The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสมบูรณ์ <br>แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งตะวันตก พ.ศ.2560-2564

รายงานฉบับสมบูรณ์ <br>แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

Keywords: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-42
และโครงการในการพฒั นาพื้นท่ี

เทศบาลเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร โครงการตามพระราชดาริจังหวัดชุมพร เทศบาล
เมอื งระนอง และเทศบาลเมอื งระนอง
หน่วยงานร่วม มีบทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมือต่อการ
ระดมความคิด จัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ
แผนแม่บทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
2. สานกั งานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวดั
3. กรมศลิ ปากร

งบประมาณ 120,000,000 บาท

ผลผลิต 1. การพฒั นาส่ิงอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเท่ียว สถานีท่ใี ห้บรกิ ารนักท่องเที่ยวท่ี
ผลลัพธ์ สอดคล้องกบั แนวคดิ เพอ่ื คนทั้งมวลที่มีมาตรฐาน

2. สามารถรองรับและอานวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว ผู้เยี่ยมเยือนและ
นักท่องเท่ียวผู้มคี วามต้องการพเิ ศษ

1. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพและแหล่งท่องเท่ียว
คณุ คา่ สงู

2. เพ่ิมนักท่องเท่ียวและผู้เยี่ยมเยือนทางการท่องเที่ยวและขยายการรองรับกลุ่ม
นกั ท่องเที่ยวในอนาคต

3. เกิดภาพลักษณ์เชิงบวกต่อการท่องเที่ยวในพื้นที่ไทยแลนด์ริเวียร่าและการท่องเทีย่ ว
ของประเทศไทย

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั
1. มีการพฒั นาสิง่ อานวยความสะดวกในแหลง่ ท่องเที่ยวเพื่ออานวยความสะดวกภายใต้
แนวคิดเพื่อคนท้ังมวลให้กับประชาชนในพ้ืนท่ีและนักท่องเที่ยวนาไปสู่การยกระดับ
พนื้ ท่กี ารทอ่ งเท่ยี วชน้ั นาระดบั โลก
2. มีการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกในสถานที่ให้บริการนักท่องเท่ียวเพ่ืออานวย
ความสะดวกให้กบั ประชาชนในพื้นท่ีและนักท่องเที่ยวส่งเสริมให้เกดิ คุณภาพชีวิตที่ดี
กบั คนในทอ้ งถนิ่ และความประทับใจจากการทอ่ งเทย่ี ว
3. เกิดมาตรฐานส่ิงอานวยความสะดวกและคุณภาพการบริการทางการท่องเที่ยวให้
เป็นท่ียอมรบั ในระดบั สากล
4. สามารถรองรับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการเติบโตทางการท่องเท่ียวท้ังกลุ่ม
ผ้สู งู อายุและการสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วเพอื่ คนทงั้ มวล (Tourism for All)

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-43
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนท่ี

โครงการการออกแบบและพัฒนาพนื้ ท่ีกจิ กรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพือ่ การเป็น
ศูนยก์ ลางการทอ่ งเท่ยี วจงั หวดั เพชรบุรี

หลักการเหตุผล

จังหวัดเพชรบุรีอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 160 กิโลเมตรจัดเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีศักยภาพ
ในที่ไทยแลนด์ริเวียร่า นักท่องเท่ียวสามารถเดินทางสู่จังหวัดเพชรบุรีได้อย่างสะดวกหลายวิธี ทั้งโดย
รถยนตส์ ่วนตัว รถประจาทางและรถไฟ โดยจงั หวดั เพชรบุรีเปน็ เมืองดา่ นสาคัญระหวา่ งภาคกลางและ
ภาคใต้มีช่ือเสียงในฐานะการเกษตร อาหารและยังเปน็ เมืองท่องเที่ยวที่สาคัญ จังหวัดเพชรบุรมี ีแหลง่
ทอ่ งเท่ยี วที่มีช่ือเสยี งมากมายและหลากหลายรูปแบบ เปน็ ทน่ี ิยมของนักท่องเที่ยวทง้ั ชาวไทยและชาว
ตา่ งประเทศ

การพัฒนาพืน้ ท่ีไทยแลนด์ริเวียรา่ สู่การเป็นพ้ืนที่ท่องเที่ยวชั้นนาระดับโลกจาเป็นจะต้อง
อาศัยการพัฒนาท่ีครอบคลุมในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาพ้ืนที่ท่ีสามารถรองรับกิจกรรม
ทางการท่องเท่ียวและการเติบโตทางการท่องเที่ยวในทุกรูปแบบ จากการศึกษาพ้ืนที่ต้นแบบพบว่า
ปัจจัยแห่งความสาเร็จของการพัฒนาจุดหมายปลายทางทางการท่องเท่ียว คือ การท่ีจัดให้มีพื้นที่
สาธารณะหรือ Public Space หรืออาจจะหมายถึงพื้นที่เปิดโล่งเพื่อใช้ในการทากิจกรรมหรือ Open
Space โดยลักษณะของพ้ืนที่ดังกล่าวจะอยู่ใจกลางเมืองท่ีสามารถเช่ือมต่อรูปแบบการเดินทางขนส่ง
ภายในเมืองเช่ือมกับการขนส่งหนักระหว่างพื้นที่หรือระหว่างเมือง ส่งผลให้พ้ืนท่ีดังกล่าวเป็นพ้ืนที่
เช่ือมต่อทั้งในส่วนของประชาชนในพื้นที่รวมไปถึงนักท่องเท่ียวมุ่งเน้นในเร่อื งของการกระจายตัวของ
นกั ท่องเที่ยวไปยงั พ้นื ทต่ี า่ งๆ

จากแนวคิดและความสาคัญดังกล่าวจึงเห็นควรว่าแนวทางในการที่จะยกระดับพื้นท่ี
เป้าหมายโดยเฉพาะอย่างย่ิงจังหวัดเพชรบุรีจาเป็นจะต้องมีการพัฒนาพ้ืนท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะข้ึน
เพ่ือเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวของจังหวัดโดยได้มีการกาหนดพื้นที่โดยพิจารณาจากความพร้อมขีด
ความสามารถและการเข้าถึงพื้นท่ีจังหวัด นอกจากน้ี การพัฒนาพ้ืนท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าว
จะเป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการยกระดับการเช่อื มโยงพนื้ ท่ีและสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวกลางคืนหรอื Night
Tourism ซงึ่ หากพจิ ารณาจากสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศของประเทศไทยจะพบวา่ มอี ากาศร้อน
กิจกรรมการท่องเท่ียวในภาคกลางวันจะได้รับความนิยมเฉพาะกลุ่มนักท่องเท่ียวชาวต่า งชาติเท่าน้ัน
ดงั น้ัน หากในจงั หวัดมีการพฒั นาพ้ืนทเ่ี ชิงสาธารณะข้ึนเพ่ือเป็นศนู ยก์ ลางทางการท่องเท่ียวและมีการ
ออกแบบทั้งทางด้านภูมิสถาปัตย์ การตกแต่งและระบบไฟ (แสงและสี) สามารถใช้เป็นพ้ืนที่สาหรับ
การดาเนินกิจกรรมการท่องเท่ียวในช่วงกลางคืนก็จะเพ่ิมขยายเวลาทางการท่องเที่ยวและโอกาสการ
ใชจ้ า่ ยของนกั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ พม่ิ มากขึ้น

อย่างไรก็ตาม ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าวจะต้อง
อาศัยการกาหนดข้อมูลเชิงอัตลักษณ์หรือการนาเอาอัตลักษณ์ในเชิงพื้นที่มาเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ในการออกแบบและพฒั นาเพื่อให้พืน้ ท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าว เพ่อื ให้สามารถสะท้อนเรอ่ื งราว
ความเป็นมาและสร้างแรงดึงดูดใจให้พื้นที่กลายเป็นแหล่งท่องเท่ียว ท่ีน่าสนใจของนักท่องเท่ียวอีก

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนุนการพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก 7-44
และโครงการในการพฒั นาพนื้ ท่ี

ด้วย นอกจากน้ี ยังจาเปน็ ตอ้ งกาหนดบทบาทของผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องในการบรหิ ารจัดการเพ่ือให้พ้ืนท่ี
ดังกล่าวมีสภาพความพร้อมถึงกายภาพ ความสะอาด ความปลอดภัยรวมไปถึงการให้บริการใน
รูปแบบต่างๆ ทีส่ ่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว

ดังน้ัน การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ัง
ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงเสนอโครงการการพัฒนาพ้ืนที่
กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพชรบุรีเพื่อ
ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์การท่องเท่ียวที่เช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่การออกแบบพ้ืนที่และกิจกรรม
การท่องเท่ียวในพื้นที่ ส่งเสริมให้เกิดแบรนด์เมือง (City Brand) และแบรนด์จุดหมายปลายทางการ
ท่องเทยี่ ว (Destination Branding) เพื่อการสร้างการรับรู้และภาพลกั ษณ์ทางการท่องเท่ยี วของเมือง
และพน้ื ทโ่ี ดยรวมสอดคล้องกับวสิ ยั ทัศน์และเป้าหมายของการพัฒนาต่อไป

วัตถุประสงคโ์ ครงการ
โครงการการพฒั นาพ้นื ท่ีกจิ กรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพอ่ื การเปน็ ศูนย์กลาง

การท่องเที่ยวจงั หวดั เพชรบุรี มวี ัตถุประสงค์โครงการดังนี้
1. เพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีสาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพื่อ
กาหนดเป็นพ้ืนทสี่ าหรับการเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและพ้ืนที่
ศูนย์รวมทางการท่องเที่ยวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาสการเช่ือมโยงทางการ
ท่องเทยี่ ว
2. ส่งเสริมให้เกิดพ้ืนท่ีการให้บริการการท่องเท่ียวหลักท่ีครบวงจรสามารถเป็นจุด
ศนู ย์กลางในการเชอ่ื มโยงนักทอ่ งเท่ยี วและกระจายนกั ท่องเทยี่ ว
3. ส่งเสริมให้เกิดแหล่งท่องเท่ียวใหม่ รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวใหม่ประเภทการ
ท่องเทยี่ วกลางคนื (Night Tourism) เพ่ือเพิ่มโอกาสทางการท่องเที่ยวและการสร้าง
รายได้ รองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศร้อนและ
สรา้ งโอกาสการเพม่ิ ระยะเวลาการทอ่ งเทยี่ ว
4. ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ในการท่องเที่ยวของจังหวัดท่ีสามารถเช่ือมโยงอัต
ลกั ษณต์ ่างๆ ส่กู ารออกแบบพื้นที่และกจิ กรรมการท่องเทย่ี วในพนื้ ท่ี
5. ส่งเสริมใหเ้ กดิ การสร้างตราสินคา้ /แบรนด์เมือง (City Brand) เพ่อื การสร้างการรับรู้
และภาพลักษณ์ทางการทอ่ งเท่ียวของเมืองและพืน้ ที่โดยรวม

เปา้ หมายและตัวชว้ี ัดความสาเร็จของโครงการ
1. จานวนพ้ืนทีก่ ิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในพนื้ ทีเ่ ปา้ หมาย
2. รอ้ ยละการเพม่ิ ข้ึนของจานวนนกั ทอ่ งเท่ียวคุณภาพ รอ้ ยละ 10
3. รอ้ ยละการเพม่ิ ขึ้นของรายไดจ้ ากสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว ร้อยละ 5
4. ร้อยละความพึงพอใจของนกั ท่องเทีย่ ว รอ้ ยละ 90

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-45
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

กล่มุ เป้าหมาย/พ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย
เพื่อให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเที่ยวในเขต

พัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็น
ศูนย์กลางการท่องเที่ยว ได้กาหนดพ้ืนท่ีเป้าหมายสาหรับการพัฒนา โดยพิจารณาจากความเหมาะ
ของสภาพพื้นท่ีเดิม คุณค่าและความสาคัญของพ้ืนท่ี อัตลักษณ์และการเข้าถึงทั้งนี้เพ่ือให้สามารถ
ดาเนินการได้อย่างเหมาะสม โดยมีรายละเอียด คือ อุทยานเฉลิมพระเกียรติ ร.4 เป็นแหล่งท่องเท่ียว
ท่ีสาคัญของจังหวัดเพชรบุรี ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 4) โปรดเกล้าฯ ให้
สรา้ งเมอื่ พ.ศ. 2402 เป็นพระราชวงั แห่งแรกของประเทศไทยทีส่ ร้างบนยอดเขา สถานทแี่ ห่งน้ีจึงเป็น
พระบรมราชานุสรณ์ท่ีทรงคุณค่า และเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมท่ีสาคัญแห่งหน่ึงของประเทศ ซึ่ง
ในทุกปีจังหวัดเพชรบุรีได้ให้มีงานพระนครคีรี-เมืองเพชร ภายใต้การดูแลโดยกรมศิลปากร พื้นที่
ดังกล่าวอยู่ใจกลางของจังหวัดและเป็นพื้นท่ีเดิมท่ีใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของจังหวัดอีกทั้งยังอยู่ใกล้กับ
สถานที่และแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดเพชรบุรี นอกจากนี้ปัญหาปัจจุบันจะพบว่ากิจกรรม
การท่องเท่ียวของจังหวัดเพชรบุรีมีลักษณะกระจายตัว และกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่อาเภอชะอาเท่านั้น
การที่จะเพิ่มขีดความสามารถและศักยภาพของพ้ืนท่ีจังหวัดเพชรบุรีอย่างเต็มศักยภาพเพ่ิมจานวน
นักทอ่ งเท่ยี วในจงั หวดั เพชรบุรี

วิธกี ารและขัน้ ตอนการดาเนินการ/กจิ กรรม
1. การประชุมเพ่ือระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องในพ้ืนที่และหน่วยงานท่ีมี
ความรบั ผดิ ชอบด้านการส่งเสริมการท่องเทยี่ วทุกภาคส่วนเพ่ือกาหนดเปา้ หมายการ
พัฒนาพ้ืนที่สาธารณะ ได้แก่ วัฒนธรรมจังหวัด สานักงานท่องเท่ียวและกีฬาและ
คณะกรรมการที่เก่ียวข้อง เพ่ือกาหนดแนวทางร่วมกันต่อการออกแบบและพัฒนา
พ้นื ที่กจิ กรรมเชงิ สาธารณะ (Public Space) บนฐานของอัตลกั ษณ์ของพ้นื ท่ี
2. ศึกษาเร่ืองราว ความเป็นมา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตและคุณค่า
เชิงอัตลักษณ์ในมิติต่างๆ ของพื้นท่ีเพื่อกาหนดคุณค่าหลัก (Identity Value) และ
กาหนดเป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ (Image) ท่ีต้องการสร้างการรับรู้ต่อพ้ืนท่ี และ
กาหนดจุดยืนของตราสินค้า/แบรนด์หลักของพื้นท่ีสาหรับการพัฒนาพื้นที่และ
แบรนด์พืน้ ท่โี ดยรวม
3. ศึกษาและวางแผนเชิงพื้นท่ีและลักษณะทางกายภาพของพ้ืนที่เพื่อกาหนดการ
ออกแบบพื้นที่โดยคานึงถึงความงามทางสถาปัตยกรรมที่เชื่อมโยงกับอัตลักษณ์ของ
พ้ืนที่ ลักษณะการใช้งานของพ้ืนที่ ประโยชน์ใช้สอย สิ่งอานวยความสะดวกทางการ
ทอ่ งเทยี่ วและสงิ่ อานวยความสะดวกพื้นฐาน
4. พัฒนาแลนด์มาร์คของพื้นที่ให้มีความโดดเด่น ด้วยการออกแบบที่สอดคล้องกับ
อัตลักษณ์และเร่ืองราวในพื้นท่ี จะต้องสามารถแรงดึงดูดที่น่าสนใจสาหรับการมา
ท่องเท่ียว มีการสื่อความหมายท่ีเหมาะสมและมีลักษณะท่ีคงทนต่อสภาพอากาศ
และบรรยากาศภายนอก

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการทอ่ งเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-46
และโครงการในการพฒั นาพนื้ ท่ี

5. กาหนดแนวทางการบริหารจัดการพ้ืนท่ีอย่างเป็นระบบ การกาหนดมาตรฐานด้าน
ความสะอาดและความปลอดภัย การบารุงรักษาและหน่วยงานท่ีมีบทบาทหน้าท่ี
รับผิดชอบเพ่ือให้พ้ืนท่ีสาธารณะดังกล่าวมีสภาพสวยงาม พร้อมใช้และปลอดภัย
สาหรบั ผู้มาเยอื น

6. การจ้างเหมาเพ่ือการออกแบบความสร้างสรรค์พ้ืนที่ท่ีมุ่งเน้นให้เกิดการท่องเที่ยวใน
ช่วงเวลากลางวันและโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงเวลาค่าและกลางคืน ด้วยระบบแสง
สีหรือเสยี งทส่ี วยงาม

7. ออกแบบกิจกรรมการท่องเท่ียวที่สามารถสร้างมีส่วนร่วมหรือประสบการณ์ทั้งจาก
คนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว เช่น ตลาดท่องเที่ยว การแสดงศิลปวัฒนธรรม การ
แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากชุมชน
สถาบนั การศกึ ษาและหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

8. สร้างความเชื่อมโยงด้านแบรนด์เมือง (City Brand) ผ่านการออกแบบพื้นที่ สีและ
โทน การตกแต่ง จุดถ่ายภาพ สินค้าของท่ีระลึก อาหาร เพ่ือกระตุ้นให้เกิดการรับรู้
และการใช้จ่ายทีม่ ากขึ้น

9. การสร้างความผูกพันของคนในพื้นท่ี (Brand Engagement) ด้วยการสร้างการมี
ส่วนร่วมต่อการคิดสร้างสรรค์และการรับผิดชอบต่อการดาเนินการในพ้ืนท่ีเพ่ือให้
เกดิ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอย่างย่งั ยนื

10.วางแผนด้านการประชาสัมพันธ์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ภาคเอกชนและส่ือในรูปแบบต่างๆ ท่ี
สอดคล้องกับกล่มุ เปา้ หมายและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563
หนว่ ยงานดาเนินงาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ หน่วยงานเจ้าของพ้ืนท่ี เช่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช เทศบาลเมือง
ประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคมและ
เทศบาลเมืองระนอง
หน่วยงานร่วม มบี ทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมอื ต่อการระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องและการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ และโครงการ ได้แก่ การท่องเทย่ี วแห่งประเทศไทย

งบประมาณ 40,000,000 บาท

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพัฒนาการท่องเทย่ี วฝั่งทะเลตะวันตก 7-47
และโครงการในการพัฒนาพ้นื ท่ี

