- ๙๕ - ข. การท าการเป่าลมเข้าปากช่วยชีวิตและนวดหัวใจจากภายนอกพร้อม ๆ กัน ๑) คุกเข่าลงด้านข้างผู้บาดเจ็บ ๒) เป่าลมเต็มปอดผู้ป่วยในเวลา ๔ วินาที (หน้าต้องแหงนขึ้น และทางเดินลมหายใจเปิด) คล าดูต าแหน่งของปลายกระดูกหน้าอกและวัดขึ้นมา ๒ นิ้วมือ จากปลายกระดูกหน้าอก ๓) วางสันมือทับกันบนจุดที่วัดได้สอดนิ้วประสานกันกดลงที่หน้าอก ๑๕ ครั้ง ในอัตรา ความเร็วเท่ากับการนับ ๘๐ ต่อ ๑ นาที รูปที่ ๘ - ๗ ต าแหน่งของปลายกระดูกหน้าอก
- ๙๖ - รูปที่ ๘ - ๘ เป่ าลมเข้าปอดและกดหน้าอก ๔) เอนตัวไปข้างหน้า เกร็งข้อศอกให้ตึง ๕) วิธีนี้จะกดหน้าอกผู้ป่วยยุบลงไป ๑ ๑/๒ นิ้ว - ๒ นิ้ว แล้วปล่อยแรงกดที่หน้าอก ๖) หลังจากกดอก ๑๕ ครั้ง ให้เปลี่ยนท่ามาเป่าลมเข้าเต็มปอดผู้ป่วยเต็มที่อย่างเร็ว ๒ ครั้ง
- ๙๗ - รูปที่ ๘ - ๙ ท่าปฏิบตัิที่ถกูต้อง ๗) ปฏิบัติวิธีนี้ด้วยอัตราส่วน ๑๕ ต่อ ๒ ก) จนกระทั่งผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง และชีพจรเริ่มเต้น ข) จนกว่าจะมีคนอื่นมาเปลี่ยน ค) จนกว่าคนป่วยจะเสียชีวิตลง ถ้ามีคนช่วยวิธีนี้ ๒ คน คนหนึ่งท าการเป่าปากช่วยชีวิต อีกคนนวดหัวใจในกรณีนี้วิธีการจะ แตกต่างกันคน ที่กดหน้าอกจะเปลี่ยนการกดจาก ๑๕ ครั้ง เป็น ๕ ครั้ง ในความเร็ว ๘๐ ครั้งต่อนาที คนที่เป่าปาก ช่วยชีวิตจะเป่าปาก ๒ ครั้ง หลังจากการกดหน้าอก ๕ ครั้ง
- ๙๘ - รูปที่ ๘ - ๑๐ ใช้ทหาร ๒ คนช่วยกัน ๖) การห้ามเลือด (STOP THE BLEEDING) ถ้าผู้บาดเจ็บมีเลือดออก และหัวใจยังเต้นอยู่ สิ่ง ที่จะต้องท าต่อไปคือ ห้ามเลือดจากบาดแผลก่อนจะห้ามเลือดทหารต้องหาบาดแผลทั้งหมดให้พบ มองหารอย กระสุนเข้าและรอยทะลุออก เพื่อดูว่าไม่มีบาดแผลใดที่ตรวจไม่พบเพราะโดยปกติรอยกระสุนเข้าจะเล็กกว่ารอย กระสุนทะลุออก รูปที่ ๘ - ๑๑ ตรวจบาดแผลด้านหน้าและด้านหลัง
- ๙๙ - ๗) เมื่อตรวจพบบาดแผลทุกแห่งแล้วให้ห้ามเลือด ด้วยวิธีต่อไปนี้ ก) ด้วยการไม่สัมผัส หรือพยายามท าความสะอาดแผล ตัดเสื้อผ้าบริเวณบาดแผลออก ให้เปิดเห็น บาดแผล อย่าแตะบาดแผลหรือน าเศษวัตถุออกจากแผล ข) ปิดบาดแผลด้วยผ้าปิดแผลสนาม พยายามอย่าให้ผ้าปิดแผลหรือบาดแผลมีสิ่งเป็นพิษติดอยู่ (๑) การปิดบาดแผลด้วยผ้าปิดแผล (ก) แกะผ้าปิดแผลออกจากซอง บิดให้กระดาษห่อขาดออก รูปที่ ๘ - ๑๒ บิดกระดาษห่อออก (ข) หยิบผ้าปิดแผลด้วยสองมือ (อย่าสัมผัสผ้าปิดแผลด้านที่จะปิดทับบาดแผล) รูปที่ ๘ - ๑๓ คลี่ผา้ปิดแผลออก
- ๑๐๐ - (ค) ปิดผ้าปิดแผลลงบนบาดแผลโดยไม่ให้ผ้าสัมผัสสิ่งใด ๆ รูปที่ ๘ - ๑๔ ปิดผา้ลงบนบาดแผล (ง) พันผ้าปิดแผลรอบ ๆ บาดแผล และผูกปลายให้แน่นด้วยเงื่อนพิรอด ตรงบริเวณรอยแผล รูปที่ ๘ - ๑๕ ผกูเงื่อนพิรอด
- ๑๐๑ - ค) ถ้าพันผ้าปิดแผลแล้วยังคงมีเลือดออก ให้กดที่ผ้าพันแผล ๕ - ๑๐ นาที รูปที่ ๘ - ๑๖ กดที่ผ้าพันแผล ง) ถ้าต้องการแรงกดมากขึ้น เพื่อให้เลือดหยุดไหล ให้เพิ่มความหนาของผ้าหรือใส่ก้อนหินทับนอกผ้า บริเวณรอยแผลและผูกปลายผ้าทับบริเวณแผ่นผ้าหนาหรือก้อนหิน วิธีนี้เรียกว่าเพิ่มแรงกดบาดแผล รูปที่ ๘ - ๑๗ เพิ่มแรงกดผา้ปิดแผล จ) ถ้ามีบาดแผลบริเวณแขนหรือขา และเลือดไม่หยุดไหล ให้ยกขาให้สูงเหนือระดับหัวใจ วิธีนี้จะช่วย ลด หรือหยุดเลือดไหลได้ อย่ายกขาที่มีบาดแผลและกระดูกหัก นอกจากได้เข้าเฝือกเรียบร้อยแล้ว
- ๑๐๒ - รูปที่ ๘ - ๑๘ ยกขาขึ้นสูงกว่าระดับหัวใจ ฉ) ถ้ามีเลือดพุ่งออกจากบาดแผลนั้น คือเลือดออกมาจากเส้นเลือดแดง การที่จะห้ามเลือดให้กดบริเวณ เส้นเลือดใหญ่ตามร่างกายที่วิ่งสู่บาดแผล การกดแบบนี้ท าให้ปิดหรือชะลอการไหลของเลือดจากหัวใจมายัง บาดแผล จนสามารถใช้ผ้ากดทับบาดแผลได้ ในบางกรณีอาจกดค้างไว้บนจุดกดแม้ว่าจะพันผ้าพันแผลแล้ว จุด กดห้ามเลือดที่ดีที่สุดบนร่างกาย แสดงให้ดูตามรูปที่ ๘ - ๑๙
- ๑๐๓ - รูปที่ ๘ - ๑๙ ใช้การกดจุดห้ามเลือด
- ๑๐๔ - ช) ถ้าเลือดยังคงไหลออกจากบาดแผล หลังจากกดตามจุดห้ามเลือด และพันผ้าปิดแผลแล้ว ให้ใช้การ ขันชะเนาะ วิธีนี้เป็นวิธีสุดท้าย ขันชะเนาะบริเวณโคนขาหรือแขนเหนือรอยบาดแผล ๒ - ๔ นิ้ว อย่าให้เกินกว่านี้ อย่าคลายหรือแก้รอยขันชะเนาะเมื่อได้ขันไปแล้ว ถ้าท าได้ให้เขียนอักษร ที (T) บนหน้าผากของผู้บาดเจ็บใน ขณะที่ท าการขันชะเนาะ แล้วรีบน าคนเจ็บส่งสถานที่พยาบาลโดยเร็ว รูปที่ ๘ - ๒๐ การขันชะเนาะ
