- ๑๙๔ - ๖) อย่าตอบค าถามใด ๆ นอกจากค าถามเกี่ยวข้องกับเรื่อง ชื่อ ยศ หมายเลขประจ าตัว และวัน เดือน ปีเกิด ฉ – ๓ การหลบหนี (ESCAPE) การหลบหนี คือ การกระท าเพื่อที่จะให้หนีไปจากข้าศึก เมื่อเราถูกข้าศึกจับ ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการหลบหนีก็คือ เวลาหลังจากที่เราเพิ่งถูกจับเพราะเป็นช่วงที่เรามีร่างกายและก าลังที่ดีที่สุดใน ขณะนั้น อาหารของนักโทษมีคุณค่าเพียงแต่ให้มีชีวิตอยู่ได้เท่านั้น ซึ่งแน่นอนจะไม่เพียงพอส าหรับสร้างพลังงาน ส ารองให้แก่ร่างกาย การดูแลสุขภาพร่างกาย การรักษาทางการแพทย์ และอาหารที่นักโทษได้รับนั้นเป็นสิ่งที่ท าให้ ร่างกายอ่อนแอลงอย่างรวดเร็ว ก. สิ่งที่กล่าวต่อไปนี้จะเป็นสิ่งที่ช่วยท าให้เราสามารถหลบหนีได้แต่เนิ่น ๆ ๑) มีการยิง หรือมีการยิงโจมตีทางอากาศจากทหารฝ่ายเดียวกัน อาจเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนและ ความวุ่นวาย ท าให้มีโอกาสในการหลบหนี ๒) ในการควบคุมนักโทษครั้งแรกอาจจะไม่แน่นหนาดีพอเท่ากับการควบคุมในล าดับต่อมา ๓) ผู้ควบคุมบางคนอาจมีการได้รับบาดเจ็บ ซึ่งท าให้ไม่ให้ความสนใจกับการควบคุมมากนัก ๔) เราควรรู้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับพื้นที่ ๆ เราถูกจับและอาจจะรู้ที่ตั้งอย่างคร่าว ๆ ของหน่วยทหาร ฝ่ายเดียวกันที่อยู่ใกล้เคียงพื้นที่นั้น ๕) วิธีการและหนทางในการหลบหนี ขึ้นอยู่กับเราที่จะต้องหลบหนีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ๖) หลักพื้นฐานในการหลบหนีก็คือ ให้หลบหนีแต่เนิ่นและหลบหนีเมื่อข้าศึกถูกท าให้หันเหความสนใจ ข. เมื่อเราได้หลบหนีออกมาแล้ว มันอาจจะเป็นการยากที่จะติดต่อกับก าลังทหารฝ่ายเดียวกัน ถึงแม้ว่าเรา เองจะรู้ว่าทหารฝ่ายเดียวกันอยู่ที่ไหนก็ตาม เราควรหาทางติดต่อกับหน่วยที่เราแยกออกมา ถ้าเราเป็นสมาชิกที่ หายออกไปจากการลาดตระเวน เราควรก าหนดเวลาในการที่จะเคลื่อนที่ ควรผ่านพื้นที่ของข้าศึกในเวลากลางคืน และเข้าถึงพื้นที่ของฝ่ายเดียวกันในตอนรุ่งเช้า วิธีการที่ดีในการติดต่อกับทหารฝ่ายเดียวกัน คือ พยายามหาร่อง หรือคูตื้น ๆ ที่พอจะซ่อนตัว และมีการก าบังการยิงจากฝ่ายข้าศึก และฝ่ายเดียวกันได้ในตอนรุ่งสางเราควรพยายาม ดึงดูดความสนใจของทหารฝ่ายเดียวกันโดยการโบกผ้าขาว ตะโกน แสดงแผ่นผ้าสัญญาณหรือการปฏิบัติอื่น ๆ สิ่งเหล่านี้จะช่วยท าให้ก าลังฝ่ายเดียวกันเกิดความตื่นตัว และเตรียมที่จะรับเรา หลังจากหน่วยทหารฝ่ายเดียวกัน รู้ตัว เราควรตะโกนบอกว่าเราคือใคร สถานการณ์ของเราเป็นอย่างไร และขออนุญาตที่จะเข้าไป ในหน่วย ฉ – ๔ การรักษาความปลอดภัย ในการรบเราจะต้องคิดถึงการรักษาความปลอดภัยอยู่เสมอ เราจะต้องท า ทุก ๆ สิ่ง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับตนเองและหน่วย ก. สิ่งต่อไปนี้จะเป็นสิ่งพื้นฐานที่เราควรจะท าส าหรับการรักษาความปลอดภัย ๑) ต้องตื่นตัวอยู่เสมอ ๒) ต้องแต่งกายให้พร้อมในการปฏิบัติการ ๓) ต้องเตรียมเก็บสัมภาระให้พร้อมถ้าสัมภาระนั้นไม่ได้ใช้ ๔) ระวังรักษาอาวุธยุทโธปกรณ์ให้พร้อมใช้งานเสมอ ๕)ใช้การพราง ๖) เคลื่อนที่ไปรอบ ๆ ในกรณีที่จ าเป็นเท่านั้น พยายามอยู่อย่างเงียบให้มากเท่าที่ท าได้ ๗) เฝ้าดู และเฝ้าฟังพฤติกรรมของข้าศึกในพื้นที่ส่วนของตนเอง ๘) ใช้แสงเมื่อจ าเป็นเท่านั้น ๙) อย่าเขียนรายละเอียดข้อมูลที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการลงในแผนที่ ๑๐) อย่าจดบันทึกลงในกระดาษเกี่ยวกับแผนการปฏิบัติการรบ ๑๑) อย่าน าเอกสารเกี่ยวกับงานก าลังพลเข้าไปในการรบ ๑๒) อย่าทิ้งเศษขยะไว้ ๑๓) ผูก หรือใช้เทปพันสิ่งอุปกรณ์ที่จะท าให้เกิดเสียงดัง ๑๔) ใช้สิ่งบอกฝ่าย สัญญาณผ่าน
- ๑๙๕ - ๑๕) อย่าให้ข่าวสารเกี่ยวกับการทหารแก่คนแปลกหน้า ๑๖) ต้องจดจ า “ ประมวลลับ ” ผนวก ช อาวธุทหารราบและการควบคมุการยิง (WEAPONS AND FIRE CONTROL) ช - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) ท่านต้องรู้วิธีการยิงจากอาวุธของท่าน และวิธีควบคุมการยิง ผนวกนี้ ครอบคลุมรายละเอียดคุณลักษณะของอาวุธที่ท่านจะใช้และรู้จักลักษณะ การยิง และวิธีการควบคุมการยิง ช - ๒ อาวุธทหารราบ ก. ปืนพก เอ็ม ๑๙๑๑ เอ ๑ (M1911 A1) ปืนพก เอ็ม.๑๙๑๑ เอ.๑ ท าการยิงด้วยลูกกระสุนขนาด .๔๕ นิ้ว หรือ ๑๑ มม. เป็นอาวุธประจ ากาย ระบบกึ่งอัตโนมัติท างานด้วยการสะท้อนถอยหลัง ป้อนกระสุนด้วยซองกระสุน ท าการยิงครั้งละ ๑ นัด ซองกระสุนบรรจุ ๗ นัด ท าการป้อนกระสุนเข้าสู่รังเพลิง โดยการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของ เลื่อนปืน เมื่อท าการยิงหมดแล้วปืนจะเลื่อนมาอยู่ข้างหลัง คุณลักษณะของปื นพกขนาด .๔๕ มม. ความยาว……………………………………………………………………. ซม. (๘.๖ นิ้ว) น ้าหนัก (รวมแมกกาซีนบรรจุครบนัด…………….………………………………….๑.๔ (๓ ปอนด์) ระยะยิงไกลสุด……………………………………..………………………..๑,๕๐๐ เมตร ระยะยิงหวังผลสูงสุด………………………………………..………………..…๕๐ เมตร รูปที่ ช - ๑ ปื นพก เอ็ม. ๑๙๑๑ เอ.๑ ข. ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ (M 16 A 1) ปลย. เอ็ม.๑๖ เอ.๑ ท าการยิงด้วยลูกกระสุนขนาด ๕.๕๖ มม. ป้อน กระสุนด้วยซองกระสุน และท างานด้วยแก๊ส ท าการยิงได้ทั้งระบบกึ่งอัตโนมัติ หรือระบบอัตโนมัติตามการเลือกใช้ คันบังคับการยิง ท่ายิงที่มั่นคงที่สุด (ซึ่งท าให้การยิงมีประสิทธิภาพ) ได้แก่ ท่านอนยิงประกอบเครื่องหนุนรอง หรือท่ายืนยิงประกอบเครื่องหนุนรอง ส าหรับการยิงระบบกึ่งอัตโนมัติและท่านอนยิงประกอบขาทรายส าหรับการยิง ระบบอัตโนมัติ
- ๑๙๖ - คุณลักษณะของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ น ้าหนัก ๓.๕ กก. (๗.๖ ปอนด์) (ซองกระสุนบรรจุ ๒๐ นัด)…………………………………………………….. ๓.๖ กก. (๗.๙ ปอนด์) ความยาว (ติดดาบปลายปืน)………………………………………………….. ๙.๙ ซม. (๓๙ นิ้ว) ระยะยิงไกลสุด…………………………………………………………………. ๒,๖๕๓ เมตร ระยะยิงหวังผลสูงสุด…………………………………………………………… ๔๖๐ เมตร อตัราการยิง อัตราการยิงเป็นวงรอบ ๗๐๐ - ๘๐๐ นัด/นาที กึ่งอัตโนมัติ ๔๕ - ๖๕ นัด/นาที อัตโนมัติ ๑๕๐ - ๓๐๐ นัด/นาที ยิงต่อเนื่อง ๑๒ - ๓๐๐ นัด/นาที อัตราการยิงถูกจ ากัดโดยขีดความสามารถในการเล็งยิง และการเปลี่ยนซองกระสุนของทหาร เป้าหมายเคลื่อนที่ น้อยกว่า ๒๐๐ เมตร เป้าหมายอยู่กับที่ ๒๕๐ เมตร รูปที่ ช - ๒ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๑ ค. ปืนกล เอ็ม.๖๐ (M60 MACHINE GUN) ปืนกล เอ็ม.๖๐ ท าการยิงด้วยลูกกระสุนขนาด ๗.๖๒ มม. ป้อน กระสุนด้วยสายกระสุนและยิงอัตโนมัติติดตั้งขาทราย และขาหยั่ง ท่านอนยิงโดยใช้ขาหยั่ง เอ็ม. ๑๒๒ และควงมุม ส่าย และควงมุมสูงท าให้การยิงมีความแม่นย าสูง การติดตั้งบนยานพาหนะ เช่น การตั้งยิงบนฐานปืนบน
