2 โรงเรยีนนวมนิทราชนิูทศิ สตรวีทิยา พทุธมณฑล 70 หมู่ 2 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ 10170 โทรศพัท์0 2441 3593 E-Mail:[email protected] http://www.satriwit3.ac.th โรงเรยีนนวมนิทราชนิทูศิ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้ภ รู้ าษาไทย ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงท านองสรภัญญะบทนมัสการมาตาปิตุคุณและ บทนมัสการอาจาริยคุณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้วิจัย นางสาวอัญชสา ยิ้มถนอม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงท านองสรภัญญะ บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และบทนมัสการอาจาริยคุณ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล และฝึกฝนท าความเข้าใจในเรื่องการออกเสียง ท านองสรภัญญะที่ถูกต้อง ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ครูให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ฝึกการอ่านท านองสรภัญญะ บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และบทนมัสการอาจาริยคุณ ก่อนเริ่มการเรียนในแต่ละคาบเป็นเวลา 10 นาที เพื่อสังเกตพัฒนา การของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลสถิติพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า จากการด าเนินการแก้ไขปัญหานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล พบว่าสาเหตุในการอ่านออกเสียงท านองสรภัญญะ บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และบทนมัสการอาจาริยคุณ เนื่องจากนักเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในการอ่านออกเสียงที่ ถูกต้อง และไม่ได้มีการฝึกฝนมาแต่เดิม รวมทั้ง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ไม่มีความสนใจเป็น พิเศษ เมื่อได้แก้ไขปัญหาโดยครูช่วยฝึกฝน และแนะแนวทางการอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จึงมีความมั่นใจในการอ่านออกเสียง และพร้อมที่จะเรียนรู้ รวมทั้งยังตระหนักถึง คุณค่าที่บรรพบุรุษได้สืบทอดกันมาเป็นเวลาช้านาน จึงท าให้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีพัฒนาการและอ่านออกเสียง จังหวะ ความชัดเจนของค าควบกล้ าได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ด้วยบทเรียน ส าเร็จรูป ผู้วิจัย นางสาวรัชพร วิทยประพัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาไทยของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ด้วยบทเรียนส าเร็จรูป กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนที่ก าลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแต่งโคลงสี่สุภาพ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คาคะแนนเฉลี่ยเลขคณิต ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ท างก า รเ รียนวิช าภ าษ าไทย ของนักเ รียนชั้นมั ธยมศึกษ าปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล ด้วยบทเรียนส าเร็จรูปมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ เรื่อง กลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้าด้วยกระบวน การเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5SETPs) ร่วมกับสื่อประสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ผู้วิจัย นางจันทร์เจ้า เถียรทวี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์เรื่องกลอนดอกสร้อย ร าพึงในป่าช้าด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5SETPs)ร่วมกับสื่อประสม ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 1 ห้องเรียนจ านวน 45 คน ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simplerandom sampling) เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ กระบวนการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5SETPs)ร่วมกับสื่อประสม รายวิชา ภาษาไทย 3 ท22101 เรื่องกลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องกลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์เรื่องกลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้าด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5SETPs)ร่วมกับสื่อประสม ก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 6.29 และ หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 11.93 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (Post-test) สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียน (Pretest) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเขียนสะกดค าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 ผู้วิจัย นางทานตะวัน ศิรินพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเขียนสะกดค าชองนักเรียนให้สามารถเขียน สะกดค าได้ถูกต้อง โดยใช้แบบฝึกการเขียนสะกดค าส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2565 จ านวน 17 คน มีการทดสอบก่อนการใช้ แบบฝึกการเขียนสะกดค า ทดสอบระหว่างการใช้แบบฝึกการเขียนสะกดค า และทดสอบหลังการใช้แบบฝึกการเขียนสะกดค า ผลการศึกษาพบว่าการใช้แบบฝึกการเขียนสะกดค า ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 มีความสามารถในการเขียนสะกดค าได้ดีขึ้น กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 /8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2565 จ านวน 17 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินเขียนสะกด ค าเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบฝึกเขียน สะกดค า 10 ชุด ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ เกณฑ์การประเมินคือ นักเรียนสามารถเขียนสะกดค าได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 แนวทาง การวิเคราะห์ จัดล าดับความถี่ และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนสามารถเขียนสะกดค าได้ถูกต้องมากขึ้นเป็นที่น่าพอใจ อีกทั้งมีความสนใจความ กระตือรือร้นและเรียนอย่างมีความสุข โดยนักเรียนจ านวน 17 คน ได้ใช้แบบฝึกเขียนสะกดค า 10 ชุด บันทึกผลในการพัฒนาในแต่ละแบบฝึกมีนักเรียนบางคนไม่ผ่าน จึงได้ท าการสอนเสริมจนผ่าน เกณฑ์ที่ก าหนดแล้วท าการทดสอบผลปรากฏว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ได้ค่าเฉลี่ย (̅) = 25.35 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 1.69
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติในวรรณคดีเรื่อง บทละครพูดค าฉันท์ มัทนะพาธา เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเขียนสรุปความ ตามแนวการสอนภาษาแบบองค์รวม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางศิริพร มังกรแก้ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการเขียนสรุปความ โดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมติในวรรณคดี บทละครพูดค าฉันท์ มัทนะพาธา ตามแนวการสอนภาษาแบบองค์รวม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 45 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกกแบบเจาะจง (ห้องที่ผู้วิจัยสอน) เครื่องมือที่ใช้วิจัย ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง จ านวน 6 คาบเรียนและแบบทดสอบวัดการเขียนสรุปความทั้งก่อนและ หลังเรียนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษาแบบองค์รวมที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย จ านวน 20 ข้อ ใช้เวลาท า 30 นาที สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (̅) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนทดสอบก่อนการเรียนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษา แบบองค์รวม ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ย 9.93 หลังจากการเรียนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอน ภาษาแบบองค์รวม ผู้เรียนมีมีค่าเฉลี่ย 12.93 ค่าพัฒนา 3.00 ดังนั้นผู้วิจัยสามารถสรุปได้ว่า ผู้เรียน มีคะแนนการเขียนสรุปความหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่าการเรียนโดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษาแบบองค์รวมท าให้ผู้เรียนมีคะแนนการเรียนสูงขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาและการพัฒนาด้านการอ่านและการพูดอย่างมีทักษะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ผู้วิจัย นายสมโภช ไพศาลสมบัติรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาด้านการอ่านและการพูดอย่างมีทักษะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนเรียนและ หลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 29 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับสลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบ มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน 10.97