- ๑๐๕ - ๘) ป้องกันการซ็อค ถ้าไม่มีการป้องกันหรือรักษาอาการช็อค คนเจ็บอาจเสียชีวิตได้ แม้การบาดเจ็บนั้นไม่ ถึงขั้นท าให้เสียชีวิต ก) อาการช็อคอาจเป็นผลกระทบจากการบาดเจ็บ แต่น่าจะเป็นผลจากการบาดเจ็บสาหัส อาการเตือนของ การช็อคคือ กระวนกระวาย กระหายน ้า ผิวหนังซีด และหัวใจเต้นเร็ว ผู้ป่วยเมื่อมีอาการช็อค อาจตื่นเต้นหรือดู เหน็ดเหนื่อย อาจมีเหงื่อออกในขณะที่ผิวหนังเย็นและชื้น เมื่อสภาวะร่างกายของเขาเลวลง เขาอาจอ่อนเพลีย หายใจเร็วหรือหอบ ตาลอย หรือมีรอยคล ้า หรือสีคล ้ารอบ ๆ ปาก ข) หลังจากใช้มาตรการช่วยชีวิต ๒ ขั้นแรกแล้ว ตรวจดูอาการช็อค ถ้าคนไข้ยังมีอาการช็อคหรือมีท่าทาง จะเริ่มช็อค ให้รักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บทันที โดยวิธีต่อไปนี้ (๑) คลายเสื้อของผู้บาดเจ็บ ที่บริเวณ คอ, เอว และบริเวณใด ๆ ที่ขัดขวางการไหลเวียนของโลหิต รูปที่ ๘ - ๒๑ ป้องกันอาการช็อค (๒) จัดให้คนเจ็บอยู่ในท่าที่สบาย ๆ ตามสภาพในขณะนั้น ถ้าคนเจ็บยังรู้สึกตัวอยู่ ให้คนเจ็บนอน หงาย ยกเท้าขึ้นสูง ๑๕ - ๒๐ ซม. ถ้าคนเจ็บหมดความรู้สึก จัดให้คนเจ็บนอนตะแคงหรือนอนคว ่าให้ใบหน้าเอียง ไปด้านหนึ่ง ถ้ามีบาดแผลที่ศีรษะ ให้ยกศีรษะขึ้นสูงกว่าระดับล าตัว ถ้ามีบาดแผลที่ใบหน้าหรือล าคอ ให้คนไข้นั่ง เอนตัวไปด้านหน้า ศีรษะต ่าลงหรือในท่าส าหรับผู้บาดเจ็บที่หมดสติ ถ้ามีบาดแผลที่หน้าอกทะลุอากาศเข้าไปข้าง ในร่างกายได้ ให้คนเจ็บนอนทับบาดแผล ถ้ามีบาดแผลที่หน้าท้องให้คนเจ็บนอนหงายศีรษะเอียงไปด้านหนึ่ง
- ๑๐๖ - (๓) ห่มผ้าให้คนเจ็บ เพื่อให้ร่างกายได้รับความอบอุ่น ๙) การตกแต่งปิดบาดแผล การรักษาบาดแผล และท าให้คนไข้ฟื้นตัวดีขึ้น ย่อมขึ้นอยู่กับการป้องกันใน ขั้นต้น ท าได้ดีมากเพียงใดไม่ให้แผลเปรอะเปื้อนสิ่งเป็นพิษและการติดเชื้อโรค ก) บาดแผลจะต้องได้รับการตกแต่งและปิดด้วยผ้าปิดแผล เพื่อป้องกันการสัมผัสสิ่งมีพิษ เช่นเดียวกับ การห้ามเลือดใช้ชุดปฐมพยาบาลสนามและผ้าพันแผล ปิดและพันแผล ผ้าปิดแผลคือ แผ่นผ้าใด ๆ ที่ได้มีการฆ่า เชื้อโรคแล้วน ามาปิดแผล ผ้าพันแผล คือ วัสดุที่ใช้พันทับผ้าปิดแผลให้แน่นกระชับกับบาดแผล ในชุดปฐม พยาบาลสนามจะมีทั้ง ๒ สิ่งบรรจุอยู่แล้ว ให้น ามาใช้ปิดและพันบาดแผลให้มิดชิด ข) การศึกษาเรื่องการจะแต่งและปิดพันบาดแผลอย่างไร ค้นหาได้ในบทที่ ๖ ของ รส. ๒๑ - ๑๑ (FM 21 - 11) รูปที่ ๘ - ๒๒ การตกแต่งปิดบาดแผล
- ๑๐๗ - ๘ - ๓ สิ่งที่ควรและไม่ควรท าในการปฐมพยาบาล เมื่อท าการปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ จงจ าขั้นการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ก. ควรท า - อย่างทันทีแต่สุขุมใจเย็น ข. ควรท า - ให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้บาดเจ็บ และค่อย ๆ ตรวจร่างกายผู้บาดเจ็บ เพื่อ ตกลงใจก าหนดขั้นการปฐมพยาบาล ค. ควรท า - ใช้มาตรการช่วยชีวิตตามต้องการ ง. ไม่ควร - จับคนเจ็บนอนหงาย ถ้าเขาหมดสติหรือมีบาดแผลที่ใบหน้าและล าคอ จ. ไม่ควร - ดึงหรือฉีกเสื้อผ้าออกจากร่างคนเจ็บอย่างรุนแรง ฉ. ไม่ควร - สัมผัสหรือพยายามจะท าความสะอาดบาดแผลที่สกปรกหรือแผลไฟไหม้ ช. ไม่ควร - แกะผ้าปิดและผ้าพันแผลที่ได้ปิดบาดแผลไว้แล้ว ซ. ไม่ควร - คลายชะเนาะที่ได้ขันไว้ดีแล้ว ด. ไม่ควร - เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บกระดูกหัก จนกว่าจะได้เข้าเฝือกเฉพาะส่วนหัก เรียบร้อยแล้ว นอกจากจ าเป็นจริง ๆ ต. ไม่ควร - ให้น ้าทางปากแก่ผู้บาดเจ็บที่หมดสติ, คลื่นไส้ หรืออาเจียน หรือมี บาดแผลที่หน้าท้องหรือล าคอ ถ. ไม่ควร - ให้ผู้บาดเจ็บมีแผลที่ศีรษะ นอนศีรษะห้อยลงต ่ากว่าร่างกาย ท. ไม่ควร - พยายามที่จะยัดล าไส้ที่ทะลักโผล่ออกมาจากบาดแผล หรือเนื้อสมองกลับเข้า ไปในบาดแผล น. ไม่ควร - ใส่ยาใด ๆ บนแผลไฟไหม้ บ. ไม่ควร - จัดการมาตรการปฐมพยาบาลที่ไม่จ าเป็นหรือเกินขีดความสามารถของท่าน ป. ไม่ควร - น าวัตถุอื่นมาเปลี่ยนทดแทนวัตถุปฐมพยาบาลที่จัดไว้ในกล่องเดิม ๘ - ๔ อนามัยส่วนบุคคล (PERSONAL HYGIENE) อนามัยส่วนบุคคล คือการฝึกการป้องกันรักษาสุขภาพ ของทหารและเพื่อน ๆ มีหลาย ๆ คนคิดว่าเป็นเรื่องเดียวกับการรักษาความสะอาดเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการด ารง รักษาสุขภาพอนามัยส่วนบุคคลส าคัญต่อตัวทหารเพราะเหตุว่า ก. ช่วยป้องกันต่อเชื้อโรคที่ท าให้เจ็บป่วย ซึ่งมีอยู่ทั่วไปในสภาวะแวดล้อม ข. หยุดการแพร่ขยายของเชื้อโรคต่าง ๆ ค. เสริมสร้างสุขภาพในหมู่ทหาร ง. พัฒนาขวัญทหารให้ดีขึ้น ๘ - ๕ การรักษาความสะอาดส่วนบุคคล ก. ผิวหนัง ช าระล้างร่างกายบ่อย ๆ ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้าด้วยสบู่และน ้าสะอาด ถ้าไม่มีน ้ามากนักใช้ผ้า ชุบน ้าสบู่เช็ดบริเวณรักแร้ ขาหนีบ หู ใบหน้า มือและเท้า ข. เส้นผม สระผมให้สะอาดอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง หวีให้เรียบและตัดสั้น ก าจัดรังแคด้วยสบู่ และน ้าสะอาด โกนหนวดบ่อย ๆ ถ้ามีน ้า และสถานการณ์ทางยุทธวิธีอ านวยให้ อย่าใช้หวีและใบมีดโกนร่วมกับผู้อื่น ค. มือทั้งสองข้าง ล้างด้วยน ้าสะอาดฟอกสบู่หลังท างาน จับต้องสิ่งสกปรก หลังออกจากส้วม และก่อน รับประทานอาหาร ตัดเล็บให้สั้นและสะอาดอยู่เสมอ อย่ากัดแทะเล็บ แคะจมูก หรือเกาตามร่างกาย ง. เสื้อผ้าและเครื่องนอน ซักและเปลี่ยนเสื้อผ้าเมื่อสกปรก (เมื่อสถานการณ์อ านวย) ซักและเปลี่ยนเครื่อง ปูนอนเมื่อสกปรก ถ้าซักเครื่องนอนไม่ได้ให้น าผึ่งแดด เพื่อลดปริมาณเชื้อโรคที่เกาะอยู่ในเครื่องนอน