ผลผลิต

1. มีพื้นท่ีสาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพื่อกาหนด
เป็นพ้ืนท่ีสาหรับการเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและพื้นที่ศูนย์
รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวดั เพอ่ื การสร้างโอกาสการเชื่อมโยงทางการท่องเที่ยว

2. เพ่ือกิจกรรม รูปแบบ ระยะเวลาการท่องเที่ยวและจานวนนักท่องเที่ยวเข้าสู่พื้นที่
และการเช่ือมโยง

3. เกิดภาพลักษณ์ใหม่การท่องเท่ียวของจังหวัดที่สามารถเช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพน้ื ท่ีและกจิ กรรมการท่องเท่ียวในพ้นื ที่

ผลลัพธ์

1. การเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวมากข้ึนและการขยายเวลาในการร่วมกิจกรรมการ
ทอ่ งเทย่ี ว

2. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาพื้นท่ีและการสร้างสรรค์
กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวในพนื้ ที่

3. เกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในพนื้ ทแี่ ละการยกระดบั พื้นทีท่ ่องเที่ยวในพ้นื ที่

ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
1. มีพื้นที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) สาหรับการดาเนินกิจกรรม
ทางสังคมและพื้นท่ีศูนย์รวมทางการท่องเที่ยวของจังหวัดเพื่อการสร้างโอกาส
การเชือ่ มโยงทางการท่องเท่ยี ว
2. เพื่อเพิ่มโอกาสทางการท่องเท่ียวและการสร้างรายได้ รองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ
และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศร้อนและสร้างโอกาสการเพิ่มระยะเวลาการ
ท่องเท่ียว
3. มีภาพลักษณ์ใหม่การท่องเที่ยวของจังหวัดที่สามารถเช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพืน้ ที่และกจิ กรรมการท่องเท่ยี วในพนื้ ท่ี
4. การสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพ่ือการสร้างการรับรู้และ
ภาพลกั ษณ์ทางการทอ่ งเทยี่ วของเมืองและพน้ื ท่ีโดยรวม

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนุนการพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-48
และโครงการในการพัฒนาพื้นท่ี

โครงการการออกแบบและพัฒนาพน้ื ท่ีกจิ กรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่อื การเปน็
ศูนยก์ ลางการทอ่ งเทย่ี วจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

หลักการเหตุผล

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทยในพ้ืนท่ีไทยแลนด์
ริเวียร่า ความยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้ ประมาณ 212 กิโลเมตร และชายฝั่งทะเลยาวประมาณ
224.8 กิโลเมตร มีส่วนท่ีแคบท่ีสุดของประเทศอยู่ในเขตตาบลคลองวาฬ อาเภอเมืองจากอ่าวไทยถึง
เขตแดนพม่าประมาณ 12 กโิ ลเมตร โดยจังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ถือว่าเป็นจังหวัดท่ีมีศกั ยภาพอย่างย่ิง
ทั้งในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการท่องเท่ียว เน่ืองจากมีแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีช่ือเสียง เช่น
แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ได้แก่ ชายหาดทะเลหัวหิน หาดบ้านกรูด เขาตะเกียบ อ่าวแม่ราพึง
สวนสนประดิพัทธ์ หาดสามพระยา ถ้าแก้ว หาดเขาเต่า ถ้าไทร จุดชมวิวหินเหล็กไฟ อุทยานแห่งชาติ
เขาสามร้อยยอด ทุ่งสามร้อยยอด หมู่บ้านไหมไทย จุดชมวิวเขาแดง วนอุทยานปราณบุรี คลองเขา
แดง/จุดชมวิวเขาแดง วนอุทยานกุยบุรี เขาสามร้อยยอด เป็นต้น หรือแหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม ศาสนา ได้แก่ วังไกลกังวล สถานีรถไฟหัวหิน หลวงพ่อทวดวัดห้วยมงคล ศาลหลักเมือง
ประจวบคีรขี นั ธ์ เขาช่องกระจก ดา่ นสิงขร อทุ ยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ เปน็ ต้น

การพัฒนาพ้ืนท่ีไทยแลนด์รเิ วียรา่ สู่การเป็นพื้นท่ีท่องเทีย่ วชนั้ นาระดับโลกจาเป็นจะต้อง
อาศัยการพัฒนาที่ครอบคลุมในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาพ้ืนที่ที่สามารถรองรับกิจกรรม
ทางการท่องเที่ยวและการเติบโตทางการท่องเท่ียวในทุกรูปแบบ จากการศึกษาพ้ืนท่ีต้นแบบพบว่า
ปัจจัยแห่งความสาเร็จของการพัฒนาจุดหมายปลายทางทางการท่องเท่ียว คือ การที่จัดให้มีพ้ืนที่
สาธารณะหรือ Public Space หรืออาจจะหมายถึงพ้ืนท่ีเปิดโล่งเพื่อใช้ในการทากิจกรรมหรือ Open
Space โดยลักษณะของพื้นท่ีดังกล่าวจะอยู่ใจกลางเมืองท่ีสามารถเช่ือมต่อรูปแบบการเดินทางขนส่ง
ภายในเมืองเชื่อมกับการขนส่งหนักระหว่างพื้นท่ีหรือระหว่างเมือง ส่งผลให้พื้นท่ีดังกล่าวเป็นพ้ืนที่
เช่อื มต่อท้ังในส่วนของประชาชนในพื้นทร่ี วมไปถงึ นักท่องเทีย่ ว ม่งุ เน้นในเร่ืองของการกระจายตัวของ
นกั ทอ่ งเที่ยวไปยังพ้ืนที่ตา่ งๆ

จากแนวคิดและความสาคัญดังกล่าวจึงเห็นควรว่าแนวทางในการที่จะยกระดับพ้ืนที่
เป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จาเป็นจะต้องมีการพัฒนาพื้นท่ีกิจกรรมเชิง
สาธารณะขึ้นเพ่ือเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวของจังหวัดโดยได้มีการกาหนดพื้นที่โดยพิจารณาจาก
ความพร้อมขีดความสามารถและการเข้าถึงพื้นท่ีจังหวัด นอกจากน้ี การพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิง
สาธารณะดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับการเช่ือมโยงพื้นท่ีและส่งเสริมการท่องเที่ยว
กลางคืนหรือ Night Tourism ซ่ึงหากพิจารณาจากสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศของประเทศไทย
จะพบว่ามีอากาศร้อน กิจกรรมการท่องเที่ยวในภาคกลางวันจะได้รับความนิยมเฉพาะกลุ่ม
นักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเท่าน้ัน ดังนั้น หากในจังหวัดมีการพัฒนาพื้นที่เชิงสาธารณะข้ึนเพ่ือเป็น
ศูนย์กลางทางการท่องเท่ียวและมีการออกแบบทั้งทางด้านภูมิสถาปัตย์ การตกแต่งและระบบไฟ

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนุนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-49
และโครงการในการพฒั นาพื้นท่ี

(แสงและสี) สามารถใช้เป็นพ้ืนที่สาหรับการดาเนินกิจกรรมการท่องเท่ียวในช่วงกลางคืนก็จะเพ่ิม
ขยายเวลาทางการท่องเทยี่ วและโอกาสการใชจ้ า่ ยของนกั ท่องเทยี่ วท่เี พิ่มมากข้ึน

อย่างไรก็ตาม ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าวจะต้อง
อาศัยการกาหนดข้อมูลเชิงอัตลักษณ์หรือการนาเอาอัตลักษณ์ในเชิงพ้ืนท่ีมาเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ในการออกแบบและพัฒนาเพื่อให้พ้นื ท่ีกิจกรรมเชงิ สาธารณะดังกล่าว เพอื่ ให้สามารถสะท้อนเร่อื งราว
ความเป็นมาและสร้างแรงดึงดูดใจให้พ้ืนที่กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่น่าสนใจของนักท่องเที่ยวอีก
ด้วย นอกจากนี้ ยังจาเปน็ ต้องกาหนดบทบาทของผู้ท่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องในการบริหารจดั การเพื่อให้พื้นที่
ดังกล่าวมีสภาพความพร้อมถึงกายภาพ ความสะอาด ความปลอดภัยรวมไปถึงการให้บริการใน
รปู แบบตา่ งๆ ทส่ี ่งเสริมการทอ่ งเท่ยี ว

ดังน้ัน การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ัง
ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงเสนอโครงการการพัฒนาพื้นที่
กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียว ของจังหวัด
ประจวบคีรขี ันธ์เพื่อส่งเสริมใหเ้ กิดภาพลกั ษณ์การท่องเทย่ี วท่ีเช่ือมโยงอัตลักษณ์ตา่ งๆ สู่การออกแบบ
พื้นที่และกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ ส่งเสริมให้เกิดแบรนด์เมือง (City Brand) และแบรนด์
จุดหมายปลายทางการท่องเท่ียว (Destination Branding) เพื่อการสร้างการรับรู้และภาพลักษณ์
ทางการท่องเที่ยวของเมอื งและพน้ื ทโ่ี ดยรวมสอดคลอ้ งกบั วิสัยทศั น์และเปา้ หมายของการพัฒนาต่อไป

วัตถุประสงค์โครงการ

โครงการการพฒั นาพ้นื ที่กจิ กรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพอ่ื การเปน็ ศูนย์กลาง
การท่องเที่ยวจงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ มีวตั ถปุ ระสงค์โครงการดังน้ี

1. เพ่ือพัฒนาพื้นที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพ่ือ
กาหนดเป็นพื้นท่สี าหรับการเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและพื้นท่ี
ศูนย์รวมทางการท่องเที่ยวของจังหวัดเพื่อการสร้างโอกาสการเช่ือมโยงทางการ
ทอ่ งเทีย่ ว

2. ส่งเสริมให้เกิดพื้นท่ีการให้บริการการท่องเท่ียวหลักที่ครบวงจร สามารถเป็น
จุดศนู ย์กลางในการเชอื่ มโยงนกั ท่องเท่ยี วและกระจายนกั ท่องเทย่ี ว

3. ส่งเสริมให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวใหม่ประเภท
การท่องเท่ียวกลางคืน (Night Tourism) เพ่ือเพิ่มโอกาสทางการท่องเที่ยวและ
การสร้างรายได้ รองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศ
ร้อนและสรา้ งโอกาสการเพิม่ ระยะเวลาการท่องเท่ยี ว

4. ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ในการท่องเท่ียวของจังหวัดที่สามารถเชื่อมโยง
อัตลักษณ์ตา่ งๆ สกู่ ารออกแบบพ้นื ทแี่ ละกจิ กรรมการท่องเท่ียวในพ้นื ที่

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ียวฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-50
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

5. สง่ เสริมใหเ้ กดิ การสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพอ่ื การสร้างการรับรู้
และภาพลกั ษณ์ทางการท่องเที่ยวของเมืองและพืน้ ท่โี ดยรวม

เป้าหมายและตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ

1. จานวนพน้ื ทกี่ จิ กรรมเชงิ สาธารณะ (Public Space) ในพืน้ ทเี่ ปา้ หมาย
2. ร้อยละการเพมิ่ ข้ึนของจานวนนกั ท่องเทย่ี วคณุ ภาพ ร้อยละ 10
3. ร้อยละการเพม่ิ ขน้ึ ของรายได้จากสินคา้ และบริการด้านการท่องเทย่ี ว ร้อยละ 5
4. รอ้ ยละความพงึ พอใจของนักทอ่ งเท่ยี ว ร้อยละ 90

กลุ่มเป้าหมาย/พ้นื ที่เปา้ หมาย

เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเท่ียวในเขต
พัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพื่อการเป็น
ศูนย์กลางการท่องเทีย่ ว ได้กาหนดพน้ื ที่เป้าหมายสาหรับการพัฒนา โดยพิจารณาจากความเหมาะสม
ของสภาพพื้นท่ีเดิม คุณค่าและความสาคัญของพื้นท่ีอัตลักษณ์และการเข้าถึงทั้งนี้เพ่ือให้สามารถ
ดาเนินการได้อย่างเหมาะสม โดยมีรายละเอียด คือ พ้ืนที่สะพานปลาสราญวิถี อ่าวประจวบ ซึ่งใน
อดีตเคยเป็นสะพานปลาอ่าวประจวบสาหรับการประมงก่อนมีการประกาศยกเลิกใช้สะพานปลา
ดังกล่าว ต่อมาทางจังหวัดได้ดาเนินการปรับปรุงซ่อมแซมและก่อสร้างเพิ่มเติมใช้รูปแบบและสีสันอิง
กบั สถานรี ถไฟของจงั หวดั ซึ่งมีเอกลักษณ์ทส่ี วยงามโดดเด่น ภายใตก้ ารดแู ลโดยจังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์
โดยลักษณะของพื้นที่ถือเป็นพื้นที่ทีมีศักยภาพเน่ืองจากมีบรรยากาศดี มีถนนเลียบอ่าวและมีร้านค้า
สิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการท่องเท่ียว มีกิจกรรมถนนคนเดินในช่วงเย็นของทุกวัน อย่างไรก็ตาม
ปัญหาหลักของพื้นที่ คือ ความเส่ือมโทรมของพื้นท่ีและขาดจุดขายหรือแลนด์มาร์คของพื้นท่ี ดังน้ัน
ในการพัฒนาพ้ืนที่เพื่อการเป็นพื้นที่กิจกรรมเชงิ สาธารณะจะต้องให้ความสาคัญต่อการยกระดับพื้นท่ี
เพื่อให้สามารถรองรับและกลายเป็นพนื้ ที่เช่ือมโยงกิจกรรมทางการทอ่ งเที่ยวสามารถเพมิ่ นักท่องเท่ียว
และกระจายตวั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วไดจ้ ากพืน้ ทีห่ ลักตา่ งๆ

วธิ ีการและขนั้ ตอนการดาเนินการ/กจิ กรรม

1. การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ท่ีเก่ียวข้องในพื้นท่ีและหน่วยงานท่ีมี
ความรับผิดชอบด้านการส่งเสริมการท่องเท่ียวทุกภาคส่วนเพื่อกาหนดเป้าหมาย
การพัฒนาพื้นที่สาธารณะ ได้แก่ ส่วนราชการจังหวัด วัฒนธรรมจังหวัด สานักงาน
ท่องเท่ียวและกีฬาและคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดแนวทางร่วมกันต่อ
การออกแบบและพฒั นาพนื้ ท่กี ิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) บนฐานของ อตั
ลักษณข์ องพื้นที่

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝ่ังทะเลตะวนั ตก 7-51
และโครงการในการพฒั นาพ้นื ท่ี

2. ศึกษาเร่ืองราว ความเป็นมา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตและคุณค่าเชิง
อัตลักษณ์ในมิติต่างๆ ของพื้นที่เพ่ือกาหนดคุณค่าหลัก (Identity Value) และกาหนด
เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ (Image) ที่ต้องการสร้างการรับรู้ต่อพ้ืนที่ และกาหนดจุดยืน
ของตราสินค้า/แบรนดห์ ลักของพ้ืนท่ีสาหรบั การพฒั นาพ้ืนที่และ แบรนด์พื้นที่โดยรวม

3. ศึกษาและวางแผนเชิงพื้นท่ีและลักษณะทางกายภาพของพื้นที่เพื่อกาหนด
การออกแบบพื้นที่โดยคานึงถึงความงามทางสถาปัตยกรรมท่ีเช่ือมโยงกับอัตลักษณ์
ของพ้ืนท่ี ลักษณะการใช้งานของพ้ืนท่ี ประโยชน์ใช้สอย ส่ิงอานวยความสะดวก
ทางการท่องเทีย่ ว สง่ิ อานวยความสะดวกพืน้ ฐาน

4. พัฒนาแลนด์มาร์คของพ้ืนท่ีให้มีความโดดเด่น ด้วยการออกแบบท่ีสอดคล้องกับ
อัตลักษณ์และเร่ืองราวในพื้นที่ จะต้องสามารถแรงดึงดูดที่น่าสนใจสาหรับการมา
ท่องเท่ียว มีการสื่อความหมายท่ีเหมาะสมและมีลักษณะที่คงทนต่อสภาพอากาศและ
บรรยากาศภายนอก

5. กาหนดแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่อย่างเป็นระบบ การกาหนดมาตรฐาน
ด้านความสะอาดและความปลอดภัย การบารุงรักษาและหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าท่ี
รับผิดชอบเพื่อให้พื้นท่ีสาธารณะดังกล่าวมีสภาพสวยงาม พร้อมใช้ ปลอดภัยสาหรับ
ผูม้ าเยอื น

6. การจ้างเหมาเพื่อการออกแบบความสร้างสรรค์พ้ืนท่ีที่มุ่งเน้นให้เกิดการท่องเท่ียวใน
ช่วงเวลากลางวันและโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาค่าและกลางคืน ด้วยระบบแสง สี
หรอื เสยี งทีส่ วยงาม

7. ออกแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สามารถสร้างมีส่วนร่วมหรือประสบการณ์ทั้งจากคน
ในท้องถ่ินและนักท่องเท่ียว เช่น ตลาดท่องเท่ียว การแสดงศิลปวัฒนธรรม
การแสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ จากชุมชน
สถาบันการศึกษาและหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง

8. สร้างความเชื่อมโยงด้านแบรนด์เมือง (City Brand) ผ่านการออกแบบพ้ืนท่ี สีและโทน
การตกแต่ง จุดถ่ายภาพ สินค้าของที่ระลึก อาหาร เพ่ือกระตุ้นให้เกิดการรับรู้และ
การใช้จ่ายท่มี ากขน้ึ

9. การสร้างความผูกพันของคนในพ้ืนที่ (Brand Engagement) ด้วยการสร้างการมีส่วน
ร่วมต่อการคิดสร้างสรรค์และการรับผิดชอบต่อการดาเนินการในพื้นที่เพื่อให้เกิด
การพฒั นาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน

10. วางแผนด้านการประชาสัมพันธ์รว่ มกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย ภาคเอกชนและสอ่ื ในรูปแบบต่างๆ ทสี่ อดคล้อง
กบั กลมุ่ เป้าหมายและการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-52
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ที่

หน่วยงานดาเนนิ งาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนิน
การอย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์
หน่วยงานร่วม มบี ทบาทต่อการรว่ มกาหนดแนวทางการพัฒนา ใหค้ วามร่วมมือต่อการระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ
แผนแม่บทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่ การทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย

งบประมาณ 40,000,000 บาท

ผลผลติ

1. มีพ้ืนที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพ่ือกาหนด
เป็นพื้นท่ีสาหรับการเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและพ้ืนท่ี
ศูนย์รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาสการเช่ือมโยงทางการ
ท่องเที่ยว

2. เพื่อกิจกรรม รูปแบบ ระยะเวลาการท่องเที่ยวและจานวนนักท่องเท่ียวเข้าสู่พื้นที่
และการเชือ่ มโยง

