The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานบทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน 1/2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อันธิกา บุญเลิศ, 2023-03-11 13:40:39

รายงานบทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน 1/2565

รายงานบทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน 1/2565

Keywords: วิจัย

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การใช้โครงสร้างไวยากรณ์เรื่อง Present Simple VS Present Continuous โดยใช้แบบฝึก ผู้วิจัย นางเต็มดวง ชาญฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการใช้ไวยากรณ์ เรื่อง Present Simple VS Present Continuous ด้วยแบบฝึก และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Present Simple VS Present Continuous ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ แบบฝึก กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกการใช้ Present Simple VS Present Continuous ที่ผู้รายงานได้สร้างและพัฒนาขึ้น และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาอังกฤษเป็นแบบทดสอบที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นจ านวน 10 ข้อ ใช้ทดสอบทั้งก่อนและหลังการจัด การเรียนรู้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค ่าเฉลี ่ยของคะแนนทดสอบก ่อนและหลังเรียน ( ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนทดสอบก่อนและหลังเรียน ค่าเฉลี่ยระหว่าง คะแนนผลการทดสอบหลังเรียนกับคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน (t-test) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใช้แบบฝึกสูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่านักเรียนมีความเข้าใจความแตกต่างในการใช้ Present Simple VS Present Continuous และสามารถเลือกใช้ได้ถูกต้องตามสถานการ์ได้มากขึ้น โดยมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 32.5 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ก าหนดไว้


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู้ไวยากรณ์จีน เรื่อง การซ้ าค ากริยา (重叠动词) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน ผู้วิจัย นางสาวชาคริยา ธีรสุนทรวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ไวยากรณ์จีนเรื่องการซ้ า ค ากริยา (重叠动词) ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อ การจัดการจัดการเรียนรู้แบบแบบเน้นภาระงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนภาษาจีน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาจีนเบื้องต้น 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง 周末你干什么 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน 2) แบบทดสอบเพื่อวัดความรู้ เรื่อง ไวยากรณ์การซ้ าค ากริยา (动词重叠) จ านวน 1 ฉบับ ใช้ทดสอบก่อนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest) และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (̅ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที(t-Test) และการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานมีค่าเฉลี่ย ผลการเรียนหลังจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ .05 และ ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน มีความคิดเห็นโดย ภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยเห็นด้วยมากทั้ง 4 ด้าน ตามล าดับ ดังนี้ ด้านการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผล ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ และ ด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ไขปัญหาการจดจ าค าคุณศัพท์พื้นฐานของภาษาญี่ปุ่น ผู้วิจัย นายสุประจักษ์ บัวพิมพ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหาแนวทางวิธีชุดการสอนที่ให้นักเรียนสามารถ จดจ าค าคุณศัพท์พื้นฐานของภาษาญี่ปุ่นตลอดจนสามารถจ าแนกประเภทค าคุณศัพท์และน ามาใช้ใน บริบทต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนจากการน า แนวทางแก้ไขปัญหาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดฝึกทักษะการจ าแนกและการใช้ค าคุณศัพท์พื้นฐาน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ใช้ชุดฝึกทักษะการจ าแนกและการใช้ค าคุณศัพท์พื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดีขึ้นมากกว่าร้อยละ 80 ผู้เรียนสามารถจดจ าค าคุณศัพท์พื้นฐาน จ าแนกประเภทของค าคุณศัพท์ และน าไปใช้กับรูปประโยคได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนเกิดความมั่นใจและสามารถน าไปใช้ในการเรียน ภาษาญี่ปุ่นในระดับที่สูงขึ้นได้


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการสอน แบบ PPP ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวตองเตย คลังเพ็ชร กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยกรณ์ ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนและหลังการใช้วิธีสอนแบบ PPP 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนและหลังการใช้วิธีสอนแบบ PPP กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 15 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยกรณ์ภาษาอังกฤษจากการทดสอบก่อนและ หลังการใช้วิธีการสอนแบบ PPP ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 2. ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หลังการใช้วิธีการสอนแบบ PPP มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การสอนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ เรื่อง Past simple ตามแนวคิดทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ส าหรับรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาวทิพรัตน์ จวนกระจ่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยากรณ์เรื่อง past simple ตามแนวคิทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) ศึกษาความคิดเห็นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการสอนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติ วิสต์ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัด การเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยากรณ์ เรื่อง Past Simple ก่อนและหลังเรียน แบบปรนัย 40 ข้อ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อ การสอนไวยากรณ์เรื่อง Past Simple สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและการทดสอบค่าที (t- test) แบบที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยากรณ์เรื่อง Past Simple ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ 0.05 2) ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนรู้ไวยากรณ์เรื่อง Past Simple ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัค ติวิสต์ อยู่ในระดับมากที่สุด