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การใช้ภาพเป็นสื่อในการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการพัฒนาในด้านการเขียน ผู้วิจัย นายอธิวัฒน์ เงินสมบัติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง 2) อ่านแล้วเกิด ความสนุกสนานเพลิดเพลินและเกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของภาษา 3) ช่วยเสริมสร้างทักษะและนิสัย รักการอ่าน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ประกอบด้วย 1) หนังสือที่นักเรียนสนใจ 2) แบบประเมินผลหนังสือส่งเสริมการอ่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการศึกษาและวิเคราะห์การประเมินความคิดเห็นแสดงให้เห็นว่าโดยรวมอยู่ในระดับ เหมาะสมมาก 2) โดยระดับคะแนนเฉลี่ย (̅) ได้ 4.20 และผลการหาประสิทธิภาพของหนังสือส่งเสริม การอ่านหลังจากนักเรียนได้ท าแบบฝึกหัดท้ายบทโดยคิดเฉลี่ยเป็นร้อยละ 84.67 โดยมีคะแนนเฉลี่ย 64.23
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาการคิดวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดีรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก โดยใช้ทฤษฎีหมวก 6 ใบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย นางสาวอมราภรณ์ ทิพชัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการคิดวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดีรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก โดยใช้ทฤษฎีหมวก 6 ใบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยมี กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 6 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 168 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการเลือก แบบเจาะจง (ห้องที่ผู้วิจัยสอน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนกทก (แบบหมวก 6 ใบ) สื่อการจัดการเรียนรู้และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนกทก ผู้วิจัยใช้สถิตพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (̅) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยสรุปว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีหมวก 6 ใบ "Six Thinking Hats" มีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.77
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เรื่อง โคลงโลกนิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกการวิเคราะห์คุณค่า ด้านวรรณศิลป์ ผู้วิจัย นางสาวปิยนันท์ กุลมาตย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยส าหรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ 2) เพื่อพัฒนาแบบฝึก ในรายวิชาภาษาไทยส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการเรียนวรรณคดีเรื่องโคลง โลกนิติ2) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของผลการเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ปีการศึกษา 2565 การวิจัย ครั้งนี้เป็นการทดลองใช้แบบฝึกการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์กับประชากร กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ แบบฝึกการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จ านวน 5 แบบฝึก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแล้วน ามาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม แบบที–เทส (t-test) สรุปและอภิปรายผล ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ครั้งนี้ พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่าง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์สูงขึ้น 2) แบบฝึก ในรายวิชาภาษาไทยส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการวิเคราะห์คุณค่า ด้านวรรณศิลป์ใช้พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการวิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ได้ในระดับดี 3) ความก้าวหน้าทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนโดย ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนและก่อนเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.06
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง ค าประสมและค าซ้อน โดยใช้ แบบฝึกพัฒนาทักษะส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปัทมวรรณ โชติกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องค าประสมและค าซ้อน โดยใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.1/2, 1/4 และ 1/14 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 25 คน ได้มาแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดแบบฝึกค าประสม ค าซ้อน จ านวน 8 กิจกรรม และแบบทดสอบก่อนเรียน –หลังเรียน จ านวน 10 ข้อ ในการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองครั้งนี้ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง ค าประสมและค าซ้อน โดยใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ครั้งนี้พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ที่ใช้แบบฝึกค าประสม ค าซ้อน มีผลการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.22 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.27 ความก้าวหน้าทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนโดยผลสัมฤทธิ์หลังเรียนละก่อนเรียนมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่พบระดับ 0.05
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแต่งค าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ โดยใช้แบบฝึกส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 ผู้วิจัย นางสาวจุฑาทิพย์ และล้ าเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยส าหรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 เรื่องการแต่งค าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ 2) เพื่อพัฒนา แบบฝึกในรายวิชาภาษาไทยส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 เรื่องการแต่งค าประพันธ์ ประเภทกลอนสุภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย โดยใช้แบบฝึกส าหรับการแต่งค า ประพันธ์กับประชากร จ านวน 39 คน กลุ่มตัวอย่าง 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แบบฝึกการแต่งค าประพันธ์จ านวน 5 แบบฝึก และแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การแต่งค าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแล้วน ามาวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ สรุปและอภิปรายผล ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแต่งค าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ โดยใช้แบบฝึกการแต่งค าประพันธ์ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 ครั้งนี้ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแต่งค าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพสูงขึ้น โดยมีคะแนน แบบทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยรวม 7.10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 35.5 และคะแนน แบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยรวม 15.80 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 79 ซึ่งคะแนนเฉลี่ย รวมเพิ่มขึ้นจากเดิม 8.70 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.5