- ๑๙๗ - ยานพาหนะ เอ็ม.๑๕๑ ๑/๔ ตัน เหมาะส าหรับปืนกลท าการยิง ขณะผู้ยิงยืนยิงปืนกลอาจจะยิงจากท่ายิงต่าง ๆ เช่น ยิงจากตะโพก ใต้แขน หรือไหล่ คุณลักษณะของปื นกล M ๖๐ น ้าหนัก ตัวปืนเท่านั้น……………………๑๐.๔ กก. (๒๓ ปอนด์) ขาหยั่ง ควงมุมส่าย และความสูง ……………..๘.๘ กก. (๑๙.๕ ปอนด์) กระสุน ๓๐๐ นัด …………………๙.๕ กก. (๒๑ ปอนด์) ความยาว ……………………….…๑๑๐.๕ ซม. (๔๓.๕) ระยะยิงไกลสุด…………………..………..๓,๗๒๕ เมตร การลุกไหม้ของกระสุนส่องวิถี….…………….๙๐๐ เมตร การยิงกวาด…………………………………..๖๐๐ เมตร ระยะยิงหวังผลสูงสุด……………….….…..๑,๑๐๐ เมตร อตัราการยิง อัตราการยิงเร็วสูงสุด……………………..๕๕๐ นัด/นาที อัตราการยิงต่อเนื่อง………………………๑๐๐ นัด/นาที อัตราการยิงเร็วปานกลาง………….……..๒๐๐ นัด/นาที ชนิดของกระสุน กระสุนธรรมดา กระสุนส่องวิถี กระสุนเจาะเกราะ ระยะซึ่งโอกาส ๕๐ % ซึ่งถูกเป้าหมายต้องท าการ ยิงเป็นชุด ๆ ละ ๖ - ๙ นัด เป้าหมายเคลื่อนที่ (ขาทราย)…….…………………………….…๒๐๐ เมตร เป้าหมายเป็นจุด (ขาทราย หรือขาหยั่ง)………………..………๖๐๐ เมตร เป้าหมายเป็นพื้นที่ (ขาทราย)………………………………...…...๘๐๐ เมตร เป้าหมายเป็นพื้นที่ (ขาหยั่ง)…………………………………….๑,๑๐๐ เมตร # เป้าหมายเป็นจุด คือ ขนาดพื้นที่ของคนยืน # เป้าหมายที่เป็นพื้นที่ คือ ขนาดของพื้นที่รับผิดชอบ ของชุดยิง รูปที่ ช - ๓ ปื นกล เอ็ม. ๖๐ บนการติดตงั้ต่าง ๆ
- ๑๙๘ - ง. เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๔๐ มม. เอ็ม.๒๐๓ (40 - MM GRENADE LAUNCHER, M203) เครื่องยิงลูก ระเบิด ขนาด ๔๐ มม. เอ็ม. ๒๐๓ ตัวเครื่องติดอยู่กับ ปลย.เอ็ม.๑๖ ท าการยิงทีละนัด บรรจุกระสุนทางท้ายรัง เพลิง ท างานด้วยการเลื่อนล ากล้องออกและเข้า กระสุนที่ใช้มีหลายชนิด สามารถใช้ท าลายเป้าหมายบุคคลและ ท าลายยานเกราะนอกจากรถถัง กระสุนระเบิดสามารถทะลุทะลวงคอนกรีต ท่อนไม้ ถุงทราย และสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่นอาคาร เป็นต้น กระสุนอื่น ๆ เช่น กระสุนส่องแสงและกระสุนสัญญาณ ท่ายิงที่มั่นคงที่สุด คือ ท่ายืนยิงประกอบ เครื่องหนุนรองและท่านอนยิงประกอบเครื่องหนุนรอง คณุลกัษณะของเครื่องยิงลูกระเบิด เอม็.๒๐๓ น ้าหนัก – บรรจุ (ปลย.และเครื่องยิงลูกระเบิด) ๔.๙๘ กก. (๑๑ ปอนด์) ความยาว……………………………………………………………………….. ๙๙ ซม. (๓๙ นิ้ว) ระยะยิงไกลสุด…………………………………………………………………. ๔๐๐ เมตร ระยะปลอดภยัตา ่สุดของกระสุนระเบิดและซ้อมยิง ในการฝึก………………………………………………………………………. ๘๐.๑ เมตร ในการรบ………………………………………………………………………. ๓๑ เมตร ระยะอันตรายต ่าสุด ๑๔ - ๓๘ เมตร ระยะซึ่ง โอกาส ๕๐ % ซึ่งถูกเป้าหมาย เป้าหมายเป็นพื้นที่ (ขนาดชุดยิง)……………………………………………………………………. ๓๕๐ เมตร เป้าหมายเป็นจุดยานพาหนะหรือที่ตั้งอาวุธ ๒๐๐ เมตร ที่ตั้งอาวุธในที่โล่งแจ้ง ๑๒๕ เมตร ที่ตั้งหลุมบุคคล (บังเกอร์) ๕๐ เมตร # พิจารณาใช้การยิงอย่างใกล้ชิด เช่น ในเมือง และภูมิประเทศ ที่จ ากัดอื่น ๆ เพื่อแน่ใจว่ากระสุนจะท าการระเบิด
- ๑๙๙ - รูปที่ ช – ๔ เครื่องยิงลูกระเบิด เอม็.๒๐๓ จ. กระสุนระเบิด เอ็ม. ๔๓๓ ๑) เจาะเกราะลึก ๕ ซม. (๒ นิ้ว) ๒) ท่อนไม้สน ๓๐ ซม. (๑๒ นิ้ว) ๓) คอนกรีต ๔๐ ซม. (๑๖ นิ้ว) ๔) ถุงทราย ๕๐ ซม. (๒๐ นิ้ว) ระยะ ๔๐๐ เมตร ๕) รัศมีอันตราย ๕ เมตร รูปที่ ช - ๕ กระสุนระเบิด เอม็.๔๓๓ (HEDP) ฉ. กระสุนเคมี เอ็ม.๖๕๑ (M651 CS ROUND) กระสุนเคมีใช้ในการขับไล่ข้าศึกออกจากที่ตั้งหลุมบุคคล (บังเกอร์) หรือที่ตั้งปกปิดในพื้นที่จ ากัด
- ๒๐๐ - รูปที่ ช - ๖ กระสุนเคมี เอ็ม.๖๕๑ ช. กระสุนสัญญาณและกระสุนส่องแสง (M.583 White Star Parachute Rounds) (M.661 GREEN STAR PARACHUTE/M 662 RED STAR PARACHUTE ROUDS) ใช้ให้สัญญาณและส่องสว่าง สามารถใช้ในระยะ ๓๐๐ เมตร ข้างหน้าหมู่ปืนเล็กให้แสงสว่างครอบคลุมพื้นที่ เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๐๐ เมตร ระยะเวลา ๔๐ วินาที รูปที่ ช - ๗ กระสุนสัญญาณและส่องแสง เอ็ม.๕๘๓, ๖๖๑ เอ็ม. ๖๖๒ ซ. กระสุนสัญญาณ เอ็ม.๕๘๕ (WHITE STAR CLUSTER/M 663 GREEN STAR CLUSTER 22/M644 RED CLUSTER ROUNDS) ใช้ให้สัญญาณ หมายเหตุ กระสุนสัญญาณสีเขียวอาจจะปรากฏเป็นสีขาวในแสงแดดจ้า รูปที่ ช - ๘ กระสุนสัญญาณ เอ็ม. ๕๘๕, ๖๖๓, ๖๖๔ STAR CLUSTER
- ๒๐๑ - ด. กระสุนควัน (M713 RED GROUND SMOKE/M 715 GREEN SMOKE/M 716 YELLOW SMOKE ROUNDS) ใช้ในการบอกที่อยู่ ไม่ใช้ในการยิงฉากก าบัง รูปที่ ช - ๙ กระสุนควัน เอ็ม. ๗๑๓, ๗๑๕, ๗๑๖ GROUND SMOKE ต. อาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา (LIGHT ANTITANK WEAPON (LAW)) ใช้ท าการยิงพาดบ่า ยิงระยะใกล้ ท่ายิงที่มั่นคงที่สุดคือ ท่ายืนยิงประกอบเครื่องหนุนรอง ท่านอนยิง และท่านอนยิงประกอบเครื่องหนุนรอง รูปที่ ช - ๑๐ อาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา เอ็ม.๗๒ เอ.๑ LAW, 66 มม. HEAT ROCKET ถ. อาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา เอ็ม.๗๒ เอ.๑ ประกอบด้วยจรวดดินระเบิดสูงขนาด ๖๖ มม. HEAT (High Explosive Anitank) ท าการยิงในท่อส่งจรวด น ้าหนักเบา และความสามารถในการทะลุทะลวงยานเกราะมากกว่า
