The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทบาทด้านต่างประเทศของรัฐสภา
ในระหว่างดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พีระยา นาวิน, 2020-11-16 20:01:53

บันทึกประวัติศาสตร์ความทรงจำ

บทบาทด้านต่างประเทศของรัฐสภา
ในระหว่างดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา
โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

บนั ทกึ ภาพประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจำ�

บทบาทดา้ นต่างประเทศของรฐั สภา
ในระหวา่ งด�ำรงตำ� แหนง่ ประธานรฐั สภา

โดย
ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

บทบาทด้านต่างประเทศของรัฐสภา







บนั ทกึ ภาพประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจาํ

บทบาทด้านตา่ งประเทศของรฐั สภา
ในระหว่างดาํ รงตาํ แหนง่ ประธานรัฐสภา

โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

บทบาทด้านต่างประเทศของรัฐสภา

คำ� น�ำ

หนังสือบันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจำ�ว่าด้วยบทบาท
ด้านต่างประเทศของรัฐสภา ในระหว่างดำ�รงตำ�แหน่งประธานรัฐสภาเล่มน้ี
อยู่ในโครงการจัดทำ�หนังสือบันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจำ�ในการ
เยือนประเทศต่างๆ โดยได้พิมพ์เผยแพร่หนังสือบันทึกภาพประวัติศาสตร์
ความทรงจำ�ในการเยือนประเทศต่าง ๆ ตามคำ�เชิญอย่างเป็นทางการ
ระหว่างดำ�รงตำ�แหน่งประธานรัฐสภาเล่มแรกได้แก่การเยือนสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดเ้ ผยแพรเ่ ปน็ บรรณาการในวนั ที่ ๑ พฤษภาคม
๒๕๖๓ แล้ว

อันดับถัดไป ต้ังใจจะจัดพิมพ์การเยือนสหพันธรัฐรัสเซียและ
สาธารณรัฐโปแลนด์ ตามลำ�ดับ แต่เนื่องด้วยพิจารณาเห็นว่า บันทึกภาพ
ประวัติศาสตร์ความทรงจำ�ในการเยือนประเทศต่างๆ มีข้อมูลยังไม่ครบถ้วน
พอสมควรท่ีจะเผยแพร่ได้เพราะบันทึกภาพและประวัติศาสตร์ความทรงจำ�
ของหนงั สือชุดนี้ เป็นเหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึน้ เมอ่ื ๓๕ ปีมาแล้ว การรวบรวมภาพ
และเร่ืองราวจึงกระทำ�ได้ยาก แต่ก็พยายามดำ�เนินการอย่างดีที่สุดเท่าท่ี
จะทำ�ได้ อย่างไรก็ตาม หนังสือชุดน้ีโดยเฉพาะเล่มแรกว่าด้วยบันทึกภาพ
ประวัติศาสตร์ความทรงจำ�ในการเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นการ
เยอื นตา่ งประเทศทม่ี คี วามส�ำ คญั และมคี วามหมายทส่ี ดุ ในดา้ นความสมั พนั ธ์
ระหว่างประเทศ เพราะเป็นหนังสือท่ีมีความสมบูรณ์ท้ังภาพและเหตุการณ์
แม้ว่าเวลาจะล่วงเลยมาถึง ๓๕ ปี ได้รับการตอบรับดีมากจากทุกวงการ
โดยเฉพาะความคดิ เหน็ ทตี่ รงกนั ไดแ้ ก่ การแสดงความเหน็ ทวี่ ่า ในช่วงเวลา
ที่ผ่านมา ไม่เคยมีการจัดทำ�บันทึกภาพและเรื่องราวประวัติศาสตร์ใน
ลักษณะนี้ เพื่อการศึกษาของคนรุ่นหลัง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายบริหาร หรือ
ฝา่ ยนิตบิ ัญญัติ

