- ๑๔๕ - ๖) ถอดชนวนออกจากทุ่นระเบิดและใส่ฝาปิดด้านบนเข้าที่เดิม ๗) ใส่ฝาปิดช่องใส่ชนวนเข้าที่เดิม ๘) พลิกทุ่นระเบิดให้ด้านล่างหงายขึ้น หมุนฝาปิดด้านล่างออก ๙) ถอดดินขยายการระเบิดออก แล้วหมุนฝาปิดด้านล่างเข้าที่เหมือนเดิม ๑๐) เก็บทุ่นระเบิด ชนวน และส่วนประกอบอื่นๆ เข้ากล่องบรรจุเหมือนเดิม ซ. ทุ่นระเบิดดักรถถังใช้งานนอกเส้นทาง เอ็ม.๒๔ (M 24) เป็นทุ่นระเบิดใช้ระบบการจุดระเบิด ระยะไกล การจุดระเบิดท าได้จากที่ยานยนต์วิ่งทับที่บนเส้นทางเสริมการจุด (discrimmator) ซึ่งจะท าให้จรวด ต่อสู้รถถังที่อยู่นอกเส้นทางถูกจุดระเบิดออกมา ตัวเครื่องยิงจรวดควรอยู่ในระยะห่าง ๓ - ๓๐ เมตร จากขอบของ เส้นทาง รูปที่ ก - ๔๒ การติดตงั้ท่นุระเบิดดกัรถถงัเอม็.๒๔
- ๑๔๖ - รูปที่ ก - ๔๓ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของท่นุระเบิด เอม็.๒๔
- ๑๔๖ - ผนวก ข การระเบิดทา ลาย ( DEMOLITIONS ) ข - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) เราจะใช้การระเบิดท าลายส าหรับ ก. การเจาะช่องสนามทุ่นระเบิด ข. การเจาะช่องผ่านเครื่องกีดขวางลวดหนาม ค. การเตรียมเขตส่งลง ง. การเจาะช่องในผนังของอาคาร จ. การตัดต้นไม้เพื่อสร้างเครื่องกีดขวาง ข - ๒ การเตรียมระบบการจดุระเบิด รายละเอียดในการเตรียมการและการติดตั้งวัตถุระเบิดได้กล่าวไว้ใน รส. ๕ - ๒๕ ส าหรับในผนวกนี้จะกล่าวถึงการเตรียมระบบการจุดระเบิดที่ใช้เป็นพื้นฐาน ส าหรับการระเบิด ท าลายทั่ว ๆ ไป ซึ่งระบบการจุดระเบิดมีอยู่ ๒ ชนิด กับระบบการจุดโดยไม่ใช้ไฟฟ้า และระบบการจุดโดยใช้ไฟฟ้า ก. ระบบการจุดแบบไม่ใช้ไฟฟ้า การเตรียมระบบการจุดแบบไม่ใช้ไฟฟ้าให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ ๑) ขั้นที่ ๑ ตรวจดูช่องใส่เชื้อปะทุที่ก้อนดินระเบิด หรือเจาะรูขนาดเท่ากับเชื้อปะทุ (ลึก ๓ ซม. และ กว้าง ๐.๖๕ ซม.) ลงในก้อนดินระเบิด รูปที่ ข - ๑ การเจาะรูใน ทีเอ็นที ในการใส่เชื้อปะทุ ๒) ขั้นที่ ๒ เพื่อป้องกันการด้านของฝักแค ให้ตัดฝักแคทิ้งไปจากปลายเข้ามาระยะ ประมาณ ๖ นิ้ว เพราะว่าอาจจะมีความชื้นที่เกิดจากสภาพอากาศเข้าไปท าให้ดินระเบิดที่อยู่ในฝักแคเกิดความชื้น
- ๑๔๗ - รูปที่ ข - ๒ การป้องกนัการด้านของฝักแคจุดระเบิด ๓) ขั้นที่ ๓ หากความยาวของฝักแคที่ต้องการใช้ ก่อนอื่นจะต้องหาเวลาที่ใช้ในการเผาไหม้ของฝักแค ยาว ๓ ฟุต (๙๑.๔ ซม.) เมื่อได้เวลาแล้วหารด้วย ๓ จะได้เวลาที่ใช้ในการเผาไหม้ของฝักแคยาว ๑ ฟุต (๓๐.๔ ซม.) ต่อจากนั้นพิจารณาหาเวลาที่เราต้องการที่จะถ่วงเวลาเพื่อเข้าไปยังที่ก าบังให้ปลอดภัยจากระเบิด น า เวลาที่ต้องการนั้นหารด้วยเวลาของการเผาไหม้ของฝักแคยาว ๑ ฟุต ซึ่งผลลัพธ์จะได้ความยาวของฝักแคที่ต้องการ ใช้เป็นเซนติเมตร ๔) ขั้นที่ ๔ ตรวจดูเชื้อปะทุชนวนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ ๕) ขั้นที่ ๕ ค่อย ๆ สวมเชื้อปะทุชนวนเข้ากับปลายของฝักแคเวลา ๖) ขั้นที่ ๖ หลังจากเชื้อปะทุชนวนเข้าที่เรียบร้อยแล้วบีบเชื้อปะทุเข้ากับฝักแค การบีบเชื้อปะทุให้บีบ ห่างจากด้านปลายเปิดของเชื้อปะทุเข้ามา ระยะ ๓.๒ ซม. (๑.๘ นิ้ว) และให้ถือเชื้อปะทุห่างออกจากตัวเวลาบีบ รูปที่ ข - ๓ การบีบเชื้อปะทุ
- ๑๔๘ - ๗) ขั้นที่ ๗ เมื่อใช้ดินระเบิด ทีเอ็นที ให้ใส่เชื้อปะทุในช่องใส่ที่ตัวระเบิด เมื่อใช้ดินระเบิด ซี.๔ ให้ใส่เชื้อ ปะทุเข้าไปในรูที่เราเจาะในก้อนดินระเบิด อย่าพยายามใช้แรงดันเชื้อปะทุไฟฟ้าเข้าไปในรู รูปที่ ข - ๔ การใส่เชื้อปะทุ ๘) ขั้นที่ ๘ ใส่ปลายอีกด้านหนึ่งของฝักแคเข้ากับเครื่องจุดชนวน เอ็ม.๖๐ หมุนฝาเกลียวยึดฝักแคไว้ รูปที่ ข - ๕ การต่อเครื่องจุดชนวน เอ็ม. ๖๐ (M 60) ๙) ขั้นที่ ๙ การจุดเครื่องชนวน ท าได้โดยถอดสลักนิรภัย จับตัวเครื่องจุดไว้ด้วยมือข้างหนึ่ง ดึงห่วงดึง ถ้าไม่ท างานให้ดันส่วนที่ดึงมากลับเข้าไปที่เดิม แล้วดึงซ ้าอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่ท างานอีกให้เปลี่ยนเครื่องจุดอันใหม่ ๑๐) ขั้นที่ ๑๐ ถ้าไม่สามารถหาเครื่องจุดได้ ให้ผ่าปลายของฝักแคออกแล้วใส่ด้านหัวของไม้ขีดไฟที่ยัง ไม่ได้จุดเข้าไปตรงรอยผ่า ดูให้แน่ใจว่าหัวไม้ขีดสัมผัสกับดินระเบิดที่อยู่ในสายฝักแค ๑๑) ขั้นที่ ๑๑ จากนั้นจุดไม้ขีดที่เสียบไว้กับฝักแค โดยอาจใช้ไม้ขีดที่จุดไหม้ไฟแล้ว หรืออาจจะใช้ ด้านข้างของกล่องไม้ขีดไฟก็ได้
- ๑๔๙ - ถ้าฝักแคเกิดการเผาไหม้ แต่วัตถุระเบิดไม่เกิดการระเบิด คือการด้านให้รอคอย ๓๐ นาที ก่อนที่จะเข้า ไปตรวจสอบ ถ้าวัตถุระเบิดที่ด้านไม่มีการอัดลม (ไม่มีสิ่งอื่นประกอบอยู่รอบ ๆ วัตถุระเบิด) ให้ใช้ดินระเบิด ซี.๔ หรือทีเอ็นที อย่างน้อย ๑ แท่งวางชิดกับวัตถุที่ด้านนั้น ถ้ามีการอัดลมให้ใช้ดินระเบิดอย่างน้อย ๒ แท่ง วางชิดกับ วัตถุระเบิดที่ด้าน อย่าเคลื่อนย้ายวัตถุระเบิดที่ด้าน การจุดระเบิดดินระเบิดแท่งใหม่จะช่วยท าให้วัตถุระเบิดที่ ด้านนั้นระเบิดไปด้วยกัน รูปที่ ข - ๖ การดึงเครื่องจดุระเบิด ข. การจุดระเบิดระบบไฟฟ้า (ELECTRIC SYSTEM) การเตรียมการจุดระเบิดระบบไฟฟ้า ปฏิบัติตาม ขั้นตอนนี้ ๑) ขั้นที่ ๑ หลังจากที่ได้ที่ ๆ ปลอดภัยที่ใช้ในการจุดระเบิดและต าบลที่จะวางระเบิดแล้ว ให้วางสายไฟ จุดระเบิดจากต าบลวางระเบิด มายังต าบลที่จะจุดระเบิดก่อนที่จะออกมาจากจุดต าบลที่วางระเบิดให้ผูกยึดสายไฟ ไว้กับสิ่งยึดใด ๆ สิ่งหนึ่งจะต้องน าเครื่องจุดติดตัวไปด้วยเสมอ อย่าวางเครื่องจุดระเบิดไว้ต าบลที่จะจุดระเบิดเป็น อันขาด ๒) ขั้นที่ ๒ ตรวจสอบสายไฟที่ใช้จุดระเบิด โดยใช้กัลวานอมิเตอร์ หรือชุดตรวจสอบวงจรเพื่อให้แน่ใจว่า สายไฟไม่มีการลัดวงจรหรือขาด การตรวจสอบสายไฟให้มีคนอยู่ที่ปลายแต่ละด้านของสายไฟ
- ๑๕๐ - รูปที่ ข - ๗ การตรวจสายไฟจดุระเบิด (ก) การตรวจสอบการลัดวงจร แยกปลายสายไฟขั้วบวกลบออกจากกัน (สายที่ลอกฉนวนออกแล้ว) ที่ ต าบลของการจุดระเบิด และมีทหารอีกคนหนึ่งท าการแยกปลายสายไฟลักษณะเดียวกันที่ต าบลของการจุดระเบิด น าปลายสายไฟที่ต าบลจุดระเบิดแตะเข้ากับกัลวานอมิเตอร์ เข็มของมิเตอร์ต้องไม่ขยับเคลื่อนที่ ถ้าเข็มมิเตอร์ขยับ เคลื่อนที่แสดงว่าสายไฟมีการลัดวงจร ให้เปลี่ยนสายไฟเส้นใหม่ (ข) ถ้าสายไฟไม่มีการลัดวงจร ให้ตรวจสอบว่ามีการขาดหรือไม่ ให้ทหารที่อยู่ที่ปลายของต าบลวางทุ่น ระเบิด น าปลายขั้วบวก - ลบ พันเข้าด้วยกัน สายไฟที่อยู่ที่ต าบลจุดระเบิดน าปลายแตะกับกัลวานอมิเตอร์ หรือต่อ เข้ากับเครื่องตรวจสอบวงจร เข็มของมิเตอร์จะต้องขยับขึ้นอย่างเห็นได้ชัดหรือไม่ ที่เครื่องตรวจสอบวงจรต้อง สว่างขึ้นถ้าเข็มไม่ขยับเคลื่อนที่หรือขยับเพียงเล็กน้อยหรือไฟที่เครื่องตรวจสอบวงจรไม่สว่างขึ้น แสดงว่าสายไฟ ขาดให้เปลี่ยนสายไฟเส้นใหม่