- ๒๐๒ - ๓๐ ซม. (๑๒ นิ้ว) ท าลายยานเกราะข้าศึก ที่ตั้งหลุมบุคคล (บังเกอร์) และเป้าหมายแข็งแรงอื่น ๆ ถึงระยะ ๒๐๐ เมตร ๑) วิธีการใช้ ๔ วิธี คือ ท าการยิงเดี่ยว (Single) ท าการยิงตามล าดับ (Sequence) ท าการยิงคู่ (Pair) และท าการยิงพร้อมกัน (Volley) ก) การยิงเดี่ยว (Single Firing) ผู้ยิงท าการยิงคนเดียว วิธีนี้ใช้ท าการยิงในระยะ ๕๐ เมตร หรือน้อย กว่าเท่านั้น ข) การยิงตามล าดับ (Sequence Firing) ผู้ยิงต้องเตรียมเครื่องยิงจรวดมากกว่า ๑ เครื่องหลังจากท า การยิงนัดแรก ถ้าถูกเป้าหมายท าการยิงนัดต่อไป โดยใช้การเล็งศูนย์นั่งแท่นคงเดิม จนกระทั่งเป้าหมายถูก ท าลาย ค) การยิงคู่ (Pair Firing) ผู้ยิงสองคนเตรียมเครื่องยิงจรวด มากกว่า ๒ เครื่องขึ้นไป และท าการยิง เป้าหมายในเวลาเดียวกัน ผู้ยิงพิจารณาเป้าหมายและท าการกะระยะและค าสั่งยิงที่ใช้ (ตัวอย่าง รถถัง ระยะ ๑๕๐ เมตร เป้าหมายเคลื่อนที่เร็วและยิง) ถ้าผู้ยิงคนแรกพลาดเป้าหมาย ผู้ยิงคนต่อไปท าการปรับเปลี่ยนการกะระยะ และการยิงน าที่เหมาะสมและท าการยิง จนกระทั่งผู้ยิงคนใดคนหนึ่งท าการยิงถูกเป้าหมาย การใช้การยิงคู่นิยมกว่า การยิงตามล าดับ เพราะการยิงสามารถยิงถูกเป้าหมายได้เร็วกว่า ผู้ยิงพร้อมท าการยิงครั้งที่สองในขณะที่ท าการยิง ลูกแรกออกไป แต่การยิงตามล าดับ ผู้ยิงต้องยิงด้วยเครื่องยิงอีกเครื่องท าการเล็งศูนย์นั่งแท่นใหม่ และท าการยิง การยิงคู่เป็นวิธีที่ดีกว่าของการใช้ผู้ยิง ๒ คน ท าการยิงเป้าหมายในเวลาเดียวกัน ง) การยิงพร้อมกัน (Volley Firing) ใช้ผู้ยิงหลายคนท าการยิงพร้อม ๆ กัน ก่อนท าการยิงผู้ยิงแต่ละ คนเตรียมเครื่องยิงจรวดมากกว่า ๑ เครื่อง ผู้ยิงท าการยิงเมื่อได้รับค าสั่งหรือสัญญาณจนกระทั่งเป้าหมายถูกท าลาย (ตัวอย่าง รถถังระยะ ๑๐๐ เมตร เป้าหมายเคลื่อนที่ช้า ยิงพร้อมกัน พร้อม เล็ง ยิง) การยิงพร้อมกันใช้ในลักษณะ ที่รู้ระยะถึงเป้าหมายโดยการใช้แผนที่ การนับก้าว หรือผลของการยิงถูกเป้าหมายของการยิงคู่ วิธีการยิงพร้อมกัน เป็นวิธีที่ดีที่สุด เพราะท าการยิงด้วยลูกจรวดหลายนัดไปยังเป้าหมายในเวลาเดียวกัน ท าให้มีโอกาสท าลาย เป้าหมายได้มาก ๒) เครื่องยิงจรวด เอ็ม.๒๐๒ เอ.๑ (แฟลช) (M.202 A1 Multishot Rocket Launcher 66-MM)(FLASH) ลักษณะเบา, ท่อส่งจรวด ๔ ท่อ, เครื่องยิงจรวดขนาด ๖๖ มม. (RL) ท าการเล็งยิงจากไหล่ขวาในท่า ยืนยิงคุกเข่า ยิง หรือนอนยิง สามารถท าการยิงลูกจรวดจาก ๑ ลูก ถึง ๔ ลูก ระบบ อัตโนมัติ, อัตราการยิงจรวด ๑ ลูก/วินาที บรรจุกระสุนด้วยชุดของลูกจรวดทั้ง ๔ ลูก หัวรบลูกระเบิดเพลิง มีอ านาจท าลายข่มขวัญผู้ยิงจรวดของข้าศึก ท่ายิง ที่มั่นคงที่สุดของการยิงจรวดแฟลชเป็นท่ายืนยิงมีเครื่องหนุนรอง ขณะท าการยิงข้าศึกมีข้อจ ากัด ๒ ประการ คือ ก) ที่ก าบังเหนือศีรษะจ ากัดความสูง และระยะของลูกจรวด ข) ท้ายเครื่องยิง ต้องมีช่องว่าง เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายจากเปลวเพลิงท้ายเครื่องยิง
- ๒๐๓ - รูปที่ ช - ๑๑ เครื่องยิงลูกจรวด เอม็๒๐๒ เอ ๑ ท. อาวุธต่อสู้รถถัง เอ็ม. ๔๗ ดรากอน (M47 DRAGON MEDIUM ANTITANK WEAPON) เป็นระบบอาวุธ น าวิถีด้วยเส้นลวด ซึ่งสามารถน าติดตัวได้โดยคนเดียว ท าการยิงด้วยการพาดบ่า มีส่วนประกอบที่ส าคัญ ๒ ส่วน คือ เครื่องเล็ง และควบคุมวิถี อาวุธครบนัด อาวุธครบนัดประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ ตัวเครื่องยิงและ ลูกจรวด ลูกจรวดจะตรึงแน่น อยู่ภายในตัวเครื่องยิง เครื่องเล็งและควบคุมวิถี ถูกออกแบบให้ลูกจรวดเคลื่อนที่ได้ง่ายและเร็ว เมื่อท าการยิงอาวุธต่อสู้รถถังดรากอนมองผ่านเป้าหมายในเครื่องเล็ง ให้เส้นกากบาทของเครื่องเล็งและควบคุมวิถี ทับบนเป้าหมาย ท าการยิง และเล็งตามเป้าหมายไปจนกว่าลูกจรวดจะวิ่งไปกระทบเป้าหมายและจะส่งสัญญาณที่ ถูกต้องที่อยู่ในส่วนท้ายของลูกจรวดไปทางเส้นลวดน าวิถี
- ๒๐๔ - รูปที่ ช - ๑๒ อาวุธต่อสู้รถถัง เอ็ม ๔๗ ดรากอน น. ปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว (CALIBER .๕๐ MACHINE GUN) ปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว ป้อนกระสุนด้วยสาย กระสุนและท างานด้วยอาการสะท้อนถอยหลังของล ากล้องปืน ท าการยิงทีละนัด และอัตโนมัติจากขาหยั่ง เอ็ม.๓ หรือยิงอากาศยานจากขาหยั่ง เอ็ม.๖ เป็นชุด ๆ ละ ๙ - ๑๕ นัด ต่อเป้าหมายอยู่กับที่บนพื้นดิน ท าการยิงอากาศ ยาน ใช้การยิงเป็นชุดต่อเนื่อง ใช้ท าการยิงข่มอาวุธต่อสู้รถถังน าวิถี ยานพาหนะ และก าลังของข้าศึก
- ๒๐๕ - คุณลักษณะของปื นกล ขนาด .๕๐ นิ้ว น ้าหนักปืนกล……………………...๓๘ กก. (ปอนด์) (ติดตั้งขาหยั่ง, ยิงเป็นชุด ๆ ละ ๙ - ๑๕ นัด) น ้าหนักของขาหยั่ง…………...๒๐ กก. (๔๔ ปอนด์) เป็นจุด เป้าหมาย ความยาวปืนกล……………...….๑๖๕ ซม. (๖๕ นิ้ว) (บุคคล)…………………….……………๗๐๐ เมตร ระยะยิงกราดสูงสุด……………………….๘๐๐ เมตร เป็นจุด เป้าหมาย กระสุนส่องวิถี……………….…………๒,๒๐๐ เมตร (ยานพาหนะ)………………………….๑,๑๐๐ เมตร ระยะยิงไกลสุด…………………………๖,๘๐๐ เมตร เป้าหมายเป็นพื้นที่……………………๑,๖๐๐ เมตร (ติดตั้งฐานปืน, ยานพาหนะอยู่กับที่ยิงเป็นชุดๆ ละ ๙ - ๑๕ นัด) อตัราการยิง เป็นจุด เป้าหมาย อัตราการยิงต่อเนื่อง…..…๔๐ นัดหรือน้อยกว่า/นาที (บุคคล)…………………………………..๕๐๐ เมตร อัตราการยิงเร็วปานกลาง……มากกว่า ๔๐ นัด/นาที เป็นจุด เป้าหมาย อัตราการยิงเร็วสูงสุด………...๔๕๐ - ๕๕๐ นัด/นาที (ยานพาหนะ)……………...…………….๖๐๐ เมตร เป้าหมายเป็นพื้นที่…………………...๑,๐๐๐ เมตร ชนิดของกระสุน (ติดตั้งฐานปืน, ยานพาหนะเคลื่อนที่, ยิงเป็นชุด กระสุนธรรมดา ชุดละ ๑๕ - ๓๐ นัด) กระสุนส่องวิถี เป้าหมายเป็นพื้นที่…………………….๓๐๐ เมตร กระสุนเจาะเกราะ ระยะซึ่งมีโอกาส ๓๐ % ซึ่งถูกเป้าหมาย ทหาร กระสุนเจาะเกราะเพลิง ขนาด หมู่ หมวด………………………๕๐๐ เมตร ระยะซึ่งมีโอกาส ๕๐ % ซึ่งถูกเป้าหมาย รูปที่ ช - ๑๓ ปื นกล ขนาด .๕๐ นิ้ว (ปก.๙๓)
- ๒๐๖ - บ. ปืนไร้แสงสะท้อนถอยหลัง เอ็ม. ๖๗ ขนาด ๙๐ มม. (M ๖๗,๙๐ มม. RECOILLESS RIFLE) (RCLR) บรรจุกระสุนทางท้ายรังเพลิงด้วยมือทีละนัด สามารถน าติดตัวไปได้คนเดียว พลประจ าปืน ใช้ต่อสู้รถถัง และสังหาร บุคคล ใช้ท าการยิงบนพื้นดินด้วยขาทราย และขาตั้งเดี่ยว หรือใช้พาดบ่า ท่ายิงที่มั่นคงที่สุด คือ ท่านอนยิง รูปที่ ช - ๑๔ ปื นไร้แสงสะท้อนถอยหลัง เอ็ม ๖๗ ขนาด ๙๐ มม. ช - ๓ ลกัษณะการยิง คือ ทางเดินของลูกกระสุนที่แล่นออกจากปากล ากล้องปืนจนถึงเป้าหมาย หรือ ต าบลกระสุน ตก ในระยะถึง ๓๐๐ เมตร วิถีกระสุนเกือบจะราบในระยะมากกว่านี้ ผู้ยิงจ าเป็นต้องเพิ่มมุมสูงให้กับปืน ก. เครื่องยิงลูกระเบิด (GL) มีวิถีกระสุนสูงจึงมีลักษณะแตกต่างกับปืนเล็กยาวเมื่อเปรียบเทียบความ เร็วต้นของลูกกระสุน เครื่องยิงลูกระเบิดจัดว่ามีความเร็วต้นน้อยมาก แต่วิถีกระสุนของเครื่องยิงลูกระเบิด มีความ เร็วเพียงพอ วิถีกระสุนราบ เมื่อยิงออกไปในระยะ ๑๕๐ เมตร ในระยะมากกว่านี้ (๑๕๐ - ๓๕๐ เมตร) มุมสูงที่ใช้ใน การยิง ๒๐ องศา จากพื้นระดับเมื่อท าการยิงในระยะไกล ความเร็วต้นน้อยและวิถีกระสุนมีความโค้งมาก จึง จ าเป็นต้องพิจารณากระแสลมจะมีผลกระทบต่อวิถีกระสุนด้วย