4

บทบาทสำ�คัญของรัฐสภา นอกจากการไปเยือนประเทศต่างๆ ตาม
คำ�เชิญอย่างเป็นทางการแล้ว บทบาทด้านต่างประเทศของรัฐสภาก็มีความ
ส�ำ คญั อยา่ งมาก จึงเปน็ ท่ีมาของหนงั สือเลม่ นซ้ี ึ่งจะมีการพิมพ์เปน็ เล่มท่สี อง
ส่วนเล่มต่อไปจะเป็นเรื่องการเยือนประเทศต่างๆ สุดแท้แต่การเยือนคร้ังใด
จะมขี อ้ มูลสมบรู ณก์ อ่ นกจ็ ะไดร้ บั การตพี มิ พต์ ามลำ�ดบั

และต้องขอบคุณเจ้าหน้าท่ีกองวิเทศสัมพันธ์รัฐสภาท่ีมอบข้อมูล
ทั้งหมดให้ใช้ในการจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ และขอขอบคุณผู้ช่วยในการ
จดั พิมพ์ การคัดเลือกภาพ การจดั ทำ�อารต์ เวริ ค์ ทัง้ หมดนี้ประกอบกนั ทำ�ให้
เกดิ หนังสือเลม่ ทสี่ องนข้ี นึ้

ศาสตราจารย์ ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวิน

5

6

หนังสอื เล่มทสี่ องนีจ้ ะแบง่ เปน็ ๓ ภาค ไดแ้ ก่
ภาคทหี่ นง่ึ สรุปการเยอื นต่างประเทศ ๒๕๒๗-๒๕๓๑
ภาคทสี่ อง งานด้านองค์กรระหว่างประเทศของรัฐสภา
ระหวา่ งปี ๒๕๑๙ - ๒๕๒๐, ปี ๒๕๒๗ - ๒๕๓๑
- งานประชมุ สหภาพรัฐสภา ครง้ั ที่ ๗๘ พ.ศ. ๒๕๓๐
- งานประชุมสมชั ชาองคก์ ารรฐั สภาอาเซยี น ครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๒๗
- งานประชุมสมัชชาองค์การรฐั สภาอาเซียน ครง้ั ท่ี ๘ พ.ศ. ๒๕๒๘
- งานประชุมคณะมนตรสี หภาพรฐั สภา ครั้งท่ี ๑๒๐ พ.ศ. ๒๕๒๐
- งานประชุมสมัชชาใหญ่คร้ังที่ ๑๒ และการประชุมคณะมนตรี
คร้งั ท่ี ๒๑ ของสหภาพสมาชกิ รฐั สภาเอเชีย พ.ศ. ๒๕๑๙
- งานประชุม Aipo พ.ศ. ๒๕๒๘
ภาคท่ีสาม งานรับรองชาวต่างประเทศในประเทศไทย

7

¡Ò÷íÒ˹ŒÒ·èÕ·ÙµÊѹ¶ÇäÁµÃÕ



บทบาทงานดา้ นตา่ งประเทศของรฐั สภา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ
ทรงฉายพระรูปร่วมกบั นกั เรยี นไทย ณ กรงุ ปารีส

10

การทำ� หนา้ ท่ี “ทตู สันถวไมตรี”

“ทุกคนต้องท�ำหน้าที่เสมือนกับเป็น “ทูต”
อยา่ งไมเ่ ป็นทางการของประเทศ จงึ ตอ้ งประพฤติ
ปฏิบัติตัวให้ดี อย่าให้เสียช่ือมาถึง “คนไทย”
เพราะเวลาเราท�ำผิดหรือท�ำถูก เขาจะไม่ระบุเป็น
ตวั บคุ คล แต่จะบอกวา่ “คนไทย” ทำ� ดี “คนไทย”
ทำ� ไม่ดี”

ข้างต้นน้ี เป็นความตอนหน่ึงจากพระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ขณะเสด็จฯเยือนประเทศฝรั่งเศสเป็นทางการใน
พ.ศ. ๒๕๐๓ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหข้ า้ ราชการ นกั เรยี นไทย และ
คนไทยที่พ�ำ นักอยู่ในประเทศฝรัง่ เศส เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ สถาน
เอกอคั รราชทูตไทย กรุงปารีส ซง่ึ ผมเปน็ นกั เรยี นไทยทีก่ ำ�ลงั ศึกษาอยู่ ทั้งยัง
เปน็ หวั หนา้ นกั เรยี นไทยอยใู่ นเวลานน้ั นบั วา่ มวี าสนาทไ่ี ดเ้ ขา้ เฝา้ อยา่ งใกลช้ ดิ
เป็นครัง้ แรกในชีวติ