- ๑๐๘ - ๘ - ๖ การดูแลรักษาปากและฟัน การท าความสะอาดปากและฟันเป็นประจ าจะช่วยป้องกันฟันผุ และโรคเหงือก อักเสบ การรักษาสุขภาพช่องปากและฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหารด้วยแปรงสีฟันและยาสีฟัน ถ้าไม่มีแปรงสี ฟันให้ตัดกิ่งไม้เล็ก ๆ และขบให้แตกปลายใช้แทนแปรงสีฟัน ถ้ามีน ้ายาบ้วนปากใช้บ้วนเพื่อฆ่าเชื้อโรคในช่องปาก ใช้เส้นใยพลาสติกหรือด้ายเย็บผ้า ดึงเศษอาหารจากซอกฟันหรือใช้ไม้เล็ก ๆ แคะออก รูปที่ ๘ - ๒๓ การทา แปรงสีฟันด้วยกิ่งไม้เลก็ๆ ๘ - ๗ การดูแลรักษาสุขภาพของเท้า ล้างเท้าและเช็ดให้แห้งเป็นประจ า ใช้ผงโรยเท้าเพื่อฆ่าเชื้อโรค ลดความ ฝืดจากการเสียดสีของนิ้วเท้า และช่วยซับเหงื่อ เปลี่ยนถุงเท้าทุกวัน หลังจากทหารเดินข้ามพื้นที่เปียกและให้เช็ด เท้าให้แห้ง โรยด้วยผงโรยเท้า และเปลี่ยนถุงเท้าเร็วที่สุดเท่าที่สถานการณ์อ านวยให้
- ๑๐๙ - รูปที่ ๘ - ๒๔ เปลี่ยนถุงเท้าและโรยด้วยผงยาโรยเท้า ๘ - ๘ อาหารและน ้าดื่ม เพื่อการพัฒนาสภาพร่างกาย พลังกาย และการด ารงอยู่ ร่างกายของทหารต้องการ ก. โปรตีน ข. ไขมัน และคาร์โบไฮเดรท ค. แร่ธาตุ ง. ไวตามิน ฉ. น ้า
- ๑๑๐ - ก. เสบียงอาหารแห้งที่ทหารได้รับจ่าย มีสารอาหารที่จ าเป็นในปริมาณที่สมดุล จงกินอาหารเหล่านั้น ถ้าท า ได้ให้อุ่นให้ร้อนเพื่อท าให้รสดีขึ้นและช่วยการย่อย อย่าหลงระเริงติดใจในขนมหวาน เครื่องดื่ม สุรา เบียร์ และสิ่ง อื่น ๆ ที่ไม่ได้จ่ายให้ สิ่งเหล่านั้นมีคุณค่าทางอาหารน้อยและอาจมีอันตรายแก่สุขภาพ ข. ดื่มน ้าจากแหล่งที่บ าบัดเชื้อโรคแล้ว หรือหลังจากใส่ยาเม็ดท าน ้าให้บริสุทธิ์ มีดังนี้ ๑) เติมน ้าลงในกระติกที่สะอาด ๒) เติมยาเม็ดท าน ้าให้บริสุทธิ์ จ านวน ๑ เม็ดต่อน ้าใส ๑ กระติกหรือเติมยา ๒ เม็ดต่อน ้าขุ่น ๑ กระติก หรือน ้าที่เย็นจัด (ถ้าไม่มียาใช้การต้มให้เดือดประมาณ ๕ นาที) ๓) ปิดฝากระติกน ้าพอหลวม ๆ ๔) คอย ๕ นาที ๕) เขย่ากระติกให้ยาละลายดีและปล่อยให้น ้าบางส่วนทะลักออกมา ๖) ปิดเกลียวฝาปิดให้แน่น ๗) คอยอีก ๒๐ นาที จึงน ามาดื่มได้ ๘ - ๙ การออกก าลังกาย การออกก าลังกายกล้ามเนื้อ และข้อต่อช่วยด ารงความแข็งแรงของร่างกายและสุขภาพ ดี ถ้าไม่ออกก าลังกายทหารจะขาดความอดทนของสภาพร่างกาย และขีดความสามารถในการต่อสู้กายภาพที่พรั่ง พร้อมอยู่ในร่างกายที่สุขภาพสมบูรณ์ สมรรถภาพที่เพิ่มพูนทักษะ และการปฏิบัติที่ยืนยง ขีดความสามารถที่ฟื้น ตัวได้เร็วจากการใช้พลังอย่างรวดเร็ว ปณิธานที่จะบรรลุภารกิจที่ก าหนดให้และความมั่นใจที่จะเผชิญกับทุกกรณี ความปลอดภัยในตัวทหารเอง สุขภาพร่างกายและชีวิตอาจขึ้นอยู่กับกายภาพที่พร้อมสมบูรณ์ ในระหว่างการรบย่อมมีความสงบเป็นครั้งคราว ในระหว่างช่วงนั้นควรออกก าลังกาย ซึ่งช่วยรักษาสภาพ กล้ามเนื้อและการท างานของร่างกายให้พร้อมท าการรบในช่วงต่อไป และยังช่วยให้เวลานั้นผ่านไปอย่างมีประโยชน์ ๘ - ๑๐ การพักผ่อน ร่างกายของทหารต้องการพักผ่อน เพื่อเสริมสร้างความกระปรี้กระเปร่าของร่างกายและจิตใจ เมื่อทหารเหนื่อยอ่อน การท างานของร่างกายจะเฉื่อยชา และความสามารถในการตอบโต้ช้ากว่าปกติ ท าให้ง่ายต่อ การเจ็บป่วย การนอนหลับโดยไม่ถูกรบกวน ๖ - ๘ ชม. ต่อวัน จะท าให้สุขภาพที่ดีแต่มันท าได้ยากในการรบ หา เวลาพักหรืองีบหลับในช่องว่างเว้นจากเวรยามอย่าอายที่จะบอกว่าท่านเหนื่อยและง่วง อย่าหลับในขณะปฏิบัติ หน้าที่ ๘ - ๑๑ จิตอนามยั ความคิดมีผลต่อการกระท า ถ้าทหารรู้จักหน้าที่ ทหารอาจท างานได้เร็ว และมีประสิทธิภาพ ถ้าทหารมีความเคลือบแคลง สงสัยต่อขีดความสามารถในการท างานทหารอาจลังเลใจ และตัดสินใจผิดพลาด การ คิดในแง่ดีเป็นสิ่งจ าเป็น ท่านต้องเข้าท าการรบด้วยความมั่นใจอย่างเปี่ยมล้นในขีดความสามารถในการรบของท่าน ก. ความกลัว เป็นพื้นฐานของอารมณ์มนุษย์ มันแสดงออกทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ความกลัวเป็นสิ่งที่ ไม่น่าอายถ้าเราควบคุมมันได้ มันยิ่งช่วยทหารให้มีการเตรียมพร้อม และมีความสามารถมากขึ้นที่จะท างาน ความ กลัวท าให้ม่านตาของทหารขยาย เป็นการเพิ่มทัศนวิสัยการรับรู้ ท าให้ทหารจับความเคลื่อนไหวได้ง่ายกว่า ความ กลัวยังช่วยเพิ่มอัตราเต้นของหัวใจ และการหายใจนั่นคือการเพิ่มพลัง ดังนั้นจงควบคุมความกลัวและใช้ความกลัว เป็นข้อได้เปรียบในการท างาน ข. อย่าปล่อยให้มโนภาพ และความกลัวท าให้ทหารฟุ้งซ่าน (RUN WILD) จงจ าไว้ว่าทหารไม่ได้อยู่ โดดเดี่ยว ทหารเป็นส่วนหนึ่งของชุดปฏิบัติการ ยังมีเพื่อน ๆ อยู่ใกล้ ๆ แม้ว่าจะมองไม่เห็น ทุกคนต้องช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ฝากความหวังไว้ซึ่งกันและกัน ค. ความวิตกกังวลบ่อนท าลายสภาพร่างกาย จิตใจหม่นหมองและชลอความคิดและการรับรู้ ผนวกด้วย ความสับสน อุปสรรคที่แผ่ขยาย และเป็นสาเหตุให้ทหารสร้างแนวความคิดที่ไม่ยืนยาว ถ้าทหารมีความวิตกใน เรื่องบางอย่าง ปรึกษากับ ผบ.หน่วย เกี่ยวกับเรื่องนั้นเขาอาจช่วยแก้ปัญหาให้ทหารได้
