โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาด้านเนื้อหาไม่สอดคล้องกับเวลาเรียนโดยใช้สื่อบทเรียนส าเร็จรูป เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรงรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ว30201 ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4–6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นายจิตรกร รัตนพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1. เพื่อแก้ปัญหาด้านเนื้อหาไม่สอดคล้องกับเวลาเรียน 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาฟิสิกส์ 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนใน รายวิชาฟิสิกส์ โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4-6 จ านวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนรวมไปถึงสื่อบทเรียน ส าเร็จรูปที่ใช้ผ่านช่องทางออนไลน์ ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายใน การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบระดับคะแนนจากการใช้เครื่องมือช่วยสอน ซึ่งมีการเก็บรวบรวม ข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนสามารถบริหารจัดการเนื้อหาเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงได้สอดคล้องกับเวลา เรียนที่จ ากัดได้เป็นไปตามแผนการสอน และผลการประเมินนักเรียนจากคะแนนสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน โดยคะแนนก่อนเรียน 943 คะแนน หลังเรียน 1,199 ซึ่งนักเรียนทั้งหมด 123 คน จะได้ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 7.67 อยู่ในเกณฑ์ ดี และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 9.75 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก และมีการเปลี่ยนแปลงคะแนนที่เพิ่มขึ้น 2.08 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ดังนั้น ผลจาก การใช้สื่อบทเรียนส าเร็จรูปในการสอนมีผลท าให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติมสูงขึ้น อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก ดังนั้น ผลจากการใช้สื่อบทเรียนส าเร็จรูปมีผลท าให้ครูผู้สอน สามารถบริหารจัดการเนื้อหาเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงได้สอดคล้องกับเวลาเรียนที่จ ากัดได้เป็นไป ตามแผนการสอนและนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติมสูงขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมี เรื่อง พันธะโคเวเลนต์โดยใช้วัฏจักร การเรียนรู้แบบ 7 ขั้นร่วมกับห้องเรียนกลับด้านส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาววันนา กันหาพร กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเคมี ในบทเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 7 ขั้นร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน 2) ประเมิน ความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 7 ขั้น ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน กลุ่มตัวอย่าง ที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) แผนจัดการเรียนรู้โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 7 ขั้น ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านบทเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ จ านวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ 10 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีบทเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 4) สื่อวีดิทัศน์ ด าเนินการทดสอบก่อนเรียนและแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้แบบ 7 ขั้น ร่วมกับห้องเรียนกลับด้านในการสอนแล้วเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและ หลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนในบทเรียนเรื่องพันธะโคเวเลนต์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ทั้งหมด 39 คน คิดเป็นร้อยละ 74.36 มีค่าเฉลี่ยคิดเป็น 14.74 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.22 2. การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้วัฏจักร การเรียนรู้แบบ 7 ขั้น ร่วมกับห้องเรียนกลับด้าน มีค่าเฉลี่ยคิดเป็น 4.32 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.74 อยู่ในระดับ ดี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลางโดยการสอนแบบซิปปา ผู้วิจัย นางสาววรรณภรณ์ ทองจันทร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการสอนแบบซิปปา 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์เรื่องการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 ก่อนเรียนและ หลังการเรียนโดยใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการสอนแบบซิปปา กลุ่มตัวอย่างใน การวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทรา ชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการสอนแบบที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการสอนแบบซิปปา เรื่อง การแปรสัณฐานของ แผ่นธรณีและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การแปรสัณฐานของ แผ่นธรณีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการสอนแบบซิปปาหลัง การเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การใช้สื่อการสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทการจ าลองสถานการณ์ เรื่อง ความร้อน และแก๊สเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ 5 ผู้วิจัย นายศุภกร ผันผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ 5 ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6/6 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6/6 ที่มีต่อสื่อการสอนคอมพิวเตอร์ประเภทการจ าลองสถานการณ์เรื่องความร้อนและแก๊ส ประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6/6 จ านวน 122 คน โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบ เรื่อง ความร้อนและแก๊ส รายวิชา ว30205 ฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6/6 2) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) และฐานนิยม (Mode) ผลการวิจัยพบว่า 1. จากการประเมินด้วยแบบทดสอบที่จัดขึ้นเพื่อท าการทดสอบหลังจากที่ใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) ปรากฏว่ามีนักเรียนที่ท าแบบทดสอบได้ 17-20 ข้อซึ่งอยู่ในระดับดีมาก จ านวน 64 คน จากทั้งหมด 122 คน คิดเป็นร้อยละ 52.46 2. เมื่อจบภาคการศึกษาพบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเกณฑ์ดีขึ้นไปคิดเป็น ร้อยละ 90.98 ท าให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามนโยบายข้อตกลง MOU ของ โรงเรียน 3. จากการประเมินความพึงพอใจผลปรากฏว่า การใช้สื่อการเรียนการสอนจากการประเมิน ของนักเรียนจ านวน 122 คน ระดับการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเกิดคลื่น โดยใช้ชุด กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ร่วมกับการใช้สถานการณ์จ าลองบนคอมพิวเตอร์ PhET (Interactive Simulations) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวภัณฑิลา ลอยเมฆ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เรื่องการเกิดคลื่น ร่วมกับการใช้สถานการณ์จ าลองบนคอมพิวเตอร์ PhET (Interactive Simulations) 2) พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เรื่องการเกิดคลื่นร่วมกับการใช้สถานการณ์ จ าลองบนคอมพิ วเตอ ร์ PhET (Interactive Simulations) กลุ่มตั วอย่ าง ได้แก่ นักเ รียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/13 โรงเรียนเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 40 คน ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ มีค่าความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.41 – 0.63 มีค่าอ านาจจ าแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.38–0.69 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ได้พัฒนาชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเกิดคลื่น ร่วมกับการใช้สถานการณ์ จ าลองบนคอมพิวเตอร์ PhET (Interactive Simulations) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่า E1/E2 เท่ากับ 82.67/80.08 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเกิดคลื่น โดยใช้ชุดกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเกิดคลื่น ร่วมกับการใช้สถานการณ์จ าลองบนคอมพิวเตอร์ PhET (Interactive Simulations) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ไขปัญหาการเรียนรายวิชาเคมี 5 (ว30225) ด้วยชุดกิจกรรมเคมีอินทรีย์ เรื่อง Isomer ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวทางสสวท. ผู้วิจัย นางสาวชยากร นรินทร์หงษ์ทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดกิจกรรมเรื่องเคมีอินทรีย์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความรู้เรื่องเคมีอินทรีย์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและ หลังเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6/6 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. ชุดกิจกรรมเคมี อินทรีย์เรื่อง Isomer ประกอบด้วย หน่วยย่อย 3 หน่วย ดังนี้ หน่วยที่ 1 ไอโซเมอริซึม (ISOMERISM), หน่วยที่ 2 การจัดเรียงอะตอม ของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์, หน่วยที่ 3 การจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์2 , 2. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Isomer และ 3. แบบทดสอบวัดความรู้เคมีอินทรีย์ เรื่อง Isomer สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวนของคะแนน และการเปรียบเทียบความรู้ในบทเรียนก่อนและหลังการเรียนภายในกลุ่มเดียวกันโดยใช้ t–test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า ในการศึกษาครั้งนี้พบว่า ชุดกิจกรรมเคมีอินทรีย์ เรื่อง Isomer ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6 สามารถแก้ปัญหาการเรียนรายวิชาเคมี 5 (ว30225) ด้วยชุดกิจกรรมเคมีอินทรีย์ เรื่อง Isomer เพื่อพัฒนา สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวทางสสวท. ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ผลการจัดการเรียนรู้ด้านความรู้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4-6/6 ร้อยละ 100 สามารถ อธิบายความหมายของไอโซเมอริซึม (ISOMERISM) และประเภทของ Isomer โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และสามารถน าความรู้ที่ได้มาน าเสนอสรุปในรูปแบบ Mind Map และผลคะแนนทดสอบวัดความรู้เคมีอินทรีย์ เรื่อง Isomer ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภายหลังได้รับ การเรียนโดยใช้ใช้ชุดกิจกรรมสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยส าคัญ .05 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เคมีอินทรีย์ เรื่อง Isomer หลังการใช้ชุดกิจกรรมสูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรม 2. ผลการจัดการเรียนรู้ ด้านทักษะกระบวนการนักเรียนทุกคนสามารถใช้กระบวนการกลุ่มใน การออกแบบกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์ตามสถานการณ์ ที่ก าหนดตรงตามการประเมินสร้างแบบจ าลองของโครงสร้างไอโซเมอร์ของสารอินทรีย์ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ทุกไอโซเมอร์ พร้อมทั้งระบุชนิดของไอโซเมอร์และสามารถน าเสนอความคิดรูปแบบอื่น ๆ พร้อมทั้งน าไปใช้ใน การเขียนไอโซเมอร์ของสารอื่นได้ 3. ผลการจัดการเรียนรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6/4-6/6 ร้อยละ 82.79 มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบ และท างานครบตามที่ได้รับมอบหมายทันเวลา ที่ก าหนด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ 3 (ว30203) เรื่อง แสง โดยใช้แบบฝึก ทักษะ เรื่อง แสง ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาววราภรณ์ ชูบัณฑิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ แบบฝึกทักษะเรื่องแสงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 และ 2) เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 ที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะเรื่องแสง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย จ านวน 43 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน-หลังเรียน เรื่องแสง วิชาฟิสิกส์ 3 และแบบวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ร้อยละ (Percentage) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ 3 ว30203 เรื่อง แสง โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง แสง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง แสง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 ในระดับดีเยี่ยม ( X̅ = 4.77 )
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก โดยใช้บทเรียนส าเร็จรูป โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายเอกชัย อ่ าสิงห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการสืบพันธุ์ของ พืชดอกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/4 ที่มีต่อการใช้บทเรียนส าเร็จรูป โดยมีกลุ่มตัวอย่างใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 27 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ตามลักษณะการใช้ดังนี้ 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สื่อการสอนเรื่องการสืบพันธุ์ ของพืชดอก 2. บทเรียนส าเร็จรูป เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอกวิชาวิทยาศาสตร์1 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และการหา ประสิทธิภาพของวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้สูตร E1 / E2 ผลการวิจัยพบว่า การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 มีคะแนนเฉลี่ย 4.07 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 40.70 และ 8.03 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 80.30 ตามล าดับ และเมื่อ เปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียนพบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอน บทเรียนส าเร็จรูป เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 มีคะแนนเฉลี่ย สูงขึ้นเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อการสอนบทเรียนส าเร็จรูป เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอกในด้านเพิ่มบทบาทผู้เรียนในการเป็นผู้ปฏิบัติมากที่สุดและด้านความคงทน สามารถน ากลับมาใช้ได้อีกน้อยที่สุดที่ค่าเฉลี่ย 4.8 และ 3.9 ตามล าดับ คะแนนรวมความพึงพอใจ ทุกด้านรวมร้อยละ 82.00 ซึ่งมีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา 5 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6/6 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT (Teams-Games-Tournaments) ผู้วิจัย นางสาวอริสรา อันละคร กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา 5 เรื่องระบบ ต่อมไร้ท่อส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT (Teams-Games-Tournaments) กลุ่มทดลองคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 จ านวน 40 คน และกลุ่มควบคุมคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 จ านวน 40 คน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยการใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ จ านวน 7 แผนการจัดการเรียนรู้ 2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชาชีววิทยา เรื่อง ระบบต่อมไร้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT มีคะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 14 และ 2.70 ตามล าดับ นักเรียนกลุ่มที่จัดการเรียนรู้แบบปกติ มีคะแนนเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 9 และ 3.06 ตามล าดับ จึงสามารถสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาชีววิทยา 5 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ด้วยเทคนิค TGT สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบปกติ ซึ่งเป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โดย การจัดการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานมาใช้ร่วมกับการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E เรื่อง สาร บริสุทธิ์และสารผสม ผู้วิจัย นางสาวทาริกา บุญพรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องสาร และสมบัติของสารก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบทีมเป็น ฐานร่วมกับการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ การเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องสารและสมบัติของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โดยการใช้วิธีการ เรียนรู้แบบทีมเป็นฐานร่วมกับการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E ประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/1 ที่ก าลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร จ านวน 31คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานร่วมกับการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร จ านวน 7แผน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่าทีคือ t-test for dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสารก่อนและหลังเรียนของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานร่วมกับการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E หลังเรียน ( x=̅ 23.70, S.D. = 2.35) สูงกว่าก่อนเรียน (x=̅ 9.27, S.D. = 2.50) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05และมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.81 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 2.คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานร่วมกับ การสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x̅= 4.12, S.D. = 0.88)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน (Game Based Learning) ในรายวิชาเคมี 1 เรื่อง สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ ผู้วิจัย นางสาวนรีรักษ์ ทองสะอาด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน (Game Based Learning) ในรายวิชาเคมีเรื่องสมบัติของธาตุตามตารางธาตุโดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน แบบเกม (Game Based Learning) ในรูปแบบของการ์ดเกมส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีเรื่อง สมบัติของธาตุตามตารางธาตุส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบเกม (Game Based Learning) 3) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน (Game Based Learning) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) การ์ดเกม เรื่อง สมบัติของธาตุตาม ตารางธาตุ2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีเรื่องสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ เป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้เกมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเคมี จ านวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้สถิติทดสอบ ค่า ที(t-test) แบบ dependent Samples Test 2) วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย (̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจากจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน (Game Based Learning) ในรายวิชาเคมี 1 เรื่อง สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.00 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน (Game Based Learning) อยู่ในระดับมาก