- ๑๕๑ - รูปที่ ข - ๘ การตรวจสอบสายไฟจุดระเบิด (ต่อ) ๓) ขั้นที่ ๓ ที่ต าบลจุดระเบิด ตรวจสอบเชื้อปะทุด้วยกัลวานอมิเตอร์ หรือเครื่องตรวจสอบวงจร เพื่อให้ แน่ใจว่าไม่มีการลัดวงจร ถอดแผ่นโลหะที่ท าลัดวงจรของปลายสายไฟเชื้อปะทุออก แล้วใช้สายแตะกับกัลวานอ มิเตอร์ เข็มวัดของมิเตอร์ต้องขยับเคลื่อนที่อย่างมาก ถ้าเข็มขยับขึ้นแสดงว่าเชื้อปะทุอยู่ในสภาพดี (ก) ถ้าเข็มวัดของมิเตอร์ไม่ขยับเคลื่อนที่หรือขยับเคลื่อนที่เล็กน้อย ให้เปลี่ยนใช้เชื้อปะทุอันใหม่
- ๑๕๒ - รูปที่ ข - ๙ การทดสอบกลัวานอมิเตอร์ (ข) ถ้าใช้เครื่องตรวจสอบวงจรไฟ ไฟจะต้องสว่างขึ้นเมื่อบีบไก ถ้าไฟไม่สว่างให้เปลี่ยนเชื้อปะทุอันใหม่ ๔) ขั้นที่ ๔ ถอดจุกเปิดทางด้านท้ายของก้อนดินระเบิด ถ้าดินระเบิดเป็นแท่งดินระเบิด ทีเอ็นที ตรวจดูช่อง ใส่เชื้อปะทุ ถ้าดินระเบิดเป็นดินระเบิด ซี.๔ ให้เจาะรูขนาดให้ใส่เชื้อปะทุได้ รูปที่ ข - ๑๐ การตรวจสอบโดยใช้ชุดตรวจสอบวงจร
- ๑๕๓ - ๕) ขั้นที่ ๕ วางดินระเบิดแล้วต่อสายตะกั่วจากเชื้อปะทุเข้ากับสายไฟที่ใช้จุดระเบิด (ใช้เงื่อน Pigtail) รูปที่ ข - ๑๑ การผูกในการป้องกันสายไฟรั ่ว ๖) ขั้นที่ ๖ ใส่เชื้อปะทุในช่องใส่เชื้อปะทุของแท่งดินระเบิด ทีเอ็นที และปิดด้วยจุกปิด หรือเสียบเชื้อ ปะทุเข้าไปในก้อนดินระเบิด ซี.๔ แล้วปั้นดินระเบิดปิดรอบ ๆ รูใส่เชื้อปะทุ รูปที่ ข - ๑๒ การจดุระเบิดด้วยเครื่องกลัวานอมิเตอร์
- ๑๕๔ - ๗) ขั้นที่ ๗ กลับไปที่ต าบลจุดระเบิดและตรวจสอบวงจรไฟฟ้าด้วยกัลวานอมิเตอร์หรือชุดตรวจวงจร (ใช้ วิธีการเดียวกันกับที่ได้อธิบายมาแล้วในข้างต้น) ถ้าได้ตรวจสอบวงจรเรียบร้อยแล้ว เครื่องจุดไม่ท าให้ดินระเบิดเกิดการระเบิดแสดงว่าเกิดการด้าน ข - ๓ ถ้าดินระเบิดไม่มีการอดัลมเกิดการด้าน ให้ตรวจสอบขณะนั้นได้ แต่ถ้าดินระเบิดมีการอัดลมให้คอย ๓๐ นาทีก่อนเข้าไปท าการตรวจสอบแล้วปฏิบัติตามขั้นตอนนี้ ก. ขั้นที่ ๑ ตรวจดูสายไฟที่ต่อกับสายเชื้อปะทุว่าต่อดีหรือไม่ ข. ขั้นที่ ๒ พยายามจุดระเบิดอีก ๒ หรือ ๓ ครั้ง รูปที่ ข - ๑๓ เครื่องจดุระเบิด (ชนิดใช้กบัเชื้อปะทุ๑๐ ดอก) ค. ขั้นที่ ๓ ทดลองจุดระเบิดอีกครั้ง โดยที่ใช้เครื่องจุดอันใหม่ ง. ขั้นที่ ๔ ปลดสายไฟจุดระเบิดออกมา เครื่องจุดเชื้อปะทุและพันปลายทั้งสองเส้นไว้ด้วยกัน จ. ขั้นที่ ๕ ไปที่ต าบลวางระเบิดเพื่อตรวจสอบ โดยน าเครื่องจุดไปด้วย ฉ. ขั้นที่ ๖ ตรวจสอบวงจรทั้งหมด รวมทั้งสายไฟฟ้าส าหรับใช้จุดระเบิดว่ามีช ารุดเสียหาย หรือลัดวงจร หรือไม่ ช. ขั้นที่ ๗ อย่าพยายามเคลื่อนย้ายวัตถุระเบิด ซ. ขั้นที่ ๘ ถ้าตรวจสอบแล้วไม่พบข้อผิดพลาดให้ติดตั้งดินระเบิดอันใหม่เข้ากับดินระเบิดที่ด้าน ด. ขั้นที่ ๙ ปลดเชื้อปะทุชนวนอันเก่าออกจากสายไฟ จุดระเบิดแล้วพันปลายสองเส้นของสายไฟเชื้อปะทุ เข้าด้วยกัน ต. ขั้นที่ ๑๐ต่อเชื้อปะทุอันใหม่เข้ากับสายไฟจุดระเบิดแล้วจุดระเบิด การระเบิดนี้อาจจะท าให้ดินระเบิดด้าน ค าเตือน ๑. คลื่นสัญญาณวิทยุอาจเป็นสาเหตุให้เชื้อปะทุเกิดการระเบิดได้ รถกระจายเสียงหรือจุดการกระจายเสียง เคลื่อนที่ห้ามเข้าใกล้รัศมี ๕๐ เมตร ของการจุดระเบิดที่ใช้ระบบไฟฟ้า ๒. สายฟ้าผ่า ฟ้าแลบ เป็นอันตรายต่อระบบการจุดระเบิดของเชื้อปะทุชนวนและระบบไฟฟ้า วิธีการที่ปลอดภัย คือ ให้งดท าการจุดระเบิดในขณะที่มีฟ้าผ่า ฟ้าแลบ ๓. การจุดระเบิดไม่ควรจุดในระยะ ๑๕๕ เมตร จากสายไฟฟ้าแรงสูง
- ๑๕๕ - ผนวก ค เครื่องกีดขวาง (OBSTACLES) ค - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) ในการรบ หน่วยข้าศึกใช้เครื่องกีดขวางในการหยุดหรือยับยั้งการเคลื่อนที่ของ ฝ่ายตรงข้าม อาจจะท าทางผ่านหรือช่องทางผ่านเครื่องกีดขวางเหล่านั้นในการที่จะด าเนินภารกิจต่อไป เครื่องกีดขวางพื้นฐาน ๒ ชนิด ที่ใช้โดยข้าศึก คือสนามทุ่นระเบิดและรั้วลวดหนาม ผนวกนี้ให้ค าแนะน า ในการท าช่องทางหรือเจาะช่องสนามทุ่นระเบิดและรั้วลวดหนาม ค - ๒ วิธีทา ช่องทางและเจาะช่องสนามทุ่นระเบิด (HOW TO BREACH AND CROSS A MINEFIELD) การเจาะช่องสนามทุ่นระเบิดมีหลายวิธี วิธีหนึ่งคือ การตรวจค้นและท าเครื่องหมายทุ่นระเบิด เพื่อท าให้ช่องทาง เดินปลอดภัยผ่านสนามทุ่นระเบิด ค - ๓ การตรวจค้นท่นุระเบิด (PROBING FOR MINES) ก. ถอดหมวกเหล็ก สายโยงบ่า นาฬิกา แหวน เข็มขัด ป้ายชื่อโลหะและสิ่งที่อาจเป็นอุปสรรคในการ เคลื่อนที่หรือตกหล่น ข. น าปืนและอุปกรณ์ฝากไว้กับทหารในชุดยิง ค. หากิ่งไม้ยาวประมาณ ๓๐ ซม. (๑๒ นิ้ว) ใช้ในการตรวจค้นทุ่นระเบิด และปลายกิ่งไม้แหลม ห้ามใช้ โลหะตรวจ ง. ใช้อุ้งมือจับปลายกิ่งไม้ที่ไม่แหลม ใช้นิ้วหัวแม่มือยึดไว้โดยให้นิ้วมือที่เหลือกางไปตามแนวกิ่งไม้ จ. ตรวจค้นทุก ๆ ๕ ซม. (๒ นิ้ว) ในเขตพื้นที่ข้างหน้า ๑ เมตร ใช้กิ่งไม้ปลายแหลมเสียบลงไปในดินอย่าง นิ่มนวลด้วยมุมน้อยกว่า ๔๕ องศา ฉ. คุกเข่า (หรือนอนคว ่า) และใช้มือตรวจหาลวดสะดุดข้างหน้า และผูกลวดสะดุดก่อนเริ่มท าการตรวจค้น ช. เสียบกิ่งไม้ปลายแหลมลงไปในดินอย่างช้า ๆ แล้วหยิบเศษดิน กิ่งไม้รอบ ๆ ออกน าไปทิ้ง รูปที่ ค - ๑ การตรวจค้นท่นุระเบิด
- ๑๕๖ - ซ. หยุดการตรวจค้นเมื่อปลายกิ่งไม้สัมผัสกับวัตถุแข็ง ด. น าเศษดินรอบ ๆ วัตถุออกเพื่อค้นหาต าแหน่งของวัตถุ รูปที่ ค - ๒ ช่องทาง ค - ๔ การทา เครื่องหมายท่นุระเบิด (MARKING THE MINE) ก. น าเศษดินออกรอบ ๆ เพื่อตรวจสอบชนิดของทุ่นระเบิด ข. ท าเครื่องหมายไว้ และรายงานให้ผู้บังคับหน่วยทราบ วิธีท าเครื่องหมายมีหลายวิธี วิธีท าเครื่องหมายไม่ ส าคัญเท่ากับว่าให้ทหารทุกคนเข้าใจเครื่องหมาย วิธีปกติท าเครื่องหมายคือผูกกระดาษ ผ้า หรือเทปพันสายไฟ กับหลักและปักหลักลงในดินใกล้ ๆ กับทุ่นระเบิด รูปที่ ค - ๓ ผกูปมชี้ท่นุระเบิด
- ๑๕๗ - ค - ๕ การเจาะช่องสนามท่นุระเบิด (CROSSING THE MINCFIELD) ช่องทางได้ถูกตรวจค้น และท า เครื่องหมายทุ่นระเบิดเรียบร้อย ชุดระวังป้องกันควรจะเจาะช่องสนามทุ่นระเบิดเพื่อท าการระวังป้องกันข้างหน้า ส่วนที่เหลือของหน่วยสามารถผ่านไปได้ รูปที่ ค - ๔ การทา เครื่องหมายท่นุระเบิด ค - ๖ วิธีทา ช่องทางและเจาะช่องรวั้ลวดหนาม (HOW TO BREACH AND CROSS WIRE OBSTACLES) ข้าศึกใช้รั้วลวดหนามเพื่อแยกทหารราบออกจากรถถัง และเพื่อยับยั้งหรือหยุด ทหารราบ รั้วลวดหนามข้าศึกคล้าย กับรั้วลวดหนามของฝ่ายเรา ใช้คีมตัดลวดเจาะช่องทางและบังกาโลตอร์ปิโด การเจาะช่องทางรั้วลวดหนามต้องใช้การลักลอบ ดังตัวอย่าง เมื่อหน่วยลาดตระเวนท าส าเร็จ อาจจะไม่ ต้องการในการโจมตี ใช้คีมตัดลวดในการเจาะลวดช่องทางหรือใช้บังกาโลตอร์ปิโด ค - ๗ การตัดลวดหนาม (CUTTING THE WIRE) การใช้การลักลอบตัดรั้วลวดหนาม ก. ตัดลวดหนามเส้นต ่าสุดเท่านั้น เพื่อพรางไม่ให้ข้าศึกเห็นช่องว่าง