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง ศึกษาผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการเรียนแบบ สืบเส าะห าค ว ามรู้(Inquiry Method : 5E) ใน ว ร รณคดีไทย เ รื่อง ส ามก๊ก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 ผู้วิจัย นางสาวจีรวรรณ์ เข็มกลัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความสามารถการคิดอย่าง มีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนด้วยการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ด้วยการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5/10 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 ที่มีต่อการเรียนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 จ านวน 42 คน ของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้แผนการทดลองแบบศึกษากลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) แบบทดสอบวัดความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและ การทดสอบค่าทีแบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า คะแนนความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนของนักเรียนที่จัดการเรียนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่จัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 มีความคิดเห็นต่อการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) อยู่ในระดับดีมาก
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีเรื่อง พระบรมราโชวาท โดยใช้การจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวอันธิกา บุญเลิศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดี เรื่องพระบรมราโชวาท โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล และ 2) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/15 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 17 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีเรื่องพระบรมราโชวาท โดยใช้การจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค CIRC ภาพรวม อยู่ในระดับมาก (̅= 4.46, S.D. = 0.79)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความส าคัญโดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R วิชาภาษาไทย 5 ท23101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาวปาริจิตร ไพเราะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านจับใจความส าคัญ โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ4R รายวิชาภาษาไทย5 ท23101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่สามารถน าไปใช้จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบ ความสามารถด้านการอ่านจับใจความส าคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค SQ4R ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ซึ่งได้จาก การเลือกแบบเจาะจง ( Purposive Selection ) มา 1 ห้องเรียน จ านวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การอ่านจับใจความส าคัญด้วยการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ เทคนิค SQ4R และ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านจับใจความส าคัญ ใช้ทดสอบ ก่อนการจัดการเรียนรู้ (Pre-test) และ หลังการจัดการเรียนรู้ (Post-test) แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค SQ4R วิเคราะห์โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า ผู้วิจัยสามารถพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านจับใจความส าคัญ โดยใช้เทคนิค การอ่านแบบ SQ4R รายวิชาภาษาไทย5 ท23101 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้และ เมื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความส าคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4 ก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่องการอ่านจับใจความส าคัญโดยใช้เทคนิค SQ4R พบว่า คะแนนสอบ หลังเรียนของนักเรียนสูงขึ้นมากกว่าก่อนเรียนร้อยละ 91.6 อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็น ไปตามสมมติฐาน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า โดยใช้แบบฝึก ทักษะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวสุพัชชา เครือฉิม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องกลอนดอกสร้อยร าพึง ในป่าช้าโดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 โรงเรียนนวมินทรา ชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน โดยใช้วิธีเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกทักษะกลอนดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า จ านวน 6 กิจกรรม และแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน จ านวน 20 ข้อ ผู้วิจัยได้น าคะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน มาวิเคราะห์เพื่อตอบ ค าถามการวิจัยโดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที(t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 โดยใช้แบบฝึกทักษะกลอน ดอกสร้อยร าพึงในป่าช้า มีผลการทดสอบก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 8.51 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.52 และผลการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 15.98 มีผลการพัฒนาการเฉลี่ย 7.47 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.31 แสดงว่าคะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนน การทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้น การใช้แบบฝึกเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์มีประสิทธิภาพท าให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบทของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาวอารียา เสาะสุวรรณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อแก้ปัญหาการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบทที่ไม่ถูกต้องโดย ใช้แบบฝึกการเขียนสะกดค า และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเขียนสะกดค าก่อนและ หลังการเรียนรู้จากแบบฝึกการเขียนสะกดค า โดยใช้แบบทดสอบทักษะการเขียนสะกดค า กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การเขียนสะกด ค าศัพท์ท้ายบท แบบฝึกทักษะจ านวน 5 แบบฝึก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบทชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 5 แบบฝึก มีประสิทธิภาพ 96.32/75 หมายถึงนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบฝึกทักษะการเขียนสะกด ค าศัพท์ท้ายบท ทั้ง 5 แบบฝึก คิดเป็นร้อยละ 96.32 และได้คะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบท คิดเป็นร้อยละ 89.85 แสดงว่าการจัด กิจกรรมพัฒนาทักษะการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบท ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐาน 75/75 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนคิดเป็น ร้อยละ 89.85 คะแนนทดสอบก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 58.00 แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้โดย ใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบท ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการเขียนสะกดค าศัพท์ท้ายบทมีการพัฒนาขึ้นร้อยละ 31.85