3. เกิดภาพลักษณ์ใหม่การท่องเท่ียวของจังหวัดท่ีสามารถเช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพืน้ ที่และกจิ กรรมการท่องเที่ยวในพ้นื ท่ี

ผลลพั ธ์

1. การเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวมากข้ึนและการขยายเวลาในการร่วมกิจกรรม
การทอ่ งเท่ียว

2. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาพื้นท่ีและการสร้างสรรค์
กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวในพื้นที่

3. เกดิ การยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในพื้นทแี่ ละการยกระดบั พน้ื ท่ที ่องเทยี่ วในพื้นที่

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ ับ

1. มีพ้ืนที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) สาหรับการดาเนินกิจกรรม
ทางสังคมและพ้ืนที่ศูนย์รวมทางการท่องเที่ยวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาส
การเช่ือมโยงทางการท่องเทยี่ ว

2. เพ่ือเพิ่มโอกาสทางการท่องเที่ยวและการสร้างรายได้ รองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ
และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศร้อนและสร้างโอกาสการเพ่ิมระยะเวลา
การทอ่ งเทยี่ ว

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก 7-53
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

3. มีภาพลักษณ์ใหม่การท่องเที่ยวของจังหวัดที่สามารถเช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพืน้ ที่และกิจกรรมการท่องเทย่ี วในพนื้ ท่ี

4. การสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพ่ือการสร้างการรับรู้และ
ภาพลักษณ์ทางการท่องเทยี่ วของเมืองและพนื้ ท่ีโดยรวม

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-54
และโครงการในการพฒั นาพนื้ ที่

โครงการการออกแบบและพัฒนาพน้ื ท่ีกจิ กรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพอ่ื การเปน็
ศนู ย์กลางการทอ่ งเทย่ี วจังหวดั ชมุ พร

หลักการเหตผุ ล

จงั หวดั ชมุ พรเป็นเมืองท่ีมีชายฝั่งขนานกับทะเลฝ่ังอา่ วไทยและเป็นจังหวัดท่ีถือไดว้ ่าเป็น
ประตูสู่ภาคใต้ท่ีอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีพร้อมทั้งป่าไม้ ทะเล อีกท้ังเป็นสะพาน
เช่ือมระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน ซ่ึงยากนักท่ีจะครบทุกอย่างพร้อมสรรพในจังหวัดเดียว ด้วย
ชายฝั่งจังหวัดชุมพรท่ีมีความยาวกว่า 200 กิโลเมตร ซ่ึงยังคงรักษาความสวยสดงดงามตามธรรมชาติ
ไว้เป็นอย่างดี ชุมพรถือเป็นจังหวัดที่เหมาะที่สุดสาหรับผู้ท่ีต้องการพักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติและ
บรรยากาศท่ีเงียบสงบไม่ซ้าใคร มีสถานที่ท่องเท่ียวที่น่าสนใจมากมาย เช่น ชายหาด เกาะต่างๆ
อุทยานแห่งชาติและภูเขา นอกจากนี้ชุมพรยังเป็นจังหวัดท่ีเป็นศูนย์กลางสาหรับการเดินทางไป -
กลับเกาะเต่าอีกด้วย นอกจากน้ีชุมพรยังโดดเด่นในเรื่องความงามของโลกใต้ทะเล มีสรรพชีวิต
มากมาย เช่น หอยมือเสือที่เกาะง่าม เกาะมัตตรา ปะการังสวยงามท่ีเกาะลังกาจิวและเกาะง่าม
กิจกรรมดาน้าจึงเป็นสิ่งท่ีไม่ควรพลาดเมื่อมาเที่ยวชุมพร ตัวเลือกของท่ีพักก็มีมากมาย ตั้งแต่บ้านพัก
แบบเรยี บงา่ ย รีสอรท์ ไปจนถึงโรงแรมห้าดาวสดุ หรู

การพัฒนาพน้ื ที่ไทยแลนด์ริเวียร่าสู่การเปน็ พ้ืนท่ีท่องเทย่ี วช้นั นาระดับโลกจาเป็นจะต้อง
อาศัยการพัฒนาท่ีครอบคลุมในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาพื้นท่ีท่ีสามารถรองรับกิจกรรม
ทางการท่องเที่ยวและการเติบโตทางการท่องเท่ียวในทุกรูปแบบ จากการศึกษาพื้นที่ต้นแบบพบว่า
ปัจจัยแห่งความสาเร็จของการพัฒนาจุดหมายปลายทางทางการท่องเท่ียว คือ การท่ีจัดให้มีพ้ืนที่
สาธารณะหรือ Public Space หรืออาจจะหมายถึงพ้ืนที่เปิดโล่งเพื่อใช้ในการทากิจกรรมหรือ Open
Space โดยลักษณะของพื้นที่ดังกล่าวจะอยู่ใจกลางเมืองที่สามารถเชื่อมต่อรูปแบบการเดินทางขนส่ง
ภายในเมืองเชื่อมกับการขนส่งหนักระหว่างพ้ืนที่หรือระหว่างเมือง ส่งผลให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพ้ืนท่ี
เชื่อมต่อทั้งในส่วนของประชาชนในพื้นที่รวมไปถึงนักท่องเที่ยวมุ่งเน้นในเรื่องของการกระจายตัวของ
นักท่องเท่ียวไปยงั พ้นื ทตี่ า่ งๆ

จากแนวคิดและความสาคัญดังกล่าวจึงเห็นควรว่าแนวทางในการที่จะยกระดับพื้นที่
เป้าหมายโดยเฉพาะอย่างย่ิงจังหวัดชุมพรจาเป็นจะต้องมีการพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิงสาธารณะขึ้น
เพ่ือเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวของจังหวัดโดยได้มีการกาหนดพื้นท่ีโดยพิจารณาจากความพร้อมขีด
ความสามารถและการเข้าถึงพื้นท่ีจังหวัด นอกจากน้ี การพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าว
จะเปน็ เคร่ืองมือสาคญั ในการยกระดับการเช่อื มโยงพนื้ ที่และสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วกลางคืนหรือ Night
Tourism ซงึ่ หากพจิ ารณาจากสภาพแวดลอ้ มและสภาพอากาศของประเทศไทยจะพบว่ามีอากาศร้อน
กิจกรรมการท่องเที่ยวในภาคกลางวันจะได้รับความนิยมเฉพาะกลุ่มนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเท่านั้น
ดงั น้ัน หากในจงั หวัดมีการพัฒนาพ้ืนทีเ่ ชิงสาธารณะขึ้นเพ่ือเป็นศูนย์กลางทางการท่องเท่ียวและมีการ
ออกแบบท้ังทางด้านภูมิสถาปัตย์ การตกแต่งและระบบไฟ (แสงและสี) สามารถใช้เป็นพื้นที่สาหรับ

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนาการทอ่ งเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก 7-55
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ที่

การดาเนินกิจกรรมการท่องเท่ียวในช่วงกลางคืนก็จะเพ่ิมขยายเวลาทางการท่องเที่ยวและโอกาสการ
ใช้จ่ายของนักทอ่ งเท่ยี วท่เี พ่ิมมากข้ึน

อย่างไรก็ตาม ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาพื้นท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าวจะต้อง
อาศัยการกาหนดข้อมูลเชิงอัตลักษณ์หรือการนาเอาอัตลักษณ์ในเชิงพ้ืนท่ีมาเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ในการออกแบบและพฒั นาเพื่อให้พื้นท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าว เพอ่ื ใหส้ ามารถสะท้อนเร่อื งราว
ความเป็นมาและสร้างแรงดึงดูดใจให้พื้นท่ีกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ท่ีน่าสนใจของนักท่องเท่ียวอีก
ดว้ ย นอกจากน้ี ยงั จาเปน็ ต้องกาหนดบทบาทของผู้ที่มสี ่วนเก่ียวข้องในการบรหิ ารจดั การเพ่ือให้พื้นท่ี
ดังกล่าวมีสภาพความพร้อมถึงกายภาพ ความสะอาด ความปลอดภัยรวมไปถึงการให้บริการใน
รูปแบบต่างๆ ท่สี ง่ เสริมการท่องเท่ยี ว

ดังน้ัน การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ัง
ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงเสนอโครงการการพัฒนาพื้นที่
กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพื่อการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของจังหวัดชุมพรเพื่อ
ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์การท่องเท่ียวที่เชื่อมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่การออกแบบพื้นท่ีและกิจกรรม
การท่องเที่ยวในพื้นที่ ส่งเสริมให้เกิดแบรนด์เมือง (City Brand) และแบรนด์จุดหมายปลายทางการ
ทอ่ งเที่ยว (Destination Branding) เพ่ือการสร้างการรับรู้และภาพลักษณ์ทางการท่องเท่ียวของเมือง
และพ้นื ทีโ่ ดยรวมสอดคลอ้ งกับวิสยั ทศั นแ์ ละเป้าหมายของการพฒั นาต่อไป

วัตถุประสงคโ์ ครงการ

โครงการการพฒั นาพื้นที่กจิ กรรมเชงิ สาธารณะ (Public Space) เพอ่ื การเปน็ ศูนย์กลาง
การทอ่ งเทีย่ วจังหวดั ชุมพร มีวัตถปุ ระสงคโ์ ครงการดังน้ี

1. เพ่ือพัฒนาพื้นที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัด
เพอ่ื กาหนดเปน็ พ้ืนที่สาหรบั การเป็นศนู ย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและ
พ้ืนที่ศูนย์รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาสการเชื่อมโยง
ทางการท่องเท่ยี ว

2. ส่งเสริมให้เกิดพ้ืนที่การให้บริการการท่องเท่ียวหลักท่ีครบวงจรสามารถเป็น
จุดศนู ย์กลางในการเชือ่ มโยงนักทอ่ งเที่ยวและกระจายนกั ท่องเท่ยี ว

3. ส่งเสริมให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ รูปแบบกิจกรรมการท่องเท่ียวใหม่ประเภท
การท่องเท่ียวกลางคืน (Night Tourism) เพ่ือเพิ่มโอกาสทางการท่องเที่ยวและ
การสร้างรายได้ รองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศ
รอ้ นและสร้างโอกาสการเพมิ่ ระยะเวลาการท่องเทย่ี ว

4. ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ในการท่องเท่ียวของจังหวัดที่สามารถเช่ือมโยง
อัตลักษณ์ตา่ งๆ ส่กู ารออกแบบพื้นท่ีและกิจกรรมการท่องเทย่ี วในพ้ืนที่

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนุนการพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-56
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ที่

5. ส่งเสริมให้เกิดการสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพ่ือการสร้าง
การรับรแู้ ละภาพลักษณท์ างการทอ่ งเที่ยวของเมืองและพื้นที่โดยรวม

เป้าหมายและตวั ช้ีวดั ความสาเรจ็ ของโครงการ

1. จานวนพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในพน้ื ทเี่ ปา้ หมาย
2. ร้อยละการเพม่ิ ข้ึนของจานวนนักท่องเทยี่ วคุณภาพ รอ้ ยละ 10
3. ร้อยละการเพิม่ ข้นึ ของรายได้จากสินค้าและบริการดา้ นการท่องเทีย่ วรอ้ ยละ 5
4. ร้อยละความพึงพอใจของนักท่องเท่ียว รอ้ ยละ 90

กลมุ่ เปา้ หมาย/พนื้ ทเี่ ป้าหมาย

เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเท่ียวในเขต
พัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพื่อการเป็น
ศูนย์กลางการท่องเท่ียว ได้กาหนดพ้ืนที่เป้าหมายสาหรับการพัฒนา โดยพิจารณาจากความเหมาะ
ของสภาพพื้นที่เดิม คุณค่าและความสาคัญของพื้นที่ อัตลักษณ์และการเข้าถึงท้ังนี้เพื่อให้สามารถ
ดาเนินการได้อย่างเหมาะสม โดยมีรายละเอียด คือ พื้นที่หน้าสถานีรถไฟชุมพร ต้ังอยู่ถนนนวมินทร์
รวมใจ ตาบลท่าตะเภา อาเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟช้ัน1 ของทางรถไฟสายใต้
สถานีชุมพร เป็นจุดเติมน้ามันจุดแรกของทางรถไฟสายใต้ หลังจากออกมาจากสถานีกรุงเทพ สถานี
ธนบุรีและย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน และ รถไฟจากเส้นทางสายใต้ทุกขบวนท่ีจะเข้าสถานีกรุงเทพ
สถานีธนบุรี และย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน ภายใต้การดูแลโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวง
คมนาคม โดยลักษณะของพ้ืนท่ีถือเป็นพื้นที่ทีมีศักยภาพเนื่องจากมีบริเวณลานด้านหน้าของสถานี
รถไฟและเชื่อมกับถนนผัดไทยที่มีลักษณะของการเป็นถนนคนเดินในช่วงเย็น มีคนในท้องถ่ินและ
นักท่องเท่ียวจานวนมากที่ช่ืนชอบและให้ความสนใจ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของพื้นท่ี คือ ยังขาด
จุดขายหรอื แลนด์มาร์คของพ้นื ทแี่ ละการวางผงั พ้นื ท่เี พ่ือใชส้ าหรับการเป็นพื้นทก่ี จิ กรรมเชิงสาธารณะ
ดังน้ัน ในการพัฒนาพื้นที่เพ่ือการเป็นพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะจะต้องให้ความสาคัญต่อการ
ยกระดับพ้ืนท่ีเพ่ือให้สามารถรองรับและกลายเป็นพ้ืนท่ีเช่ือมโยงกิจกรรมทางการท่องเที่ยวสามารถ
เพิ่มนักท่องเที่ยวและกระจายตัวของนักท่องเท่ียวได้จากพ้ืนท่ีหลักต่างๆ และสามารถเป็นแหล่ง
ทอ่ งเทีย่ วกลางคืนของพื้นท่ี

วิธีการและขน้ั ตอนการดาเนนิ การ/กจิ กรรม

1. การประชุมเพ่ือระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ที่เก่ียวข้องในพ้ืนที่และหน่วยงานที่มี
ความรบั ผดิ ชอบด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวทุกภาคส่วนเพื่อกาหนดเป้าหมายการ
พัฒนาพื้นท่ีสาธารณะ ได้แก่ ส่วนราชการจังหวัด วัฒนธรรมจังหวัด สานักงาน
ท่องเทีย่ วและกีฬาและคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง เพอื่ กาหนดแนวทางร่วมกันต่อการ

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝ่ังทะเลตะวันตก 7-57
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ที่

ออกแบบและพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) บนฐานของ
อตั ลกั ษณข์ องพ้ืนที่
2. ศึกษาเร่ืองราว ความเป็นมา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตและคุณค่าเชิง
อัตลักษณ์ในมิติต่างๆ ของพ้ืนที่เพื่อกาหนดคุณค่าหลัก (Identity Value) และ
กาหนดเป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ (Image) ท่ีต้องการสร้างการรับรู้ต่อพื้นท่ี และ
กาหนดจุดยืนของตราสินค้า/แบรนด์หลักของพื้นท่ีสาหรับการพัฒนาพื้นท่ีและ
แบรนดพ์ ืน้ ทีโ่ ดยรวม
3. ศึกษาและวางแผนเชิงพ้ืนที่และลักษณะทางกายภาพของพื้นที่เพื่อกาหนดการ
ออกแบบพื้นท่ีโดยคานึงถึงความงามทางสถาปัตยกรรมที่เช่ือมโยงกับอัตลักษณ์ของ
พ้ืนที่ ลักษณะการใช้งานของพื้นท่ี ประโยชน์ใช้สอย ส่ิงอานวยความสะดวกทาง
การทอ่ งเทยี่ ว ส่ิงอานวยความสะดวกพื้นฐาน
4. พัฒนาแลนด์มาร์คของพื้นที่ให้มีความโดดเด่น ด้วยการออกแบบที่สอดคล้องกับ
อัตลักษณ์และเรื่องราวในพื้นที่ จะต้องสามารถแรงดึงดูดที่น่าสนใจสาหรับการมา
ท่องเท่ียว มีการสื่อความหมายที่เหมาะสมและมีลักษณะที่คงทนต่อสภาพอากาศ
และบรรยากาศภายนอก
5. กาหนดแนวทางการบริหารจัดการพ้ืนที่อย่างเป็นระบบ การกาหนดมาตรฐานด้าน
ความสะอาดและความปลอดภัย การบารุงรักษาและหน่วยงานท่ีมีบทบาทหน้าที่
รบั ผดิ ชอบเพ่ือให้พ้ืนที่สาธารณะดังกล่าวมีสภาพสวยงาม พร้อมใช้ ปลอดภัยสาหรับ
ผมู้ าเยือน
6. การจ้างเหมาเพื่อการออกแบบความสร้างสรรค์พื้นที่ที่มุ่งเน้นให้เกิดการท่องเท่ียวใน
ช่วงเวลากลางวันและโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงเวลาค่าและกลางคืน ด้วยระบบแสง
สหี รอื เสียงทส่ี วยงาม
7. ออกแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีสามารถสร้างมีส่วนร่วมหรือประสบการณ์ท้ังจาก
คนในท้องถ่ินและนักท่องเที่ยว เช่น ตลาดท่องเท่ียว การแสดงศิลปวัฒนธรรม
การแสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ จากชุมชน
สถาบันการศกึ ษาและหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง
8. สร้างความเช่ือมโยงด้านแบรนด์เมือง (City Brand) ผ่านการออกแบบพื้นท่ี สีและ
โทน การตกแต่ง จุดถ่ายภาพ สินค้าของท่ีระลึก อาหาร เพื่อกระตุ้นให้เกิดการรับรู้
และการใช้จา่ ยทีม่ ากขึ้น
9. การสร้างความผูกพันของคนในพื้นท่ี (Brand Engagement) ด้วยการสร้างการมี
ส่วนร่วมต่อการคิดสร้างสรรค์และการรับผิดชอบต่อการดาเนินการในพ้ืนท่ีเพ่ือให้
เกิดการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วอยา่ งย่งั ยนื
10.วางแผนด้านการประชาสัมพันธ์ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ภาคเอกชนและสื่อในรูปแบบต่างๆ ที่
สอดคลอ้ งกับกลมุ่ เปา้ หมายและการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วฝ่ังทะเลตะวันตก 7-58
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563

หนว่ ยงานดาเนินงาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อยา่ งมสี ว่ นรว่ มสอดคล้องตอ่ แผนแม่บทฯ และโครงการ คือ การรถไฟแหง่ ประเทศไทย