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23101 เรื่อง พันธุกรรม โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวจิรัชญา สุขรัตนเจริญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของการใช้เอกสารประกอบการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23101 เรื่องพันธุกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อศึกษา เปรียบเทียบความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23101 เรื่องพันธุกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 และ 3/4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียน ที่1 ปี ก า ร ศึ กษ า 2565 จ า น ว น 64 ค น ที่ไ ด้ ม า จ า ก ก า ร เ ลื อ ก ตั ว อ ย่ าง แ บ บ เ จ า ะ จง (Purposive sampling) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23101 เรื่อง พันธุกรรม 2) แบบวัดความรู้ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23101 เรื่อง พันธุกรรม สถิติที่ใช้ส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลคะแนนทดสอบวัดความรู้เรื่อง พันธุกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 และ 3/4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญ .05 แสดงว่านักเรียนมี ความรู้เรื่องพันธุกรรมหลังใช้เอกสารประกอบการเรียนสูงกว่าก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาด้วยการเรียนการสอนแบบกลุ่ม ร่วมมือ โดยเทคนิค STAD ส าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางสาวเบญจวรรณ ยืนยง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาด้วย การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือโดยเทคนิค STAD ส าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 42 คน ซึ่งมาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนการสอนด้วยการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ โดยเทคนิค STAD จ านวน 2 แผน 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ในรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา โดยการเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือด้วย เทคนิค STAD พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพัฒนาขึ้นหลังจากจัดการเรียนการสอนตามแผน การเรียนรู้ที่ 2 โดยในระยะแรกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่เกิดการพัฒนาแต่ต้องใช้ระยะเวลา ผลสัมฤทธิ์จะมีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุกรรมกับสิ่งมีชีวิตของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 โดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นางสาวภัทธรินทร์ นิลสระคู กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องพันธุกรรมกับสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนา การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง พันธุกรรมกับสิ่งมีชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8 ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรม พัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องพันธุกรรมกับสิ่งมีชีวิต กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวนนักเรียน 44 คน โดยการสุ่มตัวอย่าง แบบกลุ่ม (Cluster sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดกิจกรรมพัฒนา การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุกรรมกับสิ่งมีชีวิต 2) แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุกรรมกับ สิ่งมีชีวิตก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.25 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.99 และ หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.86 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.80 และเมื่อ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนา การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องพันธุกรรมกับสิ่งมีชีวิตพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยาน่ารู้เรื่อง เซลล์ โดยเทคนิคแผนผัง มโนทัศน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นายภควัชร นาคขวัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้เทคนิคของแผนผัง มโนทัศน์กลุ่มประชากรส าหรับงานวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 31 คน โดยใช้ วิธีการเลือกประชากรแบบจ าเพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนจัดการเรียนรู้ 2) เทคนิคการเขียนแผนผังมโนทัศน์ 3) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จ านวน 20 ข้อ เป็น การวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรื่อง เซลล์ ซึ่งสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ของ รายวิชาชีววิทยาน่ารู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการเปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังใช้แผนผังมโนทัศน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 จ านวน 31 คน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นหลัง การจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนผังมโนทัศน์
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ เรื่อง การออกแบบอัลกอริทึมโดยใช้รหัสจ าลอง (Pseudocode) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย นางกรรณิการ์ ประเสริฐวุฒิกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อสร้างกระบวนการคิดวิเคราะห์เน้นพัฒนการเรียนรู้ด้วย กระบวนการคิดวิเคราะห์ในเรื่องการออกแบบเชิงระบบตามแนวคิดอัลกอริทึม 2. เพื่อศึกษาผล ประเมินการคิดวิเคราะห์ตามแนวคิดการเรียนรู้ในลักษณะอัลกอริทึมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ กิจกรรมการเรียนการสอนเชิงวิเคราะห์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบอัลกอริทึม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จ านวน 30 คน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา วิทยาการค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 2 กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สื่อการเรียนรู้ เรื่องการเขียนผังงานและอัลกอริทึม การออกแบบขั้นตอนการท างานโดยใช้รหัสจ าลอง แบบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การออกแบบ อัลกอริทึมโดยใช้รหัสจ าลอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 รายวิชา ว22103 วิทยาการค านวณ -ออกแบบเทคโนโลยี2 คะแนนสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 14.43 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนพบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์เรื่องการออกแบบอัลกอริทึมโยใช้รหัสจ าลองอยู่ ในระกับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.23
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การวางแผนและด าเนินงานแก้ปัญหาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยการใช้เทคนิค Gantt Chart ใน Google Sheet ผู้วิจัย นายรวิ แจ่มพินิจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยี วิทยาการค านวณ 4 เรื่องการวางแผนและด าเนินงานแก้ปัญหาก่อนและหลังการใช้เทคนิค Gantt Chart ใน Google Sheet ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กรุงเทพมหานคร จ านวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การใช้เทมเพลตแกลลอรี่ Gantt Chart ใน Google Sheet สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คะแนนความก้าวหน้า ค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 ที่เรียนรู้ ด้วยการใช้เทมเพลตแกลลอรี่ Gantt Chart ใน Google Sheet วางแผนและด าเนินงานแก้ปัญหา คะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีคะแนนก่อนเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 12.40 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2.09 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 16.75 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.33 เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคลพบว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 ได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน โดยมีค่าความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นที่ 1-7 คะแนน แสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยการใช้เทมเพลตแกลลอรี่ Gantt Chart ใน Google Sheet วางแผนและด าเนินงานแก้ปัญหา มีผลสัมฤทธิ์การเรียนหลังเรียน สูงขึ้นกว่าก่อนเรียน 100% การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 95/81 สูงกว่า เกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เรื่องการสร้างชิ้นงาน Portfolio เพื่อน าเสนอ ยื่นคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย โดยการใช้การใช้ทฤษฎี 9 ช่องเป็นฐานของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้วิจัย นายธนะกิจ รุ่งโรจน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาและพัฒนาให้นักเรียนมีเจตคติที่ดี มีความ สนุกสนาน สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงาน ผลงาน ได้น่าสนใจ สวยงาม น