บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเท่ียว 4-29
ในท่ามกลางความงดงามของหินผาบริเวณป่าสนเขาธรรมชาติเป็นจุด
ชมววิ ที่สร้างความประทับใจสาหรบั คนทีร่ ักธรรมชาติ
‐ ถ้าเขาเตาหม้อ ถาเขาเตาหม้อ เป็นสถานที่ท่องเท่ียวท่ีตังอยู่ในตาบล
กลัดหลวง อาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี โดยการดูแลของกรมอุทยาน
แห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขากระปุก เขาเตา
หม้อ มีพืนที่ทังหมด 1,850 ไร่ จะเปิดบริการทุกวัน ตังแต่เวลา 8.00-
17.00 น. โดยมีจุดเด่น คือ การชมลิงแเสม สัตว์ป่าใกล้สญู พันธฝ์ุ งู ใหญ่
ชมทวิ ทศั นย์ ามเย็นบนยอดเขา และหินงอกหนิ ย้อยที่เกดิ ใหม่ (ซึ่งกาลัง
ปรับปรงุ อยู)่ ระยะทางเข้าถึงค่อนข้างลาบากมาก ไมม่ รี ถคอยใหบ้ รกิ าร
ต้องมีรถส่วนตัวถึงจะเข้าไปถึงสถานท่ีท่องเท่ียวได้และมีป้ายบอกทาง
นอ้ ยเกินไปรวมถงึ เสน้ ทางซบั ซ้อน
‐ ถ้าเขาทะโมน เป็นสถานท่ีท่ีนักท่องเที่ยวท่ีชอบปีนเขาชมถาไม่ควร
พลาดไปชมมีลักษณะเป็นลูกเขา ขนาดเล็ก อยู่ในเขตตาบลท่าเสน
อาเภอบ้านลาด มีถาที่น่าชมคือ “ถาพระยาแกรก” และถาอื่นๆ อีก
หลายถาทีย่ อดเขานันมพี ระพทุ ธบาทจาลองประดิษฐานอยู่
‐ ถ้าเขาย้อย อยู่ก่อนถึงตัวเมืองเพชรบุรีประมาณ 15 กิโลเมตร ท่ีนี่มีถา
หลายถาส่ิงสาคัญที่อยู่ภายในถา คือ พระพุทธไสยาสน์และพระพุทธ
บาทจาลอง ติดกับเขาย้อย คือ บ้านดอนทรายซึ่งมีดอกไม้สวยงาม
นา่ ชมมาก
‐ ถ้าเขาหลวง อยู่ห่างจากเขาวังประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นเขาลูกขนาด
เล็ก ยอดสูงเพียง 92 เมตร แต่มีถาขนาดใหญ่สวยงามและสาคัญที่สุด
ของจังหวัดเพชรบุรี ภายในถาเป็นเหมือนห้องโถงใหญ่ มีแสงสว่างจาก
ปากช่องบนเพดานถา รอบห้องโถงของถานันท่ีพระพุทธรูปใหญ่น้อย
ประดิษฐานอยู่มากมาย นอกจากนี ยังมีหินงอกหินย้อยธรรมชาติ
สวยงามตระการตาเป็นอย่างย่ิง
‐ ถ้าเขาอีโก้ ถาเขาอีโก้เป็นสถานท่ีพานักของชาวจีนในอดีตและ
พัฒนาการเป็นสถานปฏิบัติธรรมพระโพธิสัตว์กวนอิม ภายในถาเป็น
แหล่งธรรมชาติท่ีสวยงาม มีหินงอกหินย้อยลักษณะคล้ายรูปหยดนา
ลักษณะทางยาวคล้ายก้างปลา ถาเขาอีโก้มีลักษณะเป็นโพรงเปิด
ตอนบนมีพระเจดีย์สาคัญองค์หนึ่งซึ่งเจ้าอธิการแก้ว วัดพวงมาลัย
มาสรา้ งไว้เมือ่ พ.ศ.2455
‐ นา้ ตกทอทิพย์ (อทุ ยานแห่งชาตแิ กง่ กระจาน) นาตกทอทิพย์ มคี วาม
สูง 9 ชัน ชันที่ 5 เป็นชันท่ีสวยที่สุด แต่ละชันมีความสวยงามแปลกตา
อยู่ห่างจากเขาพะเนินทุ่ง 15 กิโลเมตร และต้องเดินเท้าเข้าไปถึงตัว
นาตกอีก ประมาณ 4 กิโลเมตร แต่การเดินทางเข้าไปจะต้องติดต่อ
เจา้ หน้าท่ีอทุ ยานฯ เพือ่ นาทางกอ่ นทุกครังถึงจะเข้าไปยังนาตกได้
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการท่องเทย่ี ว 4-30
‐ น้าตกปราณบุรี (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน) นาตกปราณบุรี
มีทังหมด 5 ชัน เป็นนาตกชันเล็กๆ มีลักษณะสวยงามเฉพาะตัวในช่วง
ฤดูฝนการเดินทางค่อนข้างลาบาก แต่การเดินทางเข้าไปจะต้องติดต่อ
เจ้าหนา้ ทีอ่ ทุ ยานฯ เพื่อนาทางก่อนทกุ ครงั ถงึ จะเขา้ ไปยงั นาตกได้
‐ น้าตกแม่กระดังลา เป็นนาตกท่ีมีความสมบูรณ์ของระบบนิเวศน์
มีนาตลอดทังปี การเดินทางเข้าเท่ียวชมสะดวก ห่างจากเส้นทางหลัก
(เพชรเกษม) ประมาณ 30 กิโลเมตร ซ่ึงใช้เส้นทางเดียวกันกับนาพุร้อน
หนองหญา้ ปลอ้ ง ระยะทางเลยนาพุร้อนไป 7 กโิ ลเมตร ถา้ เดินทางหนา้
ฝน ตอ้ งใชร้ ถยนต์ขบั เคลอ่ื น 4 ล้อ เนือ่ งจาก เสน้ ทางมนี าไหลผ่านถนน
เปน็ ระยะๆ
‐ น้าพุร้อนหนองหญ้าปล้อง เป็นบ่อนาร้อนกลางป่าร่มร่ืน พืนท่ีได้รับ
พัฒนาดูแลโดยชุมชน มีบ่อนาร้อน ซ่ึงต่อท่อมาจากแหล่งกาเนิดซ่ึงอยู่
ห่างออกไป 400 เมตร ซึ่งสามารถเดินเท้าไปชมได้สะดวก นาในบ่อมี
อณุ หภมู ปิ ระมาณ 49 องศาเซลเซยี ส สิ่งอานวยความสะดวก มโี รงนวด
เพ่ือสุขภาพ ห้องอาบนาแร่แบ่งชายหญิง ร้านอาหาร และสามารถ
กางเต็นท์พักแรมในบรเิ วณได้
ในสว่ นของจงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเที่ยว
โดยศึกษาฐานข้อมูลแหล่งท่องเท่ียว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และนา
ข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเท่ียว ประเภทการท่องเที่ยว เพ่ือวิเคราะห์ความ
เหมาะสมและศักยภาพการท่องเท่ียว ด้านแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ พบว่ามี 31
สถานที่ ท่มี คี วามนา่ สนใจดงั นี
‐ วนอุทยานท้าวโกษา เขากะโหลกเป็นเขาหินปูนที่ตังอยู่ในทะเล
ค รึ่ ง ห นึ่ ง แ ล ะ บ น บ ก ค รึ่ ง ห นึ่ ง แ ล ะ มี ห า ด ท อ ด ย า ว ต า ม แ น ว เ ข า
ชาวประมงใช้เป็นสัญลักษณ์ในการเดินเรือเข้าฝั่งทะเล มีทัศนียภาพที่
สวยงาม ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี อธิบดีกรมป่าไม้สมัยนันเดินทางมา
ราชการในพนื ท่จี ึงใหป้ ระกาศกาหนดเปน็ วนอุทยาน
‐ ถ้าแก้ว (อุทยานแห่งชาติเขาสามรอ้ ยยอด) ถาแก้ว อยู่บริเวณหุบเขา
จันทร์ บ้านบางปู อยู่ห่างจากที่ทาการอุทยานแห่งชาติประมาณ 16
กิโลเมตร แล้วเดินเท้าขึนเขาประมาณ 128 เมตร ภายในถาเต็มไปด้วย
หินงอกหินยอ้ ย
‐ ถ้าไทร (อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด) ถาไทร อยู่บริเวณบ้านคุ้ง
โตนด จากท่ีทาการอุทยานแห่งชาติประมาณ 9 กิโลเมตร แล้วเดินเท้า
ขึนเขา จนถึงปากถาประมาณ 280 เมตร มีต้นไทรอยู่หน้าถา ทาให้ถา
ได้ช่ือวา่ “ถาไทร” ภายในถาค่อนขา้ งมดื มีหนิ งอกหนิ ย้อยงดงามหลาย
จุด และในช่วงสุดท้ายมีหินงอกหนิ ย้อยลกั ษณะคลา้ ยนาตกงดงามมาก
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี ว 4-31
‐ ถ้าพระยานคร เปน็ ถาขนาดใหญ่ บนเพดานถามปี ล่องใหแ้ สงสวา่ งลอด
เข้ามาได้ จุดเด่นของถาแห่งนี คือ “พระท่ีน่ังคูหาคฤหาสน์” เป็น
พลับพลาแบบจตุรมุข สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 คราวเสด็จประพาส
เม่ือวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2433 เป็นฝีพระหัตถ์ของพระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์ ทรงสร้างขึนในกรุงเทพฯ แล้วส่งมาประกอบ
ทีหลังโดยให้พระยาชลยุทธโยธินเปน็ นายงานก่อสร้าง พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จมายกช่อฟ้าด้วยพระองค์เอง ที่กาแพง
หินด้านขวามีพระปรมาภิไธยย่อในรัชกาลที่ 5 และรัชกาลท่ี 7 เป็น
ตัวหนังสือใหญ่สีขาวสะดุดตา พระที่น่ังคูหาคฤหาสน์นับเป็นจุดเด่น
ของถาพระยานคร และเป็นตราประจาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ใน
ปัจจุบัน ด้านในถายังมีสถานที่ท่องเท่ียวน่าสนใจ ได้แก่ นาตกแห้ง
ซ่ึงอยู่ทางเข้าถาพระยานคร ช่วงหน้าฝนจะมีนาไหลมาตามหินงอก
หินย้อย สะพานมรณะซ่ึงเป็นที่เดินไปมาของสัตว์ป่า บางครังสัตว์ป่า
เดินพลาดมากต็ กมาอยภู่ ายในถา ภายในถาพระยานครยังมอี ฐั หิ ลวงพ่อ
เงินบรรจุอยู่ด้านใน ด้านนอกถามีค่างแว่นจานวนมากอาศัยอยู่
นักท่องเที่ยวสามารถเห็นฝูงค่างแว่นห ากินบริเวณทางเข้า
ถาพระยานครได้
‐ น้าตกขาอ่อน (หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติน้าตกห้วยยางท่ี 2)
นาตกขาอ่อน (ทับมอญ) เป็นนาตกขนาดเล็กที่มีลานาตกไหลอย่าง
ต่อเน่ืองประมาณ 9 ชัน และมีแอ่งนาเล็กๆ ตลอดสายลานา สภาพ
ธรรมชาติสองข้างทางเดินขึนนาตกค่อนข้างชุ่มชืน เงียบสงบ สามารถ
เข้าถึงลานาตกได้โดยตลอดทังสาย บริเวณชันบนสุดของนาตกขาอ่อน
เป็นนาตกท่ีมีความสูงเกินกว่า 10 เมตร สายนามีขนาดเล็กหรือใหญ่
ขึนอย่กู บั ฤดกู าล นาตกขาอ่อน
‐ น้าตกเขาล้าน เป็นนาตกที่สวยงามของอุทยานแห่งชาติห้วยยาง
อยู่ห่างจากทางหลวงหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เลยส่ีแยก
สภ.ต.ห้วยยาง ไปทางใต้ประมาณ 13 กิโลเมตร กลับรถแล้วชิดซ้าย
บริเวณตลาดอุดมนันท์พลาซ่า เลียวซ้ายไปตามถนนเขาล้าน -
พุกตะแบกประมาณ 13 กิโลเมตร นาตกเขาล้าน เป็นนาตกท่ีลดหลั่น
กันลงมา มี 15 ชัน จากต้นนากุยบุรีแพรกขวา ในชันที่ 9 มีแอ่งนา
ขนาดใหญ่เหมาะแก่การลงเล่นนา มนี าตลอดทงั ปี อย่หู ่างจากที่ทาการ
อุทยานกุยบรุ ี ประมาณ 11 กโิ ลเมตร
‐ น้าตกดงมะไฟ (อุทยานแห่งชาติกุยบุรี) เป็นนาตกที่ลดหลั่นกันลง
มา มี 15 ชนั จากต้นนากยุ บุรีแพรกขวา ในชนั ที่ 9 มีแอง่ นาขนาดใหญ่
เหมาะแก่การลงเล่นนา มีนาตลอดทังปี อยู่ห่างจากท่ีทาการอุทยาน
กุยบุรี ประมาณ 11 กโิ ลเมตร
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเที่ยว 4-32
‐ น้าตกด่านมะค่า (อุทยานแห่งชาติกุยบุรี) เป็นนาตกท่ีเกิดจากต้นนา
กุยบุรีแพรกซ้าย มีความสูงของนาตก ประมาณ 6-7 เมตร มีนาเฉพาะ
ช่วงฤดูฝน (เดือนมิถุนายน-สิงหาคม) อยู่ห่างจากที่ทาการอุทยาน
แหง่ ชาติกุยบรุ ีประมาณ 5 กิโลเมตร
‐ น้าตกไทรคู่ แหล่งท่องเที่ยวท่ีสาคัญแห่งหนึ่งของอาเภอบางสะพาน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซ่ึงมีความสาคัญไม่แพ้เกาะทะลุ เพราะเป็น
แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ท่ี ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม จ า ก นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว อี ก แ ห่ ง ห น่ึ ง
เนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากถนนเพชรเกษมมากนัก จึงทาให้นักท่องเที่ยว
ท่ีขับรถลงใต้แวะพักผ่อนจากความเม่ือยล้า ก่อนท่ีจะออกเดินทางต่อ
ซง่ึ นาตกไทรคู่ ตงั อยหู่ มทู่ ่ี 3 ตาบลรอ่ นทอง อาเภอบางสะพาน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ อยู่ทางทิศตะวันตกของถนนเพชรเกษม บริเวณ
เทือกเขาตะนาวศรี นาตกไทรคู่แห่งนีมีทังหมด 9 ชัน แต่ละชันจะมี
ความสวยงามทีแ่ ตกต่างกันไป โดยชนั ทีม่ คี วามงามมากทีส่ ดุ คือ ชันท่ี 5
ซ่ึงนาตกในชันนีจะมีลักษณะท่ีเป็นหน้าผาขนาดใหญ่ นอกจากนี
ยงั สามารถพบสัตว์ป่าหลายชนิดทบี่ รเิ วณนาตกอีกดว้ ย
‐ น้าตกบัวสวรรค์ (อุทยานแห่งชาติน้าตกห้วยยาง) ปัจจุบันนาตก
แห่งนีได้กลายเป็นจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบ
การเดินป่าศึกษาธรรมชาติ และเที่ยวนาตก นาตกบัวสวรรค์เป็นนาตก
ท่ีมีชันนาตกที่สวยงามอยู่ 6 ชัน ท่ามกลางสภาพธรรมชาติโดยรอบท่ี
เขียวชอุม่ ดสู วยงาม
‐ น้าตกป่าละอู อยู่ทางตอนใต้ของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
ในท้องทอ่ี าเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ ห่างจากหวั หินประมาณ
60 กิโลเมตร ใกล้หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ กจ.3 (ห้วยป่าเลา)
เป็นนาตกขนาดใหญ่ มีความสูง 15 ชัน ไหลลดหล่ันลงมาเป็นทางยาว
ชันท่ี 1-3 เหมาะสาหรับการเล่นนา เน่ืองจากนาตกชันที่สูงขึนไปต้อง
ปีนป่ายไปตามโขดหินสูงชัน นาตกชันท่ีสวยท่ีสุดคือ นาตกชันที่ 7
มีแอง่ นาใหญอ่ ยู่ทา่ มกลางป่าร่มครมึ
‐ น้าตกผาหมาหอน (อุทยานแห่งชาติกุยบุรี) เป็นนาตกที่ลาดับชัน
ลดหลน่ั กันลงมา 3 ชนั เกิดจากต้นนากยุ บุรีแพรกซ้ายมีลักษณะเป็นผา