ผมไมเ่ คยคดิ เลยวา่ วนั หนงึ่ ผมจะมโี อกาสท�ำ หนา้ ทตี่ วั แทนประเทศไทย
ในเวทีระหว่างประเทศ โดยมีบทบาทเสมือน “ทูต” ดังเช่นพระราชดำ�รัส
เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๓ และหน้าที่สำ�คัญท่ีสุดคือการเจริญสัมพันธไมตรีกับ
นานาประเทศในการแลกเปลี่ยน การเย่ียมเยือนหรือเข้าร่วมในการประชุม
ระหวา่ งประเทศตามบทบาทของรฐั สภาไทย

ผมไดท้ �ำ หนา้ ท่ี “ทตู สนั ถวไมตร”ี ในงานครง้ั แรกของผมคอื การประชมุ
สมัชชาใหญข่ องสหภาพสมาชกิ รัฐสภาเอเซีย (APU) ณ กรงุ โตเกยี ว ประเทศ
ญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ โดยทำ�หน้าที่ผู้แทนประเทศไทยเต็มตัว อันเป็น
เหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ หลังจากได้รับพระราชทานพระราชดำ�รัสถึง ๑๖ ปี

11

และหลังจากนั้น ก็ได้มีโอกาสทำ�หน้าที่ผู้แทนประเทศไทยในเวที
ระหวา่ งประเทศที่ส�ำ คญั อกี มาก โดยเฉพาะในช่วงเวลานับจาก พ.ศ. ๒๕๒๗
ถึง พ.ศ. ๒๕๓๑ ในตำ�แหนง่ ประธานรฐั สภา

ในฐานะที่ “รฐั สภา” เปน็ หนงึ่ ในอ�ำ นาจอธปิ ไตย การทจ่ี ะท�ำ งานในดา้ น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเชิงสนับสนุนการทำ�งานของฝ่าย “บริหาร”
ผมได้ทำ�ความเข้าใจกับ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี และ
พลอากาศเอก สทิ ธิ เศวตศลิ า รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงตา่ งประเทศในขณะนนั้
วา่ “รฐั สภา”จะขอท�ำ งานเคยี งคดู่ ว้ ยการสนบั สนนุ การท�ำ งานของ“ฝา่ ยบรหิ าร”
เช่นเดยี วกับ “ชอ้ นและส้อม” โดยฝา่ ยบรหิ ารเป็น “ชอ้ น” ฝ่ายนิติบัญญตั เิ ปน็
“สอ้ ม”รว่ มกนั ท�ำ งานเปน็ หนงึ่ เดยี วเพอื่ ประเทศชาติซง่ึ ทง้ั สองทา่ นเหน็ ชอบดว้ ย
โดยรฐั สภาจะไมเ่ ขา้ ไปท�ำ งานเหมอื นฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป เชน่ การเจรจาท�ำ ความ
ตกลงต่าง ๆ หน้าท่ีสำ�คัญของรัฐสภาคือ สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
ประเทศเท่านน้ั

เพื่อความร่วมมือท่ีดี ผมได้กำ�หนดแนวทางไว้ว่า เม่ือมีแขกชาว
ต่างประเทศ รวมท้ังทูตานุทูตมาเข้าพบประธานรัฐสภา และหลังจากน้ันมี
กำ�หนดการเข้าพบนายกรัฐมนตรี ผมจะสรุปการสนทนาทั้งหมดส่งให้นายก
รัฐมนตรีทราบก่อนทุกคร้ัง ซ่ึงช่วยให้การพูดจากับต่างประเทศของท้ังสอง
สถาบันหลักของชาติ เป็นเน้ือเดียวกัน ซ่ึงนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี
ตา่ งประเทศพอใจมาก เพราะไม่เคยมีการทำ�งานร่วมมอื กนั เช่นน้ีมาก่อน