- ๑๕๘ - รูปที่ ค - ๕ เจาะช่องรั้วลวดหนาม ข. ตัดเส้นลวดหนามใกล้กับหลักรั้วเพื่อลดเสียงในขณะตัด ให้ทหารอีกคนพันผ้ารอบเส้นลวดหนามและถือ ไว้ทั้งสองมือ ตัดส่วนของเส้นลวดหนามอยู่ระหว่างมือของทหารอีกคนและท าการงอเส้นลวดหนามไปมาจนกระทั่ง หัก ถ้าปฏิบัติการคนเดียวใช้ผ้าพันรอบเส้นลวดหนามใกล้กับหลักรั้วตัด และงอไปมาจนกระทั่งเส้นลวดหนามขาด ค - ๘ การเจาะช่องทางลวดหนามชนิดหีบเพลง (CONCERTINA) ก. ตัดเส้นลวดหนาม และปักไว้ข้างหลังเพื่อให้เปิดช่องทาง ข. ปักเส้นลวดหนามไว้ข้างหลังให้กว้างพอที่จะคลานผ่านหรือลอดใต้เครื่องกีดขวาง
- ๑๕๙ - รูปที่ ค - ๖ ลวดหนามหีบเพลง ค - ๙ การเจาะช่องรั้วลวดหนาม (CROSSING THE WIRE) การคลานใต้รั้วลวดหนาม ก. นอนหงายเคลื่อนที่ไปข้างหน้า โดยใช้ศีรษะไปก่อน ข. ใช้ส้นเท้าดันตัวไปข้างหน้า ค. วางอาวุธไว้บนร่างกาย หันปากกระบอกปืนชี้ไปข้างหน้า ใช้มือข้างหนึ่งยึดปืนไว้ เพื่อกันลวดหนามเกาะ เสื้อผ้า และอุปกรณ์ให้ลวดหนามผ่านไปตามอาวุธ ง. ใช้มือจับเส้นลวดหนามและลวดสะดุดหรือทุ่นระเบิด
- ๑๖๐ - รูปที่ ค - ๗ การคลานใต้รั้วลวดหนาม ค - ๑๐ การข้ามรั้วลวดหนาม ก. หมอบราบกับพื้น ข. ตรวจหาลวดสะดุดและทุ่นระเบิด ค. จับเส้นลวดหนามเส้นแรกให้แน่นและยกขาข้างหนึ่งข้ามอย่างระมัดระวัง ง. วางเท้าลงพื้นช้า ๆ จ. ยกขาอีกข้างข้ามเส้นลวดหนามและวางเท้าลงพื้น ฉ. ปล่อยเส้นลวดหนาม ช. ต้องการข้ามรั้วลวดหนามอย่างรวดเร็ว ใช้แผ่นกระดานวางพาดและข้ามไป ค - ๑๑ การใช้บังกาโลตอรป์ิโด (USING A BANGALORE TORPEDO) บังกาโลตอร์ปิโด มีท่อบรรจุดินระเบิด ๑๐ ท่อ ปลอกต่อ ๑๐ ปลอก และหัวครอบ ๑ หัว ใช้ตามจ านวน ต้องการ (ท่อเดียวหรือใช้ทั้งหมด) ท่อบรรจุดินระเบิดมีฝาปิดหัวท้าย สามารถต่อกันได้กับท่ออื่น ๆ โดยใช้ปลอกต่อเพื่อป้องกันการระเบิด ก่อน ในขณะวางถ้ากระทบสิ่งกีดขวาง อาจจะเป็นหิน, กิ่งไม้ จะท าให้เป็นอุปสรรคต่อการท างานของตอร์ปิโด ให้ใช้ หัวครอบครอบที่ท่อตอร์ปิโด
- ๑๖๑ - รูปที่ ค - ๘ บงักาโลตอรป์ิโด หลังจากประกอบบังกาโลตอร์ปิโด เรียบร้อย และดันใส่ในเครื่องกีดขวาง จุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุไฟฟ้าและ เชื้อปะทุชนวน (ผนวก ข) เมื่อยิงตอร์ปิโดแล้วไม่สามารถท าลายเครื่องกีดขวางได้ ให้ใช้วิธีอื่นหรืออาจจะใช้คีมตัดลวดหนาม รูปที่ ค - ๙ การวางบงักาโลตอรป์ิโด
- ๑๖๒ - ผนวก ง พื้นที่สิ่งปลกสร้างู (URBAN AREAS) ง - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) ความส าเร็จในการรบในพื้นที่สิ่งปลูกสร้างต้องใช้ทักษะในการต่อสู้ที่ไม่เหมือนกับการรบแบบอื่น ๆ ในบทนี้ จะกล่าวถึงในบางส่วนของทักษะเหล่านั้น ส าหรับรายละเอียดจะมีอยู่ใน (รส. ๙๐ - ๑๐ - ๑) ง - ๒ จะเคลื่อนที่อย่างไร การเคลื่อนที่ในพื้นที่สิ่งปลูกสร้างเป็นความช านาญ (ทักษะ) พื้นฐานที่เราจะต้องมีความ ช านาญเพื่อให้มีการเปิดเผยตัวต่อการยิงจากข้าศึกให้น้อยที่สุดขณะเคลื่อนที่ ก. อย่าท าให้เกิดเงา ท าตัวให้ต ่า หลีกเลี่ยงพื้นที่โล่งแจ้ง เช่น ถนน ทางเดิน ตรอกซอย และที่จอดรถ ข. เลือกที่ก าบังข้างหน้าก่อนจะเคลื่อนที่ออกไป ค. ปกปิดการเคลื่อนที่โดยใช้ควัน ตัวอาคาร ซากอาคาร หรือใช้ใบไม้ ง. เคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งด้วยความรวดเร็ว จ. อย่าเคลื่อนที่บังทิศทางการยิงคุ้มกัน ต้องพร้อม และตื่นตัวเสมอ ง - ๓ การข้ามก าแพงผนัง ต้องข้ามก าแพงด้วยความเร็วเสมอ แต่สิ่งแรกคือต้องหาจุดที่ต ่าส าหรับการข้าม และ ตรวจดูอีกฝั่งหนึ่งของก าแพงว่าปลอดภัยจากสิ่งกีดขวาง หรือข้าศึกหรือไม่ จากนั้นกลิ้งตัวบนก าแพงอย่างรวดเร็ว ท าตัวให้เกิดเงาน้อยที่สุด การเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วและท าให้เกิดเงาน้อย จะท าให้รอดพ้นจากการยิงจากข้าศึก รูปที่ ง - ๑ การข้ามก าแพง
- ๑๖๓ - ง - ๔ การเคลื่อนที่บริเวณมมุอาคาร ก่อนที่จะเคลื่อนที่ผ่านอาคาร ต้องตรวจดูว่าจากบริเวณมุมอาคารไปแล้ว นั้น ปลอดภัยจากสิ่งกีดขวางและข้าศึกหรือไม่ อย่าเปิดเผยตัวเองออกไปในขณะที่ท าการตรวจดูพื้นที่ ให้นอน ราบลงกับพื้นอย่าให้อาวุธประจ ากายโผล่ยื่นออกไปนอกมุมอาคาร สวมหมวกเหล็กแล้วตรวจการณ์ไปรอบ ๆ จาก มุมอาคารในระดับพื้นราบก็สามารถจะมองเห็นพื้นที่ได้โดยรอบ อย่าโผล่ศีรษะออกไปมากเกินความจ าเป็น ถ้าไม่มี สิ่งกีดขวางหรือข้าศึกให้เคลื่อนที่ผ่านมุมอาคารโดยท าตัวให้ต ่า รูปที่ ง - ๒ การเคลื่อนที่บริเวณมมุอาคาร ง - ๕ การเคลื่อนที่ผ่านช่องหน้าต่าง เมื่อเคลื่อนที่ผ่านช่องหน้าต่างของชั้นล่างของอาคารให้ท าตัวให้ต ่ากว่า ระดับช่องหน้าต่าง ระวังอย่าให้เกิดเงาพาดผ่านช่องหน้าต่างและเคลื่อนที่ให้ชิดกับผนังของตัวอาคาร
- ๑๖๔ - รูปที่ ง - ๓ การเคลื่อนที่ผ่านหน้าต่าง (ระดับสูง) เมื่อเคลื่อนที่ผ่านช่องหน้าต่างที่อยู่ติดพื้นดิน ให้ใช้เทคนิคพื้นฐานเหมือนการผ่านหน้าต่างของอาคารชั้น ล่างแต่แทนที่จะท าให้ต ่ากว่าช่องหน้าต่าง ให้ก้าวกระโดดให้สูงกว่าช่องหน้าต่าง โดยไม่ให้ขาและเท้าโผล่ในช่อง หน้าต่าง
- ๑๖๕ - รูปที่ ง - ๔ การเคลื่อนที่ผา่นช่องหน้าต่างติดพืน้ดิน
- ๑๖๖ - ง - ๖ การเคลื่อนที่ขนานกับตัวอาคาร เมื่อเราต้องเคลื่อนที่ขนานกับตัวอาคารให้ใช้ควันในการปกปิดการ เคลื่อนที่และให้มีคนคอยคุ้มกันขณะเราเคลื่อนที่ เคลื่อนที่ให้ชิดด้านข้างของอาคาร ใช้เงาเท่าที่เป็นไปได้ ท าตัวให้ ต ่าเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วจากที่ก าบังหนึ่งไปยังที่ก าบังอีกที่หนึ่ง รูปที่ ง - ๕ การเคลื่อนที่ขนานกับตัวอาคาร ง - ๗ การผ่านพื้นที่โล่งแจ้ง เมื่อไรก็ตามที่เป็นไปได้ เราควรหลีกเลี่ยงพื้นที่สังหาร เช่น ถนน ตรอก ซอย และที่ จอดรถ พื้นที่เหล่านี้โดยทั่วไปจะเป็นเขตสังหารของปืนกลข้าศึก เมื่อเราจะต้องผ่านพื้นที่โล่งแจ้ง ต้องกระท าอย่าง รวดเร็ว ใช้เส้นทางที่สั้นที่สุดในการข้ามพื้นที่นั้น ใช้ควันในการปกปิดการเคลื่อนที่และให้มีคนคอยคุ้มกัน การที่จะไปจากจุด ก ไปจุด ค เราจะเลือกที่ท าให้เคลื่อนที่สั้นที่สุดในการผ่านพื้นที่อันตราย (จุด ข) เมื่อ ข้ามไปอีกฝั่งหนึ่งของพื้นที่โล่งแจ้งแล้วใช้เทคนิคที่ได้กล่าวมาแล้ว เคลื่อนที่ไปยังจุด ค
- ๑๖๗ - รูปที่ ง - ๖ การเลือกเส้นทาง ง - ๘ การเคลื่อนที่ในตัวอาคาร เมื่อเคลื่อนที่ในตัวอาคาร อย่าท าให้เกิดเงาในประตูหรือหน้าต่าง ให้เคลื่อนที่ ผ่านโดยใช้เทคนิคเดียวกับ การเคลื่อนที่นอกอาคารผ่านประตู, หน้าต่าง แบบที่ได้กล่าวไปแล้ว
- ๑๖๘ - รูปที่ ง - ๗ การเคลื่อนที่ผ่านระหว่างหน้าต่าง ถ้าจ าเป็นต้องใช้ทางเดินในตัวอาคารอย่าท าตัวให้เป็นเป้าหมายใหญ่แก่ข้าศึกให้แนบชิดผนัง และรีบออกจาก บริเวณทางเดินนั้นอย่างรวดเร็ว รูปที่ ง - ๘ ง - ๙ การเข้าไปในตัวอาคาร เมื่อเคลื่อนที่เข้าไปในตัวอาคาร ต้องใช้มาตรการระวังป้องกันให้มาก เพื่อให้ รอดพ้นจากการยิงและการตรวจการณ์ของข้าศึก ซึ่งมีหลักพื้นฐานดังนี้ ก. เลือกจุดที่จะเข้าสู่ตัวอาคารก่อนจะเคลื่อนที่ ข. หลีกเลี่ยงการเข้าทางประตู หน้าต่าง ค. ใช้ควันในการปกปิด ง. ให้ท าจุดเข้าตัวอาคารขึ้นใหม่ โดยใช้การระเบิดหรือใช้การยิงจากรถถัง จ. ปาระเบิดขว้างไปในจุดเข้าตัวอาคารก่อน จะน าเข้าไป ฉ. เมื่อเกิดการระเบิดแล้วเคลื่อนที่ตามเข้าไปอย่างรวดเร็ว ช. ให้มีคนคอยคุ้มกันขณะเคลื่อนที่เข้าอาคาร ซ. เข้าไปในตัวอาคารในชั้นที่สูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