ลาดชัน มีสายนาไหลแรงตลอดทังปี บริเวณพืนล่างมีพันธุ์ไม้จานวน
มาก เช่น เฟิร์น ปาล์ม อยู่ห่างจากที่ทาการอุทยานแห่งชาติกุยบุรี
ประมาณ 15 กโิ ลเมตร
‐ น้าตกแพรกตะคร้อ (อุทยานแห่งชาติกุยบุรี) เป็นนาตกขนาดใหญ่อยู่
ทางตอนเหนอื ของพนื ที่อุทยานแห่งชาตกิ ุยบุรี อยอู่ าเภอปราณบรุ ี มนี า
ไหลตลอดทังปี มีทะเลหมอกในช่วงฤดูหนาว อยู่ห่างจากท่ีทาการ
อุทยานแห่งชาติกุยบรุ ี ประมาณ 100 กโิ ลเมตร
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-33
‐ น้าตกห้วยยาง เป็นนาตกท่ีสวยงามมีทังหมด 5 ชัน สภาพบริเวณ
โดยรอบร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน ได้รับการประกาศเป็นอุทยาน
แหง่ ชาติ เมื่อวนั ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2534
‐ เขาตะเกียบ เป็นเขาหินปูนที่ตังย่ืนออกไปในทะเล โดยเป็นสถานท่ีชม
วิวที่สามารถมองเห็นชายหาดหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จากโค้ง
หาดของ หาดตะเกียบ
‐ จุดชมสัตว์ป่ากุยบุรี (อุทยานแห่งชาติกุยบุรี) เป็นจุดชมสัตว์ซ่ึงส่วน
หน่ึงอยู่ในพืนที่โครงการพระราชดาริ สามารถเข้าชมได้ทุกวัน สัตว์ป่า
ทสี่ ามารถพบเหน็ ได้ เช่น ชา้ งปา่ กระทงิ ววั แดง
‐ ทุ่งสามร้อยยอด (อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด) อยู่ทางด้านทิศ
ตะวันตกของพืนท่ีอุทยานแห่งชาติ เป็นพืนที่ชุ่มนาประเภทหนึ่งที่เป็น
พืนทีร่ าบลมุ่ ทีเ่ กิดขึนเองตามธรรมชาติมนี าขังหรือท่วมตลอดปี มีความ
หลากหลายของชนิดพืชและสัตว์เปน็ ทอี่ ยู่อาศัยขยายพนั ธ์ุของนกนานา
ชนิดทังนกประจาถ่ินและนกอพยพจึงเป็นแหล่งท่ีเหมาะแก่การดูนก
ถา่ ยภาพและศึกษาคน้ คว้า
‐ วนอุทยานเขาตาม่องล่าย อยู่ตาบลอ่าวน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
มีเนือท่ีประมาณ 862 ไร่ เป็นเทือกเขาสูงจากระดับนาทะเลประมาณ
290-320 เมตร เป็นเขาติดต่อกัน 2 เทือก พืนท่ีส่วนใหญ่ยื่นเข้าไป
ในทะเลเป็นหน้าผาสูงชัน พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่จะเป็นไม้ขนาดกลาง-เล็ก
ได้แก่ ตะแบก ตะเคียนทอง และเสลา สัตว์ป่าท่ีสามารถพบเห็นใน
วนอทุ ยานเขาตาม่องลา่ ย ไดแ้ ก่ เลียงผา หมปู ่า กระจง อีเหน็ เสือปลา
และไก่ป่า วนอุทยานเขาตาม่องล่ายอยู่ในท้องท่ีตาบลอ่าวน้อย อาเภอ
เมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาตาม่อง
ลา่ ย มเี นือที่ประมาณ 862 ไร่
‐ วนอุทยานปราณบุรี เดิมเป็นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยกาหนดพืนที่เป็น
ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองเก่า คลองคอย มีพืนท่ีประมาณ 1,984 ไร่
ประกอบด้วย ป่าชายเลน และมีแม่นาปราณบุรีไหลผ่านตอนกลางของ
พืนที่ป่า ปัจจุบันกรมป่าไม้ได้ประกาศให้เป็นวนอุทยานมีพืนท่ี 700 ไร่
อยู่ในความดูแลของสานกั งานปา่ ไมเ้ ขตเพชรบรุ ี
‐ วนอุทยานป่ากลางอ่าว ตังอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่ากลางอ่าว
หมู่ที่ 6 ตาบลแมร่ าพึง อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
‐ วนอุทยานแม่ร้าพึง อยู่ตาบลแม่ราพึง อาเภอบางสะพาน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองแม่ราพึง มีเนือที่
ประมาณ 4,483 ไร่
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว 4-34
‐ วนอุทยานห้วยน้าซับ นับตังแต่ปี พ.ศ.2538 เป็นต้นมา ราษฎรใน
พืนท่ีได้ร่วมกันคัดค้านการขอประทานบัตรเหมืองแร่ (ระเบิดย่อยหิน)
จงึ เกรงว่าสภาพป่าทีไ่ ดร้ ว่ มกนั อนรุ กั ษไ์ วอ้ าจถกู บกุ รุกทาลายลงได้ และ
สง่ ผลกระทบต่อสภาพธรรมชาตแิ ละความสวยงามของถาในพนื ท่ี
‐ ศูนยศ์ กึ ษาเรียนรรู้ ะบบนิเวศป่าชายเลนสริ นิ าถราชินี เปน็ ศนู ย์เรียนรู้
ด้านการฟื้นฟูป่าชายเลนจากนากุ้งร้างแห่งแรกของประเทศไทย ตังอยู่
ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ ปา่ คลองเกา่ -คลองคอย
‐ อุทยานเขาหินเทิน เป็นบริเวณท่ีมีก้อนหินขนาดใหญ่หลายก้อนวาง
ซอ้ นและเกยกันอย่ตู ามธรรมชาติ เป็นสง่ิ อศั จรรย์ แปลกตา มดี า่ นสิงขร
ตรงชายแดนไทย-พมา่
‐ อทุ ยานแหง่ ชาติกยุ บุรี สภาพพืนทีโ่ ดยทั่วไป เปน็ เทือกเขาสลบั ซับซ้อน
เป็นป่าผืนใหญ่ อยู่ทางทิศตะวันตกติดต่อกับชายแดนพม่า เป็นส่วน
หนึ่งของเทือกเขาตะนาวศรี ประกอบด้วย ป่าดิบชืน ป่าดิบแล้ง
ป่าเบญจพรรณ หนาแน่นด้วยพันธุ์ไม้ท่ีมีค่าทางเศรษฐกิจมากมาย
เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ซ่ึงราษฎรได้บุกรุกพืนท่ีใช้
ในการเพาะปลูก ส่วนใหญ่ทาไรส่ บั ปะรดและเปน็ ท่ีอยู่อาศัย
‐ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด (จุดชมวิวเขาแดง) ตังอยู่บนยอด
เขาแดง เวลาท่ีเหมาะแก่การขึนชมวิวคือ 05.30-07.00 น. เนื่องจาก
สามารถชมพระอาทิตย์ขนึ และทัศนยี ภาพโดยรอบๆ ไดอ้ ยา่ งสวยงาม
‐ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด คลองเขาแดง (ล่องคลอง)
การล่องเรอื ชมธรรมชาตทิ ค่ี ลองเขาแดงนี เปน็ อีกหนง่ึ สถานท่ที ่องเที่ยว
ภายในอาเภอกุยบุรี เพื่อให้นักท่องเท่ียวได้สัมผัสธรรมชาติของป่าชาย
เลน พันธ์ุพืช สัตว์นานาชนิด วิถีชีวิตของผู้คนในพืนท่ี ตลอดถึง
การพักผ่อนหย่อนใจกับสองฝั่งคลอง ท่ีตังของหมู่บ้านจะติดกับภูเขาที่
มหี นา้ ผาสแี ดง จงึ ได้เปน็ ที่มาของหมูบ่ ้านเขาแดงนน่ั เอง
‐ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จัดเป็นอุทยานแห่งชาติประเภท
ชายฝั่งผสมผสานหมู่เกาะในทะเลแห่งแรกของไทย ภูมิประเทศส่วน
ใหญ่เป็นเทือกเขาหินปูนสลับซับซ้อนเรียงรายตามแนวทิศเหนือ - ใต้
เป็นยอดหินปูนแหลมหยักคล้ายฟันเลื่อยทอดขนานไปกับชายฝั่งทะเล
ยาวประมาณ 30 กิโลเมตร และมีเกาะน้อยใหญ่อยู่รวม 6 เกาะ พบถา
ขนาดใหญ่หลายแห่งในพืนที่ ทังถาพระยานคร ถาแก้ว และถาไทร
ซ่ึงลว้ นมหี ินงอกหินยอ้ ยงดงาม โดยเฉพาะถาพระยานครนันมเี พดานถา
ทะลุเป็นปล่องใหญ่
‐ อุทยานแห่งชาติน้าตกห้วยยาง เป็นเทือกเขาสูงติดต่อกัน มีพืนที่อยู่
บนเทือกเขาตะนาวศรี ส่วนใหญ่จะเป็นเนินเขา สูงจากระดับนาทะเล
ปานกลางประมาณ 200-1,000 ฟุต มีนาตกทังหมด 7 ชัน และ
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ียว 4-35
สมยั กอ่ นบรเิ วณลาหว้ ยของนาตกสายนีที่ยาวไปจนถึงทะเลมีตน้ ยางขึน
เปน็ จานวนมากจงึ เป็นทม่ี าของช่ือนาตกหว้ ยยาง
‐ อทุ ยานแหง่ ชาตหิ าดวนกร ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเม่ือ
วันที่ 3 ธันวาคม 2535 เป็นอุทยานแห่งชาติลาดับท่ี 76 และเป็น
อุทยานแห่งชาติทางทะเลลาดับท่ี 18 สภาพป่าเป็นป่าเบญจพรรณ
เป็นป่าโปร่งประกอบด้วยไม้ผลัดใบหลายชนิด ปะปน ได้แก่ ไผ่ป่า
ประดู่ มะค่าโมง เสลา ตะแบก
‐ เขาธงชัย เป็นจุดชมวิวท่ีสาคัญของชายหาดบ้านกรูด จากจุดนี
จะมองเห็นเวิงอ่าวและทิวมะพร้าวสุดสายตา เหมาะสาหรับชมพระ
อาทิตย์ขึนและตก บนเขาธงชัยเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธกิตติสิริชัย
หรือ ที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อใหญ่ พระพุทธรูปปางสมาธิแบบ
ศิลปะคันธาระ (ได้รับอิทธิพลจากกรีกผ่านอินเดีย) หันพระพักตร์ออก
ทะเล ชาวบางสะพานสร้างขนึ เพอื่ น้อมเกล้าฯ ถวายสมเดจ็ พระนางเจ้า
สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสท่ีพระองค์ทรงเจริญพระ
ชนมพรรษาครบห้ารอบ บนเขายังเปน็ ที่ตังของตาหนักกรมหลวงชุมพร
เขตรอุดมศักด์ิ อันเป็นที่เคารพสักการะย่ิงของชาวเรือ จะเห็นตาหนัก
กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศกั ดส์ิ วยเด่นเป็นสง่าบนยอดเขาธงชัย
ในส่วนของจังหวัดชุมพร ทางได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเที่ยว
โดยศึกษาฐานข้อมูลแหล่งท่องเท่ียว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา และนา
ข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเท่ียว ประเภทการท่องเที่ยว เพ่ือวิเคราะห์ความ
เหมาะสมและศักยภาพการท่องเที่ยว ด้านแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ พบว่ามี 17
สถานท่ี ทมี่ ีความน่าสนใจดงั นี
‐ เขตอนุรักษ์สตั ว์ป่าถา้ เขาพลู ตังอยู่หมู่ที่ 7 ตาบลชมุ โค จากทางหลวง
หมายเลข 4 ถนนเพชรเกษม สายชุมพร-ปะทิว บริเวณสี่แยกปะทิว
ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 7201 ทางเดียวกันกับสนามบินชุมพร
พอเข้าถึงเขตตาบลชุมโค จะมีสี่แยกให้ตรงไป จะมีป้ายบอกทางไป
สถานที่ท่องเที่ยวไปวัดถาเขาพลู ลักษณะเป็นเทือกเขาหินปูนทอดยาว
ขนานไปกับถนน รูปทรงสวยงาม เป็นแหล่งอาศัยของค่างแว่นถ่ินใต้
กว่า 7 ฝูง ซึ่งแต่ละฝูงจะลงมาหากินอาหารบริเวณเชิงเขาริมถนนใน
เวลาเย็นจานวนมาก จึงเป็นอีกหนึ่งแหล่งท่องเที่ยวสาหรับคนมีใจรกั ษ์
ธรรมชาติ และตอ้ งการไปชมคา้ งแว่นถ่นิ ใต้ สตั ว์เลียงลกู ดว้ ยนมจาพวก
ค้างท่นี ับวนั ยง่ิ หายากขึนทุกที โดยเฉพาะบรเิ วณทางขนึ ถาเขาพลู ทอ่ี ยู่
ในเขตวัดนักท่องเที่ยว สามารถให้อาหารค้างแว่น จานวนกว่า 10 ตัว
ไดอ้ กี ดว้ ย
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเทยี่ ว 4-36
‐ เนนิ สนั ทราย ปรากฏการณเ์ นินทรายรมิ ชายหาดแห่งนีเกดิ จากอิทธิพล
ของพายุรุนแรงริมฝ่ังทะเลในฤดูมรสุมท่ีพัดพาทรายมาทับถมกัน
กลายเป็นเนินเขาย่อมๆ ประกอบกับอิทธิพลของความแห้งแล้ง
แสงแดดกล้านอกฤดูมรสุมทาให้มีลักษณะธรรมชาติบริเวณนีเหมือน
ทะเลทราย หากมาเที่ยวในช่วงกลางวันท่ีมีแดดแรง ระหว่างเวลา
10.00-16.00 น.จะรู้สึกร้อนมาก จึงเหมาะที่จะมาเที่ยวชมในช่วงเวลา
เช้าและเวลาเย็น ซ่ึงสามารถศึกษาพรรณไม้ที่ขึนอยู่ในบริเวณนีได้โดย
ไมร่ ้อนจนเกนิ ไป
‐ วนอุทยานเขาพาง อยู่บริเวณรอยต่อระหว่างอาเภอเมืองกับอาเภอ
ท่าแซะ ห่างจากตัวเมืองชุมพรไปตามเส้นทางสายชุมพร-ท่าแซะ
(ทางหลวงหมายเลข 4) ประมาณ 12 กิโลเมตร ภายในวนอุทยานเขา
พางร่มร่ืนไปด้วยต้นไม้นานาพันธ์ุ ด้านหน้าจะเป็นซุ้มประตูวนอุทยาน
และศาลเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ สร้างขึนอย่างสวยงาม
ด้านหลังเป็นภูเขาขนาดย่อม มีเนือท่ีประมาณ 800 ไร่ อยู่ในระหว่าง
การพัฒนาเป็นจุดชมวิว และเป็นท่ีตังของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก
ช่อง 7
‐ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีความอุดม
สมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย แนวปะการังที่ยังคง
ความสมบูรณ์และสภาพธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นชายหาด และเกาะ
ท่ียังคงความงดงาม ครอบคลุมพืนท่ีในเขตอาเภอปะทิว อาเภอเมือง
ชมุ พร อาเภอสวี อาเภอท่งุ ตะโก และอาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
‐ สุสานหอยล้านปี เป็นลานหินกว้างย่ืนลงไปในทะเล แต่เนือหิน คือ
ซากหอยอัดแน่นจนกลายเป็นหาดหินริมทะเล อันเกิดจากจากการ
เปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา โดยบริเวณนีเดิมเป็นหนองนาจืดขนาด