าเสนอสื่อความหมายได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของงาน การสร้างชิ้นงาน Portfolio เพื่อน าเสนอยื่นคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยโดย การใช้การใช้ทฤษฎี 9 ช่องเป็นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ที่เรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์จ านวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย Google Slide วิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การสร้างชิ้นงาน Portfolio เพื่อน าเสนอยื่น คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย โดยการใช้การใช้ทฤษฎี 9 ช่องเป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย (ˉx) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนความแตกต่างระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การสร้าง ชิ้นงาน Portfolio เพื่อน าเสนอยื่นคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย โดยการใช้การใช้ทฤษฎี 9 ช่องเป็นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 40 คน มีดังนี้ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เท่ากับ 4.10 และ คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 8.50 ดังนั้น คะแนนความก้าวหน้าของนักเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 8.50 – 4.10 เท่ากับ 4.40 นั่นแสดงว่าภายหลังจากการเรียนวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การสร้างชิ้นงาน Portfolio เพื่อน าเสนอยื่นคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยโดยการใช้การใช้ทฤษฎี9 ช่องเป็นฐาน นักเรียน มีความสามารถในการสร้างชิ้นงาน Portfolio เพื่อน าเสนอยื่นคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยโดยการใช้ การใช้ทฤษฎี 9 ช่องเป็นฐานสูงขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาออกแบบเทคโนโลยีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้ชุดฝึกทักษะการออกแบบ ขั้นตอนหรือวิธีการแก้ปัญหาด้วย DRAW.IO ผู้วิจัย นางสาวรัตนา กาญจนสาลี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ออกแบบเทคโนโลยีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้ชุดฝึก ทักษะการออกแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการแก้ปัญหาด้วย DRAW.IO โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ 2. ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ชุดฝึกทักษะ การออกแบบ ขั้นตอนหรือวิธีการแก้ปัญหาด้วย DRAW.IO โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 33 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดฝึกทักษะการออกแบบ ขั้นตอนหรือวิธีการแก้ปัญหาด้วย DRAW.IO 2) แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต น าข้อมูลที่ได้จาก การท าแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนมาสร้างตารางเปรียบเทียบคะแนน ความก้าวหน้าของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการเปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังใช้DRAW.IO ใน การออกแบบวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า หลังใช้ชุดฝึกทักษะการออกแบบ ขั้นตอนหรือวิธีการแก้ปัญหาด้วย DRAW.IO นักเรียนได้ พัฒนาการออกแบบโดยรวมคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น สามารถสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ สะดวกต่อการน าไป สร้างชิ้นงานตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมต่อไป
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่องานวิจัย การศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ในเรื่องการไม่ส่งงาน ชื่อผู้วิจัย นายประเสริฐ อภิวงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เรื่องการไม่ส่งงาน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน โดยผู้วิจัยได้ จัดท าแบบสอบถาม จ านวน 15 ข้อ ส าหรับเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ ส่งงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน โดยให้นักเรียนเรียงล าดับ สาเหตุการไม่ส่งงาน ตามล าดับที่มากที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจากล าดับ 1–15 แล้วน าผลของแต่ละสาเหตุมาหาค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบบร้อยละ และน าข้อมูล ที่ได้มาวิเคราะห์และหาข้อสรุป น าเสนอในรูปของตารางประกอบค าบรรยายเพื่อศึกษาพฤติกรรมของ นักเรียนในเรื่องการไม่ส่งงาน ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/8 ในเรื่องการไม่ส่งงาน แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของการไม่ส่งงาน ล าดับที่ 1 คือการให้การบ้าน มากเกินไป และแบบฝึกหัดยากท าไม่ได้ โดยคิดจากนักเรียน 45 คน ที่เลือกเป็นสาเหตุอันดับที่ 1 และ 2 จ านวน 27 คน คิดเป็น ร้อยละ 60
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมวิชาวิทยา การค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 1 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัย นางวรัญธภรณ์ นลินวิชญ์โภคิน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้กระบวน การออกแบบเชิงวิศวกรรมในรายวิชาวิทยาการค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 1ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนวิชาวิทยาการค านวณ-ออกแบบ เทคโนโลยี 1 ของนักเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 31 คน โดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาการค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 1 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้วิชาวิทยาการค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 1 โดยใช้กระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) ค่าเฉลี่ย (x-bar) 2) ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในวิชา วิทยาการค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 1 จ านวน 31 คน พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 87.74 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ผ่าน นักเรียนมีคะแนนไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ จ านวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 93.54 และมีนักเรียนมีคะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ จ านวน 2 คน คิดเป็น ร้อยละ 6.45 2. ความพึงพอใจในการเรียนวิชาวิทยาการค านวณ-ออกแบบเทคโนโลยี 1 โดยใช้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 31 คน พบว่า ภาพรวม ของความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (X̄= 4.77, S.D. = 0.46) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาโดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์รายวิชา วิทยาการค านวณ เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 ผู้วิจัย นายกฤติกร ล้อจิตติกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์เรื่องกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม 2) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนโดยใช้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 42 คน กลุ่มตัวอย่างได้รับเลือกแบบจ าเพาะเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาการค านวณ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม แบบวัดความสามารถ ในการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ̅และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยพัฒนาความสามารถใน การแก้ปัญหาพบว่า นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็น การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง มีการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้วาง แผนการออกแบบเพื่อน ามาใช้ในการแก้ปัญหา 2. ผลการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาพบว่า คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหา ทั้ง 3 ด้าน ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม สูงกว่าก่อนเรียน โดยคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนด้านการระบุและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (2.93) ด้านการน าเสนอวิธีการแก้ปัญหา (3.21) ด้านการตรวจสอบผลของการแก้ปัญหา (3.18) และคะแนน เฉลี่ยหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน ดังนี้ ด้านการระบุและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (3.95) ด้าน การน าเสนอวิธีการแก้ปัญหา (4.19) ด้านการตรวจสอบผลของการแก้ปัญหา (4.16)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 3 เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชัน โดยการจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการกลุ่ม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาวแอมจิรา จันทร์ลี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยา การค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 3 เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชัน โดยการจัดการเรียนการสอน ด้วยกระบวนการกลุ่มส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างคือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/10 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 46 คน ได้มาจากการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 3 เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชัน 2) เนื้อหารายวิชา วิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 3 เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันและแบบทดสอบรายวิชา วิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าร้อยละ และ t-test ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 3 เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชันส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ ด้วยกระบวนการกลุ่มในครั้งนี้พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย (X̄=10.28, S.D. =2.12) ส่วนคะแนนหลังเรียน โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกระบวนการกลุ่ม มีคะแนนเฉลี่ย (X̄= 15.57, S.D.