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ ผู้วิจัย นางสาวอรีนา ศรียา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษและเปรียบเทียบ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษก่อนและหลังการเรียนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 42 คนโดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ จ านวน 4 แผน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น จ านวน 1 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าสถิติพื้นฐาน และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบคะแนนความแตกต่าง ระหว่างก่อนและหลังเรียน โดยใช้การทดสอบทีแบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent-sample t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลการเปรียบเทียบผลพัฒนาทักษะการฟังระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่า ผลสัมฤทธิ์ด้านการฟังภาษาอังกฤษ คะแนนหลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ .05 แสดงว่านักเรียนมีการพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษดีขึ้น


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การสอน เรื่อง ไวยากรณ์ กริยา+了+เวลา+กรรม โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT รายวิชา จ 33216 ภาษาจีนเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายสรวิศ เร้าอนุรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์จากรูปแบบการสอนเรื่องไวยากรณ์กริยา+ 了+เวลา+กรรม โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT รายวิชา จ33216 ภาษาจีนเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ใบความรู้เรื่อง เรื่อง ไวยากรณ์ ก ริ ย า +了+เ ว ล า + ก ร ร ม 2 ) PowerPoint เ รื่ อง ไ ว ย า ก รณ์ ก ริ ย า +了+เ ว ล า + ก ร รม 3) แบบประเมินผลการแต่งประโยค เรื่อง ไวยากรณ์ กริยา+了+เวลา+กรรม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ วิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของประชากร ผู้วิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (̅ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และน าคะแนนมาเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยของคะแนน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไวยากรณ์ กริยา+了+เวลา+กรรม โดยใช้วิธีการจัด การเรียนรู้แบบ 4 MAT รายวิชา จ33216 ภาษาจีนเบื้องต้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0 เมื่อน าคะแนนเฉลี่ยมาเปรียบเทียบเกณฑ์การวัดและประเมินผลของคะแนน อยู่ที่ร้อยละ 50 แล้ว พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์การวัดและประเมินผลของคะแนน อยู่ที่ร้อยละ 50


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การปรับปรุงการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษจากแบบฝึกการอ่านออกเสียงจาก หนังสือเรียน New World 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายฐกร เจษฎาภัทรกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อต้องการให้นักเรียนอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษมาตรฐาน ได้ดีขึ้น 2) เพื่อพัฒนาทักษะด้านการพูดออกเสียงได้ถูกต้องตามหลักภาษาศาสตร์3) เพื่อให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษดีขึ้นจากหนังสือเรียน New World 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ตัวแบบการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในด้าน การอ่านออกเสียงทางภาษาศาสตร์ส าหรับนักเรียนที่เรียนอ่อนในด้านการอ่านในระดับมัธยมต้น กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 จ านวน 30 คน โดยอาศัยเอกสารประกอบการเรียน ที่สร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบทดสอบและแบบฝึกปฏิบัติ โดยประเมินผลงาน 2 ครั้ง เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการการอ่านออกเสียง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การค านวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการปรับปรุงความสามารถทางการเรียนภาษาอังกฤษส าหรับนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษอ่อน เมื่อใช้เอกสารเสริม ประกอบการเรียนปรากฏว่า นักเรียนมีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษดีขึ้น ซึ่งเมื่อพิจารณา ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนพบว่า นักเรียนสามารถพัฒนาได้ตามระยะเวลาและจ านวน กิจกรรมที่ฝึก และเมื่อสิ้นสุดการฝึกพบว่า นักเรียนมีทักษะการปฏิบัติและทักษะการจัดองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของผลงานดีขึ้น แสดงว่าเอกสารประกอบการเรียนที่สร้างขึ้นมีส่วนช่วยให้นักเรียน มีความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษดีขึ้น