เนอ่ื งจากการเยอื นสหพนั ธรฐั รสั เซยี และสาธารณรฐั โปแลนด์ เปน็ การ
ไปเยือนต่างประเทศเป็นคร้ังแรกของผมในฐานะประธานรัฐสภา ผมจึงได้
ศึกษารายงานหรอื เร่ืองราวเก่ียวกบั การเยือนประเทศต่าง ๆ ของผนู้ ำ�ทั้งฝา่ ย
บรหิ ารและผนู้ ำ�ทางฝ่ายนิติบญั ญตั ิ รวมท้งั บันทกึ ภาพเหตุการณต์ ่าง ๆ ใน
ขณะที่ไปเยือน ไมป่ รากฏวา่ มีการรวบรวมไว้

12

เมื่อผมจัดทำ�หนังสือชุดการเยือนต่างประเทศ ได้อาศัยแนวทาง
ท้ังภาพและเรื่องราวในหนังสือท่ีนิพนธ์โดยพระราชวงศ์ เช่น พระราชนิพนธ์
ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯสยามบรมราชกุมารี
(พระราชอสิ รยิ ยศในขณะนนั้ ) ทรงนพิ นธก์ ารไปเยอื นประเทศจนี ไวห้ ลายเลม่
และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงนิพนธ์
เรื่องการไปเยือนสหพันธรัฐรัสเซีย ในปี ๒๕๑๗ ซึ่งเป็นพระราชวงศ์ช้ันสูง
ทเี่ สดจ็ ฯไปเยอื นสหพนั ธรฐั รสั เซยี กอ่ นบคุ คลอน่ื ๆ และทรงนพิ นธก์ ารไปเยอื น
ประเทศจนี ไวห้ ลายเลม่ แตค่ ณะอน่ื ๆ ทงั้ ฝา่ ยบรหิ ารและฝา่ ยรฐั สภา ไมม่ ใี คร
จดั ทำ�บันทึกไว้

ผมเองกเ็ ชน่ เดยี วกนั เพงิ่ มาคดิ จดั ท�ำ หนงั สอื การเยอื นตา่ งประเทศใน
พ.ศ. ๒๕๖๓ นเี้ อง หลงั จากการไปเยอื นครง้ั แรกในปี ๒๕๒๗ ถงึ บดั นเี้ วลาลว่ ง
ไปประมาณ ๓๕ ปี ต้องใช้ความพยายามในการร้ือฟ้นื ความทรงจำ�สอบถาม
เจา้ หนา้ ทแี่ ละบคุ คลทรี่ ว่ มกบั คณะไปเยอื นประเทศตา่ ง ๆ ปรากฏวา่ เกนิ กวา่
คร่งึ หน่ึงเสียชีวิตไปแล้ว สว่ นทีเ่ หลอื กจ็ �ำ อะไรไมค่ อ่ ยได้

ผมยังโชคดีที่มีผู้ที่ร่วมเดินทางไปด้วย และจำ�เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ดี
โดยระหวา่ งเดนิ ทางมกี ารจดบันทึกย่อ ๆ ไว้ เตือนความจ�ำ ได้แก่ คณุ มณฑินี
มงคลนาวิน (ท่านผู้หญิงมณฑินี มงคลนาวิน ในปัจจุบัน) ผมเก็บรวบรวม
ภาพการเยือนไว้ได้มากพอควร และมอบให้หอจดหมายเหตุแห่งชาติเก็บ
รักษาไว้อย่างสมบูรณ์ เวลาจัดทำ�หนังสือจึงมีภาพบันทึกประวัติศาสตร์การ
เยือนไว้ให้บุคคลรุ่นหลังได้รับทราบและศึกษาแนวทางต่าง ๆ แม้เวลาผ่าน
ไปเกินกว่า ๓๕ ปี