- ๑๑๑ - ง. ทหารอาจต้องท าการรบในส่วนต่าง ๆ ของโลก และในทุกสภาพภูมิประเทศ ดังนั้นจงปรับสภาพจิตใจ ให้ยอมรับสภาพที่ควรจะเป็นไป ถ้าสภาพจิตมีการเตรียมพร้อมส าหรับมัน ทหารจะสามารถท าการต่อสู้ได้ทุก สภาวะ ๘ - ๑๒ กฎในการหลีกเลี่ยงการป่ วยเจ็บในสนาม ก) อย่ากินอาหาร และดื่มเครื่องดื่มที่มาจากแหล่งอันไม่เหมาะสม ข) อย่าถ่ายไม่เป็นที่ในพื้นที่การรบ (ใช้ส้วมหรือหลุมกลบให้มิดชิด) ค) อย่าอมนิ้วหรือวัตถุที่ปนเปื้อนสารพิษ ง) ล้างมือทุกครั้ง หลังแตะต้องสารพิษก่อนกินอาหารหรือปรุงอาหาร และก่อนใช้มือแปรงฟัน ล้างปาก บ้วนปาก จ) ล้างภาชนะบรรจุอาหารทุกมื้อหลังรับประทาน ฉ) แปรงฟันล้างปากอย่างน้อยวันละครั้ง ช) ป้องกันแมลงกัดต่อยโดยใช้ยาทากันแมลงและยุง ซ) หลีกเลี่ยงการเปียกชื้นและความหนาวเย็นโดยไม่จ าเป็น ด) อย่าใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น เช่น กระติกน ้า กล้องยาสูบ แปรงสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า เช็ดตัว เครื่อง โกนหนวด ต) อย่าทิ้งเศษอาหารเกลื่อนกลาด ถ) นอนหลับเมื่อท าได้ ท) ออกก าลังกายเป็นประจ า
- ๑๑๒ - ผนวก ก ทุ่นระเบิด ก - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) หน่วยอาจจะใช้ทุ่นระเบิดในการระวังป้องกันในการตั้งรับ, การร่นถอย และใน การเข้าตี เพื่อที่จะลดความสามารถในการเคลื่อนที่ของข้าศึก ในการปฏิบัติการเหล่านั้น ผู้บังคับบัญชาจะต้องเลือก พื้นที่ ๆ จะวางทุ่นระเบิดและเมื่อจ าเป็นที่ต้องถอนทุ่นระเบิดนั้นกลับมา ทุ่นระเบิดที่เรามักใช้อยู่เสมอ ๆ ได้แก่ ก. เอ็ม.๑๔ (M 14) สังหารบุคคล ข. เอ็ม.๑๖ เอ.๑ (M 16 A 1) สังหารบุคคล ค. เอ็ม.๑๘ เอ.๑ (M 18 A 1) สังหารบุคคล ง. เอ็ม.๒๖ (M 26) สังหารบุคคล จ. เอ็ม.๑๕ (M 15) ดักรถถัง ฉ. เอ็ม.๒๔ (M 24) ดักรถถัง ก - ๒ ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอ็ม.๑๔ (M 14) เป็นระเบิดชนิดอยู่กับที่ มีดินระเบิดแรงสูง ตัวทุ่นท าด้วย พลาสติกใช้น ้าหนักกด ๙ - ๑๕.๘ กก. (๒๐ - ๓๕ ปอนด์) เป็นแรงกดท าให้ระเบิด รูปที่ ก - ๑ ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๔ ก) การติดตั้งทุ่นระเบิด (M 14) ๑) น าทุ่นระเบิดออกจากกล่องบรรจุและตรวจสอบถ้าทุ่นระเบิดมีรอยแตกหรือช ารุด อย่าน าไปใช้ ๒) ใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๒ ซึ่งอยู่ในกล่องบรรจุ เพื่อใช้หมุนกลางฝาจุก เก็บฝาจุกพลาสติกสีขาวซึ่งอยู่ ด้านล่างของทุ่นระเบิดนี้ไว้เพื่อใช้ในโอกาสต่อไป
- ๑๑๓ - รูปที่ ก - ๒ เครื่องมือ เอ็ม.๒๒ ๓) ตรวจดูต าแหน่งของเข็มแทงชนวน ถ้าเข็มแทงชนวนโผล่เข้ามาในช่องใส่ระเบิด ทุ่นระเบิดไม่ ปลอดภัยต่อการใช้งาน รูปที่ ก - ๓ การตรวจต าแหน่งของเข็มแทงชนวน ๔) ตรวจดูช่องใส่ชนวนระเบิดว่ามีสิ่งแปลกปลอมหรือไม่ ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมให้เอาออกโดยการเคาะทุ่น ระเบิดกับอุ้งมืออย่างง่าย ๆ ๕) ขุดหลุมกว้างประมาณ ๑๐ ซม. (๔ นิ้ว) และให้ลึกพอสมควร ประมาณ ๓.๘ ซม. (๑.๕ นิ้ว) เพื่อให้ รับน ้าหนักโผล่พ้นพื้นขึ้นมา ๖) ดูให้แน่ใจว่าก้นหลุมนั้น เป็นพื้นแข็งพอที่จะรับกับน ้าหนักที่จะกดลงได้ ถ้าพื้นอ่อนเกินไปให้ใช้ไม้ หรือวัสดุแข็ง ๆ รองที่ก้นหลุม
- ๑๑๔ - รูปที่ ก - ๔ การติดตงั้ระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๔
- ๑๑๕ - รูปที่ ก - ๕ การติดตงั้ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๔ (ต่อ) ข) การรื้อถอนทุ่นระเบิด เอ็ม.๑๔ ท าเป็นตอนย้อนกลับจากการท าการติดตั้งและท าพร้อมระเบิด ๑) ตรวจดูรอบ ๆ ทุ่นระเบิดว่าลักษณะใด ๆ ผิดปกติไปหรือไม่ ถ้ามีอย่าพยายามรื้อถอน รายงานการ ผิดลักษณะของทุ่นให้ ผบ.หน่วยทราบ ๒) เอาเศษดินออกมาจากตัวทุ่นโดยไม่ท าให้เกิดแรงกดลงบนทุ่นระเบิด ๓) จับทุ่นระเบิดด้วยมือข้างหนึ่ง แล้วใส่คลิ๊บนิรภัยโดยใช้มืออีกข้างหนึ่ง ๔) เมื่อใส่คลิ๊บนิรภัยเข้าที่แล้ว หมุนแป้นรับน ้าหนักให้กดให้ลูกศรชี้ไปที่ S (SAFE) ซึ่งตรงนี้เป็นการ ท าให้ไม่พร้อมระเบิด ๕) ยกทุ่นระเบิดออกจากหลุม ๖) จับทุ่นพลิกคว ่าลงอย่างระมัดระวัง ถอดออกจากช่องใส่ ๗) หมุนจุกปิดพลาสติกเข้าไปในช่องใส่ ๘) ท าความสะอาดทุ่นระเบิดแล้วเก็บใส่กล่องบรรจุ
- ๑๑๖ - ค) ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (M16 A1) เป็นทุ่นระเบิดโลหะ แบบกระโดดสะเก็ดระเบิดสามารถติดตั้งได้ทั้ง ใช้น ้าหนักกดหรือใช้ลวดสะดุด ซึ่งผูกกับห่วงดึงใช้น ้าหนัก ๓.๖ กก. (๘ ปอนด์) หรือมากกว่ากดลงบนง่ามบนตัว ชนวน หรือใช้แรงดึง ๑.๓ ปอนด์ หรือมากกว่า โดยดึงจากลวดสะดุดจะท าให้ทุ่นเกิดการระเบิด รูปที่ ก - ๖ ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็. ๑๖ เอ.๑ ง) การติดตั้งทุ่นระเบิด (M16 A1) ๑) น าทุ่นระเบิดออกจากกล่องบรรจุ และตรวจสอบการช ารุดเสียหาย ถ้าทุ่นระเบิดมีการแตกหัก งอ หรือ การเสียหายอื่น ๆ อย่าน าทุ่นระเบิดนั้นมาใช้ ๒) หมุนจุกปิดช่องใส่ชนวนออกด้วยเครื่องมือ เอ็ม.๒๕ แล้วเก็บจุกไว้ใช้ในโอกาสต่อไปในการท าให้ไม่ พร้อมระเบิด รูปที่ ก - ๗ เครื่องมือ เอ็ม.๒๕