ใหญ่ มีหอยอาศัยอยู่จานวนมาก โดยเฉพาะหอยขม ต่อมาเกิดการ
เปลยี่ นแปลงบรเิ วณพนื ผิวโลก และนาทะเลไหลมาท่วมหนองนา ทาให้
ธาตหุ ินปูนในนาทเลหมุ้ เปลอื กหอยจนกลายเปน็ เนือเดยี วกนั กลายเป็น
แผ่นหินแข็งหนาประมาณ 40 เซนติเมตร ต่อมาแผ่นดินถูกยกตัวขนึ จงี
ปรากฏเป็นลานหินกว้างใหญ่ริมทะเล จากการคานวณอายุทาง
ธรณวี ิทยาพบว่า ฟอสซิลเหล่านีมีอายรุ าว 40 ลา้ นปี
‐ น้าตกกะเปาะ วนอุทยานนาตกกะเปาะอยู่ในท้องท่ีตาบลหงษ์เจริญ
อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาตินาตกกะเปาะ
บริเวณนาตก เป็นนาตกไหลจากหน้าผา ไหลลงสู่เบืองล่าง มีแอ่ง
สาหรับนักท่องเท่ียวเลน่ นาได้บรรยากาศโดยรอบมตี ้นไม้ให้ความร่มรื่น
โดยกรมป่าไม้ไดท้ าการปลกู สร้างสวนป่าโดยรอบ
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเท่ียว 4-37
‐ น้าตกคลองหรั่ง เป็นนาตกขนาดปานกลางมีนาไหลตลอดปี ลักษณะ
โดยทั่วไปเป็นนาตกไหนผา่ นหน้าผา ตกลงสแู่ อง่ เบืองล่าง นักท่องเที่ยว
นิยมมาเล่นนาบริเวณนี และบริเวณใกล้กับนาตกนักท่องเที่ยวยัง
สามารถเที่ยวชมวิถีชวี ิตชาวบา้ นทาอาชีพเกษตรเชงิ เขาได้อีกด้วย
‐ น้าตกจ้าปูน เป็นนาตกขนาดปานกลางมีนาไหลตลอดปีแอ่งด้านล่าง
นาตกเป็นแอ่งท่ีนาไม่ลึกมาก และเป็นที่อยู่อาศัยของปลาจานวนมาก
นอกจากนาตกแล้วนักท่องเที่ยวยังสามารถเพลิดเพลินกับบรรยากาศ
ร่มร่ืนรอบๆ นาตกอีกด้วย ต้นนาลาธารในพืนที่ป่าสงวนป่าละแม เป็น
แหล่งนาสาคัญของชาวละแม เกิดจากเทือกเขาในเขตอาเภอพะโต๊ะ
ไหลผ่านตาบลต่างๆ ในเขตอาเภอละแม ได้แก่ ตาบลละแม ตาบลทุ่ง
คาวัด ตาบลทุ่งหลวง โดยมีคลองเสร็จ ไหลมาบรรจบกับคลองละแม
ทีต่ าบลละแม และไหลลงสู่ทะเลในเขตตาบลละแม
‐ น้าตกคลองเพรา หรือ น้าตกทับช้าง นาตกขนาดใหญ่ตังอยู่กลางป่า
มีจานวนทังหมด 5 ชัน ความพิเศษของการเท่ียวชมนาตกที่นี่คือ
นักท่องเท่ียวจะต้องเริ่มต้นชมนาตกจากชันสุดท้ายไล่มาจนถึงชันแรก
เราจะไดเ้ ห็นสายนาทีต่ กกระทบลงโขดหินฟงุ้ กระจายไปท่ัวบรเิ วณ ทาง
ด้านล่างยังเป็นแอ่งนาใส ซ่ึงนักท่องเที่ยวสามารถลงไปเล่นนาได้ และ
ยังมีลานกางเต็นท์อยู่ตรงบริเวณนาตกชันท่ี 1 ท่ีรายล้อมไปด้วย
ธรรมชาติแสนจะร่มรน่ื
‐ น้าตกสันสีหมอก นาตกสันสีหมอก อีกหนึง่ สถานทีท่ ่องเท่ียวทต่ี งั อยู่ใน
เขตพืนท่ีของตาพระรักษ์ อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร โดยนาตกนัน
เป็นเกิดจากหน้าผาสูงชัน บริเวณเบืองล่างนาตกมีแอ่งนาที่
นักท่องเท่ียวสามารถลงเล่นนาได้ ไม่มีโขดหินแหลมคม บรรยากาศ
โดยรอบนาตกค่อนข้างมีความร่มร่ืน เหมาะสาหรับเปน็ สถานท่ีพักผ่อน
หย่อนใจ
‐ น้าตกห้วยเหมือง ตังอยู่ท่ี ตาบลนาขา อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
เปน็ นาตกขนาดเล็กมีความสวยงามปานกลางอยู่ในเขตบ้านห้วยเหมือง
ห่างจากชุมชนประมาณ 300 เมตร ส่วนใหญ่เป็นการท่องเที่ยวภายใน
ชมุ ชน และไมม่ สี ่งิ อานวยความสะดวกในบรเิ วณนาตก การเข้าถงึ นาตก
มีความลาบาก เนื่องจากระยะทางค่อนข้างไกลจากถนนหลักและต้อง
ใช้รถกระบะในการเข้าถึงเท่านัน เน่ืองจากเส้นทางมีลักษณะชัน
ในบางชว่ งและมีหลมุ มาก
‐ น้าตกเหวโหลม ตังอยู่บริเวณเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าควนแม่ยายหม่อน
ในเขตอาเภอพะโต๊ะ เป็นนาตกขนาดกลาง ที่มีลานหินสวยงามและ
กว้าง มีนาไหลตลอดทังปี สามารถนารถยนต์เข้าไปได้ แต่ต้องเดินเท้า
เข้าไปยังนาตกประมาณ 200 เมตร ซึ่งทางเดินเข้าเดินได้สะดวกตลอด
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเท่ยี ว 4-38
เส้นทางมีบันไดท่ีทาด้วยปูนเป็นช่วงๆ ช่วงที่เป็นทางชันมีราวบันได
ไว้ให้จับ และด้านในมีชันนาตก 2 ชัน แต่มีแอ่งนาท่ีเหมาะกับการเล่น
นาเนื่องจากนาไม่ลึก นักท่องเท่ียวเข้ามาท่องเท่ียวชมได้ทุกวันโดยไม่
เสียคา่ บริการ
‐ วนอุทยานน้าตกกะเปาะ ตังอยู่บ้านยายไท ตาบลหงส์เจริญ ห่างจาก
อาเภอท่าแซะ ตามทางหลวงสายเพชรเกษมทางขึน ประมาณ 13
กิโลเมตร ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 452-453 หรือจากสี่แยกปฐมพรไป
ตามถนนเพชรเกษม ประมาณ 30 กโิ ลเมตร อยรู่ ิมถนนดา้ นขวาก่อนถึง
ตัวเมืองชุมพร วนอุทยานแห่งนีมีเนือที่ประมาณ 283 ไร่ มีบรรยากาศ
เป็นสวนป่าร่มรื่น ในบริเวณนีมีนาตกขนาดเล็กที่มีนาไหลตลอดปี
เหมาะแก่การพักผ่อน นาตกกะเปาะยัง ไม่ห่างไกลจากทางหลวงสาย
เพชรเกษม นักท่องเท่ียวท่ีขับรถผ่านจังหวัดชุมพร สามารถแวะเที่ยว
พักรถ พักผ่อนได้ง่าย โดยไม่ต้องเสียเวลาขับรถเข้าไปไกล เพราะอยู่
ห่างจากถนนหลักประมาณ 800 เมตรเท่านัน และยังมีสถานท่ี
ท่องเที่ยวใกล้เคียงกับ นาตกกะเปาะ อีกแห่งคือ ถาพิสดาร สามารถ
เทีย่ วชมความงามภายในถาได้ ไมไ่ กลจากจุดนเี ท่าไรนัก
‐ จุดชมวิว เขามัทรี จุดชมวิวมุมสูง เพียงขึนเขามาแค่ 1 กิโลเมตร ก็จะ
ได้พบกับความสวยงามของทะเลชุมพร ชุมชนปากนาชุมพร
ความสวยงามของชายหาดภราดรในแบบ 360 องศา
‐ ถ้านา้ ลอดเขาพลู เป็นถาทส่ี วยงามประกอบดว้ ยหนิ งอก หินย้อย ทพ่ี นื
ถามีทางนาไหลเปน็ ทาง มีแนวยาวทะลปุ ากถาอีกดา้ นหนึ่งได้ อยู่ในเขต
บ้านทุ่งยอ ตาบลชุมโค อยู่ในเส้นทางสายอาเภอปะทิว-นาตกทุ่งยอ
เป็นถาที่สวยงาม ด้วยหินงอกหินย้อยท่ีพืนถามีธารนาไหลเป็นทาง
สันนิษฐานเกิดจากหยดนาฝนซมึ ผ่านปล่อง มีอยู่มากเป็นระยะๆ เหนือ
เพดานถา ถานีมีแนวยาวไปทะลุปากถาอีกด้านหน่ึงได้ ปากถานาลอด
กอ่ นถงึ บันได
‐ บ่อน้าพุร้อนถ้าเขาพลู ตังอยู่ท่ีบริเวณตาบลสวนแตง อาเภอละแม
ภายในพนื ทบ่ี ่อนาพุร้อนถาเขาพลมู ีเนือทป่ี ระมาณ 300 ไร่ แวดลอ้ มไป
ดว้ ยต้นไมน้ อ้ ยใหญ่ ท่คี อยใหค้ วามร่มรน่ื ส่งิ ท่ีนา่ สนใจของบ่อนาพุร้อน
แห่งนีคือ ช่ือเรียกของบ่อนาพุแต่ละบ่อที่คล้องจองกันอย่างไพเราะ
“เอืออารีย์ธารทิพย์” “อมฤตธารา” และ “พฤกษาชลธาร” เหมาะ
สาหรับนักท่องเท่ียวท่ีรักสุขภาพและชื่นชอบการแช่นาร้อน ทังนี
นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ยั ง ส า ม า ร ถ ส า ร ว จ ทั ศ นี ย ภ า พ ท า ง ธ รรมช าติ
รอบบ่อนาพุร้อน ซ่ึงมีถาและร่องเขาเล็กๆ ให้ได้เข้าไปสารวจ และ
ภายในมีหนิ งอกหินยอ้ ยทีส่ วยงาม
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศักยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-39
‐ เขามัทรี จุดชมวิวที่น่าสนใจบนเส้นทาง ชุมพร-ปากนา-หาดทราย คือ
จุดชมวิวเขามัทรี ที่สามารถชมทัศนียภาพความสวยงามของชุมชน
ปากนาชุมพรและชายหาดของทะเลชุมพร แบบรอบด้าน 360 องศา
เม่ือนักท่องเที่ยวเดินทางขึนไปถึงจุดชมวิวจะมีระเบียงยื่นเข้าไป
ในทะเลสาหรับให้สัมผัสบรรยากาศได้อย่างใกล้ชิด บริเวณโดยรอบมี
การพัฒนาพืนท่ีจากการรวมกลุ่มของคนในท้องถ่ินก่อตังเป็นวิสาหกิจ
ชุมชนร่วมกันพัฒนาพืนท่ีให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีการก่อสร้างลาน
สาหรบั พักผ่อน รา้ นกาแฟ และร้านขนมเลก็ ๆ คอยบริการ
ในส่วนของจังหวัดระนอง ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเที่ยว
โดยศึกษาฐานข้อมูลแหล่งท่องเท่ียว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และนา
ข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเท่ียว ประเภทการท่องเท่ียว เพื่อวิเคราะห์ความ
เหมาะสมและศักยภาพการท่องเท่ียว ด้านแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ พบว่ามี 29
สถานท่ี ทม่ี คี วามนา่ สนใจดงั นี
‐ เขตรักษาพันธ์ุสตั วป์ า่ คลองนาคา เป็นป่าทยี่ ังคงสภาพป่าสมบูรณแ์ ละ
เป็นแหล่งที่มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่ชุกชุม ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา
สงู ชันสลบั ซับซ้อน มีพนื ทร่ี าบนอ้ ยมาก เป็นแหลง่ กาเนดิ ลาคลองหลาย
สาย ได้แก่ คลองนาคา คลองบางมัน คลองชาคลี คลองแพรกซ้าย
คลองแพรกขวา คลองเช่ียวเหลียง คลองบางหิน คลองบางบอน และ
คลองกาพวน
‐ คลองนาคา (ล่องเรือแลพลับพลึงธาร) ตังอยู่บริเวณ หมู่ที่ 5 ตาบล
นาคา อาเภอสุขสาราญ จังหวัดระนอง การเดินทางใช้เส้นทางถนน
เพชรเกษม (ระนอง-พังงา) จากตัวเมืองระนองระยะทางประมาณ 76
กิโลเมตร นักท่องเทยี่ วนยิ มเดนิ ทางมาชมพลบั พลงึ ธารซ่ึงเป็นพืชท่ีหาดู
ไดย้ ากในช่วงเดินตุลาคมถึงพฤศจิกายนของทุกปี
‐ ต้นโกงกางยักษ์ (อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะระนอง) บริเวณต้นโกงกาง
เป็นป่าทม่ี ีความสมบูรณ์หลากหลายทางชีวภาพสูง มพี ันธไุ์ มห้ ลายชนิด
สามารถเดินทางโดยเรือเพ่ือชมต้นโกงกางยกั ษ์ ปา่ โกงกางอยู่ในป่าชาย
เลนบ้านหาดทรายขาว ในเขตสงวนชีวมณฑลโลก มีอายุ 200 ปี
มีความสูงประมาณ 30 เมตร มีขนาดความโตวัดโดยรอบท่ีขนาดความ
สูงเพียงอกประมาณ 2 เมตร
‐ ภเู ขาหญ้า หรอื เขาหวั ล้านหรือเขาผี เป็นเนนิ เขาทีไ่ ม่สงู มากนัก ถอื ได้
ว่าเป็น Unseen Thailand อีกหน่ึงแห่งของเมืองไทย ท่ีได้ช่ือว่าเขา
หัวล้านหรอื เขาผสี ืบเนอ่ื งมาจากเปน็ ภูเขาที่ไม่มีไม้ใหญ่ขึน แต่ในฤดูฝน
ก็จะมีหญ้าสีเขียวขึนปกคลุมแนวเขา ซึ่งทอดตัวจากทิศเหนือสู่ทิศใต้
บางครงั จงึ เรยี กวา่ ภูเขาหญา้
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการท่องเที่ยว 4-40
‐ ศูนย์วิจัยป่าชายเลนหงาว อยู่ห่างจากตัวเมืองระนองประมาณ 15
กิโลเมตร ป่าชายเลนหงาวเป็นแหล่งเกิดและเติบโตของสัตว์ทะเล
นานาชนิด ก่อนที่จะแข็งแรงและอาศัยหากินในทะเล ที่ศูนย์วิจัย
ป่าชายเลนหงาวได้จัดเจ้าหน้าที่ไว้นาชมธรรมชาติ ทังพรรณไม้ป่าและ
สัตว์ป่า การทัศนศึกษาในเขตป่าชายเลนนี ต้องทาจดหมายถึงหัวหน้า
ศูนย์วิจัยปา่ ชายเลนหงาว
‐ อุทยานแห่งชาติล้าน้ากระบุรี มีทิวทัศน์ท่ีสวยงาม มีหมู่เกาะ ลานา
และป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิด
เช่นเสือโคร่ง เสือลายเมฆ หมีควายป่า หมูป่า กระจง ลิงแสม ชะมด
นกหัวขวาน นกเขา นกกางเขน นกเงือก และไกป่ ่า เปน็ ต้น
‐ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะระนอง มีเนือที่ประมาณ 183,125 ไร่ มีพืนที่
ป่าชายเลนบริเวณใกล้แนวชายฝั่งเป็นพืนท่ีกว้างใหญ่คงสภาพป่า
ท่ีสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางระบบนิเวศ มีต้นโกงกางใบเล็กที่มี
ขาสูงใหญ่ที่ยังคงเหลือแห่งเดียวในประเทศไทย อยู่บริเวณทิศเหนือ
ของเกาะยิว มีหาดทรายแดงบนเกาะตาวัวดา เป็นหาดทรายท่ีมีสีออก
แดงคล้ายอิฐ เกิดจากการทับถมของเปลือกหอยนานาชนดิ ที่ถูกกระแส
คลื่นพัดพามาทับถมไว้เป็นเวลานานประกอบกับทิวทัศน์ของโขดหิน
และปา่ เขาท่ีสวยงาม
‐ อทุ ยานแหง่ ชาตแิ หลมสน ประกอบดว้ ยพืนท่รี ิมทะเลตังแต่ ตาบลราช
กรูดลงไปจนถึง ถึงเกาะต่างๆ ในทะเลอันดามันคือ เกาะค้างคาว หมู่
เกาะกา สาหรับที่ทาการอุทยานตังอยู่ที่หาดบางเบน อุทยานแห่งชาติ
แหลมสน มีภูมิอากาศสองแบบ คือ ฤดูฝนซ่ึงมีฝนตกชุก ระหว่างเดือน
พฤษภาคม-พฤศจิกายน และฤดูร้อน ระหว่างเดือนธันวาคม-เมษายน
เป็นแหล่งทรพั ยากรท่ีมีค่ามากมาย ทังชายหาดสวยงาม ธรรมชาติและ