13



บทบาทงานดา้ นตา่ งประเทศของรฐั สภา

ภำคท่ีหนงÖ่

สรปุ กำรเยอื นต่ำงประเทศ
ระหวำ่ งด�ำรงต�ำแหน่งในรัฐสภำ

สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
๔-๙ สิงหาคม ๒๕๒๗

สหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมัน
๙-๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘
สาธารณรัฐฝร่ังเศส
๔-๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๘
สาธารณรฐั อิตาลี
๑๗-๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘
สาธารณรฐั อาหรบั อยี ิปต์
๒๗ มถิ นุ ายน – ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๐

โรมาเนีย สหภาพโซเวียตรัสเซีย
๑๗-๒๓ สงิ หาคม ๒๕๓๐ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๒๗ – ๔ สิงหาคม ๒๕๒๗

สาธารณรฐั ฮังการี สาธารณรฐั ประชาชนจีน
๑๓-๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๐ ๑๒-๒๐ กันยายน ๒๕๓๑

ยูโกสลาเวยี เกาหลเี หนือ
๑-๖ กรกฎาคม ๒๕๓๐ สาธารณรัฐประชาชนจนี ๖-๑๒ กันยายน ๒๕๓๑
ราชอาณาจักรเบลเยยี่ ม ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๒๘ – ๘ สิงหาคม ๒๕๒๘
๖-๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐
สาธารณรฐั เกาหลี
๒๕ – ๒๙ สิงหาคม ๒๕๒๘

อิสราเอล ทเิ บต สาธารณรฐั ไต้หวัน
๑๓-๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๒๘ ๑๕-๑๖ กันยายน ๒๕๓๑ ๕-๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗

สาธารณรฐั อินเดยี
๓-๗ เมษายน ๒๕๒๘

สาธารณรฐั อนิ โดนีเซีย
๑๐-๑๕ เมษายน ๒๕๒๘

เครือรัฐออสเตรเลีย
๒๐-๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๐

การเดนิ ทางไปเยือนต่างประเทศ
ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๒๗ – ๒๕๓๑

ปี ๒๕๒๗

สหภาพโซเวยี ตรสั เซีย
๒๘ กรกฎาคม ๒๕๒๗ – ๔ สงิ หาคม ๒๕๒๗
ฯพณฯประธานรัฐสภาเยอื นสหภาพโซเวยี ตรสั เซยี อย่างเป็นทางการตามคำ�เชญิ
ของ ฯพณฯ ประธานสภาโซเวยี ตสงู สดุ

ผใู้ ห้การตอ้ นรับฝา่ ยรัสเซียไดแ้ ก่ นายแอล.แอน โตลกูนอฟ ประธานสภาสงู สดุ แห่งสหภาพ
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (ยืนใต้ธงชาติไทย) ถัดไปได้แก่ นายพิทซูสคิน สมาชิกสภา
คนสำ�คัญ ซึ่งจะร่วมเดินทางไปกับคณะตลอดรายการ ฝ่ายไทย ได้แก่ เอกอัครราชทูต
ดร.ไวกูรย์ ส�ำ รวจรวมผล และภรยิ า
18

พธิ ีวางพวงมาลา 19
ณ สุสานเลนนิ จตั รุ ัสแดง
ชมห้องประชุมสภารฐั ยูเครน

น�ำ ชมโดยประธานาธบิ ดี

สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
๔-๙ สิงหาคม ๒๕๒๗
ฯพณฯ ประธานรฐั สภา เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนโปแลนด์ อยา่ งเปน็ ทางการ
ตามคำ�เชญิ ของ ฯพณฯ ประธานรฐั สภาโปแลนด์

เข้าพบประธานรัฐสภา H.E. Mr.Stanislav Gucwa
20

วางพวงมาลาทส่ี สุ านทหารนิรนาม

ชมหอ้ งประชุมสภาโปแลนด์ ได้รบั เชญิ ให้นัง่ เกา้ อ้ปี ระธาน 21

ไตห้ วัน
วนั ท่ี ๕ - ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗

พธิ ีมอบของขวัญให้ผแู้ ทนไต้หวนั
22

วางพวงมาลาอนุสาวรยี ์ประธานาธบิ ดี เจยี งไคเชก็ ไต้หวนั 23

ปี ๒๕๒๘

สาธารณรัฐอินเดีย
๓-๗ เมษายน ๒๕๒๘

เขา้ พบประธานาธิบดสี าธารณรัฐอนิ เดยี
24

เขา้ พบนายกรฐั มนตรีสาธารณรัฐอินเดยี ฯพณฯ ราชพี คานธี

วางพวงมาลา ณ สุสานทฝ่ี ังศพ มหาตมคานธี บดิ าแหง่ ชาติอนิ เดยี
สรา้ งขน้ึ บริเวณท่เี ผาศพมหาตมคานธี