งบประมาณ 40,000,000 บาท

ผลผลิต

1. มีพื้นที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพ่ือกาหนด
เป็นพ้ืนที่สาหรับการเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและพื้นที่
ศูนย์รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาสการเชื่อมโยงทางการ
ทอ่ งเทย่ี ว

2. เพ่ือกิจกรรม รูปแบบ ระยะเวลาการท่องเที่ยวและจานวนนักท่องเที่ยวเข้าสู่พ้ืนที่
และการเช่ือมโยง

3. เกิดภาพลักษณ์ใหม่การท่องเท่ียวของจังหวัดที่สามารถเชื่อมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพ้ืนทแ่ี ละกิจกรรมการท่องเท่ยี วในพน้ื ท่ี

ผลลพั ธ์

1. การเพ่ิมจานวนนักท่องเท่ียวมากข้ึนและการขยายเวลาในการร่วมกิจกรรม
การทอ่ งเทยี่ ว

2. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาพ้ืนที่และการสร้างสรรค์
กิจกรรมการทอ่ งเทยี่ วในพื้นที่

3. เกดิ การยกระดับคุณภาพชวี ติ ของคนในพ้ืนทแ่ี ละการยกระดบั พ้ืนทท่ี ่องเที่ยวในพน้ื ท่ี

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ

1. มีพื้นที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) สาหรับการดาเนินกิจกรรม
ทางสังคมและพ้ืนที่ศูนย์รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาส
การเชือ่ มโยงทางการท่องเท่ียว

2. เพื่อเพิ่มโอกาสทางการท่องเที่ยวและการสร้างรายได้ รองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ
และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศร้อนและสร้างโอกาสการเพิ่มระยะเวลาการ
ท่องเท่ียว

3. มีภาพลักษณ์ใหม่การท่องเที่ยวของจังหวัดท่ีสามารถเช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพื้นทีแ่ ละกจิ กรรมการท่องเทย่ี วในพนื้ ที่

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนุนการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-59
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ท่ี

4. การสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพ่ือการสร้างการรับรู้และ
ภาพลกั ษณ์ทางการทอ่ งเท่ยี วของเมืองและพน้ื ทโ่ี ดยรวม

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-60
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ที่

โครงการการออกแบบและพัฒนาพน้ื ท่ีกจิ กรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพื่อการเปน็
ศนู ยก์ ลางการทอ่ งเที่ยวจงั หวดั ระนอง

หลกั การเหตุผล

จังหวัดระนองเป็นเมืองท่ีมีชายฝ่ังขนานกับทะเลฝ่ังอ่าวไทยและเป็นจังหวัดท่ีถือได้ว่ า
เป็นประตูสู่ภาคใต้ที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีพร้อมท้ังป่าไม้ ทะเล อีกท้ังเป็น
สะพานเช่ือมระหว่างอ่าวไทยและอันดามันการพัฒนาพ้ืนที่ไทยแลนด์รเิ วียร่าสูก่ ารเป็นพื้นท่ีท่องเท่ยี ว
ชั้นนาระดับโลกจาเป็นจะต้องอาศัยการพัฒนาที่ครอบคลุมในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนา
พ้ืนที่ท่ีสามารถรองรับกิจกรรมทางการท่องเท่ียวและการเติบโตทางการท่องเที่ยวในทุกรูปแบบ จาก
การศึกษาพ้ืนท่ีต้นแบบพบว่าปัจจัยแห่งความสาเร็จของการ พัฒนาจุดหมายปลายทางทางการ
ท่องเท่ียว คือ การท่ีจัดให้มีพื้นท่ีสาธารณะหรือ Public Space หรืออาจจะหมายถึงพ้ืนที่เปิดโล่งเพ่ือ
ใช้ในการทากิจกรรมหรือ Open Space โดยลักษณะของพ้ืนท่ีดังกล่าวจะอยู่ใจกลางเมืองท่ีสามารถ
เชื่อมต่อรูปแบบการเดินทางขนส่งภายในเมืองเชื่อมกับการขนส่งหนักระหว่างพื้นท่ีหรือระหว่างเมือง
ส่งผลให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพ้ืนที่เชื่อมต่อท้ังในส่วนของประชาชนในพ้ืนที่รวมไปถึงนักท่องเที่ยวมุ่งเนน้
ในเรื่องของการกระจายตวั ของนักท่องเที่ยวไปยงั พื้นทต่ี า่ งๆ

จากแนวคิดและความสาคัญดังกล่าวจึงเห็นควรว่าแนวทางในการที่ จะยกระดับพ้ืนท่ี
เป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดระนองจาเป็นจะต้องมีการพัฒนาพ้ืนท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะขึ้น
เพื่อเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของจังหวัดโดยได้มีการกาหนดพ้ืนท่ีโดยพิจารณาจากความพร้อม
ขีดความสามารถและการเข้าถึงพ้ืนท่ีจังหวัด นอกจากน้ี การพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ
ดังกล่าวจะเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการยกระดับการเช่ือมโยงพ้ืนท่ีและส่งเสริมการท่องเที่ยวกลางคืน
หรือ Night Tourism ซึ่งหากพิจารณาจากสภาพแวดลอ้ มและสภาพอากาศของประเทศไทยจะพบว่า
มีอากาศร้อน กิจกรรมการท่องเที่ยวในภาคกลางวันจะได้รับความนิยมเฉพาะกลุ่มนักท่องเท่ียว
ชาวต่างชาตเิ ท่านั้น ดงั น้ัน หากในจังหวดั มกี ารพฒั นาพน้ื ท่เี ชิงสาธารณะข้นึ เพื่อเป็นศูนย์กลางทางการ
ทอ่ งเท่ียวและมีการออกแบบท้ังทางดา้ นภูมสิ ถาปัตย์ การตกแตง่ และระบบไฟ (แสงและส)ี สามารถใช้
เป็นพน้ื ที่สาหรบั การดาเนนิ กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวในช่วงกลางคืนกจ็ ะเพ่มิ ขยายเวลาทางการท่องเท่ียว
และโอกาสการใชจ้ า่ ยของนกั ท่องเทยี่ วทเ่ี พิม่ มากขึน้

อย่างไรก็ตาม ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิงสาธารณะดังกล่าวจะต้อง
อาศัยการกาหนดข้อมูลเชิงอัตลักษณ์หรือการนาเอาอัตลักษณ์ในเชิงพื้นที่มาเป็นองค์ประก อบสาคัญ
ในการออกแบบและพฒั นาเพ่ือให้พน้ื ท่ีกิจกรรมเชงิ สาธารณะดงั กล่าว เพ่ือใหส้ ามารถสะท้อนเร่อื งราว
ความเป็นมาและสร้างแรงดึงดูดใจให้พ้ืนที่กลายเป็นแหล่งท่องเท่ียว ท่ีน่าสนใจของนักท่องเท่ียวอีก
ด้วย นอกจากนี้ ยังจาเปน็ ต้องกาหนดบทบาทของผู้ที่มีสว่ นเก่ียวข้องในการบริหารจดั การเพ่ือให้พ้ืนท่ี
ดังกล่าวมีสภาพความพร้อมถึงกายภาพ ความสะอาด ความปลอดภัยรวมไปถึงการให้บริการใน
รปู แบบต่างๆ ทีส่ ง่ เสรมิ การท่องเที่ยว

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-61
และโครงการในการพฒั นาพ้นื ที่

ดังนั้น การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝั่ง
ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงเสนอโครงการการพัฒนาพื้นที่
กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวของจังหวัดระนองเพื่อ
ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์การท่องเท่ียวท่ีเช่ือมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่การออกแบบพื้นท่ีและกิจกรรม
การท่องเท่ียวในพ้ืนท่ี ส่งเสริมให้เกิดแบรนด์เมือง (City Brand) และแบรนด์จุดหมายปลายทางการ
ท่องเที่ยว (Destination Branding) เพอื่ การสร้างการรับรู้และภาพลักษณ์ทางการท่องเทย่ี วของเมือง
และพื้นทโ่ี ดยรวมสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์และเปา้ หมายของการพฒั นาต่อไป

วตั ถปุ ระสงค์โครงการ

โครงการการพฒั นาพน้ื ท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่อื การเป็นศูนย์กลาง
การทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั ระนอง มวี ัตถุประสงค์โครงการดงั นี้

1. เพื่อพัฒนาพ้ืนที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพื่อ
กาหนดเปน็ พนื้ ท่สี าหรับการเปน็ ศูนย์กลางในการดาเนินกจิ กรรมทางสังคมและพ้ืนที่
ศูนย์รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพื่อการสร้างโอกาสการเชื่อมโยงทางการ
ท่องเทยี่ ว

2. ส่งเสริมให้เกิดพ้ืนที่การให้บริการการท่องเที่ยวหลักที่ครบวงจรสามารถเป็นจุด
ศนู ย์กลางในการเช่ือมโยงนักทอ่ งเท่ียวและกระจายนกั ท่องเทย่ี ว

3. ส่งเสริมให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ รูปแบบกิจกรรมการท่องเท่ียวใหม่ประเภทการ
ทอ่ งเทย่ี วกลางคนื (Night Tourism) เพอื่ เพมิ่ โอกาสทางการท่องเที่ยวและการสร้าง
รายได้ รองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศร้อนและ
สร้างโอกาสการเพม่ิ ระยะเวลาการทอ่ งเท่ยี ว

4. ส่งเสริมให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ในการท่องเท่ียวของจังหวัดท่ีสามารถเชื่อมโยง
อัตลกั ษณต์ า่ งๆ สกู่ ารออกแบบพ้นื ท่แี ละกิจกรรมการท่องเท่ียวในพืน้ ท่ี

5. สง่ เสรมิ ให้เกิดการสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพอ่ื การสร้างการรับรู้
และภาพลกั ษณ์ทางการทอ่ งเทยี่ วของเมืองและพื้นทโ่ี ดยรวม

เปา้ หมายและตัวช้วี ดั ความสาเร็จของโครงการ

1. จานวนพ้ืนท่ีกิจกรรมเชงิ สาธารณะ (Public Space) ในพ้ืนท่ีเปา้ หมาย
2. ร้อยละการเพม่ิ ขน้ึ ของจานวนนักทอ่ งเทีย่ วคุณภาพ ร้อยละ 10
3. ร้อยละการเพิม่ ขน้ึ ของรายไดจ้ ากสนิ ค้าและบริการด้านการท่องเท่ียว รอ้ ยละ 5
4. ร้อยละความพงึ พอใจของนักท่องเทยี่ ว รอ้ ยละ 90

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนุนการพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-62
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ท่ี

กล่มุ เป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย

เพื่อให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเที่ยวในเขต
พัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็น
ศูนย์กลางการท่องเท่ียว ได้กาหนดพื้นที่เป้าหมายสาหรับการพัฒนา โดยพิจารณาจากความเหมาะ
ของสภาพพ้ืนท่ีเดิม คุณค่าและความสาคัญของพื้นที่ อัตลักษณ์และการเข้าถึงท้ังน้ีเพื่อให้สามารถ
ดาเนินการได้อยา่ งเหมาะสม โดยมีรายละเอียด คอื ลานอเนกประสงค์หน้าเทศบาลเมอื งระนอง ตัง้ อยู่
พื้นท่ีหน้าเทศบาลเมืองระนองใช้เป็นพ้ืนท่ีกิจกรรมต่างๆ สาหรับจังหวัด ภายใต้การดูแลโดยเทศบาล
เมืองระนอง โดยลักษณะของพ้ืนที่ถือเป็นพื้นท่ีทีมีศักยภาพเน่ืองจากมีการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ใน
พื้นที่ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของพ้ืนท่ี คือ ยังขาดจุดขายหรือแลนด์มาร์คของพื้นท่ีและการวางผัง
พื้นท่ีเพ่ือใช้สาหรับการเป็นพ้ืนท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะ ดังน้ัน ในการพัฒนาพ้ืนท่ีเพื่อการเป็นพ้ืนที่
กิจกรรมเชิงสาธารณะจะต้องให้ความสาคัญต่อการยกระดับพื้นที่เพื่อให้สามารถรองรับและกลายเปน็
พ้ืนที่เชื่อมโยงกิจกรรมทางการท่องเที่ยวสามารถเพิ่มนักท่องเที่ยวและกระจายตัวของนักท่องเท่ียวได้
จากพน้ื ที่หลกั ต่างๆ และสามารถเป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ วกลางคนื ของพ้นื ที่

วิธีการและข้นั ตอนการดาเนินการ/กจิ กรรม

1. การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ท่ีเก่ียวข้องในพื้นที่และหน่วยงานที่มี
ความรับผิดชอบดา้ นการส่งเสริมการท่องเทยี่ วทุกภาคสว่ นเพ่ือกาหนดเป้าหมายการ
พัฒนาพ้ืนท่ีสาธารณะ ได้แก่ ส่วนราชการจังหวัด วัฒนธรรมจังหวัด สานักงาน
ท่องเท่ียวและกีฬาและคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดแนวทางรว่ มกันต่อการ
ออกแบบและพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) บนฐานของ
อัตลักษณ์ของพ้นื ท่ี

2. ศึกษาเรื่องราว ความเป็นมา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตและคุณค่าเชิง
อัตลักษณ์ในมิติต่างๆ ของพื้นท่ีเพื่อกาหนดคุณค่าหลัก (Identity Value) และ
กาหนดเป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ (Image) ที่ต้องการสร้างการรับรู้ต่อพ้ืนที่ และ
กาหนดจุดยืนของตราสินค้า/แบรนด์หลักของพื้นท่ีสาหรับการพัฒนาพ้ืนที่และ
แบรนด์พื้นท่ีโดยรวม

3. ศึกษาและวางแผนเชิงพื้นที่และลักษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ีเพื่อกาหนดการ
ออกแบบพื้นที่โดยคานึงถึงความงามทางสถาปัตยกรรมที่เช่ือมโยงกับอัตลักษณ์ของ
พ้ืนท่ี ลักษณะการใช้งานของพื้นท่ี ประโยชน์ใช้สอย สิ่งอานวยความสะดวกทาง
การท่องเท่ียว ส่งิ อานวยความสะดวกพ้นื ฐาน

4. พัฒนาแลนด์มาร์คของพื้นที่ให้มีความโดดเด่น ด้วยการออกแบบท่ีสอดคล้องกับ
อัตลักษณ์และเร่ืองราวในพ้ืนที่ จะต้องสามารถแรงดึงดูดที่น่าสนใจสาหรับการมา
ท่องเท่ียว มีการสื่อความหมายที่เหมาะสมและมีลักษณะท่ีคงทนต่อสภาพอากาศ
และบรรยากาศภายนอก

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-63
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

5. กาหนดแนวทางการบริหารจัดการพ้ืนที่อย่างเป็นระบบ การกาหนดมาตรฐานด้าน
ความสะอาดและความปลอดภัย การบารุงรักษาและหน่วยงานท่ีมีบทบาทหน้าท่ี
รบั ผิดชอบเพื่อให้พ้ืนที่สาธารณะดังกล่าวมีสภาพสวยงาม พรอ้ มใช้ ปลอดภยั สาหรับ
ผ้มู าเยอื น

6. การจ้างเหมาเพื่อการออกแบบความสร้างสรรค์พื้นท่ีที่มุ่งเน้นให้เกิดการท่องเท่ียวใน
ช่วงเวลากลางวันและโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาค่าและกลางคืน ด้วยระบบแสง
สหี รอื เสียงทสี่ วยงาม

7. ออกแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีสามารถสร้างมีส่วนร่วมหรือประสบการณ์ทั้งจาก
คนในท้องถ่ินและนักท่องเที่ยว เช่น ตลาดท่องเที่ยว การแสดงศิลปวัฒนธรรม
การแสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากชุมชน
สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง

8. สร้างความเช่ือมโยงด้านแบรนด์เมือง (City Brand) ผ่านการออกแบบพื้นที่ สีและ
โทน การตกแต่ง จุดถ่ายภาพ สินค้าของท่ีระลึก อาหาร เพ่ือกระตุ้นให้เกิดการรับรู้
และการใช้จา่ ยทีม่ ากขึ้น

9. การสร้างความผูกพันของคนในพื้นที่ (Brand Engagement) ด้วยการสร้างการมี
ส่วนร่วมต่อการคิดสร้างสรรค์และการรับผิดชอบต่อการดาเนินการในพ้ืนท่ีเพื่อให้
เกดิ การพฒั นาการท่องเที่ยวอยา่ งยงั่ ยนื

10.วางแผนด้านการประชาสัมพันธ์ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ภาคเอกชนและสื่อในรูปแบบต่างๆ ท่ี
สอดคล้องกับกลุม่ เปา้ หมายและการเปลย่ี นแปลงทางสังคม

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563

หน่วยงานดาเนนิ งาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมสี ่วนรว่ มสอดคลอ้ งตอ่ แผนแม่บทฯ และโครงการ คอื เทศบาลเมืองระนอง

งบประมาณ 40,000,000 บาท
ผลผลิต

1. มีพ้ืนที่สาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ในแต่ละจังหวัดเพื่อกาหนด
เป็นพ้ืนท่ีสาหรับการเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมทางสังคมและพื้นที่
ศูนย์รวมทางการท่องเที่ยวของจังหวัดเพ่ือการสร้างโอกาสการเช่ือมโยงทางการ
ทอ่ งเทย่ี ว

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนุนการพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-64
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนท่ี

2. เพื่อกิจกรรม รูปแบบ ระยะเวลาการท่องเที่ยวและจานวนนักท่องเท่ียวเข้าสู่พ้ืนที่
และการเช่อื มโยง

3. เกิดภาพลักษณ์ใหม่การท่องเที่ยวของจังหวัดท่ีสามารถเชื่อมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพน้ื ท่แี ละกิจกรรมการท่องเทีย่ วในพื้นท่ี

ผลลัพธ์

1. การเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวมากข้ึนและการขยายเวลาในการร่วมกิจกรรม
การท่องเทย่ี ว

2. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาพ้ืนที่และการสร้างสรรค์
กิจกรรมการทอ่ งเทยี่ วในพ้ืนท่ี

3. เกิดการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในพ้ืนท่ีและการยกระดบั พ้นื ทที่ ่องเท่ยี วในพ้ืนท่ี

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ

1. มีพื้นท่ีสาหรับกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) สาหรับการดาเนินกิจกรรม
ทางสังคมและพ้ืนที่ศูนย์รวมทางการท่องเท่ียวของจังหวัดเพื่อการสร้างโอกาส
การเช่ือมโยงทางการท่องเทย่ี ว

2. เพ่ือเพ่ิมโอกาสทางการท่องเท่ียวและการสร้างรายได้ รองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ
และลดข้อจากัดจากสภาพอากาศร้อนและสร้างโอกาสการเพ่ิมระยะเวลา
การทอ่ งเทยี่ ว