=1.64) และผลการเปรียบเทียบพบว่าค่า t ค านวณได้มีค่าเท่ากับ 18.50 และมีค่า Sig คือ 0.000 แสดงว่าคะแนนหลังเรียนโดยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกระบวนการกลุ่มสูงกว่า คะแนนก่อนเรียนโดยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกระบวนการกลุ่มอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop ของนักเ รียนชั้นมัธยมศึกษ าปีที่ 6/2 โดยก า รใช้ทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ ผู้วิจัย นางสาวกุลจิรา การนา กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์เรื่องการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โดย การใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมสร้างชิ้นงาน ในห้องเรียน แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน แบบฟอร์มการให้ คะแนนกิจกรรมภาระงานในชั้นเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย (X̄) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเรียนตลอดภาคเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จ านวน 31 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่าคะเฉลี่ยคะแนนทั้งหมดอยู่ที่ 88.90 คะแนน ตามข้อตกลงของสถานศึกษาพบว่า ผู้เรียน ประชากรทั้งหมด 200 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่อยู่ในระดับดี จ านวน 190 คน คิดเป็นค่าเฉลี่ย (x̄) = 95.00 สูงกว่าค่าเป้าหมายที่ทางโรงเรียนก าหนดไว้ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมในห้องเรียน เรื่อง การเขียนโปรแกรมด้วย Scratch เช่น การสร้าง งานการเคลื่อนไหวตัวละคร การรับค่าตัวแปร การใช้ฟังชั่นเสียง การสร้างเกม เป็นต้น ได้ทุกคน คิดเป็น 100% 3. นักเรียนมีความพึงพอใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนทั้งด้านบุคลิกและ การแต่งกาย ด้านการเรียนการสอน และด้านการวัดผลประเมินผลอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 4. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Photoshop โดยใช้ทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ท าให้นักเรียนสามารถพัฒนาพัฒนาความรู้ความเข้าใจในด้านเนื้อหาและการลงมือปฏิบัติชิ้นงาน ด้วยซอฟต์แวร์ได้ดีขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาบทเรียน E-Learning รายวิชาวิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 2 เรื่องกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย นางสาวจารุวรรณ โคตรเหง้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อการพัฒนาบทเรียน E-Learning รายวิชาวิทยา การค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 2 2) เพื่อทดลองการสอนโดยใช้บทเรียน E-Learning เรื่องกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 การสอนโดยใช้รูปแบบบทเรียน E-Learning รายวิชาวิทยาการค านวณ–ออกแบบ เทคโนโลยี 2 เรื่องกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2/9 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling ) ด้วยวิธีการจับฉลากโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมิน ความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของของรูปแบบการสอนบทเรียน E-Learning โดยคิดจากคะแนนเฉลี่ยของ กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บทเรียนได้คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบระหว่างบทเรียนและแบบทดสอบ ท้ายบทเรียน 81.15/83.01 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ก าหนดไว้ 2. ผลการประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 45 คน พบว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบทดสอบ ก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.76 และค่าคะแนนจากการท าแบบทดสอบหลังเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.78 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนโดยรูปแบบการสอนบทเรียน E-Learning รายวิชาวิทยาการค านวณ–ออกแบบเทคโนโลยี 2 เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.00
82 แผนภูมิที่ 1 แสดงผลร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ประเภทงานวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 23 76.66 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2 6.66 3. เจตคติ/ความพึงพอใจ 0 0.00 4. วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 4 13.33 ไม่ส่งงานวิจัย (คน) 1 3.33 รวม 30 100 ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลข้อมูลจ านวนและร้อยละประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แยกตามประเภทของงานวิจัยในชั้นเรียน ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน 77% ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7% เจตคติ/ความพึงพอใจ 0% วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน 13.33% กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เจตคติ/ความพึงพอใจ วิจัยทดลอง/รูปแบบการสอน ไม่ส่ง 3.33%
83 แผนภูมิที่ 2 แสดงผลร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ลักษณะรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. เชิงปริมาณ 16 53.33 2. เชิงคุณภาพ 13 43.33 ไม่ส่งงานวิจัย (คน) 1 3.33 รวม 30 100 ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละลักษณะของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เชิงปริมาณ, 16 เชิงคุณภาพ, 13 ไม่ส่งงานวิจัย (คน), 1 รวม, 30 เชิงปริมาณ, 53.33 เชิงคุณภาพ, 43.33 ไม่ส่งงานวิจัย (คน), 3.33 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ไม่ส่งงานวิจัย (คน) รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
84 แผนภูมิที่ 3 แสดงผลร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เป้าหมายตัวแปรตาม ของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวนครู (คน) จ านวนเป้าหมาย ตัวแปรตาม (คน) ร้อยละ 1. K (Knowledge) 30 22 73.33 2. P (Process) 30 8 26.66 3. A (Attitude) 30 9 30.00 ไม่ส่งงานวิจัย (คน) 1 0 3.33 รวม 100 หมายเหตุ เป้าหมายตัวแปรตาม KPA สามารถเป็นได้มากกว่า 1 เป้าหมาย ได้แก่ K (Knowledge), P (Process) และ A (Attitude) ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลจ านวนและร้อยละเป้าหมายตัวแปรตามของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 K (Knowledge), 22 P (Process), 8 A (Attitude), 9 ไม่ส่งงานวิจัย, 1 รวม, 30 K (Knowledge), 73.33 P (Process), 26.66 A (Attitude), 30 ไม่ส่งงานวิจัย, 3.33 รวม, 100 0 20 40 60 80 100 120 K (Knowledge) P (Process) A (Attitude) ไม่ส่งงานวิจัย รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
85 แผนภูมิที่ 4 แสดงผลร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จ านวน (คน) ร้อยละ (คน) 1. วิจัยหน้าเดียว 3 10.00 2. วิจัยฉบับย่อ 2 6.66 3. วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) 24 80.00 ไม่ส่งงานวิจัย (คน) 1 3.33 รวม 30 100 ตารางที่ 4 แสดงผลจ านวนและร้อยละรูปแบบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิจัยหน้าเดียว, 3 วิจัยฉบับย่อ, 2 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 24 ไม่ส่งงานวิจัย (คน), 1 วิจัยหน้าเดียว, 10 วิจัยฉบับย่อ, 6.66 วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท), 80 ไม่ส่งงานวิจัย (คน), 3.33 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 วิจัยหน้าเดียว วิจัยฉบับย่อ วิจัยเต็มรูปแบบ (5 บท) ไม่ส่งงานวิจัย (คน) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน (คน) ร้อยละ (คน)
รวมบทคัดย่อ ย่ (Abstract) รายงานการวิจั วิ ย จั ในชั้น ชั้ เรีย รี น กลุ่ม ลุ่ สาระการเรีย รี นรู้สั รู้ ง สั คมศึกษา ศาสนาและวัฒ วั นธรรม ภาคเรีย รี นที่ 1 ปีก ปี ารศึกษา 2565 งานวิวิจัวิจัวิยจัจัพัพัฒพัพันาคุคุณคุคุภาพการศึศึศึกศึษา กลุ่ลุ่ ลุ่ มลุ่ลุ่ มลุ่บริริหริริารวิวิชวิวิาการ โรงเรีรียรีรีนนวมิมินมิมิทราชิชินูชินูชิทินูทินูทิศทิ สตรีรีวิรีวิรีทวิวิยา พุพุพุพุทธมณฑล สัสังสัสักักักัดกั สำสำสำสำนันักนันังานเขตพื้พื้พื้นพื้พื้พื้ที่ที่ ที่ ก ที่ การศึศึศึกศึษามัมัธมัมัยมศึศึศึกศึษากรุรุรุงรุเทพมหานคร เขต 1 สำสำสำสำนันักนันังานคณะกรรมการการศึศึศึกศึษาขั้ขั้นขั้ขั้พื้พื้พื้นพื้พื้พื้ฐาน กระทรวงศึศึศึกศึษาธิธิกธิธิาร