ในภาพ คนที่ ๔ จากซา้ ย คณุ พิรัช อิศรเสนา เอกอัครราชทูต, ผม-คณุ มณฑนิ ี
คณุ ภทั รพร มงคลนาวนิ ภรยิ า นาวาเอกอฬุ าร มงคลนาวนิ ทตู ฝา่ ยทหารเรอื (ยนื ดา้ นหลงั )

25

สาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย
๑๐-๑๕ เมษายน ๒๕๒๘
ประธานรัฐสภาเดินทางไปเยือนสาธารณรัฐอินโดนีเซีย อย่างเป็นทางการ
เพ่ือมอบตำ�แหน่งประธานองค์การรัฐสภาอาเซียนให้กับประธานรัฐสภา
สาธารณรฐั อินโดนีเซยี

นำ�คณะประธานรฐั สภาประเทศสมาชกิ เข้าพบประธานาธบิ ดี ซูฮารโ์ ต้
26

เขา้ ร่วมประชมุ องค์การรฐั สภาอาเซียน (AIPO) และส่งมอบต�ำ แหน่งประธานองค์การ
รฐั สภาอาเซยี น ให้กบั ประธานรัฐสภา สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี
27

สาธารณรฐั ประชาชนจีน
๒๕ กรกฎาคม ๒๕๒๘ - ๘ สงิ หาคม ๒๕๒๘

เข้าพบ ฯพณฯ เตง้ิ เสี่ยวผิง ณ เมืองตากอากาศ เปไ่ ต้เหอ เป็นกรณพี ิเศษ
ซึ่งปกติในเดอื น กรกฎาคมและสงิ หาคม เป็นเดือนทผี่ ้นู �ำ ระดับสงู ของสาธารณรฐั
28 ประชาชนจนี จะไมร่ ับรองแขก ไม่ท�ำ งาน เป็นการพกั ผอ่ นจริงๆ

คณะผู้แทนถ่ายภาพกบั ฯพณฯ เผิงเจิน ประธานรฐั สภา

คณะผแู้ ทนถา่ ยภาพหมู่กบั ฯพณฯ จา้ วจอื่ หยาง นายกรัฐมนตรี

29

สาธารณรฐั เกาหลี
๒๕ – ๒๙ สิงหาคม ๒๕๒๘

ฯพณฯ นายไช ฮงุ ลี ประธานรัฐสภา ใหก้ ารต้อนรับที่สนามบิน

เข้าเย่ียมคารวะ ฯพณฯ โช ชนิ ยอง นายกรฐั มนตรี ที่ท�ำ เนียบรฐั บาล
30

พธิ ีมอบเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณช์ นั้ สูงสดุ โดย ฯพณฯ นายชนุ ดวู าน
ประธานาธิบดีสาธารณรฐั เกาหลีเปน็ ผ้มู อบ

รับอิสรยิ าภรณ์ช้นั สงู สุดทช่ี าวตา่ งประเทศพึงจะได้รบั จาก 31
ฯพณฯ นายชนุ ดวู าน ประธานาธิบดสี าธารณรฐั เกาหลี

สาธารณรัฐฝร่ังเศส
ระหว่างวันที่ ๔-๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๘

เข้าพบ ฯพณฯ นายหลุยส์ แมรม์ าซ ประธานรัฐสภา

สนทนากบั นายลสั แซร์ นายกสภาทนายความแหง่ กรงุ ปารสี
32

เป็นประธานการเสวนาการฉลองครบรอบ ๓๐๐ ปี ความสัมพันธ์
ระหวา่ งสาธารณรฐั ฝร่งั เศส - ไทย ฯพณฯ ดร. ถนดั คอมันต์ อดีตรองนายกรฐั มนตรี

