โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โดยใช้สื่ออินโฟกราฟฟิก ผู้วิจัย นางสาวณภัทร์ตะวัน อภัยภักดี กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่ออินโฟกราฟฟิก ในรายวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องวันส าคัญทางพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 จ านวน 39 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มแบบการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยอินโฟกราฟฟิก 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน จ านวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่อง วันส าคัญทาง พระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โดยใช้สื่ออินโฟกราฟฟิก โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จ านวน 39 คน พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย ที่ระดับ 6.46 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.88 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนหลังเรียน มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 12.29 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.12 เมื่อทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยค่าร้อยละเพิ่มชึ้น 29.17 แสดงว่า พัฒนาผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่อง วันส าคัญทางพระพุทธศาสนา โดยใช้สื่ออินโฟกราฟฟิกสูงกว่าก่อนเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีปแอฟริกา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟฟิก ผู้วิจัย นายคมสัน เนียมราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟฟิกที่มีผล ต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์เรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีปแอฟริกาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 กลุ่มตัวอย่างคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 11 จ านวน 45 คน และด าเนินการวิจัยโดยใช้แผนการวิจัย เชิงทดลอง (one – group pretest-posttest design) โดยกลุ่มทดลองใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ผัง กราฟฟิก ใช้เวลาทดลองรวม 1 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 คาบ คาบละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 3 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟฟิก และ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีปแอฟริกา การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 11 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังกราฟฟิก มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีปแอฟริกา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
126 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 16 72.72 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 9.09 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 4 18.18 รวม 22 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 73% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 9% เจตคติ/ความพึงพอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบ การสอน 18% กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน
127 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 14 63.63 2. เชิงคุณภาพ 8 36.36 รวม 22 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 14 เชิงคุณภาพ, 8 รวม, 22 เชิงปริมาณ, 63.63 เชิงคุณภาพ, 36.36 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
128 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 22 18 81.81 2. P (Process) 22 7 31.81 3. A (Attitude) 22 7 31.81 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 18 P (Process), 7 A (Attitude), 7 รวม, 22 K (Knowledge), 81.81 P (Process), 31.81 A (Attitude), 31.81 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
129 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 5 22.72 2. วิจัยฉบับย่อ 4 18.18 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 13 59.09 รวม 22 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 5 วิจัยฉบับย่อ, 4 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 13 วิจัยหน้าเดียว, 22.72 รวม, 22 วิจัยฉบับย่อ, 18.18 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 59.09 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้สุ รู้ ข สุ ศึกษาและพลศึกษา ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวกล้ามเนื้อต้นขาด้านหลังของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/13 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายจิรภัทร อ าไพเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลังโดยใช้โดยดูจากผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ภาคเรียนที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2565 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/13 จ านวน 42 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย sit and reach และโปรแกรมการยืดเหยียด กล้ามเนื้อ 6 สัปดาห์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยหลังจากใช้แบบสอบถามส ารวจพฤติกรรมในการออกก าลังกายและ การบริโภคของนักเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/13 ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายด้าน ความอ่อนตัวพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/13 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 42 คน มีผลการทดสอบที่ดีขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ โดยใช้ เทคนิคการสอนแบบผสมผสานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวชุลีพร เนืองศรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา สุขศึกษาเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยเทคนิคการสอน แบบผสมผสานก่อนเรียน-หลังเรียน 2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยเทคนิคการสอนแบบผสมผสาน ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/4 ที่ก าลังเรียนรายวิชาสุขศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ซึ่งเป็นกลุ่มเจ า ะจงจ าน วน 10 คน เค รื่องมือที่ใช้ในก า ร วิจั ย ได้แก่ รูปแบบ การเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสอนแบบผสมผสานก่อน-หลังเรียนรายวิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์แบบบันทึกคะแนนประจ าหน่วยการเรียนรู้ แบบทดสอบและแบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ โดยคิดค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนหลังเรียน และคิดค่าก้าวหน้าจากการท า แบบทดสอบ ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ เทคนิคการสอนแบบผสมผสานก่อน-หลังเรียนรายวิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ที่สอน โดยใช้เทคนิคการสอนแบบผสมผสานพบว่า นักเรียนมีการพัฒนาตนเองด้านการเรียนในด้านต่าง ๆ ดีขึ้น สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการเรียนเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ ผลการวิจัยปรากฏว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/4 จ านวน 10 คน โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่เรียนรายวิชาสุขศึกษา เรื่อง การป้องกันการตั้งครรภ์ ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยคิดค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนได้ 3.9 ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนได้ 7.5 คิดค่าก้าวหน้าจากการท าแบบทดสอบได้ 11.3