3. มีภาพลักษณ์ใหม่ทางการท่องเที่ยวของจังหวัดที่สามารถเชื่อมโยงอัตลักษณ์ต่างๆ สู่
การออกแบบพนื้ ที่และกิจกรรมการท่องเทยี่ วในพ้นื ที่

4. การสร้างตราสินค้า/แบรนด์เมือง (City Brand) เพื่อการสร้างการรับรู้และ
ภาพลักษณ์ทางการท่องเท่ยี วของเมืองและพืน้ ท่โี ดยรวม

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วฝ่ังทะเลตะวันตก 7-65
และโครงการในการพฒั นาพ้นื ที่

แผนการส่งเสรมิ การลงทนุ

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันทางการท่องเที่ยวและ
การส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่อย่างยั่งยืน มีเป้าหมายเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของทรัพยากรทาง
การท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวสินค้าและบริการประกอบการการการท่องเที่ยวการกาหนดแนวทาง
การส่งเสริมการลงทุนการขยายการลงทุนการกาหนดแนวคิดเพื่อการพัฒนาพ้ืนท่ีในภาพ รวมแต่ละ
จังหวัดและการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวและอุตสาหกรรมท่ี
เกีย่ วขอ้ ง

ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนดและสอดรับกับแผนแม่บทฯ จึงจัดทา
การพัฒนาแผนการส่งเสริมการลงทุนโดยมีเป้าหมายกาหนดแนวทางการส่งเสริมการลงทุนและขย าย
การลงทนุ ทสี่ อดคลอ้ งตอ่ การพฒั นาสู่การเป็นพื้นทีท่ ่องเที่ยวช้นั นาระดบั โลก อาทิเชน่ โรงแรมระดบั 5
ดาว สปาท่ีมีมาตรฐาน การพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใหม่ การพัฒนาสวนสนุก ศูนย์แสดงสินค้าและ
นทิ รรศการและธุรกิจทีส่ ามารถดึงดดู กลุ่มนักท่องเท่ียวคุณภาพสูงพนื้ ท่ีก่อให้เกิดการขยายตัวทางด้าน
เศรษฐกจิ

โดยมีโครงการเร่งด่วน (Quick Win) ที่ควรได้รับการพัฒนาท้ังส้ิน จานวน 1 โครงการ
โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี

1. โครงการการกาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทนุ สิทธิประโยชน์ธรุ กิจเป้าหมายใน
พน้ื ท่ีไทยแลนด์รเิ วียร่า

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเทย่ี วฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-66
และโครงการในการพัฒนาพืน้ ท่ี

โครงการการกาหนดมาตรการการสง่ เสริมการลงทนุ สทิ ธิประโยชน์ธุรกิจเป้าหมาย
ในพืน้ ทไี่ ทยแลนด์รเิ วยี รา่

หลกั การเหตผุ ล
แนวคดิ แผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวันตก

ได้กาหนดวิสัยทัศน์เพื่อการพัฒนาพื้นที่ไทยแลนด์ริเวียร่าสู่จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวชั้นนา
ระดับโลก ซ่ึงเป็นจุดหมายปลายทางที่ผู้เยี่ยมเยือนสามารถสัมผัสได้ถึงบรรยากาศของชายหาดที่มี
เอกลักษณ์โดดเด่น เพยี บพร้อมดว้ ยกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีหลากหลาย เชือ่ มโยงแหล่งท่องเที่ยวและ
ชุมชนภายใต้เรื่องราวความทรงจาแห่งพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ไทย สร้าง
ประสบการณ์ท่ีมีคุณค่าให้กับนักท่องเที่ยวและการส่งเสริมคุณภาพ ท้ังนี้ ส่ิงสาคัญจะต้องให้
ความสาคัญต่อการยกระดับขีดความสามารถด้านการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง การพัฒนาแหล่ง
ท่องเท่ียวสินค้าและบริการการลงทุนของผู้ประกอบการ เพื่อให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่มี
ความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ในเชิงพ้ืนท่ีและเป้าหมายการยกระดับพื้นท่ี อย่างไรก็ตาม ในเร่ืองของ
การลงทุนขนาดใหญ่จะต้องอาศัยมาตรการการส่งเสริมการลงทุนการกาหนดสิทธิประโยชน์ที่
เหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้นักลงทุนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เห็นความสาคัญและสรา้ งโอกาสใน
การลงทุนเพ่ือการพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นท่ี จากข้อมูลจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้
กาหนดสิทธิประโยชน์บัญชีประเภทกิจการท่ีให้การส่งเสริมการลงทุนและประกาศที่เกี่ยวข้องในกลุ่ม
3A (อ้างอิงจากคู่มือการส่งเสริมการลงทุนโดยคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุนปี 2561) เป็นกิจการท่ี
ใช้เทคโนโลยีข้ันสูงมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศโดยมีฐานการผลิตอยู่บ้างเล็กน้อย ทั้งน้ี ใน
หมวดท่ี 7 กิจกรรมการบริการและสาธารณูปโภคได้กาหนดกิจกรรมเพ่ือการส่งเสริมการท่องเท่ียว
เงอื่ นไขการลงทนุ ภายใตก้ ารกากบั ดูแลและวิเคราะห์โครงการลงทนุ ในหมวดกิจการบริการท่ีมีมูลค่าสูง
ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาพ้ืนที่ เช่น กิจการสนามบินพาณิชย์ กิจการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สถาบนั การศึกษาหรือสถาบันอดุ มศึกษา กิจการภาพยนตรไ์ ทย กจิ การบริการแกธ่ ุรกิจสรา้ งภาพยนตร์
กิจการเรือเฟอร์ร่ีหรือเดินเรือท่องเที่ยวหรือให้เช่าเรือท่องเที่ยว กิจการบริการเรือจอดรถท่องเท่ียว
กิจการสวนสนุก กิจการศูนย์แสดงศิลปวัฒนธรรม กิจการพิพิธภัณฑ์สัตว์น้า กิจการสนามแข่งขัน
ยานยนต์ กจิ การหอประชมุ ขนาดใหญ่ กจิ การฟ้นื ฟูสขุ ภาพกิจกรรมบริการสาธารณสุขด้านแพทย์แผน
ไทยและพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ บบครบวงจร

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการกาหนดเง่ือนไขการลงทุนภายใต้การกากับดูแลเกี่ยวกับ
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้นไปแล้ว ท้ังนี้ ยังพบว่าที่ผ่านมามีการลงทุนกิจการบริการและ
สาธารณูปโภคเพื่อการส่งเสริมการท่องเท่ียวจานวนน้อยท้ังนี้อาจจะเป็นผลมาจากการกาหนด
สิทธิประโยชน์ข้ันพ้ืนฐานรวมไปถึงสิทธปิ ระโยชนเ์ พิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการท่ีอาจจะไม่สามารถ
ดงึ ดูดนักลงทุนทงั้ จากในประเทศและต่างประเทศเข้ามาลงทนุ ในพื้นท่ีได้

จากความสาคัญดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเท่ียวในเขต
พฒั นาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวนั ตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงเสนอโครงการ
การกาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทุนสิทธิประโยชน์ธุรกิจเป้าหมายในพื้นที่ จึงมุ่งการกาหนด
แนวทางผ่านกระบวนการร่วมระหว่างกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการลงทุนรวมไปถึงหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือกาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทุน

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-67
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนท่ี

สิทธิประโยชน์ธุรกิจเป้าหมายในในพ้ืนที่เพ่ือให้เกิดการลงทุนอย่างเร่งด่วนและนาไปสู่การยกระดับ
พืน้ ทต่ี ามเปา้ ประสงค์ตอ่ ไป

วตั ถุประสงค์โครงการ
โครงการการกาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทุนสิทธิประโยชน์ ธุรกิจเป้าหมายใน

พืน้ ทไ่ี ทยแลนด์รเิ วียรา่ มวี ัตถปุ ระสงค์โครงการดงั นี้
1. เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้ของแนวทางการพัฒนามาตรฐานการส่งเสริมการลงทุน
สทิ ธปิ ระโยชน์ในกลุ่มธรุ กิจเป้าหมายท่ีเกยี่ วข้องกับการส่งเสรมิ การท่องเทยี่ วในพ้ืนท่ี
ไทยแลนดร์ เิ วยี ร่า
2. เพ่ือกาหนดมาตรการและแนวทางการส่งเสริมสิทธิประโยชน์ให้กับกลุ่มธุรกิจ
เปา้ หมายทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การสง่ เสริมการทอ่ งเทย่ี วในพืน้ ที่ไทยแลนด์รเิ วยี ร่า
3. เพ่ือกาหนดกลไกและมาตรการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนในกลุ่มธุรกิจ
ท่ีสอดคล้องกับแผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเท่ียวชายฝั่ง
ทะเลตะวันตก

ตวั ชีว้ ดั
1. การลงทนุ ในธุรกิจเปา้ หมายเพื่อการพัฒนาพื้นที่ไทยแลนดร์ ิเวยี ร่า 16 ประเภทธุรกิจ
เป้าหมาย
2. กาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทุนสิทธิประโยชน์ธุรกิจเป้าหมายในพื้นท่ีไทย
แลนด์รเิ วียร่า 1 ฉบับ

กลมุ่ เป้าหมาย/ พน้ื ทเี่ ปา้ หมาย
เพื่อให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเท่ียวในเขต

พัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการกาหนดมาตรการการสง่ เสรมิ การลงทุนสทิ ธปิ ระโยชนธ์ ุรกจิ เป้าหมายใน
พื้นที่ไทยแลนด์ริเวียร่า ได้กาหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อการการดาเนินโครงการ ได้แก่ สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุนและนักลงทนุ ภาคเอกชนท้ังชาวไทยและต่างประเทศ
วิธีการและข้ันตอนการดาเนินการ/กิจกรรม

1. การจัดประชุมเพื่อกาหนดแนวทางการกาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทุนสิทธิ
ประโยชน์ธุรกิจเป้าหมายในพื้นท่ีไทยแลนด์ริเวียร่าร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสรมิ การลงทุนและนกั ลงทนุ ภาคเอกชนทั้งชาวไทยและต่างประเทศ

2. การกาหนดประเภทธุรกิจท่ีเหมาะสมในแต่ละพื้นที่เพื่อความสอดคล้องกับ
แผนแม่บทฯ และพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในอนาคต ท้ังน้ี ในเบ้ืองต้นได้กาหนด
ประเภทการลงทุน ดังนี้

 ศูนยส์ นิ คา้ ปลอดภาษี (Duty Free)

 ห้างสรรพสินคา้ ขนาดใหญ่ (Department Store)

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-68
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ที่

 ศูนย์แสดงพิพธิ ภัณฑส์ ตั วน์ า้ (Sea Aquarium)
 การส่งเสริมการลงทุนธุรกจิ ทีพ่ ักระดบั สูง (Luxury Resort and Hotel )

 การส่งเสรมิ การลงทุนธรุ กิจสปาชนั้ นา (Luxury Spa)
 การสง่ เสรมิ การลงทุนการสรา้ งประภาคาร จดุ ชมวิว (Landmark/ View
Point)
 การสร้างสวนสนกุ ระดับโลกขนาดใหญ่ (Theme Park)

 การสร้างสนามแข่งรถระดับโลก
 การส่งเสรมิ การลงทุนศูนย์ประชุมและแสดงสนิ ค้า
 ธรุ กิจการใหบ้ รกิ ารท่องเท่ียวทางทะเลและกจิ กรรมการท่องเที่ยวทางทะเล

 ธรุ กจิ บรกิ ารขนสง่ ภายในพ้นื ทแี่ ละพ้นื ทเี่ ช่อื มโยง
 การสง่ เสรมิ ระบบธรุ กจิ แบง่ ปนั (Sharing Economy)
 การส่งเสรมิ ธุรกจิ เครือ่ งบนิ ทะล Seaplane

 ธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ วด้วยเฮลคิ อปเตอรท์ ัวร์
 ธุรกิจเรือยอร์ช

 ศูนยแ์ สดงวัฒนธรรม (Cultural Show Center)
3. จัดทาหลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุนและสิทธิประโยชน์ท่ีมีความเหมาะสมและ

สามารถสง่ เสรมิ การลงทุน

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563

หนว่ ยงานดาเนินงาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสรมิ การลงทนุ
หนว่ ยงานรว่ ม มบี ทบาทตอ่ การรว่ มกาหนดแนวทางการพฒั นา ใหค้ วามร่วมมือต่อการระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ
แผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา และ
กรมธนารักษ์

งบประมาณ 20,000,000 บาท

ผลผลิต

1. แนวทางการพัฒนามาตรฐานการส่งเสริมการลงทุนสิทธิประโยชน์ในกลุ่มธุรกิจ
เปา้ หมายท่เี ก่ียวข้องกับการสง่ เสริมการทอ่ งเทีย่ วไทยแลนด์รเิ วยี ร่า

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-69
และโครงการในการพฒั นาพ้นื ท่ี

2. มาตรการและแนวทางการส่งเสริมสิทธิประโยชน์ให้กับกลุ่มธุรกิจเป้าหมายท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับการส่งเสรมิ การท่องเทีย่ วในพ้นื ที่ไทยแลนดร์ ิเวียร่า

3. กลไกและมาตรการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนในกลุ่มธรุ กิจท่ีสอดคลอ้ ง
กบั แผนแมบ่ ทการพฒั นาการท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วชายฝั่งทะเลตะวนั ตก

ผลลพั ธ์

1. เพิ่มการลงทุนจากภาคเอกชนทั้งภายในประเทศและต่างประเทศส่งผลให้เกิดการ
กระต้นุ เศรษฐกจิ

2. สง่ เสริมภาพลกั ษณ์ทางการท่องเท่ยี วและบรรยากาศการลงทุนในระบบเศรษฐกิจ
3. เกิดการกระจายของนกั ท่องเท่ยี วในพืน้ ที่

ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. สร้างโอกาสทางด้านเศรษฐกิจในพ้ืนที่และระดับประเทศ ทั้งในด้านการท่องเท่ียว
และธุรกิจอื่นท่ีเก่ียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การลงทุนขนาดใหญ่ การสร้างอาชีพ
และรายไดใ้ ห้คนในพ้ืนที่
2. การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวสู่การเป็นจุดหมายปลาย
ทางการท่องเทยี่ วชัน้ นา
3. การยกระดบั สพู่ ืน้ ท่ีการทอ่ งเท่ียวคุณค่าสงู

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝั่งทะเลตะวันตก 7-70
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

แผนการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวชุมชน

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาและส่งเสริมอัตลักษณ์ทางการท่องเท่ียวการส่งเสริมการ
ทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื ทงั้ นี้ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงคต์ ามกรอบวิสยั ทัศน์และตัวเปา้ ประสงค์
จึงได้กาหนดแผนยุทธศาสตร์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ การค้นหาการสร้างอัตลักษณ์ทางการ
ท่องเท่ียวของพ้ืนที่ทั้งในระดับจังหวัดอาเภอและชุมชนที่มีศักยภาพการสร้างคุณค่าบนพื้นฐานของ
อัตลักษณ์ในระดับต่างๆ รวมท้ังการส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดการท่องเท่ียวโดยชุมชนภายใต้แนวคิด
การทอ่ งเทย่ี วอย่างย่ังยืน

ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนดและสอดรับกับแผนแม่บทฯ จึงจัดทา
แผนการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชน มีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริมอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของพื้นที่ใน
ภาพรวมและพ้ืนท่ีในระดับจังหวัด อาเภอและชุมชนท่ีมีศักยภาพ การเสริมสร้างคุณค่าและมูลค่าบน
ฐานของอัตลักษณ์ในระดับต่างๆ การส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
(CBT) ภายใต้แนวคดิ การทอ่ งเท่ียวอย่างยงั่ ยืน

โดยไดก้ าหนดแผนปฏิบตั ิการเรง่ ดว่ น คือ แผนพฒั นาการท่องเที่ยวชุมชนโดยมีโครงการ
สาคัญประกอบด้วยจานวน 3 โครงการ โดยมีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี

1. โครงการชมุ ชนตน้ แบบการท่องเท่ยี วและการเป็นเจ้าบ้านทดี่ ี
2. โครงการพัฒนาโฮมสเตย์และการส่งเสรมิ มาตรฐานโฮมสเตย์
3. โครงการการพัฒนามัคคุเทศก์ทอ้ งถ่ินและนักสื่อความหมาย

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนุนการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ียวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-71
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

โครงการชมุ ชนตน้ แบบการท่องเที่ยวและการเป็นเจา้ บา้ นท่ดี ี
หลักการเหตุผล

จากสภาพการณ์ปัจจุบันพบว่า รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว
ชุมชนในพื้นที่ต่างๆ โดยกาหนดให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องพัฒนาโครงการ เพ่ือนาไปสู่การยกระดับ
ขีดความสามารถและความพร้อมของชุมชนในการรองรับด้านการท่องเที่ยว ทั้งในแง่ของการพัฒนา
สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพเป็นที่ต้องการและตอบสนองความต้องการของนักท่องเท่ียว
รวมไปถึงการพัฒนาตราสินค้าเพ่ือการสร้างมูลค่าเพ่ิมของสินค้า นอกจากน้ี ยังรวมไปถึงการเตรียม
ความพร้อมของชุมชนท่ีสามารถรองรับการท่องเท่ียว เช่น การพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การนาเสนอรูปแบบ การดาเนินชีวิตการพัฒนาท่ีพักและการพัฒนาคนในชุมชนท้องถิ่น ให้มี
คุณลักษณะที่สามารถให้การบริการทางการท่องเท่ียวได้ ทั้งน้ี ที่ผ่านมามีหน่วยงานต่างๆ ที่มีบทบาท
ต่อการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชน เช่น องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. กรมพัฒนาชุมชนและรวมไปถึงหน่วยงานองค์กรส่วนปกครอง
ทอ้ งถ่นิ ท่รี ว่ มกันพัฒนาชุมชนทอ่ งเท่ียว

การเติบโตของการท่องเท่ียวโดยชุมชนมีแนวโน้มของการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จะพบว่า
พฤติกรรมนักท่องเที่ยวในปัจจุบันให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้และประสบการณ์จากการท่องเท่ียว
มากกว่าการเยี่ยมชมท่ัวไป ดังน้ัน หากพิจารณาถึงลักษณะพ้ืนฐานของชุมชนจะพบว่าชุมชนต่างๆ ที่
อยู่ในพ้ืนที่เป้าหมายไทยแลนด์ริเวียร่าจัดเป็นชุมชนที่มีศักยภาพ มีความหลากหลายท้ังในส่วนของ
ชาติพันธ์ุ รูปแบบการดาเนินชีวิต เร่ืองเล่า กิจกรรมในชุมชนซ่ึงจะเป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการ
พฒั นายกระดับใหก้ ลายเปน็ กิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนท่นี า่ สนใจสาหรับนกั ท่องเท่ียวตอ่ ไป