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง About Me ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 ผู้วิจัย นางสาวปิยฉัตร อ่อนค าตา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้ชุดกิจกรรม เรื่อง About Me ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารเรื่อง About Me ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2565 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) ทั้งนี้นักเรียนมีลักษณะคละความสามารถเก่ง ปานกลาง อ่อน รวมกันใน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) ชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง About Me กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 มีทั้งหมด 3 ชุด 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบทดสอบแบบปรนัยชนิด 3 ตัวเลือกจ านวน 20 ข้อ 3) แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง About Me ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 จ านวน 6 แผน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร เรื่อง About Me ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จ านวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test แบบ Dependent) ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง About Me ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.60/82.50 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างคะแนน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง About Me ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วย ชุดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เรื่อง About Me กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การใช้สื่อของจริงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาฝรั่งเศสเพื่อพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวธัญชนก ทองศิริอุบล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนภาษา ฝรั่งเศสโดยการใช้สื่อของจริง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 จ านวน 19 คน รายวิชาภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยแต่ละ แผน ใช้สื่อของจริง แบบประเมินตามสภาพจริงใช้วัดความคิดสร้างสรรค์ แบบบันทึกการสังเกตแบบ ไม่มีโครงสร้าง แบบบันทึกข้อมูลจากวีดีทัศน์ และแบบบันทึกการเขียนอนุทินของนักเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย (x̄) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า การใช้สื่อของจริงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการเรียนวิชาภาษาฝรั่งเศส รหัส ฝ31216 เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนพบว่า นักเรียนร้อยละ 50 มีความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น จาก 10 คนเป็น 19 คน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ทั้งนี้อาจเป็นเพราะแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แต่ละวงรอบได้ปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการวิเคราะห์หลักสูตรการน า ปัญหามาแก้ไข มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่น่าสนใจ มีสื่อของจริงที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหา ที่ใกล้เคียง กับสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน จะช่วยให้นักเรียนนมีความคิดสร้างสรรค์และมีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนสูงขึ้น


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนประโยค Present Perfect Tense โดยใช้แบบฝึกทักษะ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางสาวจิตรลดา เจ็กเผือกหอม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนประโยค Present Perfect Tense กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยประกอบด้วย 1) แบบฝึกหัดเกี่ยวกับ Present Perfect Tense 2) แบบทดสอบ Pre-test และ Post- test สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนทั้ง 30 คน สามารถสอบผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน และเมื่อน าผล การประเมินทั้งสองครั้งมาเปรียบเทียบกันระหว่างผลการประเมินจากการทดสอบก่อนและหลังการใช้ แบบฝึกหัดปรากฏว่า ผลการประเมินจากการสอบภายหลังการใช้แบบฝึกหัดสูงกว่าผลการประเมิน จากการสอบก่อนการใช้แบบฝึกหัดอย่างเห็นได้ชัด


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 โดยใช้เกมประกอบการสอน Baamboozle Game ผู้วิจัย นางสาวปิยธิดา เถินบุรินทร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการใช้เกมค าศัพท์ที่มีต่อการเรียนรู้ค าศัพท์ ภาษาอังกฤษ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการเรียนการสอนโดยใช้เกมค าศัพท์ภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 42 คน ซึ่งสุ่มมาแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการเรียนรู้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมประกอบการสอน Baamboozle Game ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 2) แบบทดสอบการเรียนรู้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนเรียนและ หลังเรียน จ านวน 1 ชุด 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้เกมประกอบการสอน Baamboozle Game สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เกมค าศัพท์ Baamboozle Game พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 12.64 คิดเป็นร้อยละ 63.18 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.686 ส่วนแบบทดสอบ หลังเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.27 คิดเป็นร้อยละ 71.36 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.783 2. ผลวิเคราะห์จากคะแนนของข้อสอบก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่า นักเรียนมีคะแนนใน การท าแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียน 3. นักเรียนมีความชอบเกี่ยวกับเกมที่ครูน ามาใช้ประกอบการสอนโดยรวมอยู่ในระดับมาก


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่านจับใจความส าคัญกับบทความของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6, 1/9, 1/12 และ 1/13 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิคการอ่าน แบบ SQ4R โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวดาราวรรณ โคตรพัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน จับใจความส าคัญบทความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6, 1/9, 1/12 และ 1/13 2) เปรียบเทียบ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่านจับใจความส าคัญต่อบทความก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6, 1/9, 1/12 และ 1/13 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 168 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงจากนักเรียนทุกคน ในห้องที่ผู้วิจัยเป็นผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบจ านวน 40 ข้อ เรื่อง Roasted Chicken Curry และ Chocolate Chip Cookies สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่านจับใจความส าคัญโดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค การอ่านแบบ SQ4R ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6, 1/9, 1/12 และ 1/13 โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 75.05 2. ผลการเปรียบเทียบทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่านจับใจความส าคัญของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6, 1/9, 1/12 และ 1/13 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R พบว่า การจัดการเรียนรู้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6, 1/9, 1/12 และ 1/13 มีความสามารถของทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่านจับใจความส าคัญสูงกว่าก่อนการใช้ เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค SQ4R ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/12 ผู้วิจัย นางสาวอ าภาสินี รัตนวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/12 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการอ่าน แบบ SQ4R 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/12 ที่มีต่อการจัด การเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค SQ4R กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/12 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาอังกฤษ 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบ หลังเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค SQ4R สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/12 หลังเรียนโดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R สูงกว่าก่อนเรียน โดยผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน มีค่าเฉลี่ย ̅̅ เท่ากับ 8.41 และ S.D. เท่ากับ 2.52 และหลังเรียน มีค่าคะแนนเฉลี่ย ̅̅เท่ากับ 15.33 และ S.D. เท่ากับ 2.32 สูงกว่าก่อนเรียน 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค SQ4R อยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ̅̅ เท่ากับ 4.40 และ S.D. เท่ากับ 0.16