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยนักเรียนใช้กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้ รายวิชา ส32101 ภูมิศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 ผู้วิจัย นายกฤศณัฎฐ์ คล้ายข า กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยใน การเรียนรู้ รายวิชา ส32101 ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ 2) ศึกษาผลการประเมินตนเองของ นักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัย 4 ชั้นในการเรียนรู้ และ 3) ศึกษาผลการประเมินของนักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนโดยให้นักเรียนใช้กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบประเมินผลงานนักเรียนรายกลุ่มแบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน 2) แบบประเมินตนเองของนักเรียน สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การหาค่าความถี่ ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้พบว่า ผลงานของนักเรียนจาก การท าโครงงานโดยภาพรวม อยู่ในระดับดี ( =3.45) โดยรายการที่ผู้เรียนปฏิบัติได้ดีที่สุดคือ ขั้นตั้ง ค าถามผลการประเมินตนเองของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัย 4 ชั้น พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับดี ( =3.11) โดยรายการที่ผู้เรียนปฏิบัติได้ดีที่สุดคือ ขั้นด าเนินการค้นหาและตรวจสอบค าตอบ ผลการประเมินตนเองของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอนโดยนักเรียนใช้ กระบวนการวิจัย 4 ชั้น พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับดี ( =3.09) โดยรายการที่ผู้เรียนคิดเห็นว่าครู ปฏิบัติได้ดีที่สุดคือ ขั้นเตรียมการค้นหาค าตอบ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ผู้วิจัย นางสาวนิติยา ภักดีบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ทางสังคมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 46 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบฝึก ทักษะ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน–หลังเรียน 4) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน แบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน–หลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า การสอนสังคมศึกษาพื้นฐาน เรื่อง ภูมิศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่านักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5/11 ใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นร้อยละ 87 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ในการจัดกิจกรรม ดังกล่าวท าให้นักเรียนมีความสนใจการเรียน รู้สึกสนุกสนาน มีความรับผิดชอบ ท าให้ไม่เบื่อหน่ายต่อ การเรียนส่งเสริมทักษะในด้านต่าง ๆ เกิดความเข้าใจบทเรียน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในทางบวกและท าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นตามล าดับ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการท างานร่วมกับผู้อื่น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 รายวิชา เรื่อง ส าคัญในประวัติศาสตร์ไทย ผู้วิจัย นางวันเพ็ญ มีค าแสน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถใน การท างานร่วมกับผู้อื่นเรื่องเหตุการณ์ส าคัญโดยใช้การเรียนแบบร่วมมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/12 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เหตุการณ์ ส าคัญ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เหตุการณ์ส าคัญ โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ แตกต่างจากคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนมีทักษะปฏิบัติการทักษะ การน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและมีคะแนนทดสอบท้ายคาบเรียนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2. นักเรียนส่วนใหญ่พอใจกับการสอนรูปแบบนี้มีการช่วยเหลือกลุ่ม ความรับผิดชอบ การแสดงความคิดเห็น การรับฟังความคิดเห็นหลังการเรียนแบบร่วมมือโดยเฉลี่ยสูงขึ้น และนักเรียน มีความสัมพันธ์ภายในห้องเรียนเพิ่มขึ้น
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT ผู้วิจัย นางนงนุช ลิ่วพันธ์พงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้หลังเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ทวีป ออสเตรเลียและโอเชียเนียโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนด 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 1 ห้อง คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 7 เรียนจ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT แบบทดสอบวัดผล การเรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT การวิเคราะห์ข้อมูลโดยโดยใช้ค่าเฉลี่ย (̅) และหาค่าร้อยละ (%) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนผลการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียโดยการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ 4MAT ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้คือ ร้อยละ 70 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 ที่ว่า ผลการเรียนรู้หลังเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์ ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าร้อยละ 70 และ ผลการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปออสเตรเลียและ โอเชียเนียของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ 4MAT ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2 ที่ว่าผลการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปออสเตรเลียและ โอเชียเนีย โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT สามารถพัฒนาผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา 3 เรื่อง ทวีปยุโรป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทบทวนความรู้ ผู้วิจัย นางไพพร ดีบาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา 3 เรื่องทวีปยุโรปของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทบทวนความรู้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 ที่ก าลังเรียนอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 45 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบฝึกทบทวนความรู้สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 โดยใช้แบบฝึกทบทวน ความรู้ เรื่อง ทวีปยุโรป หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 3.6 คะแนน เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 7.8 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/8 หลังการใช้ชุดแบบฝึก ทบทวนความรู้ เรื่อง ทวีปยุโรป สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 จ านวน 45 คน โดยมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 78.22
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/12 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ผู้วิจัย นายพุทธัย เพื่อรอดวงษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องหลักค าสอน พระพุทธศ าสน าแล ะศ าสน าอื่น ๆ โดยใช้ก ารจัดก า รเ รียน รู้แบบ ร่วมมือเทคนิค และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องหลักอริยสัจ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ของนักเรียนที่มีต่อการใช้นวัตกรรมเรื่องหลักธรรม อริยสัจ 4 ทั้งก่อนและหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT จ านวน 10 คน โดยใช้ วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 จ านวน 10 ข้อ ซึ่งเป็นแบบทดสอบชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยผู้วิจัยได้ตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยระหว่าง 0.67-1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค TGT อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ (̅ = 11.50, S.D. = 1.43) 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ เรื่อง หลักธรรมอริยสัจ 4 ทั้งก่อนเรียน และหลังเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT พบว่า หลังเรียน (̅ = 11.50, S.D. = 1.43) สูงกว่าก่อนเรียน (̅ = 5.80, S.D. = 1.23)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง ผลของการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาภูมิศาสตร์ ส32101 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวเพ็ชรชมพู พิชญ์พันธ์เดชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รายวิชา ภูมิศาสตร์ ส32101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทางการแก้ไข 2) เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาภูมิศาสตร์ส32101 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ใบงานการเขียนผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหา หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทางการแก้ไข 2) ข้อสอบปรนัยวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาจ านวน 20 ข้อ คะแนนเต็มทั้งหมด 20 ค าแนน และมีเกณฑ์การผ่านการประเมินคือ 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 50 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า หลังการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาวิชาภูมิศาสตร์ ส32101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ปัญหา สิ่งแวดล้อมและแนวทางการแก้ไข นักเรียนทุกคนสามารถท าคะแนนหลังเรียนได้สูงกว่าก่อนเรียน ทุกคน โดยคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาเนื้อหาวิชา ภูมิศาสตร์ ส32101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทางการแก้ไขเท่ากับ 5.75 คะแนน คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาเนื้อหาวิชา ภูมิศาสตร์ ส32101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทางการแก้ไขเท่ากับ 11.48 เพิ่มขึ้นจากก่อนการใช้ผังมโนทัศน์สรุปเนื้อหาเนื้อหาวิชาภูมิศาสตร์ส32101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทางการแก้ไข 5.73 คะแนน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา 1 