อยา่ งไรก็ตาม พบขอ้ มลู เชงิ ประจักษ์ เกีย่ วกับการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพ้ืนท่ี
ในหลายหมู่บ้านและชุมชนแม้ว่าจะได้รับการส่งเสริมการท่องเที่ยวแต่ยังขาดความพร้อมและ
ขีดความสามารถท่ีจะสามารถรองรับการท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศที่แท้จริง
นอกจากน้ี ยังขาดองค์ความรู้และการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมอันจะนาไปสู่การพึ่งพิงตนเองและ
ก่อให้เกิดการท่องเท่ียวอย่างย่ังยนื

ความสาคัญดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการ
ท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงจาเป็นจะต้องให้
ความสาคัญต่อการยกระดับชุมชนภายใต้ โครงการชุมชนต้นแบบการท่องเท่ียวและการเป็นเจ้าบา้ นท่ี
ดี โดยมพี น้ื ทีเ่ ป้าหมายครอบคลุม 4 จังหวดั ได้แก่ จงั หวัดเพชรบรุ ี ประจวบครี ีขันธ์ ชุมพรและระนอง
ทั้งนใี้ นการดาเนินการจะต้องทาการประเมนิ ศกั ยภาพการท่องเที่ยวชุมชนเพ่ือกาหนดเป้าหมายในการ
พฒั นาการกาหนดแนวทางการพฒั นาชมุ ชนให้มีขีดความสามารถสอดคล้องกับเป้าหมายโดยอาศัยการ
มีสว่ นร่วมของหนว่ ยงานตา่ งๆ เพอ่ื การพฒั นาชุมชนการทอ่ งเที่ยวอย่างยงั่ ยนื

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนบั สนนุ การพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-72
และโครงการในการพัฒนาพ้นื ท่ี

วัตถปุ ระสงค์โครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบการท่องเท่ียวและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี มีวัตถุประสงค์โครงการ

ดังนี้
1. เพื่อยกระดับขีดความสามารถของชุมชนท่ีมีศักยภาพสู่การรองรับการท่องเท่ียว ทั้ง
ทางด้านการเข้าถึงพ้ืนที่ การให้บริการทางการท่องเที่ยว การพัฒนาคุณภาพสินค้า
และผลิตภณั ฑช์ ุมชนให้สามารถตอบสนองความตอ้ งการของนักท่องเทีย่ ว
2. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในชุมชนที่มุ่งเน้น
การมีส่วนร่วมและการพึงพาตนเองอันจะนาไปสู่การสร้างการท่องเท่ียวโดยชุมชน
อย่างย่ังยนื
3. เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการฟื้นฟูศิลปะ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตอันดีงามของชุมชนสู่
การสรา้ งสรรคท์ างการท่องเทย่ี วเพื่อให้เกิดการรับรู้ การตอ่ ยอดและการอนุรกั ษ์
4. เพ่ือสร้างโอกาสทางการท่องเที่ยว ส่งเสริมการท่องเท่ียวเมืองรองและการเช่ือมโยง
การท่องเที่ยวกระแสหลัก และนาไปสู่การกระจายตัวของนักท่องเท่ียว การสร้าง
รายไดแ้ ละการลดความเหลือ่ มล้าทางสังคม
5. เพอ่ื พัฒนามาตรฐานสินคา้ /บริการท่เี กย่ี วข้องต่อการใหบ้ รกิ ารทางการท่องเที่ยวของ
ชุมชนสูก่ ารเปน็ เจ้าบา้ นท่ีดี
6. เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการจับค่ธู ุรกิจกับชุมชน ส่งเสริมใหเ้ กิดกิจกรรมการท่องเที่ยวและ
รปู แบบการทอ่ งเทย่ี วท่มี ีคุณภาพ
7. ยกระดับคุณภาพชีวิตและสรา้ งการมีสว่ นร่วมของชมุ ชนตอ่ การพฒั นาสภาพแวดล้อม
สาธารณสุข การศึกษา การจ้างงาน การสร้างอาชีพและการจัดการส่ิงแวดล้อมใน
ชุมชน

เป้าหมายและตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ ของโครงการ
1. จานวนชุมชนต้นแบบที่ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถการท่องเที่ยวโดยชุมชน
จานวน 20 ชมุ ชน
2. จานวนกจิ กรรมการท่องเทีย่ วชุมชนและผลิตภัณฑช์ มุ ชน ร้อยละ 10
3. จานวนนักท่องเท่ยี วเพ่มิ ขึน้ ในชมุ ชนเพมิ่ ขึ้น ร้อยละ 10

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนาการทอ่ งเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-73
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ท่ี

กลุ่มเปา้ หมาย/พน้ื ท่เี ป้าหมาย

เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีท่องเที่ยวในเขต

พัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย

ตามเป้าประสงค์ โครงการชุมชนต้นแบบการท่องเท่ียวและการเป็นเจ้าบา้ นที่ดีในระยะแรกได้กาหนด

พื้นท่ีเป้าหมายสาหรับการพัฒนา โดยพิจารณาจากความพร้อมของชุมชนท่ีได้รับความนิยมในพื้นท่ี

โดยมีรายละเอยี ดดังนี้

จังหวัดเพชรบรุ ี ชมุ ชนตาบลถ้ารงค์

ชมุ ชนโบราณวดั เกาะ

พิพิธภัณฑป์ ากถนอม

ชุมชนบ้านนา้ ทรพั ย์

จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ หมูบ่ ้านประมงบางปู

หมบู่ ้านปากนา้ ปราณ

ชุมชนบา้ นท่งุ สะท้อน

ชมุ ชนบา้ นป่าละอู

ชมุ ชนบ้านแพรกตะกร้อ

ชมุ ชนบ้านเกียรติพฒั นา

จงั หวดั ชมุ พร บา้ นเกาะพิทักษ์

บ้านอ่าวคราม

ชมุ ชนลอ่ งแพพะโต๊ะ

โฮมสเตยบ์ า้ นปากคลอง

บ้านคลองเรือ

จงั หวดั ระนอง วสิ าหกจิ ชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร ก้องวลั เลย์

สวนเกษตรเชิงสุขภาพ

ชมรมทอ่ งเทย่ี วเชิงอนรุ ักษ์บ้านทะเลนอก

ชมุ ชนหาดสม้ แป้น

มสุ ลมิ โฮมสเตยบ์ า้ นมว่ งกลวง

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-74
และโครงการในการพฒั นาพื้นท่ี

วธิ กี ารและขัน้ ตอนการดาเนนิ การ/กิจกรรม
1. การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีและหน่วยงานที่มี
ความรับผิดชอบด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวทุกภาคส่วนเพื่อกาหนดเป้าหมาย
การพัฒนาชมุ ชนตน้ แบบการทอ่ งเที่ยวและการเปน็ เจ้าบ้านท่ดี ี
2. ประเมินศักยภาพของชุมชนเป้าหมายเพ่ือศึกษาจุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาสและอปุ สรรค
ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ชุ ม ช น ท่ี ผ่ า น ม า น า ไ ป สู่ แ น ว ท า ง
การพฒั นาการท่องเท่ียวชุมชนอย่างยง่ั ยืน
3. การจดั ทาฐานขอ้ มลู ชุมชนท่องเท่ียว ประกอบด้วย ตาแหน่งท่ตี งั้ กจิ กรรมชุมชนและ
กิจกรรมทางการท่องเท่ียว ความโดดเด่นเชิงอัตลักษณ์ รูปแบบการดาเนินชีวิต
วัฒนธรรม ประเพณี ผู้นาชุมชน สมาชิกชุมชน สินค้าชุมชนและข้อมูลด้าน
การพฒั นาการท่องเที่ยว
4. กาหนดแนวทางการสง่ เสริมชุมชนสกู่ ารเป็นชุมชนต้นแบบการท่องเทีย่ วและการเป็น
เจ้าบ้านที่ดี ภายใต้แนวคิดการจัดการการท่องเท่ียวโดยชุมชน เป็นการสร้างความ
เข้มแข็งขององค์กรชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม โดย
กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการกาหนดทิศ
ทางการพฒั นาและไดร้ ับประโยชน์จากการทอ่ งเท่ยี ว ประกอบด้วย

 ชุมชนเป็นเจ้าของพืน้ ที่

 ชาวบ้านเข้ามามสี ่วนรว่ มในการกาหนดทศิ ทางและตดั สนิ ใจ

 สง่ เสรมิ ความภาคภูมใิ จในตนเอง

 ยกระดับคณุ ภาพชวี ิต

 มคี วามยัง่ ยืนทางด้านส่ิงแวดล้อม

 คงเอกลักษณ์และวัฒนธรรมท้องถิ่น

 ก่อให้เกดิ การเรยี นรู้ระหว่างคนต่างวัฒนธรรม

 เคารพในวัฒนธรรมท่แี ตกต่างและศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์

 เกดิ ผลตอบแทนทีเ่ ปน็ ธรรมแกค่ นท้องถนิ่

 มีการกระจายรายได้สู่สาธารณประโยชนข์ องชุมชน
5. ดาเนินการอย่างมีส่วนร่วมกับชุมชนเป้าหมาย โดยมุ่งเน้นการบูรณาการกับทุกภาค

สว่ นในพืน้ ท่ีเพ่ือลดความซา้ ซ้อนและมุ่งสู่การพฒั นาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ทั้งนค้ี วรให้
ความสาคัญท้ังทางด้านชุมชน (อุปทาน) และทางด้านนักท่องเที่ยว (อุปสงค์) ท่ีมี
ความสมดุลภายใต้ความเชือ่ มโยงตามกลไกตลาดการทอ่ งเทย่ี วทเ่ี หมาะสม ได้แก่

 การค้นหาและกาหนดแนวทางการส่งเสริมคุณค่าหลักของชุมชนต่อการ
ส่งเสริมการท่องเท่ียวในชุมชน รวมถึงการฟ้ืนฟูวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆ
ของชมุ ชน

 การวางแผนการจัดการธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พื้นที่และการใช้ประโยชน์
อย่างยงั่ ยนื

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนุนการพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-75
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ท่ี

 การวางแผนจัดการเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิตของชุมชนต่อ
การรองรบั การขยายตวั ทางการทอ่ งเที่ยว

 การพัฒนาความรู้ความเข้าใจต่อการท่องเท่ียวและบทบาทการเปน็ เจ้าบ้าน
ทีด่ ี

 การพัฒนาสินค้า บรกิ ารและผลิตภัณฑ์ชุมชนและการสร้างแบรนดใ์ ห้เป็นที่
ยอมรบั

 การยกระดบั มาตรฐานทพ่ี กั เพอ่ื การรองรบั นักทอ่ งเท่ยี ว

 สร้างกลไกลการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม การ
กระจายรายได้อยา่ งเปน็ ธรรม

 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนทุกระดับ ทั้งผู้นาชุมชน สมาชิก
ชมุ ชน สถาบนั การศึกษา กล่มุ ทางสังคม วัดและแหล่งทอ่ งเทย่ี วเชือ่ มโยง

 ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจต่อการพัฒนาตลาดการท่องเท่ียว รูปแบบ
การโฆษณาและประชาสมั พันธท์ ที่ นั สมยั

 ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพ่ือการบริหารจัดการการท่องเท่ียวโดย
ชมุ ชน

 แนวทางการจดั การด้านความปลอดภยั และการจดั การภาวะวิกฤต
6. ส่งเสริมให้เข้ารับการประเมินชุมชนต้นแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อให้ได้รับ

มาตรฐานท่ีเช่อื ถอื ได้
7. กาหนดเกณฑ์การประเมินและตัวช้ีวัดเพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิจากโครงการต่างๆ

และกาหนดแนวทางมาตรการปรับปรุงแก้ไข
ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563
หนว่ ยงานดาเนนิ งาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อยา่ งมสี ว่ นร่วมสอดคลอ้ งต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่

1. กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา
2. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น (ตามชมุ ชนเปา้ หมาย)
หน่วยงานรว่ ม มบี ทบาทต่อการรว่ มกาหนดแนวทางการพฒั นา ใหค้ วามรว่ มมอื ต่อการระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่
1. องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
2. กรมพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
3. องค์การบริหารการพัฒนาพน้ื ทพี่ ิเศษเพื่อการท่องเทยี่ วอย่างยัง่ ยนื (องค์การมหาชน)
4. การท่องเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย
5. กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณชิ ย์
6. กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก 7-76
และโครงการในการพฒั นาพื้นท่ี

7. กรมส่งเสรมิ อุตสาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม

งบประมาณ 40,000,000 บาท

ผลผลติ

1. ข้อมูลอัตลักษณ์ชุมชนในต่างๆ เช่น ชาติพันธุ์ ประเพณี วัฒนธรรม รูปแบบการ
ดารงชวี ติ และอ่นื ๆ ท่ีเกย่ี วข้องเพ่อื นาไปสกู่ ารสง่ เสรมิ การท่องเท่ยี ว

2. เกิดชุมชนท่องเท่ียวต้นแบบท่ีมีมาตรฐานสามารถพัฒนาสู่การเป็นพื้นท่ีต้นแบบเพื่อ
การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวอย่างย่ังยืน

3. เกิดการยกระดับชุมชนทั้งทางด้านกายภาพ คนในชุมชน กิจกรรมภายในชุมชนเพื่อ
การเพิ่มมูลคา่ และการส่งเสริมการท่องเทยี่ ว

ผลลพั ธ์

1. การเพ่ิมจานวนนักท่องเที่ยวมากข้ึนและการขยายเวลาในการร่วมกิจกรรมการ
ท่องเท่ียว

2. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาพื้นที่และการสร้างสรรค์
กิจกรรมการท่องเท่ยี วในพน้ื ท่ี

3. เกิดการยกระดับคุณภาพชวี ิตของคนในพ้ืนทีแ่ ละการยกระดับพ้นื ทที่ ่องเท่ียวในพน้ื ที่
4. การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสมาชิกของชุมชนอันจะนาไปสู่การลดความ

เหลื่อมล้าทางสังคมและความยัง่ ยืน

ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. สามารถจัดระดับขีดความสามารถของชุมชนที่มีศักยภาพสู่การรองรับการท่องเท่ียว
ทั้งทางด้านการเข้าถึงพื้นท่ี การให้บริการทางการท่องเท่ียว การพัฒนาคุณภาพ
สนิ คา้ และผลิตภณั ฑช์ ุมชนใหส้ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของนักท่องเท่ียว
2. มขี ดี ความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเทยี่ วในชุมชนที่มุ่งเน้นการมีสว่ นร่วม
และการพงึ พาตนเองอนั จะนาไปสู่การสร้างการท่องเทีย่ วโดยชุมชนอย่างยง่ั ยนื
3. เกิดการฟ้ืนฟูศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตอันดีงามของชุมชนสู่การสร้างสรรค์ทาง
การทอ่ งเท่ียวเพอื่ ใหเ้ กิดการรบั รู้ การต่อยอดและการอนรุ ักษ์
4. การสร้างโอกาสทางการท่องเที่ยว ส่งเสริมการท่องเท่ียวเมืองรองและการเชื่อมโยง
การท่องเที่ยวกระแสหลัก และนาไปสู่การกระจายตัวของนักท่องเท่ียว การสร้าง
รายได้และการลดความเหลื่อมล้าทางสงั คม
5. มีมาตรฐานสินค้า/บริการที่เกี่ยวข้องต่อการให้บริการทางการท่องเที่ยวของชุมชนสู่
การเป็นเจ้าบ้านที่ดี
6. มีการจับคู่ธุรกิจกับชุมชน ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการท่องเท่ียวและรูปแบบ
การทอ่ งเที่ยวทีม่ คี ุณภาพ

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนุนการพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก 7-77
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

7. เกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการพัฒนา
สภาพแวดล้อม สาธารณสุข การศึกษา การจ้างงาน การสร้างอาชีพและการจัดการ
สง่ิ แวดล้อมในชุมชน

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนุนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการทอ่ งเที่ยวฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-78
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนท่ี

โครงการพฒั นาโฮมสเตย์และการส่งเสรมิ มาตรฐานโฮมสเตย์

หลักการเหตุผล

ภายใต้แนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนได้กาหนดแนวทางในการพัฒนาใน
หลายปัจจัยด้วยกันทั้งในแง่ของการพัฒนาความพร้อมทางกายภาพ ความสามารถในการเข้าถึง ขีด
ความสามารถของคนในชุมชนเพื่อที่จะรองรับการเติบโตของการท่องเที่ยวโดยชุมชน ซ่ึงหนึ่งใน
องค์ประกอบสาคัญของการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน คือ การพัฒนาท่ีพักหรือการพัฒน า
โฮมสเตย์ ทงั้ น้ี จากแนวคิดในการพัฒนาท่ีพักโฮมสเตย์ในชมุ ชนเป็นหน่งึ ในกระบวนการในการส่งเสริม
ให้เกิดการพักค้างแรมควบคู่ไปกับการเรียนรู้วิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยการใช้บ้านของชุมชนหรือ
สมาชิกชุมชนมาปรับปรุงเพ่ือให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ โดยถือว่าการเปิดโอกาสใหม้ ีท่ีพักแรม
จะเปน็ สว่ นหนึง่ ของการสร้างรายไดร้ องท่ีนอกเหนือจากการประกอบอาชีพหลัก