22 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 14 87.5 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 6.25 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 1 6.25 รวม 16 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 88% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6% เจตคติ/ความพึงพอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 6% กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน
23 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 10 62.50 2. เชิงคุณภาพ 6 37.50 รวม 16 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 10 เชิงคุณภาพ, 6 รวม, 16 เชิงปริมาณ, 62.5 เชิงคุณภาพ, 37.5 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
24 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 16 9 56.25 2. P (Process) 16 13 81.25 3. A (Attitude) 16 4 25.00 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 9 P (Process), 13 A (Attitude), 4 รวม, 16 K (Knowledge), 56.25 P (Process), 81.25 A (Attitude), 25 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
25 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 3 18.75 2. วิจัยฉบับย่อ 5 31.25 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 8 50.00 รวม 16 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 3 วิจัยฉบับย่อ, 5 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 8 รวม, 16 วิจัยหน้าเดียว, 18.75 วิจัยฉบับย่อ, 31.25 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 50 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้ค รู้ ณิตณิศาสตร์ ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค32201 เรื่อง การแก้สมการและ อสมการลอการิทึมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 ที่จัดการเรียนรู้แบบ กลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) ผู้วิจัย นางภวรัตน ภัทรผลพูล กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการแก้ สมการและอสมการลอการิทึมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบ กลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัด การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้สมการและอสมการลอการิทึม ที่จัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้สมการและ อสมการลอการิทึม และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อวิธีการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ การทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการแก้สมการและอสมการลอการิทึมหลังเรียนสูงกว่า ก่อนการเรียนรู้แบบแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค Gi (Group Investigation) โดยภาพรวมนักเรียนพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านบรรยากาศใน การเรียนรู้ และด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การสอนเสริมความรู้เรื่อง การประยุกต์ของอนุพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ที่สอบไม่ผ่านผลการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ผู้วิจัย นายธราวุฒ ภัทรผลพูล กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง การประยุกต์ของอนุพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สอบไม่ผ่านผลการเรียนรู้2) เพื่อศึกษาความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนเสริมความรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สอบไม่ผ่านผลการเรียนรู้โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่ก าลัง ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประยุกต์ของอนุพันธ์และแบบสอบถามความ พึงพอใจต่อจัดการสอนเสริมความรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละความก้าวหน้าทาง การเรียน ค่าเฉลี่ย (̅) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการสอนเสริมความรู้เรื่อง การประยุกต์ของอนุพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สอบ ไม่ผ่านผลการเรียนรู้หลงัเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีคะแนนคิดเป็นค่าร้อยละความก้าวหน้าทางการเรียน 56.05 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนด (ร้อยละ 25) ซึ่งอยู่ในระดับดี 2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีต่อการการสอนเสริมความรู้พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนพึงพอใจต่อการจัดการสอนเสริมอยู่ในระดับมาก (̅= 4.31, S.D. = 0.91) เมื่อพิจารณาเป็นข้อพบว่านักเรียนพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด 2 ข้อ คือ ได้รับความช่วยเหลือจากเพื่อน และครู (̅= 4.86, S.D. = 0.35) รองลงมานักเรียนสามารถท าการบ้านด้วยตนเองได้ (̅= 4.57, S.D. = 0.82) ส่วนนักเรียนพึงพอใจอันดับสุดท้ายคือการท างานเป็นระบบเป็นขั้นตอนมากขึ้น (̅=3.79, S.D. = 1.15)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง รายงานผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซต และตรรกศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผู้วิจัย นายอุดมชัย วิไลเพชรรัตน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและศึกษาผลการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซต และตรรกศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยก าหนดเกณฑ์คุณภาพอยู่ในระดับดีเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซต และตรรกศาสตร์ กลุ่มประชากรที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 - 4/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 92 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบฝึกเสริมทักษะ คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซต และตรรกศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซตและ ตรรกศาสตร์ มีคุณภาพอยู่ในระดับดี มีค่าประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ 80/80 โดยมีค่าประสิทธิภาพ 1 2 E / E เป็น 80.76 / 81.94 ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซต และตรรกศาสตร์ สูงกว่าก่อนการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซตและ ตรรกศาสตร์ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ตลอดจนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดต่อแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 เรื่อง เซต และตรรกศาสตร์