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การสร้างแบบทดสอบออนไลน์ทักษะยิมนาสติกเพื่อพัฒนากระบวนการเรียน การสอน การวัดผลและประเมินผลทางพลศึกษาเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวฌุมพรี โพธิ์เจริญรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบทดสอบออนไลน์และสร้างเกณฑ์ระดับทักษะ ยิมนาสติก ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 จ านวน 31 คน ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบทักษะยิมนาสติกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วย ทักษะม้วนหน้า ทักษะม้วนหลัง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คุณภาพของแบบทดสอบ โดยใช้สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ใช้คะแนนดิบและคะแนนที (T-Score) ในการสร้างเกณฑ์ของแบบทดสอบ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทักษะยิมนาสติก มีค่าความเชื่อมั่นทางบวกระดับสูง (r = .765 - .896) 2. ค่าความเป็นปรนัยของแบบทดสอบทักษะยิมนาสติกมีค่าความเป็นปรนัยทางบวก ระดับสูงมาก (r = .931 - .980) 3. ค่าความเที่ยงตรงจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ผลการพิจารณาค่าดัชนีความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหา CVI (content validity index) มีค่า 1.00 ทุกรายข้อ ซึ่งมีความเที่ยงตรงสามารถที่จะ น าไปใช้ในการทดสอบทักษะยิมนาสติกได้ 4. การสร้างเกณฑ์ (Norm) เกณฑ์ระดับทักษะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีจ านวนประชากรและ กลุ่มตัวตัวอย่างในการเป็นตัวแทนประชากรที่ดีเนื่องจากใช้การสุ่มที่นักเรียนมีโอกาสการเป็น กลุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกันและมีสัดส่วนที่เหมาะสมในแต่ละโรงเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นายอภิวัฒน์ ศรีวงษ์สา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์ 1.เพื่อการศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 ที่ก าลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑลปีการศึกษา 2565 2. เพื่อเป็นเอกสารชี้น า ในการปรับปรุงพัฒนาแผนการเรียนการสอน วิชาพลศึกษาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีความเหมาะสมมากขึ้น 3. เพื่อเป็นเอกสารหรือ สารสนเทศ ประกอบการพิจารณาด้านคุณภาพผู้เรียน ตามมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของ นักเรียน 5 รายการ 2. โปรแกรม Microsoft Excel 2003 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า นักเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก จ านวน 43 คนคิดเป็นร้อยละ 14.05 นักเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีจ านวน 105 คนคิดเป็นร้อยละ 34.31 นักเรียนอยู่ในกณฑ์ปานกลาง จ านวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 38.56 นักเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ า จ านวน 35 คนคิดเป็นร้อยละ 11.44 นักเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ ามาก จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.98 และนักเรียนไม่สามารถทดสอบ สมรรถภาพได้จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.65 รวมทั้งสิ้น 306 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เมื่อรวม จ านวนนักเรียนและร้อยละของนักเรียนที่มีเกณฑ์คุณภาพระดับปานกลางถึงดี จ านวน 266 คน คิดเป็นร้อยละ 86.92 แสดงภาพโดยรวมของนักเรียนอยู่ในเกณฑ์คุณภาพระดับดี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความคล่องแคล่วว่องไวด้วยตารางเก้าช่องที่มีผลต่อ การเรียนรายวิชาพลศึกษา 3 (กรีฑา) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาววริศรา สุขขัมภ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกลไกด้านความคล่องแคล่วว่องไว ด้วยการฝึกรูปแบบตารางเก้าช่องที่มีผลต่อการเรียนรายวิชาพลศึกษา 3 (กรีฑา) ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน เครื่องมือ ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบทักษะความคล่องแคล่วว่องไวด้วยตารางเก้าช่องและ 2) แบบฝึกทักษะความคล่องแคล่วว่องไวด้วยตารางเก้าช่อง นักเรียนได้รับการฝึกทักษะด้วยรูปแบบ ตารางเก้าช่อง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 วัน น าผลที่ได้ในสัปดาห์ที่ 4 มาท าการวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบผลก่อนฝึกและหลังฝึก ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนการฝึกรูปแบบตารางเก้าช่อง มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 9.46 ครั้ง และภายหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 ของการฝึกรูปแบบตารางเก้าช่อง มีค่าเฉลี่ย 15.67 เท่ากับ ครั้ง เมื่อน าผลการทดสอบที่ได้มาวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคล่องแคล่วว่องไว พบว่า สูงขึ้นก่อนได้รับการฝึกรูปแบบตารางเก้าช่อง สรุปได้ว่าการฝึกรูปแบบตารางเก้าช่องสามารถน าไปใช้ ในการฝึกเพื่อเพิ่มความคล่องแคล่วว่องไวการเคลื่อนที่ในการเรียนรายวิชาพลศึกษา 3 (กรีฑา) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาโดยใช้วิธีการเรียนการสอนแบบเน้น ทักษะกระบวนการชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/11 เรื่อง อิทธิพลของสื่อโฆษณาต่อวัยรุ่น ผู้วิจัย นางสาวณัฐนันท์ แช่มเพ็ชร กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/11 2) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้ดีขึ้นและ เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/11 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดกิจกรรม การเรียน รูปแบบการเรียนการสอนแบบเน้นทักษะกระบวนการ (teaching process) แบบบันทึก คะแนนประจ าหน่วยการเรียนรู้ แบบฝึกหัด ใบกิจกรรมของนักเรียนในรูปแบบออนไลน์ และแบบ สังเกตพฤติกรรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลจากการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นทักษะกระบวนการ (teaching process) มาใช้ในการเรียน การสอนวิชาสุขศึกษาผลปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 4.81 คะแนน และคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 7.72 คะแนน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน เท่ากับ 2.91 คะแนน และนักเรียน ทุกคนมีคะแนนสูงขึ้นกว่าเดิมโดยมีคะแนนความก้าวหน้าเมื่อเทียบระหว่างคะแนนก่อนเรียนกับคะแนนหลังเรียนคิด เป็นร้อยละ 60.49 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ลดลง นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเพิ่มขึ้นอย่าง เห็นได้ชัด และกิจกรรมกลุ่มของนักเรียนท าให้เกิดบรรยากาศที่ดีและเอื้อต่อการเรียนการสอน ช่วยให้นักเรียน มีความกระตือรือร้นสนใจ ตั้งใจ และมีความรับผิดชอบต่อการเรียนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้นักเรียน มีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา ช่วยสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในกลุ่ม รู้จักแก้ปัญหาร่วมกัน ท างานเป็นทีม ระดมความคิดของหลายคน ซึ่งแนวทางนี้เหมาะสมในการแก้ปัญหาในชั้นเรียนได้เป็นอย่างดี รวมถึงสามารถสร้าง ทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาสุขศึกษาเป็นอย่างมาก ผลพฤติกรรมการท างานกลุ่มของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียน การสอนโดยใช้เน้นทักษะกระบวนการ (teaching process) จากการสังเกตพฤติกรรมการท างานของนักเรียน มีคะแนนพฤติกรรมการท างานโดยรวมที่เพิ่มขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง ผลของการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้ตารางเก้าช่องที่มีผลต่อการเคลื่อนไหวพื้นฐาน ในการเรียนวิชาแฮนด์บอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายสิทธิชัย กันยะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พลศึกษา โดยใช้แบบฝึกตาราง 9 ช่องที่มีต่อการเรียนวิชาแฮนด์บอลในเรื่องของการเคลื่อนที่ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 2) เสริมทักษะการเคลื่อนที่ พื้นฐานในการเรียนแฮนด์บอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่เรียนวิชาแฮนด์บอลให้ดีขึ้น 3. เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาแฮนด์บอลเรื่องการเคลื่อนไหวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มทดลองเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 10 คน และ กลุ่มควบคุมคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จ านวน 10 คน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่เรียนวิชาแฮนด์บอลในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่พื้นฐานแฮนด์บอลโดยใช้สื่อตารางเก้าช่อง จ านวน 4 คาบ 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ 3. แบบวัดทักษะทางการเรียนการเคลื่อนที่พื้นฐานแฮนด์บอล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ โดยคิดค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนหลังเรียนและคิดค่าก้าวหน้า จากการท าแบบทดสอบ ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้สื่อ การสอนตารางเก้าช่องพบว่า นักเรียนมีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวพื้นฐานในการเรียน วิชาแฮนด์บอลดีขึ้น ผลการวิจัยปรากฏว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จ านวน 10 คน ที่เรียนโดยใช้สื่อตารางเก้าช่องในการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียนที่ค่าเฉลี่ย 15.6 ซึ่งต่ ากว่าผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนโดยใช้สื่อตารางเก้าช่อง ที่ค่าเฉลี่ย 18.8 โดยค่าความต่างของผลคะแนนที่ 3.2
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาการเล่นลูกสองมือล่างของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ด้วยนวัตกรรมปลอกแขนช่วยอันเดอร์ ผู้วิจัย นางสาวนิรมล บุญเคล้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการเล่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ประชากรเป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 563 คน แบ่งเป็น นักเรียนชาย 219 คน และนักเรียนหญิง 344 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 41 คน กลุ่มทดลอง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน และกลุ่มควบคุม เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมการพัฒนาทักษะการเล่นลูกสองมือล่างระยะเวลา 6 สัปดาห์ และแบบทดสอบทักษะการเล่นลูกสองมือล่างแล้วน าผลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติสถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X ̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปรียบเทียบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมของผลการทดสอบทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง ก่อนการฝึก (Pre-Test) กับหลังการฝึก (Post-Test) ผลการวิจัยพบว่า ผลการทดสอบทักษะการเล่นลูกสองมือล่างก่อนการฝึก (Pre-Test) ของนักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย (X̅) เท่ากับ 10.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 4.20 ผลการทดสอบทักษะการเล่นลูกสองมือล่างก่อนการฝึก (Post-Test) นักเรียนกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย (X̅) เท่ากับ 22.15 ตามล าดับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 7.27 ตามล าดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการทดสอบทักษะการเล่นลูกสองมือล่างระหว่างกลุ่มทดลองกับ กลุ่มควบคุมก่อนการฝึกและหลังการฝึกแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการฝึก ทักษะการเล่นลูกสองมือล่างและนวัตกรรมปลอกแขนช่วยอันเดอร์สามารถพัฒนาทักษะการเล่นลูกสองมือล่างของ นักเรียนได้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง แนวทางการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้กิจกรรมศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวในระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายจักรชัย ยอดหมวก กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาในการจัดการเรียนรู้ พลศึกษาด้วยกีฬายูโดตัวในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดย ใช้กีฬายูโดในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4/2, 4/5, 4/6, 4/9 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2656 จ านวน 151 คน ซึ่งได้มาจากการวิธีการสุ่มเลือกนักเรียน จ านวน 4 ห้อง ปริมาณ เครื่องมือใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็นกับนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผ่านการเรียนวิชาพลศึกษา (ยูโด) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความเที่ยงตรง ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2, 4/5, 4/6, 4/9 ที่เรียนวิชาพลศึกษา (ยูโด) โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นผลปรากฏว่า 1. การจัดการเรียนรู้พลศึกษาด้วยกีฬายูโด ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านการวัตถุประสงค์และเนื้อหา ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน ด้านสถานที่และอุปกรณ์ มีสภาพในการจัดการเรียนรู้ โดยมีการกาหนดวัตถุประสงค์และข้อก าหนด ต่าง ๆ ที่ชัดเจน มีเบาะยูโดและอุปกรณ์ต่าง ๆ ใช้ในการเรียนการสอนและมีการวัดและประเมินผล ที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่เรียน พบปัญหาทุกด้านอยู่ในระดับน้อย 2. แนวทางการจัดการเรียนรู้ พลศึกษาโดยใช้กีฬายูโดด้านสถานที่และอุปกรณ์ควรมีห้องสาหรับเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย ปรับปรุง การระบายอากาศให้มีการถ่ายเทที่ดีขึ้น และควรมีการรักษาความสะอาดของสถานที่และอุปกรณ์ มากยิ่งขึ้น
161 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4 44.44 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 0.00 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 5 5.55 รวม 9 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 44% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0% เจตคติ/ความพึงพอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 56% กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน
162 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 5 55.55 2. เชิงคุณภาพ 4 44.44 รวม 9 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 5 เชิงคุณภาพ, 4 รวม, 9 เชิงปริมาณ, 55.55 เชิงคุณภาพ, 44.44 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
163 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 9 5 55.55 2. P (Process) 9 4 44.44 3. A (Attitude) 9 2 22.22 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 5 P (Process), 4 A (Attitude), 2 รวม, 9 K (Knowledge), 55.55 P (Process), 44.44 A (Attitude), 22.22 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