- ๒๐๗ - ข. ย่านอันตราย (DANGER SPACE) คือ พื้นที่ระหว่างปืน และเป้าหมาย เมื่อวิถีกระสุนไม่สูงเกินความ เฉลี่ยของคนยืน (๑๘๐ ซม.) รวมทั้งพื้นที่รูปอาการกระจายด้วย ค. พื้นที่อับกระสุน (DEAD SPACE) คือ พื้นที่ใด ๆ อยู่ในทิศทางวิถีกระสุน ซึ่งไม่สามารถท าการยิงถูกจาก ปืนหรืออาวุธ รูปที่ ช - ๑๕ พื้นที่อับกระสุน ง. กรวยกระสุนวิถี (CONE OF FIRE) คือ วิถีกระสุนเป็นกลุ่มหรือหลาย ๆ นัด เป็นรูปกรวยวิถีกระสุนมี ความแตกต่างเกิดจากการเล็ง ท่ายิง สภาพกระสุนและบรรยากาศ
- ๒๐๘ - รูปที่ ช - ๑๖ กรวยกระสุนวิถี จ. รูปอาการกระจาย (BEATEN ZONE) คือพื้นที่ที่ลูกกระสุนจากกรวยการยิงตกลงบนพื้น หรือเป้าหมาย รูปที่ ช - ๑๗ รูปอาการกระจาย ฉ. รัศมีอันตราย (CASUALTY RADIUS) คือ อันตรายจากระเบิดของลูกระเบิด ซึ่งสาดสะเก็ดระเบิดและ อ านาจการผลักดันไปรอบ ๆ ตัว จากต าบลที่ลูกระเบิดตก มีผลในการสังหารบุคคล หรือท าให้เกิดการบาดเจ็บ ช. ประเภทการยิง (CLASSES OF FIRE) แบ่งเป็นประเภทการยิงเกี่ยวกับพื้นที่และเป้าหมาย ๑) ประเภทการยิงเกี่ยวกับพื้นที่ (Fire with respect to the ground) ๒) การยิงกวาด (Grazing fire) คือ กึ่งกลางกรวยกระสุน วิถีสูงไม่เกิน ๑ เมตร จากพื้นดิน
- ๒๐๙ - รูปที่ ช - ๑๘ การยิงกวาด ๓) การยิงมุมกระสุนตกใหญ่ (Plunging fire) เมื่อท าการยิงระยะไกล ๆ วิถีกระสุนสูงกว่าคนยืน เมื่อยิง จากที่สูงไปยังพื้นที่ต ่า และเมื่อยิงไปพื้นที่สูงลาดชัน รูปที่ ช - ๑๙ การยิงมมุกระสุนตกใหญ่ ซ. ประเภทการยิงเกี่ยวกับเป้าหมาย (Fire with respect to the target) ๑) การยิงตรงหน้า (Frontal fire) คือ แกนทางยาวของรูปอาการกระจายตั้งฉากกับด้านหน้าของ เป้าหมาย ๒) การยิงทางปีก (Flanking fire) คือ การยิงที่กระท าทางปีกของเป้าหมาย
- ๒๑๐ -
- ๒๑๑ - รูปที่ ช - ๒๐ การยิงตรงหน้า
- ๒๑๒ - รูปที่ ช - ๒๑ การยิงทางปีก ๓) การยิงเฉียง (Oblique Fire) คือ แกนยาวของรูปอาการกระจายเฉียงกับแกนทางยาวเป้าหมาย
- ๒๑๓ - รูปที่ ช - ๒๒ การยิงเฉียง ๔) การยิงกวาด (Enfilade Fire) คือ แกนทางยาวของรูปอาการกระจายเป็นแนวเดียวกับแนวทางยาว ของเป้าหมาย อาจจะเป็นการยิงตรงหน้า การยิงทางปีก หรือการยิงเฉียง เป็นวิธีที่ดีที่สุดของการยิงเกี่ยวกับ เป้าหมายเพราะว่าดีที่สุดในการใช้รูปอาการกระจาย รูปที่ ช - ๒๓ การยิงกราด ช - ๔ การระดมยิง (Suppressive Fire) เป็นการยิงตรงไปที่ข้าศึกเพื่อป้องกันการเห็น การติดตาม หรือการยิง ตรงไปยังเป้าหมาย คือ การระดมยิงอาจจะเป็นการยิงตรง หรือยิงจ าลอง การใช้ระเบิดควันเพื่อป้องกันการเห็น เป้าหมายของข้าศึก
- ๒๑๔ - ช - ๕ การกระจายการยิง (Fire Distribution) เมื่อท าการยิงไปที่ที่ตั้งของข้าศึก ผู้บังคับหน่วยสั่งให้หน่วยท าการ กระจายการยิงครอบคลุม ที่ตั้งของข้าศึก การกระจายการยิงต่อเป้าหมาย มี ๒ วิธีดังนี้ การยิงเป็นจุด และการยิง เป็นพื้นที่ ก. วิธีของการกระจายการยิง (Method of Distribution) ๑) ยิงเป็นจดุ (Point Fire) เป็นการยิงโดยตรงไปที่จุดใดจุดหนึ่ง ตัวอย่าง ทั้งชุดยิงท าการยิงไปที่บังเกอร์ ของข้าศึกเพียงจุดเดียว รูปที่ ช - ๒๔ การยิงเป็นจดุ ๒) การยิงเป็นพืน้ที่ (Area Fire) เป็นการยิงครอบคลุมพื้นที่ทั้งความกว้าง และความลึก ผู้บังคับ หน่วยต้องการยิงเข้าไปในเขตชายป่า ต้องท าการยิงกระสุนส่องวิถีก าหนดจุดกึ่งกลางของพื้นที่ และทหารที่อยู่ ทางขวาและทางซ้าย ท าการยิงไปในทิศทางที่อยู่ตรงหน้าเป็นวิธีที่ดีที่สุด และรวดเร็วที่สุด ที่ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด ในการยิงเป็นพื้นที่ดูเหมือนว่าจะท าการยิงไปที่ที่ตั้งข้าศึกจริงมากกว่าพื้นที่จริงทั่ว ๆ ไป ท าการยิงครั้งแรกไปที่ส่วน
- ๒๑๕ - ของเป้าหมายตรงหน้ารับผิดชอบของชุดยิง หลังจากนั้นท าการกระจายการยิงไปทั่วพื้นที่ทางขวา และซ้ายประมาณ ๒ - ๓ เมตร
- ๒๑๖ - รูปที่ ช – ๒๕ การยิงเป็นพืน้ที่ ข. การยิงครอบคลุมพืน้ที่เป้าหมาย (Covering the target area) ๑) พลยิงอาวธุกล (Automatic rifleman) พลยิงอาวุธกลสามารถท าการยิงถูกเป้าหมายบางส่วน ขึ้นอยู่กับที่วางตัวของพลยิงและระยะถึงเป้าหมาย เมื่อเป็นไปได้พลยิงสามารถยิงครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายทั้งหมด เมื่อท าการยิงอาวุธกล พลยิงมักจะยิงสูง ดังนั้นครั้งแรกต้องยิงต ่าเสียก่อน และจะประสพผลส าเร็จถูกเป้าหมายได้ ๒) พลยิงปืนกล (Maching Gunner) พลยิงต้องท าการยิงในส่วนของเป้าหมาย ซึ่งได้รับมอบหมาย จากผู้บังคับหน่วย ๓) พลยิงอาวธุต่อสู้รถถงัดรากอน (Dragon gunner) พลยิงดรากอนท าการยิงในส่วนของเป้าหมาย ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บังคับหน่วย ยิงไปที่เป้าหมาย เช่น ยานเกราะ และอาวุธหนัก ถ้าไม่มีเป้าหมายของ ดรากอนให้ใช้ปืนเล็กยาวท าการยิง ๔) พลยิงเครื่องยิงลูกระเบิด พลยิงเครื่องยิงลูกระเบิด ท าการยิงลงในศูนย์กลางของเป้าหมาย แล้วจึงกระจายการยิงในส่วนพื้นที่เป้าหมายที่เหลืออยู่ ช - ๖ การควบคมุการยิง (Fire control) ก. วิธีใช้สื่อในการควบคมุการยิง ผู้บังคับหน่วยจะควบคุมการยิง วิธีควบคุมการยิงลดปัญหาต่าง ๆ ใน สนามรบ ช่วยให้ท างานส าเร็จภารกิจ