สัตวป์ ่า นานาชนดิ
‐ ถ้าน้าลอด สภาพภายในถามีความสวยงามและสลับซับซ้อน ชันบน
เป็นถาหินย้อย เดินชมภายในถาไปสู่อีกด้านหนึ่งของถาได้ ชันล่างเป็น
ถานาลอด เหมาะแกก่ ารทอ่ งเทย่ี วชมธรรมชาติ
‐ ถ้าประกายเพชร แหล่งโบราณคดีถาประกายเพชร นับว่าเป็นแหล่ง
โบราณคดีท่ีสาคัญ เนื่องจากเป็นหลักฐานท่ีสามารถบอกได้ว่า ในพืนท่ี
จังหวัดระนอง โดยเฉพาะเขตอาเภอละอุ่นนัน มีการเข้ามาอยู่อาศัย
ของมนุษย์ตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้ว และมีความเป็นไปได้ว่า
ตามถาและเพิงผาภูเขาหินปูนในบริเวณใกล้เคียง กับถาประกายเพชร
อาจเคยมีมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์เข้ามาอยู่อาศัยด้วยก็เป็นได้
จากหลักฐานท่ีพบแสดงได้ว่า ถาแห่งนีได้ถูกใช้เป็นที่อยู่อาศัยของ
มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ มอี ายุประมาณ 2,000-4,000 ปี
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-41
‐ ถ้าพระขยางค์หรือถ้าขาหย่ัง ถาพระขยางค์ เดิมชื่อ ถาขาหย่ัง อยู่ใน
เทือกเขาตาบลลาเลียง อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง เป็นถาเก่าแก่
ขนาดเล็กซ่ึงมีตานานเก่าแก่ที่เก่ียวกับการสร้างเมืองกระบุรี ภายในมี
หินงอก และหินย้อยที่สวยงาม นอกจากนี เคยได้ค้นพบภาพเขียนสี
แบบโบราณ และพบเคร่ืองป้ันดินเผา ซึ่งเชื่อว่าเป็นอีกหนึ่งถาในยุค
มนุษย์หินในอดีตเส้นทางท่องเที่ยวภายในถามีความยาวประมาณ 40
เมตร และมีบันไดเพื่อเดินขึนสู่ยอดถา โดยสามารถมองวิวทิวทัศน์ของ
ลานากระบุรี และฝั่งประเทศพมา่ อย่างชัดเจน
‐ ถ้าหนัดไดหรือถ้าค้างคาว สภาพภายในถามีความสวยงามและ
สลับซับซ้อนแบ่งได้เป็น 2 ชัน ชันบนเป็นถาหินย้อย และสามารถเดิน
ชมภายในถาไปสอู่ กี ด้านหน่งึ ของถาได้ ชันล่างเปน็ ถานาลอด
‐ น้าตกงามมีสี นาตกแห่งนีมีความสวยงาม นาไหลตลอดปี มีต้นไม้ร่ม
รน่ื เหมาะแก่การพกั ผ่อนหย่อนใจ
‐ น้าตกชุมแสงหรือน้าตกสายรุ้ง อยู่ท่ีบ้านปากจ่ัน ตาบลปากจั่น
หา่ งจากเขตเทศบาลเมืองระนองและตัวอาเภอกระบุรีไปตามทางหลวง
หมายเลข 4 (ทางไปจงั หวัดชุมพร) เปน็ ระยะทาง 80 และ 16 กโิ ลเมตร
ตามลาดบั บรเิ วณหลักกิโลเมตรที่ 529-530 (ดา้ นตรงข้ามกบั ทางเข้าสู่
นิคมสรา้ งตนเองบ้านปากจนั่ ) จะมีทางแยกซา้ ยมอื เปน็ ถนนลูกรงั เข้าไป
อกี 3 กโิ ลเมตร ก็จะถงึ บรเิ วณนาตกชุมแสง จะมีนาไหลเฉพาะในฤดูฝน
นาาจะไหลกระแทกกับโขดหินแล้วกระจายออกเป็นสายดูคล้ายสายร้งุ
จงึ ทาใหช้ าวบ้านมักจะเรียกนาตกแหง่ นีว่า “นาตกสายรุ้ง”
‐ น้าตกโตนทอง นาตกอันงดงามหนึ่งเดียวของชาวเกาะคอเขาอันเป็น
ต้นนาจืดแหล่งสุดท้ายของชาวเกาะคอเขา เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้ามา
ยือน พบกับความงามของแผ่นนาท่ีกระจายเป็นละอองเย็นที่คุ้มค่ากับ
การเดนิ ทางท่ีน่าต่ืนเตน้ และผาดโผนเพ่ือเข้าไปเย่ยี มชม นาตกโตนทอง
นันปิดซ่อนตัวอยู่ในจุดไข่แดงของต้นนาท่ีชุมชนพยายามดูแลรักษาไว้
ในรูปของป่าชุมชนคลองโตน รอผู้มาเยือน สัมผัสความงามอัน
มีช่วงเวลาท่เี ปดิ ใหเ้ ยย่ี มชมในช่วงเดือนตุลาคม-กมุ ภาพนั ธ์เท่านนั
‐ น้าตกโตนเพชร เป็นนาตกขนาดใหญ่ มีทังหมด 11 ชัน แต่ละชัน
สายนามีลักษณะลดหล่ันลงมาผ่านแนวชะง่อนหินดูสวยงาม และมีนา
ไหลตลอดทังปี โดยต้นนาเกิดจากเทือกเขาพ่อตาโชงโดง ซึ่งเป็นภูเขา
ทสี่ งู ทีส่ ดุ ในจงั หวัดระนอง ส่วนสภาพปา่ ขา้ งเคียงเป็นป่าดิบชืน สาหรับ
นักท่องเท่ียวท่ีสนใจจะไปชมนาตกโตนเพชร สามารถติดต่อชาวบ้านท่ี
อยู่ใกลน้ าตกใหเ้ ปน็ ผนู้ าทางไปชมนาตกได้
‐ น้าตกบกกราย ตังอยู่หมู่ที่ 8 ตาบลนาจืด ห่างจากตัวจังหวัดไปตาม
หลวงหมายเลข 4 (ระนอง-ชุมพร)ประมาณ 54 กิโลเมตร กิโลเมตรที่
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-42
556-557 จะมีปา้ ยชที างไปนาตกบกกราย ประมาณ 6 กิโลเมตร สภาพ
ถนนในช่วงฤดูฝนไม่สามารถใช้งานได้ และจากบริเวณสุดทางของถนน
ต้องเดินเท้าต่อ ผ่านพืนท่ีทาไร่และป่าชืน ระยะทางประมาณ 200
เมตร ก็จะถงึ บริเวณนาตกกราย เป็นนาตกขนาดใหญ่ มนี าไหลตลอดปี
เหมาะสาหรบั ผทู้ ร่ี กั การผจญภยั
‐ น้าตกปุญญบาล อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติลานากระบุรี เป็นนาตก
ขนาดไม่เล็กไม่ใหญ่และมีนาไหลแรงตลอดปี นาตกมีทังหมด 3 ชัน
มีต้นนามาจากลาห้วยเล็กๆ ในเขตป่าละอุ่น ป่าราชกูด ชันที่ 1 นาตก
ปุญญบาล เป็นชันที่สวยที่สุด ลักษณะเป็นสายนาไหลตกลงมาตามเชิง
ชันสูงประมาณ 20 เมตร รอบๆ ร่มร่ืนด้วยต้นไมใ้ หญ่ ดา้ นล่างเป็นแอ่ง
นาตืนๆ นาตกชันที่ 2 เรียกว่านาตกโตนไม้ไผ่ และนาตกชันท่ี 3
เรียกว่านาตกโตนต้นเฟิน
‐ น้าตกสายรุ้งละอองดาว มีช่ือเดิมคือ นาตกเหวหมอย ท่ีมาของช่ือ
นาตกมาจากสายนาตกที่ไหลลงมากระทบกับก้อนหินลักษณะนาเป็น
ละอองฝอย เม่ือโดนแสงแดดจะเกิดเป็นรุ้งกินนาท่ีสวยงามคุ้มค่า
แก่การเดินทางไปเยือน ตังอยู่ภายในป่าลึกที่มีความอุดมสมบูรณ์
สภาพเป็นป่าดิบชืน ต้นไม้สูงใหญ่ เน่ืองจากนาตกมีพิกัดอยู่ภายในป่า
ลึก ทาให้ผู้ที่ต้องการเดินทางไปจะต้องนอนค้างคืนในป่า จึงควรเตรียม
ตัวและนาอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับค้างคืนในป่าไปด้วย เพ่ือความ
ปลอดภยั ควรตดิ ต่อเจ้าหน้าท่ีกอ่ นเดนิ ทาง
‐ น้าตกหงาว เป็นนาตกที่ไหลลงมาจากสันเขาสูงชัน ตังอยู่ในพืนท่ี
อุทยานแห่งชาตินาตกหงาว นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางสู่ตัวเมืองระนองจะ
มองเห็นสายนาสีขาวของนาตกหงาว ที่ไหลตกลงมาได้จากระยะไกล
เปน็ นาตกท่ีมีขนาดใหญส่ ุดของจังหวัดระนอง มีต้นกาเนดิ จากเทือกเขา
นมสาว และเทือกเขาห้วยเสียดซ่ึงเป็นแหล่งต้นนาสาคัญของจังหวัด
ระนอง บรรยากาศโดยรอบร่มร่ืนด้วยพันธ์ุไม้นานาชนิดโดยเฉพาะ
กล้วยไมป้ า่ “โกมาซุม” ซง่ึ เป็นดอกไม้ประจาจงั หวัด
‐ น้าพุร้อนทุ่งยอ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เป็นสถานที่
พักผ่อนหย่อนใจ มีความสวยงาม นาพุร้อนมีลักษณะเป็นแอ่งนาร้อน
หรอื โคลนร้อน และผุดขนึ มาเลก็ นอ้ ยตลอดเวลา มีกล่ินบ้างเลก็ นอ้ ย
‐ น้าพุร้อนห้วยน้าร้อน เกิดอยู่บริเวณริมคลองห้วยนาร้อน ในบริเวณที่
เป็นหุบเขาสูงประกอบด้วยหินดินดาน หินทราย หินทรายแป้ง
หินโคลน หินเชิร์ต และหินโคลนปนกรวด อายุเพอร์เมียน -
คาร์บอนิเฟอรัส ธารนาร้อนอุณหภูมิ 65-75 องศาเซลเซียส ซ่ึงไหลไป
บรรจบกับธารนาเยน็ ทาใหน้ าอนุ่ กาลงั ดี ลงแช่ได้อยา่ งสบาย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเที่ยว 4-43
‐ บ่อน้าร้อนพรร้ัง อยู่ห่างจากตัวเมืองระนอง 5 กิโลเมตร ตามทางสาย
เพชรเกษม กิโลเมตรที่ 620-621 แล้วเลียวซ้ายเข้าไปประมาณ
2 กิโลเมตร นาพุร้อนอยู่ในพืนท่ีหุบเขาล้อมรอบ มีลาธารและสายนา
ธรรมชาติใสสะอาดไหลผ่าน มีสะพานไม้ข้าม และนาในลาธารแห่งนี
นอกจากเป็นลานาธรรมชาติแลว้ นันยังมนี าแรไ่ หลผสมในลาคลองได้รับ
การดูแลและรักษาความสะอาดจากอุทยานแห่งชาตินาตกหงาว
มีเส้นทางเดินเช่ือมแต่ละจุดกิจกรรม มีบ่อที่กักเก็บนาแร่ร้อน 1 บ่อ
ใหญ่ กับ 2 บ่อเล็ก มีตานาพุร้อน ที่ออกจากซอกหินอยู่ทั่วบริเวณ
มีไข่ต้มท่ีแช่ด้วยนาแร่นานถึง 18 ชั่วโมง ไว้คอยบริการในราคาฟองละ
7 บาท สามารถแช่เท้า เพื่อกระตนุ้ การไหลเวยี นของโลหิตในร่างกาย
‐ บ่อน้าร้อนพุหลุมพี เป็นบ่อพุนาร้อนขนาดเล็กไม่กว้างมาก นาใสๆ
สามารถมองเห็นรอยแตกทก่ี น้ บ่อ
‐ บ่อน้าร้อนหาดยาย (อุทยานแห่งชาติล้าน้ากระบุรี) มีบ่อทังหมด
3 บ่อ (อุณภูมิประมาณ 35-40 องศา) บ่อท่ี 1 เป็นต้นกาเนิดนาร้อนที่
มีนาออกมาจากหิน บ่อที่ 2 เป็นบ่อซีเมนต์เล็กความกว้าง 80
เซนติเมตร บอ่ ท่ี 3 เปน็ บอ่ ใหญ่มนี ารอ้ นไหลออกมาตลอดเวลา
‐ ระนองแคนยอน หรือบึงมรกต เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสวยงาม
แปลกตา ประกอบด้วย สระนาขนาดย่อมสีเขียวมรกตที่โอบล้อมด้วย
ป่าดินหินสูงต่า ที่เกิดจากการทาเหมืองแร่ เมื่อเก่าก่อนเหมาะ
แก่การพักผ่อน ให้อาหารปลา
‐ คอคอดกระ หรือ กิ่วกระ เป็นส่วนที่แคบที่สุดของแหลมมลายูอยู่ใน
เขตบ้านทับหลี ตาบลละมุ อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง กับอาเภอสวี
จงั หวัดชมุ พร ประมาณกโิ ลเมตรท่ี 545 ของทางหลวงหมายเลข 4 หา่ ง
จากเขตเทศบาลเมือง 66 กิโลเมตร ในบริเวณนีมีแผ่นป้ายคอนกรีต
ขนาดใหญ่จาลอง
‐ จุดชมวิวเขา ฝา ชี ตังอยู่บนยอดเขาฝาชี อันเป็นที่ตังของ
ศูนย์ทวนสัญญาณโทรคมนาคม ตาบลบางแก้ว อาเภอละอุ่น จังหวัด
ระนอง บริเวณจุดชมวิวนักท่องเท่ียวสามารถมองเห็น ทะเลอันดามัน
แม่นากระบรุ ี และชุมชน บา้ นบ้างแกว้ ไดช้ ัดเจน
‐ จุดชมวิวหัวโขน เป็นสถานท่ีที่มีระบบนิเวศสมบูรณ์ มีความ
หลากหลายทางธรรมชาติ สามารถชมห่ิงห้อยได้ และเป็นแหล่งศึกษา
ทางธรรมชาติเกี่ยวกับสัตว์และพันธ์ุพืชต่างๆ ที่หายาก เหมาะสาหรับ
พกั ผอ่ นจติ ใจ
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศักยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว 4-44
2.2) ดา้ นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ (ประเภทพระราชวัง, วัด)
ในส่วนของจังหวัดเพชรบุรี ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเท่ียว โดยศึกษา
ฐานข้อมลู แหล่งทอ่ งเท่ยี ว จากกรมการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า และนาขอ้ มูลดงั กลา่ ว
มาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเที่ยว ประเภทการท่องเท่ียว เพ่ือวิเคราะห์ความเหมาะสมและ
ศักยภาพการท่องเที่ยว ด้านแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ (ประเภทพระราชวัง, วัด) พบว่ามี 22
สถานที่ ท่มี ีความน่าสนใจดงั นี
‐ พระราชวังบนพระนครคีรี “เขาวัง” เปน็ พระราชวงั ที่พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน บนเขาที่มียอดสูง
ประมาณ 92 เมตร ริมถนนเพชรเกษม ในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี
พระนครคีรี มีพระที่นั่งและกลุ่มอาคารตังอยู่บนยอดเขาใหญ่ 3 ยอด
กรมศิลปากรได้บูรณะปรับปรุงอาคารของพระราชวังด้านทิศตะวันตก
และจัดตงั เป็น “พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติพระนครครี ี” และได้ประกาศ
ใหพ้ นื ทท่ี ังหมดเป็น “อทุ ยานประวัติศาสตร์พระนครครี ี”
‐ โบราณสถานทุ่งเศรษฐี เขานางพันธุรัต โบราณสถานทุ่งเศรษฐี
ในเขตเขาใหญ่ อาเภอชะอา ได้รับการดูแลจากกรม ศิลปากร
โดยสถานทเี่ ปน็ เพยี งซากปรักหักพัง โดยไม่มีผู้ท่ีมีความร้หู รือเชย่ี วชาญ
ที่สามารถให้ข้อมูลได้เลย นานครังทางกรมศิลปากรถึงจะแวะเวียนมา
สักครังเพ่ือเป็นวิทยากรให้ข้อมูลกับนักศึกษาที่ติดต่อไป และชาวบ้าน
ละแวกใกล้เคียงยังไม่พบว่ามีนักท่องเท่ียวเข้ามาเที่ยวในสถานที่เลย
สาเหตุมาจากละแวกใกล้เคียงมีสถานที่ท่องเที่ยวที่ดึงดูดความสนใจ
มากกว่าค่อนข้างเยอะ และชาวบ้านในพืนที่บางคนยังไม่รู้จักสถานที่
แห่งนเี ลย