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้สื่อการเรียนรู้ประกอบ การเรียนการสอน เรื่อง Present Simple Tense หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 She lives in Washington ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ผู้วิจัย นางสาวเบญจมาศ พิมพ์สมาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง Present Simple Tense หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 She lives in Washington ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/3 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนและก่อนเรียนเรื่อง Present Simple Tense หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 She lives in Washington ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โดย กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 จ านวน 29 คน ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) สื่อการประกอบการเรียน ก า ร ส อน เ รื่ อง Present Simple Tense ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ที่ 5 She lives in Washington 2) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 She lives in Washington รหัสวิชา อ21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง Present Simple Tense หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 She lives in Washington ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ จ านวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย (̅ ) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง Present Simple Tense หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 She lives in Washington ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 83.62 และคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 50.00 คะแนนร้อยละ ความก้าวหน้าโดยเฉลี่ยคือ 33.62


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านค าศัพท์ภาษาเกาหลีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 รายวิชารู้จักภาษาเกาหลี ก22201 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายเทิดเกียรติ เสมาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการอ่านค าศัพท์ภาษาเกาหลีโดยค าศัพท์แต่ละค า ประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระเดี่ยว สระประสม และตัวสะกดแบบเดี่ยวและแบบคู่ อันเป็นรากฐานส าคัญใน การเรียนวิชาภาษาเกาหลีในระดับที่สูงขึ้นต่อไป กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 34 คน (เลือกเรียนวิชารู้จักภาษาเกาหลี ก22201) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบการอ่านค าศัพท์ 5 ชุดค าศัพท์ โดยจัดท าเป็น 5 หมวดหมู่ค าศัพท์ที่มีลักษณะการใช้งานแบบ Pre-test และ Post-test 2) บทเพลง 곰 세 마리 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (̅ ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะห์ เปรียบเทียบคะแนนการอ่าน Pre-test และ Post-test ของนักเรียนทุกคน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีทักษะการอ่านดีขึ้นและมีความมั่นใจในการอ่านภาษาเกาหลีมากขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ย (̅ ) การอ่านออกเสียงที่ถูกต้องตามหลักการอ่านภาษาเกาหลีคือ 22.36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 25.00 คะแนน และเมื่อน าคะแนนเฉลี่ยมาเปรียบเทียบเกณฑ์การวัดและประเมินผลของคะแนนอยู่ที่ร้อยละ 80 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.98


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 โดยใช้แบบฝึกเสริม ทักษะการออกเสียงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางวราลักษณ์ เก่งเขตรกิจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการเรียนรู้ โดยการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 2) พัฒนาความสามารถในการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 (อ23101) จ านวน 563 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 และ 3/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 90 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกเสริมทักษะการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างตามตัวแปรอิสระใช้การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบทางเดียว (One- Way Analysis of Variance) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การออกเสียงสูงกว่าก่อนใช้แบบ ฝึกเสริมทักษะการออกเสียงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. คะแนนค่าเฉลี่ยความสามารถในการออกเสียง -ed หลังค ากริยาช่องที่ 2 และ 3 จากการทดสอบ ก่อนเรียนคือ 8.07 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 40.35 S.D เท่ากับ 3.74 และมีคะแนนหลังเรียน คือ 17.42 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.10 S.D เท่ากับ 2.83 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความสามารถในการออกเสียง -ed หลังค ากริยา ช่องที่ 2 และ 3 สูงขึ้น


220 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 16 80.00 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 5.00 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 3 15.00 รวม 20 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 80% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5% เจตคติ/ความพึงพอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 15% กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน


221 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 10 50 2. เชิงคุณภาพ 10 50 รวม 20 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 10 เชิงคุณภาพ, 10 รวม, 20 เชิงปริมาณ, 50 เชิงคุณภาพ, 50 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)