- ๑๖๙ - ง - ๑๐ การเข้าตัวอาคารจากชั้นสูง ก. การเข้ากวาดล้างตัวอาคารสิ่งพึงประสงค์ก็คือ การปฏิบัติจากบนลงล่าง “ TOP - DOWN ” ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ท าไม เราจึงต้องเข้าสู่ตัวอาคารจากชั้นสูงสุด ถ้าข้าศึกที่ตั้งรับอยู่ในอาคารถูกบีบบังคับให้ลงไปสู่ พื้นล่าง พวกข้าศึกอาจจะออกจากตัวอาคารซึ่งท าให้เปิดเผยตัวเองไปหาการยิงที่มีอยู่ด้านนอกอาคาร รูปที่ ง - ๙ การเข้าอาคารจากชั้นสูง ข. ถ้าข้าศึกถูกบังคับให้ขึ้นไปสู้ พวกข้าศึกอาจจะอยู่ชั้นบนของอาคาร พวกข้าศึกอาจต่อสู้อย่างแข็งแกร่ง มากกว่าปกติ หรือไม่ก็หลบหนีไปยังหลังคาของตัวอาคารหลังอื่น ๆ ค. เราสามารถใช้เชือก บันได ท่อระบาย เถาวัลย์ เฮลิคอปเตอร์ หรือหลังคาและหน้าต่างของอาคารที่ ติดต่อกัน เพื่อไปยังชั้นบนสุดของอีกอาคารหนึ่งได้ในกรณีเราสามารถปีนบนบ่าของทหาร คนอื่น แล้วดึงตัวเองขึ้น ไปได้ เราสามารถผูกตะขอเข้ากับปลายด้านหนึ่งของเชือกแล้วเหวี่ยงตะขอไปบนหลังคาในที่ ๆ จะเกาะยึดเชือกให้ อยู่กับที่มั่นคงได้
- ๑๗๐ - รูปที่ ง - ๑๐ การลงทางหลังคา ง - ๑๑ การเข้าอาคารจากชั้นล่าง ก. เมื่อเราไม่สามารถเข้าในตัวอาคารจากทางชั้นบนหรือทางหลังคาได้ ในกรณีนี้การเข้าจากทางชั้นล่างก็ คงเป็นหนทางเดียวที่จะท าให้เราเข้าสู่ตัวอาคารได้ เมื่อเข้าสู่ตัวอาคารจากชั้นล่างควรหลีกเลี่ยงการเข้าทางประตู และหน้าต่างเพราะประตูและหน้าต่างส่วนมากมักจะมีกับระเบิดและมีการยิงจากข้าศึก ข. เมื่อเข้าสู่ตัวอาคารจากชั้นล่าง ให้ใช้การระเบิดท าลายกระสุนจากปืนใหญ่ อาวุธต่อสู้รถถัง หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ได้ประสิทธิภาพเหมือน ๆ กัน ท าเป็นช่องทางเข้าในผนังอาคาร ก่อนที่จะเข้าไปให้ขว้างระเบิดมือเข้าไป (โดย ถ่วงเวลาไว้ในมือก่อน) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพจากการระเบิดครั้งแรก
- ๑๗๑ - รูปที่ ง - ๑๑ การเข้าอาคารจากชั้นล่าง ง - ๑๒ การใช้ลูกระเบิดขว้าง ก. เมื่อท าการสู้รบในพื้นที่สิ่งปลูกสร้าง ใช้ลูกระเบิดขว้างในการกวาดล้างภายในห้องทางเดินในตัวอาคาร และบริเวณภายในอาคาร ขว้างระเบิดก่อนจะเข้าประตู หน้าต่าง ห้องโถง บันได หรือทางเข้าอื่น ๆ ก่อนจะขว้างลูก ระเบิดให้ถ่วงเวลาไว้ก่อน ๒ วินาที เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าศึกขว้างลูกระเบิดนั้นกลับมาที่เราก่อนที่ระเบิดนั้นจะระเบิด ขึ้น ข. การถ่วงเวลาลูกระเบิดขว้างให้เอานิ้วหัวแม่มือออกจากกระเดื่องนิรภัยหลุดออกจากตัวลูกระเบิด จากนั้น นับ หนึ่งพันหนึ่ง หนึ่งพันสอง และขว้างระเบิดออกไป ค. วิธีที่ดีส าหรับการใช้ลูกระเบิดส าหรับช่องของอาคาร ชั้นสูงที่เปิดควรใช้เครื่องยิงลูกระเบิดขว้าง
- ๑๗๒ - รูปที่ ง - ๑๒ การโยนลูกระเบิด ง. เมื่อเราโยนลูกระเบิดขว้างเข้าไปในช่องเปิดของอาคาร ให้อยู่ชิดกับตัวอาคารเพื่อเป็นการก าบัง ก่อนขว้าง ลูกระเบิดจะต้องเลือกที่ ๆ ปลอดภัยไว้ ในกรณีที่ระเบิดที่ขว้างออกไป ไม่เข้าไปในช่องเปิดของอาคารหรือในกรณีที่
- ๑๗๓ - ข้าศึกขว้างระเบิดนั้นกลับมา เมื่อขว้างระเบิดเราต้องเข้าที่ก าบัง หลังจากเกิดการระเบิดแล้วรีบเข้าไปในตัวอาคาร โดยเร็ว ง - ๑๓ การใช้พื้นที่ในการต่อสู้ พื้นที่ในการต่อสู้ในพื้นที่สิ่งปลูกสร้างนั้นจะแตกต่างจากภูมิประเทศอย่างอื่น ๆ เราไม่สามารถเตรียมพื้นที่ได้ ก่อนในบางครั้ง เราจ าเป็นต้องใช้พื้นที่ในการต่อสู้อย่างเร่งด่วน เนื่องจากไม่มีพื้นที่ใดให้การก าบังได้ดีกว่านั้นแล้ว ง - ๑๔ มุมอาคาร เมื่อเราใช้มุมของอาคารในการต่อสู้ เราต้องสามารถยิงปืนโดยใช้ไหล่ทั้งสองข้างได้ ยิงโดย ประทับปืนที่ไหล่โดยให้ตัวชิดกับตัวอาคาร เปิดเผยส่วนของร่างกายให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้และถ้ากระท าได้ให้ ยิงโดยใช้ท่านอน รูปที่ ง - ๑๓ ที่ตั้งมุมอาคาร ง - ๑๕ ก าแพง เมื่อท าการยิงจากหลังก าแพงอย่าลุกขึ้นยิงเหนือก าแพง เพื่อให้ข้าศึกมีโอกาสมองเห็นเราได้น้อย ที่สุด ท าตัวให้ต ่าและอยู่ชิดก าแพงและท าการยิงปืนจากไหล่ที่ท าให้ตัวเราปิดบังอยู่หลังก าแพง
- ๑๗๔ - รูปที่ ง - ๑๔ ที่ตั้งของก าแพง ง - ๑๖ หน้าต่าง เมื่อใช้ช่องหน้าต่างในการต่อสู้อย่าใช้ท่ายืนยิง การยืนอาจจะท าให้เกิดเงาปืนตัดกับแสงไฟในตัว อาคาร หรือเกิดเงาขึ้นกับผนังอาคารหรือช่องต่าง ๆ ของตัวอาคารอีกด้านหนึ่ง อย่าให้ปากกระบอกปืนโผล่พ้นเข้า ไปในช่องหน้าต่าง เพราะจะท าให้ข้าศึกเห็นปากกระบอกปืนหรือเห็นแสงที่เกิดจากการยิง ก. วิธีที่ดีในการยิงจากช่องหน้าต่างก็คือ ถอยหลังเข้าไปในห้อง เพื่อป้องกันการเห็นปากล ากล้องและแสง จากปากล ากล้องปืนใช้การคุกเข่ายิงเพื่อลดการเปิดเผยตัว
- ๑๗๕ - รูปที่ ง - ๑๕ ท่าการยิงจากช่องหน้าต่าง ข. เพื่อเพิ่มการก าบังของช่องหน้าต่าง ให้ใช้วัสดุต่างๆ มาท าเครื่องกั้นบริเวณช่องหน้าต่าง แล้วเปิดช่องให้ กว้างพอส าหรับการยิง ในขณะเดียวกันเราต้องท าเครื่องกั้นกับช่องหน้าต่างอื่น ๆ ด้วยเพื่อข้าศึกจะได้ไม่ทราบว่า หน้าต่างช่องใดที่เราจะใช้ในการต่อสู้ ใช้กระดานหรือวัสดุอื่น ๆ ที่มีอยู่ในห้องท าเครื่องกั้นหน้าต่าง การท าเครื่องกั้น หน้าต่างให้ท าโดยใช้หน้าต่างอยู่ในสภาพปกติเพื่อข้าศึกจะได้ไม่สามารถรู้ได้ว่าเราใช้หน้าต่างช่องใด
- ๑๗๖ - รูปที่ ง - ๑๖ การเสริมความมนั่คงของช่องหน้าต่าง ง - ๑๗ บนหลังคา จุดสูงบนหลังคาสามารถใช้ประโยชน์ในการก าบังและการใช้ต่อสู้ได้เป็นอย่างดี และจะดีเป็น พิเศษต่อพลซุ่มยิงเมื่อท าการยิงบนหลังคาต้องท าตัวให้ต ่า อย่าท าให้เกิดเงาหรือท าตัวตัดกับขอบฟ้า
- ๑๗๗ - รูปที่ ง - ๑๗ ด้านบนหลังคา ก. ปล่องไฟ ปล่องควัน หรือสิ่งอื่น ๆ ที่สร้างเหนือหลังคาขึ้นมา เราสามารถดัดแปลงให้เป็นที่มั่นชั่วคราวได้ โดยรื้อบางส่วนของหลังคาออกจะท าให้เราสามารถยืนในหลังคาได้ โดยใช้คานต่าง ๆ ด้านในเป็นที่ยืน การยืนให้ โผล่แต่ศีรษะและหัวไหล่เหนือหลังคา ใช้กระสอบทรายเพื่อเป็นที่ก าบังเพิ่มเติม
- ๑๗๘ - รูปที่ ง - ๑๘ ที่ตงั้ยิงภายใต้หลงัคา ข. ถ้าไม่มีสิ่งใด ๆ ที่สร้างสูงขึ้นมาจากหลังคา เราสามารถเตรียมสร้างที่ตั้งยิงจากด้านล่างของหลังคาได้ โดยรื้อบางส่วนของหลังคาออกเพื่อท าให้สามารถมองเห็น และยิงคุ้มครองในส่วนที่รับผิดชอบได้ ใช้กระสอบทราย ช่วยเพิ่มการก าบัง ให้ยืนหลังช่องหลังคาที่เปิดออกอย่าให้ปากล ากล้องหรือแสงจากปากล ากล้อง เห็นลอดออกมา จากช่องเปิด สิ่งเดียวที่ข้าศึกควรจะสังเกตได้ก็คือ ร่องหลังคาที่พังออกเป็นบางส่วนเท่านั้น
