โล่งและไม่ท าตัว ตัดกับขอบฟ้าบริเวณยอดเนินหรือสันเขา


- ๓ - รูปที่ ๑ - ๓ ทหารเคลื่อนที่ตามล าห้วยแห้ง ๑ - ๓ การซ่อนพราง (CONCEALMENT) การซ่อนพราง คือการกระท าใด ๆ ที่พรางตัวเราให้พ้นจากการยิงของ ข้าศึก ที่ซ่อนพรางมีทั้งที่เป็นอยู่โดยธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ก. ที่ซ่อนพรางตามธรรมชาติ หมายถึงสิ่งต่าง ๆ เช่น พุ่มไม้ พงหญ้า ต้นไม้ต่าง ๆ และภายใต้ร่มเงา ถ้าท าได้ การหาที่ซ่อนพรางตามธรรมชาติจะต้องห่างไกลจากสิ่งรบกวน ที่ซ่อนพรางที่มนุษย์สร้างขึ้นหมายถึง สิ่งต่าง ๆ เช่น เครื่องแบบสนามชุดพราง ตาข่ายพราง การพรางหน้าด้วยสีพราง และวัสดุตามธรรมชาติที่เราน ามา จากแหล่งก าเนิดของมัน ที่ซ่อนพรางที่มนุษย์สร้างขึ้นจะต้องกลมกลืนกับที่ซ่อนพรางตามธรรมชาติในภูมิประเทศ


- ๔ - รูปที่ ๑ - ๔ ทหารอยู่ในที่ซ่อนพราง ข. การซ่อนพรางต้องรักษาวินัยการใช้แสง เสียง และการเคลื่อนที่โดยเคร่งครัด วินัยการใช้แสงคือการ ควบคุมการใช้แสงสว่างในเวลากลางคืน เช่น ไม่สูบบุหรี่ในที่โล่งไม่เดินฉายไฟไปมา ไม่เปิดไฟหน้ารถยนต์ วินัยการ ใช้เสียงคือการเบี่ยงเบนเสียงที่เกิดจากหน่วยทหาร (เช่น อุปกรณ์ต่าง ๆ) ให้ไกลจากข้าศึก เมื่อเป็นไปได้ใช้วิธี ติดต่อสื่อสารที่ไม่ท าให้เกิดเสียง (ทัศนสัญญาณ) วินัยในการเคลื่อนที่คือ การกระท าใด ๆ ที่ไม่มีการเคลื่อนไหว ขณะอยู่ในที่มั่นต่อสู้ นอกจากจ าเป็นอย่างยิ่งยวด และไม่เคลื่อนที่ตามเส้นทางซึ่งให้การก าบังและซ่อนพรางได้น้อย ในการตั้งรับต้องสร้างที่มั่นต่อสู้ที่ท าการพรางอย่างดี และหลีกเลี่ยงการเคลื่อนที่ไปมาระหว่างที่มั่นแต่ละแห่งในการ รบด้วยวิธีรุก ทหารท าการพรางตนเองและอาวุธยุทโธปกรณ์ของตนด้วยการพรางและเคลื่อนที่ตามแนวป่าหรือภูมิ ประเทศที่อ านวยต่อการซ่อนพราง ความมืดไม่อาจพรางตัวทหารจากการตรวจการณ์ของข้าศึกได้ ไม่ว่าจะเป็นใน การรบด้วยวิธีรุกหรือในการตั้งรับ เพราะปัจจุบันข้าศึกมีอุปกรณ์ตรวจการณ์และตรวจจับฝ่ายเราได้ทั้งในเวลา กลางวันและในความมืดหรือเวลากลางคืน ๑ - ๔ การพราง (CAMOUFLAGE) การพราง คือการกระท าใด ๆ ที่ทหารสร้างขึ้นเพื่อปกปิดหรือเปลี่ยนแปลงตัว ทหารอาวุธยุทโธปกรณ์ และที่มั่นของทหารให้แปรสภาพจากที่มองเห็นตามปกติในสภาพแท้จริง เราสามารถใช้ ทั้งวัสดุตามธรรมชาติ และที่มนุษย์ท าขึ้นเพื่อท าการพราง


- ๕ - จงเปลี่ยนและปรับปรุงการพรางของทหารบ่อย ๆ ช่วงเวลาในการเปลี่ยน และปรับปรุงการพรางขึ้นอยู่กับ สภาพอากาศและวัสดุที่ใช้พราง วัสดุพรางที่น ามาจากธรรมชาติ เช่น กิ่งไม้ ใบไม้ จะมีการเหี่ยวเฉาท าให้เสียสภาพ ที่แท้จริง ในท านองเดียวกันการพรางที่มนุษย์สร้างขึ้นอาจเกิดการสึกกร่อน หรือซีดจางขึ้นได้ท าให้ตัวทหาร ยุทโธปกรณ์และที่มั่นมีสภาพไม่กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อม ท าให้ง่ายที่ข้าศึกจะก าหนดจุดที่อยู่ของทหารได้ ๑ - ๕ ข้อพิจารณาในการซ่อนพราง ( CONCEALMENT CONSIDERATION ) การเคลื่อนที่เป็นสิ่งดึงดูดความสนใจ เมื่อทหารส่งสัญญาณแขนและมือ หรือเดินไปมาระหว่างที่มั่นของ ทหารนั้น ข้าศึกสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากระยะไกล ในการตั้งรับให้ท าตัวเองให้ต ่าและเคลื่อนที่เท่าที่ จ าเป็นเท่านั้นในการรบด้วยวิธีรุกจงเคลื่อนที่ไปในเส้นทางที่ปกปิดและก าบังเท่านั้น การหยุดอยู่กับที่ไม่ควรกระท าในจุดที่ข้าศึกเพ่งเล็งค้นหาควรสร้างที่มั่นในด้านข้างของเนิน ห่างจากชุมทาง ถนนหรืออาคารที่อยู่โดดเดี่ยว และสร้างในที่ให้การก าบังและซ่อนพราง หลีกเลี่ยงพื้นที่โล่งแจ้ง รูปที่ ๑ - ๕ การวางตวัในที่กา บงัและซ่อนตวับริเวณที่ด้านข้างของเนิน ก. แนวขอบด้านนอกและร่มเงา (OUTLINES AND SHADOW) อาจเปิดเผยที่มั่นหรือยุทโธปกรณ์ของ ทหาร จากผู้ตรวจการณ์ทางอากาศหรือทางพื้นดิน แนวขอบด้านนอก และร่มเงาสามารถแปลงสภาพการมองเห็น ได้ด้วยการพราง เมื่อเคลื่อนที่ไปควรอาศัยหลบไปตามร่มเงาทุกครั้งเมื่อท าได้


- ๖ - รูปที่ ๑ - ๖ หน่วยทหารในร่มเงาของต้นไม้ ข. แสงสะท้อน (SHINE) เป็นสิ่งดึงความสนใจของข้าศึกอีกชนิดหนึ่ง เพราะมันอาจมองเห็นคล้ายแสงเมื่ออยู่ ในที่มืด เช่น บุหรี่ที่ก าลังไหม้ หรือแสงไฟฉาย ในสภาพแสงของกลางวันมันอาจสะท้อนแสงจากความมันของพื้นผิว เช่น ถาดโลหะใส่อาหาร หมวกเหล็กที่สวมอยู่ กระจกหน้ารถยนต์ หน้าปัทม์นาฬิกาและสายนาฬิกาหรือส่วนของผิว กายที่อยู่นอกเสื้อผ้า ล าแสง หรือแสงสะท้อนจากที่วางตัวทหาร อาจช่วยให้ข้าศึกตรวจจับที่วางตัวได้ ดังนั้นเพื่อ เป็นการลดประกายสะท้อนให้ปกปิดส่วนของผิวกายด้วยเสื้อผ้า และการใช้สีพรางใบหน้า แต่อย่างไรก็ตามในการ รบที่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ ผิวที่ทาสีพรางจนเข้มหรือด าสามารถดูดซับพลังงานความร้อนได้มาก และอาจท าให้ผิว ไหม้ได้ง่ายกว่าผิวที่ไม่ทาสีพรางควรจะลดประกายสะท้อนจากผิวของยุทโธปกรณ์ และยานยนต์ด้วยการทาสี ใช้ โคลนป้ายหรือวัสดุพรางบางชนิด