- ๑๑๗ - รูปที่ ก - ๘ ท่นุระเบิด เอม็.๑๖ เอ.๑ ๓) ตรวจสอบช่องใส่ชนวนว่ามีสิ่งแปลกปลอมหรือไม่ ถ้าพบสิ่งแปลกปลอม คว ่าทุ่นระเบิดลงแล้วเคาะ เบา ๆ เพื่อเอาสิ่งแปลกปลอมออก ๔) วางทุ่นระเบิด น าชนวนออกจากกล่องบรรจุชนวน ๕) ตรวจดูชนวนว่ามีสิ่งใดที่ช ารุดหรือมีสลักใดหายหรือไม่ ตรวจให้แน่ใจว่าสลักนิรภัยต้องเคลื่อนที่ได้ สะดวกในช่องเสียบสลักนิรภัยและดูว่ามียางกันน ้าอยู่ที่รอบฐานของชนวน ๖) ใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๕ ขันฐานเกลียวของชนวนให้แน่น ๗) ใส่ชุดชนวนเข้าไปในช่องแล้วขันให้แน่นด้วยเครื่องมือ เอ็ม.๒๕ ๘) ขุดหลุมลึกประมาณ ๑๕ ซม. (๖ นิ้ว) กว้าง ๑๓ ซม. (๕ นิ้ว) ๙) น าทุ่นระเบิดลงในหลุมที่ขุด
- ๑๑๘ - รูปที่ ก - ๙ การติดตงั้ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๖ เอ.๑
- ๑๑๙ - รูปที่ ก - ๑๐ การติดตงั้ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็๑๖ เอ ๑ (ต่อ)
- ๑๒๐ - จ) การท าให้ไม่พร้อมระเบิดและการรื้อถอน M16 A1 ท าขั้นตอนย้อนกลับกับการติดตั้ง ๑) ตรวจดูทุ่นระเบิดและบริเวณรอบ ๆ ทุ่นระเบิดเพื่อดูลักษณะผิดปกติของทุ่นระเบิด ๒) ถ้ามีการผิดลักษณะไปอย่าพยายามรื้อถอน ๓) รายงานการผิดลักษณะของทุ่นระเบิดให้ ผบ.หน่วยทราบ ๔) รื้อสิ่งปกปิดด้านบนออก ๕) ใส่สลักขัดในรูเสียบสลักด้านตรงข้ามกับห่วงดึง ๖) ถ้ามีลวดสะดุดอยู่ให้ตัดลวดสะดุดหลังจากที่ใส่สลักขัดและสลักห้ามแล้ว ๗) ปัดฝุ่น เศษดินจากตัวทุ่นระเบิดแล้วยกทุ่นระเบิดออกจากหลุม ๘) ถอดชนวนออกจากตัวทุ่น ๙) ใส่จุกปิดด้านบน ๑๐) เก็บทุ่นระเบิดใส่กล่องบรรจุ ฉ) ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล เอ็ม.๑๘ เอ.๑ (M18 A1) เป็นทุ่นระเบิดรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีลักษณะโค้งบรรจุ ดินระเบิด ซี.๔ และลูกปรายโลหะ ๗๐๐ ลูก สามารถจุดระเบิด โดยใช้ระบบไฟฟ้า และไม่ใช้ระบบไฟฟ้า ลูกปรายโลหะ ๗๐๐ ลูก จะกระจายออกเป็นลักษณะรูปพัด ในระยะ ๕๐ เมตรข้างหน้า จะกระจาย ออกเป็นมุมประมาณ ๖๐ องศา ความสูงประมาณ ๒ เมตร (๖.๖ ฟุต) ลูกปรายมีระยะหวังผลไกล ๑๐๐ เมตร (๓๒๘ ฟุต) และระยะอันตรายจนถึง ๒๕๐ เมตร (๘๒๕ ฟุต) ทางด้านหน้า รูปที่ ก - ๑๑ ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๘ เอ.๑ (เคลย์โม) ช) การติดตั้งเคลย์โม ๑) น าสายไฟ เครื่องจุดและชุดทดสอบวงจร ออกมาจากกระเป๋ าหิ้วอย่าน าทุ่นระเบิดออกมา ๒) จัดแผ่นห้ามไกให้อยู่ต าแหน่งยิง FIRE จับเครื่องจุดให้มั่นคงแล้วบีบลงอย่างเร็ว
- ๑๒๑ - รูปที่ ก - ๑๒ ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๘ เอ.๑ และอปุกรณ์ในกระเป๋าหิ้วเอม็.๗
- ๑๒๒ - รูปที่ ก - ๑๓ การติดตงั้ท่นุระเบิดสงัหารบุคคล เอม็.๑๘ เอ.๑
- ๑๒๓ - รูปที่ ก - ๑๔ การติดตงั้ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๑๘ เอ.๑ (ต่อ)
- ๑๒๔ - รูปที่ ก - ๑๕ การจดุระเบิดเคลยโ์ม การท าให้ไม่พร้อมระเบิดและรื้อถอนเคลย์โม ท าย้อนกลับขั้นตอนการท าพร้อมระเบิดและการติดตั้ง ๓) ต้องแน่ใจว่าแผ่นห้ามไกของลูกศรเครื่องจุดอยู่ที่ต าแหน่ง SAFE
- ๑๒๕ - รูปที่ ก - ๑๖ แผ่นห้ามไกของเครื่องจุด ๔) ถอดสายไฟจุดระเบิดออกจากเครื่องจุดแล้วปิดฝากันฝุ่นเข้าที่เดิม ๕) หมุนฝาปิดช่องเสียบเชื้อปะทุออกโดยเก็บเครื่องจุดไว้กับตัว ๖) น าเชื้อปะทุออกจากฝาปิดช่องเสียบเชื้อปะทุแล้วหมุนฝาปิดช่องเสียบเชื้อปะทุเข้าที่เดิม ๗) ใส่เชื้อปะทุเข้าไปในช่องเก็บ ปลดสายไฟออกจากหลักแล้วม้วนสายไฟกลับที่เดิม ๘) เก็บทุ่นระเบิดใส่ในกระเป๋ าหิ้ว (M7) ๙) ปลดสายไฟออกจากเหล็กที่ต าแหน่งจุดระเบิดแล้วเก็บสายไฟเข้ากระเป๋ าหิ้ว (M7) ช. การติดตั้งเคลย์โมโดยใช้ลวดสะดุด ๑) วางและเล็งเคลย์โมไปยังจุดสังหารที่ต้องการ ๒) ปักหลัก (หลักหมายเลข ๑) ห่างไปทางด้านหลังของทุ่นระเบิด ประมาณ ๑ เมตร (๓.๓ ฟุต) ผูก สายไฟเข้ากับหลัก โดยเหลือสายไฟไว้ประมาณ ๑.๕ เมตร (๕ ฟุต) อย่าน าเชื้อปะทุใส่เข้าไปในทุ่นระเบิดใน ขั้นตอนนี้ ๓) คลี่สายไฟห่างจากตัวทุ่นไปทางซ้าย หรือทางขวาระยะประมาณ ๒๐ เมตร (๖๖ ฟุต) แล้วปักหลักอีก หนึ่งหลัก (หลักหมายเลข ๒) ๔) น าไม้หนีบผ้า (หรืออุปกรณ์แสวงเครื่องอื่น ๆ ) ติดกับหลักหมายเลข ๒ โดยให้ด้านปลายที่หนีบหันไป ทางเขตสังหาร ไม้หนีบผ้าจะใช้การผูกติดหรือใช้ตะปูตอกติดกับหลักก็ได้ ๕) เดินตัดผ่านเขตสังหารแล้วปักหลักอีกหนึ่งหลัก (หมายเลข ๓)
- ๑๒๖ - ๖) ผูกลวดสะดุดกับ หมายเลข ๓ และหมายเลข ๒ รูปที่ ก - ๑๗ การติดตงั้เคลยโ์มโดยใช้ลวดสะดดุ ๗) เจาะหรือผูกช้อนพลาสติกหรือตัวฉนวนไฟฟ้าอื่น ๆ ท าสิ่งนี้ก่อนที่จะเริ่มติดตั้งทุ่นระเบิด ๘) การเตรียมสายจุดระเบิดที่หลักหมายเลข ๒ ส าหรับผูกต่อกับไม้หนีบผ้า โดยตัดสายไฟที่จะติดกันอยู่ เพียงเส้นเดียว แล้วลอกเปลือกพลาสติกที่หุ้มออกให้เหลือลวดข้างใน ท าลวดข้างในให้เป็นบ่วง ๒ บ่วง โดยบ่วงมี ขนาดที่จะสวมปลายของไม้หนีบผ้าได้ (ท าเช่นนี้ก่อนที่จะติดตั้งทุ่นระเบิด) รูปที่ ก - ๑๘ การเตรียมสายไฟส าหรับต่อกับไม้หนีบผ้า ๙) เลื่อนสายไฟที่ท าบ่วงไว้ ให้ลงร่องปากฉลามที่ไม้หนีบผ้า แล้วมัดให้แน่นทั้งสองข้าง