‐ พระราชวังมฤคทายวัน เป็นพระตาหนักที่ประทับริมทะเล
ซง่ึ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงโปรดให้รือพระตาหนัก
หาดเจ้าสาราญมาปลูกขึนใหม่ท่ีอาเภอชะอา มีลักษณะเป็นอาคารไม้
หลงั คาทรงป้นั หยามุงกระเบืองสเ่ี หลย่ี มใต้ถนุ สูง ประกอบดว้ ยพระท่ีนั่ง
ใหญ่ 3 องค์ ตัวอาคารเป็นไม้หันหน้าเรียงขนานไปกับชายทะเล
มีสะพานเป็นทางเดินเชื่อมระหว่างตาหนักแต่ละหลังและทางเดินไปสู่
ทะเลได้ ได้รับขนานนามว่า “พระราชนิเวศน์แห่งความรักและ
ความหวงั ”
‐ พระราชวังรามราชนิเวศน์ หรือพระราชวังบ้านปืน เป็นพระราชวังท่ี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างขึนตาม
แบบสถาปัตยกรรมยุโรป โดยย่อส่วนมาจากพระราชวังฤดูร้อนของ
พระเจ้าวิลเฮล์มไกเซอร์แห่งเยอรมนี การก่อสร้างแล้วเสร็จในสมัย
สมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว และได้พระราชทานนามว่า “พระท่ีนั่ง
ศรเพ็ชรปราสาท” ตอ่ มาทรงเปลี่ยนเปน็ พระรามราชนิเวศน์
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเที่ยว 4-45
‐ พ ร ะ ร า ม ร า ช นิ เ ว ศ น์ ส ร้ า ง ป ล า ย รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์พระราชทานราชทรัพย์ส่วน
พระองค์ให้ไปสร้างท่ีประทับนอกเมือง โดยก่อสร้างเป็นสถาปัตยกรรม
ยุโรปแบบโมเดิร์นสไตล์ แต่ยังสร้างไม่ทันเสร็จพระองค์ทรงสวรรคต
ก่อน พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าให้
ดาเนินการกอ่ สร้างตอ่
‐ วัดก้าแพงแลง เนื่องจากกาแพงวัดทัง 4 ด้านก่อด้วยศิลาแลง จึงเป็น
ท่ีมาของช่ือวัดกาแพงแลง หมู่ปราสาทศิลาแลงมีทังหมด 5 องค์เป็น
ปราสาทจตุรมุขย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง ลักษณะคล้ายกับปราสาทหิน
พิมายในจงั หวัดนครราชสมี าและปรางคส์ ามยอดในจงั หวัดลพบรุ ี
‐ วัดกุฏิ (โบสถไ์ มส้ กั ) โบสถไ์ ม้สักวดั กุฎิ เปน็ อุโบสถหลงั ใหญ่และเก่าแก่
ที่สุดที่พระครูเกษม สุตคุณ (หลวงพ่อชุ่ม) สร้างขึนเม่ือปี พ.ศ.2473
ผนังโบสถ์แกะสลักโดยช่างฝีมือชาวเพชรบุรี โดยรวมทังหมด 20 แผง
แต่ละแผงแกะสลักเรื่องราวชาดกในตอนต่างๆ ส่วนหน้าบันด้านหน้า
แกะสลักเป็นรูปเหรียญตรามงกุฎ สมัยรัชกาลที่ 4 ด้านหลังแกะสลัก
เป็นรูปเหรียญกษาปณ์และตราแผ่นดินสมัยรัชกาลที่ 5 บานประตู
เปน็ ลายเถาทะลโุ ปร่งลายลึก
‐ วัดเกาะแก้วสุทธาราม วัดเกาะแก้วสุทธาราม ชาวบ้านทั่วไปเรียกกัน
ว่า วัดเกาะ ในสมยั ก่อนมีสายนาไหลผา่ นรอบด้าน คือ ด้านทิศตะวันตก
จรดแม่นาเพชร และมีสายนาแยกจากแม่นาเพชรย่านวัดเกาะ 2 สาย
คือ ทางทิศเหนือของวัด สายนาแยกจากแม่นาสายใหญ่ไหลไปทางทิศ
ตะวนั ออก สายนาอกี สายหนึง่ อยูท่ างทศิ ใตข้ องวดั เป็นคลองคัน่ ระหว่าง
วัดเกาะกับวัดจันทราวาส เรียกว่าคลองวัดเกาะ ไหลไปทางทิศ
ตะวันออกไปบรรจบกับสายนาทางทิศเหนือรวมตัวไปทางทิศ
ตะวันออกทาให้อาณาเขตของวัดมีสภาพเป็นเกาะจึงได้ช่ือว่า วัดเกาะ
และสายนาแห่งนียังเปรียบเสมือนสายเลือดใหญ่ที่หล่อเลียงคนใน
ชมุ ชนนอี ีกดว้ ย วดั เกาะแกว้ สุทธาราม หรือ วดั เกาะเปน็ วดั ที่มมี าตังแต่
สมัยกรุงศรีอยุธยา ตังอยู่ในเขตตาบลท่าราบ อาเภอเมือง จังหวัด
เพชรบุรี ทิศเหนือจรดที่ดินเอกชน ทิศใต้จรดคลองวัดเกาะ
ทิศตะวันออกจรดถนนมาตยาวงศ์ และทิศตะวันตกจรดแม่นาเพชรบุรี
และเป็นวัดท่ีมีโบราณสถานมากมายหลายอย่างอยู่ในตัววัดเกาะ เช่น
เมรวุ ดั เกาะ วิหาร กฏุ ิสามหอ้ ง อุโบสถ เปน็ ต้น
‐ วัดเขาตะเครา เป็นวัดท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เรียกว่า
หลวงพ่อเขาตะเคราที่ชาวเมืองและนักท่องเท่ียวไปกราบไหว้ปิดทอง
เปน็ อันมาก สันนษิ ฐานวา่ เปน็ พระพทุ ธรูปสมยั เชยี งแสน
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ียว 4-46
‐ วัดเขาบันไดอิฐ ภายในประกอบไปด้วยถาน้อยใหญ่ท่ีล้วนแล้ว แต่มี
ความเป็นมาที่น่าสนใจแทบทังนัน โดยถาแต่ละแห่งนันจะ
เปรียบเสมือนวิหาร และหอพระแต่ละห้อง ในอดีต วัดเขาบันไดอิฐเคย
ใชเ้ ป็นสถานที่น่ัง วปิ สั สนากรรม ฐานท่มี ชี ่ือเสยี งมาก
‐ วัดท่าไชยศิริ (ศาลาท่าน้าศักดิ์สิทธิ์) ศาลาท่านาศักด์ิสิทธ์ิ เป็นแหล่ง
นาศักด์ิสิทธ์ิของชาวเพชรบุรีคือ แม่นาเพชรบุรี บริเวณท่านาวัดท่า
ไชยศริ ิ ตาบลสมอพลือ อาเภอบา้ นลาด ในอดีตนาทต่ี กั ขึนจากท่านี จะ
ใช้ประกอบพระราชพิธีสาคัญต่างๆ เข่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระราชพิธีถือนาพิพฒั น์สัตยา ฯลฯ
‐ วัดพุทธไสยาสน์ (วัดพระนอน) เป็นวัดท่ีสันนิษฐานว่าสร้างมาตังแต่
สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความโดดเด่นที่พระพุทธรูปปางไสยาสน์หรือพระ
นอนที่สร้างด้วยอิฐตลอดทังองค์ ลงรักปิดทองสวยงาม องค์พระในท่า
“สีหไสยา” นมี ขี นาดยาวถึง 43 เมตร เดิมประดษิ ฐานอยู่กลางแจง้ แต่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างหลังคา
คลุมไว้
‐ วัดมหาธาตุวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชันตรีชนิดวรวิหาร
ไมป่ รากฏหลักฐานแนช่ ัดว่าสร้างในสมยั ใด มีผู้สันนษิ ฐานว่านา่ จะสร้าง
สมัยทวารวดี สุโขทัย มีอายุราว 800-1,000 ปี โดยประมาณ ภายใน
พระวิหารหลวงของวัดประดิษฐานพระพุทธรุปสาคัญคือ หลวงพ่อ
ศักด์ิสิทธ์ิ วัดมหาธาตุด้านหลังพระวิหารหลวงคือ พระปรางค์ 5 ยอด
อยูภ่ ายในวหิ ารคตทางด้านทิศใตข้ องพระวหิ ารหลวงคอื พระวหิ ารน้อย
และวัดมหาธาตุวรวิหารยังได้สร้างพิพิธภัณฑ์ของวัด เป็นท่ีรวมรวม
ศิลปะ ความเป็นมาต่างๆ ของวดั ไวใ้ หผ้ ู้สนใจได้เขา้ ชม
‐ วัดสระบัว สร้างขึนในสมัยอยุธยาตอนปลายพระอุโบสถมีขนาดเล็ก
หลังคาซ้อน 2 ชัน ฐานโค้งแบบท้องเรือสาเภา มีศิลปากรรม
ที่ทรงคุณค่าคือ ปูนปั้นฐานเสมารอบโบสถ์ ลักษณะทาเป็นฐานเสมา
ซ้อนกัน 2 ชัน ฐานเป็นรูปยักษ์แบก ครุฑแบก และลิงแบกเป็นศิลปะ
ปูนปั้นสมัยอยุธยาที่จัดว่างดงามมากแห่งหนึ่งทยี่ ังคงเหลืออยู่
‐ วัดใหญ่สุวรรณาราม อยู่ที่ถนนพงษ์สุริยา ห่างจากศาลากลางจังหวัด
ประมาณ 1 กิโลเมตร วัดนีสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา และได้มี
การบูรณะในสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ภายในวัด
มีศาลาการเปรียญ เป็นพระตาหนักไม้สักทังหลังที่พระเจ้าเสือแห่งกรุง
ศรอี ยธุ ยา พระราชทานแดพ่ ระสังฆราชชาวเพชรบรุ ี ศาลาการเปรยี ญนี
มีการแกะสลักไม้ที่สวยงาม โดยเฉพาะบานประตูสลักลายก้านขด
ปิดทอง และยังมีธรรมาสน์เทศน์ ซ่ึงแกะสลักลงรักปิดทอง รูปทรงเป็น
บุษบกที่งดงามและสมบูรณ์ บนผนังภายในพระอุโบสถ มีภาพเขียน
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเทีย่ ว 4-47
เทพชุมนุม อายุกว่า 300 ปี สาหรับนักท่องเที่ยวท่ีต้องการเข้าชม
ศิลปากรรมในพระอุโบสถและศาลาการเปรียญ ต้องไปติดต่อขอกุญแจ
ทเ่ี จา้ อาวาส
‐ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เป็นพระราชวังในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างขึนใน พ.ศ.2402 และพระราชทานนาม
วา่ ยอดเขามหาสวรรค์ คนทว่ั ไปเรียกวา่ “เขาวัง” ทรงใช้เปน็ ทปี่ ระทับ
ในฤดูร้อน เมื่อเสด็จประพาสเพชรบุรี และโปรดเกล้าฯ ให้เรียก
สิ่งก่อสร้างต่างๆ บนเขาทัง 3 ยอดนีว่า พระนครคีรี นอกจากนัน
ยังโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะวัดสมณะแล้วพระราชทานนามว่าวัดมหา
สมณาราม พระนครคีรี ประกอบดว้ ยพระทีน่ ่ังตา่ งๆ คอื พระที่นั่งเพชร
ภูมิไพโรจน์ พระที่นั่งปราโมทย์มไหสวรรย์ พระที่น่ังเวชยันต์วิเชียร
ปราสาท พระที่น่งั ราชธรรมสภา พระตาหนกั สันถาคารสถาน หอพมิ าน
เพชรมเหศวรหอจตเุ วทปริตพงษแ์ ละหอชชั วาลเวยี งชัย
‐ วัดชีประเสริฐ สร้างในยุคต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ จึงมีความสาคัญ
ทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี เดิมชื่อ “วัดชีปเกิด”
ต่อมาเรียกกันว่า “วัดชีประเสริฐ” จนถึงสมัยพระครูรัตนรังษี (หลวง
พ่อชิน) เป็นเจ้าอาวาส ได้ปรารภถึงชื่อวัดท่ีไม่สามารถ อธิบาย
ความหมายได้จงึ ได้เปลย่ี นเป็น “วัดชีว์ประเสรฐิ ” หมายถึง ชวี ิตทด่ี ีงาม
ภายในศาลาการเปรียญมีธรรมาสน์ไม้แกะสลัก ลวดลายเปรวกนก
แกะสลักภาพเล่าเร่ืองราวรามเกียรติ์ตอนต่างๆ ส่วนรอบบริเวณพระ
อุโบสถยังเป็นที่ชุมชนฝีมือปูนป้ันของครูช่างยุคปัจจุบัน นอกจากนี
ยังมีวัตถุโบราณจัดแสดงอยู่ภายในอาคารไม้เก่าแก่ นักท่องเที่ยว
สามารถเข้าเยี่ยมชมและศกึ ษาส่งิ ของที่มีประวัตยิ าวนานได้
‐ วัดนายาง เดิมช่ือ “วัดสุวรรณอาพาราม” สร้างขึนเมื่อใดไม่ปรากฏแต่
สันนิษฐานว่าสร้างขึนในสมัยอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตังวัด
เม่ือ พ.ศ.2380 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี 2 กันยายน
พ.ศ.2501 นามสร้างและบริจาคท่ีดินไม่ปรากฏนาม ชาวบ้านมัก
เรยี กว่า วดั นายาง เพราะบริเวณทตี่ งั วัดมีตน้ ยางมากจึงเรียกตามสถาน
ท่ีว่า “วัดนายาง” เป็นวัดท่ีเล่ืองลือของชาวเพชรบุรี เพราะวัดนีเคย
เป็นท่ีพานักของหลวงปู่แช่ม ปรมาจารย์สายวิทยาหลวงปู่ศุข
วัดปากคลองมะขามเฒ่า
‐ วัดป้อม ก่อตังเมื่อ พ.ศ.2130 ไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดเป็นผู้สร้าง
แต่มีหลักฐานว่าเดิมถูกทิงร้างจนอาคารชารุดทรุดโทรมต่อมาพระครู
พิพิธคุณากรได้ทาการบูรณะและสร้างอาคารเสนาสนะขึนใหม่ท่ีเดิม
สร้างเมื่อปีพ.ศ.2538 เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย ยกพืนสูง มีปู
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการท่องเทีย่ ว 4-48
ชนียวัตถุ พระพุทธรูปเก่าต่าง และเจดีย์โบราณท่ีมีการสลักลวดลาย
สวยงาม
‐ วัดเพชรพลี เดิมชอ่ื “วดั พริบพลี” สนั นิษฐานวา่ เป็นวดั ท่ี 9 ที่สร้างขึน
ในเมืองไทยท่ีมีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์ยุคแรกของพุทธศาสนา
ในไทย จากจารึกลายสือไท (อักขระไทยโบราณยุคแรก) บนกระเบือง
จารและแผ่นหินทรายที่ขุดได้จากวัดพริบพลีและเมืองโบราณบ้านคูบัว
จังหวัดราชบุรี ท่านเจ้าพระคุณพระราชกวีได้อ่านและเขียนไว้ใน
หนงั สอื วัดเมืองพรบิ พลีเพชรบุรี สรปุ ได้วา่ พุทธศาสนาเขา้ มาสดู่ ินแดน
ไทยสมัยต้นยุคของสุวรรณภูมิ
‐ วัดสนามพราหมณ์ เป็นวัดขนาดเล็ก สายธรรมยุตินิกาย ไม่เป็น
ทท่ี ราบแน่ชัดว่าใครเปน็ ผู้ก่อสร้างและสร้างในปีใด ถูกบรู ณะและตังชื่อ
ใหม่ว่า วัด สามพราหมณ์ปุกะมิตตาราม ในช่วงของพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) มีการความเป็นมาว่า บริเวณที่
สร้างวัดแห่งนี เคยเป็นสนามการทาพิธีของพราหมณ์ ทัง 3 คน อีกทัง
บริเวณดังกล่าวมีทังโบราณสถาน โบราณวัตถุท่ีแสดงให้เห็นว่าเป็น
สถานที่มีความเกี่ยวข้องกับพราหมณ์ จึงเรียกว่า วัดสนามพราหมณ์
ตลอดมา ภายในมีสิ่งที่น่าสนใจ คือ โบสถ์เก่าวัดสนามพราหมณ์
ท่ียังคงความขลังเม่ือเย่ียมชมและมีความประณีตง ดงามทาง
สถาปัตยกรรมแบบจีนผสมกับฝ่ังตะวันตก (สไตล์โคโลเน่ียน) ท่ีควร