- ๗ - รูปที่ ๑ - ๗ ทหารจับคู่กันพรางร่างกาย ค. รูปทรง (SHAPE) คือ เส้นขอบนอก หรือรูปแบบของวัตถุ รูปทรงของหมวกเหล็กเป็นวัตถุที่ง่ายในการ สังเกตจดจ า รวมทั้งรูปร่างของมนุษย์ด้วย ใช้การพรางและการซ่อนพรางเพื่อท าลายรูปทรงและสร้างความ กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม แต่ควรระวังอย่าแต่งจนเกินไป


- ๘ - รูปที่ ๑ - ๘ การพรางหมวกเหล็ก ง. สี (COLORS) ของผิวกาย เครื่องแบบ และยุทโธปกรณ์ ที่ตัดกับฉากหลังจะท าให้ข้าศึกตรวจจับได้ง่าย ตัวอย่างเช่น เครื่องแบบสีเขียวจะตัดกับภูมิประเทศที่ปกคลุมด้วยหิมะ จงพรางร่างกายและอาวุธยุทโธปกรณ์ของ ทหารให้กลมกลืนกับภูมิประเทศโดยรอบตัว รูปที่ ๑ - ๙ การพรางของทหารในขั้วโลก


- ๙ - จ. การกระจายก าลัง (DISPERSION) คือการขยายกลุ่มทหาร ขบวนยานยนต์ และอาวุธยุทโธปกรณ์ออก ห่างจากกันในพื้นที่กว้าง ถ้าทหารรวมกันเป็นกลุ่มก้อนจะท าให้ข้าศึกตรวจการณ์เห็นได้ง่าย จึงควรกระจายออก ห่าง ๆ กันตามระยะที่แตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ และมุมตรวจการณ์ด้วยสายตาจากข้าศึกและสถานการณ์ ของข้าศึก โดย ผบ.หน่วย เป็นผู้ก าหนดระยะห่าง หรือปฏิบัติตาม รปจ. ของหน่วย รูปที่ ๑ - ๑๐ การกระจายกา ลงัของชุดยิง ๑ - ๖ จะท าการพรางอย่างไร ( HOW TO CAMOUFLAGE) ก่อนท าการพราง ให้ศึกษาลักษณะภูมิประเทศและ พืชพันธุ์ในบริเวณนั้น แล้วน าวัสดุที่กลมกลืนกับสภาพภูมิประเทศมากที่สุดใช้พราง เมื่อเคลื่อนที่จากที่หนึ่ง ก็ เปลี่ยนวัสดุพรางให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม ใช้ต้นหญ้า ใบไม้ กิ่งไม้และวัสดุอื่น ๆ ในบริเวณนั้นมาพราง เครื่องแบบ และยุทโธปกรณ์ ใช้สีพรางหน้าและผิวกาย


- ๑๐ - รูปที่ ๑ - ๑๑ ทหารที่พรางร่างกายแล้ว ๑ - ๗ ที่มั ่นต่อสู้ (FIGHTING POSITIONS) เมื่อทหารสร้างที่มั่นต่อสู้ (หลุมปืน) เสร็จแล้ว ให้ท าการพรางที่มั่น และดินที่ขุดขึ้นมาจากหลุม ดินขุดใหม่ที่ใช้ท ามูนดินก าบังด้านหน้า ด้านข้างและด้านหลังหรือโรยทับที่ก าบังเหนือ ศีรษะต้องท าการพรางให้กลมกลืนกับภูมิประเทศโดยรอบ อย่าลืมพรางบริเวณก้นหลุมปืนด้วยหญ้า ใบไม้ เพื่อ ป้องกันการตรวจการณ์จากทางอากาศ ดินขุดใหม่ที่เหลือให้น าไปซ่อนทางด้านหลังให้ห่างจากที่วางตัว


- ๑๑ - รูปที่ ๑ - ๑๒ ที่มั ่นที่พรางเสร็จแล้ว ก. อย่าปล่อยทิ้งวัตถุที่เป็นประกาย หรือมีสีสดใสไว้โดยไม่มีการปกปิดให้ทหารซุกซ่อนเครื่องมือประกอบ อาหารกระจกเงา กล่องใส่อาหาร ผ้าเช็ดตัว หรือเสื้อในสีขาวให้มิดชิด อย่าถอดเสื้อในที่แจ้ง เพราะผิวกายจะสะท้อน แสงมองเห็นได้ ห้ามจุดไฟในที่โล่ง เพราะเป็นโอกาสให้ข้าศึกมองเห็นเปลวไฟ หรือได้กลิ่นควันและต้องกลบเกลื่อน ร่องรอย หรือรอยเท้าที่เดินเหยียบย ่าไปมา ในบริเวณโดยรอบ หรือใกล้ ๆ


- ๑๒ - รูปที่ ๑ - ๑๓ ใช้กิ่งไม้ใบหนากวาดกลบร่องรอย ข. เมื่อท าการพรางเสร็จแล้ว ตรวจดูที่มั่นจากทิศทางที่ข้าศึกอาจตรวจการณ์มาทุกทิศ โดยเริ่มจากทางด้าน หน้าที่มั่น ห่างประมาณ ๓๕ เมตร หมั่นตรวจดูความสดของกิ่งไม้ที่ตัดมาพรางเป็นระยะ ๆ ให้คงสภาพคล้าย สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติเมื่อเริ่มเหี่ยวเฉาลงให้ปรับเปลี่ยนกิ่งไม้ใหม่ ค. หมวกเหล็ก (HELMETS) ใช้วัสดุพรางที่จ่ายให้โดยเฉพาะหรือใช้ผ้าพราง ผ้ากระสอบป่านย้อมสีตาม สภาพแวดล้อม พันชายผ้าเข้าใต้ขอบหมวกไม่ต้องขึงให้ตึงนัก เพื่อให้ชายผ้ายื่นพ้นออกมาท าลายรูปทรงของ ขอบหมวกเล็กน้อย แต่งเติมด้วยกิ่งไม้ใบไม้เล็ก ๆ ต้นหญ้าหรือผ้ากระสอบฉีกเป็นริ้ว แล้วรัดด้วยยางเส้นให้ติดกับ หมวก ถ้าไม่สามารถหาวัสดุพรางใด ๆ ได้ให้ใช้สีพรางหรือโคลน ทาที่ผิวพื้นของหมวกเหล็ก เพื่อลดแสงสะท้อน


- ๑๓ - รูปที่ ๑ - ๑๔ การพรางหมวกเหล็ก ง. เครื่องแบบ (UNIFORMS) ปัจจุบันเครื่องแบบส่วนใหญ่ตัดเย็บด้วยผ้าสีพรางอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ตาม อาจจ าเป็นต้องเพิ่มเติมวัสดุพรางเพื่อให้มีความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมดีขึ้นกว่าเดิมโดยการใช้โคลนทา เครื่องแบบที่สวมหรือแซมด้วยกิ่งไม้ติดใบ, ต้นหญ้า ผ้ากระสอบฉีกเป็นริ้ว แต่อย่าให้ดูรุงรังมากเกินไป จนเป็นจุด สนใจของข้าศึก เมื่อออกปฏิบัติการในพื้นที่หิมะปกคลุมให้สวมชุดสีขาว (ถ้ามีจ่ายให้) ถ้าไม่มีให้ใช้ผ้าปูที่นอนสีขาว ดัดแปลงสวมทับ เพื่อให้กลมกลืนกับสีขาวของหิมะ และสภาพแวดล้อม


- ๑๔ - สีผิว บริเวณสะท้อนแสง บริเวณร่มเงา วัสดุพราง ด า แดง หน้าผาก, โหนกแก้ม, หู รอบขอบตา, ใต้จมูก, ใต้คาง จมูก คาง สีดินและสีเขียวอ่อน ใช้ได้ทุกคนในบริเวณที่มี ใช้สีดิน ใช้สีเขียวอ่อน ชนิดแท่ง พืชใบสีเขียว สีทรายและสีเขียวอ่อน ใช้ได้ทุกคนในบริเวณที่มี ใช้สีเขียวอ่อน ใช้สีทราย ชนิดแท่ง พื้นใบเขียวจ านวนน้อย สีดินและสีขาว ใช้ได้ทุกคนในบริเวณมี ใช้สีดิน ใช้สีทา หิมะปกคลุม เท่านั้น ผงถ่านเปลือกไม้ หรือเขม่า ใช้ได้ทุกคนถ้าไม่มีสีพราง ใช้ได้ ห้ามใช้ ชนิดแท่ง สีโคลนต่าง ๆ ใช้ได้ทุกคนถ้าไม่มีสีพราง ห้ามใช้ ใช้ได้ ชนิดแท่ง รูปที่ ๑ - ๑๕ สีต่าง ๆ ที่ใช้ในการพราง จ. ผิวหนัง (SKIN) ผิวที่อยู่นอกร่มผ้าจะสะท้อนแสงและอาจดึงความสนใจของข้าศึกแม้ว่าจะเป็นผิว สีด าสนิท เพราะผิวหนังมีน ้ามันธรรมชาติซึ่งสะท้อนแสง ดังนั้นเมื่อจะใช้สีพรางผิวหน้าท าการพรางผิวหนังส่วนอื่น ให้ปฏิบัติดังนี้ ๑) จับคู่กับเพื่อนเมื่อใช้สีพรางชนิดแท่งผลัดกันทาสีพราง ๒ สี สลับกันด้วยลวดลายที่ไม่เป็นระเบียบ ใช้ สีเข้มทาบริเวณสะท้อนแสง (หน้าผาก โหนกแก้ม จมูก หูและคาง) ใช้สีจางทาบริเวณเป็นร่มเงา (รอบขอบตา ใต้ จมูก ใต้คาง) ผิวหนังอื่น ๆ นอกร่มผ้า เช่น ล าคอด้านหลัง แขน หลังมือ ปกติจะไม่พรางฝ่ามือเพราะต้องใช้ส่ง ทัศนสัญญาณ ถอดแหวน นาฬิกาออกให้หมด เพื่อลดการสะท้อนแสง ๒) ถ้าไม่มีสีพรางชนิดแท่ง ใช้ถ่านไม้ เขม่าไฟ หรือโคลนสีจาง


- ๑๕ - บทที่ ๒ ที่มนั่ต่อสู้ ๒ - ๑ กล่าวทั ่วไป ก. เมื่อท าการตั้งรับ หรือเมื่อหยุดหน่วยชั่วระยะเวลาสั้น ๆ ในระหว่างปะทะกับข้าศึก ทหารต้องเลือกหาที่ ก าบังจากการยิง และที่หลบซ่อนจากการตรวจการณ์ของข้าศึก ที่มั่นต่อสู้บางชนิดให้การก าบังและหลบซ่อนได้ดี ที่สุด อาจเป็นหลุมต่าง ๆ ที่มีอยู่ในบริเวณนั้น หลุมนอนที่ขุดขึ้นอย่างเร่งด่วน หรือที่มั่นที่ดัดแปลงไว้อย่างดีมีที่ ก าบังเหนือศีรษะ ข. ที่มั่นต่อสู้ทหารจะต้อง ๑) ท าการยิงจากที่มั่นนั้นได้ ๒) ป้องกันตัวทหารจากการตรวจการณ์ การยิงตรง และอาวุธกระสุนวิถีโค้ง ๒ - ๒ ที่ก าบัง (COVER) ก. ที่ก าบังของที่มั่นต่อสู้จะต้องแข็งแรงพอที่จะป้องกันตัวทหารจากการยิงด้วยปืนเล็ก สะเก็ดระเบิด จาก ป. ค. และคลื่นความร้อนจากการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ ด้านหน้าของที่มั่นจะต้องมีสิ่งป้องกันจากการยิงด้วย ปืนเล็ก สิ่งป้องกันด้านหน้าที่มั่นตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่ดีที่สุด (ต้นไม้ หินก้อนใหญ่ ซุง และหินที่แตกทลายลงเป็น กอง) เพราะซ่อนก าบังอยู่หลังวัตถุตามธรรมชาติข้าศึกยากที่จะสังเกตตรวจจับได้ ถ้าไม่มีสิ่งก าบังตามธรรมชาติให้ ทหารใช้ดินที่ขุดขึ้นมาจากหลุมท าเป็นมูนดินป้องกันและดัดแปลงเพิ่มเติมให้แข็งแรง โดยบรรจุลงให้กระสอบแล้ว พรมด้วยน ้า ข. ที่ก าบังด้านหน้าจะต้องเป็นดังนี้ ๑) หนาพอที่จะหยุดความแรงของกระสุนปืนเล็ก (อย่างน้อย ๔๖ ซม. หรือ ๑๘ นิ้ว) ๒) สูงพอที่จะป้องกันศีรษะของทหาร เมื่อท าการยิงจากด้านหลังที่ก าบัง ๓) ห่างจากขอบหลุมพอที่จะวางข้อศอกจัดท่ายิงได้สะดวก และปักหลักก าหนดเขตการยิงทางเฉียงได้ ๔) ความยาวพอที่จะก าบังแสงที่ออกจากปากกระบอกปืนขณะทหารท าการยิงทางเฉียง รูปที่ ๒ - ๑ ที่ก าบัง


- ๑๖ - ค. ทหารจะต้องสร้างที่มั่นต่อสู้ เมื่อทหารตกอยู่ภายใต้การยิงของข้าศึกจากทางด้านหน้า ทหารสามารถ หลบเข้าหลังที่ก าบังด้านหน้าของที่มั่น ซึ่ง ณ จุดนั้นทหารยังคงยิงต่อสู้ในทางเฉียงได้ รูปที่ ๒ - ๒ ที่มั ่นต่อสู้ (หลุมบุคคล)