222 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 20 15 75.00 2. P (Process) 20 5 25.00 3. A (Attitude) 20 1 5.00 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 15 P (Process), 5 A (Attitude), 1 รวม, 20 K (Knowledge), 75 P (Process), 25 A (Attitude), 5 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)


223 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 2 10.00 2. วิจัยฉบับย่อ 10 50.00 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 8 40.00 รวม 20 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 2 วิจัยฉบับย่อ, 10 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 8 รวม, 20 วิจัยหน้าเดียว, 10 วิจัยฉบับย่อ, 50 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 40 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)


รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น งานแนะแนว ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง เจตคติที่มีต่อวินัยในตนเองด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางนริสา พัฒนรัฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ งานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติที่มีต่อวินัยในตนเองด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า เจตคติที่มีต่อวินัยในตนเองด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่อความส าเร็จทางการเรียนสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อมีการแข่งขัน นักเรียนจะพยายามอย่างเต็มความสามารถเพราะต้องการเป็นผู้ชนะ นักเรียนที่ท าบางครั้ง มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 48.72% 2. นักเรียนอยากประสบความส าเร็จใน การเรียน นักเรียนที่ท าประจ ามีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 71.79% 3. ในการเรียนนักเรียนทุ่มเทอย่าง หนักเพื่อให้ได้คะแนนดีนักเรียนที่ท าบางครั้ง มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 74.36% 4. นักเรียนปฏิบัติ ตามคติประจ าใจที่ว่า “ความพยายามอยู่ที่ไหน ความส าเร็จอยู่ที่นั่น” นักเรียนที่ท าบางครั้ง มีค่าร้อยละ มากที่สุด คิดเป็น 64.10% 5. ในวิชาใดก็ตามเวลาสอบนักเรียนจะพยายามอย่างเต็มที่ในการสอบ นักเรียนที่ท าประจ า มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 61.54% 6. นักเรียนเตรียมวางแผนการเรียนตั้งแต่เปิด ภาคเรียนในวันแรกเพื่อจะได้เรียนดีที่สุด นักเรียนที่ท าบางครั้ง มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 66.67% 7. นักเรียนมีความพยายามอย่างยิ่งที่จะท าอะไรให้ดีอย่างที่ตั้งใจไว้นักเรียนที่ท าประจ า มีค่าร้อยละ มากที่สุด คิดเป็น 64.10% 8. ถ้าผลการเรียนไม่ดีนักเรียนใช้ความพยายามมากยิ่งขึ้น นักเรียนที่ท าประจ า มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 58.97% 9. ในบทเรียนที่ยาก ๆ นักเรียนจะอ่านซ้ าหลาย ๆ ครั้ง จนเข้าใจแล้วจึงผ่านไป นักเรียนที่ท าบางครั้ง มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 48.72% และ 10. นักเรียน พยายามหาความรู้เพิ่มเติมจากเอกสารหรือต าราในห้องสมุด เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับการเรียนนักเรียนที่ท า บางครั้ง มีค่าร้อยละมากที่สุด คิดเป็น 51.28%


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/13 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางแสงจันทร์ อาภาวีระ กลุ่มสาระการเรียนรู้ งานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/13 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามความมีวินัย ความรับผิดชอบและความสนใจการเรียน จ านวน 10 ข้อ โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อยที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/13 มีความกระตือรือร้น เอาใจใส่ต่อการเรียนและมีวินัยและ ความรับผิดชอบมากขึ้น โดยสรุปได้ดังนี้1. นักเรียนมักน างานวิชาอื่นมาท าขณะที่ก าลังเรียนวิชาหนึ่ง นักเรียนไม่เคย ท ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 53.49 2. นักเรียนพูดคุยและเล่นเพื่อนในขณะที่ครูสอน นักเรียนที่ท าเป็นบางครั้ง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 46.51 3. นักเรียนส่งงานและการบ้านตรงเวลาที่ครูก าหนด นักเรียนที่ไม่เคยท ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 65.12 4. นักเรียนนอนหลับในห้องเรียนขณะชั่วโมงเรียน นักเรียนที่ไม่เคยท ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95.35 5. นักเรียนไม่ท าการบ้านและลอกการบ้านเพื่อน นักเรียนที่ไม่เคยท ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 88.37 6. นักเรียนท าผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ นักเรียนที่ท าเป็นประจ า มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.69 7. นักเรียน มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย นักเรียนที่ท าเป็นประจ ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.02 8. นักเรียนมา เรียนตรงเวลาและตั้งใจเรียน นักเรียนที่ท าเป็นประจ ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.70 9. นักเรียนรู้จักวางแผนและ เตรียมพร้อมที่จะศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย นักเรียนที่ท าเป็นประจ ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 76.74 และ 8. นักเรียน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการอ่านหนังสือ นักเรียนที่ท าเป็นประจ ามากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 79.06