- ๑๗๙ - รูปที่ ง - ๑๙ ที่ตั้งด้านล่างของหลังคา ง - ๑๘ ช่องโหว่ (LOOPHOLES) ก. เราสามารถท าช่องปืนบนผนัง โดยการระเบิดหรือเจาะเพื่อใช้เป็นที่ในการต่อสู้ การใช้ช่องโหว่สามารถ ลดจ านวนช่องหน้าต่างที่เราต่างใช้ระเบิด หรือเจาะช่อง LOOPHOLES ขึ้น ๒ - ๓ ช่อง เพื่อไม่ให้ข้าศึกทราบว่าเรา จะใช้ช่องใดในการต่อสู้ เมื่อใช้ LOOPHOLES อย่าให้ปากล ากล้องหรือแสงจากการยิงลอดออกไป
- ๑๘๐ - รูปที่ ง – ๒๐ ช่องโหว่ ข. การเสริมความแข็งแรงช่องโหว่ และเพิ่มการก าบังเราใช้กระสอบทรายเรียงตั้งรอบ ๆ ช่องโหว่ ถ้าเราจะ ยิงโดยท่านอนยิงจากอาคารชั้น ๒ เราควรใช้กระสอบทรายวางเรียงบนพื้นห้องเพื่อป้องกันการระเบิดจากชั้นที่ ๑ ใช้โต๊ะหรือสิ่งที่เป็นโครงสร้างแข็งแรงอื่น ๆ และกระสอบทรายเพื่อป้องกันอันตรายจากเศษเหล็ก สะเก็ด ฯลฯ ที่ ด้านเหนือศีรษะ
- ๑๘๑ - รูปที่ ง - ๒๑ แบบเสริมความแขง็แรงช่องโหว่
- ๑๘๒ - ผนวก จ การสะกดรอย (TRACKING) จ - ๑ กล่าวทั ่วไป ในการปฏิบัติการทุกอย่าง เราจะต้องคอยตื่นตัวกับสิ่งที่เป็นสิ่งบ่งบอกถึงการกระท าของข้าศึก สิ่งบ่งบอกแต่ละอย่างสามารถท าให้เรารู้สถานการณ์ของข้าศึกและท าให้เรามีเวลาที่จะเตรียมตัวที่จะเผชิญกับข้าศึก ขีดความสามารถในการสะกดรอยข้าศึกที่เราไม่ได้เผชิญกับข้าศึก จะช่วยท าให้เราจะได้เผชิญหน้ากับข้าศึกได้ อีกครั้ง จ - ๒ คณุสมบตัิของนักสะกดรอย การสะกดรอยจากสิ่งที่มองเห็น คือการตามรอยทางเดินของคน หรือสัตว์ จากสิ่งที่ทิ้งร่องรอยไว้บนพื้นดินหรือตามต้นไม้ต้นหญ้า รอยที่ได้จากประสาทสัมผัสคือรอยตามคนหรือสัตว์โดยใช้ กลิ่น ก. การสะกดรอยเป็นศิลป์ ที่ต้องพิถีพิถันกันมาก เราต้องท าการฝึกหัดอย่างมาก เพื่อที่จะท าให้มีความ ช านาญ (ทักษะ) และรักษาทักษะในการสะกดรอยในระดับสูงได้ เราควรที่จะคุ้นเคยกับเทคนิคทั่วไปของการสะกด รอย เพื่อที่จะค้นหาข้าศึกที่ซ่อนอยู่ เพื่อจะได้ติดตามข้าศึก เพื่อหลีกเลี่ยงทุ่นระเบิดและกับระเบิดของข้าศึก และ เพื่อให้การแจ้งเตือนอันตรายที่จะเกิดจากการซุ่มโจมตี ข. ด้วยสามัญส านึกของประสบการณ์ ท าให้เราสามารถตามรอยผู้อื่นได้ แต่อย่างไรก็ตามเรายังคงต้อง ปฏิบัติตามคุณสมบัติและคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้.- ๑) ต้องมีความอดทน ๒) สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างช้า และเงียบไม่ตื่นตระหนกขณะแกะรอย หรือวิเคราะห์รอย ๓) หลีกเลี่ยงการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว เพราะจะท าให้มองข้ามร่องรอย ร่องรอยหายไป หรือไปท าความ ผิดพลาดบริเวณพื้นที่ของข้าศึก ๔) มีความมั่นคง ยืนหยัดที่จะปฏิบัติภารกิจต่อไปถึงแม้ว่าจะมีร่องรอยเพียงเล็กน้อยหรือภูมิอากาศไม่ เอื้ออ านวยก็ตาม ๕) ใช้การพิจารณาและความมานะอดทน เมื่อตามหาร่องรอยที่หายไป ๖) ให้ใช้ความสังเกตและความพยายามมองหาสิ่งที่ผิดปกติไปจากเดิม ๗) ใช้ประสาทสัมผัสในการดมกลิ่น และการได้ยินเพิ่มขึ้นจากการมองเห็น ๘) พยายามไตร่ตรองสิ่งที่มองเห็นว่าผิดปกติ เพราะจะช่วยตามหาร่องรอยและสิ่งแสดงหากได้เพิ่มขึ้น ๙) ต้องรู้นิสัย ยุทโธปกรณ์ และขีดความสามารถของข้าศึก จ - ๓ หลักพื้นฐานของการสะกดรอย เมื่อสะกดรอยข้าศึก เราควรสร้างภาพของข้าศึกไว้ในใจ แล้วถามตัวเอง ด้วยค าถามอย่างเช่น มีคนอยู่กี่คนที่เราก าลังติดตามอยู่ บุคคลพวกนี้ได้รับการฝึกมาดีเพียงใด พวกนี้มีอาวุธ ยุทโธปกรณ์อะไร พวกเขาสุขภาพสมบูรณ์หรือไม่ มีสภาพขวัญอย่างไร พวกเขารู้หรือไม่ว่าก าลังถูกติดตาม ก. เพื่อหาค าตอบต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้นใช้สัญลักษณ์หรือสิ่งแสดงบอกทั้งหมดที่มีอยู่ สิ่งแสดงบอกความสามารถ เป็นสิ่งใด ๆ ก็ได้ที่แสดงให้เราทราบถึงพฤติกรรมที่ได้กระท าขึ้นในสถานที่และเวลาหนึ่ง ๆ ยกตัวอย่างเช่น รอยเท้า บอกนักสะกดรอยได้ถึงเวลาที่แน่นอนที่บุคคลเดินผ่านจุดนั้น ๆ ข. หลักพื้นฐาน ๖ ประการในการสะกดรอย ๑) การแทนที่ ๒) การเปรอะเปื้อน ๓) สภาพอากาศ ๔) ขยะการพรางสิ่งปฏิกูลที่ตกค้าง
- ๑๘๓ - ๕) การพราง ๖) การตีความและการใช้ข่าวกรอง ค. สิ่งแสดงบอกต่าง ๆ ที่เราพบเราสามารถจัดจ าแนกได้เป็นพวกใดพวกหนึ่งของหลักพื้นฐาน ๕ ข้อแรก ใน ๖ หัวข้อ เราใช้หัวข้อ ๕ ข้อ แรกมาผสมผสานแล้วมาคิดสร้างภาพของข้าศึก จ - ๔ การแทนที่ การแทนที่จะเกิดขึ้นเมื่อสิ่งหนึ่งได้เคลื่อนที่ออกจากจุดเริ่มต้น เช่น รอยเท้าบนพื้นดินที่อ่อน หรือพื้นดินที่ชื้นแฉะ เท้าของคนทิ้งร่องรอยไว้โดยไปแทนที่ดิน จากรอยเท้าเราสามารถหาข้อมูลได้หลายอย่าง เช่น รอยเท้าที่เกิดจากคนที่ไม่สวมรองเท้า หรือสวมรองเท้าที่พื้นสึก แสดงให้เห็นว่าบุคคลนั้นอยู่ในสภาพขาดแคลน ยุทโธปกรณ์ จ - ๕ จะวิเคราะห์รอยเท้าอย่างไร รอยเท้าแสดงถึง ก. ทิศทางและอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของคนในชุด ข. จ านวนของคนที่เคลื่อนที่ในชุด ค. มีการแบกน ้าหนักหรือไม่ ง. เพศของคนในชุด จ. ชุดที่เคลื่อนที่อยู่รู้ตัวหรือไม่ว่าก าลังถูกติดตามอยู่ ๑) ถ้ารองเท้ามีความลึก และช่วงก้าวยาวแสดงว่าชุดเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว ช่วงก้าวยาวมาก ๆ และ รอยเท้าลึกโดยที่นิ้วหัวแม่เท้ามีรอยลึกที่นั้นก าลังวิ่ง ถ้ารอยเท้าลึก ช่วงก้าวสั้น และเท้าซ้าย - ขวาห่างกันกว้าง และมีรอยลากเท้าแสดงว่าบุคคลที่ทิ้งรอยเท้าไว้อาจจะมีการแบกของหนัก ๒) เราสามารถพิจารณาเพศของบุคคลได้โดยศึกษาจากขนาด และลักษณะการวางของรอยเท้า ผู้หญิง ส่วนมากจะมีลักษณะปลายเท้าบิดเข้าด้านใน ในขณะที่ผู้ชายมักจะเดินโดยปลายเท้าชี้ตรงไปข้างหน้า หรือบิดออก ทางด้านนอกเล็กน้อย รอยเท้าของผู้หญิงมักจะมีขนาดเล็กกว่าผู้ชาย และระยะก้าวก็จะสั้นกว่าของผู้ชาย ๓) ถ้าชุดเคลื่อนที่รู้ว่าถูกติดตามอยู่ชุดนั้น ๆ อาจจะพยายามซ่อนหรือกลบเกลื่อนร่องรอย คนเดินถอย หลังจะมีช่วงก้าวสั้น เพราะระยะก้าวจะไม่ปกติสม ่าเสมอ รอยเท้าจะมีรอยลึกของนิ้วหัวแม่เท้าผิดปกติ เศษดินจะ ถูกเตะไปในทิศทางที่เคลื่อนที่
- ๑๘๔ - รูปที่ จ - ๑ รอยเท้าชนิดต่าง ๆ ๔) วิธีนับรอยเท้าในระยะก้าวของรอยเท้าหลัก เป็นวิธีท าให้ความถูกต้องมากที่สุดใน ๒ วิธีที่มีอยู่ จ านวนคนประมาณ ๑๘ คน สามารถตรวจนับได้โดยใช้วิธีการนี้ เราจะใช้วิธีการนี้เมื่อสามารถหารอยเท้าหลักได้ วิธีปฏิบัติเมื่อตรวจหารอยเท้าหลักได้แล้วให้ขีดเส้นรอยเท้าหลักได้ วิธีปฏิบัติเมื่อตรวจหารอยเท้าได้แล้วให้ขีดเส้น ตรวจรอยเส้นเท้า ให้เส้นตัดขวางกับทิศทางเคลื่อนที่ ๕) คนที่เดินคนสุดท้ายมักจะมีรอยเท้าที่ชัดเจนที่สุด ดังนั้นเราจะใช้รอยเท้าของคนสุดท้ายนี้เป็นหลักตัด กิ่งไม้มีความยาวเท่ากับขนาดของรอยเท้าหลักและบากไม้ให้เป็นรอยเพื่อแสดงขนาดความกว้างของฝ่าเท้าตรงส่วน ที่กว้างที่สุด พิจารณามุมของแนวรอยเท้าหลักเพื่อหาทิศทางการเคลื่อนที่ ค้นหาดูร่องรอยตามลักษณะของรอยที่ เกิดขึ้น เช่น สิ่งสวมใส่ การสึกของรองเท้า ถ้ารอยไม่ชัดเจนหรือลบเลือนหรือรอยเริ่มไปปะปนเชื่อมต่อกับรอยอื่น ๆ ใช้กิ่งไม้ที่ท าไว้ช่วยในการจ าแนกรอยเท้าหลัก ซึ่งจะช่วยให้เราได้ติดตามรอยของรอยเดิมที่เราก าลังตามอยู่ ๖) ใช้วิธีกล่องนับ (Box method) จ านวนคนในกลุ่ม มีวิธีอยู่ ๒ วิธี ในการใช้วิธีกล่อง คือวิธีนับ รอยเท้าในระยะก้าวของรอยเท้าหลัก และวิธีการนับรอยเท้าในกรอบ ๓๖ นิ้ว