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียนรูปแบบสื่อผสม ผู้วิจัย นางสาวประภารัตน์ อรุณภู่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา สังคมศึกษา 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียนรูปแบบสื่อผสมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียนรูปแบบ สื่อผสม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้2) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน 3) แบบฝึกทักษะ ทางการเรียนรูปแบบสื่อผสมประกอบซึ่งด้วยเนื้อหา ใบความรู้ สื่อการเรียน Power point, Wordwall, Live Worksheets 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสังคมศึกษา 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียนรูปแบบสื่อผสมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะทาง การเรียนรูปแบบสื่อผสม ค่าเฉลี่ย ̅ = 4.56 อยู่ในระดับมากที่สุด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สากลและเจตคติต่อวิชา ประวัติศาสตร์สากลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดย ใช้หนังสือเสริมประสบการณ์และการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย ผู้วิจัย นายพงศกร จิรยั่งยืนยง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาประวัติศาสตร์ สากล เรื่องพัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ และ 2. เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 3. ศึกษา เจตคติของนักเรียนต่อวิชาประวัติศาสตร์สากลเมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสือเสริม ประสบการณ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทรา ชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่ก าลังศึกษาอยู่ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) หนังสือเสริมประสบการณ์ เรื่อง พัฒนาการของยุโรป สมัยใหม่ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 และหาค่าประสิทธิผล (E.I) 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจ านวน 40 ข้อ มีค่าอ านาจจ าแนกระหว่าง 0.20–0.56 และมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.36–0.78 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยหนังสือเสริมประสบการณ์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบบรรยายอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 2. หนังสือเส ริมป ระสบก า รณ์ เ รื่อง พัฒน าก า รของยุโ รปสมัยใหม่ที่พัฒน าขึ้น มีประสิทธิภาพ 79.88/82.90 3. ความพึงพอใจในการเรียนรู้โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ เรื่อง พัฒนาการของ ยุโรปสมัยใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด (̅ = 4.62) 4. นักเรียนมีเจตคติต่อการเรียนในรายวิชาประวัติศาสตร์สากลโดยใช้หนังสือเสริม ประสบการณ์ อยู่ในระดับมาก (̅ = 4.30)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การใช้รูปแบบการสอน Active Learning เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา สังคมศึกษา ผู้วิจัย นางขนิษฐา ตันกูล กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของบทเรียนวิชาสังคมศึกษาที่ใช้รูปแบบ การสอน Active Learning ส าหรับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาสังคมศึกษาโดยใช้รูปแบบการสอน Active Learning 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน ที่มีต่อรูปแบบการสอน Active Learning ในรายวิชาสังคมศึกษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ประจ าปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน โดยวิธี เจาะจง ทดลองใช้ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลองสัปดาห์ละ 4 คาบ คาบละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 4 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัด การเรียนรู้วิชาการบัญชีบริหาร โดยใช้รูปแบบการสอน Active Learning 2) แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบการสอน Active Learning การเก็บรวบรวม ข้อมูลใช้ระยะเวลา 6 สัปดาห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าทีของกลุ่มตัวอย่างไม่อิสระ (t-test for Dependent Sample) ผลการวิจัยพบว่า 1. บทเรียนวิชาสังคมศึกษาที่ใช้รูปแบบการสอน Active Learning มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนวิชาสังคมศึกษาโดยใช้รูปแบบการสอน Active Learning สูงกว่าก่อนเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาโดยใช้รูปแบบการสอน Active Learning อยู่ในระดับมากที่สุด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ไขปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์ เรื่อง กลไกราคาใน ระบบเศรษฐกิจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือกัน เทคนิคกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) ผู้วิจัย นางสาวสุภกฤตา หงษ์ทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. แก้ไขปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ก่อนและ หลังเรียน โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) และ 2. ศึกษาความ คิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) ในด้าน บรรยากาศการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับจากวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3/5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร จ าน วน 45 คน ซึ่งไ ด้ม าโ ด ย ก า ร สุ่ม อย่ างง่ า ย (Simple Random Sampling) โ ด ย ก า ร จับ ฉล า ก เ ค รื่ อง มือ ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่อง กลไกราคาในระบบ เศรษฐกิจ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ด้วยสถิติพื้นฐาน เช่น ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม กลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) หลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD : Student Teams Achievement Division) โดยภาพรวม นักเรียนเห็นด้วยอย่างยิ่ง (̅= 4.36, S.D. = 0.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า นักเรียนเห็นด้วยอย่างยิ่งเป็นล าดับที่ 1 คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (̅= 4.49, S.D. = 0.59) และนักเรียนเห็นด้วยอย่างยิ่งเป็นล าดับสุดท้ายคือ ด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้(̅ =4.16, S.D. = 0.76)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักเรียนด้วยวิธีการแจ้งคะแนน แบบ Real time ด้วย Application Google Sheets ผู้วิจัย นายณัฐวุฒิ ปั้นเหน่งเพชร กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาสาเหตุการไม่ส่งงานของนักเรียน 2) เพื่อแก้ปัญหา การไม่ส่งงานของนักเรียนด้วยวิธีการแจ้งคะแนนแบบ Real time ด้วย Application Google Sheets 3) เพื่อเปรียบเทียบการส่งงานช้าก่อนและหลังการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักเรียนด้วย วิธีการแจ้งคะแนนแบบ Real time ด้วย Application Google Sheets กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ที่เรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 1 จ านวน 142 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามสาเหตุการไม่ส่งงาน จ านวน 10 ข้อ 2) ตารางคะแนน Google Sheets สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักเรียนด้วยวิธีการแจ้งคะแนนแบบ Real time ด้วย Application Google Sheets พบว่า 1) สาเหตุการไม่ส่งงานอันดับ 1 มาจากการที่ นักเรียนไม่ทราบว่าตนเองค้างงานใดบ้าง (X = 4.32, S.D. = 0.74) และ 2) ผลการแก้ปัญหานักเรียน ส่งงานช้าลดลงร้อยละ 86.32
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา 5 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้สื่อเสมือนจริง (AR) ผู้วิจัย นางกรัณฑา สุธาทรัพย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อสร้างสื่อเสมือนจริง (AR) วิชาสังคมศึกษา 5 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/12 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่ก าลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 41 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกทักษะวัดผล สัมฤทธิ์การเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1. การใช้สื่อเสมือนจริง (AR) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาสังคมศึกษา 5 ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 86.98/87.