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การบวกและการลบจ านวนเต็มโดยใช้แบบ ฝึกเสริมทักษะร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/13 ผู้วิจัย นางสาวกนิษฐา หลักดี กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการคูณและการหาร เลขยกก าลัง โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/13 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบฝึกเสริม ทักษะร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์ แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน คะแนนที่ได้จากแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนน าไปวิเคราะห์หาค่าค่าเฉลี่ยและ ร้อยละ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/13 ของคะแนน ก่อนเรียน (pretest) และคะแนนหลังท าแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง การคูณ และการหารเลขยกก าลัง ร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์ (post-test) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบที่ได้จาก การท าแบบทดสอบหลังท าแบบฝึกเสริมทักษะร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์ (post-test) มีค่าสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) โดยคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบ ก่อนเรียนของนักเรียนได้ 2.83 คิดเป็นร้อยละ 28.3 ซึ่งมีค่าต่ ามาก ในส่วนของคะแนนเฉลี่ยของ แบบทดสอบหลังท าแบบฝึกเสริมทักษะร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์ ได้ 7.25 คิดเป็น ร้อยละ 72.25 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ผลการวิจัยพบว่า จากผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังที่มีการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ร่วมกับการสืบค้นความรู้จากสื่อออนไลน์สูงกว่าก่อนเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรูฐานสมรรถนะทางคณิตศาสตรตามแนวทาง สสวท. รายวิชา คณิตศาสตร พื้นฐาน ค22101 เรื่อง ทฤษฏีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใชแบบฝึกทักษะ ผู้วิจัย นางสุภิดา วิไลลักษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที ่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มห้องเรียนด้วยวิธีการอย่างง่าย (Simple Random sampling) โดย การจับฉลากห้องเรียนมา 1 ห้องเรียน เพราะเป็นห้องที่ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้ด าเนินการสอน ซึ่งใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 5 ชุด 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 3) แบบประเมินตนเองของนักเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค22101 โดยใช้แบบฝึกทักษะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนซึ่งได้มาจากการสุ่มห้องเรียนด้วยวิธีการอย่างง่าย (Simple Random sampling) โดยการจับฉลากห้องเรียนมา 1 ห้องเรียน เพราะเป็นห้องที่ผู้รายงานได้รับมอบหมาย ให้ด าเนินการสอน เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ คณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. การประเมินตนเองของนักเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค22101 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะด้วยตนเอง เรื่อง จ านวนเต็ม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางสาวมนัสนันท์ พุ่มดียิ่ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 29 คน โดยเลือกแบบ เจาะจง จากห้องที่ผู้ศึกษาค้นคว้าด าเนินการสอนด้วยตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบฝึก ทักษะที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 เฉลี่ย 8.48 จากคะแนน 20 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 2.48 ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน เฉลี่ย 14.45 จากคะแนน 20 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 2.04 จากการทดสอบ ทั้งสองครั้งผลปรากฏว่า นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/3 มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6.34 คิดเป็น ร้อยละ 31.72 ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นหลังจากได้แบบฝึกทักษะ เป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ตรรกศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ผู้วิจัย นางวันดี แจ่มพินิจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ก่อนและหลัง การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องตรรกศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 1 ห้องเรียน ได้แก่ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4/4 จ านวนนักเรียน 42 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล 1) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง ตรรกศาสตร์ จ านวน 10 ข้อ เป็นแบบทดสอบแบบ เลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก 2) แบบฝึกทักษะ เรื่อง ตรรกศาสตร์ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค31201 เรื่อง ตรรกศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนและคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เรื่อง ตรรกศาสตร์ มีค่าคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 2.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.288 คิดเป็นร้อยละ 28.6 และคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียนเท่ากับ 8.25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.727 คิดเป็นร้อยละ 82.5 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค31201 เรื่อง ตรรกศาสตร์ พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.39) คะแนนเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับ เมื่อแยกเป็นรายข้อปรากฏผลดังนี้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดล าดับที่ 1 คือ ข้อ 1.2 เนื้อหาชัดเจน สอดคล้องกับเรื่องที่เรียน ( X = 4.66) คะแนนเฉลี่ยสูงสุดล าดับที่ 2 คือ ข้อ 1.1 เนื้อหามีความเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของนักเรียน ( X = 4.66) คะแนนเฉลี่ยสูงสุดล าดับที่ 3 คือ 3 ภาษาที่ใช้เหมาะสมกับช่วงวัยและระดับชั้นของนักเรียน ( X = 4.44)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค20203 เรื่อง การประยุกต์ สมการก าลังสองตัวแปรเดียว ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้สื่อเกม กิจกรรม ผู้วิจัย นายภูธร บ้านเนิน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค20203 เรื่องการประยุกต์สมการก าลังสองตัวแปรเดียว ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการใช้สื่อเกมกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 และ ม.3/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ที่เรียน วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค20203 จ านวน 89 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive) โดยเป็นห้องที่ผู้ศึกษาค้นคว้าท าการสอนด้วยตนเองเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ของสมการก าลังสองตัวแปรเดียว (ก่อน-หลัง) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test (dependent) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์ของสมการก าลังสองตัวแปรเดียว โดยการใช้สื่อเกมกิจกรรมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเซต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างสอนโดยใช้ทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหา กับการสอนปกติ ผู้วิจัย นางสาวชลธิชา อยู่ยง กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วนระหว่างสอนโดยใช้ทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหากับการสอนปกติของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยถึงร้อยละ 70 และจ านวนผู้เรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของจ านวนผู้เรียนทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบการวิจัย ใช้รูปแบบเชิงทดลองได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purpoive Sampling) ใช้เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง ได้แก่ นักเรียนชั้นม.4/5 จ านวน 24 คน ที่เรียนรู้โดยใช้ทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหาและ เป็นกลุ่มควบคุม 1 ห้อง ได้แก่ นักเรียนชั้น ม.4/7 จ านวน 24 คนที่เรียนรู้ตามปกติเครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยมี2 ชนิด ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้มี2 แบบ คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหาและแผนการจัดการเรียนรู้ตามปกติและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Inependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของนักเรียน กลุ่มทดลองที่ได้รับการเรียนโดยใช้ทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหาสูงกว่าการเรียนแบบปกติอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้ทักษะ/กระบวนการแก้ปัญหาและนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ ตามปกติมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6/6 โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชัน ผู้วิจัย นายเจนณรงค์ อร่ามรัตนชัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชันโดย ใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 ตามเกณฑ์ร้อยละ 80 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 จ านวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบฝึกทักษะเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 2) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง อนุพันธ์ ของฟังก์ชัน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ การค านวณหาค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ t–test กับแบบทดสอบหลังเรียนเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 มีคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 88.75 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ของแบบทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 1.114 มีนักเรียนจ านวน 36 คน จากกลุ่มตัวอย่าง 40 คน ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 คิดเป็นร้อยละ 90.00 ซึ่งสูงกว่าร้อยละ 80 ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมดเป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ผู้วิจัย นางกรรณิการ์ มนุญโย กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพความส าเร็จในการใช้แผนการจัด การเรียนรู้ 2) เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาสาเหตุการเรียนการสอน 4) เพื่อแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้รวมทั้งเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการสอนของผู้วิจัย ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม 1 จ านวน 34 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบทดสอบ เรื่อง อัตราส่วน ตรีโกณมิติที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ระดับความเชื่อมั่น 95% การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าเฉลี่ยและแบบทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ย t-test ของคะแนนการทดสอบก่อน-หลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนกล้าแสดงออก การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และความคิดสร้างสรรค์ใน การจินตนาการ 2. ท าให้นักเรียนมีปฏิกิริยาที่ดีขึ้น มีความสนุกสนานในการเรียน การคิดและการตอบค าถาม และมีความคิดอยากจะแก้โจทย์ปัญหาอื่น ๆ เพิ่มเติม 3. พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน เมื่อปล่อยให้นักเรียนท าเป็นกลุ่ม นักเรียนบางคนไม่ยอม ช่วยเพื่อนคิด จึงท าให้มีนักเรียนบางคนไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรม ท าให้กิจกรรมการเรียนการสอนล่าช้า 4. ในการจัดกิจกรรมกลุ่มควรจับกลุ่มคละความสามารถของผู้เรียนเพื่อที่จะได้ให้ผู้เรียนที่เก่ง คอยดูแลและให้ค าแนะน าแก่ผู้เรียนที่อ่อนได้ และหรือมีของรางวัลเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 /11 ชื่อผู้วิจัย นายประกาศิต บุญวงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งก่อนและหลังใช้แบบฝึก ทักษะที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติกลุ่มกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทั้งก่อนและหลังใช้แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/11 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ แบบฝึกทักษะ เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นจากการทดสอบก่อนเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิด เป็นร้อยละ 41.15 หลังจากที่นักเรียนได้ใช้แบบฝึกทักษะนักเรียนมีคะแนนทดสอบ หลัง เรียน ซึ่งนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 72.51 ซึ่งเป็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความคล้าย โดยวีดิทัศน์ทบทวนบทเรียน ผู้วิจัย นางสาวหทัยรัตน์ ชมฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่อง ความคล้ายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 35 คน สูงกว่าก่อนใช้วีดิทัศน์ทบทวนบทเรียน 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้สื่อการสอนวีดิทัศน์ทบทวนบทเรียน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 79 คน ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ วีดิทัศน์ทบทวนบทเรียน เรื่อง ความคล้ายและแบบประเมินความพึงพอใจที่มีใช้สื่อ วีดิทัศน์ ท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการเปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังศึกษาวีดิทัศน์ เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 79 คน พบว่าหลังนักเรียนเรียนโดยใช้ วีดิทัศน์ทบทวนบทยเรียน เรื่อง ความคล้าย โดยรวมคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นร้อยละ 28.23 ซึ่งดีกว่า ก่อนศึกษา
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/8 ด้วยโปรแกรม Geogebra ผู้วิจัย นางพัชรี อินทร์ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 เรื่องปริซึมและทรงกระบอกด้วยโปรแกรม Geogebra 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ที่มีต่อการเรียนเรื่องปริซึมและทรงกระบอกด้วยโปรแกรม Geogebra กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน ซึ่งก าลังศึกษาในภาคการเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) สื่อการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม Geogebra ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอก 2) แบบทดสอบ ก่อนเรียน–หลังเรียน เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอก เป็นแบบทดสอบแบบปรนัยชนิดเลือกค าตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ที่มีต่อ การเรียน เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอกด้วยโปรแกรม Geogebra สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การค านวณหาค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเรียนรู้ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 เฉลี่ย 4.38 จากคะแนน 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.8 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.44 ผลการเรียนรู้หลังเรียนเฉลี่ย 6.49 จากคะแนน 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 64.9 