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวจิตรานันท์ จันทิมา กลุ่มสาระการเรียนรู้ งานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการศึกษาต่อของนักเรียนมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 7 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน โดยวิธีการเลือกสุ่มแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ปัจจัยด้านสถานศึกษา ปัจจัยด้านหลักสูตร และปัจจัยด้านครอบครัว อยู่ในระดับมากที่สุด


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาการเตรียมความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาระบบ TCAS ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางปัญจพร อัศวแสงสกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ งานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาการเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล และ 2. เปรียบเทียบการเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามตัวแปรผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวนทั้งหมด 42 คน ซึ่งใช้เป็น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการเข้า ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way Analysis of Variance) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล มีการเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา อยู่ในระดับมาก 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน มีการเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ


245 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนงานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1 25.00 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 25.00 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 2 50.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 0 0.00 รวม 4 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนงานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 25% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 25% เจตคติ/ความพึงพอใจ 50% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 0% งานแนะแนว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน


246 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน งานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 1 25.00 2. เชิงคุณภาพ 3 75.00 รวม 4 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน งานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 1 เชิงคุณภาพ, 3 รวม, 4 เชิงปริมาณ, 25 เชิงคุณภาพ, 75 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม งานแนะแนว จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)


247 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนงานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 4 0 0.00 2. P (Process) 4 0 0.00 3. A (Attitude) 4 4 100 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนงานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 0 P (Process), 0 K (Knowledge), 0 P (Process), 0 A (Attitude), 4 รวม, 4 A (Attitude), 100 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม งานแนะแนว จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)


248 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนงานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 0 0.00 2. วิจัยฉบับย่อ 2 50.00 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 2 50.00 รวม 4 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนงานแนะแนว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 0 วิจัยฉบับย่อ, 2 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 2 วิจัยหน้าเดียว, 0 รวม, 4 วิจัยฉบับย่อ, 50 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 50 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม งานแนะแนว จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)


รายชื่องานวิจัยจากหน่วยงานภายนอ เลขหนังสือ วัน เดือน ปี ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง สาขา ที่ อว ๗๘.๐๒ (ทพ) / ๐๒๓๒๔ ๒๔ พ.ค. ๒๕๖๕ นางสาวปาล์มวีนัฐ กิ่งทอง นักศึกษาบัณฑิต วิทยาลัย หลักสูตร พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต วิชาการพยาบาลเด็ก มห ที่ อว ๐๖๓๓.๐๙/ ว ๕๔๐ ๘ มิ.ย. ๒๕๖๕ นางสาวสุกัญญา สุขสมบูรณ์ นักศึกษาหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต การบริหารการศึกษา ส า งา รา ที่ ศธ ๐๔๒๙๐ /ว๓๙๘๒ ๘ ส.ค. ๒๕๖๕ นางสาวจันทรวิมล วงศ์แดง นักศึกษาปริญญาโท การบริหารการศึกษา คณ มห สว


ก ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ หน่วยงาน ชื่องานวิจัย ประเภทงานวิจัย ผู้ตอบ แบบสอบถาม หาวิทยาลัยมหิดล ปัจจัยท านายพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใน กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ - นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย (แบบสอบถาม รูปแบบจัดพิมพ์) านักส่งเสริมวิชาการและ นทะเบียน มหาวิทยาลัย ชภัฏนครปฐม การพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ดิจิทัล สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน วิทยานิพนธ์ - ผู้อ านวยการโรงเรียน - รองผู้อ านวยการโรงเรียน - หัวหน้ากลุ่มบริหารงาน - หัวหน้ากลุ่มสาระ การเรียนรู้ (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์) ณะครุศาสตร์ หาวิทยาลัยราชภัฏ วนสุนันทา ภาวะผู้น าเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน วิทยานิพนธ์ - ผู้อ านวยการโรงเรียน - รองผู้อ านวยการโรงเรียน - หัวหน้างานวิชาการ - ครูผู้สอน (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์)