- ๑๒๗ - ๑๐) น าช้อนพลาสติกที่ผูกติดกับลวดสะดุดใส่ที่ปากหนีบของไม้หนีบผ้า ให้ลวดสะดุดอยู่สูงระดับข้อเท้า และอย่าให้ตึงเกินไป ๑๑) คลี่สายไฟไปทางด้านหลังของทุ่นระเบิดและปักหลักอีกหนึ่งหลัก (หลักหมายเลข ๔) ๑๒) ผูกสายไฟกับหลักหมายเลข ๔ ๑๓) ไปที่ทุ่นระเบิดใส่เชื้อปะทุเข้าไปในช่องเสียบเชื้อปะทุ หมุนลูกบิดช่องเสียบเชื้อปะทุ ตรวจสอบการ เล็งอีกครั้งหนึ่ง ๑๔) ไปที่หลักที่ ๔ ต่อสายไฟจุดระเบิดเข้ากับแหล่งจ่ายไฟ ๑๕) ติดปลั๊กเสียบ และจุกปิดกันฝุ่นที่ปลายสายไฟ แยกสายไฟแล้วลอกพลาสติกที่หุ้มออก ยาว ประมาณ ๑ นิ้ว ๑๖) บิดสายทองแดงให้เป็นเกลียวแล้วต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟ (BA ๒๐๐ หรือ BA ๔๓๘๖ หรือ แหล่งจ่ายไฟอื่น ๆ ที่ให้แสงไฟอย่างต ่า ๒ โวลท์) วงจรขณะนี้พร้อมท างาน รูปที่ ก - ๑๙ การต่อลวดสะดุดกับช้อนและไม้หนีบผ้า ด. การท าให้ไม่พร้อมระเบิด และการรื้อถอนเคลย์โมที่ติดตั้งโดยใช้ลวดสะดุด ท าขั้นตอนย้อนกลับจาก การท าพร้อมระเบิดและการติดตั้ง ๑) ถอดสายไฟจุดระเบิดออกจากแหล่งจ่ายไฟ ๒) น าเชื้อปะทุออกจากตัวทุ่นระเบิด ๓) เก็บทุ่นระเบิดใส่กระเป๋ าหิ้ว เอ็ม.๗ ๔) ม้วนสายไฟเก็บและรื้อถอนสิ่งอื่น ๆ จากหลัก ๑ ไป ๒ จากหลัก ๒ ไป ๓ จากหลัก ๓ ไป ๔ ๕) เก็บอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ากระเป๋ าหิ้ว เอ็ม.๗ แล้วกลับเข้าไปอยู่ที่เดิม ต. ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล เอ็ม.๒๖ (M26) เป็นทุ่นระเบิดขนาดเล็กแบบกระโดดสะเก็ดระเบิด สามารถ ติดตั้งได้โดยใช้แรงกดและใช้ลวดสะดุดน ้าหนักกดใช้ ๑๓ กก. (๒๘ ปอนด์) โดยกดด้านบนของทุ่นระเบิด หรือดึง โดยลวดสะดุดก็สามารถท าให้ทุ่นระเบิดนี้เกิดการระเบิดได้
- ๑๒๘ - รูปที่ ก - ๒๐ ท่นุระเบิดสงัหารบคุคล เอม็.๒๖ ถ. การติดตั้ง เอ็ม.๒๖ โดยการกดท าให้ระเบิด ๑) ขุดหลุมให้ลึกประมาณ ๑๓ ซม. (๕ นิ้ว) และขนาดกว้างพอส าหรับทุ่นระเบิดลงไป ๒) ปาดหน้าดินลึกประมาณ ๑ นิ้ว กว้างจากรอบ ๆ ทุ่นระเบิดประมาณ ๑๕ ซม. เพื่อไม่ให้กีดขวาง การใช้คันตั้งแป้นรับน ้าหนักกด หมายเหตุ การปล่อยม้วนลวดสะดุดให้อยู่กับตัวทุ่นระเบิด จะช่วยให้การวางทุ่นระเบิดในหลุมมีความมั่นคง ๓) ถอดคันตั้งแป้นรับน ้าหนักกด โดยดึงขึ้นตรง ๆ
- ๑๒๙ - รูปที่ ก - ๒๑ การติดตงั้ท่นุระเบิด เอม็.๒๖ จดุระเบิดโดยการกด ๔) ปิดด้านปลายของสลักนิรภัยไว้เพื่อป้องกันไม่ให้สลักนิรภัยเขยื้อนออกเวลาวางทุ่นระเบิด ๕) วางทุ่นระเบิดลงในหลุมขุดได้โดยให้แป้นชั่งน ้าหนักกดหงายขึ้น และให้ปุ่มบนแป้นรับน ้าหนักกด โผล่เหนือระดับพื้นดิน ๖) อัดดินรอบ ๆ ทุ่นระเบิด ๗) ถอดสลักนิรภัยโดยดึงห่วงขึ้นตรง ๆ ๘) น าคันตั้งแป้นรับน ้าหนักกดมาใส่ในช่องบนแป้นรับน ้าหนักกด จับทุ่นระเบิดให้มั่นคงด้วย นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือหนึ่ง อีกมือหนึ่งหมุนแป้นรับน ้าหนักกดตามเข็มนาฬิกา (ประมาณ ๑/๔ รอบ) จนแป้น รับน ้าหนักกดหมุน (หมุนต่อไปไม่ได้) ๙) ลูกศรที่อยู่ที่แป้นรับน ้าหนักกด ควรจะอยู่ในต าแหน่ง ที่เลยตัวอักษร A สีแดงไปเล็กน้อย ๑๐) พรางรอบ ๆ ทุ่นระเบิด ๑๑) ถอดคลิ๊บนิรภัยออกจากทุ่นระเบิด โดยดึงออกตรง ๆ เก็บสลักนิรภัยและคลิ๊บนิรภัยไว้ใช้ในโอกาส ข้างหน้า ในขณะนี้ทุ่นระเบิดพร้อมระเบิด
- ๑๓๐ - รูปที่ ก - ๒๒ การติดตงั้เอม็. ๒๖ ไห้พร้อมระเบิด ท. การกู้ทุ่นระเบิด เอ็ม.๒๖ ให้ไม่พร้อมระเบิดจากการติดตั้งแบบกดระเบิด ให้ท าขั้นตอนย้อนกลับ จากการท าให้พร้อมระเบิด ๑) ค่อย ๆ เอาสิ่งที่พรางไว้ทางด้านบนของตัวทุ่นระเบิดออกอย่างระมัดระวัง ๒) ถ้ามีลักษณะของกับระเบิด หรือมีการผิดลักษณะไปอย่าพยายามรื้อถอน และให้ใช้วิธีการ ท าลาย ณ ที่วาง ๓) ถ้าไม่มีการผิดปรกติ หรือมีกับระเบิดอยู่บริเวณทุ่นระเบิดใส่คลิ๊บนิรภัยเข้าไป ๔) ดูให้แน่ใจว่าก้านตรงกลางของคลิ๊บนิรภัย ได้เข้ายึดกับช่องใส่แกนเอียงของทุ่นระเบิด ๕) ปาดหน้าดินให้ลึก ๒.๕ ซม. ระยะประมาณ ๑๕ ซม. จากขอบของตัวทุ่น เพื่อให้ง่ายในการ หมุนคันตั้งแป้นรับน ้าหนัก
- ๑๓๑ - ๖) ใส่คันตั้งแป้นรับน ้าหนักกดเข้าไปแล้วใช้มือข้างหนึ่งจับทุ่นระเบิดให้มั่นคง แล้วหมุนแป้นรับ น ้าหนัก ทวนเข็มนาฬิกา จนหมุนต่อไปอีกไม่ได้ (ประมาณ ๑/๔ รอบ) น. การติดตั้ง เอ็ม.๒๖ โดยใช้ลวดสะดุด ๑) ขุดหลุมลึกประมาณ ๑๓ ซม. (๕ นิ้ว) และกว้างพอที่จะวางทุ่นระเบิดลงไปได้ ๒) ปาดหน้าดินลึก ๒.๕ ซม. (๑ นิ้ว) และห่างจากรอบ ๆ ทุ่นระเบิดประมาณ ๑๕ ซม. (๖ นิ้ว) เพื่อ สะดวกเมื่อหมุนคันตั้งแป้นรับน ้าหนักกด ๓) ดึงม้วนลวดสะดุดออกจากตัวทุ่น รูปที่ ก - ๒๓ การติดตงั้ท่นุระเบิด เอม็.๒๖ โดยใช้ลวดสะดุด ๔) เก็บลวดสะดุดที่ไม่ได้ใช้เข้าม้วนเหมือนเดิม ๕) เก็บม้วนลวดสะดุดเข้ากับทุ่นระเบิดเหมือนเดิม การปล่อยม้วนลวดสะดุดไว้กับตัวทุ่นระเบิดช่วย ให้การวางทุ่นระเบิดในหลุมมั่นคงขึ้น ๖) ปิดด้านปลายของสลักนิรภัยไว้เพื่อป้องกันไม่ให้สลักนิรภัยไว้เขยื้อนออกเวลาวางทุ่นระเบิด ๗) ดึงคันตั้งแป้นรับน ้าหนักกดออกจากตัวทุ่นระเบิด ๘) คลายแกนเอียงออกจากม้วนลวดสะดุด ๙) น าลวดสะดุดออกจากม้วน ๑๐) วางทุ่นระเบิดลงในหลุมที่ขุดไว้ โดยให้แป้นรับน ้าหนักกดหงายขึ้นและให้ปุ่มบนแป้นรับ น ้าหนักกดโผล่เหนือพื้นดิน ๑๑) อัดดินรอบ ๆ ตัวทุ่นระเบิด ๑๒) หมุนแกนเอียงเข้ากับช่องใส่ แกนเอียงซึ่งอยู่ตรงกึ่งกลางด้านบนจนแน่น (หมุนประมาณ ๑/๔ รอบ)