และรฐั มนตรีกระทรวงการตา่ งประเทศ ใหเ้ กียรติเขา้ รว่ มเสวนา
ฝ่ายฝรัง่ เศส ได้แก่ นายหลยุ โครช์ ประธานกรรมการ

จัดงานฉลองมิตรภาพ ไทย-ฝร่ังเศส ครบรอบ ๓๐๐ ปี ซง่ึ เคยเขา้ พบประธานรัฐสภาไทย
เมอื่ วนั ที่ ๔ มกราคม ๒๕๒๘

นายดาเมยี ง นายกเทศมนตรีเมอื งแวร์ซายส์ ให้การตอ้ นรับ ณ ศาลาเทศบาลเมือง
แวร์ซายส์ เนอ่ื งในโอกาสฉลองครบรอง ๓๐๐ ปี ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสาธารณรัฐ
ฝรัง่ เศส-ไทย โดยจัดงานเล้ียงรบั รองกอ่ นนำ�ชมพระราชวงั แวรซ์ ายส์
33

สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมัน
ระหว่างวันที่ ๙-๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘

เข้าพบ ดร.ฟิลิปป์ เจนนิงเกอ้ ร์ ประธานรฐั สภา

พบ ฯพณฯ ดร.คารล์ แคสเทนส์ อดตี ประธานาธิบดี สาธารณรฐั เยอรมนั
34 ซ่งึ เคยมาเยือนประเทศไทย

เขา้ ชมหอ้ งประชมุ สภา

35

อสิ ราเอล
ระหว่างวันท่ี ๑๓-๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘

เข้าเยยี่ มคารวะ ฯพณฯ นายชแอม เฮอร์ซอค ประธานาธิบดีอสิ ราเอล
36

ฯพณฯ นายชโลโม่ ฮลิ เลล ประธานรัฐสภาอิสราเอล น�ำ ชมหอ้ งประชมุ สภา

วางพวงมาลา 37

สาธารณรฐั อิตาลี
ระหว่างวันที่ ๑๗-๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๒๘

เข้าพบ ฯพณฯ นางจอรก์ ตี้ ประธานสภาผแู้ ทน

เขา้ พบ ฯพณฯ นายฟันฟานี่ ประธานวฒุ ิสภา (อดีตนายกรฐั มนตร)ี
38

เยี่ยมชมห้องประชมุ
39

ปี ๒๕๓๐

สาธารณรฐั อาหรับอียปิ ต์
๒๗ มถิ ุนายน – ๑ กรกฎาคม ๒๕๓๐

สนทนากบั Mr. Ali Lutfi ประธานสภาสงู (คนกลาง)
40

เข้าพบนายกรฐั มนตรี Seki

ฯพณฯ เรฟา๊ ด มากปู ประธานสภาประชาชน นำ�เย่ยี มชมหอ้ งด�ำ เนินการประชุม
41

ยูโกสลาเวีย
๑-๖ กรกฎาคม ๒๕๓๐

Mr.Rosik ประธานรัฐสภา ให้การตอ้ นรบั

42 เขา้ ชมหอ้ งประชุมสภา

วางพวงมาลา

43

เบลเยยี่ ม
๖-๘ กรกฎาคม ๒๕๓๐

เข้าพบนายกเทศมนตรกี รงุ บรัสเซลส์ ณ ห้องทำ�งาน

44 เยีย่ มชมห้องประชมุ สภา

45

ห้องประชมุ สภาเบลเยยี่ ม

สาธารณรฐั ฮงั การี
๑๓-๑๗ สงิ หาคม ๒๕๓๐

ประธานสภา Istvan Sarlos เล้ยี งรบั รอง
46

วางพวงมาลา
47

โรมาเนีย
๑๗-๒๓ สิงหาคม ๒๕๓๐

ประธานรัฐสภาน�ำ เข้าพบ ประธานาธบิ ดี ฯพณฯ นายเชาเชสตู

เขา้ พบ ฯพณฯ นาย Nicolae Giosan ประธานรฐั สภา
48


Click to View FlipBook Version