- ๑๗ - ง. ส าหรับที่มั่นที่ให้การป้องกันรอบด้านรวมทั้งป้องกันจากการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ จะต้องสร้างให้มีที่ ก าบังเหนือศีรษะ ด้านข้าง และด้านหลัง โดยใช้ดินที่ขุดขึ้นจากหลุม เพื่อป้องกันสะเก็ดระเบิดจากกระสุน ป., ค. ที่มาจากด้านบน ด้านข้าง หรือด้านหลัง ที่มั่นที่มีที่ก าบังยังช่วยป้องกันจากการยิงของอาวุธยิงสนับสนุนของฝ่าย เดียวกันจากทางด้านหลัง หรือกระสุนที่ยิงจากรถถัง จ. ทหารจะต้องเหลือที่ว่างพอคลานออกไปได้ในที่ก าบังด้านหลัง เพื่อใช้เป็นแนวทางเข้าหรือออกไปจาก ที่มั่นโดยไม่เปิดเผยตนเองต่อการตรวจการณ์ของข้าศึก ฉ. เพื่อเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดจากการโจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ ที่มั่นต่อสู้ของทหาร จะต้อง ประกอบด้วยข้อพิจารณาดังต่อไปนี้ ๑) ที่ก าบังโดยรอบที่เป็นรูปวงกลม จะยึดกันมั่นคงได้ดีกว่าแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า เมื่อ ถูกคลื่นนิวเคลียร์กระแทกและหลุมรูปวงกลมขุดได้ง่ายกว่า ๒) ช่องเปิด (ช่องยิง) ที่เล็ก ๆ ช่วยป้องกันการแผ่รังสีของนิวเคลียร์ ซึ่งกระจายเข้ามาในที่มั่นทาง ช่องเปิด ๓) ที่มั่นต่อสู้ที่ขุดลึกกว่า จะน าดินมาท าก าแพงป้องกันได้หนากว่า จากแรงระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ ดังนั้นที่มั่นที่ขุดลึกจะลดการแผ่รังสีที่ผ่านเข้าไปในหลุม การแผ่รังสีจะถูกลดส่วนลง ๒ ส่วน ต่อทุก ๆ ความลึก ๑๖ นิ้วของหลุม ๔) รูปทรงของที่มั่นที่ต ่า การเสริมดินให้หนาในด้านที่มีการแผ่รังสีเข้ามา การนอนตะแคงงอขดล าตัว หรือจะให้ดีที่สุดถ้านอนหงาย แล้วงอเข่าทั้งสองข้างมาชิดหน้าอก ให้แขนกอดรัดไว้เพื่อป้องกันร่างกายเราจากการ แผ่รังสี ๕) การแผ่รังสีความร้อน จะเข้ามาในที่มั่นของทหารในแนวระดับสายตา หรือโดยการสะท้อนออกรอบ ด้านวัตถุที่มีสีเข้มและหยาบ (เช่น ผ้าห่มขนสัตว์ และหมวกคลุมแบบไอ้โม่ง) สามารถน ามาใช้ เพื่อก าบังรังสีที่ สะท้อนกระจายอยู่ตามผิวพื้น รูปที่ ๒ - ๓ ที่มั ่นซึ่งมีที่ก าบังรอบตัวและช่องคลานเข้าออก ๒ - ๓ การหลบซ่อน (CONCEALMENT) ก. ถ้าที่มั่นหรือที่ทหารวางตัวทหารถูกตรวจพบ ข้าศึกสามารถยิงมายังที่นั้นหรือเข้าโจมตีจุดนั้น ท าให้ ทหารถูกสังหารได้ ดังนั้นที่มั่นของทหารจะต้องมีการหลบซ่อนที่ดี เพื่อข้าศึกจะตรวจพบได้ยากขึ้น แม้ว่าจะอยู่ใกล้ ข้าศึกเพียงแค่ระยะขว้างระเบิด


- ๑๘ - ข. ที่ซ่อนพรางตามธรรมชาติ ที่ซ่อนพรางที่ห่างจากการรบกวนใด ๆ เป็นที่ที่ดีกว่าที่ซ่อนพรางที่ทหาร สร้างขึ้นเพราะเหตุว่า ๑) ธรรมชาติได้สร้างขึ้นไว้เรียบร้อยดีแล้ว ๒) โดยทั่วไปจะไม่ดึงความสนใจของข้าศึก ๓) ไม่ต้องปรับเปลี่ยนสภาพใด ๆ ค. ในขณะที่ทหารขุดดัดแปลงที่มั่น จงระมัดระวังไม่รบกวนท าลายที่ซ่อนพรางตามธรรมชาติโดยรอบ ดินที่ ขุดได้จากหลุม และเหลืออยู่ให้น าไปพราง และพรางไว้ทางด้านหลัง รูปที่ ๒ - ๔ ที่มั ่นพรางเสร็จแล้ว


- ๑๙ - ง. วัตถุที่ใช้พรางดีที่สุดคือสิ่งที่ไม่จ าเป็นต้องปรับเปลี่ยน เช่น หินก้อนใหญ่ ท่อนซุง พุ่มไม้สดที่ไม่ได้ขุด ขึ้นมาและกอหญ้า ทหารไม่ควรใช้วัสดุพรางจนมากเกินเหตุ เพราะจะท าให้ที่มั่นมีสภาพแตกต่างไปจาก สภาพแวดล้อม จ. ที่มั่นต้องให้การซ่อนพรางได้ทั้งจากอากาศยานของข้าศึก และกองทหารภาคพื้นดิน ถ้าที่มั่นสร้างไว้ใต้ พุ่มไม้ใบหนา ต้นไม้ใหญ่ หรือในตัวอาคาร โอกาสน้อยมากที่จะมองเห็นจากที่สูงกว่า ใช้ใบไม้ฟางข้าว จะช่วยพราง หน้าดินที่เปียกชื้น ไม้ให้มีตัดกับพื้นดินแห้งโดยรอบที่มั่น อย่าใช้กิ่งไม้ระเกะระกะวางรองก้นหลุมที่มั่นเพราะมันอาจ เป็นตัวขวางการกลิ้งของลูกระเบิดขว้างลงสู่หลุมดัก รูปที่ ๒ - ๕ ที่มั ่นที่ซ่อนการตรวจการณ์ทางอากาศ ฉ. ที่ซ่อนพรางที่ทหารดัดแปลงสร้างขึ้นเองจะต้องกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม เพื่อจะได้ไม่ถูกตรวจพบ ๒ - ๔ เขตการยิง (SECTOR AND FIELD OF FIRE) ก. เขตการยิงคือบริเวณทั้งหมดที่ทหารต้องตรวจการณ์และยิงได้จริง เมื่อ ผบ.หน่วย มอบหมายที่มั่นต่อสู้ให้ ทหาร ผบ.หน่วย จะมอบเขตการยิงหลัก (PRIMARY SECTOR OF FIRE) ให้ เขตการยิงหลัก คือ เขตทางเฉียง กับที่มั่น และเขตการยิงรอง คือ เขตด้านตรงหน้าที่มั่น


- ๒๐ - รูปที่ ๒ - ๖ ที่มนั่ต่อสู้และเขตการยิง ข. เพื่อให้ทหารตรวจการณ์เห็น และยิงได้ตลอดเขตการยิง ทหารต้องก าจัดพืชล้มลุกและสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ในเขตการยิง ซึ่งเรียกว่า “ การถากถางพื้นยิง ” ค. เมื่อท าการถากถางพื้นยิง ๑) ต้องไม่ถากถางสิ่งปกปิดที่มั่น ออกมากเกินไปจนเปิดเผยที่มั่น ๒) ปล่อยไว้ หรือไม่ถากถางพุ่มไม้บาง ๆ ให้เป็นฉากก าบังตามธรรมชาติ ๓) กิ่งก้านสาขาของต้นไม้ใหญ่ที่อยู่เรี่ยดิน และต้นไม้ที่แผ่ใบบาง ๆ ซึ่งกระจายอยู่ในเขตการยิง ให้ตัด ออกให้เหลือน้อยลง ๔) ถากถางบริเวณใต้พุ่มไม้ เฉพาะบริเวณที่บังการตรวจการณ์ของทหาร ๕) เก็บเศษพุ่มไม้ที่ตัดออก กิ่งใบ และวัชพืชที่ถากถางออกไปทิ้งให้ไกล เพื่อมิให้ข้าศึกผิดสังเกต ๖) ใช้โคลนทาทับรอยที่ทหารตัดบนต้นไม้หรือพุ่มไม้ ไม่ให้ผิดสังเกตในพื้นที่หิมะปกคลุมให้ใช้หิมะโปะ ๗) กลบเกลื่อนร่องรอยไม่ทิ้งไว้เป็นหลักฐานให้ข้าศึกรู้ รูปที่ ๒ - ๗ ทหารทา การถากถางพืน้ยิง