164 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 1 11.11 2. วิจัยฉบับย่อ 4 44.44 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 4 44.44 รวม 9 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 1 วิจัยฉบับย่อ, 4 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 4 รวม, 9 วิจัยหน้าเดียว, 11.11 วิจัยฉบับย่อ, 44.44 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 44.44 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้ศิ รู้ ศิลปะ ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร าเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญโดยใช้กิจกรรมกลุ่ม ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวกรกช นวพงศ์ธนานนท์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร าเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มหลังได้รับการพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร าเพลง ดวงจันทร์วันเพ็ญเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบประเมินผล การฝึกปฏิบัติท่าร าประกอบเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ 2) วิธีการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ของการพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร าเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ หลังใช้กิจกรรมกลุ่มเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 60 ผลการวิจัยพบว่า ผลการพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร าเพลงดวงจันทร์วันเพ็ญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/8 โดยใช้กิจกรรมกลุ่มอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 60 และอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 40 ซึ่งผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ที่ก าหนดไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่ รายวิชาดนตรี 3 ศ 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายจุมพล ปัญจะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อรายงานการใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่ รายวิชาดนตรี 3 ศ 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อรายงานการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านดนตรีไทยเรื่องการฝึกปฏิบัติทักษะ เบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 3) เพื่อรายงานความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่องการฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้น การตีฆ้องวงใหญ่รายวิชาดนตรี 3 ศ 23101 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เรียนวิชาดนตรี 3 ศ 23101 จ านวน 20 คน ได้มา จากคัดเลือกแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) เพื่อค านวณข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีพัฒนาการด้านความรู้ความเข้าใจสูงกว่าก่อนเรียน ค่า t-test ที่ค านวณได้ เท่ากับ 55.52 แสดงว่า คะแนนหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนรายวิชาดนตรี 3 ศ 23101 เรื่อง การฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่ ที่เรียนด้วยสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย เรื่อง การฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่สูงกว่าก่อนเรียนที่ระดับนัยส าคัญที่ .05 ผลคะแนนการปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่ ที่ก าหนดของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่ รายวิชาดนตรี 3 ศ23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 81.11 สูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ว่าที่ผลการประเมินด้านทักษะ ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 70 ผลความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อสื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นการตีฆ้องวงใหญ่รายวิชาดนตรี3 ศ23101 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียอยู่ในระดับมากที่สุด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาและส่งเสริมความสามารถทางการเรียนรายวิชาดนตรีเรื่อง การอ่านโน้ต ดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 โดยใช้แบบฝึก ผู้วิจัย นายอัครัช บุญแท้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาความสามารถทางการเรียนรายวิชาดนตรี เรื่องการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 โดยใช้แบบฝึกออนไลน์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนการเรียนและหลังการเรียนที่ได้รับ การสอนด้วยแบบฝึกวิชาดนตรีเรื่องการอ่านโน้ตดนตรีสากล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/9 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศส สตรีวิทยา พุทธมณฑล ปีการศึกษา 1/2565 จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือ แบบฝึกการอ่านโน้ตดนตรีสากล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) เพื่อค านวณข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 42 คน และสถิติในการท าแบบฝึกหัด จ านวน 42 คน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้แบบฝึกหลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติท่าร าร าวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ในรูปแบบการร าคู่ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ผู้วิจัย นางสาวนฤมล ไชยวุฒิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติท่าร าร าวงมาตรฐาน เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้าในรูปแบบการร าคู่ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 2) เพื่อส ารวจความคิดเห็นก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนในการเรียนปฏิบัติท่าร าวง มาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 20 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับฉลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัด การเรียนรู้เรื่อง การปฏิบัติท่าร าร าวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า 2) คลิปวิดีโอปฏิบัติท่าร าเพลงดวงจันทร์ ขวัญฟ้า 3) แบบส ารวจความคิดเห็นก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติพรรณนา (Descriptive statistics) การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution) และร้อยละ (Percent) ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติท่าร าร าวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้าในรูปแบบ การร าคู่ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล พบว่า นักเรียน หญิงสามารถปฏิบัติท่าร าวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้าได้เร็วกว่านักเรียนชายแต่ในสัปดาห์สุดท้ายนักเรียนชาย และนักเรียนหญิงสามารถปฏิบัติท่าร าได้ร้อยละ100 และนักเรียนทุกคนสามารถปฏิบัติท่าร าวงมาตรฐานเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้าได้อย่างถูกต้องทุกคน 2. การส ารวจความคิดเห็นก่อนเรียนในการเรียนปฏิบัติท่าร าวงมาตรฐานเพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า นักเรียนทุกคนคิดเหมือนกันว่า รู้สึกยาก ไม่น่าท าได้ แต่พอได้เรียนแล้ว นักเรียนรู้สึกว่าตนเองพอท าได้ แต่หลังจาก ปฏิบัติท่าร าเสร็จสิ้นแล้ว นักเรียนรู้สึกว่าตนเองท าได้ รวมทั้งนักเรียนยังคิดว่าการร าวงมาตรฐานสามารถน าไป เผยแพร่วัฒนธรรม เพราะนักเรียนได้ปฏิบัติจริง และยังต้องปฏิบัติคู่กับเพื่อน รวมทั้งยังต้องร าพร้อมกันทั้งห้องเรียน นักเรียนจึงจ าเป็นต้องมีสมาธิมีความเชื่อมั่นตนเองและผู้อื่น มีความอดทนและมีความพยายามร่วมกับผู้อื่น จนประสบความส าเร็จในเวลาที่ก าหนด และท้ายที่สุดนักเรียนมีความภาคภูมิใจในตนเอง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนที่เรียนในรายวิชาทัศนศิลป์2 ศ22103 เรื่อง ภาพวาดทิวทัศน์ย้อนแสง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย นางสาวสวรรยา เต็งสุวรรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนที่เรียนในรายวิชาทัศนศิลป์2 ศ22103 เรื่องภาพวาดทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพ 2) เพื่อสร้างและหา ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะปฏิบัติการวาดภาพทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะปฏิบัติการวาดภาพทิวทัศน์ย้อนแสง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนที่เรียนรายวิชาทัศนศิลป์2 ศ22103 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวนนักเรียน 30 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่ายแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบฝึกทักษะ ปฏิบัติการวาดภาพทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 1 ชุด 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อน-หลังเรียน เรื่อง ภาพทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 10 ข้อ 1 ชุด 3) แบบฝึกทักษะปฏิบัติการวาดภาพทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 1 ชุด สถิติที่ใช้ใน การวิเคร าะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ร้อยละ หาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมตามเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 และใช้สถิติทดสอบ Pair sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานภาพวาดทิวทัศน์ย้อนแสงที่มีคุณภาพพบว่า ผลคะแนนจาก การปฏิบัติชิ้นงาน มีคะแนนเกินกว่าร้อยละ 80 คือ ได้คะแนนร้อยละ 86.16 2. แบบฝึกทักษะปฏิบัติการวาดภาทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 86.16/80.67 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 3. นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะปฏิบัติการวาดภาพทิวทัศน์ย้อนแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนมีความเชื่อมั่นตนเองและผู้อื่นมีความอดทนและ มีความพยายามร่วมกับผู้อื่นจนประสบความส าเร็จในเวลาที่ก าหนดและท้ายที่สุดนักเรียนมีความภาคภูมิใจในตนเอง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง งานลายเส้นสร้างสรรค์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาววนัชพร กุลเสน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องงานลายเส้น ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้เรื่องงานลายเส้น โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจ านวน 45 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรม การเรียนรู้เรื่อง งานลายเส้น 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีต่อชุด กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง งานลายเส้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบน มาตราฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระต่อกัน (t-test depentdent) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง งานลายเส้น ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มี ประสิทธิภาพ 80.23/86.14 ซึ่งผ่านเกณฑ์ 80/80 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนรายวิชา ทัศนศิลป์ 3 ศ23103 เรื่อง งานลายเส้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .01
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะด้านการอ่านโน้ตสากลเพื่อน าใช้ในการฝึกขับร้องเพลงในรายวิชา ดนตรี1 ศ21101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิงเมธาวี วงษ์ตระกูล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ให้แก่นักเรียน และ 2. เพื่อเป็น ผลต่อการฝึกขับร้องเพลงและจากการเรียนการสอนของนักเรียนในรายวิชาดนตรี1 ศ21101 ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนที่เรียนในรายวิชาดนตรี1 ศ21101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวนนักเรียนที่ศึกษา 233 คน ของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ในการท าวิจัยครั้งนี้ โดยเลือกนักเรียนที่ศึกษา ในชั้นเรียนจ านวน 15 คน ที่มีคะแนนต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ ได้เลือกนักเรียนกลุ่มนี้เนื่องจากนักเรียน มีทักษะพื้นฐานในด้านการอ่านโน้ตสากลไม่คล่องแคล่วจึงเป็นปัญหาในด้านการเรียน การขับร้องเพลง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ วิธีการสอนแล้วสอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (One sample t-test) ผลการวิจัยพบว่า จากผลในการวิจัยใน เรื่อง การพัฒนาทักษะด้านการอ่านโน้ตสากลเพื่อน าใช้ในการฝึก ขับร้องเพลงในรายวิชาดนตรี 1 ศ21101 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจ าปีการศึกษา 2565 พบว่ามีปัญหาในด้านทักษะการอ่านสะกดค า ผู้วิจัยจึงได้ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบการเขียน อ่านโน้ตสากลและการฝึกขับร้องเพลงให้นักเรียนได้ฝึกเขียน อ่านโน้ตสากล ในขั้นแรกคือก่อนเรียน นักเรียนสามารถเขียน อ่านโน้ตสากลที่ก าหนดให้ได้อยู่ในเกณฑ์ 65.60 จากเกณฑ์ ร้อยละ 85 ผลคือยัง ต้องมีการแก้ไข ดังนั้น ครูจึงใช้แนวการสอนและเทคนิคต่าง ๆ ในการที่จะให้นักเรียนมีความเข้าใจใน ทักษะในด้านการเขียน อ่านโน้ตสากลและการปฏิบัติเครื่องดนตรีคีย์บอร์ด และได้ให้เพื่อน ๆ ในห้องได้มี ส่วนร่วมในการแนะน าหลักและวิธีการจ าต าแหน่งของเสียงต่าง ๆ บนบรรทัดห้าเส้น หลังจากนั้นครูได้ใช้ ชุดแบบทดสอบชุดเดิม ให้นักเรียนได้ฝึกทดลองอ่านโน้ตสากลอีกครั้งหนึ่ง ผลปรากฏว่านักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์การฝึกขับร้องเพลงในรายวิชาดนตรี 1 ศ21101 คิดเป็นร้อยละ 89.60 แสดงว่านักเรียน มีการพัฒนาทักษะในด้านการอ่านที่ดีขึ้น จึงส่งผลต่อการฝึกขับร้องเพลงสากลอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการวาดภาพระบายสีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาปฏิบัติศิลป์ ศ20201 ผู้วิจัย นางสาวกมลา กัลป์ยาณพงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อพัฒนาทักษะการวาดภาพระบายสีของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาปฏิบัติศิลป์ ศ20201 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนเรียนรู้ในเรื่องหลักการใช้เทคนิคในการปฏิบัติงานทัศนศิลป์ด้วยหลักการวาดภาพ ระบายสีและหลังจากเรียนรู้แล้ว 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางทักษะการวาดภาพระบายสีของ นักเรียนก่อนการเรียนและหลังการเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/12-13 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ปีการศึกษา 2565 จ านวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาปฏิบัติศิลป์ศ20201 ที่จัดการเรียนรู้ใน เรื่อง หลักการใช้เทคนิคในการปฏิบัติงานทัศนศิลป์ด้วยหลักการวาดภาพระบายสี โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีทักษะความรู้และเทคนิค กระบวนการที่สูงขึ้นในการปฏิบัติงานทัศนศิลป์ด้วย หลักการวาดภาพระบายสีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ แบบเปรียบเทียบจากผลงานของนักเรียน จ านวน 25 ชิ้น ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาปฏิบัติศิลป์ ศ20201 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ก่อนและ หลังเรียนด้วยหลักการใช้เทคนิคในการปฏิบัติงานทัศนศิลป์ด้วยหลักการวาดภาพระบายสี โดยผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย (̅) 4.04 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ย (̅) เท่ากับ 8.13 และค่า T-test เท่ากับ 18.23 ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์โดยใช้สื่อสไลด์และปริศนาค าทาย เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Constructionism ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัย นายอิศรา แซ่เอา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการสร้างสรรค์การแสดงนาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) การทดสอบ การปฏิบัติท่าร า เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ 2) สื่อสไลด์ประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ 3) สื่อสไลด์ปริศนาค าทายประกอบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์โดยใช้สื่อสไลด์และ ปริศนาค าทาย เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบ Constructionism ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย (̅) = 14.38 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 1.78 ระหว่างเรียน มีค่าเฉลี่ย (̅) = 41.16 การหาประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมระหว่างเรียน E1= 82.33 หลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (̅) = 17.78 การหาประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมหลังเรียน E2 = 88.93 จึงกล่าวได้ว่านักเรียน มีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน เปรียบเทียบได้จากการหาค่าเฉลี่ยก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย (̅) = 14.38 และ ค่าเฉลี่ยหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย (̅) = 17.78 ซึ่งค่าเฉลี่ยหลังเรียนนักเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน ประสิทธิภาพ การจัดกิจกรรมการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์โดยใช้สื่อสไลด์และปริศนาค าทาย เรื่อง นาฏยศัพท์และ ภาษาท่านาฏศิลป์ ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Constructionism มีประสิทธิภาพ 82.33/88.93 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ก าหนดไว้ การพัฒนาการสร้างสรรค์ผลงานการแสดงนาฏศิลป์โดยใช้สื่อ สไลด์และปริศนาค าทาย เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Constructionism ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้จริงและนักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์และสมมุติฐานตามที่ผู้วิจัยวางไว้
180 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 9 100 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0 0.00 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 0 0.00 รวม 9 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 100% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 0% เจตคติ/ความพึงพอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 0% กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน
181 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 3 33.33 2. เชิงคุณภาพ 6 66.66 รวม 9 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 3 เชิงคุณภาพ, 6 รวม, 9 เชิงปริมาณ, 33.33 เชิงคุณภาพ, 66.66 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
182 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 9 4 44.44 2. P (Process) 9 7 77.77 3. A (Attitude) 9 1 11.11 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 4 P (Process), 7 A (Attitude), 1 รวม, 9 K (Knowledge), 44.44 P (Process), 7.77 A (Attitude), 11.11 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
183 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 0 0.00 2. วิจัยฉบับย่อ 0 0.00 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 9 100 รวม 9 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 0 วิจัยฉบับย่อ, 0 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 9 รวม, 9 วิจัยหน้าเดียว, 0 วิจัยฉบับย่อ, 0 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 100 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้ก รู้ ารงานอาชีพ ชี ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การใช้เทคนิคเสริมแรงทางบวกเพื่อแก้ปัญหานักเรียนไม่มีวัสดุอุปกรณ์ใน การปฏิบัติงานรายวิชางานประดิษฐ์ รหัส ง20227 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/10 ผู้วิจัย นางสาวธัญดา ไตรวนาธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่มีวัสดุอุปกรณ์มาปฏิบัติงาน รายวิชางานประดิษฐ์ รหัส ง20227 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 โดยการใช้เทคนิคเสริมแรง ทางบวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 จ านวน 41 คน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยคือ การสังเกต การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า การใช้เทคนิคเสริมแรงทางบวก โดยมีค าพูดหรือค าชมเชย หรือสภาพการณ์ที่ท าให้แก่ นักเรียนจะช่วยท าให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น ใส่ใจเรียนมากขึ้น มีความรับผิดชอบต่อการเรียนใน รายวิชามากขึ้น รู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกันด้วยความเต็มใจ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และแบ่งปัน ให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี ท าให้บรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้ นักเรียน ตั้งใจเรียน ท างานอย่างสนุกสนาน มีความสุขมากขึ้น สามารถท างานที่ได้รับมอบหมายและมีชิ้นงาน ส่งได้ตามก าหนดเวลา
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางมาลี เอี่ยมพริ้ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เป็นการศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียน ให้เป็นผู้มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลด้าน การเรียนของแต่ละวิชา และการตอบแบบสอบถามจากนักเรียน การใช้แรงจูงใจ การเสริมแรง โดยให้ ค าชมเชยแก่นักเรียน รวมทั้งดูแลด้านการเรียนให้มีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจาก ผู้ปกครอง คุณครูที่เข้าสอนแต่ละวิชา วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงส ารวจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6 จากการพิจารณาในภาพรวมจะเห็นได้ว่าดีขึ้นอย่างเห็น ได้ชัดคือ นักเรียนมักน างานที่ได้รับมอบหมายในชั่วโมงเรียนให้เสร็จเรียบร้อยและส่งตรงเวลาขณะ เรียนนักเรียนเข้าเรียนในรายวิชาแต่มักไม่ท างานที่รับมอบหมายในชั่วโมงให้แล้วเสร็จและส่งงาน นักเรียนพูดคุยและเล่นกับเพื่อนในขณะที่ครูสอนลดลง นักเรียนมีความรับผิดชอบส่งงานและการบ้าน ตรงเวลาที่ครูก าหนดเพิ่มขึ้น นักเรียนนอนหลับในขณะชั่วโมงเรียนลดน้อยลง นักเรียนไม่ท าการบ้าน ด้วยตนเองแต่มาลอกเพื่อนที่โรงเรียนลดลง เมื่อนักเรียนท าสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดหรือไม่ถูกต้องก็จะพยายาม แก้ไขโดยไม่ท้อแท้เพิ่มมากขึ้น นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายเพิ่มมากขึ้น นักเรียนเข้าเรียนตรงเวลาอย่างสม่ าเสมอมากขึ้น นักเรียนเข้าโฮมรูมตรงเวลาและเป็นประจ าทุกครั้ง เพิ่มขึ้น นักเรียนมีการวางแผนและเตรียมความพร้อมในการเรียนเสมอเพิ่มมากขึ้น นักเรียนใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์โดยการอ่านหนังสือทบทวนความรู้และติดตามงานเสมอเพิ่มขึ้น นักเรียนติดตาม และปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่ครูที่ปรึกษามอบหมายเพิ่มขึ้น นักเรียนมักจะได้รับค าชื่นชมจากพ่อแม่และครู เมื่อนักเรียแสดงออกถึงความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น นักเรียนมีการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาตนเองเมื่อ ทบทวนการกระท าสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วเพิ่มขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง พัฒนาผลการเรียนเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาห้องสมุด เพื่อการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นฐาน ผู้วิจัย นางฐานิต สุขสนาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการกลุ่มเป็นฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 จ านวน 41 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ด้วยการสุ่มประกอบด้วยการสอนโดยวิธีกระบวนการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ซึ่งเน้นการฝึกปฏิบัติด้วย กระบวนการกลุ่มและใบงานประกอบการเรียนภายในชั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรายวิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ โดยเฉลี่ยร้อยละ 80.00 ของจ านวนนักเรียน ในชั้นเรียนมีระดับคะแนนสูงกว่าเกรด 3 ผลการวิจัยพบว่า จากการด าเนินการวิจัยในชั้นเรียนผลการเรียนรู้ภายในชั้นเรียนร่วมกันเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการกลุ่มเป็นฐานพบว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้สูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 84.