ปัจจบุ นั ในพื้นที่ไทยแลนด์รเิ วียร่ามีการท่องเที่ยวโดยชุมชนกระจายอยู่ในทุกจังหวัดและ
มีการเพ่ิมขึ้นของจานวนโฮมสเตย์ท่ีเพ่ิมมากขึ้นก่อให้เกิดการกระจายรายได้และอาชีพสอดคล้องกับ
แนวคิดของการพัฒนาประเทศของภาครัฐ อย่างไรก็ตาม การคาดการณ์จานวนนักท่องเท่ียว
เชิงประสบการณ์ท่ีมุ่งเน้นการเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนมีจานวนเพิ่มสูงข้ึน ดังนั้น การยกระดับโดย
การพัฒนาให้ชุมชนท่ีมีความพร้อมสามารถดาเนินการพัฒนารวมกลุ่มเพื่อจั ดต้ังโฮมสเตย์จะเป็น
เคร่ืองมือสาคัญในการเพิ่มขีดความสามารถด้านท่ีพักแรมของพื้นที่ไทยแลนด์ริเวียร่า อย่างไรก็ตาม
พบว่าปัญหาสาคัญของการเพ่ิมข้ึนของจานวนท่ีพักโฮมสเตย์ยังขาดความพร้อมในเรื่องของ
การส่งเสริมมาตรฐานโฮมสเตย์ทั้งน้ี กรมการท่องเท่ียวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้กาหนด
มาตรฐานโฮมสเตย์ไทยและส่งเสริมให้โฮมสเตย์ตา่ งๆ เขา้ รับการตรวจประเมนิ มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย
เกณฑ์และตัวชี้วัดการกาหนดมาตรฐานท่ีพักและจัดบริการสิ่งอานวยความสะดวกตามสมควร อันมี
ลักษณะเป็นการประกอบกิจการเพื่อหารายได้เสริม ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดทาโฮมสเตย์ เพื่อสร้าง
งาน สร้างรายได้ เป็นชุมชนท่ีเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ และยั่งยืน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนา
โฮมสเตย์ให้มีมาตรฐานเข้าสู่กระบวนการตรวจรับรอง ส่งเสริมให้การพัฒนาโฮมสเตย์เป็นส่วนหนึ่ง
ของการท่องเท่ียวโดยชุมชน คานึงถึงความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ดารงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทาง
วฒั นธรรม ชุมชนเข้ามามสี ่วนร่วมและรบั ประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ ธรรม

จากความสาคัญดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีท่องเท่ียวในเขต
พัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) โครงการพัฒนา
โฮมสเตย์และส่งเสริมมาตรฐานโฮมสเตย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของ
โฮมสเตย์ให้เป็นโฮมสเตย์ท่ีมีมาตรฐานสามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวสร้างโอกาส
ในการกระจายรายไดแ้ ละสรา้ งภาพลกั ษณเ์ ชิงบวกด้านการท่องเท่ียวชุมชนในพ้นื ที่

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-79
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ที่

วตั ถุประสงคโ์ ครงการ
โครงการพัฒนาโฮมสเตย์และการส่งเสริมมาตรฐานโฮมสเตย์ มีวัตถุประสงค์โครงการ

ดงั น้ี
1. เพื่อการส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มเพ่ือการจัดต้ังโฮมสเตย์ในชุมชนท่องเที่ยวรวมไป
ถึงการพัฒนาองค์ความรู้และความเข้าใจต่อการจัดการด้านโฮมสเตย์เพ่ือรองรับ
การท่องเที่ยวชมุ ชนและการขยายตัวของนกั ท่องเทีย่ วในอนาคต
2. เพ่ือการส่งเสริมการพัฒนาโฮมสเตย์ด้วยมาตรฐานโฮมสเตย์ในชุมชนท่องเท่ียวโดย
เกณฑม์ าตรฐานโฮมสเตย์ไทยของกรมการท่องเทยี่ ว
3. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ความรว่ มมือของชุมชนต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว การสง่ เสริมอาชีพ
การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน การส่งเสริมกิจกรรมของเยาวชนในชุมชนต่อการรับ
นกั ทอ่ งเท่ยี วมาพกั ในโฮมสเตย์
4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีอาชีพเสริมนอกเหนือจากอาชีพหลักและการเชื่อมโยงการ
ทอ่ งเทย่ี วและการกระจายรายได้จากการทอ่ งเทีย่ วสู่ชุมชน
5. เพ่ือส่งเสรมิ ให้เกิดการมีส่วนรว่ มของชมุ ชนและส่งเสริมการเปน็ สมาชิกที่ดขี องชุมชน
สรา้ งความเข้มแขง็ ให้กับชมุ ชน

กล่มุ เป้าหมาย
เพื่อให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ท่องเท่ียวในเขต

พัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการพัฒนาโฮมสเตย์และการส่งเสริมมาตรฐานโฮมสเตย์ กาหนดพื้นท่ีเป้าหมาย
เพื่อการพัฒนาและยกระดับโฮมสเตย์ในพื้นท่ี 4 จังหวัดเป้าหมาย ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี
ประจวบครี ขี ันธ์ ชุมพรและระนอง

วิธกี ารและข้ันตอนการดาเนนิ การ/กิจกรรม
1. การประชุมเพ่ือการระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ท่ีเก่ียวข้องทั้งในระดับพ้ืนที่และ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ กรมการท่องเที่ยว การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กรมพัฒนาชุมชน สถาบันการศึกษาในท้องถ่ินและ
ชุมชนเพ่ือกาหนดเป้าหมายการพัฒนาโฮมสเตย์ให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนาการ
ท่องเท่ยี วและแผนแมบ่ ทฯ
2. กาหนดแผนดาเนินการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับผู้เก่ียวข้องของแต่ละ
ชมุ ชนต่อการจัดตงั้ และการยกระดบั โฮมสเตย์ ประกอบดว้ ยกิจกรรม

 การกาหนดพื้นท่ีเป้าหมายโฮมสเตย์เพ่ือการพัฒนาและการกาหนดเป้าหมาย
เชงิ ปริมาณและเชิงคณุ ภาพต่อการพฒั นาโฮมสเตยใ์ นแตล่ ะจังหวัด

 จัดทาแผนปฏิบัติการในระดับชุมชนเพ่ือการพัฒนาสู่การเป็นโฮมสเตย์ท่ีมี
มาตรฐาน

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก 7-80
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ที่

3. ดาเนินการพัฒนาโฮมสเตยต์ ามแผนปฏบิ ัติการในระดับชมุ ชน เช่น

 จัดกิจกรรมศึกษาดูงานและการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับโฮมสเตย์ท่ีต้นแบบที่
ประสบความสาเรจ็

 การฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในข้ันตอนต่างๆ ต่อการพัฒนาโฮมสเตย์การ
ให้บรกิ ารนกั ท่องเทีย่ ว

 พัฒนาผู้นาชุมชนและสรา้ งการมีส่วนร่วม

 สร้างเครือข่ายความร่วมมือในระดบั ต่างๆ

 พัฒนาความด้านการตลาดการท่องเทยี่ ว

 พัฒนาทักษะการให้บรกิ าร การนาเทย่ี วและการสอ่ื ความหมาย

 พฒั นาด้านเทคโนโลยเี พ่ือการส่งเสรมิ การท่องเที่ยว

 การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวอยา่ งยัง่ ยืน
4. การวางแผนด้านการส่งเสริมการตลาดท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดการกระตุ้นทางการท่องเท่ียวและ

เพิ่มจานวนนักทอ่ งเทีย่ ว

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563

หนว่ ยงานดาเนนิ งาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีสว่ นรว่ มสอดคลอ้ งต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่ กรมการทอ่ งเท่ยี ว
หนว่ ยงานรว่ ม มีบทบาทต่อการรว่ มกาหนดแนวทางการพัฒนา ใหค้ วามร่วมมือต่อการระดม
ความคดิ จัดสรรทรัพยากรท่ีเกี่ยวข้องและการดาเนินการเพอ่ื ให้บรรลเุ ปา้ หมายของแผน
แม่บทฯ และโครงการ ได้แก่
1. องค์การบริหารการพัฒนาพน้ื ทพี่ ิเศษเพื่อการท่องเทยี่ วอย่างยง่ั ยืน (องค์การมหาชน)
2. การท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทย

งบประมาณ 35,000,000 บาท

ผลผลิต

1. มีโฮมสเตย์ใหม่เพิ่มข้ึนสามารถรองรับการเติบโตทางการท่องเที่ยวในพื้นที่และการ
เพม่ิ ขนึ้ กลุ่มนักท่องเทย่ี วชุมชนและนักทอ่ งเท่ยี วเชิงประสบการณ์

2. มีโฮมสเตย์ท่ีมีขีดความสามารถและมาตรฐานสามารถรองรับนักท่องเที่ยวและ
สอดคล้องกบั มาตรฐานของกรมการท่องเทยี่ ว

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก 7-81
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

ผลลพั ธ์

1. การเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวมากข้ึนและการขยายเวลาในการร่วมกิจกรรมการ
ทอ่ งเที่ยว

2. การสรา้ งรายได้ และการสร้างอาชีพเสริมในชุมชน
3. การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาพ้ืนที่และการสร้างสรรค์

กจิ กรรมการทอ่ งเที่ยวในพนื้ ท่ี
4. เกิดการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในพื้นท่ีและการยกระดับพืน้ ท่ที ่องเทยี่ วในพน้ื ท่ี
5. การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสมาชิกของชุมชนอันจะนาไปสู่การลดความ

เหลื่อมลา้ ทางสังคมและความยงั่ ยืน

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั
1. เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจท่ีสามารถสร้างอาชีพ การลงทุนและการกระจายรายได้
ทางการทอ่ งเทย่ี วเขา้ สชู่ มุ ชน
2. สร้างคุณค่าเชิงวัฒนธรรมในการค้นหา ฟ้ืนฟูวิถีชีวิตและคุณค่าเชิงอัตลักษณ์เพ่ือ
การตอ่ ยอดทางการท่องเทยี่ วนาไปสกู่ ารอนรุ กั ษ์และการรักษาคุณค่า
3. โอกาสในการสง่ เสริมสินคา้ และผลิตภณั ฑ์ชุมชน การสร้างตราสนิ คา้ ใหเ้ ป็นทย่ี อมรับ

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-82
และโครงการในการพัฒนาพืน้ ที่

โครงการการพฒั นามัคคุเทศก์ทอ้ งถน่ิ และนกั สื่อความหมาย
หลกั การเหตผุ ล

การส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชนจาเป็นจะต้องมีการพัฒนาขีดความสามารถการ
รองรับในด้านต่างๆ เช่นความสามารถในเร่ืองของการเข้าถึงที่พักแรม สิ่งอานวยความสะดวก
การออกแบบรูปแบบกิจกรรมทางการท่องเท่ียว ท่ีสามารถสร้างประสบการณ์สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์
ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และคุณค่าจากการท่องเท่ียวในชุมชน อย่างไรก็ตาม เคร่ืองมือหน่ึงท่ีมี
ความสาคัญต่อการถ่ายทอดคุณค่าเชิงอัตลักษณ์เร่ืองราวความเป็นมารวมไปถึงการให้ความรู้ความ
สะดวกสบายของนักท่องเทย่ี วคือมัคคเุ ทศก์ท้องถิ่น จากพระราชบัญญัติมคั คุเทศก์ไดใ้ ห้คานิยาม คาว่า
มัคคุเทศก์ หรือ ไกด์ ว่าเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือข้อมูลความเข้าใจทางด้านวัฒนธรรมประวัติศาสตร์
และเหตุการณ์ร่วมสมัยต่างๆ แก่ผู้ท่ีอยู่ในกลุ่มท่องเที่ยวนักท่องเท่ียว โดยในแง่ของการท่องเท่ียวโดย
ชุมชนมคี วามจาเปน็ อยา่ งย่ิงท่ีจะต้องพฒั นาคนในชมุ ชนใหส้ ามารถทาหน้าท่ใี นฐานะมคั คุเทศก์ท้องถ่ิน
หรือนักสื่อความหมายท้ังนี้บุคคลท่ีมีความรู้และความเข้าใจเชิงลึกในพื้นท่ีชุมชนได้ดีที่สุดคือคนใน
ชุมชนน่ันเอง

อย่างไรก็ตาม การจะเป็นมัคคุเทศก์ชุมชนท่ีมีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยการพัฒนา
ความรู้และการพัฒนาทักษะท้ังในแง่ความรู้เชิงลึกของพ้ืนท่ีทักษะการส่ือความหมายที่ดีรวมไปถึง
ทักษะการให้บริการและความปลอดภัยแก่นักท่องเท่ียวโดยจะต้องสามารถรองรับได้ทั้งนักท่องเที่ยว
ชาวไทยและชาวต่างประเทศ จากปัญหาเชิงประจักษ์ของการพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถ่ินและนักสื่อ
ความหมาย พบว่าปัจจุบันผู้ให้บริการทางด้านการท่องเที่ยวในชุมชนส่วนใหญ่ คือ ผู้สูงอายุท่ีอยู่ใน
ชุมชนซ่ึงอาจจะส่งผลต่อข้อจากัดในการทาหน้าท่ีในฐานะมัคคุเทศก์ท้องถ่ินหรือนักสื่อความหมาย
ดังนั้น จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องพัฒนาเยาวชนหรือคนในท้องถิ่นท่ีมีความสามารถทาหน้าท่ีการเป็น
มัคคเุ ทศก์ทอ้ งถนิ่ ทดี่ ตี ่อไป

จากความสาคัญดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีท่องเที่ยวในเขต
พัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) ความสาคัญต่อ
โครงการการพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถิ่นและนักสื่อความหมายท้ังน้ีเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของโครงการ
ดังกล่าวจะต้องอาศัยแนวทางการพัฒนามัคคุเทศก์ท่ีสอดคล้องกับพรบ. มัคคุเทศก์ซึ่งกาหนดโดย
กรมการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาและภาคีที่เก่ียวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สถาบันการศึกษาในท้องถ่ินชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือท่ีจะพัฒนาคนในชุมชนให้
สามารถทาหนา้ ทเ่ี ป็นมคั คุเทศกท์ ้องถน่ิ และนักส่อื ความหมายได้

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-83
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ที่

วัตถปุ ระสงค์โครงการ
โครงการการพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถ่ินและนักส่ือความหมาย มีวัตถุประสงค์โครงการ

ดังนี้
1. เพ่ือพัฒนาความรู้ของสมาชิกชุมชนในด้านการนาเท่ียวและบทบาทการเป็น
มคั คุเทศกท์ ้องถน่ิ
2. การส่งเสริมให้เกิดอาชีพการนาเท่ียวมัคคุเทศก์ท้องถิ่นและนักสื่อความหมายเพื่อ
รองรบั การท่องเทยี่ วชมุ ชน
3. เพ่ือการพัฒนาทักษะด้านการนาเสนอและการสื่อความหมายเพ่ือการสะท้อนอัต
ลักษณ์ในเชงิ พน้ื ทใ่ี นด้านการทอ่ งเทีย่ ว
4. เพื่อเพ่ิมจานวนมัคคุเทศก์ท้องถ่ินและนักสื่อความหมายให้มีจานวนเพียงพอ
สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและการเติบโตดา้ นการท่องเที่ยวชมุ ชนในอนาคต
5. เพ่ือส่งเสริมเยาวชนในชุมชนมีความรู้และความเข้าใจต่อความเป็นมาประเพณีและ
วัฒนธรรมรวมไปถึงสร้างจิตสานึกรักต่อการเป็นเจ้าบ้านที่ดีและการพัฒนาชุมชนให้
ด้านการท่องเที่ยว
6. เพ่อื สร้างการมสี ่วนร่วมภายในชุมชนระหว่างผูน้ าชุมชน ปราชญ์ชมุ ชน สมาชกิ ชมุ ชน
และเยาวชนร่นุ ใหม่ต่อการรกั ษาทานบุ ารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรมของชมุ ชน

กลมุ่ เปา้ หมาย/พ้นื ท่ี
กลมุ่ เป้าหมาย : ผแู้ ทนชมุ ชนและเยาวชนในพื้นทีเ่ ป้าหมาย จานวน 320 คน
พื้นท่ีเป้าหมาย : เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่

ท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera)
บรรลุเป้าหมายตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถ่ินและนกั สื่อความหมาย กาหนด
พ้นื ท่เี ปา้ หมาย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวดั เพชรบรุ ี ประจวบครี ขี ันธ์ ชมุ พร และระนอง

วธิ กี ารและขน้ั ตอนการดาเนินการ/กจิ กรรม
1. ประชุมระดมความคิดเห็นเพ่ือการกาหนดแนวทางการพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถิ่นและ
นักส่ือความหมายท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและหลักเกณฑ์การเป็น
มคั คุเทศกท์ ้องถ่ินและนักส่ือความหมายร่วมกบั หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง
2. กาหนดแนวทางการพัฒนาและการฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาสู่การเป็น
มัคคุเทศก์ท้องถิ่นและในสื่อความหมายของชุมชนภายใต้มาตรฐานการดาเนินงาน
ของกรมการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา
3. จัดดาเนินการฝึกอบรมร่วมกับทางสถาบันการศึกษาเพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้
และมีความเข้าใจพร้อมทั้งการฝึกปฏิบัติในฐานะมัคคุเทศก์ท้องถ่ินและนักสื่อ
ความหมายท้งั นห้ี ัวข้อในการฝึกอบรมประกอบด้วย

 แนวคิดเรอ่ื งของการพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วไทย

 แนวคดิ การทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนุนการพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-84
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

 การทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชนกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง
 การสอ่ื ความหมายการการทอ่ งเทยี่ วและการฝึกปฏบิ ตั ิ

 แนวคดิ เรือ่ งขีดความสามารถในการรองรบั การจดั การการทอ่ งเทย่ี ว
 รปู แบบวฒั นธรรมและความโดดเด่นในชุมชน

 กฎหมายการท่องเทย่ี ว
 หลักการมัคคเุ ทศกแ์ ละการสอ่ื ความหมาย
 พฤตกิ รรมนกั ทอ่ งเท่ียว

 หลกั การและวธิ กี าร การสือ่ สารของมคั คเุ ทศกท์ ้องถ่ิน

 การปฐมพยาบาลและการฝึกภาคปฏบิ ตั ิ
 ภาษาอังกฤษเบ้อื งต้นสาหรบั การนาเทีย่ ว

 กิจกรรมมนุษยสมั พนั ธแ์ ละการบรกิ าร
4. กาหนดแผนปฏบิ ตั เิ พอื่ การพฒั นามัคคเุ ทศก์ท้องถิ่นและนกั ส่ือความหมาย
5. การดาเนนิ การจัดการฝกึ อบรมมัคคุเทศกท์ อ้ งถนิ่ และนักส่ือความหมายในแต่ละพ้ืนท่ี
6. ตดิ ตามและประมวลผล

หน่วยงานดาเนินงาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมสี ่วนร่วมสอดคลอ้ งต่อแผนแมบ่ ทฯ และโครงการ ได้แก่ กรมการทอ่ งเทยี่ ว
หน่วยงานร่วม มีบทบาทตอ่ การร่วมกาหนดแนวทางการพฒั นา ใหค้ วามรว่ มมอื ต่อการระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แม่บทฯ และโครงการ ได้แก่
1. องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนท่พี ิเศษเพื่อการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
2. การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย
3. กรมพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
4. กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
5. สถาบนั การศึกษาในพ้นื ท่ี

งบประมาณ 20,000,000 บาท

ผลผลิต

1. มีจานวนมัคคุเทศก์ท้องถ่ินและนักสื่อความหมายท่ีเพียงพอต่อความต้องการ
สอดคล้องกับเพิม่ ขน้ึ ของนักท่องเทีย่ ว

2. ขีดความสามารถการรองรับของชุมชนทอ่ งเท่ยี วต่อการดาเนินการท่องเทย่ี ว

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนุนการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก 7-85
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

ผลลพั ธ์

1. เกดิ การประกอบอาชีพใหม่นอกเหนือจากอาชีพหลักของชุมชน
2. สร้างมูลค่าทางเศรษฐกจิ ต่อชุมชนและสร้างการกระจายได้นักท่องเท่ยี ว
3. เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ ภูมปิ ัญญาของชุมชนตอ่ การอนุรักษ์

ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. มีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นและนักส่ือความหมายที่มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะด้าน
การนาเทย่ี วเพื่อรองรบั การท่องเทีย่ วชุมชน
2. มีจานวนมัคคุเทศก์ท้องถิ่นและนักสื่อความหมายให้มีจานวนเพียงพอสอดคล้องกับ
ความต้องการและการเตบิ โตด้านการทอ่ งเท่ียวชุมชนในอนาคต
3. เยาวชนในชุมชนมีความรู้และความเข้าใจต่อความเป็นมาประเพณีและวัฒนธรรม
รวมไปถึงสร้างจิตสานึกรักต่อการเป็นเจ้าบ้านที่ดีและการพัฒนาชุมชนให้ด้ าน
การท่องเทย่ี ว
4. เกิดการมีส่วนร่วมภายในชุมชนระหว่างผนู้ าชุมชน ปราชญ์ชุมชน สมาชิกชุมชนและ
เยาวชนรุ่นใหมต่ ่อการรักษาทานบุ ารุงศลิ ปะและวัฒนธรรมของชุมชน

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-86
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

แผนการส่งเสริมตลาดการท่องเท่ียวและการสร้างการรบั รภู้ าพลกั ษณใ์ หม่

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมตลาดท่องเท่ียวและการประชาสัมพันธ์เพ่ือเสริมสร้าง
ภาพลักษณ์ท่ีดีด้านการท่องเที่ยว โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ กาหนดภาพลักษณ์ท่ีเป็นจุดหมายปลาย
ทางการท่องเท่ียวช้ันนา กาหนดกลุ่มตลาดเป้าหมายโดยมุ่งเน้นนักท่องเที่ยวคุณภาพ ส่งเสริมให้เกิด
การเพ่ิมจานวนนักท่องเท่ยี วและรายไดจ้ ากการท่องเที่ยวการพัฒนาเสน้ ทางการท่องเที่ยวภายในพ้ืนท่ี
และเชื่อมโยงทุกระดบั ท่สี อดคลอ้ งกับการพัฒนาด้านอุปทานการท่องเทีย่ ว

ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดและสอดรับกับแผนแม่บทฯ จึงจัดทา
แผนการส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวและการสร้างการรับรู้ภาพลักษณ์ใหม่ มีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริม
ภาพลักษณ์เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวชั้นนาระดับโลก กาหนดตลาดเป้าหมายทางการ
ท่องเท่ียวโดยมุ่งเน้นนักท่องเท่ียวคุณภาพ การส่งเสริมให้เกิดการเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวและรายได้
จากการทอ่ งเท่ียว การพฒั นาเส้นทางท่องเท่ียวภายในพ้นื ทีแ่ ละการเช่อื มโยงในทุกระดับ

โครงการเพื่อพัฒนาเรง่ ดว่ น (Quick Win Project) ทคี่ วรได้รบั การพฒั นาทงั้ ส้ิน จานวน
5 โครงการ โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี

1. โครงการการสง่ เสรมิ กลมุ่ ตลาดคณุ ภาพ
2. โครงการการพัฒนาเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี วและเช่ือมโยงเสน้ ทางการท่องเทีย่ ว
3. โครงการการจัดงานเทศกาลและงานมหกรรมระดับนานาชาติ
4. โครงการการส่งเสริมการประมลู สทิ ธเ์ิ พื่อเป็นเจา้ ภาพการจัดงานระดบั โลก
5. โครงการการจัดกจิ กรรมกีฬาระดับนานาชาติ

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนนุ การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-87
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ที่

โครงการการสง่ เสริมกลมุ่ ตลาดนักท่องเท่ียวคณุ ภาพ

หลักการเหตผุ ล

แผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตกได้
กาหนดเป้าหมายในการยกระดับการเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวช้ันนาระดับโลก ซึ่ง
จาเป็นต้องอาศัยการส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นจุดหมายปลายทางท่องเท่ียวชั้นนาท่ีสามารถสร้าง
ประสบการณ์ท่องเที่ยวและนาเสนอจุดยืนการท่องเที่ยวท้ังในระดับพ้ืนที่ และการจัดการท่องเที่ยวใน
ระดับจังหวัด ภายใต้บริบทของพ้ืนที่โดยมุ่งเน้นการเชื่อมโยงการมีส่วนร่วมการจัดให้มีเส้นทาง
การท่องเที่ยวและหัวใจสาคัญ คือ การส่งเสริมใหเ้ กิดนักท่องเที่ยวกลมุ่ คุณภาพหรือ Quality Tourist
เป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวมีกาลงั ซื้อสงู และสามารถสร้างผลกระทบเชิงบวก
ในเชงิ เศรษฐกิจ สังคมวฒั นธรรมและส่ิงแวดล้อม เพอื่ นาไปส่กู ารท่องเท่ียวอย่างยัง่ ยืน ทั้งน้ี การรกั ษา
และขยายกลุ่มตลาดคุณภาพเข้าสู่พ้ืนท่ีคือเคร่ืองมือสาคัญท่ีจะส่งเสริมให้เกิดการรับรู้เพ่ิมปริมาณ
การใช้จ่ายและการสร้างรายได้ให้กับประเทศ โดยกระบวนการดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือจาก
หน่วยงานท่ีมีบทบาทเกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมทางการท่องเที่ยว อาทิเช่น การท่องเท่ียวแห่งประเทศ
ไทย สานักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการรวมไปถึงหน่วยงานหนนุ เสริมในระดับต่างๆ
ทจี่ ะเรง่ สรา้ งตลาดนกั ทอ่ งเทยี่ วคุณภาพรวมไปถงึ พัฒนากลไกการสรา้ งการรับรู้

จากแนวทางในการพัฒนาพ้ืนท่ีดังกล่าวได้ให้ความสาคัญกับกลุ่มตลาดนักท่องเท่ียว
คุณภาพสูง ได้แก่ กลุ่มนักท่องเท่ียวผู้สูงอายุ (Silver Aged Tourist) กลุ่มนักท่องเที่ยวพานักนาน
(Long stay) กลุ่มนักท่องเที่ยวเพ่ือสุขภาพ กลุ่มนักท่องเที่ยวชุมชน กลุ่มนักท่องเท่ียวเชิงกีฬา กลุ่ม
นักท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม กลุ่มนักท่องเที่ยวเพ่ือการดาน้า กลุ่มนักท่องเที่ยวเพื่อการประชุมสัมมนา
กลุม่ นักทอ่ งเทย่ี วเฉพาะ เชน่ กลมุ่ แต่งงานและฮนั นีมนู (Wedding and Honeymoon)

จากความสาคัญดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นท่ีท่องเที่ยวในเขต
พฒั นาการท่องเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) จึงเสนอโครงการ
การส่งเสริมกลุ่มตลาดคุณภาพ โดยจะต้องจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดเพ่ือการรักษาตลาด
นักท่องเที่ยวคุณภาพและเพ่ิมจานวนตลาดนักท่องเที่ยวคุณภาพทั้งภายในและต่างประเทศ ที่
สอดคล้องกับรูปแบบการท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีและสร้างการรับรู้ใหม่และการสร้างภาพลักษณ์ด้านการ
ท่องเท่ียวในพื้นท่ีผ่านกิจกรรมการส่งเสริมการตลาดในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้นามาซ่ึงการเพ่ิมขึ้นของ
จานวนนกั ท่องเทย่ี วคุณภาพตามเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก 7-88
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

วัตถุประสงค์โครงการ
โครงการการส่งเสรมิ กลุ่มตลาดนกั ทอ่ งเทยี่ วคุณภาพ มวี ัตถปุ ระสงค์โครงการดังนี้
1. เพื่อกาหนดกลุ่มตลาดนักท่องเท่ียวคุณภาพที่สอดคล้องกับเป้าหมายในการพัฒนา
พ้ืนที่สู่การเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเท่ียวช้ันนาระดับโลก ได้แก่ กลุ่ม
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ (Silver Aged Tourist) กลุ่มนักท่องเท่ียวพานักนาน
(Longstay) กลุ่มนักท่องเท่ียวเพื่อสุขภาพ กลุ่มนักท่องเท่ียวเชิงกีฬา กลุ่ม
นักท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม กลุ่มนักท่องเที่ยวเพ่ือการดาน้า กลุ่มนักท่องเท่ียวชุมชน
กลุ่มนักท่องเที่ยวเพื่อการประชุมสัมมนา กลุ่มนักท่องเที่ยวเฉพาะ กลุ่มแต่งงานและ
ฮันนีมูน เพ่ือการพัฒนากลยุทธ์การพัฒนาการตลาดท่องเท่ียว ทั้งทางด้าน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเท่ียว การส่งเสริมการตลาด การสร้างตราสินค้า
และการสรา้ งการรบั รู้
2. เพมิ่ จานวนนักท่องเท่ียวคณุ ภาพทัง้ ชาวไทยและต่างประเทศสูพ่ นื้ ท่เี ป้าหมาย
3. เพือ่ รกั ษากลุ่มตลาดนกั ท่องเท่ียวเดิมและขยายตลาดนกั ท่องเทย่ี วใหม่เพ่ิมเขา้ สู่พืน้ ท่ี
4. เพื่อสร้างภาพลักษณ์ให้พื้นท่ีไทยแลนดร์ ิเวยี ร่ากลายเป็นจุดหมายปลายทางหลกั ของ
นักทอ่ งเทยี่ วคุณภาพสูง

ตวั ช้ีวัด
1. นกั ทอ่ งเทยี่ วคุณภาพทง้ั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศเขา้ สู่พืน้ ทีเ่ พ่ิมขนึ้ ร้อยละ 20
2. สร้างรายไดเ้ ข้าสูพ่ ้ืนทีเ่ พม่ิ ขึน้ รอ้ ยละ 5
3. ความพึงพอใจเพิม่ ขนึ้ รอ้ ยละ 90

กลมุ่ เปา้ หมาย/พ้นื ทเี่ ป้าหมาย
กล่มุ เป้าหมาย : นักทอ่ งเที่ยวชาวไทย/นกั ท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ
พื้นท่ีเป้าหมาย : เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่

ท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera)
บรรลุเป้าหมายตามเป้าประสงค์ โครงการการส่งเสริมกลุ่มตลาดนักท่องเท่ียวคุณภาพ กาหนดพื้นท่ี
เป้าหมาย 4 จงั หวัดเปา้ หมายโดยการจดั การกจิ กรรมที่สอดคล้องกบั แผนแม่บทฯ

วิธกี ารและขนั้ ตอนการดาเนินการ/กิจกรรม
1. จัดประชุมระดมความคิดเพื่อกาหนดแนวทางการส่งเสริมกลุ่มตลาดนักท่องเท่ียว
คุณภาพ
2. กาหนดแผนการส่งเสริมการตลาดท่ีสอดคล้องกับนักท่องเที่ยวคุณค่าสูง ได้แก่
1) กลุ่มนักท่องเท่ียวผู้สูงอายุ (Silver Aged Tourist) 2) กลุ่มนักท่องเที่ยวพานัก
นาน (Long stay) 3) กลุ่มนักท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ 4) กลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา
5) กลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 6) กลุ่มนักท่องเที่ยวเพ่ือการดาน้า 7) กลุ่ม

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนบั สนุนการพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-89
และโครงการในการพัฒนาพืน้ ที่

นักทอ่ งเทยี่ วชุมชน 8) กล่มุ นักทอ่ งเที่ยวเพ่ือการประชุมสมั มนา 9) กล่มุ นักท่องเที่ยว
เฉพาะ และ 10) กลุม่ แต่งงานและฮนั นมี ูน
3. จัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อการดาเนินโครงการ เช่น การออกแคมเปญส่งเสริม
การตลาด การออกโรดโชว์ การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ียว
4. ตดิ ตามและประเมินผล

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563

หน่วยงานดาเนนิ งาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อยา่ งมีส่วนร่วมสอดคลอ้ งตอ่ แผนแมบ่ ทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่ การท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย
หนว่ ยงานร่วม มีบทบาทต่อการรว่ มกาหนดแนวทางการพฒั นา ใหค้ วามร่วมมอื ต่อการระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรที่เก่ียวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

งบประมาณ 35,000,000 บาท

ผลผลิต

1. การเพ่ิมจานวนนักท่องเท่ียวกลุ่มตลาดนักท่องเท่ียวคุณภาพที่สอดคล้องกับ
เป้าหมายในการพัฒนาพ้ืนท่ีสู่การเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวชั้นนาระดับ
โลก

2. เกิดกลยุทธ์การพัฒนาการตลาดท่องเท่ียว ทั้งทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการ
ท่องเทีย่ ว การส่งเสรมิ การตลาด การสร้างตราสนิ ค้าและการสร้างการรับรู้

3. สามารถรักษากลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวเดิมและขยายตลาดนักท่องเที่ยวใหม่เพิ่มเข้าสู่
พ้นื ที่

4. มีภาพลักษณ์ให้พื้นที่ไทยแลนด์ริเวียร่ากลายเป็นจุดหมายปลายทางหลักของ
นกั ท่องเท่ยี วคุณภาพสูง

ผลลัพธ์

1. เพมิ่ รายไดเ้ ขา้ สปู่ ระเทศและเกิดการกระจายได้เข้าสู่ประเทศ
2. การสง่ เสริมภาพลักษณ์ทางการทอ่ งเทีย่ ว
3. เกดิ การกระจายของนักทอ่ งเท่ยี วในพ้นื ที่

ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. สร้างโอกาสทางด้านเศรษฐกิจในพื้นท่ีและระดับประเทศ ทั้งในด้านการท่องเที่ยวและ
ธรุ กจิ อนื่ ที่เกยี่ วเนอื่ ง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-90
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ท่ี

2. การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาด้านการส่งเสริมการท่องเท่ียวสู่การเป็นจุดหมายปลาย
ทางการท่องเทีย่ วชั้นนาและการยกระดบั สู่พ้ืนที่การท่องเทยี่ วคุณค่าสูง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนุนการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-91
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ท่ี

โครงการพัฒนาเสน้ ทางการท่องเท่ียวและการเช่อื มโยงการท่องเท่ียว

หลกั การเหตผุ ล

ปัจจุบัน จากการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการคมนาคมขนส่งในพ้ืนที่ทั้งทางบก ทางน้า
และทางอากาศส่งผลใหเ้ กดิ การเดินทางขนส่งทม่ี ีประสทิ ธิภาพสามารถเขา้ ถึงแหล่งท่องเที่ยวและสร้าง
โอกาสในการกระจายตัวของนักท่องเท่ียวไปยังพื้นที่ต่างๆ ได้เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการพัฒนา
แหล่งท่องเท่ียวท่ีเพิ่มมากขึ้นในพ้ืนท่ีต่างๆ สร้างแรงดึงดูดทางการท่องเที่ยวให้กับกลุ่มนักท่องเที่ยว
ส่งเสริมใหเ้ กิดการท่องเท่ยี วในพืน้ ท่รี วมไปถึงการเดินทางกลับมาทอ่ งเที่ยวในพนื้ ท่ตี า่ งๆ

นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงการพัฒนารูปแบบทางการท่องเท่ียวที่มุ่งเน้นประสบการณ์
ตอบสนองกลุ่มนักท่องเท่ียวทุกกลุ่ม ดังน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวและ
รายได้จากการท่องเที่ยวรวมไปถึงการกระจายตัวของนักท่องเที่ยว จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมี
การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยว โดยการเชื่อมโยงรูปแบบกิจกรรมจากแหล่งท่องเท่ียวหลักไปสู่
แหล่งท่องเท่ียวรองรวมไปถึงชุมชนและรวมไปถึงการเชื่อมโยงในระดับพื้นท่ี 4 จังหวัดเป้าหมาย เพื่อ
ลดการกระจุกตัวของนักท่องเท่ียว จากขีดความสามารถในเชิงพื้นท่ีจะพบว่า มีการเช่ือมโยงในระดับ
เขตพัฒนาการท่องเที่ยวและเมืองรอง รวมไปถึงการเช่ือมโยงในระดับภูมิภาคและการเชื่อมโยง
ระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม เพ่ือให้เกิดการท่องเที่ยวท่ีเป็นรูปธรรมจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนา
เส้นทางการท่องเท่ียวท่ีเช่ือมโยงอันจะนามาซ่ึงการเพ่ิมจานวนวันพักและการใช้จ่ายของนักท่องเทย่ี ว
ทีเ่ พิม่ มากข้ึน อย่างไรก็ตาม ปัญหาท่ีพบปัจจบุ ันจะพบว่านักท่องเท่ียวมีการรับรเู้ ฉพาะแหลง่ ท่องเที่ยว
หลักในจุดสาคัญของแต่ละพื้นที่เท่านั้นแม้ว่าปัจจุบันจะมีแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มข้ึนก็ตาม ทาให้เกิด
การกระจุกตัวทางการท่องเท่ียวเพื่อลดปัญหาดังกล่าว จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมุ่งเน้นการพัฒนา
เส้นทางการท่องเท่ียวให้เกิดข้ึน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวจะต้องอาศัยความร่วมมือและ
การดาเนินงานร่วมกันจากทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ร่วมมือกับการท่องเท่ียวในระดับจังหวดั และระดับหน่วยงานเพ่ือร่วมกันกาหนดเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว
ท่มี ศี ักยภาพสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของนักท่องเท่ียวทัง้ ในปัจจบุ ันและอนาคต

จากความสาคัญดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวในเขต
พัฒนาการท่องเท่ยี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก (The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) จงึ เสนอโครงการ
พัฒนาเส้นทางการท่องเท่ียวและการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ การจัดทา
เส้นทางการท่องเที่ยวท่ีเช่ือมโยงแหล่งท่องเท่ียวรอง ชุมชนและพ้ืนท่ีเชื่อมโยง อันจะนามาซึ่งจานวน
นกั ทอ่ งเท่ยี วท่ีเพิม่ มากขึ้นและการกระจายตัวตามเปา้ หมายตอ่ ไป
วตั ถุประสงค์โครงการ

โครงการพัฒนาเส้นทางการท่องเท่ียวและการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว มีวัตถุประสงค์
โครงการดังน้ี

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564


Click to View FlipBook Version