- ๒๑ - รูปที่ ๒ - ๘ ง. พื้นยิงด้านหน้า ควรโล่งยาวออกไปจนสุดระยะยิงของอาวุธประจ ากาย จ. พื้นยิงทางเฉียง อ านวยให้ทหารยิงข้าศึกที่เข้าปะทะจากมุมที่ข้าศึกไม่คาดคิด และยังช่วยในการยิง สนับสนุนที่มั่นด้านข้างของทหารได้อีกด้วย ฉ. เมื่อท าการยิงไปทางเฉียง แนวยิงจะประสานกับที่มั่นอื่น ๆ เป็นการสร้างก าแพงกระสุน ขัดขวางการรุก เข้ามาของข้าศึก รูปที่ ๒ - ๙ ทหารทา การยิงไปทางเฉียงตอบโต้การยิงของข้าศึก


- ๒๒ - ๒ - ๕ เราจะสร้างที่มั ่นต่อสู้อย่างไร (HOW TO BUILD FIGHTING POSITION) ก. ที่มั่นต่อสู้สร้างเร่งด่วน (HASTY FIGHTING POSITION) เมื่อมีเวลาเตรียมการน้อย ควรสร้างที่มั่นต่อสู้ แบบเร่งด่วน ซึ่งอาจจะอยู่ด้านหลังสิ่งก าบังที่มีอยู่แล้ว มีสิ่งก าบังจากการยิงของข้าศึกทางด้านหน้า แต่ยังคงอ านวย ให้ฝ่ายเรายิงไปทางด้านหน้าและทางเฉียงได้ ค าว่า “ เร่งด่วน ” ไม่ได้หมายความว่า ไม่มีการขุดดัดแปลง ถ้าบริเวณนั้นมีหลุมตามธรรมชาติ หรือคูน ้าแห้ง ที่สามารถใช้เป็นที่ก าบังได้ก็ให้ขุดเป็นหลุมนอนยิงเพื่อใช้ ป้องกันได้ บางหลุมควรมีขนาดลึกประมาณ ๑/๒ เมตร ใช้ดินจากการขุดสร้างที่ก าบังโดยรอบที่วางตัว รูปที่ ๒ - ๑๐ ที่มั ่นเร่งด่วน รูปที่ ๒ - ๑๑ หลุมบุคคลขุดเป็ นแนวตรง และแนวโค้ง หลังที่ก าบัง


- ๒๓ - ข. ที่มั่นต่อสู้ส าหรับทหาร ๒ คน (TWO MAN FIGHTING POSITION) ในการตั้งรับทหารจะสร้างที่มั่น ต่อสู้ส าหรับทหาร ๒ คน หรือเรียกว่าหลุมบุคคลคู่ท าการปรับแต่งให้มั่นคงกลมกลืนสภาพแวดล้อมตามที่เวลามีให้ ท าได้ ๑) พยายามขุดหลุมให้แคบ หลุมยิงยิ่งแคบอันตรายจากการยิงด้วยกระสุนปืน ระเบิดมือ หรือสะเก็ด ระเบิดแตกอากาศก็จะลดลง แต่หลุมจะต้องกว้างพอให้ทหารและเพื่อนคู่หู ลงไปได้สะดวกในสภาพการแบกเครื่อง สนามเต็มอัตรา หลุมของแต่ละคนจะต้องยื่นออกไปจนเลยขอบของที่ก าบังด้านหน้าเพื่อให้ทหารตรวจการณ์ และ ยิงไปทางด้านหน้าได้ ปกติจะขุดหลุมเป็นแนวตรง แล้วน าดินที่ขุดได้ ท าเป็นมูนดินก าบังด้านหน้าอาจขุดเป็นแนว โค้งหลังที่ก าบังก็ได้ ๒) หลุมที่ขุดเป็นแนวโค้งหลังที่ก าบังด้านหน้าอาจจ าเป็นในภูมิประเทศที่เป็นทางตรงหน้าได้ดีกว่า รวมถึงที่มั่นอื่น ๆ ทางด้านข้างของเราด้วยการขุดให้เป็นแนวโค้งท าได้โดยค่อย ๆ ขุดขยายทั้ง ๒ ปลายของหลุม ด้านซ้ายและด้านขวาจนขอบหลุมด้าน ซ้าย - ขวา มาสุดที่ด้านข้างซ้าย - ขวา ของมูนดิน ๓) หลุมที่เป็นรูปโค้งอ านวยให้ทหารคนหนึ่งตรวจการณ์ดูข้าศึก ในขณะที่อีกคนพักผ่อน หรือกินอาหาร และทหารยังสามารถตรวจการณ์ และยิงไปทางด้านหน้าเมื่อไม่มีการยิงตอบโต้จากข้าศึก และเมื่อมีการยิงจาก ข้าศึกทหารก็ถอยกลับไปอยู่หลังที่ก าบังด้านหน้าได้ รูปที่ ๒ - ๑๒ การเคลื่อนที่จากหลังที่ก าบังไปยังตรงหน้า ๔) บนเนินที่ลาดชัน การขุดหลุมเป็นแนวตรงไม่เป็นผลดีต่อการวางตัวและยิงจากด้านหลังมูนดินก าบัง ไปยังข้าศึกที่เข้าปะทะตรงหน้าเพราะทหารอาจต้องโผล่ขึ้นมายิงพ้นมูนดินก าบัง ท าให้เปิดเผยตนเองต่อข้าศึก


- ๒๔ - รูปที่ ๒ - ๑๓ ผลกระทบต่อการขดุหลุมเป็นแนวตรงบนลาดหน้าเนินชนั ๕) เพื่อหลีกเลี่ยงการโผล่ขึ้นมายิงพ้นมูนดินก าบังด้านหน้า ให้ขุดช่องยิงที่สุดปลายซ้าย ขวา ของหลุม อ้อมมาด้านข้างของมูนดินก าบังที่ขุดได้ น าไปเติมที่มูนดินก าบังด้านหน้า รูปที่ ๒ - ๑๔ การขดุช่องยิง ซ้าย - ขวา ๖) ขุดหลุมให้ลึกเท่าระดับรักแร้ของทหาร วิธีนี้เป็นการลดอันตรายจากด้านข้างและทหารยืนยิงได้สะดวก ขนาดของหลุมควรมีความยาวเท่ากับ ปลย.เอ็ม. ๑๖ สองกระบอกต่อกันและกว้างเท่ากับสองดาบปลายปืน เหลือที่ ว่างบนขอบหลุมถึงมูนดินก าบัง ให้พอวางข้อศอกได้เมื่อท าการยิง


- ๒๕ - รูปที่ ๒ - ๑๕ ความลึกขนาดรักแร้ รูปที่ ๒ - ๑๖ ที่วางของหลุม ขดุวางข้อศอกประทบัยิง