อนรุ กั ษ์ไวเ้ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมสบื ช่วั รุ่นชัว่ หลาน
‐ ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเพชรบุรี หลังเก่า ไม่พบหลักฐานว่าสร้างในสมัย
ใดอาคารหลงั เดียวขนาดย่อม และเป็นทสี่ ิง่ สถติ ของเทพเจา้ ผูม้ มี เหศักด์ิ
ดแู ลปกป้องคมุ้ ครองบา้ นเมืองและประชาชน เป็นทเ่ี คารพสักการะของ
ชาวจังหวัดเพชรบุรี ถึงแม้จะอยู่ในแหล่งชุมชนท่ีลับตาคนและทาง
จังหวัดเพชรบุรี ได้จัดสร้างศาลหลักเมืองหลังใหม่เมือปี พ.ศ.2519
ก็ตาม แต่ชาวเมืองเพชรบุรีก็ยังมีความศรัทธาต่อองค์ศาลเจ้าพ่อหลัก
เมอื งหลังเก่าไมเ่ สอื่ มคลาย
ในส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่ง
ทอ่ งเที่ยวโดยศึกษาฐานข้อมลู แหล่งท่องเท่ยี ว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
และนาข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเที่ยว ประเภทการท่องเท่ียว เพื่อวิเคราะห์
ความเหมาะสมและศักยภาพการท่องเที่ยว ด้านแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ (ประเภท
พระราชวัง, วดั ) พบวา่ มี 20 สถานท่ี ที่มคี วามนา่ สนใจดงั นี
‐ พระราชวังไกลกังวล อยู่ห่างจากตัวเมืองหัวหินไปทางทิศเหนือ
ประมาณ 3 กโิ ลเมตร อย่ถู นนเพชรเกษม กโิ ลเมตรท่ี 229
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเท่ียว 4-49
o พระต้าหนักเป่ียมสุข ตึกแบบสแปนิชสูงสองชันพร้อมทังหอ
สูง ท่ีประทับของรัชกาลท่ี 7 และสมเด็จพระนางเจ้าราไพ
พรรณี เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 และสมเด็จ
พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์
o พระต้าหนักน้อย เป็นท่ีประทับแปรพระราชฐานของ สมเด็จ
กรมพระสวัสด์ิฯ และพระองค์เจ้าหญิงอาภรพรรณี พระบิดา
มารดาของสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี โปรดเสด็จไป
ประทับพักผ่อนเม่ือตามเสด็จไปหัวหิน และเคยเป็นท่ีประทับ
ของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
o พระต้าหนักปลุกเกษม เป็นตาหนักโปร่งๆ แบบไทยปน
สมัยใหม่ มีห้องนอนหลายห้องด้านหลัง ตังโต๊ะและเก้าอีหมู่
และใกล้ๆ กันนันมีห้องนาและห้องส้วมชันล่างมีห้องอีกหลาย
ห้องเหมือนกัน สาหรับหม่อมเจ้าหญิงท่ีเป็นโสด ซ่ึงใกล้ชิดใน
ราชสานักโดยเสด็จพระราชดาเนนิ ไปตากอากาศดว้ ย ปัจจบุ ัน
เ ป็ น ท่ี ป ร ะ ทั บ แ ป ร พ ร ะ ร า ช ฐ า น ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
o พระต้าหนักเอิบเปรม และเอมปรีย์ เป็นที่ประทับแปร
พระราชฐานของพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ซึ่งพระ
ตาหนักมีลักษณะชันเดียวคู่ฝาแฝด การก่อสร้างและการวาง
ห้องเครื่องใช้ คล้ายคลึงกันตาหนักฝาแฝดนีเตียเกือบติด
พืนดินซึ่งสร้างเป็นแบบบังกาโลสาหรับตากอากาศชายทะเล
อย่างแท้จรงิ
‐ อนุสรณ์สถานเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์ิ เช่ือกันว่ากรม
หลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์เคยเสด็จมาประทับ ณ ที่แห่งนี เพ่ือพัก
ทอดสมอเรอื รบ จงึ สร้างสมอเรอื จาลองไว้ท่ีพระตาหนักซง่ึ หันหน้าออก
ทะเล บริเวณรอบๆ มีสวนไม้ดอกไม้ประดับ และสานักสงฆ์ นอกจากนี
บนเขาธงชัยยังเป็นท่ีประดิษฐานของ พระมหาธาตุเจดีย์ภักดีประกาศ
หรอื พระมหาเจดีย์เก้ายอด พระปรางคจ์ ตั ุรมุขสูงสามชัน ชาวบา้ นกรูด
ร่วมใจสร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หวั ทรงครองศิริราชสมบัตคิ รบ 50 ปี
‐ พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชการที่ 7 (เขาหินเหล็กไฟ) เขาหินเหล็กไฟ
ตังอยู่ท่ีตาบลหัวหิน ห่างจากตัวเมืองหัวหินไปทางทิศตะวันตก
ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นจุดชมวิวและชมพระอาทิตย์ขึนที่สวยงาม
มากแห่งหน่ึง ซ่ึงสามารถชมวิวได้ 4 ทิศ จุดชมวิวนีสามารถมองเหน็ ตัว
เมือง และอ่าวหัวหิน โดยรอบบนยอดเขาเป็นพืนท่ีราบและผาหินท่ี
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเทยี่ ว 4-50
สวยงาม พร้อมกับมีศูนย์จาหน่ายสินค้าหัตถกรรมพืนเมือง พืนที่
อเนกประสงค์ปลูกพันธุ์ไม้ในวรรณคดี สวนนก ร้านอาหาร เคร่ืองดื่ม
นอกจากนีแล้วยังเป็นท่ีประดิษฐานพระบรมรูปพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ช่วงเวลาท่ีเหมาะในการชมวิว คือ เช้าตรู่และ
ช่วงคา่
‐ พระมหาธาตุเจดีย์ภักดีประกาศ สร้างขึนในปี พ.ศ.2539 เพ่ือให้
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งได้รับการออกแบบ ม.ร.ว.มิตรารณุ
เกษมศรี เป็นสถาปนิกประจาราชสานักและศิลปินแห่งชาติ
โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ได้ทรงมีพระกรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ
พระราชทานนามวา่ พระมหาธาตุเจดยี ์ภักดปี ระกาศ
‐ พลับพลาสถานีรถไฟหัวหิน เอกลักษณ์ของสถานีรถไฟแห่งนีคือ
พลับพลาพระมงกุฎเกล้าฯ เป็นพลับพลาจตุรมุขสร้างขึนในสมัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเดิมมีช่ือว่า พลับพลาสนาม
จันทน์ พลับพลานีมีไว้ในการท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ เสด็จ
ประทับทอดพระเนตรกองเสือป่าและลูกเสอื ท่ัวประเทศทาการฝึกซ้อม
ยุทธวิธีเป็นประจาทุกปีหลังจากสินรัชสมัยของพระองค์ การรถไฟ
แห่งประเทศไทยจึงได้รือถอนนามาเก็บไว้เป็นอย่างดี ต่อมาในปี พ.ศ.
2511 ผู้ว่าการรถไฟฯ ได้เห็นว่าควรนากลับมาปลูกสร้างขึนใหม่ท่ีหัว
หิน เพื่อเป็นที่ประทับขึนและลงรถไฟของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว และได้มีการทาพิธีเปิดพลับพลาซึ่งได้ตงั ช่ือใหม่ว่า พลับพลา
พระมงกุฎเกล้าฯ เมอ่ื วันเสาร์ที่ 6 เมษายน 2517
‐ พิพิธภัณฑ์ทหารราบ (ค่ายธนะรัชต์) พิพิธภัณฑ์ทหารราบ ก่อสร้าง
เม่ือปี พุทธศักราช 2507 เป็นสถานที่เก็บรวบรวมอาวุธ ยุทโธปกรณ์
และเครอ่ื งแต่งกายทหาร ตังแตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ ัน
‐ วัดเขาถ้าคั่นกระได ตังอยู่เชิงเขาบริเวณอ่าวน้อย ก่อนถึงตัวเมือง
ประจวบคีรีขันธ์ มีทางเข้าแยกจากถนนเพชรเกษม กิโลเมตรท่ี 314
เป็นระยะทาง 3 กิโลเมตร ในบริเวณมีถาขนาดเล็กประดิษฐาน
พระพุทธไสยาสน์ ในอดีตถาแห่งนีเป็นสถานที่ซึ่งชาวเรือมักเข้ามา
อาศยั หลบพายฝุ น
‐ วัดถ้าเขาม้าร้อง ภายในถา มีรูปหินย้อยลักษณะคล้ายหัวม้า มีบ่อนา
ศกั ดิ์สิทธ์ิ ซึ่งเปน็ บอ่ นาทน่ี าไปใช้ในงานพระราชพธิ สี าคัญตา่ งๆ นาทบี่ อ่
นาศักดิ์สิทธ์ิแห่งนีจะไม่มีวันแห้งเลย วัดถาม้าร้องแห่งนีมีประวัติเป็น
ทพ่ี กั สงฆม์ าแตโ่ บราณกาล พระสงฆ์ชาวศรลี ังกาและอนิ เดีย ได้เดนิ ทาง
เข้ามาเผยแผ่พุทธศาสนา ในประเทศไทยและประเทศพม่า ใช้เป็น
ที่พักพิง ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้ออกปราบพวกโจรตามหัว
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทยี่ ว 4-51
เมืองต่างๆ ในระหว่างปี พ.ศ.2385- 2387 เจ้าพระยาบดินทร์เดชา
ได้นาทัพมาพักที่หนองหัดไทย วัดเขาถาม้าร้องปรากฏ ว่าม้าของท่าน
เจ้าพระยาบดินทร์เดชาได้หายไป แม้นจะส่งทหารเข้าไปค้นหาอย่างไร
ก็ไม่พบ ได้ยินแต่เสียงม้าร้องเท่านัน ภูเขาลูกนีจึงได้ถูกขนานนามว่า
เขาถามา้ ร้อง
‐ วัดห้วยมงคล เป็นท่ีประดิษฐานรูปเหมือนหลวงพ่อทวดองค์ใหญ่ที่สุด
ในโลก แต่เดิมใชช้ ือ่ วา่ “วดั หว้ ยคต” ตังอยใู่ นชมุ ชนบ้านหว้ ยคต ตาบล
ทับใต้ อาเภอหวั หนิ จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานนามใหม่จากห้วยคต เป็นห้วยมงคล
เน่ืองจากครังที่เสด็จมายังวัดนีได้มีดาริให้สร้างถนนใหม่ จากถนนดิน
เปน็ ถนนลาดยาง โดยพระราชทานนามใหเ้ ชน่ เดยี วกบั ชื่อวดั
‐ วัดอ่าวน้อย (ถ้าพระนอน) วัดอ่าวน้อย (ถาพระนอน) ตังอยู่เชิงเขา
บริเวณอ่าวน้อย ในบริเวณวัดมีถาขนาดเล็กประดิษฐานพระพุทธ
ไสยาสน์ ในอดีตถาแห่งนีเป็นสถานท่ีซ่ึงชาวเรือมักเข้ามาอาศัยหลบ
พายุฝน
‐ ศาลหลักเมอื งประจวบคีรีขนั ธ์ สรา้ งขนึ ในสมยั ร.ต.อานวย ไทยานนท์
ศาลหลักเมืองที่มีความสวยงาม เป็ นศิลปะแบบลพบุรี เมื่อ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภมู ิพลอดุลยเดช ทรงโปรดเกล้าฯใหเ้ สด็จ
พระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินแทน
พระองค์ ให้เปิดศาลหลักเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อวันที่
20 สิงหาคม 2537
‐ อุทยานราชภักดิ์ เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ ตังอยู่ที่ อาเภอหัวหิน
จั ง ห วั ด ป ร ะ จ ว บ คี รี ขั น ธ์ ที่ ตั ง พ ร ะ บ ร ม ร า ช า นุ ส า ว รี ย์ ข อ ง
พระมหากษัตริย์ไทย ในอดีตหลายพระองค์ โดยปัจจุบันมี 7 พระองค์
โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานชื่อว่า “อุทยานราช
ภักดิ์ ” หมายถึง อุทยานท่ีสร้างขึนด้ว ยคว ามจงรั กภักดีต่อ
พระมหากษัตริย์ และเพ่ือเป็นการเทิดทูนและประกาศเกียรติคุณ
สมเด็จพระมหากษัตริย์แห่งสยาม 7 พระองค์ คือ พ่อขุนรามคาแหง
มหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว
‐ หลวงพ่อโต วัดตาลเจ็ดยอด เป็นชื่อท่ีตังตามหมู่บ้าน ตาลเจ็ดยอด
แต่ตัววัดจริงๆ ตังอยู่ใน ตาบลศาลาลัย เหตุที่ตังช่ือน่าจะเป็นเพราะคา
ว่า “ตาลเจ็ดยอด” เป็นชื่อที่มีคนรู้จักซ่ึงเดิมทีมีต้นตาล 7 ยอดจริงๆ
แต่ถูกตัดไประหว่างท่ีสร้างรถไฟสายใต้ ก่อนปี 2500 ด้วยเหตุที่ว่าตาล
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเท่ยี ว 4-52
ต้นดังกล่าวขวางทางรถไฟ ผู้สร้างทางรถไฟไม่ได้ตัดทิงเสียเลยทีเดียว
แตท่ าใหต้ น้ ตาลตายโดยวธิ ธี รรมชาติ จากนันจงึ ตัดทงิ เดิมทวี ัดนีมีฐานะ
เป็นเพียงสานักสงฆ์ ประมาณปี 2500 หลวงตามีเดินธุดงค์มาปักกลด
และตงั เปน็ สานักสงฆ์ ตอ่ มาประมาณ 3 ปี ชาวบา้ นนิมนตห์ ลวงตาอดุ ม
มาเป็นเจ้าสานัก โดยท่านมีความชานาญเร่ืองการดูหมอทานามนต์
รวมทังเป็นที่พ่ึงของชาวบ้านด้านอื่นๆ ทังนีท่านสร้างโบสถ์และศาลา
ไว้อย่างละ 1 หลัง เมรุ 1 หลัง วัดแห่งนีได้ยกเป็นวัดเมื่อปี 2533
จากนันหลวงตาอุดมกส็ กึ ไป 10 ปี และกลับมาบวชใหม่ และจาวัดอยู่ที่
วัดอีกครงั หนึง่
‐ ซอยบิณฑบาตร ซอยบิณฑบาตร หรือถนนข้าวสารหวั หนิ เปน็ ถนนสาย
เล็กๆ ท่ีเป็นท่ีนิยมของนักท่องเที่ยวต่างชาติกลุ่ม backpacker ท่ีนิยม
พักท่ีซอยบิณฑบาตรเพราะมีท่ีพักราคาถูกและยังเป็นแหล่งรวมสถาน
บันเทงิ ยามคา่ คนื สาหรับนักท่องเทยี่ ว
‐ พระพุทธกิติสิริชัย ในอดีตชาวบ้านในท้องถิ่น มีความเดือดร้อนอยู่
เสมอ นายมนัสและนางพุ่ม รอดภัย จึงคิดสร้างสถานปฏิบัติธรรม เพ่ือ
ได้น้อมนาเอาหลักธรรมของพระพุทธเจ้ามาดาเนินการใช้ชวี ิตที่ถูกต้อง
ต่อมาปี 2531 เปลี่ยนสานักปฏิบัติรอดภัยวปิ ัสสนามาเป็นสานักปฏบิ ัติ
ธรรมวดั ทางสายและในปี พ.ศ.2531 เริม่ สรา้ งพระพุทธกิติสริ ชิ ัย
‐ วัดเขาสนามชยั ตังอยบู่ นเขาที่โด่งดงั ในด้านของการเป็นสถานท่ีปฏิบัติ
ธรรม “สานักปฏิบัติวิปัสสนาวิวัฏฏะ มูลนิธิปราณีสาเริงราชย์ ”