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) เท่ากับ 1.08 จาก การทดสอบทั้งสองครั้งผลปรากฏว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น เฉลี่ย 2.11 คิดเป็นร้อยละ 21.1 ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีผลการเรียนทางการเรียนที่สูงขึ้นหลังจากได้เรียน เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอกด้วยโปรแกรม Geogebra เป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้ 2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ที่มีต่อการเรียน เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอก ด้วยโปรแกรม GeoGebra ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 เป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค32101 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูล เบื้องต้น ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เป็นฐาน (Project Based Learning) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวอ าภา ศรีวงค์ราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค32101 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูล เบื้องต้นส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 31 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง แบบแผนการทดลองที่ใช้ คือ One Group Pretest-Posttest Design และก าหนดเกณฑ์ค่าเฉลี่ยร้อยละ 60 หลังการทดลอง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โดย ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) จ านวน 8 แผน รวม 19 ชั่วโมง 2) สื่อการสอนออนไลน์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ผ่าน Youtube 3) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกค าตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนน ค่าเฉลี่ย ( X ) ก่อนเรียน และหลังเรียนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โดยใช้รูปแบบ การเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 มีผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 ค่าเฉลี่ย 7.00 จากคะแนน 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 21.70 ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเฉลี่ย 17.03 จากคะแนน 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 52.80 จากการทดสอบทั้งสองครั้ง ผลปากฏว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนที่สูงขึ้นหลังจากได้ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จ านวนสมาชิกของเซต โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวช่อทิพย์ สุวรรณรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องจ านวนสมาชิกของเซตโดยใช้แบบฝึกทักษะ 2) เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัด การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์จ านวนสมาชิกของเซตโดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและ หลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง จ านวนสมาชิกของเซต โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนนมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ด้านความรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 มีคะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป จ านวน 35 คน คิดเป็น ร้อยละ 89.74 2. ผลการประเมินเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จ านวนสมาชิกของเซต โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นระดับคะแนนเฉลี่ย 4.35 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานโดยวิธีการสอนด้วยบอร์ดเกม และแบบฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง จ านวนเต็ม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ผู้วิจัย นางสาวทิพยรัตน์ ดุจดา กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องจ านวนเต็มโดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องจ านวนเต็มก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 จ านวนทั้งสิ้น 27 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จ านวนเต็ม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 4 แผน เวลาเรียน 4 คาบ 2. แบบทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จ านวนเต็ม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 3. บอร์ดเกม ชื่อเกม “เศรษฐีจ านวนเต็ม” และ 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องจ านวนเต็มของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 เป็นแบบปรนัย จ านวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติที่ใช้ใน การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ E1 / E2 ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบฝึกทักษะรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง จ านวนเต็ม ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 เป็นแบบฝึกทักษะที่ใช้มีประสิทธิ์ภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 80/80 คือ 93.33/85.92 ซึ่งยอมรับสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อน การเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติและยอมรับสมมุติฐานข้อ 2 ที่ก าหนดไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง ผลของการสอนซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 เรื่อง การแยกตัวประกอบของ พหุนามดีกรีสอง ผู้วิจัย นางสาวนฤมล จิตติชัยโย กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสอนซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึกทักษะทาง คณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง รายวิชา ค23101 คณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยรายกรณี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน 2. แบบฝึกทักษะ ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง จ านวน 9 ชุด ผู้วิจัยใช้สถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ในการบรรยายข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน คิดเป็น 4.00 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน คิดเป็น 11.90 คะแนน และนักเรียนที่เข้ารับการสอนซ่อมเสริมจ านวน 3 คน ร้อยละ 30 ได้คะแนน พัฒนาการสัมพัทธ์อยู่ในช่วง 40.01–60.00 นั่นคือ มีพัฒนาการทางการเรียนอยู่ในระดับปานกลาง
50 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 18 100 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 0 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 0 0 รวม 18 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 100% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0% เจตคติ/ ความพึง พอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบ การสอน 0% กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน
51 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 11 61.11 2. เชิงคุณภาพ 7 38.88 รวม 18 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 11 เชิงคุณภาพ, 7 รวม, 18 เชิงปริมาณ, 61.11 เชิงคุณภาพ, 38.88 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
52 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 18 18 100 2. P (Process) 18 11 61.11 3. A (Attitude) 18 5 27.77 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 18 P (Process), 11 A (Attitude), 5 รวม, 18 K (Knowledge), 100 P (Process), 61.11 A (Attitude), 27.77 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