- ๒๖ - ๗) ขุดหลุมเล็ก ๆ เป็นหลุมวางข้อศอก เพื่อวางข้อศอกให้มั่นคงขณะท าการยิง เพื่อความแม่นย ายิ่งขึ้น ถ้าทหารประจ าหน้าที่ ปกบ. หรืออาวุธกลอื่น ๆ ให้ขุดร่องเล็ก ๆ เพื่อวางขาทรายให้มั่นคงขณะยิง รูปที่ ๒ - ๑๗ ขุดหลุมเล็ก ๆ ส าหรับขาทรายของ ปกบ. ๘) ตอกหลักก าหนดเขตการยิง (SECTOR STAKES) ทางซ้าย และทางขวา เพื่อความชัดเจนของเขต การยิงของทหาร เพื่อป้องกันการยิงเข้าใส่ทหารฝ่ายเดียวกันด้วยอุบัติเหตุไม่ตั้งใจ ใช้กิ่งแขนงของต้นไม้ขนาดใหญ่ พอกัน ยาวประมาณ ๑๘ นิ้ว (๔๖ ซม.) ปักให้แน่นโผล่พ้นพื้นดินสูงพอที่จะกันแนวปืนให้ชี้ไปตาม ทิศทางของ เขตการยิง ๙) ตอกหลักเล็ง (AIMING STAKES) เพื่อเป็นหลักเสริมช่วยให้ทหารยิงไปยังจุดอันตรายที่ข้าศึกก าลัง เคลื่อนที่เข้ามาในเวลากลางคืนและเมื่อสภาพทัศนวิสัยเลว ปักไม้ง่าม ๒ อัน ยาวประมาณ ๓๐ ซม. ไว้รองรับ ล า กล้องปืน ท ามุมแยกกันเล็งไปยังทิศทางเข้ามาของข้าศึกที่น่าเป็นอันตราย ปักไม้ง่ามอีก ๑ อัน ที่ด้านหลังของ ๒ อันแรก เพื่อรองรับพานท้ายปืน โดยท าให้หมุนได้ด้วยการตัดกระบอกไม่ไผ่ ประมาณ ๑/๒ ของปล้องเหลือข้อไว้ ด้านล่าง ฝังลงในดินแล้วใช้ไม้ง่ามส าหรับรองพานท้ายปืนหรืออาจท าใว้รองบริเวณเหล็กยึดฝาประกับล ากล้องปืน เสียบลงในไม้ไผ่ เพื่อให้ส่ายปืนหมุนไปมาได้


- ๒๗ - รูปที่ ๒ - ๑๘ หลกัเลง็และหลกัเขตการยิง ๑๐) ขุดหลุมดักลูกระเบิดขว้าง (GRENADE SUMPS) ในพื้นดิน ๒ หลุม ทางปีกซ้าย ขวาของหลุมปืนให้ ลึกมากพอ ถ้าข้าศึกขว้างลูกระเบิดลงมาในหลุม ให้ทหารเขี่ยลูกระเบิดลงไปในหลุมดักลูกระเบิด จะลดความแรง ของลูกระเบิดที่ระเบิดออกส่วนหนึ่ง ส่วนแรงระเบิดที่เหลือจะพุ่งออกด้านบนออกไปนอกหลุม ๑๑) การขุดหลุมดักลูกระเบิด ให้มีลักษณะดังนี้ ก) ความกว้างขนาดพลั่วสั้น ของทหาร ข) ลึกเท่ากับความยาวใบพลั่วสั้น (E - TOOL) หรือยิ่งลึกยิ่งดี ค) ความยาวของหลุมดักลูกระเบิด เท่ากับความกว้างของหลุมปืนด้านซ้าย และขวา ๑๒) การท าทางระบายน ้า (WATER DRAINAGE) ขุดพื้นหลุมให้เอียงลงเล็กน้อย ลาดไปทางหลุมดัก ลูกระเบิด เพื่อให้น ้าไหลลง และยังเป็นลาดให้ลูกระเบิดขว้างไหลลงหลุมดักได้ง่ายขึ้น


- ๒๘ - รูปที่ ๒ - ๑๙ หลุมดกัระเบิดขว้าง


- ๒๙ - ๑๓) ท าที่ก าบังเหนือศีรษะ (OVERHEAD COVER) เพื่อป้องกันสะเก็ดระเบิดแตกอากาศ โดยการท า ได้ ๒ แบบ คือ ท าคร่อมตรงกึ่งกลางของหลุมปืน หรือท าเฉพาะครึ่งหลุมด้านหลัง รูปที่ ๒ - ๒๐ ที่ก าบังเหนือศีรษะ


- ๓๐ - รูปที่ ๒ - ๒๑ วางท่อนไม้ป้องกันด้านหน้า ๑๔) เมื่อพิจารณาแล้วว่า ถ้าสร้างที่ก าบังเหนือศีรษะแล้วข้าศึกก็ยังตรวจการณ์เห็นได้ยากให้สร้างขึ้นได้ โดยใช้ท่อนไม้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ - ๖ นิ้ว เป็นท่อนหนุนโดยวางทางด้านหน้า และด้านหลังของหลุมยาว เท่ากับความยาวของหลุมปืน ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ๑๕) วางท่อนไม้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๔ - ๖ นิ้ว วางพาดระหว่างท่อนไม้ที่วางเป็นท่อนหนุนไว้แล้ว เพื่อเป็นที่กันกระสุนระเบิดเหนือศีรษะ


- ๓๑ - รูปที่ ๒ - ๒๒ ท าที่ก าบังเหนือศีรษะกลางหลุมบุคคลคู่ ๑๖) ปูแผ่นผ้ายางกันน ้า (PONCHO)หรือลังบรรจุเสบียงกระป๋ องทับบนที่ก าบังเหนือศีรษะเพื่อกันน ้าไหล ลงตามร่องไม้ รูปที่ ๒ - ๒๓ ปูแผ่นผ้ายางกันน ้า


- ๓๒ - ๑๗) โรยดินทับบนผ้ายาง ๖ - ๘ นิ้ว ใช้หญ้าหรือใบไม้โรยทับท าการตกแต่งพรางให้กลมกลืนกับ สภาพแวดล้อม รูปที่ ๒ - ๒๔ พรางที่ก าบังเหนือศีรษะ ก) ถ้าเห็นว่าสร้างที่ก าบังเหนือศีรษะตรงกึ่งกลางหลุมแล้วข้าศึกอาจตรวจการณ์เห็นได้ง่าย ให้สร้างที่ก าบัง เหนือศีรษะทางด้านข้างเพื่อเป็นที่ก าบังของแต่ละคน แต่เมื่อเข้าไปอยู่ใต้ที่ก าบังด้านข้างนี้แล้ว ทหารทั้งสองคนไม่ สามารถตรวจการณ์และท าการยิงไปตามเขตการยิงของตนได้ ข) ถ้าสร้างที่ก าบังศีรษะด้านข้าง ซ้าย - ขวา ของหลุมปืนให้ขุดหลุมดักลูกระเบิดเพียงหลุมเดียวตรงกลาง หลุมติดกับก าแพงหลุมด้านหลังแล้วปาดพื้นให้ลาดลงสู่หลุมนั้น รูปที่ ๒ - ๒๕ ที่ก าบังเหนือศีรษะทางด้านข้าง ซ้าย - ขวา