เกิดจากการเร่ิมต้นของพระวรวิทย์วรธมโมและคณะ ที่มีความเลื่อมใส
ศรัทธาในพระพุทธศาสนาและการปฏิบัติธรรม จึงสร้างสถานปฏิบัติ
ธรรมเพื่อเผยแพร่แนวทางการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานท่ีถูกต้องตรง
ตามหลักฐานทมี่ อี ย่ใู นไตรปิฎก
‐ วดั หัวหิน สนั นษิ ฐานว่าสร้างขึนในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 โดยมีนายปึง และนางอิ่ม ได้ถวาย
ที่ดินให้มีบรรพชนพร้อมทังชาวหัวหินได้ร่วมใจกันสมทบทุนและร่วม
แรงร่วมกันสร้างวัดหัวหินขึนมา เริ่มแรกเป็นเพียงสานักสงฆ์มีโบสถ์
และศาลาตามแบบอย่างวัดของพุทธศาสนาท่ัวไป หลังจากสร้างวัด
เสร็จก็ได้ขนานนามว่า “วัดอัมพาราม” ซ่ึงภายหลังได้เรียกกันว่า
“วัดแหลมหิน” และจนกลายมาเป็น “วดั หวั หนิ ” จนถงึ ปจั จุบัน
‐ ศาลเจา้ แมท่ ับทมิ ทอง ตงั อยู่บนยอดเขาริมแม่นาปราณบุรี ภายในศาล
ประดิษฐานรูปป้ันเจ้าแม่เทียนโหวเซียบ้อ หรือ เจ้าแม่ทับทิมทองซ่ึงมี
ความศักดส์ิ ิทธิเ์ ป็นทนี่ ับถือของชาวปากนาปราณอยา่ งมาก บนยอดเขา
นี นอกจากการได้มาสักการะเจ้าแม่ทับทิมทองแล้ว ยังสามารถชมวิว
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศักยภาพการพฒั นาการท่องเทย่ี ว 4-53
ทิวทัศน์ที่สวยงามของแม่นาปราณบุรี และชุมชนหมู่บ้านปากนาปราณ
ได้จากจดุ ชมววิ ที่ศาลหลงั จากสกั การะเจา้ แมแ่ ลว้
‐ อุทยานพระจอมเกล้า ณ หว้าก้อ นับเป็นอนุสรณ์สถานที่ได้จารึก
พระนาม คิงมงกุฎ ไว้ในหน้าประวัติศาสตร์ให้โด่งดังปรากฏไปท่ัวโลก
โดยเป็นสถานที่ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 4
เสด็จพระราชดาเนินโดยเรือพระท่ีน่ังอรรคราชวรเดช เพ่ือทรงพิสูจน์
การคานวณสถานท่ีและเวลาการเกิดสรุ ิยุปราคาเตม็ ดวงได้อยา่ งถูกต้อง
ชดั เจนในอดตี ชาวบ้านในท้องถ่นิ มคี วามเดือดร้อนอยเู่ สมอ
‐ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ เป็นสถานที่ท่ีมี
ความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ของวงการวิทยาศาสตร์ของไทย
เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงคาน ว ณไว้
ล่วงหน้าว่าจะมองเห็นสุริยุปราคาเต็มดวงที่หว้ากอแห่งนี และได้เสด็จ
มาทอดพระเนตร พร้อมด้วยนักวิทยาศาสตร์ และทูตานุฑูตชาว
ต่างประเทศ เม่ือวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2411 ภายในบริเวณอุทยาน
วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย อาคารดาราศาสตร์และอวกาศพิพิธภัณฑ์
บ้านหวา้ กอ และในอนาคตจะมี พพิ ิธภณั ฑ์สัตว์นา ท้องฟ้าจาลองสถานี
รถไฟหวา้ กอ เป็นตน้
ในส่วนของจังหวัดชุมพร ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเท่ียว โดย
ศึกษาฐานข้อมูลแหลง่ ท่องเทย่ี ว จากกรมการทอ่ งเท่ียว กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา และนาข้อมูล
ดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเที่ยว ประเภทการท่องเท่ียว เพ่ือวิเคราะห์ความ
เหมาะสมและศักยภาพการท่องเท่ียว ด้านแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ (ประเภทพระราชวัง ,
วัด) พบวา่ มี 17 สถานท่ี ท่มี คี วามน่าสนใจดงั นี
‐ ถา้ เขากระทงิ ถาขนาดเล็ก 2 ถา อยูห่ า่ งกันประมาณ 30 เมตร บริเวณ
ห น้ า ผ า ร ะ ห ว่ า ง ท า ง เ ดิ น เ ช่ื อ ม ถ า ทั ง ส อ ง มี ภ า พ ล า ย เ ขี ย น สี รู ป ท ร ง
เรขาคณิต สันนิษฐานว่าเป็นภาพก่อนประวัติศาสตร์ ประเพณีขึนถา
เป็นประเพณีที่มีการสืบทอดกันมาแต่อดีต นิยมจัดขึนเพื่อเปน็ สริ ิมงคล
แก่ชีวิต หลังการเก็บเก่ียวผลผลิตทางการเกษตรด้วยมีความเช่ือว่า
การทานาหรือกิจกรรมการเกษตรที่ประสบความสาเร็จได้เกิดจากการ
ดลบันดาลของสิ่งศักด์ิสิทธ์ิทังหลาย การขึนถาจึงเป็นพิธีกรรมใช้บูชา
ส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมักเป็นพระพุทธรูปของวัดเพ่ือแสดงความกตัญญูและ
เป็นนิมิตรหมายทดี่ ใี ห้แก่ชีวิต
‐ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร เป็นสถานที่รวบรวมเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์และโบราณวัตถุที่สาคัญของจังหวัดชุมพร สร้างเมื่อปี
2538 อาคารชันล่างเป็นพืนที่ส่วนบริการ มีห้องสมุด ส่วนชันสองแบ่ง
การจัดแสดงออกเป็น 6 หัวข้อ ได้แก่ จังหวัดชุมพร สมัยก่อน
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเที่ยว 4-54
ประวัติศาสตร์ในชุมพร พัฒนาการในช่วงต้นประวัติศาสตร์ สมัย
ประวตั ิศาสตรใ์ นชมุ พร ชมุ พรกับสมยั สงครามโลกครงั ท่ี 2 และวีรกรรม
ของยวุ ชนทหาร
‐ ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ และเรือจ้าลองจักรีนฤเบศร เป็น
ศาลกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
สร้างขึนทดแทนศาลหลังเดิมซ่ึงถูกนาท่วมเสียหาย ตังอยู่หมู่ 3 ตาบล
ปากนาหลังสวน บริเวณริมชายหาดแหลมสน สร้างเป็นรปู เรือรบหลวง
จักรีนฤเบศรซ่ึงลาจริงอยู่ที่ฐานทัพเรือสัตหีบจังหวัดชลบุรี เรือจาลอง
กว้าง 29 เมตร ยาว 79 เมตร สูง 6 เมตร ซ่ึงเป็นขนาดท่ีย่อส่วนจาก
ขนาดเรือจรงิ ประมาณ 2 ใน 5 ภายในเรือเป็นห้องจดั แสดงนิทรรศการ
ต่างๆ โดยชันล่างเป็นห้องประชุมเรือจาลองมีขนาดกว้าง 39 เมตร
ยาว 79 เมตร สูง 18 เมตร และเพื่อเป็นท่ีสักการบูชาของประชาชน
ท่ัวไปสร้างจาก ความศรัทธาของประชาชน โดยเฉพาะคนในชุมชน
ปากนาหลังสวนได้เสียสละทังทรัพย์และแรงงาน ใช้งบก่อสร้าง
ประมาณ 12 ล้านบาท สว่ นบนดาดฟ้าเรือมีรูปป้นั ของกรมหลวงชุมพร
เขตอุดมศักด์ิ มองเห็นทิวทัศน์ของชายทะเลปากนาหลังสวนได้ ท่ีน่ีมัก
มีผู้มาอธิษฐานขอพรอยู่เสมอ โดยจะมีการจุดประทัดและยิงปืนแก้บน
ดว้ ย
‐ วัดแกว้ ประเสริฐ ป็นวดั ทีช่ าวบา้ นเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า วัดเจา้ แม่กวนอิม
โดยวัดนีสร้างขึนบนเนินเขาที่อยู่ริมชายทะเล ที่มองเห็นทิวทัศน์ของ
แผ่นดินเว้าแหว่งประดุจแหลมที่ย่ืนลาเข้าไปในทะเลปะทิวได้อย่าง
สวยงามราวภาพวาด ทงั นตี วั วดั ได้รับการพัฒนาเรอื่ ยมา ซ่งึ หลวงพอ่ จง
เจ้าอาวาสวัดนันได้สร้างสิ่งก่อสร้างทังแบบไทยและจีน ไว้มากมาย
เพ่ือให้ผู้คนได้สักการะ โดยเฉพาะพระนาคปรก 9 เศียร และ
พระโพธิสัตว์กวนอิมแห่งทะเลใต้ นอกจากนี ภายในยังมีโบสถ์สีทอง
รูปปั้นพระอรหันต์ไทยและจีน รูปป้ันกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
รวมทังพิพิธภัณฑ์ของโบราณและภาพเขียนฝีมือประณีต สานักสงฆ์
แก้วประเสริฐแห่งนี สันนิษฐานว่าสร้างเม่ือประมาณ ปีพ.ศ.2515
นับเป็นเวลาประมาณ 32 ปีเศษ เดิมท่ีน่ีชื่อสานักสงฆ์ควนเจริญ หรือ
สานกั สงฆ์ท่าแอต ต่อมาพระอาจารย์บรรจง ธมฺมรโส ได้กระทาพิธีบูชา
เทวาสาธุการ และปรึกษาหารือกับลูกศิษย์หลายฝ่าย ที่ต่างเห็นชอบ
ตรงกนั วา่ สมควรเปลย่ี นชื่อจากสานักสงฆค์ วนเจริญ เป็นสานักสงฆ์แก้ว
ประเสริฐ เพื่อให้เหมาะสมกับความดีความงามของผู้ที่มาประพฤติ
ปฏิบัติธรรม ที่มีจิตใจขาวสะอาดบริสุทธิ์ผุดผ่องเหมือนแก้วใสสะอาด
และสง่างาม สมดงั ชอ่ื ว่า แก้วประเสริฐ
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเที่ยว 4-55
‐ วัดถ้าขวัญเมือง ประวัติเดิม ขึนทะเบียนเป็นวัดเมื่อ พ.ศ.2449 โดยมี
กานันขุนพรหมแก้ว ทองคา และผู้ใหญ่สอน จันทร์แก้ว เป็นผู้ถวาย
ท่ีดิน พระธรรมรามคณี สุปรีชาสังฆปาโมกข์ (หนู อชิโต) วัดโตนด เจ้า
คณะจังหวัดหลังสวน (ธรรมยุต) เป็นผู้รับมอบจานวน 20 ไร่ และไป
สอบถามโยมลุงพรหม (ซ่ึงปัจจุบันได้เสียชีวิตไปแล้วเม่ืออายุ 97 ปี)
ซึ่งเป็นเจ้าของร้านขายยา อยู่ท่ีตลาดสวี ตาบลนาโพธ์ิ อาเภอสวี
จังหวัดชุมพร พอได้เค้าว่าเมื่อประมาณ พ.ศ.2443 นันมีเจ้าอาวาส
(ผู้ดูแล) 1 องค์ ชื่อ พ่อหลวงพันธ์ พ่มุ คง เป็นเจ้าอาวาสอยู่ แตไ่ ม่ทราบ
ว่าเป็นเจ้าอาวาสอยู่กป่ี ี กม็ ีพ่อหลวงแดง ฉายา ชิตมาโร เป็นเจ้าอาวาส
4-5 ปี ต่อจากพ่อหลวงแดงมีพระมาจากไหนไม่ทราบ มาอยู่วัดถานี
มีชื่อมาตังแต่เดิม วัดถาขวัญเมือง ไม่ได้ตังช่ือตามตระกูล ของตระกูล
ขวัญเมอื งท่ีมีอยู่ใกล้ๆ วัดตระกลู นคี งตังขึนภายหลงั โดยเอาชื่อวัดมาตัง
เปน็ ชือ่ สกุล
‐ วดั ถ้าเขาเกรียบ ตงั อยูท่ ่ี ตาบลบา้ นควน อาเภอหลังสวน ตามเส้นทาง
สายชุมพร-หลังสวน ประมาณ 80 กิโลเมตร หรือประมาณ 10
กิโลเมตรจากอาเภอหลังสวน ถาเขาเกรียบเป็นถาท่ีมีช่ือเสียงอีกแห่ง
หนง่ึ มบี ันไดขึนถึงปากถา 370 ขัน ภายในถามหี ินงอกหินย้อยสวยงาม
มาก ส่วนบริเวณเชิงเขาเป็นทีต่ งั ของสานักสงฆ์ถาเขาเกรียบ
‐ วัดถ้าทิพย์ปรีดา ถาทิพย์ปรีดาเป็นภูเขาหินมีลาธารไหลผ่านด้านหน้า
บริเวณภูเขามีถาน้อยใหญ่ประมาณ 40 ถา แต่ละถามีความงดงามบาง
ถามีแอ่งนาอยภู่ ายในดว้ ย
‐ วัดเทพเจริญ (ถ้ารับร่อ) ตังอยู่หมู่ที่ 4 ตาบลท่าข้าม วัดเทพเจริญ
ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานของชาติ เมื่อวันที่ 27 กันยายน
พ.ศ.2479 วัดตังอยู่เชิงเขารับร่อ ซึ่งเป็นท่ีตังของเมืองโบราณอุทุมพร
อนั เปน็ เมอื งท่ารกั ษาด่านทางขา้ มคอคอดมลายู มีการสร้างพระพุทธรูป
หลวงปู่หลักเมืองไว้ในถา และพระพุทธรูปทรงเคร่ืองปางมารวิชัย 577
องค์ ถัดมาคือถาอ้ายเตย์ สภาพภายในถูกดัดแปลงเพ่ือใช้เป็นสถานที่
วิปสั สนากรรมฐาน มีภาพเขียนสีพระพุทธรูปปางไสยาสน์อยู่บนผนังถา
คาดว่าเป็นศิลปะสมัยอยุธยา แต่ยังวาดไม่เสร็จ และมีถาไทร ซึ่งเดิม
เป็นที่พานักของเจ้านายชันผู้ใหญ่คราวสร้างศาลหลักเมือง งดงามด้วย
หนิ งอกหินย้อย
‐ พระบรมธาตุสวี ถ้ารับร่อ พระบรมธาตุสวี พระธาตุเจดีย์หนึ่งใน
“จตุธรรมธาตุ” ส่ิงศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองทางภาคใต้ พระธาตุเก่าแก่
องค์ใหญ่อายุกว่า 700 ปี ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และเป็น
หนงึ่ ในสถานท่ที อ่ งเที่ยวตอ้ งหา้ มพลาด
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเท่ียว 4-56
‐ วัดพระธาตุมุจลินทร์ พระธาตุมุจลินทร์ เป็นพระธาตุเก่าแก่ เดิมเป็น
วั ด ร้ า ง อ ยู่ ใ น ป่ า ไ ม่ มี ผู้ ใ ด ท ร า บ ป ร ะ วั ติ แ ล ะ ไ ม่ มี ห ลั ก ฐ า น ป ร า ก ฏ
องค์พระธาตุตังอยู่บนเนินดิน มีคูนาล้อมรอบติดกับคลองตะโก
ลักษณะองค์พระธาตุ เป็นเจดีย์ก่ออิฐฉาบปูนทรงระฆังย่อมุมไม้สิบหก
คาดว่าก่อสร้างขึนในสมัยอยุธยาตอนปลายถึงรัตนโกสิน ทร์ต อนต้น
สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลศิลปะศรีวิชัย เป็นท่ีเคารพสักการะของ
ประชาชนในท้องถ่ิน ชาวทุ่งตะโกได้สืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณี
นมัสการพระธาตุในวันสงกรานต์สืบต่อมาช้านาน ปัจจุบันทรุดโทรม
มาก นอกจากนียังมีความเช่ือกันว่ามีความศักด์ิสิทธ์ิ คณะมโนราห์
คณะใดทเ่ี ดินทางผา่ นจะต้องหยดุ ราถวายมือทุกครัง
‐ วัดสามแก้ว เป็นวัดสายธรรมยุติกนิกาย ช่ือวัดสามแก้ว คนเก่าแก่เล่า
กนั ตอ่ มาว่า ย้อนหลงั ไปประมาณ 70-80 ปี บริเวณภูเขาแหง่ นกี ลางคืน
ปรากฏเป็นดวงแก้วรัศมีสีนวล 3 ดวงลอยขึนจากยอดเขาช้าๆ แล้ว