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ที่ก าหนดไว้ แสดงว่าการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มช่วยพัฒนาการเรียนการสอนสูงขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะผู้เรียนด้านการเย็บผ้าด้วยมือโดยใช้โครงตาข่ายเป็นสื่อการสอน ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และ Demonstration ผู้วิจัย นางธาณี รัตนพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการเย็บผ้าด้วยมือของผู้เรียนโดยใช้ โครงตาข่ายเป็นสื่อการสอนผ่านการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และ Demonstration ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/5, 1/9, 1/13 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวนทั้งสิ้น 126 คน ของโรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินการใช้สื่อ การเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ด้านเนื้อหา เนื้อหามีความเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของนักเรียน เนื้อหาชัดเจน สอดคล้องกับเรื่องที่เรียน คิดเป็นร้อยละ 66 อยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย 4.71 ด้านภาษา ภาษาที่ใช้เหมาะสมกับช่วงวัยและระดับชั้นของนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 65 อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย 4.70 ด้านการออกแบบและองค์ประกอบเทคนิควิธีการน าเสนอน่าสนใจช่วยให้ การเสนอเนื้อหาสาระมีความชัดเจน คิดเป็นร้อยละ 59 อยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย 4.57 สรุปผลการประเมินสื่อการเรียนรู้ การเย็บผ้าโดยโครงตาข่ายอยู่ในระดับคุณภาพดีเยี่ยม ค่าเฉลี่ย 4.59
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนวิชางานประดิษฐ์ ง20227 โดยใช้กระบวนการการท างานของนักเรียนชั้น ม.1/9 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวสุกัญญา ไวยรัตนา กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้กระบวนการท างานวิชางานประดิษฐ์ ง20227 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/9 ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 2) ให้ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการท างาน และสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/9 จ านวน 42 คน ที่เรียน รายวิชางานประดิษฐ์ง20227 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) โดยใช้หน่วยการสุ่มเป็นห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการท างานรายวิชา งานประดิษฐ์ ง20227 ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นมี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นค าถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 เป็แบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการท างาน รายวิชางานประดิษฐ์ ง20227 มีจ านวน 23 ข้อ โดยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จ านวน 42 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย โดยใช้โปรแกรม Excel ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการท างานรายวิชางานประดิษฐ์ ง20227 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/9 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.76 และอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงล าดับ 3 ล าดับแรก ดังนี้ อันดับ ที่ 1 การเตรียมความพร้อม การเตรียมสอน และความพึงพอใจในกิจกรรมการเรียนการสอนในภาคเรียนนี้ คิดเป็น ร้อยละ 98.57 ค่าเฉลี่ย 4.93 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับ 2 ความรู้ ความสามารถของผู้สอน ท าให้นักเรียนเกิด ประสบการณ์การเรียนรู้ และมีเอกสารสื่อ เครื่องมือและอุปกรณ์ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็น ร้อยละ 98.10 ค่าเฉลี่ย 4.90 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับ 3 ความมีคุณธรรม จริยธรรมของผู้สอน, ความน่าสนใจ ในกิจกรรมการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ดี และบรรยากาศการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ 97.62 ค่าเฉลี่ย 4.88 อยู่ในระดับมากที่สุดตามล าดับ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางสาววิยะดา ธรรมจิตต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เป็นการศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลด้านการเรียนของแต่ละวิชาและการตอบแบบสอบถาม จากนักเรียน การใช้แรงจูงใจ การเสริมแรง โดยให้ค าชมเชยแก่นักเรียน รวมทั้งดูแลด้านการเรียนให้มี ความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจากผู้ปกครอง คุณครูที่เข้าสอนแต่ละวิชา วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงส ารวจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6 จากการพิจารณาในภาพรวม จะเห็นได้ว่าดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดคือ นักเรียนมักน างานที่ได้รับมอบหมายในชั่วโมงเรียนให้เสร็จเรียบร้อยและส่งตรงเวลาขณะเรียนนักเรียนเข้าเรียนใน รายวิชา แต่มักไม่ท างานที่รับมอบหมายในชั่วโมงให้แล้วเสร็จและส่งงาน นักเรียนพูดคุยและเล่นกับเพื่อนในขณะที่ ครูสอนลดลง นักเรียนมีความรับผิดชอบส่งงานและการบ้านตรงเวลาที่ครูก าหนดเพิ่มขึ้น นักเรียนนอนหลับในขณะ ชั่วโมงเรียนลดน้อยลง นักเรียนไม่ท าการบ้านด้วยตนเองแต่มาลอกเพื่อนที่โรงเรียนลดลง เมื่อนักเรียนท าสิ่งหนึ่งสิ่งใด ผิดหรือไม่ถูกต้องก็จะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้เพิ่มมากขึ้น นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย เพิ่มมากขึ้น นักเรียนเข้าเรียนตรงเวลาอย่างสม่ าเสมอมากขึ้น นักเรียนเข้าโฮมรูมตรงเวลาและเป็นประจ าทุกครั้ง เพิ่มขึ้น นักเรียนมีการวางแผนและเตรียมความพร้อมในการเรียนเสมอเพิ่มมากขึ้นนักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์โดยการอ่านหนังสือทบทวนความรู้และติดตามงานเสมอเพิ่มขึ้นนักเรียนติดตามและปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่ครู ที่ปรึกษามอบหมายเพิ่มขึ้น นักเรียนมักจะได้รับค าชื่นชมจากพ่อแม่และครู เมื่อนักเรียนแสดงออกถึง ความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น นักเรียนมีการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาตนเองเมื่อทบทวนการกระท าสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้ว เพิ่มขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้าของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้กิจกรรม แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation Method) ผู้วิจัย นายอภิรักษ์ กุลชุตินธร กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาถึงแนวทางที่จะช่วยเพิ่มทักษะและวิธีการ ใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้าได้มากขึ้น 2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง แม่นย า 80% ของผู้เรียนทั้งหมด การวิจัยครั้งนี้ท าการศึกษากับกลุ่มประชากรนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 4/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ 1. เครื่องมือช่างไฟฟ้า 2. ชุดฝึกระบบไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสตรง 3. ใบงาน/ ใบความรู้ 4. แบบประเมินการปฏิบัติงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1. น าผลคะแนนที่ได้ จากการประเมินการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 2. บรรยายข้อมูลด้วยการแจกแจง ความถี่ค่าร้อยละ (%) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้าที่ถูกต้องและแม่นย ามากขึ้นโดยรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้ออยู่ในระดับมากทุกข้อดังนี้ ความสนใจการใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้า โดยสรุปจากการสังเกตและทดสอบการใช้เครื่องมือช่างไฟฟ้าเพื่อสร้างพฤติกรรมของผู้เรียนให้มี ความกระตือรือร้นและมีความเอาใจใส่ต่อการเรียน ครูผู้สอนต้องสร้างจิตส านึกให้กับผู้เรียนอยู่เสมอ ตลอดจนการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีความหลากหลายเพื่อมิให้ผู้เรียนเกิด ความเบื่อหน่ายและมีความสนใจมากขึ้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยระบบใบงานเป็นอีก หนึ่งวิธีการสอนมีส่วนส าคัญ ในการปรับพฤติกรรมของผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้นและเอาใจใส่ ต่อการเรียนการสอนเป็นอย่างดี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยองศาของนักเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ผู้วิจัย นายนครินทร์ สุเพ็งค า กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาทักษะการใช้เลื่อยองศาของนักเรียน 2) ได้แนวทางในการพัฒนาวิธีการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะต่อเนื้อหาวิชาอื่นต่อไป กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธ มณฑล วิชาเลือกช่างไม้ครุภัณฑ์ จ านวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกเสริม ทักษะก่อนเรียนและหลังเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล น าข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ตามวิธีทางสถิติการวิจัยโดยหาค่าคะแนนเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยองศาของนักเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้แบบฝึก เสริมทักษะ เรื่อง การใช้เลื่อยองศาปรากฏว่าก่อนเรียนได้(̅= 17.71, S.D. =1.0690) หลังเรียนได้ (̅= 19.14, S.D. = 1.2924) ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน และสามารถน าไปประยุกต์ต่อเนื้อหาวิชาอื่นต่อไป
197 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2 25.00 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 37.50 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 1 12.50 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 2 25.00 รวม 8 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 25% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 37% เจตคติ/ความพึงพอใจ 13% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 25% กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน
198 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 3 37.50 2. เชิงคุณภาพ 5 62.50 รวม 8 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 3 เชิงคุณภาพ, 5 รวม, 8 เชิงปริมาณ, 37.5 เชิงคุณภาพ, 62.5 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
199 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 8 1 12.50 2. P (Process) 8 4 50.00 3. A (Attitude) 8 5 62.50 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 1 P (Process), 4 A (Attitude), 5 รวม, 8 K (Knowledge), 12.5 P (Process), 50 A (Attitude), 62.5 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
200 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 1 12.50 2. วิจัยฉบับย่อ 2 25.00 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 5 62.50 รวม 8 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 1 วิจัยฉบับย่อ, 2 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 5 รวม, 8 วิจัยหน้าเดียว, 12.5 วิจัยฉบับย่อ, 25 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 62.5 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้ภ รู้ าษาต่างประเทศ ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทางการเรียนไวยากรณ์เรื่อง Present Simple Tense VS Present Continuous แ ล ะ Future Form: Future Simple, Future Continuous และ Be going to โดยใช้เทคนิคการสอนแบบอุปนัยและนิรนัย (Inductive and Deductive Method) ในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวมนัญญา รมัยธิติมา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวยากรณ์เรื่อง Present Simple Tense VS Present Continuous และ Future Form: Future Simple, Future Continuous และ Be going to โดยใช้วิธีการสอนแบบอุปนัยและวิธีการสอนแบบนิรนัย (Deductive Approach and Inductive Method) กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ห้อง 3/2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 34 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เค รื่องมือที่ใช้ในก า ร วิจัยคือ 1 .แบบทดสอบไ วย าก ร์ เ รื่อง Present Simple VS Present Continuous 2. แบบทดสอบไวยากร์เรื่อง Future Form 3. วีดีทัศน์สอนไวยากรณ์ เรื่อง Present Simple VS Present Continuous จาก Youtube 4. Future Form Table: Usage and Example sentence 5. แผนผังสรุป Present Simple VS Present Continuous โดยนักเรียน 6. ใบความรู้เรื่อง Future Form 7. แบบฝึกหัด เรื่อง Present Simple VS Present Continuous และ Future Form 8. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 และแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 11 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ค่าเฉลี่ย เลขคณิตและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า คะแนนของการสอบไวยากรณ์ เรื่อง Future Form: Future Simple, Future Continuous และ Be going to ซึ่งใช้วิธีการสอนแบบ (Deductive Method) มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 8 เต็ม 10 คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งมากกว่าคะแนนของการสอบไวยากรณ์เรื่อง Present Simple Tense VS Present Continuous ซึ่งใช้วิธีการ สอนแบบอุปนัย (Inductive Method) มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 6 เต็ม 10 คิดเป็นร้อยละ 60
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาสภาพปัญหาการท่องค าศัพท์ในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 ผู้วิจัย นางสาววัชรี แก้วนิยม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการท่องค าศัพท์และส่งเสริมการท่องค าศัพท์ของ นักเรียนโดยใช้กิจกรรมแบบฝึกหัดเกี่ยวกับค าศัพท์ภาษาอังกฤษในวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ให้นักเรียนท าแบบทดสอบเกี่ยวกับ ค าศัพท์ก่อนเรียน หลังจากนั้นให้นักเรียนท าแบบฝึกหัดเกี่ยวกับค าศัพท์ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น จ านวน 3 ฉบับ จากนั้นจึงท าแบบทดสอบหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ วิธีการหาค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละของผลคะแนน ผลการวิจัยพบว่า การใช้กิจกรรมการเขียนค าศัพท์และท าแบบฝึกหัดเกี่ยวกับค าศัพท์ภาษาอังกฤษท าให้ นักเรียนมีความรู้และความจ าในการน าค าศัพท์ที่ได้เรียนมาใช้และท าแบบฝึกหัดหลังเรียนได้คะแนน เพิ่มขึ้นจากเดิม ดังจะเห็นได้จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน ที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยร้อยละ 10