- ๑๘๕ - รูปที่ จ - ๒ วิธีนับรอยเท้าในระยะก้าวของรอยเท้าหลกั ๗) ตัดขอบทางทั้งสองข้างทาง จากนั้นขีดเส้นลักษณะเดียวกับผ่านตรงอุ้งเท้าของเท้าตรงกันข้ามของ รอยเท้าหลัก จากการกระท านี้จะได้กรอบสี่เหลี่ยมขึ้นบนทาง จากนั้นให้นับรอยเท้าหรือบางส่วนของรอยเท้าที่อยู่ ในกรอบนี้เพื่อหาจ านวนคน คนที่เดินอย่างปกติควรจะมีรอยเท้าในกรอบนี้อย่างน้อย ๑ รอบ ให้นับรอยเท้าหลัก ครั้งเดียว ๘) วิธีการใช้กรอบ ๓๖ นิ้ว ขีดกรอบสี่เหลี่ยมความยาว ๓๐ - ๓๖ นิ้ว ตัดกับเส้นทางนับจ านวนรอยเท้า ในกรอบ จากนั้นหารจ านวนรอยเท้าด้วย ๒ จะได้จ านวนคน (ปืนเล็กยาว M 16 ยาว ๓๙ นิ้ว เราอาจน ามาใช้วัด ระยะได้) รูปที่ จ - ๓ วิธีใช้กรอบ ๓๖ นิ้ว
- ๑๘๖ - ๙) สิ่งแสดงบอกอื่น ๆ ของลักษณะการแทนที่ รอยเท้าเป็นเพียงตัวอย่างอันหนึ่งของรอยที่เกิดจากการ แทนที่เกิดขึ้น เมื่อมีสิ่งหนึ่งเคลื่อนย้ายออกไปจากจุดเริ่มต้น สิ่งอื่น ๆ เช่นใบไม้ ต้นมอส เถาวัลย์ กิ่งไม้ หรือ ก้อนหิน ที่ย้ายที่ไปจากจุดเดิม หยดน ้าจากใบไม้ ก้อนหิน และกิ่งไม้ที่พลิกคว ่าที่แสดงสีของด้านล่างที่มีสีแตกต่าง ต้นหญ้า หรือต้นไม้อื่น ๆ ที่หักหรืองอไปตามทิศทางการเคลื่อนที่ผ่าน เศษผ้าจากชุดแต่งกายอาจจะขาดติดอยู่ บนหนาม ตามรากไม้ หรือบนพื้น และฝุ่น เศษดินจากรองเท้าอาจท าให้เกิดรอยบนพื้นได้ ตัวอย่างอื่น ๆ ที่มีขึ้นได้จากการแทนที่ คือความเคลื่อนไหวของสัตว์ป่าและนกที่เกิดจากลักษณะนิสัยของสัตว์ เหล่านั้น รูปที่ จ - ๔ ตัวอย่างของการเคลื่อนที่ ๑๐) เมื่อเราเดินผ่านทางที่มีต้นไม้หนาแน่นจะเกิดรอยแทนที่ต้นไม้เหล่านั้น การเกิดรอยแทนที่เกิดได้ใน ขณะที่เราหยุดพัก โดยมีสัมภาระหนักอยู่กับตัว รอยที่เกิดจากยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ สามารถน ารอยมาพิจารณาแยก ชนิดของยุทโธปกรณ์ได้ เมื่อสัมภาระที่แบกมาลงกับพื้นขณะที่หยุดพักหน่วยหรือตั้งค่ายพักแรม ต้นหญ้าบริเวณนั้น จะท าให้เกิดรอยบุคคลที่นอนราบกับพื้น จะท าให้ต้นหญ้าราบไป ๑๑) ในพื้นที่ส่วนมากจะมีแมลงต่าง ๆ อาศัยอยู่ชีวิตปกติของแมลงนั้น เราสามารถน ามาพิจารณาเป็นสิ่ง แสดงบอกได้ว่ามีคนเดินผ่านบริเวณพื้นที่นั้น ๆ เช่น ลักษณะของผึ้งแตกรัง หลุมที่มีรอยถูกปิดโดยมีคนเดินย ่าบน ปากหลุมหรือใยแมงมุมที่ฉีกขาด เราสามารถใช้ในการคาดเดาได้เป็นอย่างดี ถ้าบุคคลพยายามปกปิดร่องรอย โดยใช้การเคลื่อนที่ตามล าธาร สาหร่ายและพวกพืชน ้าจะมีร่องรอยของเรา อาจจะได้ยินเสียงนกร้องอย่างตกใจจากการเห็นการเคลื่อนที่ ๆ ผิดปกติ การเคลื่อนไหวของต้นหญ้าสูง ๆ หรือ พุ่มไม้ ในขณะที่ไม่มีลมพัด สามารถท าให้เรารู้ได้ว่ามีบางสิ่งก าลังเคลื่อนที่อยู่ในพงหญ้าหรือพุ่มไม้นั้น การลื่นของ เท้าตามที่ ๆ มีการเดินผ่านไปด้วยความไม่ระมัดระวัง ๑๒) หินอาจมีการย้ายที่ไปจากเดิมและอาจพลิกคว ่า แสดงให้เห็นสีด้านที่จางกว่าหรือสีเข้มกว่าอีกด้าน หนึ่ง บุคคลที่ขึ้นจากล าธาร จะท าให้มีรอยลื่นไถลที่ตลิ่งมีรอยเปียกหรือมีรอยลาดเท้าที่กิ่งไม้ รากไม้ โดยปกติคน และสัตว์จะต้องพยายามหาทางที่มีจุดต้านทานน้อยที่สุด ดังนั้นเมื่อเราดูตามล าธารเพื่อจะหารอยของการขึ้นจาก ล าธารให้มองหาบริเวณที่ไม่รกทึบตามชายฝั่งหรือที่อื่น ๆ ที่ท าให้การขึ้นฝั่งท าได้อย่างง่าย
- ๑๘๗ - ๑๓) รอยเปื้อน ตัวอย่างของรอยเปื้อนที่ดีอันหนึ่ง ก็คือ ร่องรอยที่เกิดจากเลือดที่ไหลออกมาจากบาดแผล รอยเลือดมักจะมีร่องรอยเป็นหยดเลือดที่ออกมากจากบุคคลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ รอยเลือดมักจะพบตามพื้นดินและ รอยเปื้อนตามใบไม้กิ่งไม้ เราสามารถพิจารณาต าแหน่งของบาดแผลได้โดยดูจากรอยเลือด ถ้ารอยเลือดหยดอย่าง สม ่าเสมอ บุคคลนั้นอาจจะมีบาดแผลที่บริเวณล าตัว ถ้าเป็นบาดแผลที่บริเวณปอดเลือดจะเป็นสีชมพูหรือสีแดง เรื่อๆ มีฟอง รอยเลือดจากบาดแผลที่ศีรษะมีลักษณะข้นเป็นเมือก แผลบริเวณช่องท้องมักจะมีน ้าย่อยปะปนกับ เลือดท าให้มีกลิ่น เลือดจะมีสีจาง ๆ รอยเปื้อนสามารถเกิดจากการที่เราเดินไปบนหญ้าด้วยรองเท้าที่เปื้อนโคลน ฉะนั้นรอยเท้าที่เกิดจากรอยเปื้อนและการแทนที่จะท าให้ทราบถึงการเคลื่อนที่และทิศทางอย่างชัดเจน ร่องรอยบน พื้นที่เป็นหินแข็งจะเป็นรอยลักษณะของการถูกบดขยี้ ๑๔) รากไม้ หิน และเถาวัลย์ ที่มีรอยถูกย ่าหรือรอยใบไม้และผลไม้ที่ถูกเหยียบอยู่ตามพื้น รอยสีเหลือง ในหิมะอาจเป็นรอยปัสสาวะของบุคคลในพื้นที่นั้น ๆ ในบางกรณีอาจเป็นการยากที่จะแยกแยะรอยที่เป็นรอยเปื้อน และรอยที่เกิดจากการแทนที่เพราะที่สองสิ่งนี้สามารถพิจารณาได้เป็นสิ่งแสดงบอกได้พร้อมกันไป เช่น รอยน ้าที่ขุ่น จากโคลน แสดงให้รู้ถึงการเคลื่อนที่ ๆ เพิ่งจะผ่านไปโคลนก็ถูกแทนที่และน ้าก็ถูกท าให้เปื้อนโดยโคลน หินในล า ธารก็ถูกท าให้เปื้อนโดยโคลนจากรอยเท้า สาหร่ายหรือตะไคร่น ้าสามารถถูกแทนที่โดยหินล าธาร ๑๕) น ้าในรอยเท้าในพื้นที่ เป็นเลนถ้าเป็นรอยที่เกิดขึ้นใหม่จะมีรอยเปื้อนเลอะเทอะ เมื่อเวลาผ่าน ช่วงหนึ่งเลนจะอยู่ตัว น ้าในรอยจะใสการพิจารณาน ้าในรอยเท้า สามารถใช้ในการประมาณอายุของรอยได้ โดยปรกติ โคลนจะอยู่ตัวในเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง จ - ๖ สภาพอากาศ สภาพอากาศอาจจะเป็นสิ่งช่วยเหลือขัดขวางต่อการสะกดรอย สภาพอากาศจะมีผลต่อการ ประมาณอายุของรอย แต่ลม ฝน และแสงอาทิตย์ อาจเป็นสิ่งที่ท าให้รอยเลือนหายไปได้ ในการศึกษาผลกระทบ ของสภาพอากาศต่อรอยที่เกิด ท าให้เราสามารถประมาณอายุของรอยได้ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดรอยเปื้อนของ เลือดที่พึ่งเกิดขึ้น สีของเลือดจะเป็นสีแดงสด อากาศและแสงอาทิตย์จะท าให้สีของเลือดเปลี่ยนเป็นสีแดงคล ้า และ เปลี่ยนเป็นสีด าคล ้าเมื่อโดนความชื้น รอยขีดข่วนบนต้นไม้จะมีสีด าคล ้าไปตามระยะเวลา ต้นไม้ที่มียางเมื่อถูกตัด จะมียางไหลออกมา แต่จะแข็งตัวเมื่อโดนอากาศภายนอก ก. รอยเท้า สภาพอากาศจะมีผลกระทบต่อรอยเท้า เมื่อเกิดรอยเท้าบนพื้นที่อ่อนบริเวณของรอบ ๆ รอยเท้าจะชัดเจน เศษสิ่งเล็ก ๆ ในอากาศอาจจะตกลงไปในรอยเท้า ถ้าศึกษาสิ่งเหล่านี้โดยละเอียดจะท าให้ ประมาณอายุของรอยได้ ถ้ามีเศษสิ่งเล็ก ๆ ที่เพิ่งตกลงไปในรอยเท้า เราสามารถคาดเดาได้ว่าเป็นรอยเท้าที่เกิด ใหม่ ถ้าขอบรองเท้าแห้ง รอยนั้นอาจเกิดขึ้นแล้วอย่างน้อย ๑ ชั่วโมง สภาพอากาศอาจแตกต่างออกไปตาม ลักษณะภูมิประเทศ ดังนั้นสิ่งเหล่านี้เราจะใช้เป็นแนวทางประกอบการพิจารณาเท่านั้น ๑) ฝนที่ตกบ่อย ๆ จะท าให้รอยขยายขึ้น จงจ าไว้ว่าฝนตกครั้งสุดท้ายเมื่อใด เพื่อมาใช้ประกอบการ พิจารณาระยะเวลาของรอยฝนที่ตกแรงอาจจะท าให้รอยลบหายไปได้ ๒) ลมก็มีผลต่อรอยเช่นกัน นอกจากจะท าให้รอยแห้งแล้ง ลมยังพัดพวกเศษกิ่งไม้ใบไม้และขยะให้ไป ตกอยู่ในรอย พยายามจดจ าลักษณะของลมที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ขณะที่ลมสงบแต่เมื่อ ๑ ชั่วโมงที่ผ่านมามี ลมพัดแรง พบว่ามีขยะตกอยู่ในรอย ดังนั้นรอยนี้น่าจะเกิดขึ้นมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ชั่วโมง แต่ต้องดูให้ดีว่าขยะนั้น ตกไปในรอยไม่ใช่ถูกเหยียบทับอยู่ในรอย ๓) ทางที่ขึ้นจากล าธารอาจจะมีรอยของน ้าที่หยดลงมาจากเสื้อผ้าและอุปกรณ์ที่เปียกน ้าอาจหยดลงไปใน รอยเท้า ๔) รอยเท้าเดินที่เปียกแล้วค่อย ๆ แห้งลงแสดงว่าเป็นรอยที่เกิดขึ้นใหม่ ข. ลม เสียงและกลิ่น ๑) ลมจะส่งผลกระทบต่อเสียง และกลิ่นถ้าลมพัดจากทิศทางที่เราเคลื่อนที่ไป เสียง และกลิ่นจะถูกพัด เข้ามาหาเรา แต่ถ้าลมพัดทิศทางที่เดียวกันกับที่เราเคลื่อนที่ไป เราจะต้องระมัดระวังเพราะว่าลมจะพัดพาเสียง และ กลิ่นไปหาข้าศึกข้างหน้า การหาทิศทางของลม ท าได้โดยก าฝุ่นหรือเศษหญ้าแล้วปล่อยลงสู่ระดับหัวไหล่
- ๑๘๘ - ๒) การช่วยในการหาทิศทางของเสียงท าได้โดยท ามือป้องหู แล้วหมุนตัวไปรอบ ๆ ตรงจุดที่ได้ยินเสียง ดังที่สุดทิศทางนั้นจะเป็นทิศทางที่เป็นแหล่งก าเนิดเสียง เมื่อเคลื่อนที่พยายามไปทิศทางที่ปะทะตรงหน้ากับลม ค. ดวงอาทิตย์ เราต้องพิจารณาถึงผลกระทบจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกัน มักจะเป็นการยากที่จะมองย้อน ดวงอาทิตย์ ดังนั้นถ้าเป็นไปได้ เมื่อเคลื่อนที่ควรให้ดวงอาทิตย์อยู่ทางด้านหลังของเรา จ - ๗ เศษขยะ ก. หน่วยที่ได้รับการฝึกมาไม่ดีอาจมีการทิ้งเศษขยะในขณะเคลื่อนที่ เปลือกห่อหมากฝรั่ง หรือลูกอม กระป๋ องอาหาร ก้นบุหรี่ เศษเถ้าถ่าน เป็นสิ่งบอกว่ามีการเคลื่อนที่ผ่านบริเวณนั้น ข. สภาพอากาศมีผลต่อเศษขยะ ฝุ่นจะชะล้างขยะให้หายไป น ้าฝนจะท าให้กระดาษเปื่อยยุ่ย ลมจะพัดขยะ ให้ย้ายที่ไปจากเดิม กระป๋ องใส่อาหารเมื่อปล่อยทิ้งจะเป็นสนิม สนิมจะเริ่มจากต าแหน่งที่เราเปิดกระป๋ องก่อน จะ เป็นมากขึ้นไปตรงกลาง ใช้ความจ าของเราในการกะอายุของขยะ จดจ าช่วงเวลาที่ฝนตกครั้งสุดท้ายหรือลมที่ พัดแรง จ - ๘ การซ่อนพราง ก. ถ้าหน่วยเคลื่อนที่อยู่รู้ว่าเราก าลังสะกดรอยตามอยู่ หน่วยนั้น ๆ อาจจะใช้การพรางเพื่อปกปิดการ เคลื่อนที่และท าให้เราท าการสะกดรอยได้ช้าลง และเกิดความสับสน การสะกดรอยถอยหลัง การลบร่องรอยตาม ทางเดินและการเดินบนพื้นที่เป็นหินหรือล าธารเป็นตัวอย่างของการซ่อนพรางที่สามารถน ามาใช้ เพื่อให้เราเกิด ความสับสน ข. ชุดที่เคลื่อนที่ อาจเคลื่อนที่บนพื้นผิวที่แข็ง หรืออาจใช้ถนนที่ใช้สัญจรไปมาหรือพยายามเคลื่อนที่ไปรวม กับพลเรือนตรวจสอบเส้นทางแต่ละเส้นทางอย่างระมัดระวัง เพราะเส้นทางที่ชัดเจนซึ่งน าไปหาข้าศึกอาจจะมีทุ่น ระเบิด มีการซุ่มโจมตี หรือมีการคุ้มครอง โดยพลซุ่มยิงชุดที่เคลื่อนที่อาจจะพยายามหลีกเลี่ยงการทิ้งร่องรอย โดยอาจจะหาผ้ามาพันรองเท้าหรือใส่รองเท้าที่พื้นรองเท้าอ่อน ๆ เพื่อที่จะท าให้รองเท้ามีความมนมากขึ้นและมี ความชัดเจนน้อย ชุดเคลื่อนที่อาจขึ้นจากล าธาร โดยขึ้นเป็นแถวหน้ากระดาน เพื่อไม่ให้รู้ทางขึ้นที่ชัดเจน ค. ถ้ามีการเคลื่อนที่ถอยหลังเพื่อให้เกิดความสับสน รอยเท้าจะมีรอยลึกบริเวณหัวแม่เท้าและจะมีรอยลากที่ พื้นดิน ซึ่งแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ ง. ถ้าทางต้องผ่านพื้นที่เป็นหิน หรือพื้นแข็งพยายามดูรอบ ๆ พื้นที่นั้น ๆ เพื่อตรวจหาเส้นทางออก การดู ตามล าธารก็ใช้วิธีการนี้ เช่นเดียวกัน บนพื้นที่เป็นหินจะมีพวกมอส และตะไคร่น ้าซึ่งจะท าให้เกิดรอยได้ ถึงแม้จะ พยายามหลีกเลี่ยงก็ตาม ถ้ารอยหายไปให้กลับไปต าแหน่งสุดท้ายที่มีร่องรอย จากจุดนั้นหันหน้าไปในทางที่ชุด เคลื่อนที่เดินเป็นวงกว้าง เพื่อตรวจหาร่องรอยเพื่อใช้ในการติดตาม จ - ๙ การตีความและการให้ข่าวกรองอย่างทันทีทันใด เมื่อท าการรายงาน อย่ารายงานข้อมูลที่ได้จากการ ตีความ ให้รายงานสิ่งที่เราได้พบเห็นตามที่เป็นอยู่ หรือมีอยู่จริง ก. รายงานข้อมูลข่าวสารโดยเร็ว การใช้ข่าวกรองอย่างทันทีทันใด จะรวมถึงข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับข้าศึก ซึ่งสามารถน ามาใช้เพื่อให้เกิดผลในการจู่โจม ท าให้ข้าศึกสูญเสียจุดได้เปรียบ (ศูนย์ดุล) หรือเป็นการป้องกันไม่ให้ ข้าศึกหลบหนีออกจากพื้นที่ ผบ.หน่วย มีแหล่งที่มาของข่าวสารอย่างมากมาย เขาจะน าข่าวสารต่าง ๆ ที่ได้มาน า มาร่วมในการพิจารณาว่าข้าศึกอยู่ที่ใด ข้าศึกก าลังวางแผนที่จะท าอะไร และข้าศึกจะไปที่ใด ข. ข่าวสารที่เราจะรายงานจะท าให้ ผบ.หน่วย มีข้อมูลส าหรับการปฏิบัติหนึ่ง ยกตัวอย่าง เช่น เรารายงาน ให้ ผบ.หน่วยทราบว่าขณะนี้เราเคลื่อนที่ถึงบริเวณที่มีรอยของข้าศึก ซึ่งผ่านจุดนี้ไปแล้วประมาณ ๓๐ นาที ข้าศึก เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือซึ่งขณะนี้ข้าศึกควรจะเคลื่อนที่ไปถึงที่แห่งหนึ่ง สิ่งที่รายงานไปนี้จะท าให้ ผบ.หน่วยได้ใช้ ข่าวสารไปคิดพิจารณาการปฏิบัติว่าเราควรจะปฏิบัติอย่างไร อาจจะติดตามรอยข้าศึกและใช้หน่วยอีกหน่วยหนึ่ง เข้าโจมตีข้าศึก ค. ถ้าตามทางปรากฏรอยที่เพิ่งจะเกิดขึ้นไม่นานจากการกระท าของข้าศึก ผบ.หน่วยอาจปฏิบัติการซุ่ม โจมตีได้
- ๑๘๙ - จ - ๑๑ ชุดสะกดรอย ก. หน่วยอาจจะจัดชุดสะกดรอยขึ้นมา ซึ่งเราอาจใช้ชุดสะกดรอยเป็นชุดเคลื่อนที่น าหรือชุดสะกดรอย ออกไปต่างหาก เรามีวิธีการหลายวิธีในการจัดชุดแต่ละชุด เราก็สามารถจัดขนาดของชุดได้ทุกแบบ อาจจะใช้คน น าที่เป็นนักสะกดรอย ๑ คน หรือมากกว่าและควรจะมีคนที่ให้การคุ้มกันแก่นักสะกดรอยด้วยการจัดชุดสะกดรอย ตามแบบแผน จะมีนักสะกดรอย ๓ คน และหัวหน้าชุดที่มีพนักงานวิทยุโทรศัพท์ไปด้วย ข. เมื่อชุดเคลื่อนที่ นักสะกดรอยที่เก่งควรจะเคลื่อนที่น า ตามมาด้วยชุดคุ้มกัน นักสะกดรอย ๒ คนที่ เหลือจะเคลื่อนที่ทางปีกข้าง โดยมีชุดคุ้มกันเคลื่อนที่ตาม ผบ. หน่วยควรจะอยู่ในที่สามารถควบคุมชุดได้ พนักงาน วิทยุโทรศัพท์ติดตาม ผบ.หน่วย รูปที่ จ - ๕ ชุดสะกดรอย สุนัขสะกดรอย ก. สุนัขสะกดรอยเราสามารถน ามาช่วยในการตามรอยของข้าศึก สุนัขสะกดรอยจะถูกฝึก หรือใช้งานโดยผู้ ฝึกสุนัข สุนัขจะตามกลิ่นของมนุษย์ และตามหากลิ่นตามพวกต้นไม้ ต้นหญ้าที่มีคนเคลื่อนที่ผ่าน ข. สุนัขสะกดรอยควรถูกใช้ร่วมกับชุดสะกดรอย ชุดสะกดรอยสามารถใช้การสะกดรอยโดยใช้สายตา และ มีสุนัขสะกดรอย และผู้ฝึกสุนัขติดตาม เมื่อรอยหายไปก็ใช้สุนัขเข้ามาค้นหารอยแทน สุนัขจะค้นหาตามร่องรอยได้ เร็วกว่าคน และสุนัขยังสามารถตามร่องรอยในเวลากลางคืนได้ จ - ๑๒ การต่อต้านการสะกดรอย นอกจากที่เรารู้วิธีการติดตามร่องรอย เราจะต้องรู้วิธีการต่อต้านนักสะกด รอยของข้าศึกที่จะตามร่องรอยของเรา เทคนิคบางอย่างในการต่อต้านการตามร่อยรอยจะได้กล่าวถึงดังนี้