- ๓๓ - ๑๘) ขุดพื้นที่เพื่อท าที่ก าบังเหนือศีรษะทางปลายหลุมบุคคลคู่ ๒ ด้าน ก) ขุดหน้าดินลึกประมาณ ๑๒ นิ้ว ข) ขุดให้เลยความกว้างของตัวหลุมออกไป ๒ ด้าน หน้า - หลัง ด้านละ ๑๘ นิ้ว ค) ความกว้างจากปลายหลุม ๓ เมตร เก็บหญ้าผิวดินไว้ท าการพราง รูปที่ ๒ - ๒๖ ขุดที่ก าบังเหนือศีรษะทางด้านข้าง ๑๙) ขั้นต่อไป วางท่อนไม้ขนาด ๔ - ๖ นิ้ว พาดหลุมที่ขุดต่อออกไปทางด้านข้าง เพื่อเป็นตัวรับน ้าหนัก สิ่งที่จะน ามาคลุมทับด้านบน วางแผ่นผ้ายางกันน ้า กลบด้วยดินร่วนและพรางด้วยหญ้าผิวหน้าดินที่แฉะออกไป รูปที่ ๒ - ๒๗ วางท่อนไม้พาดน ้าหนัก


- ๓๔ - รูปที่ ๒ - ๒๘ พรางด้วยหญ้าผิวดิน ๒๐) เมื่อพรางเสร็จแล้ว ลงไปขุดช่องเก็บสัมภาระทั้ง ๒ ด้าน ซ้าย - ขวา ใต้ที่ก าบังเหนือศีรษะให้กว้าง พอส าหรับตัวทหารและสัมภาระ รูปที่ ๒ - ๒๙ เจาะช่อง ซ้าย - ขวา


- ๓๕ - ๒๑) ในบริเวณที่เป็นดินทราย หรือดินร่วนผนังด้านในของหลุมต้องมีการเสริม สิ่งกันดินผนังพังทะลาย (REVETMENT) โดยใช้สิ่งต่าง ๆ เช่น ตาข่ายลวด (MESH WIRE) แผ่นไม้หรือลังกระดาษ หรือท่อนไม้ หรือ ไม้รวกสานเป็นตะแกรงวางขนาบด้านข้างของหลุมแล้วตอกสมอบกท าการยึดจากกิ่งไม้ไว้ที่ขอบหลุม ขึงให้อยู่ด้วย เชือก แล้วตอกให้จมลงในดินไม่ให้ระเกะระกะ รูปที่ ๒ - ๓๐ การเสริมสิ่งกนัผนังดินพงัทลาย ค. ที่มั่นต่อสู้เดี่ยว (ONE - MAN FIGHTING POSITION) ในบางโอกาสทหารอาจต้องขุดหลุมบุคคลเดี่ยว ซึ่งมีวิธีขุดเหมือนกับหลุมบุคคลคู่ ยกเว้นขนาดที่เล็กกว่าในขนาดที่กว้างพอส าหรับตัวทหาร ๑ คน พร้อม สัมภาระรบ


- ๓๖ - รูปที่ ๒ - ๓๑ ที่มั ่นต่อสู้เดี่ยว (หลุมบุคคลเดี่ยว) ง. ที่มั่นต่อสู้ตั้งยิงด้วย ปกบ. (MACHINE GUN FIGHTING POSITION) เมื่อทหารอยู่ในหมู่ ปกบ.ก าลัง ในพวก ปกบ.ต้องสร้างหลุมตั้งยิงของ ปกบ.ก่อนที่จะเริ่มสร้าง ผบ.หน่วยต้องพิจารณาถึง ๑) ก าหนดที่ตั้ง ปกบ. ๒) ก าหนด/มอบ เขตการยิงหลักและรอง ๓) มอบทิศทางยิงหลัก (PRINCIPAL DIRECTION OF FIRE ย่อ PDF หรือแนวยิงป้องกันขั้นสุดท้าย (FINAL PROTECTIVE LINE) ย่อ FPL หมายเหตุ ๑. FPL คือ แนวที่ปืนกลยิงกวาดข้ามหน่วยทหารข้างหน้า ๒. การยิงกวาด (GRAZING FIRE) คือ การยิงสูงเหนือพื้นดิน ๑ เมตร ๓. ถ้าไม่มีการมอบ FPL ให้ถือว่า PDF คือ ทิศทางที่ปืนหันไปหรือต้องหันไป เมื่อไม่ได้ท าการยิงต่อที่ หมายในส่วนอื่น ๆ ขอบเขตการยิง ๑) สิ่งแรกที่จะต้องท าเมื่อท าการสร้างหลุม ปกบ. คือ ท าหมายจุดวางขาหยั่ง ปกบ. ก่อน แล้วเริ่ม หมายแนวเขตการยิงด้วยการปักหลักก าหนดเขตการยิง ขีดเส้น รูปร่างของหลุม และที่ก าบังด้านหน้า เป็น รูปร่างไว้


- ๓๗ - รูปที่ ๒ - ๓๒ ขีดเส้นหมายแนวรูปร่างของหลุม ปกบ. ๒) ส าหรับหลุมตั้งยิง ปก. M60 การขุดให้กันพื้นที่ทางมุมซ้าย และมุมขวาของหลุมด้านหน้าไว้ทั้ง ๒ มุม เพื่อใช้ท าเป็นที่ตั้งยิงไปในเขตการยิงหลัก (PRIMARY SECTOR OF FIRE) และที่ตั้งปืนด้านนี้จะใช้ขาหยั่ง (TRIPOD) ปกบ. ติดตั้งปืนด้วย มุมอีกด้านหนึ่งจะใช้ตั้ง ปกบ. ยิงไปในเขตการยิงรอง (SECONDARY SECTOR OF FIRE) และที่ตั้งด้านนี้จะท าการยิงด้วยการใช้ขาทราย (BIPOD) ต้องขุดเป็นร่องส าหรับวางขาทรายด้วย รูปที่ ๒ - ๓๓ หลุม ปกบ. และที่ตั้งปื น


- ๓๘ - ๓) ที่ตั้ง ปกบ. ที่ท าไว้จะช่วยลดภาพทางด้านข้างของพลยิง และยังลดความสูงของมูนดินก าบัง ด้านหน้าด้วย แต่ที่ตั้งต้องไม่ต ่ามาก จนไม่สามารถส่ายปืนไปในเขตการยิงได้ ๔) ในบางกรณี อาจต้องใช้กระสอบทรายวางทับพื้นที่ตั้ง ปกบ. ไว้ด้วย และยังใช้กระสอบบรรจุ ทรายวางทับขาหยั่งเพื่อไม่ให้เลื่อนไปมาด้วย รูปที่ ๒ - ๓๔ ภาพแสดงตา แหน่งขุดหลุมดกัลูกระเบิด ๕) หลังจากเตรียมที่ตั้ง ปกบ. แล้วให้ท าแผ่นจดระยะ (ตามผนวก ด ) แล้วขุดหลุมวางตัวของพลยิง เป็นรูปตัว (T) กลับหัวลง ด้านหัวของตัว T ต้องยาวกว่าด้านขาตัว (T) ซึ่งหันไปทางด้านข้าศึก ขุดให้ลึกขนาด รักแร้ เมื่อยืนในหลุมใช้ดินที่ขุดได้ท ามูนดินก าบังด้านหน้าก่อน ให้สูงและหนาพอกันกระสุนได้แล้วจึงท ามูนดิน ก าบังด้านข้างและด้านซ้าย ๖) ขุดหลุมดักลูกระเบิดขว้างที่ปลายหลุมด้าน ซ้าย - ขวา ด้านละ ๑ หลุม เหมือนกับการขุดหลุม บุคคลคู่ และสร้างที่ก าบังเหนือศีรษะของที่มั่นเหมือนกับการสร้างของหลุมบุคคลคู่