เลขหนังสือ วัน เดือน ปี ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง สาขา ที่ อว ๖๕๐๒.๐๖๐ ๑/ว. ๑๕๗๑ ๑๕ ส.ค. ๒๕๖๕ นางสาวทองวาท ราชชารี พนักงานมหาวิทยาลัย ต าแหน่ง นักวิเคราะห์ นโยบายและแผน ช านาญการ หัวหน้า งานนโยบายและแผน - คณ แล มห เก ก า ที่ ศธ ๐๔๒๙๐ /ว๔๖๕๖ ๕ ก.ย. ๒๕๖๕ นางสาววิภาวี อนุจาผัด นักศึกษาปริญญาโท การบริหารการศึกษา คณ มห สว ที่ ศธ ๐๔๒๙๐/ ว๕๐๗๗ ๒๒ ก.ย. ๒๕๖๕ นางสาวภควรรณ ห่อคนดี นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา หลักสูตรครุศาสตร มหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา คณ มห สว


หน่วยงาน ชื่องานวิจัย ประเภทงานวิจัย ผู้ตอบ แบบสอบถาม ณะศึกษาศาสตร์ ละพัฒนศาสตร์ หาวิทยาลัย ษตรศาสตร์ วิทยาเขต าแพงแสน ความต้องการศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาวิชา การจัดการเรียนรู้ (วิชาเอกดนตรีศึกษา และ วิชาเอกปฐมวัยศึกษา) คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน วิจัยสถาบัน - นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์) ณะครุศาสตร์ หาวิทยาลัยราชภัฏ วนสุนันทา ปัจจัยของการบริหารระบบสารสนเทศที่ส่งผลต่อ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา วิทยานิพนธ์ - ผู้อ านวยการโรงเรียน - รองผู้อ านวยการโรงเรียน - หัวหน้างานประกัน คุณภาพภายใน - ครูผู้สอน (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์) ณะครุศาสตร์ หาวิทยาลัยราชภัฏ วนสุนันทา ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ ๒๑ ของผู้บริหาร สถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงาน วิชาการในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ วิทยานิพนธ์ - ผู้อ านวยการโรงเรียน - รองผู้อ านวยการโรงเรียน - หัวหน้ากลุ่มบริหารงาน วิชาการ - ครูผู้สอน (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์)


เลขหนังสือ วัน เดือน ปี ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง สาขา ที่ อว ๖๔.๖ /๔๖๘๐ ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๕ นายณัฐสุชน บัวมีธูป นิสิตปริญญาโท วิชาสุขศึกษา และพลศึกษา ภา กา จุฬ ที่ ศธ ๐๔๒๙๐ /ว๕๓๗๕ ๕ ต.ค. ๒๕๖๕ นายรุสมัน มะนอ นักศึกษา ปริญญาโท การบริหารการศึกษา คณ มห ที่ ศธ ๐๔๒๙๐ /ว๕๖๙๙ ๒๕ ต.ค. ๒๕๖๕ นายณัฐพร ปุ๋ยรักษา นักศึกษา ปริญญาโท การบริหารการศึกษา คณ มห รา


หน่วยงาน ชื่องานวิจัย ประเภทงานวิจัย ผู้ตอบ แบบสอบถาม าควิชาหลักสูตรและ ารสอน คณะครุศาสตร์ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การพัฒนาหลักสูตรกรีฑาตามหลักการเสริมสร้าง แรงจูงใจและเจตคติของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น วิทยานิพนธ์ - ผู้อ านวยการโรงเรียน - รองผู้อ านวยการโรงเรียน - ครูพลศึกษา - นักเรียน ม.ต้น (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์) ณะศึกษาศาสตร์ หาวิทยาลัยรามค าแหง ภาวะผู้น าดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาตาม ความคิดเห็นของครู สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ การค้นคว้าอิสระ (IS) - ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์) ณะศึกษาศาสตร์ หาวิทยาลัยมหามกุฏ ชวิทยาลัย คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศของโรงเรียน มาตรฐานสากล สังกัดส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ วิทยานิพนธ์ - ผู้บริหารสถานศึกษา หรือ ผู้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับ การบริหารสถานศึกษา - หัวหน้างาน หรือครูที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับงาน โรงเรียนมาตรฐานสากล - ครูผู้สอน (แบบสอบถาม รูปแบบออนไลน์)


256 สรุปผลการรวบรวมข้อมูลงานวิจัยของหน่วยงานภายนอก ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ********************************** 1. ระดับการศึกษาของผู้วิจัย ระดับการศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ (%) ๑. ปริญญาตรี 0 0.00 ๒. ปริญญาโท 7 77.77 ๓. ปริญญาเอก 1 11.11 ๔. อื่น ๆ 1 11.11 รวม 9 100 0 20 40 60 80 100 ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก อื่น ๆ แผนภูมิที่ 1 ระดับการศึกษาของผู้วิจัย จ านวนผู้วิจัย ร้อยละ