- ๑๓๒ - รูปที่ ก - ๒๔ การติดตงั้ลวดสะดดุก่อนทา การพราง ๑๓) ตัดเทปพันสายที่พันขดลวดสะดุดออก ๑๔) ผูกปลายด้านหนึ่งเข้ากับห่วงของแกนเอียง ๑๕) เหลือลวดสะดุดไว้ผูกเข้ากับเหล็กยึด ๑๖) ถอดสลักนิรภัยออกโดยดึงออกตรง ๆ ๑๗) ประกอบคันตั้งแป้นน ้าหนักกดกับช่องใส่ ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมืออีกข้างหนึ่ง จับยึดทุ่น ระเบิดไว้ไม่ให้หมุน แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งจับคันตั้งแป้นรับน ้าหนัก หมุนแป้นรับน ้าหนักตามเข็มนาฬิกา (จาก S ไป A ) จนแป้นหยุด (หมุนไปประมาณ ๑/๔ รอบ) ๑๘) พรางทุ่นระเบิด ๑๙) ถอดคลิ๊บนิรภัยออกจากตัวทุ่นระเบิดแล้วเก็บคลิ๊บนิรภัยไว้ใช้ในโอกาสต่อไป ขณะนี้ทุ่นระเบิด พร้อมระเบิดแล้ว บ. การกู้ทุ่นระเบิด เอ็ม.๒๖ ให้ไม่พร้อมระเบิดส าหรับเมื่อติดตั้งโดยใช้ลวดสะดุด ให้ท าขั้นตอนย้อนกลับ จากขั้นตอนการติดตั้ง ๑) ให้เอาสิ่งคลุมจากการพรางรอบ ๆ ทุ่นระเบิดออกอย่างระมัดระวัง
- ๑๓๓ - ๒) ถ้ามี แสดงว่ามีการวางกับระเบิดไว้ อย่าพยายามรื้อถอนหรือเคลื่อนย้ายทุ่นระเบิด ถ้าให้แกน เอียงเขยื้อนหรือกดน ้าหนักลงบนแผ่นรับน ้าหนักกด ๓) ใส่คลิ๊บนิรภัยโดยเลื่อนด้านทั้งสองของคลิ๊บนิรภัยให้เป้ารองของปุ่มบนแผ่นรับน ้าหนักกด และดู ให้แน่ใจว่าก้านตรงกลางของคลิ๊บนิรภัยได้เข้ายึดกับช่องใส่แกนเอียงของทุ่นระเบิด ๔) ปาดหน้าดินไปลึก ๒.๕ ซม. และระยะห่างออกรอบ ๆ ตัวทุ่นระเบิดประมาณ ๑๕ ซม. เพื่อให้ รอบ ๆ ตัวทุ่นระเบิดปราศจากสิ่งกีดขวางเมื่อหมุนคันตั้งแป้นรับน ้าหนักกด ๕) ใส่คันตั้งแป้นรับน ้าหนักกดเข้ากับช่องใส่ ๖) จับยึดทุ่นระเบิดให้มั่นคง หมุนแป้นรับน ้าหนักกดไฟหัวลูกศรชี้ไปที่ S (SAFE) ๗) ถอดคันตั้งแป้นรับน ้าหนักกดออกและเก็บไว้ใช้ในโอกาสต่อไป ๘) ใส่สลักนิรภัย โดยเสียบใส่รูที่อยู่กับตัวทุ่นระเบิด อาจจะต้องหมุนแป้นรับน ้าหนักกดกลับมา ประมาณ ๐.๕ ซม. เพื่อจัดรูให้ตรงกัน ๙) ยกทุ่นระเบิดขึ้นจากพื้น ท าความสะอาด และเก็บเข้ากล่อง ก - ๓ ท่นุระเบิดดกัรถถงั ก. ทุ่นระเบิดดักรถถัง เอ็ม.๑๕ (M 15) ทุ่นระเบิดดักรถถังชนิดนี้มีลักษณะเป็นทรงกลมตัวทุ่นท าด้วยโลหะ ระเบิดโดยการใช้แรงกดลงบนแป้นรับน ้าหนักกด ใช้แรงกด ๑๕๙ ถึง ๓๔๐ กก. (๓๕๐ ถึง ๗๕๐ ปอนด์) รูปที่ ก - ๒๕ ท่นุระเบิดดกัรถถงัเอม็. ๑๕ (M 15) ข. การติดตั้งทุ่นระเบิดดักรถถัง เอ็ม.๑๕ ๑) น าทุ่นระเบิดออกจากกล่องบรรจุ
- ๑๓๔ - ๒) ใช้เครื่องมือตั้งชนวน เอ็ม.๒๐ หมุนแป้นตั้งชนวนทวนเข็มนาฬิกา แล้วถอดฝาปิดแป้นตั้งชนวนออก ๓) ตรวจสอบช่องใส่ชนวน ว่ามีสิ่งแปลกปลอมอยู่หรือไม่ ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมอยู่ให้เอาออก รูปที่ ก - ๒๖ เครื่องมือตั้งชนวน เอ็ม ๒๐ (M 20) รูปที่ ก - ๒๗ ถอดฝาปิดแป้นตงั้ชนวนออกจากตวัท่นุระเบิด ๔) ตรวจดูให้แน่ใจว่า ดินขยายการระเบิดมีอยู่ในช่องใส่ชนวน ถ้าไม่มีให้เปลี่ยนทุ่นระเบิดใหม่ ๕) วางทุ่นระเบิดลงแล้วหยิบกล่องอโลหะบรรจุชนวนขึ้นมา ๖) เปิดกล่องใส่ชนวนโดยใช้กุญแจที่ติดอยู่กับด้านล่างของกล่องบรรจุชนวน ๗) หยิบชนวนออกมาจากกล่องบรรจุ ตรวจดูให้แน่ใจว่าที่ด้านล่างของชนวนมีเชื้อปะทุสีเขียวอยู่และคลิ๊บ นิรภัยอยู่ต าแหน่งระหว่างตัวชนวนกับแผ่นรับการกด
- ๑๓๕ - รูปที่ ก - ๒๘ กล่องบรรจุชนวนและชนวน เอ็ม.๖๐๓ (M 603) ๘) ถอดคลิ๊บนิรภัยที่อยู่ระหว่างตัวชนวนกับแผ่นสัญญาณกดออก เก็บคลิ๊บนิรภัยวางไว้ใช้ในโอกาส ข้างหน้า
- ๑๓๖ - รูปที่ ก - ๒๙ ถอดคลิ๊บนิรภยัออกจากตวชนวนั ๙) ใส่ชนวนลงไปในช่องใส่ชนวน ตรวจดูให้แน่ใจว่าตั้งอยู่บนต าแหน่งของดินขยายระเบิดและขณะติดตั้ง ชนวนอย่ากดลงบนแผ่นรับการกดของชนวน รูปที่ ก - ๓๐ ใส่ชนวนลงในช่องใส่ชนวนของท่นุระเบิด ๑๐) ตรวจดูชนวนว่าเข้าที่ถูกต้องหรือไม่ แน่นไปหรือไม่ แผ่นรับการกดอยู่สูงไปหรือไม่ ถ้าแผ่นรับการ กดอยู่สูงเกินไป แผ่นรับการกดจะไปขวางฝาปิดแป้นตั้งชนวน เมื่อท าการติดตั้ง ถ้าชนวนเข้าที่ไม่พอดี เอาออกมา แล้วเปลี่ยนชนวนอันใหม่
- ๑๓๗ - ๑๑) หยิบฝาปิดแป้นเครื่องชนวน เอ็ม.๔ และหมุนปุ่มบิดตั้งชนวนไปที่ SAFE (ถ้ายังไม่อยู่ในต าแหน่ง SAFE) รูปที่ ก - ๓๑ แป้นตั้งชนวน
- ๑๓๘ - รูปที่ ก - ๓๒ การแนะน าการฝังท่นุระเบิดสา หรบัการใช้ชนวนที่ใช้แรงกดดนั ๑๒) ขุดหลุมกว้าง ๓๘ ซม. (๑๕ นิ้ว) ลึก ๑๕ ซม. (๖ นิ้ว) โดยให้ด้านข้างของหลุมเอียงเป็นมุม ๔๕ องศา ๑๓) ตรวจดูก้นหลุมให้แน่ใจว่าแข็งพอและจะไม่ท าให้ทุ่นระเบิดจมลงไปในดิน ถ้าพื้นอ่อนให้หาแผ่นไม้ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ วางที่ก้นหลุม เพื่อให้ทุ่นระเบิดวางให้มั่นคง ๑๔) วางทุ่นระเบิดลงในหลุมที่ขุดไว้ ซึ่งจะท าให้ฝาด้านบนของแผ่นรับน ้าหนักกดต ่ากว่าระดับพื้น ประมาณ ๓ ซม. ๑๕) ใส่ดินลงไปรอบ ๆ ทุ่นระเบิดแล้วกดดันอัดลงเบา ๆ ๑๖) ใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๐ ท าทุ่นระเบิดให้พร้อมระเบิด โดยหมุนปุ่มจาก SAFE ผ่าน DANGER ไปนี้ ARMED ๑๗) พรางทุ่นระเบิด