53 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 0 0.00 2. วิจัยฉบับย่อ 2 11.11 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 16 88.88 รวม 18 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 0 วิจัยฉบับย่อ, 2 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 16 รวม, 18 วิจัยหน้าเดียว, 0 วิจัยฉบับย่อ, 11.11 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 88.88 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้วิ รู้ ทวิยาศาสตร์แ ร์ ละเทคโนโลยี ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E -Book) ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัย นางแสงอรุณ สง่าชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E -Book) ก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 1 ห้องเรียน จ านวน นักเรียน 42 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มด้วยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง หน่วยสิ่งมีชีวิต จ านวน 1 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา วิทยาศาสตร์ จ านวน 20 ข้อ 3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E -Book) เรื่อง หน่วยสิ่งมีชีวิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย (̅) ร้อยละ (%) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบสมมุติฐานด้วย สถิติที (t-test Dependent) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนเท่ากับ 7.73 และ 2.78 ตามล าดับ คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานหลังเรียนเท่ากับ 17.90 และ 1.70 ตามล าดับ เมื่อเปรียบเทียบค่า t ที่ค านวณได้คือ 24.19 กับค่าวิกฤตของ t ในตารางเท่ากับ 1.6829 ค่า t ที่ค านวณได้มีค่ามากกว่าค่าวิกฤตของ t ในตารางจึงสามารถสรุปได้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E -Book) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ได้ก าหนดไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะด้านการค านวณรายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 30103 เรื่อง การเคลื่อนที่ แนวตรงและแนวดิ่งด้วยเทคนิค KWDL ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8, 10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางสาวสุจิตรา ศรีรอต กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) การพัฒนาทักษะด้านการค านวณรายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ ว30103 เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงและแนวดิ่งด้วยเทคนิค KWDL ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8, 10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และ 2) เพื่อส ารวจความพึงพอใจในการเรียนการสอนด้วยเทคนิค KWDL กลุ่มประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8, 10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรงและแนวดิ่ง โดยใช้เทคนิค การสอน KWDL 2. สื่อการเรียนการสอนด้วย App Canva เรื่อง เทคนิคการสอน KWDL และแบบฝึก 3. แบบทดสอบเพื่อวัดผลประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง 4. แบบวัด ความพึงพอใจในการเรียนเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง โดยเทคนิค KWDLในรูปแบบ Google Forms สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า เมื่อจัดการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงและแนวดิ่งรายวิชา ว 30103 โดยใช้ เทคนิคการสอน KWDL ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนมีความแตกต่าง โดยมีค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนเพิ่มขึ้นจากเดิม 87.13 % และผลการประเมินความพึงพอใจ ภาพรวมนักเรียนส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกข้อ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่องสภาพละลายได้ของสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผูวิจัย นางณัฏฐ์ญภา โพธิวัฒน์ธนัต กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสภาพละลายได้ ของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 2. เพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกทักษะเรื่องสภาพ ละลายได้ของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 โดยใช้แบบ ฝึกทักษะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 ที่ก าลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จ านวน 45 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบฝึกทักษะ เรื่อง สภาพละลายได้ของสาร จ านวน 2 แบบฝึกที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนใช้เป็นข้อสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 1 ชุด จ านวน 40 ข้อ การหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะใช้เกณฑ์หาประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า 1. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประสิทธิภาพด้านกระบวนการของแบบ ฝึกทักษะ (E1) จากการประเมินพฤติกรรมกลุ่มระหว่างเรียนและการท าแบบฝึกทักษะของนักเรียน ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สภาพละลายได้ของสาร โดยใช้แบบฝึกทักษะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 45 คน เท่ากับ 75.12 2. คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ประสิทธิภาพ ด้านผลลัพธ์ของแบบฝึกทักษะ (E2) เท่ากับ 76.45 ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง สภาพละลายได้ของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.12/76.45 ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 75/75
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง พัฒนากระบวนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนตามแนวฐานสมรรถนะ ของ สสวท. ผ่านกระบวนการสอนรูปแบบ STEM ศึกษา เรื่อง สมดุลเคมี ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัย นางอรวลัญช์ ผ่องบุรุษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง สมดุลเคมี ผ่านกระบวนการสอนรูปแบบ STEM ศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ที่ท าการเลือก แบบสุ่มจ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คือค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) ซึ่งการด าเนินการทดลอง ตามแบบแผนการทดลอง One Group Pretest – Posttest Design ผลการวิจัยพบว่า จากผลการวิจัยพบว่าการพัฒนากระบวนการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง สมดุลเคมี ผ่านกระบวนการสอนรูปแบบ STEM ศึกษา กับกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 45 คน ที่ได้จากการสุ่มและใช้แบบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาในการเก็บข้อมูล พบว่า นักเรียนมีค่าเฉลี่ยก่อนจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนากระบวนการคิดแก้ปัญห า ผ่านกระบวนการสอนรูปแบบ STEM ศึกษา มีระดับคะแนนเฉลี่ย 9.44 คะแนน (S.D. = 4.95) แต่เมื่อ ท าการทดสอบหลังการจัดการเรียนรู้พบว่าผลระดับคะแนนนักเรียนส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นเป็น 15.56 คะแนน (S.D. = 2.83) และเมื่อท าการวิเคราะห์เป็นรายกลุ่มจะเห็นได้ว่านักเรียนกลุ่มอ่อนมีผล คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นสูงที่สุดคือ ร้อยละ 43.44 รองลงมาคือ กลุ่มกลาง มีผลคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 29.00 และกลุ่มเก่ง มีผลคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 16.33