257 2. คณะศึกษาของผู้วิจัย คณะศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ (%) ๑. ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 7 77.77 ๒. พยาบาลศาสตร์ 1 11.11 ๓. อื่น ๆ 1 11.11 รวม 9 100 0 20 40 60 80 100 120 ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ อื่น ๆ รวม แผนภูมิที่ 2 คณะศึกษาของผู้วิจัย จ านวนคน ร้อยละ


258 3. สาขาการศึกษาของผู้วิจัย สาขาการศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ (%) 1. การบริหารการศึกษา 6 66.66 2. วิชาการพยาบาลเด็ก 1 11.11 3. วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 1 11.11 4. อื่น ๆ (วิจัยสถาบัน) 1 11.11 รวม 9 100 0 20 40 60 80 100 120 การบริหารการศึกษา วิชาการพยาบาลเด็ก วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา อื่น ๆ รวม แผนภูมิที่ 3 สาขาการศึกษาของผู้วิจัย จ านวนคน ร้อยละ


259 4. สถาบันการศึกษา / หน่วยงานของผู้วิจัย 0 20 40 60 80 100 120 มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวม แผนภูมิที่ 4 สถาบันการศึกษา / หน่วยงานของผู้วิจัย ร้อยละ (%) จ านวน (คน)


260 สถาบันการศึกษา/หน่วยงานของผู้วิจัย จ านวน (คน) ร้อยละ (%) 1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 11.11 2. มหาวิทยาลัยมหิดล 1 11.11 3. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1 11.11 4. มหาวิทยาลัยรามค าแหง 1 11.11 5. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 1 11.11 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 1 11.11 7. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 3 33.33 8. อื่น ๆ 0 0.00 รวม 9 100


261 5. ประเภทงานวิจัย ประเภทงานวิจัย จ านวน (คน) ร้อยละ (%) 1. ดุษฎีนิพนธ์ 0 0.00 2. วิทยานิพนธ์ 7 77.77 3. การค้นคว้าอิสระ (IS) 1 11.11 4. วิจัยสถาบัน 1 11.11 5. โครงการวิจัย 0 0.00 6. การวิจัย 0 0.00 7. สารนิพนธ์ 0 0.00 8. อื่น ๆ 0 0.00 รวม 9 100 0 20 40 60 80 100 120 1. ดุษฎีนิพนธ์ 2. วิทยานิพนธ์ 3. การค้นคว้า อิสระ (IS) 4. วิจัยสถาบัน 5. โครงการวิจัย 6. การวิจัย 7. สารนิพนธ์ 8. อื่น ๆ รวม แผนภูมิที่ 5 ประเภทงานวิจัย จ านวน (คน) ร้อยละ (%)


262 6. รูปแบบการเก็บข้อมูลงานวิจัย รูปแบบการเก็บข้อมูลงานวิจัย จ านวน (คน) ร้อยละ (%) ๑. แบบสอบถามงานวิจัยรูปแบบจัดพิมพ์(ONSITE) 1 11.11 ๒. แบบสอบถามงานวิจัยรูปแบบออนไลน์ (ONLINE) 8 88.88 รวม 9 100 0 20 40 60 80 100 120 แบบสอบถามงานวิจัยรูปแบบจัดพิมพ์ (ONSITE) แบบสอบถามงานวิจัยรูปแบบออนไลน์ (ONLINE) รวม แผนภูมิที่ 6 รูปแบบการเก็บข้อมูลงานวิจัย จ านวน (คน) ร้อยละ (%)


263 ๗. กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูล / ผู้ตอบแบบสอบถามงานวิจัย 0 20 40 60 80 100 120 1. ผู้อ านวยการโรงเรียน 2. รองผู้อ านวยการโรงเรียน 3. ครูผู้สอน 4. นักเรียน 5. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 6. หัวหน้ากลุ่มบริหารงาน 7. อื่น ๆ รวม แผนภูมิที่ 7 กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูล / ผู้ตอบแบบสอบถามงานวิจัย ร้อยละ (%) จ านวน (กลุ่มตัวอย่าง)


264 กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูล / ผู้ตอบแบบสอบถามงานวิจัย จ านวน (กลุ่มตัวอย่าง) ร้อยละ (%) 1. ผู้อ านวยการโรงเรียน 6 66.66 2. รองผู้อ านวยการโรงเรียน 5 55.55 3. ครูผู้สอน 6 66.66 4. นักเรียน 3 33.33 5. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 11.11 6. หัวหน้ากลุ่มบริหารงาน 5 55.55 7. อื่น ๆ 0 0.00 รวม 26 100


Click to View FlipBook Version