- ๒๑๗ - ๑) เสียง (Sound) รวมทั้งวาจา และอุปกรณ์เสียงต่าง ๆ เช่น นกหวีด, แตร สัญญาณเสียง ใช้ได้ดีใน ระยะทางใกล้ ๆ ระยะ และคุณภาพของเสียงได้ลดลงโดยเสียงดังจากอาวุธต่าง ๆ ในการรบ, อากาศ, ภูมิประเทศ และพืชพันธุ์ การติดต่อสื่อสารด้วยวาจาอาจจะมาจากผู้บังคับหน่วยโดยตรงถึงทหาร หรือสัญญาณด้วยวาจาของ ทหารต่อกัน ๒) การเตรียมการยิงไว้ล่วงหน้า (Prearranged) ผู้บังคับหน่วยสั่งการให้ทหารเริ่มท าการยิงทันทีที่ ข้าศึกเข้ามาในพื้นที่ที่ก าหนดไว้ ๓) สัญญาณที่เตรียมไว้ล่วงหน้า (Prearranged Singnals) ผู้บังคับหน่วยใช้ทัศนสัญญาณ หรือ เสียงสัญญาณเป็นค าสั่งให้ทหารเริ่มท าการยิงทันที เมื่อได้รับสัญญาณ ๔) ทหารเปิดฉากการยิงทนัที (Soldier - initiated fire) วิธีนี้ใช้ในกรณีที่ไม่มีเวลารอค าสั่งจาก ผู้บังคับหน่วย ข. ระเบียบปฏิบตัิประจา (Standing operating procedures) หรือ รปจ. (SOP) ทหารทุกนายในหน่วย จะต้อง รู้จักระเบียบปฏิบัติประจ า รปจ. ๓ ข้อ คือ ค้นหา ยิงตรวจสอบ รปจ. การยิงโต้ตอบ รปจ. และอัตราการ ยิง รปจ. ล าดับขั้นตอนของค าสั่งยิง ส าหรับอาวุธเล็งตรงควรเป็น รปจ. การค้นหา - ยิง - ตรวจสอบ รปจ. ตามล าดับ ขั้นตอนดังนี้ ๑) ขั้นที่ ๑ ท าการค้นหาพื้นที่เป้าหมายของข้าศึก ๒) ขั้นที่ ๒ ท าการยิงเป้าหมาย (ตามความเหมาะสมของอาวุธ) ที่เห็นในพื้นที่เป้าหมายของข้าศึก ๓) ขั้นที่ ๓ ขณะท าการยิงเป้าหมาย ตรวจสอบด้วยสายตาผู้บังคับหน่วย ส าหรับค าสั่งเฉพาะการยิงโต้ตอบ รปจ. แจ้งให้ทหารแต่ละคนในหน่วยปฏิบัติอย่างไรในกรณีที่หน่วย ปะทะกับข้าศึกโดยไม่คาดคิด (ตัวอย่าง ข้าศึกท าการซึ่งโจมตี) บทเรียนนี้จะเปลี่ยนแปลงจากหน่วยถึงหน่วย และ จากต าแหน่ง ถึงต าแหน่ง ซึ่งอยู่ในหน่วยนั้น ๆ อัตราการยิง รปจ. แจ้งให้ทหารแต่ละคนท าการยิงเร็วอย่างไรต่อข้าศึก อัตราการยิงเปลี่ยนแปลงตาม อาวุธนั้น ๆ แต่ข้อส าคัญคือ ท าการยิงด้วยอัตราการยิงสูงสุดเมื่อแรกเห็นเป้าหมาย และลดอัตราการยิงไปที่จุดซึ่ง ตรงกับเป้าหมายไว้ ซึ่งช่วยให้หมดกระสุนเร็วเกินไป ค. คา สงั่ยิง (FIRE COMMANDS) ช่วยแสดงเป้าหมายส าหรับอาวุธเล็งตรงและควบคุมการยิง ผู้บังคับ หน่วยออกค าสั่งยิงอาวุธนั้น ค าสั่งยิงมี ๖ หัวข้อ ดังนี้ ๑) ค าสั่งเตือน ๒) ทิศทาง ๓) ลักษณะเป้าหมาย ๔) ระยะยิง ๕) วิธีการยิง ๖) ค าสั่งเริ่มยิง ๑) ค าสั ่งเตือน (ALERT) เพื่อเตือนให้พลยิงทุกคนพร้อมจะรับค าสั่งต่อไป ผู้บังคับหน่วยอาจจะเตือน ด้วยการเรียกชื่อของพลยิง หรือชื่อหน่วย โดยการใช้ทัศนสัญญาณ หรือ เสียงสัญญาณ หรือติดต่อตัวบุคคล โดยตรง หรือวิธีอื่น ๆ ที่ได้ฝึกมาแล้ว ๒) ทิศทาง (DIRECTION) บอกทิศทางที่เห็นเป้าหมายดังต่อไปนี้ ก) ผู้บังคับหน่วยชี้เป้าหมายด้วยแขนหรือปืนเล็กยาวบอกทิศทางทั่ว ๆ ไป ของเป้าหมาย ข) ผู้บังคับหน่วยชี้เป้าหมายด้วยการยิงด้วยกระสุนส่องวิถีก่อนท าการยิงผู้บังคับหน่วยบอกทิศทาง
- ๒๑๘ - ทั่ว ๆ ไป ให้ทหารทราบ ค) ผู้บังคับหน่วยก าหนดที่ตั้งหลัก ก่อนมีการปะทะกับข้าศึก แต่ละที่ตั้งหลักต้องมีหมายเลขก ากับ ผบ.หน่วย จะบอกทิศทางที่เกี่ยวข้องกับที่ตั้งหลักนั้น ตัวอย่าง จากที่ตั้งหลัก ๑๓ ระยะ ๕๐ เมตร ไปทางขวา (From trp ๑๓ right ๕๐) (TRP คือที่ตั้ง) ๓) ลักษณะเป้าหมาย (TARGET DESCRIPTION) ผู้บังคับหน่วยควรบอกลักษณะเป้าหมายอย่างย่อ ๆ แต่ชัดเจน ตัวอย่างปืนกล ที่ตั้งเป้าหมายแนวชายป่า (Machine gun position in the woodling) ๔) ระยะยิง(RANGE) เป็นระยะถึงเป้าหมายมีค่าเป็นเมตร ๕) วิธียิง (METHOD OF FIRE) ผู้บังคับหน่วยอาจจะต้องการให้พลประจ าเครื่องยิงลูกระเบิดท าการยิง เป้าหมาย ด้วยการยิงเพียง ๓ นัด เท่านั้น ตัวอย่าง พลยิงลูกระเบิด ๓ นัด (GRENADIER, THREE ROUNDS) ๖) คา สงั่เริ่มยิง (COMMAND TO FIRE) ค าสั่งด้วยวาจา หรือเสียงหรือทัศนสัญญาณ ถ้าผู้บังคับหน่วย ต้องการควบคุมในขณะท าการยิง พูดว่า “คอยฟังค าสั่งข้าพเจ้า” (หยุดรอจนกระทั่งพลยิงพร้อม) “ยิง” ถ้าหวังผล ในการจู่โจม ค าสั่งยิงจะต้องสั่งออกไปเลยไม่ต้องหยุดชะงัก พูดว่า “ยิง” (ไม่ต้องหยุดชะงัก) ตวัอย่างของคา สงั่ยิงด้วยวาจา ค าสั ่ง ........................................................ ตัวอย่าง ๑ ค าสั่งเตือน ............... พลประจ าเครื่องยิงลูกระเบิด ๒ ทิศทาง ............... ข้างหน้า ๓ ลักษณะเป้าหมาย ..... ทหารก าลังเคลื่อนที่ในคูสนาม ๔ ระยะยิง ............... ๑๐๐ ๕ วิธีการยิง .............. ๔ นัด ๖ ค าสั่งเริ่มยิง ............... ยิง รูปที่ ช - ๒๖ ตวัอย่างของคา สงั่ยิงด้วยวาจา ทัศนสัญญาณใช้มากที่สุดในการออกค าสั่งยิงสัญญาณแขน และมือ ติดต่อตัวบุคคลโดยตรง และพลุส่อง สว่างที่ผู้บังคับหน่วยใช้เป็นทัศนสัญญาณ ใช้พลุส่องสว่าง และกระสุนควัน ก าหนดเป้าหมายในทัศนวิสัยต่าง ๆ ใช้ กระสุนส่องวิถีชี้เป้าหมาย ผนวก ซ กบัระเบิดแสวงเครื่องต่อส้รถถังู (FIELD EXPEDIENT ANTLARMOR DEVICES)
- ๒๑๙ - ซ - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) อาวุธหลายชนิดสามารถใช้ท าลายรถถัง หรือ รถสายพานล าเลียงพล (APC) อาวุธที่ใช้เป็นประจ า ได้แก่ อาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา อาวุธต่อสู้รถถังดรากอน อาวุธต่อสู้รถถังโทว์ ทุ่นระเบิดและ กระสุนระเบิดของเครื่องยิงลูกระเบิด เอ็ม. ๒๐๓ เมื่อไม่มีอาวุธเหล่านี้ ในกรณีนี้ จ าเป็นต้องใช้กับระเบิดแสวงเครื่อง ผนวกนี้อธิบายกับระเบิดแสวงเครื่องต่อสู้รถถังที่จ าเป็น ซ - ๒ วิธีทา กบัระเบิดแสวงเครื่องอย่างไร ต้องรู้จักดินระเบิดหลัก (PRIME CHARGES) ระบบการจุดด้วยเชื้อ ปะทุชนวน (ผนวก ข) ก. ชนิดเผาไหม้(FLAME DEVICES) กับระเบิดแสวงเครื่องต่อสู้รถถังชนิดนี้ ให้ขัดขวางการมองเห็นของ พลขับรถถัง และเผาไหม้รถถังเกิดกลุ่มควันและความร้อนท าให้พลขับต้องสละรถถังหนี ข. ขวดน ้ามนัเบนซินมีไส้ใช้เป็นลูกระเบิดมือ (MOLOTOV COCKTAIL) ท าด้วยภาชนะที่แตกง่าย น ้ามันเบนซิน และน ้ามันเครื่องผสมกัน และไส้ผ้า เติมน ้ามันเบนซิน และน ้ามันเครื่องผสมกันบรรจุขวด ไส้ผ้าต้อง จุ่มลงในน ้ามัน และปล่อยปลายไส้ไว้นอกขวด จุดไส้ และขว้างขวดน ้ามันเบนซินบนรถถังเกิดการเผาไหม้ รูปที่ ซ - ๑ ขวดน ้ามนัเบนซินระเบิด ค. ลูกไฟอินทรี (EAGLE FIREBALL) ท าด้วยหีบกระสุน น ้ามันเบนซิน และน ้ามันเครื่องผสมกัน ดินระเบิดฟอสฟอรัสขาวพันด้วยชนวนฝักแคระเบิดและต่อกับระบบจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุชนวน (ผนวก ข) ต่อสาย ชนวนเวลาออกนอกหีบกระสุนโดยท าเป็นรูให้สายชนวนเวลารอดได้ ปิดฝาหีบกระสุนติดตัวเกาะยึด หรือเชือกที่มี ตะปูงอยึดกับตัวหีบกระสุนเมื่อขว้างหีบกระสุนไปที่รถถังจะได้มีที่ยึดติดตัวถัง จุดด้วยเครื่องชนวนก่อนขว้าง