- ๑๙๐ - ก. ขณะที่เคลื่อนที่จากพื้นที่ ๆ ปกปิดออกไปสู่พื้นที่โล่งแจ้ง ให้เดินผ่านต้นไม้ขนาดใหญ่ (เส้นผ่าศูนย์กลาง ๓๐ ซม. (๑๒ นิ้ว) หรือใหญ่กว่า ออกไปสู่พื้นที่โล่งแจ้ง ระยะ ๓ - ๕ ก้าว จากนั้นเดินกลับมา บริเวณด้านหน้าของต้นไม้ แล้วหันท ามุม ๙๐ องศา มุ่งหน้าไปในทางทิศนั้น แต่ถ้าท ามุม ๙๐ องศาแล้ว ไม่ใช่ ทิศทางที่ต้องการเคลื่อนที่ให้เลื่อนจุดออกไป ประมาณ ๕๐ เมตร แล้วท าตามขั้นตอนเดิม การกระท าเช่นนี้จะท าให้ ข้าศึกจะสะกดรอยเราได้ยากขึ้นหรือเกิดความเข้าใจผิดกับรอยในพื้นที่นั้น ๆ ข. เมื่อเคลื่อนที่ใกล้ถึงทางเดิน (ห่างประมาณ ๑๐๐ เมตร) ให้เปลี่ยนทิศทางการเดินจากเดิมประมาณ ๔๕ องศา แล้วเดินต่อไปเมื่อเดินทางถึงให้เดินสร้างรอยเท้าไปข้างหน้า และกลับมาทางหลังในระยะประมาณ ๒๐ - ๓๐ เมตร แล้วจากจุดที่เดินถึงทางครั้งแรกให้ข้ามทางนั้นโดยไม่ทิ้งร่องรอยไว้ ในลักษณะเดียวกันในอีกฝั่งหนึ่ง ของทางก็กระท าเช่นเดียวกับขั้นตอนข้างต้น การกระท าเช่นนี้จะท าให้นักสะกดรอยของข้าศึกเข้าใจผิดถึงเส้นทางที่ เราใช้เคลื่อนที่ รูปที่ จ - ๖ เมื่อเคลื่อนที่ใกล้ถึงเส้นทาง ค. การสร้างรอยหลอกนักสะกดรอยของข้าศึกให้เข้าใจผิดถึงทิศทางการเคลื่อนที่ของเราให้เดินถอยหลังบน พื้นที่อ่อนเป็นระยะ ๒๐ - ๓๐ เมตร จนกระทั่งเคลื่อนที่ถึงบริเวณที่พื้นดินแข็ง
- ๑๙๑ - รูปที่ จ - ๗ การใช้กระแสน ้าไหลเพื่อล่วงข้าศึก ง. เมื่อมุ่งหน้าไปสู่ล าธารให้เปลี่ยนทิศทางในระยะก่อนถึงล าธารประมาณ ๑๐๐ เมตร โดยใช้มุมประมาณ ๔๕ องศา ในการเดินไปหาล าธาร เมื่อถึงล าธารลงไปในล าธารแล้วเดินตามสายน ้าไประยะ ๒๐ - ๓๐ เมตร แล้ว เดินกลับมาที่เดิม ใช้เทคนิคนี้เมื่อเดินขึ้นจากล าธาร เพื่อท าให้นักสะกดรอยของข้าศึกเกิดความสับสน ให้ใช้ เทคนิคนี้เป็นครั้งคราว เมื่อเดินขึ้นจากล าธารทางฝั่งอีกฟากหนึ่ง ตรงจุดเดียวกันกับที่ลงล าธารตอนแรกการเปลี่ยน ทิศทางการลงล าธารจะท าให้นักสะกดรอยของข้าศึกเกิดความสับสนเมื่อข้าศึกตามรอยไปในล าธาร ข้าศึกอาจจะ ตามรอยที่เราท าไว้จนเมื่อรอยหายไปก็จะเป็นช่วงที่เราห่างจากข้าศึกมากแล้ว รูปที่ จ - ๘ การข้ามล าธาร
- ๑๙๒ - จ. เมื่อทิศทางการเคลื่อนที่ของเราขนานกับล าธารใช้ล าธารในการลวงนักสะกดรอยของข้าศึก กลวิธี บางอย่างต่อไปนี้จะช่วยให้เรารอดพ้นจากการสะกดรอยของข้าศึก ๑) ให้เดินลงในล าธารระยะ ๑๐๐ - ๒๐๐ เมตร ๒) ให้เดินตรงกลางล าธารที่น ้าลึก ๓) ให้มองหาหินหรือรากไม้ที่อยู่ข้าง ๆ ตลิ่ง ที่ไม่มีต้นมอส หรือพวงสาหร่ายปกคลุมอยู่ และให้ขึ้น จากล าธารต่างบริเวณนั้น ๔) ขึ้นไปแล้วเดินถอยหลังไปพื้นที่อ่อนนุ่ม ๕) เดินขึ้นตามร่องน ้า หรือทางแยกของล าธารที่มีการปกคลุมของต้นหญ้า พืชพันธุ์ ฉ. เมื่อเราถูกติดตามร่องรอยโดยนักสะกดรอยของข้าศึก สิ่งที่เราควรจะท าก็คือ พยายามเดินออกไป ให้ไกล ๆ จากข้าศึก หรือไม่ก็ย้อนรอยตลบหลังกลับ เพื่อซุ่มโจมตีข้าศึก รูปที่ จ - ๙ ทางเดินขนาน
- ๑๙๓ - ผนวก ฉ การด ารงชีพ การเล็ดลอด หลบหนี และการต่อต้าน ( SURVIVAL, EVASION, RESISTANCE AND ESCAPE ) ฉ - ๑ กล่าวทั ่วไป (GENERAL) การปฏิบัติการต่อเนื่องและการปฏิบัติการยุทธ์เคลื่อนที่เร็วเป็นการเพิ่มโอกาสที่ เราจะต้องถูกแยกโดดเดี่ยวไปจากหน่วยใหญ่เป็นการชั่วคราว หรือแม้แต่เราถูกตัดออกจากหน่วยลาดตระเวน ขนาดเล็ก หรือใหญ่ ภารกิจของเราหลังจากที่ถูกตัดขาดก็คือ จะต้องกลับเข้าไปยังหน่วยเดิมให้ได้ ใน ผนวก ฉ นี้ จะกล่าวถึงเทคนิคที่จะช่วยเราหาทางกลับมาที่หน่วยเดิม ส าหรับรายละเอียดเพิ่มเติมจะได้กล่าวไว้ใน รส. ๒๑-๗๖ ก. การหลบหลีก การหลบหลีกเป็นการปฏิบัติที่เรากระท าเพื่อให้รอดพ้นจากเงื้อมือของข้าศึก เมื่อเราแยก ขาดจากหน่วยและเมื่อเราอยู่ในพื้นที่ของข้าศึก จะมีหนทางปฏิบัติอยู่บางอย่าง เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับจากข้าศึก และกลับมายังหน่วยได้ ๑) เราจะต้องอยู่ในที่ ๆ เราอยู่ในขณะนั้น เพื่อรอทหารฝ่ายเดียวกันมาพบ หนทางปฏิบัตินี้จะเป็นผลดี ถ้า เรามั่นใจว่าจะมีก าลังของทหารฝ่ายเดียวกันจะเข้ามาปฏิบัติการในพื้นที่นั้น ๆ และในกรณีที่มีก าลังของข้าศึก ปฏิบัติการในพื้นที่นั้นมาก ๒) เราอาจจะเข้าไปหาพื้นที่ของทหารฝ่ายเดียวกัน หนทางปฏิบัตินี้จะเป็นผลดีถ้าเรารู้พื้นที่ของทหารฝ่าย เดียวกันนั้นอยู่ที่ใด และข้าศึกนั้นอยู่อย่างกระจัดกระจาย ๓) เราอาจเคลื่อนที่เข้าไปในพื้นที่ของข้าศึกให้ใกล้เข้าไปอีก เพื่อปฏิบัติการแบบกองโจร แบบต่าง ๆ เรา จะใช้หนทางปฏิบัตินี้ส าหรับระยะเวลาสั้น ๆ ในกรณีที่หนทางปฏิบัติอื่นไม่สามารถท าได้ การปฏิบัติแบบนี้จะเป็น ผลดีเมื่อเรารู้ว่าข้าศึกมีก าลังเบาบาง และเมื่อเราจะสามารถเชื่อมต่อกับหน่วยกองโจรฝ่ายเดียวกันได้ ๔) เราอาจใช้หนทางปฏิบัติสองหนทางหรือมากกว่าผสมผสานกัน เราอาจอยู่ในที่ ๆ อยู่ปัจจุบันจนกว่า ข้าศึกเคลื่อนที่ออกไปจากพื้นที่นั้น เราจึงเริ่มเคลื่อนที่ออกไปหาพื้นที่ของทางทหารฝ่ายเดียวกัน ๕) บางทีเราจะต้องฆ่า ท าให้สลบ หรือจับข้าศึก โดยไม่ท าให้ก าลังข้าศึกอื่น ๆ ในพื้นที่รู้ตัว เนื่องจากเมื่อ ใช้ปืนเล็ก ปืนพก จะท าให้เกิดเสียงดังมาก เราจึงควรใช้อาวุธเงียบที่มี ก) มีด ดาบปลายปืน ข) ที่รัดคอ (ลวด สายไฟ หรือเชือกที่มีมือจับ) ค) กระบอง ๖) ไม่ว่าจะเป็นในเวลากลางวันหรือในเวลากลางคืน การใช้การเก็บเงียบอย่างได้ผล เราจะต้องมีความ ช านาญ (ทักษะ) ที่ดี และการเคลื่อนที่อย่างรักษาความลับ ฉ – ๒ การต่อต้าน กลุ่มประมวลลับจะเป็นกลุ่มของค าพูดที่มีแนวความคิด และได้ยึดถือปฏิบัติกันมา ซึ่งมีแนว ทางการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความแข็งแกร่งส าหรับนักรบของสหรัฐอเมริกาจะมีการก าหนดให้ทหารทุก ๆ คนจะต้อง ยึดถือและปฏิบัติเมื่อถูกจับกุม หรือเมื่อมีโอกาสที่จะถูกจับกุม ก. เราจะต้องไม่ยอมแพ้ต่อการที่จะมีอิสระภาพ เช่นเดียวกับ ผบ.หน่วย จะต้องไม่ยอมแพ้หรืออ่อนแอต่อ ทหารภายใต้การบังคับบัญชาของตนในขณะที่พวกเขาอยู่ในสภาวะที่ต่อต้าน ข. ถ้าถูกจับเราจะต้องด ารงการต่อต้านในทุกวิถีทางที่ท าได้ โดยใช้กฎบางประการดังนี้ ๑) พยายามทุกวิถีทางที่จะหลบหนี และช่วยผู้อื่นให้หลบหนี ๒) อย่ายอมรับความกรุณาปราณีจากข้าศึก ๓) อย่าพูดกับตัวเองว่าจะไม่หลบหนี ๔) อย่าท าอะไรที่จะท าให้นักโทษด้วยกันเกิดอันตราย ๕) อย่าให้ข้อมูลใด ๆ ยกเว้น ชื่อ ยศ หมายเลขประจ าตัว และ วัน เดือน ปีเกิด