- ๓๙ - รูปที่ ๒ - ๓๕ ที่ตั้ง ปกบ. พร้อมที่ก าบังเหนือศีรษะ เมื่อเขตการยิงของ ปกบ. มีเฉพาะเขตการยิงหลัก ขุดที่ตั้งยิงไว้มุมเดียวเท่านั้น รูปที่ ๒ - ๓๖ ที่ตั้ง ปกบ. ไม่มีเขตการยิงรอง ๗) พลกระสุน (THE AMMUNITION BEARER) ของ ปกบ. ขุดหลุมบุคคลเดี่ยวอยู่ทางด้านใกล้ กับตัวพลยิง ปกบ. ซึ่งเป็นด้านของแนวยิงป้องกันขั้นสุดท้าย (FPL หรือ PDF) จากจุดนั้นพลกระสุนสามารถ ตรวจการณ์และยิงไปยังเขตการยิงรอง และยังจับตาดูพลยิงผู้ช่วยได้ตลอดเวลา และขุดคูคลานติดต่อมาจนถึงหลุม ของพลยิง ปกบ. เพื่อสามารถน ากระสุนมาเพิ่ม หรือเปลี่ยนต าแหน่งกับพลยิงหรือพลยิงผู้ช่วย


- ๔๐ - รูปที่ ๒ - ๓๗ ที่มั ่นส าหรับพลกระสุน ๘) ส าหรับที่ตั้งของ ปก. (ขนาด .๕๐ นิ้ว) ขุดที่ตั้งปืนเพียงด้านเดียว ให้ต ่ากว่าระดับพื้นดินนอกหลุม เหมือนกับที่ตั้ง ปก. เอ็ม.๖๐ แต่ลึกกว่า และรองพื้นที่ตั้งปืนด้วยกระสอบบรรจุทราย และวางกระสอบบรรจุทราย ทับที่ขาหยั่งด้วย เพราะปืนมีแรงสั่นสะเทือนขณะท าการยิงเสริมลวดตาข่ายกันดินพัง บริเวณผนังของหลุมและผนัง ที่ตั้งปืนด้วย ๙) เมื่อขุดที่ตั้งปืนแล้ว เตรียมท าแผ่นจดระยะ และเริ่มขุดหลุมที่วางตัวของพลยิงเป็นรูปตัวแอล ( L) โดยให้ที่ตั้ง ปก. (ขนาด .๕๐ นิ้ว) อยู่ตรงกลางของตัวแอล ( L ) ให้ลึกขนาดรักแร้เมื่อลงยืนในหลุม ใช้ดินในหลุม ท าที่ก าบังด้านหน้าก่อนจนหนาพอจึงท าที่ก าบังด้านข้าง และด้านหลัง


- ๔๑ - รูปที่ ๒ - ๓๘ ที่มั ่นต่อสู้บุคคลคู่ดัดแปลง ขุดหลุมดักลูกระเบิดขว้าง ที่ปลายหลุมทั้ง ๒ ด้าน เหมือนกับหลุมบุคคลคู่ รูปที่ ๒ - ๓๙ ที่มั ่นต่อสู้บุคคลดัดแปลงแบบมีที่ก าบังเหนือศีรษะ จ. ที่มั่นต่อสู้ของจรวดดรากอน (DRAGON FIGHTING POSTTION) จรวดดรากอนสามารถท าการ ยิงได้ทั้งจากหลุมบุคคลเดี่ยวและหลุมบุคคลคู่ แต่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งภายในที่มั่น การท าแผ่นจดระยะ ของจรวดดรากอน ให้เตรียมให้เสร็จก่อนท าการขุดหลุม ๑) ขุดหลุมให้กว้างพอที่จะให้ปากของล ากล้องจรวด ยื่นเลยด้านหน้าของหลุมออกไปและด้านท้าย ของล ากล้องจรวด ยื่นเลยขอบหลังของหลุมออกไป เพื่อให้เปลวไฟจากแรงระเบิดออกไปนอกหลุม


- ๔๒ - รูปที่ ๒ - ๔๐ ที่มั ่นของจรวดดรากอน ๒) การขุดหลุมด้านที่จะใช้เป็นจุดยิงจรวดให้ลึกเพียงระดับเอวเท่านั้น เพื่อให้พลยิงเคลื่อนไหวขณะ เล็งตามไปได้ อีกด้านหนึ่งขุดให้ลึกระดับรักแร้ และขุดหลุมเล็ก ๆ ส าหรับขาตั้ง ๒ ขา ของจรวดด้านหน้าของหลุม ด้วย การสร้างมูนดินต้องให้สูงพอก าบังจากทางด้านหน้า เพราะขณะท าการยิง พลยิงต้องยืนสูงขึ้นมาเหนือพื้นดิน ๓) สร้างที่ก าบังเหนือศีรษะทางด้านปีกอีกด้านหนึ่งของหลุมปืน ให้กว้างพอส าหรับพลยิง และ ยุทโธปกรณ์และตัวจรวดจะไม่สร้างที่ก าบังเหนือศีรษะไว้ตรงกลางหลุม เพราะจะมีความสูงซึ่งข้าศึกง่ายต่อการ สังเกต


- ๔๓ - รูปที่ ๒ - ๔๑ การยิงจรวดดรากอนจากที่มนั่ ตรวจดูด้านหลังให้ว่างจากสิ่งใด ๆ ก่อนท าการยิงจรวดดรากอน ไม่มีทหารอยู่ในรัศมีแรงระเบิดของ เปลวความร้อน หรือมีเนินดิน หรือต้นไม้ใหญ่ ที่จะสะท้อนเปลวความร้อนกลับเข้ามาด้านหลัง ถ้าต้องท าการยิง จรวดจากหลุมบุคคลคู่ ต้องแน่ใจว่าไม่มีทหารคนอื่นในหลุมเดียวกันอยู่ในเขตรัศมีของเปลวความร้อน ฉ. ที่มั่นต่อสู้ของ ปรส. ขนาด ๙๐ มม. (90 - MM RECOILLESS RIFLE FIGHTING POSITION) สร้าง ที่ตั้งของ ปรส. ขนาด ๙๐ มม. (RCLR) คล้ายกับที่ตั้งของจรวดดรากอน แต่ถ้าต้องท าการยิงจากทางด้านขวาของ มูนดินก าบังข้างหน้าให้หลุมยาวออกไปอีกเพื่อให้ พลยิงผู้ช่วยคอยช่วยเหลืออยู่ทางด้านขวาของปืนไร้แรงสะท้อน ถอยหลัง (RCLR) เตรียมแผ่นจดระยะก่อนท าการขุดหลุม และตรวจพื้นที่ด้านหลังให้ปลอดภัยจากเปลวไฟร้อน ก่อนท าการยิงด้วย


- ๔๔ - รูปที่ ๒ - ๔๒ ที่มั ่น ปรส. ขนาด ๙๐ มม. ช. ที่มั่นต่อสู้ของอาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา (M72 A2) และอาวุธโจมตีด้วยเปลวเพลิง แบบพาดบ่า (FLASH) (LIGHT ANTITANK WEAPON (M72 A2) AND FLAME ASSULT SHOULDER WEAPON (FLASH) FIGHTING POSITION) ไม่มีที่มั่นต่อสู้แบบพิเศษส าหรับ เอ็ม.๗๒ เอ.๒ (M72 A2) หรืออาวุธโจมตี ด้วยเปลวเพลิงแบบพาดบ่า (FLASH) อาวุธเหล่านี้สามารถยิงได้จากที่มั่นใด ๆ ก็ได้ก่อนท าการยิงอาวุธชนิดนี้ ต้องระวังอันตรายในพื้นที่ด้านหลังด้วย


Click to View FlipBook Version