- ๒๒๐ - ง. ถงุระเบิดอินทรี(EAGLE COCKTAIL) ท าด้วยพลาสติก หรือถุงยาง (ถุงกันน ้า ถุงทรายแบบเดียวกับ ผ้ากันฝน หรือถุงใส่แบตเตอรี่อยู่ภายในถุงทราย น ้ามันเบนซิน และน ้ามันเครื่องผสมกัน ระเบิดควัน ระเบิดเพลิง เทปพันสายไฟ เชือก และสายวิทยุหรือเส้นลวด เติมน ้ามันเบนซินและน ้ามันเครื่องผสมกันลงในถุง ปิดปากถุงและ พันด้วยเทปให้แน่นน าระเบิดเพลิง และระเบิดควันติดกับถุงพันด้วยเทป เชือก หรือสายวิทยุ ห้ามมัดกระเดื่องนิรภัย ติดกับตัวระเบิด ใช้เชือกเส้นเล็กผูกสลักนิรภัยไว้ ก่อนขว้างถุงระเบิด ดึงสลักนิรภัยทั้งสองอันออกก่อน รูปที่ ซ - ๒ ลูกไฟอินทรี
- ๒๒๑ - รูปที่ ซ - ๓ ถงุระเบิดอินทรี จ. อุปกรณ์ระเบิดท าลาย (EXPLOSIVE DEVICES) ติดตั้งกับระเบิดแสวงเครื่องลงบนจุดอ่อน เพื่อท าลาย รถถัง และรถสายพานล าเลียงของข้าศึก ฉ. ดินระเบิดลากจูง (TOWED CHARGE) ท าด้วยเชือก หรือสายวิทยุ ทุ่นระเบิด หรือชุดของก้อนระเบิดวาง เรียงกัน เชื้อปะทุไฟฟ้า เทปพันสายไฟผูกทุ่นระเบิดดักรถถังเข้าด้วยกัน ด้วยเชือก หรือสายวิทยุถ้าทุ่นระเบิดดัก รถถังไม่มี ใช้ดินระเบิดขนาด ๒๕ - ๕๐ ปอนด์ ผูกติดกับแผ่นกระดาน (เงื่อนผูกดินระเบิด) วางปลายเชือกไว้ข้าง หนึ่งของถนนพาดเชือกไปอีกข้างหนึ่ง ซึ่งมีดินระเบิดผูกติดไว้ที่ปกปิดมิดชิดต่อระบบการจุดด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้า (ผนวก ข) ดินระเบิดแต่ละก้อน (หรือดินระเบิดที่ผูกติดกับเลื่อน)และต่อสายไฟฟ้าเข้ากับระบบการจุดเชื้อปะทุไฟฟ้า ใช้เทปพันสายไฟฟ้ากับเชือกที่จะดึงดินระเบิดออกมาตรวจสอบวงจรให้เรียบร้อย (ผนวก ข) ต่อสายไฟฟ้ากับตู้จุด ระเบิดก่อนที่รถถังจะมาถึงพื้นที่ที่ก าหนดไว้ ดึงหรือลากดินระเบิดออกมาข้างหน้ารถถัง เมื่อรถถังเหยียบดินระเบิด ท าการจุดระเบิดทันที
- ๒๒๒ - รูปที่ ซ - ๔ ดินระเบิดลากจงู ช. ดินระเบิดขึงเสา (POLE CHARGE) ท าด้วยระเบิด (ทีเอ็นที หรือ ดินระเบิดคอมโพซิชั่น ซี.๔) เชื้อปะทุ ชนวน ชนวนเวลา ชนวนฝักแคระเบิดเทปพันสายไฟ เชือก หรือเส้นลวด เครื่องจุดชนวน และเสา ๑ ต้น ประจุ ดิน ระเบิดตามจ านวนที่ต้องการต่อด้วยระบบการจุดเชื้อปะทุชนวน ๒ ระบบ และผูกดินระเบิดไว้กับแผ่นกระดานหรือ วัสดุพื้นเรียบ จ านวนของดินระเบิดขึ้นอยู่กับเป้าหมายที่ต้องการท าลาย ใช้เทปพันแผ่นกระดานผูกติดดินระเบิดขึง ไว้กับเสา ชนวนเวลาควรยาวประมาณ ๖ นิ้ว เท่านั้น จุดเครื่องจุดชนวน ก่อนท าการวางระเบิดบนเป้าหมาย บริเวณ ที่เหมาะที่สุดในการวางดินระเบิดคือ ใต้ป้อมปืนรถถัง เหนือห้องเครื่องยนต์ ในระบบกันสะเทือนและใน ล ากล้อง ปืนหลักของรถถัง (ถ้าดินระเบิดมีขนาดเล็กพอกับล ากล้องปืน)
- ๒๒๓ - รูปที่ ซ - ๕ ดินระเบิดขึงเสา ซ. ดินระเบิดกระเป๋า (SATCHEL CHARGE) ท าด้วยดินระเบิด (ทีเอ็นทีหรือดินระเบิดคอมโปซีชั่นโฟร์) เชื้อปะทุชนวน ชนวนเวลา ฝักแคระเบิด เทปพันสายไฟ เครื่องจุดชนวนและกระเป๋ าชนิดใด ๆ เช่น ถุงทรายเปล่า หรือถุงบรรจุวัตถุระเบิด หรือวัสดุอื่น ๆ เติมดินระเบิดลงในกระเป๋ าตามจ านวนที่ต้องการส าหรับภารกิจ ใช้ระบบจุด ด้วยเชื้อปะทุ ๒ อัน ต่อเข้ากับดินระเบิดใช้ชนวนเวลายาวประมาณ ๖ นิ้ว เท่านั้น มัดปากกระเป๋ าให้แน่นด้วยเชือก หรือเทปและให้สายชนวนเวลา และเครื่องจุดชนวนห้อยลงมา จุดเครื่องจุดชนวนก่อนขว้างดินระเบิดไปที่เป้าหมาย
- ๒๒๔ - รูปที่ ซ - ๖ ดินระเบิดกระเป๋า ซ - ๓ จุดอ่อนของยานเกราะ (WEAK POINT OF ARMORED VEHICLES) ในการใช้กับระเบิดแสวงเครื่องให้ ประสพผลส าเร็จต้องรู้จุดอ่อนของยานเกราะดังนี้ ก. ระบบกันสะเทือน ข. ถังเชื้อเพลิง (โดยเฉพาะถังเชื้อเพลิงข้างนอก) ค. ห้องเก็บวัตถุระเบิด ง. ห้องเครื่องยนต์ จ. ฐานหมุนป้อมปืน ฉ. หุ้มเกราะด้านข้าง ด้านบนและด้านหลัง (ปกติไม่หนาเท่ากับด้านหน้า) หมายเหตุ - ต าแหน่งของจุดต่าง ๆ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงจากยานพาหนะคันอื่น ๆ
- ๒๒๕ - รูปที่ ซ - ๗ จุดอ่อนของยานเกราะ ถ้ายานเกราะถูกตรึงไว้ และไม่มีอาวุธต่อสู้รถถัง ท าการยิงปืนเล็กยาวไปที่ช่องกระจกและอุปกรณ์ใช้ในการ ตรวจการณ์ติดตั้งข้างนอกยานเกราะ ยิงเข้าไปในห้องเครื่องยนต์ ถังเชื้อเพลิงข้างนอก หรือฝาครอบฐานปืนถึงจะไม่ สามารถท าลายยานเกราะ แต่ก็สามารถลดขีดความสามารถในการรบของยานเกราะได้ รูปที่ ซ - ๘ ยานเกราะถกูตรึงด้วยการยิง
- ๒๒๕ - ผนวก ด แผ่นจดระยะ (RANGE CARD) ด - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) แผ่นจดระยะ คือภาพร่างของภูมิประเทศรายรอบที่ตั้งอาวุธ ในการตั้งรับต้องมี การเตรียมแผ่นจดระยะ ส าหรับอาวุธอัตโนมัติของหมู่ปืนกล เอ็ม. ๖๐ และปืนกล ๙๓ ขนาด .๕๐ นิ้ว อาวุธต่อสู้ รถถังดรากอน โทว์ ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลัง ๑๐๖ มม., ๙๐ มม. และระบบอาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา ด - ๒ ข้อมูลแผ่นจดระยะ (RANGE CARD DATA) แผ่นจดระยะแสดงให้เห็น ดังต่อไปนี้ ก. เขตการยิง (SECTOR OF FIRE) ข. แนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย (FPL) หรือ ทิศทางยิงหลัก (PDF) ค. เป้าหมายและระยะ ง. ลักษณะภูมิประเทศเด่น จ. สัญลักษณ์ของอาวุธ ฉ. รายละเอียดขอบระวาง แผ่นจดระยะ ส าหรับอาวุธต่อสู้รถถังใช้ที่หมายหลัก (TRP) แทนแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย และทิศทาง ยิงหลัก ก. เขตการยิง (SECTORS OF FIRE) แต่ละปืนจะได้รับเขตการยิงหลักและเขตการยิงรอง ท าการยิงไปที่ เขตการยิงรอง ถ้าเป้าหมายไม่ปรากฏในเขตการยิงหลัก หรือได้รับค าสั่งยิงเท่านั้น เขตการยิงหลัก รวมทั้งแนวยิง ฉากป้องกันขั้นสุดท้าย ทิศทางยิงหลักหรือที่หมายหลัก ข. แนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย (FINAL PROTECTIVE LINE) ผู้บังคับหน่วยมอบหมายพื้นที่ เป็นแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย ซึ่งท าการยิงกราดไปข้างหน้าที่ตั้งหน่วย ผู้บังคับหน่วยก าหนดในแนวยิงฉาก ป้องกันขั้นสุดท้ายเป็น พื้นที่ของเขตการยิงหลัก แนวซ้าย และขวาของแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายเป็นเขต จ ากัดติดกับหน่วยทหารฝ่ายเดียวกันเมื่อได้ท าการยิงเป้าหมายอื่น ตั้งปืนให้ปากล ากล้องปืนหันไปทางแนวยิงฉาก ป้องกันขั้นสุดท้ายหรือทิศทางยิงหลัก ค. พื้นที่อับกระสุน (DEAD SPACE) พื้นที่ที่อาวุธเล็งตรงไม่สามารถท าการยิงถูก เช่น พื้นที่อยู่ด้านหลัง ของบ้าน ภูเขา หรือภายในพุ่มไม้ เป็นต้น ง. ทิศทางยิงหลกั (PRINCIPAL DIRECTION OF FIRE) เมื่อภูมิประเทศไม่เหมาะสมเป็นแนวยิงฉาก ป้องกันสุดท้าย ผู้บังคับหน่วยจะมอบหมายทิศทางยิงหลักแทนที่ ทิศทางควรเป็นแนวล าน ้าไหล หรือร่องคูน ้าเป็น แนวเดียวกับที่ตั้งปืน ท าการยิงทิศทางที่คาดว่าข้าศึกจะเข้ามา จ. เป้าหมาย (TARGETS) ผู้บังคับหน่วย ก าหนดเป้าหมาย ภายในเขตการยิงและเขียนลงในแผ่นจดระยะ ฉ. ต าบลหลัก (TARGET REFERENCE POINTS) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือมนุษย์สร้างขึ้นอยู่ ในเขตการยิง ใช้ส าหรับเป้าหมายที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วใช้เป็นทิศทางยิงหลักส าหรับอาวุธเล็งตรงเท่านั้น เป้าหมาย หลัก ควรอยู่ในบันทึกหลักฐาน พื้นที่เป้าหมายของกองร้อย ช. แนวยิงสุดท้าย (MAXIMUM ENGAGEMENT LINE) เป็นแนวต่อจากซึ่งไม่สามารถยิงถูกเป้าหมาย แนวนี้ใกล้กับระยะยิงสูงสุดของอาวุธ ทั้งภูมิประเทศและระยะยิงสูงสุดเป็นแนวเดียวกันเรียกว่า แนวยิงสูงสุดใช้ ส าหรับแผ่นจดระยะของอาวุธต่อสู้รถถัง
- ๒๒๖ - รูปที่ ด - ๑ สัญลักษณ์ของอาวุธ ด - ๓ การเตรียมท าแผ่นจดระยะของปื นกล เอ็ม. ๖๐ (PREPARATION OF AN M ๖๐ MACHINE GUN RANGE CARD) ก. แผ่นจดระยะจะต้องเตรียมจัดท าทันที เมื่อปืนเข้าที่ตั้งยิง การเตรียมจัดท าแผ่นจดระยะปืนกล เอ็ม. ๖๐ ดังนี้ ๑) จัดแผ่นจดระยะให้เขตการยิงหลัก และเขตการยิงรองให้พอดี ๒) วาดรูปภูมิประเทศคร่าว ๆ ลงบนแผ่นจดระยะข้างหน้าที่ตั้งปืนกล รวมทั้งลักษณะเด่นทาง ธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นซึ่งอาจจะเป็นเป้าหมาย ๓) เขียนที่ตั้งอาวุธลงบนด้านล่างหรือกึ่งกลางเขตการยิง ๔) ลงรายละเอียดขอบระวาง ประกอบด้วย ก) หมายเลขปืน (หรือ หมู่) ข) หน่วย (เฉพาะหมวดและกองร้อยเท่านั้น) วัน เดือน ปี ค) สัญลักษณ์ทิศเหนือแม่เหล็ก
- ๒๒๗ - รูปที่ ด - ๒ ตัวอย่างแผ่นจดระยะ ๕) ใช้เข็มทิศเลนเซติกวัดมุมภาคทิศเหนือแม่เหล็กเขียนสัญลักษณ์ทิศเหนือแม่เหล็กไว้มุมขวาบน ของแผ่นจดระยะ ๖) พิจารณาที่ตั้งของปืนกลชี้ทิศทางไปที่ ลักษณะภูมิประเทศเด่น เช่น ยอดเขา สี่แยก หรืออาคาร ถ้าไม่มีลักษณะภูมิประเทศเด่น หาพิกัด ๘ ตัว บนแผนที่ให้ใช้ลักษณะภูมิประเทศเด่น ในระยะ ๑,๐๐๐ เมตร จาก ที่ตั้งปืนกล ไม่ต้องลงสัญลักษณ์ของปืนกล ๗) ใช้เข็มทิศวัดมุมภาคจากลักษณะภูมิประเทศถึงที่ตั้งปืนกล ค านวณมุมภาคทิศเหนือกลับจากที่ตั้ง ปืนกลถึงภูมิประเทศด้วยการ บวก หรือ ลบ จาก ๓,๒๐๐ มิลเลียม พิจารณาระยะทางระหว่างที่ตั้งปืนกล และ ภูมิประเทศด้วยการนับก้าว หรือจากแผนที่ ๘) วาดรูปลักษณะเด่นของภูมิประเทศลงบนแผ่นจดระยะทางด้านมุมล่าง ซ้าย หรือขวา (ซึ่งมีลักษณะ ใกล้เคียงกับทิศทางจริงบนภูมิประเทศ) ๙) เขียนเส้นเขตจ ากัดเชื่อมระหว่างที่ตั้งปืนและเป้าหมายภูมิประเทศ ๑๐) เขียนมุมภาคทิศเหนือเป็นมิลเลียม จากภูมิประเทศไปที่ตั้งปืน (เขียนใต้เส้นเขตจ ากัด)
- ๒๒๘ - ข. เขตการยิงหลกัพร้อมแนวยิงฉากป้องกนัขนั้สุดท้าย (PRIMARY SECTOR WITH FPL) แผ่นจด ระยะพร้อมแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย ๑) ลากเส้นเขตการยิงหลัก เมื่อได้รับมอบจากผู้บังคับหน่วย ๒) ลากเส้นแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายในพื้นที่ที่ได้รับมอบ ๓) พิจารณาพื้นที่อับกระสุน บนแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายโดยให้ทหารเดินส ารวจไปที่แนว สังเกต การเดินของทหารตามเส้นทางและท าเครื่องหมายพื้นที่ไม่สามารถยิงกวาดได้ ๔) ลากเส้นทึบต่อจากเครื่องหมายปืน ปลายเส้นท าเป็นหัวลูกศรจะระบายเงาให้หนาลงด้านในขอบ แนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย ๕) พื้นที่เป้าหมายในเขตการยิงกวาด ต้องท าเครื่องหมายลงบนแผ่นจดระยะ โดยเขียนตัวเลขลงใน วงกลมเมื่อได้มอบแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายเป็นเป้าหมายเลข ๑ รูปที่ ด - ๓ เขตการยิงหลกัพร้อมแนวยิงฉากป้องกนัขนั้สุดท้าย
- ๒๒๙ - ค. เขตการยิงหลกัพร้อมทิศทางยิงหลกั (PRIMARY SECTOR WITH A PDF) แผ่นจดระยะเมื่อ ได้รับมอบทิศทางยิงหลัก ๑) ลากเส้นเขตการยิงหลัก เมื่อได้รับมอบจากผู้บังคับหน่วย (เขตการยิงไม่ควรเกินกว่า ๘๗๕ มิลเลียม ควงมุมส่ายสูงสุดของขาหยั่งปืนกล เอ็ม.๖๐) ๒) ลากเส้นจากที่ตั้งปืนกลไปทางเป้าหมายที่อันตรายที่สุดซึ่งอยู่ในเขตการยิง (ได้รับมอบจากผู้บังคับ หน่วย) ทิศทางยิงหลักเป็นเป้าหมายเลข ๑ เป้าหมายอื่นเป็นหมายเลขต่อไปตามล าดับ ๓) ลากเส้นเขตการยิงรอง (ได้รับมอบ) และต้องท าเครื่องหมายในเขตการยิงระยะจากปืนกลไปยัง แต่ละเป้าหมาย ระยะเป็นเมตร ใช้ขาทรายเมื่อจ าเป็นในการท าการยิงในเขตการยิงรอง ลากเส้นประเป็นเขตการ ยิงรอง วาดหลักเล็งถ้าใช้ รูปที่ ด - ๔ แผน่จดระยะสมบรูณ์พร้อมทิศทางยิงหลกั
- ๒๓๐ - รูปที่ ด - ๕ แผ่นจดระยะสมบูรณ์พร้อมแนวยิงฉากป้องกนัขนั้สุดท้าย ง. ตอนบันทึกหลักฐานของแผ่นจดระยะปื นกล เอ็ม. ๖๐ (DATA SECTION OF M ๖๐ RANGE CARD) ตอนบันทึกหลักฐานของแผ่นจดระยะลงรายละเอียดที่จ าเป็นของการพิสูจน์ทราบเป้าหมายสัญลักษณ์เป้าหมาย ไม่ต้องใช้มาตราส่วนแต่รายละเอียดข้อมูลต้องถูกต้อง เขียนไว้ใต้สัญลักษณ์เป้าหมาย วาดตารางตอนบันทึก หลักฐาน (ถ้าไม่มีแผ่นพิมพ์) ดังตัวอย่างข้างล่าง ตอนบันทึกหลักฐาน DATA SECTION เลขที่ ทิศทาง มมุยิง ระยะ ลักษณะเป้าหมาย หมายเหตุ ๑ + ๕๐ / ๓ ๖๐๐ แนวป้องกันขั้นสุดท้าย - ๔ ๒ R ๑๐๕ + ๕๐ / ๔๐ ๕๐๐ ต้นสนเดี่ยว ๓ L ๒๓๕ ๐ / ๒๘ ๓๕๐ ชุมทางถนน W ๑๕ / L ๗ รูปที่ ด - ๖ ตอนบันทึกหลักฐาน