- ๑๓๙ - รูปที่ ก - ๓๓ การตงั้ท่นุระเบิด เอม็. ๑๕ (M 15) ให้พร้อมระเบิด รูปที่ ก - ๓๔ ขนั้ตอนการทา ท่นุระเบิด เอม็.๑๕ ให้พร้อมระเบิดโดยใช้ชนวน เอม็.๖๐๓ (M 603) ค าเตือน น ้าแข็งที่อยู่ในช่องใส่ชนวนกลาง ขณะที่ใส่ชนวนอยู่ข้างใน อาจเกิดอันตรายขึ้นได้ในการปฏิบัติการในภูมิประเทศหนาวเย็น ดังนั้นต้องดูให้แน่ใจว่าไม่มีน ้าแข็งอยู่ ในช่องใส่ชนวนกลาง ค. การรื้อถอนและการท าให้ไม่พร้อมระเบิดของทุ่นระเบิด เอ็ม.๑๕ ท าขั้นตอนกลับกันกับการติดตั้ง ๑) ค่อย ๆ น าสิ่งที่พรางทุ่นระเบิดออกอย่างระมัดระวัง ตรวจดูกับระเบิดหรือสิ่งผิดปกติอื่น ๆ ถ้ามีสิ่ง ผิดปกติอย่ารื้อถอนให้ใช้การท าลาย ณ ที่วาง ๒) ถ้าไม่มีร่องรอยที่ผิดปกติอะไร ค่อย ๆ หมุนปุ่มตั้งชนวนโดยใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๐ จากต าแหน่ง ARMED ผ่าน DANGER ไปที่ต าแหน่ง SAFE ๓ ) หมุนฝาปิดแป้นตั้งชนวนทวนเข็มนาฬิกา โดยใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๐ และถอดฝาออกจากตัวทุ่นระเบิด ๔) น าชนวนออกมาจากช่องใส่ชนวน ๕) ใส่คลิ๊บนิรภัยตรงใต้แผ่นรับน ้าหนักกดและเก็บชนวนไว้ในภาชนะบรรจุ
- ๑๔๐ - ๖) ปิดฝาแป้นตั้งชนวนเข้ากับตัวทุ่นระเบิด ๗) ยกทุ่นระเบิดขึ้นจากหลุมและเก็บเข้าในกล่องบรรจุ ง. ทุ่นระเบิดดักรถถัง เอ็ม.๒๑ (M21) ทุ่นระเบิดดักรถถังเป็นทุ่นระเบิดผิวนอกเป็นโลหะ มีรูปเป็นทรงกลม มีแกนเอียงซึ่งจะใช้แรง ๑.๗ กก. (๓.๗๕ ปอนด์) จะท าให้แกนเอียงท ามุม ๒๐ องศา หรือมากกว่า ซึ่งจะท าให้ทุ่น ระเบิดเกิดการระเบิด แต่ถ้าไม่ใช้แกนเอียงประกอบ ต้องใช้แรงกด ๑๓๑.๕ กก. (๒๙๐ ปอนด์) จึงจะท าให้เกิดการ ระเบิด รูปที่ ก - ๓๕ ท่นุระเบิดดกัรถถงัเอม็. ๒๑ (M21) และส่วนประกอบ จ. การติดตั้งทุ่นระเบิด เอ็ม.๒๑ (M 21) ๑) น าทุ่นระเบิดและส่วนประกอบออกจากกล่องบรรจุ ๒) ตรวจสอบดูทุ่นระเบิดและส่วนประกอบให้พร้อมใช้งาน ดูว่ามีรอยแตก บิดงอ หรือการช ารุดอื่น ๆ หรือไม่ ถ้าพบรอยช ารุดให้เปลี่ยนทุ่นอันใหม่ ๓) ดูให้มั่นใจว่าสลักนิรภัยอยู่ในต าแหน่งที่ถูกต้องและปลอดภัย
- ๑๔๑ - รูปที่ ก - ๓๖ ชุดสลกัแถบรดัดินชนวน ๔) หมุนทุ่นระเบิดเอาด้านล่างขึ้นมา ใช้ไขควงที่ติดอยู่ด้านปลายของเครื่องมือ เอ็ม.๒๖ หมุนจุกปิดที่อยู่ ด้านล่างออก โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา
- ๑๔๒ - รูปที่ ก - ๓๗ การถอดจุกด้านล่าง ๕) ตรวจดูในช่องด้านล่างว่ามีสิ่งแปลกปลอมหรือไม่ ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมให้น าออกไป ๖) ใส่ตัวขยายการระเบิด เอ็ม.๑๒๐ เข้าไป ๗) ใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๖ ขันจุกปิดจนแน่น ๘) หมุนทุ่นระเบิดให้ด้านล่างลงไป ๙) วางทุ่นระเบิด ๑๐) ใช้เครื่องมือ เอ็ม.๒๖ ถอดจุกปิดช่องใส่ชนวนออก
- ๑๔๓ - รูปที่ ก -๓๘ ภาพตดัขวางของท่นุระเบิดดกัรถถงัขนาดหนัก เอม็.๒๑ (M21) ๑๑) ตรวจดูว่าในช่องใส่ชนวนมีสิ่งแปลกปลอมอื่นใดหรือไม่ ถ้ามีให้น าออกไปเสีย รูปที่ ก - ๓๙ การถอดจกุปิดช่องใส่ชนวน ๑๒) ถอดฝาปิดที่อยู่กับตัวชนวน เอ็ม.๖๐๗ ออก
- ๑๔๔ - รูปที่ ก - ๔๐ การถอดฝาปิดที่อยู่กบัตวัชนวน ๑๓) หมุนชนวนเข้าในช่องใส่ชนวนให้แน่นด้วยมือ แล้ววางทุ่นระเบิดลง รูปที่ ก - ๔๑ ชนวนที่อยู่ในช่องใส่ ๑๔) ขุดหลุมกว้าง ๓๐ ซม. (๑๒ นิ้ว) ลึก ๑๕ ซม. (๖ นิ้ว) ๑๕) ตรวจก้นหลุมว่าเรียบและแข็งพอที่รับน ้าหนักได้ ถ้าพื้นก้นหลุมอ่อนอาจท าให้การรับน ้าหนักไม่ดี เนื่องจากทุ่นระเบิด อาจจะเอียงท าให้ลดประสิทธิภาพลงไป ๑๖) ถ้าพื้นดินอ่อน ใช้ไม้กระดานหรือวัสดุแบนราบอื่น ๆ วางใต้ทุ่นระเบิด ๑๗) วางทุ่นระเบิดลงในหลุมที่ขุดไว้ ๑๘) ตรวจดูด้านข้างของทุ่นระเบิดให้ติดกับพื้นดินอย่างมั่นคง ปล่อยให้ส่วนชนวนไม่ต้องมีสิ่งใดปกปิด ๑๙) หมุนแกนเอียงใส่เข้าในช่องบนตัวชนวน ๒๐) ต้องแน่ใจว่าแกนเอียงอยู่ในแนวดิ่ง ฉ. ถ้าจะติดตั้งทุ่นระเบิดโดยใช้ระบบการกด ไม่ต้องใช้แกนเอียงโดยปฏิบัติดังนี้.- ๑) ดึงสลักนิรภัยที่ดึงชนวนออกซึ่งเป็นการท าพร้อมระเบิด ๒) เก็บสลักไว้ เพื่อใช้ในโอกาสข้างหน้า เมื่อจ าเป็นต้องรื้อถอนทุ่นระเบิดชนิดนี้ ๓) พรางทุ่นระเบิด ช. การรื้อถอนและท าให้ไม่พร้อมระเบิด ส าหรับทุ่นระเบิด เอ็ม.๒๑ ท าให้ขั้นตอนย้อนกลับจากการติดตั้ง ๑) ตรวจดูกับระเบิดหรือสิ่งผิดปกติรอบ ๆ ทุ่นระเบิด ถ้ามีสิ่งบอกถึงกับระเบิดหรือสิ่งผิดปกติ อย่ารื้อ ถอนให้ใช้วิธีการท าลาย ณ ที่วาง ๒) ถ้าไม่มีกับระเบิดหรือสิ่งผิดปกติ ให้น าสิ่งที่พรางรอบ ๆ ทุ่นระเบิดออกอย่างระมัดระวัง ๓) ประกอบสิ่งที่เป็นส่วนประกอบของชนวนเข้าที่เดิม และเมื่อใส่สล้กนิรภัยแล้วให้ง้างปลายออก เพื่อให้สลักหลุดออกได้ยาก ๔) ถอดแกนเอียงออกอย่างระมัดระวัง ๕) ปัดเศษดินรอบ ๆ ตัวทุ่นระเบิดออกและยกทุ่นระเบิดขึ้นมาจากหลุม