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา 5 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 สูงขึ้น ร้อยละ 87.14 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) ผู้วิจัย นางสาวปริมประภา แสนท้าว กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1/1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จ านวน 31 คน ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าร้อยละ (%) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้แบบ 7 ขั้น (7E) มีคะแนนเฉลี่ยและ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ก่อนเรียน มีค่าเท่ากับ 18.55 และ 3.50 ตามล าดับและหลังเรียนมีค่าเท่ากับ 24.20 และ 5.03 ตามล าดับ ค่าเฉลี่ยผลต่างของ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติเป็นไปตาม สมมติฐานข้อที่ 1 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นไป ตามสมมติฐาน ผลการวิจัยเป็นเช่นนี้เพราะการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้7 ขั้น (7E) เป็น การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ จากการค้นคว้าหาความรู้อย่างมีระบบด้วยตนเอง สามารถใช้กระบวนการค้นคว้าหาความรู้เพื่อแก้ปัญหาและสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเน้นมีขั้นตอน ที่เป็นจุดเน้นส าคัญ 7 ขั้นตอนที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย โดยการใช้ รูปแบบการสอน CIPPA ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย นายศุภกฤตย์ อุ่นแอ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องพลเมืองดีในวิถี ประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้รูปแบบการสอน CIPPA กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้พลเมืองดีในวิถี ประชาธิปไตย 2) แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ และ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบ ค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ CIPPA มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน (̅ = 7.75, S.D = 1.15) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน (̅ = 3.51, S.D = 1.29) อย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อารยธรรมของทวีปต่าง ๆ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ (JIGSAW) ผู้วิจัย นายนสิทธิ์ ใหญ่ยิ่ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องอารยธรรม ของทวีปต่าง ๆ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิ๊กซอว์ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่ก าลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 10 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เนื่องจากนักเรียน กลุ่มนี้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสต์อยู่ในระดับไม่ผ่านเกณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อารยธรรมของทวีปต่าง ๆ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ จ านวน 1 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 15 ข้อ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ (̅ = 10.8, S.D.=1.39) สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน (̅ = 4.7, S.D.= 1.49) 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคจิ๊กซอว์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (̅ = 4.75, S.D. = 0.45)
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม โดยใช้ทักษะกระบวนการ กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ผู้วิจัย นางสาวเพียงพร โปทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เรื่องหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ก่อนเรียนและหลังเรียนที่สอน โดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 2) ศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 ที่เรียนโดยใช้โดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 41 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนประกอบ การเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 จานวน 6 แผนการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลาในการสอน 11 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/10 เป็นแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก ทั้งหมด 40 ข้อ 40 คะแนน 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการกลุ่มของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 ที่เรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ ทั้งหมด 4 ด้าน คือ 1) ด้านบทบาทการเป็นผู้น า 2) ด้านบทบาทการเป็นสมาชิกของกลุ่ม 3) ด้านกระบวนการท างานเป็นทีมที่ดี 4) ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของกลุ่ม 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 ที่เรียนโดยโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ(Cooperative Learning) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 เท่ากับ 81.60/80.93 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์80/80 ที่ตั้งไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้ แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้ แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีค่าเฉลี่ย 4.63 คือ มีความพึงพอใจมากที่สุด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือรูปแบบสืบสวนสอบสวน ร่วมกับแผนผังความคิด เรื่อง กฎหมายแพ่ง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชื่อผู้วิจัย นางกนกวลัย สร้อยศักดิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบ กลุ่มร่วมมือรูปแบบสืบสวนสอบสวนร่วมกับแผนผังความคิดเรื่องกฎหมายแพ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3) เปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระหว่าง ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ รูปแบบสืบสวนสอบสวนร่วมกับแผนผังความคิด เรื่อง กฎหมายแพ่ง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5/12 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล จังหวัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 17 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีการจับสลากโดยใช้ ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t – test) ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการสอนแบบกลุ่มร่วมมือรูปแบบสืบสวนสอบสวนร่วมกับแผนผัง ความคิด เรื่อง กฎหมายแพ่ง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ 80.83/89.02 สูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนด 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือรูปแบบสืบสวน สอบสวนร่วมกับแผนผังความคิดหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือรูปแบบสืบสวนสอบสวน ร่วมกับแผนผังความคิดหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือรูปแบบสืบสวนสอบสวนร่วมกับแผนผัง ความคิดอยู่ในระดับมากที่สุด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคของ แผนผังกราฟิก (Mind Mapping) เรื่อง การแบ่งลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชียของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวธิติมาศ สุขประเสริฐชัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ขึ้นเพื่อการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่องการแบ่งลักษณะ ภูมิประเทศทวีปเอเชียของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี 1 โดยใช้เทคนิคของแผนผังกราฟิก (Mind Mapping) ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดคือร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 10 คน ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่ก าหนดไว้คือ ร้อยละ 70 เครื่องมือที่ใช้ ในก า รวิจัยประกอบด้วย 1) แผนก า รจัดก า รเ รียนรู้โดยใช้เทคนิคของแผนผังกราฟิก (Mind Mapping) เรื่อง การแบ่งลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชีย 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนรู้ เรื่อง การแบ่งลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชีย การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (̅) และค่าร้อยละ (%) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ เรื่อง การแบ่งลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชีย โดยใช้เทคนิคของ แผนผังกราฟิก (Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังจากการจัดการเรียนรู้นั้น เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดคือร้อยละ 70 โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียน ก่อนเรียน เท่ากับ 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 35 และค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของ นักเรียนหลังเรียน เท่ากับ 16.3 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.5 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดคือ ร้อยละ 70 ดังนั้น ผลการวิจัยนี้จึงเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ชื่อเรื่อง ผลการพัฒนาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมโดยใช้การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ กิจกรรมบทบาทสมมติในการเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล. ผู้วิจัย นายอนุชิต บูรณพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักเรียนใน การเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หลังการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเรื่องตลาดในระบบ เศรษฐกิจ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ที่มีต่อการจัดเรียนการสอน โดยใช้โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติในการเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล ที่ก าลัง ศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 5 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือ การวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเรื่อง ตลาดในระบบ เศรษฐกิจ 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์จ านวน 20 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ การวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์ จัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติโดยภาพรวมระดับพฤติกรรมเกิดขึ้นอย่างสม่ าเสมอ และต่อเนื่อง (̅ = 2.59, SD = 0.26) 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนมีต่อการจัดเรียนการสอนโดยใช้โดยใช้กิจกรรม บทบาทสมมติ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (̅ = 4.56, S.D. = 0.19)