- ๒๓๑ - ๑) การเตรียมตอนบันทึกหลักฐาน ของปื นกล เอ็ม. ๖๐ แผ่นจดระยะ : ก) ตั้งควงมุมส่ายไว้กึ่งกลาง ข) วางปืนกลทิศทางไปที่เป้าหมาย ค) เมื่อได้รับมอบแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย ยึดหมุดราวส่ายปืนให้ไปทางซ้าย หรือทางขวา ขึ้นอยู่กับว่าเขตการยิงหลักแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายอยู่ข้างใด ง) ตั้งปากกระบอกปืนกลอยู่ในแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้ายโดยย้ายขาหยั่ง (ไม่ควรเข้าไปในทิศทาง ของตอนบันทึกหลักฐานส าหรับแนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย) จ) เมื่อได้รับมอบทิศทางยิงหลักตั้งปืนกลในเขตการยิงหลักโดยการใช้ควงมุมส่ายไปด้านใดด้าน หนึ่งและย้ายขาหยั่งให้ปากกระบอกปืนหันไปในพื้นที่เขตการยิงหลัก ปรับปืนโดยใช้ควงมุมส่ายจนกระทั่งปาก กระบอกปืนชี้ไปที่กึ่งกลางของเป้าหมาย ฉ) กดพลั่วขาหยั่งให้ฝังลงดิน พร้อมท าการยิงในเขตการยิงหลัก รูปที่ ด - ๗ เรือนควงมุมส่าย และควงมุมสูง ๒) การอ่านดรรชนีมมุทิศของแต่ละเป้าหมาย : ก) วางปืนกลให้ตรงกึ่งกลางของเป้าหมาย ข) อ่านดรรชนีมุมทิศ โดยให้ขอบซ้ายของเลื่อนราวส่ายปืนอยู่ตรงกับขีด ๐ (ศูนย์) ที่ราวส่ายปืน ค) อ่านรายละเอียดจากทิศทางในหัวข้อของตอนบันทึกหลักฐานการอ่านไปทางซ้าย หรือ ขวา พิจารณาทิศทางของปากกระบอกปืน (ตรงข้ามกับราวส่ายปืน)
- ๒๓๒ - ๓) การอ่านดรรชนีมุมสูงของเป้าหมาย ก) วางปืนกลให้อยู่ขอบด้านล่างของเป้าหมาย โดยใช้ควงมุมสูง ข) อ่านตัวเลข (มีทั้งเครื่องหมาย + หรือ - นอกจาก “๐”) ซึ่งอยู่ข้างบนเหนือเส้นบนมาตราวัดดรรชนี มุมสูง ค) อ่านว่า - ๕๐ ง) อ่านตัวเลขบนควงมุมสูง จ) อ่านว่า ๓ ฉ) อ่านรายละเอียดจากความสูงในหัวข้อของตอนบันทึกหลักฐาน แบ่งตัวเลขออกเป็น ๒ ส่วน คั่น ด้วยเครื่องหมาย อ่านมาตราแกนบนก่อน เช่น อ่านว่า - ๕๐ / ๓ การอ่านช่องระยะทางของแต่ละเป้าหมายในตอนบันทึกหลักฐาน การอ่านช่องลักษณะเป้าหมายของแต่ละเป้าหมายในตอนบันทึกหลักฐาน ๔) ช่องหมายเหตุ ลงรายละเอียดช่องหมายเลขส าหรับแต่ละเป้าหมายถ้าต้องการ : ก) การปรับการยิงทางข้าง และทางลึกของเป้าหมาย (เป็นมิลเลียม) ลดปากกระบอกปืนลง ๔ มิลเลียม (- ๔) ข) การปรับการยิงมี ๒ ค่า หมายเลข ๓ ปรับการยิงทางข้าง ๑๕ มิลเลียม และปรับควงมุมส่าย ๗ มิลเลียม ไปทางซ้าย วางปืนไปทางขอบซ้ายของเป้าหมาย ค) ใช้หลักเล็ง (ถ้ามี) ง) ไม่มีข้อมูลส าหรับเขตการยิงรอง จะพิจารณาเมื่อท าการยิงปืนกลด้วยขาทราย ตอนบันทึกหลักฐาน ปืน : ๑ ทิศเหนือ หน่วย : มว.๑ แม่เหล็ก ระยะห่างของวงกลม ๑๕๐ เมตร วัน เดือน ปี : เลขที่ ทิศทาง มมุยิง ระยะ ลักษณะเป้าหมาย หมายเหตุ ๑ -๕๐/๓ ๖๐๐ แนวยิงฉากป้องกันขั้นสุดท้าย -๕ ๒ R ๑๐๕ +๕๐/๔๐ ๕๐๐ ต้นสนเดี่ยว ๓ L ๒๓๕ ๐/๒๘ ๓๕๐ ชุมทางถนน W ๑๕/ L ๗ รูปที่ ด - ๘ ตอนบันทึกหลักฐานสมบูรณ์ ด - ๔ แผ่นจดระยะส าหรับปื นกลขนาด .๕๐ นิ้ว (RANGE CARD FOR THE CALIBER .๕๐) ข้อแตกต่างระหว่าง แผ่นจดระยะของ ปก.เอ็ม ๖๐ และ ปก. ๕๐ นิ้ว ดังต่อไปนี้ ก. สัญลักษณ์ของปืนกล ข. ปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว ส่ายทางข้างได้ ๘๐๐ มิลเลียม ปืนกล เอ็ม.๖๐ ส่ายทางข้างได้ ๘๗๕ มิลเลียม ค. ปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว ยิงกวาดสูงสุด ๑,๐๐๐ เมตร ปืนกล เอ็ม.๖๐ ยิงกวาดสูงสุดได้ ๖๐๐ เมตร ง. ปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว มีเขตการยิงรอง แต่ต้องใช้หลักเล็ง
- ๒๓๓ - ด - ๕ แผ่นจดระยะอาวุธต่อสู้รถถัง (ANTIARMOR RANGE CARD) วัตถุประสงค์ของแผ่นจดระยะอาวุธ ต่อสู้ รถถังแสดงสัญลักษณ์ของลักษณะภูมิประเทศซึ่งอาวุธต่อสู้รถถังได้รับมอบหมายให้ท าการยิง แผ่นจดระยะของปืน ไร้แรงสะท้อนถอยหลังขนาด ๙๐ มม. ปืนไร้แรงสะท้อนถอยหลังขนาด ๑๐๖ มม. อาวุธต่อสู้รถถังดรากอนและอาวุธ ต่อสู้รถถังจรวดโทว์ มีการเตรียมการเหมือนกัน โดยการใช้แผ่นจดระยะท าให้ท าการยิงเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็วในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้บังคับหน่วยมอบหมายพื้นที่ โดยการใช้ลักษณะภูมิประเทศ หรือมุมภาค ถ้าจ าเป็นอาจจะมอบเขตการยิงมากกว่า ๑ เขต และก าหนดเขตการยิงหลัก และเขตการยิงรอง ก. การเตรียมการจัดท าแผ่นจดระยะ (PREPARATION OF THE RANGE CARD) เมื่อได้ข้อมูลที่ จ าเป็นเพียงพอ เริ่มจัดท าแผ่นจดระยะ จัดล าดับงานเร่งด่วนก่อน และหลัง (เช่น การเตรียมการพรางที่ตั้งยิง) ถ้าได้รับมอบหมายที่ตั้งยิงจริง และที่ตั้งยิงส ารอง ต้องจัดท าแผ่นจดระยะด้วย ข. วิธีปฏิบตัิ(PROCEDURES) ๑) วาดสัญลักษณ์ที่ตั้งของอาวุธไว้กึ่งกลางล่างสุดของแผ่นจดระยะแสดงทิศทางของทิศเหนือแม่เหล็ก (ไม่จ าเป็นส าหรับอาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา) ๒) วาดและใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในเขตการยิง เช่น ถนน สะพาน อาคาร ต่าง ๆ แม่น ้า ภูเขา และป่า อย่างถูกต้อง รูปที่ ด - ๙ แผ่นจดระยะอาวุธต่อสู้รถถังแสดงที่ตั้งต่าง ๆ
- ๒๓๔ - ๓) แสดงที่ตั้งยิงโดยการวาดลูกศรจากลักษณะภูมิประเทศเด่นและก าหนดให้เป็นเป้าหมายเลข ๑ ใส่ มุมภาคและระยะจากที่ตั้งจริง (ไม่จ าเป็นส าหรับอาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา) รูปที่ ด - ๑๐ แสดงมมุภาคจากลกัษณะภมูิประเทศ รูปที่ ด - ๑๑ เขตการยิง
- ๒๓๕ - ๔) วาดเขตการยิง เป็นเส้นล้อมรอบเขตการยิง แนวเขตการยิงต่อเป้าหมายสูงสุด (The maximum ergagement line) ๕) วาดพื้นที่อับกระสุนในเขตการยิง แสดงอยู่ในเขตการยิงที่อาวุธไม่สามารถท าการยิงได้ เขตการยิง จะเป็นรูปร่างและขนาดใด ๆ ก็ได้ รูปที่ ด - ๑๒ พื้นที่อับกระสุน ๖) ต่อไปลงรายละเอียดระยะทางและมุมภาค ที่ต าแหน่งเป้าหมายในเขตการยิง และที่หมายหลัก (มุมภาคไม่จ าเป็นส าหรับอาวุธต่อสู้รถถังขนาดเบา) รูปที่ ด - ๑๓ แสดงระยะทางและมุมภาค
- ๒๓๖ - ๗) รายละเอียดขอบระวาง (MARGINAL DATA) ดังต่อไปนี้ : ก) ประเภทของที่ตั้งยิง (ที่ตั้งยิงจริง ที่ตั้งยิงส ารอง) ข) ขนาดหน่วย (ขนาดกองร้อยเท่านั้น) ค) วัน เดือน ปี/กลุ่มเวลา รูปที่ ด - ๑๔ รายละเอียดขอบระวาง ๘) การท าแผ่นจดระยะเสร็จเรียบร้อย แผ่นจดระยะที่ท าการยิงในเขตการยิงไม่จ าเป็นต้องเหมือนกับ คู่มือนี้ พื้นฐานข้อมูลและวิธีปฏิบัติส าหรับแผ่นจดระยะของอาวุธต่อสู้รถถังเหมือนกัน ๙) การเตรียมจัดท าแผ่นจดระยะ ๒ แผ่น เก็บไว้ที่ตั้งอาวุธ ๑ แผ่น และเก็บไว้ที่ผู้บังคับหน่วย อีก ๑ แผ่น