กลั บห าย สู่ ท้อง ฟ้าป ร า กฏ การ ณ์ เช่น นี ได้ ปร ากฏ ขึน เป็ น ปร ะ จ า จ น
ชาวบ้านถือเป็นเร่ืองปกติ และเช่ือว่าดวงแก้วทังสามดวงนัน คือ
สญั ลกั ษณ์ของพระรตั นตรยั หรือแกว้ วเิ ศษ 3 ประการ ทย่ี งั ความอย่เู ย็น
เปน็ สุขของชาวบ้านในหมบู่ า้ นของตน
‐ วัดสุวรรณคูหาวารีวง (วัดถ้าโพงพาง) วัดสุวรรณคูหาวารีวง หรือวัด
ถาโพงพาง มีที่ตังอยู่ในเขตพืนท่ีดูแลของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ
ชุมพร ด้านหน้าของวัดติดกับทะเล ส่วนด้านหลังติดหน้าผา จึงทาให้
ทัศนียภาพภายในวัดมีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ นอกจากนี
พระครูบุญมา ปภากโร เจ้าอาวาสยังเป็นท่ีรู้จัก ได้รับความเคารพของ
คนในจังหวัดชุมพร และจังหวัดใกล้เคียง ภายในวัดยังมีสิ่งท่ีน่าใจ เช่น
วัตถุมงคล รูปหลอ่ แบบโบราณ เหรยี ญจอบ ปรกใบมะขาม เป็นตน้
‐ ศาลกรมหลวงชุมพร บ้านหัวเขาถ่าน ศาลเสดจ็ ในกรมหลวงชมุ พรหัว
เขาถ่าน ที่ประดิษฐานของพลเรือเอกพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า
อาภากรณเ์ กยี รตวิ งศ์ กรมหลวงชมุ พรเขตอุดมศักด์ทิ ี่ทุกคนต้องแวะมา
สกั การะเพื่อความเปน็ สิริมงคล อีกหนง่ึ สถานท่ีศักด์สิ ิทธ์ิที่เปิดให้บุคคล
ทั่วไปได้เข้ามาบูชา สถานที่แห่งนีตังอยู่บนภูเขาสูง ทาให้สามารถ
มองเห็นวิวทะเลโดยรอบ ทัศนียภาพที่สวยงาม และถือเป็นอีกหนึ่งจุด
ชมววิ ทน่ี ่าสนใจของชุมพร
‐ ศาลเสด็จกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิและเรือรบหลวง อนุสรณ์
สถานของพลเรือเอก พระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ
ผู้ทรงสถาปนากองทัพเรือสมัยใหม่ให้กับประเทศไทย ตังอยู่บริเวณ
หาดทรายรี อนุสรณ์สถานประกอบด้วยศาลเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ
หลังเก่าและหลังใหม่ท่ีสร้างขึนบนเนินเขา และยังมีเรือรบหลวงชุมพร
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศักยภาพการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 4-57
เรือตอปิโดขนาดใหญ่ ซ่ึงปลดประจาการและกองทัพเรือได้มอบให้มา
ตังไวัที่หาดทรายรเี พื่อเปน็ อนุสรณ์ของกรมหลวงชมุ พร บริเวณหาดมีที่
พัก ร้านอาหารไว้ให้บริการ
‐ ศาลหลักเมืองชุมพร เป็นที่ประดิษฐานเสาหลักเมือง ตังอยู่หน้า
สานักงานเทศบาลเมืองชุมพร การจัดสร้างศาลหลักเมืองชุมพร
เพ่ือเป็นการแสดงความกตัญญตุ าคุณแก่แผ่นดิน และยังเป็นสัญลักษณ์
ของการสรา้ งบ้านเมอื ง
‐ อนุสาวรีย์ยุวชนทหารคร้ังสงครามโลกครั้งที่สอง สร้างขึนเพื่อเป็น
ท่ีระลึกถึงวีรกรรมของทหารกองพันท่ี 8 ตารวจและยุวชนทหารหน่วย
ที่ 52 โรงเรียนศรียาภัย และประชาชนที่รวมกาลังกันประทะต่อสู้กับ
กองกาลังญ่ีปุ่นท่ียกพลขึนบกท่ีหาดคอสน ตาบลท่ายาง อาเภอเมือง
จังหวัดชุมพร ในสมัยสงครามโลกครังที่ 2 แล้วยกกาลังเคลื่อนเข้าสู่ตัว
เมืองชุมพรเมอ่ื วันท่ี 8 ธนั วาคม 2484
‐ พระธาตุสวี วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองจังหวัดชุมพร ภายในมีโบราณ
สถานที่สาคัญคือ “องค์พระธาตุสวี” บรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่ใน
องค์พระเจดีย์ ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิอันเป็นที่เคารพบูชาของคนชุมพรและคน
ในจังหวัดใกล้เคียง ลักษณะสถาปัตยกรรมของพระธาตุสวีเป็นทรง
ระฆังคว่า มีลักษณะเดียวกับพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช
แต่ต่างกันท่ีมีขนาดเล็กกว่า ปัจจุบันองค์พระธาตุได้มีการบูรณะใหม่ใช้
กระเบืองปิดองค์พระเจดีย์ แต่ยังคงรูปแบบเดิม พร้อมกับมีการสร้าง
กาแพงแก้วรอบองค์พระธาตุ ทุกช่วงงานเทศกาลสงกรานต์ จะมีการ
จดั งานแหผ่ ้าหม่ พระธาตสุ วี เปน็ ประจาทุกปี
ในส่วนของจังหวัดระนอง ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเที่ยว โดยศึกษา
ฐานข้อมูลแหล่งท่องเท่ียว จากกรมการท่องเท่ียว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา และนาข้อมูล
ดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเท่ียว ประเภทการท่องเท่ียว เพื่อวิเคราะห์ความ
เหมาะสมและศักยภาพการท่องเที่ยว ด้านแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ (ประเภทพระราชวัง,
วดั ) พบว่ามี 12 สถานที่ ทม่ี คี วามน่าสนใจดังนี
‐ จวนเจ้าเมืองระนอง สร้างในสมัยพระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี
(คอซเู้ จียง) ภายในจวนเจ้าเมือง เปน็ ที่เก็บขอ้ มลู ทางประวัติศาสตร์ของ
ต้นตระกูล ณ ระนอง ซึ่งมีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ควบคู่กับ
ความเจริญเตบิ โตของเมืองระนอง
‐ พระราชวังรัตนรังสรรค์ (จ้าลอง) พระราชวังรัตนรังสรรค์ (จาลอง)
เป็นพระราชวังท่ีจัดสร้างขึนเพื่อเป็นอนุสรณ์การเสด็จประทับแรม
จังหวัดระนองของพระมหากษัตริย์ 3 พระองค์ ได้แก่ พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-58
และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสถานท่ีท่องเที่ยว
สาคัญของจงั หวัดระนอง
‐ วัดสุวรรณคีรีวิหาร (วัดหน้าเมือง) เป็นวัดเก่าแก่อายุกว่าร้อยปี
และเป็นพระอารามหลวงชันตรีชนดิ สามัญแหง่ แรกในจงั หวดั ระนองใน
วดั มเี จดียศ์ ลิ ปะพม่าสงู 10 เมตร มอี ายกุ วา่ 70 ปี สร้างโดยชาวพม่าใน
พระอโุ บสถมีพระพุทธรูปยนื ทรงเครื่องลวดลายงดงามมากเปน็ ทเ่ี คารพ
สกั การะของชาวเมืองระนอง
‐ วัดบ้านหงาว เรมิ่ ก่อตังเปน็ ทพี่ กั สงฆ์มาตังแต่ปี พ.ศ.2500 โดยในปนี ัน
มีพระธุดงค์ทมี่ อี ายุพรรษามากรปู หนึ่ง ทา่ นธดุ งค์มาจากจงั หวดั ปัตตานี
มีชื่อว่า หลวงพ่อเขียด ไม่ทราบนามฉายาของท่านมาปักกรดโปรดสตั ว์
อยูท่ บี่ ริเวณสถานอี นามัยตาบลหงาวในปัจจบุ ัน เนื่องจากตาบลหงาวไม่
มวี ัดมากอ่ น ชาวบา้ นมคี วามเลอ่ื มใสศรัทธาต่อพระพุทธศาสนามาก จงึ
พากันไปนมัสการ ทาบุญ ฟังธรรมกันมาก ต่อมาคุณแม่ลาไย สกุลสิงห์
คหบดีในตาบลหงาวอุทิศที่ดินจานวน 2 ไร่ สร้างเป็นพ่ีพักสงฆ์ หลวง
พ่อเขียด รับนิมนต์และย้ายไปปักกรดในท่ีดินท่ีคุณแม่ลาไยอุทิศให้คือ
บริเวณที่ตังวัดปัจจุบัน เนื่องจากหลวงพ่อเขียดเป็นพระธุดงค์ชอบ
ความสงบวิเวก
‐ วัดป่าชัยมงคล เป็นสถานท่ีปฏิบัติธรรมอีกแห่งหนง่ึ ของจังหวัดระนอง
แวดล้อมไปด้วยสวนป่าธรรมชาตแิ ละพันธุ์ไม้พืนเมืองที่มีความร่มร่ืนซึ่ง
เป็นการท่องเที่ยวแนวพุทธ ภายในบริเวณวัดมีศาลาอาภากร ซ่ึงเป็นท่ี
ประดิษฐานรูปปั้นของกรมหลวงชุมพรเขตอดุ มศักดิ์
‐ วัดวารีบรรพต เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ท่ีตังอยู่บน
เนินเขา ล้อมรอบไปด้วยภูเขา สร้างโดยหลวงพ่อด่วน ถามวโร ท่าน
เป็นพระธุดงค์ท่ีมาจากจังหวัดสงขลาจนชาวบา้ นเล่ือมใสและศรัทธาใน
ตัวท่านจึงได้พากันนิมนต์ท่านให้จาพรรษา ณ ท่ีแห่งนี ต่อมานายไป๋
จุลเขต ติดต่อขอใช้ท่ีดินเพื่อสร้างวัด ได้รับอนุญาตเม่ือปี พ.ศ.2514
และพัฒนามาเป็นลาดับ ชาวบ้านเรียก “วัดบางนอน” ตามช่ือบ้าน
ภายในเป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ท่ีใหญ่ท่ีสุดในภาคใต้
ด้านล่างของวัดเป็นที่ตังของมหาทุติยเจดีย์ศรีบรรพต ซึ่งเป็นเจดีย์ที่มี
รูปทรงคล้ายกับทางพม่า เน่ืองจากวัดนีเป็นที่ศรัทธาของชาวพม่าที่
อาศัยอยู่ในระนอง จึงมีพระพม่า และช่างฝีมือของพม่ามาช่วยทาการ
สร้างเจดีย์นี นักท่องเท่ียวท่ัวไปสามารถชมความสวยงามของ
การสันสรา้ งจากฝีมอื อมนุษย์
‐ วัดหาดส้มแป้น เป็นที่ตังของเจดีย์ทรงหกเหล่ียมอายุมากกว่า 100 ปี
และศาลาท่ีประดิษฐานรูปเหมือนหลวงพ่อคล้ายซ่ึงเป็นพระภิกษุ
ที่ประชาชนภาคใต้เคารพนับถือมาก ศาลาที่ประดิษฐานรูปเหมือน
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเทีย่ ว 4-59
หลวงพ่อคล้ายซึ่งเป็นพระภิษุที่ประชาชนภาคใต้เคารพนับถือมากและ
เป็นแหล่งที่อาศัยของ ปลาพลวง ซึ่งตังอยู่คลองหน้าวัดหาดส้มแป้น
เปน็ จานวนมาก
‐ ศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร. ศิลาสลักพระปรมาภิไธยย่อ
อยู่ที่บ้านปากจ่ัน อาเภอกระบุรี เป็นศิลาสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร.
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคราวเสด็จประทับ
แรม ที่พลับพลาดอนนาพระ ซึ่งเป็นท่ีตังโรงเรียนปากจ่ันวิทยาใน
ปัจจุบัน เม่ือ วันท่ี 21 เมษายน พ.ศ.2433 และพระปรมาภิไธยย่อ
ภ.ป.ร. และ ส.ก. ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน
และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระนามาภิไธย
ย่อ ส.ธ. ของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีด้วย
เม่อื คราวเสดจ็ เย่ียมราษฎรทอ่ี าเภอกระบรุ ี พ.ศ.2502
‐ สุสานเจ้าเมืองระนอง เป็นที่ฝังศพของพระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี
(คอซู้เจียง) เจ้าเมือง ระนองคนแรก บริเวณ สุสานซึ่งเป็นท่ีดินท่ีได้รับ
พระราชทานจากรัชกาลที่ 5 ตงั อยู่บนเนินเขาขนาดเลก็ หันหน้าไปทาง
ทิศใต้ บริเวณลานกว้างหน้าสุสานปุศิลาขึนไปจนถึงสุสานด้านข้างทัง
สอง เป็นที่ตังตุ๊กตาหินโบราณ ซึ่งนามาจากประเทศจีนในสมัย
ที่เจา้ เมอื งระนองยังมีชีวิตอยู่ ถดั มาเป็นเสาหนิ แกรนติ 2 เสา ดา้ นหน้า
สุสาน บริเวณรมิ ถนนมปี า้ ยหนิ แกรนิตจารึกประวัติความเป็นมาและคา
สรรเสริญเกียรติคุณของพระยาดารงสุจริต มหิศรภักดี (คอซู้เจียง)
อยดู่ ว้ ย
‐ หอพระเก้าเกจิ พระราชวังรัตนรังสรรค์ (จาลอง) เป็นท่ีตังของหอพระ
เก้าเกจิ สิ่งศักด์สิทธิ์ที่ชาวระนองนิยมเดินทางมากราบไว้ หอพระเก้า
เกจิ สร้างขึนเมื่อปี พ.ศ.2525 ในปีเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ
200 ปี โดยเป็นหอที่ประดิษฐานรูปเหมือนของพระเกจิอาจารย์ช่ือดัง
ของภาคใต้ ได้แก่ หลวงพ่อจันทร์ หลวงพ่อนุ้ย หลวงพ่อรื่น
หลวงปู่ทวด หลวงพ่อเบียว หลวงพ่อติ๋ว หลวงพ่อลอย หลวงพ่อน้อย
และหลวงพอ่ บรรณ
‐ แหลง่ ประวตั ิศาสตร์สงครามโลก เปน็ สถานทส่ี าคัญทางประวตั ิศาสตร์
ใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดี เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้สมัย
ประวัติศาสตร์ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ และเป็นสถานท่ีชมหัวรถ
จกั ร และเรือรบโบราณสมยั สงครามโลก
‐ อนุสาวรีย์คอซูเจียง ตังอยู่หน้าเทศบาลเมืองระนอง คอซูเจียง
เป็นเจ้าเมืองระนองคนที่ 2 ซ่ึงเป็นผู้บุกเบิกเหมืองแร่ดีบุก สถานที่แห่ง
นีเป็นที่เคารพและนับถือของชาวจังหวัดระนอง ภายในบริเวณยังเป็น
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเทย่ี ว 4-60
ลานกว้าง เพื่อนักท่องเท่ียวและผู้ทีเดินทางมาสักการะอนุสรณ์คอซู
เจยี งได้พกั ผ่อน
2.3) แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วเพอ่ื นนั ทนาการ (Recreational Attraction)
การศึกษาพืนท่ีแหล่งท่องเท่ียวเพื่อนันทนาการ (Recreational Attraction) ชายฝ่งั
ทะเลตะวันตก โดยมีพืนท่ี 4 จังหวัด คือ จังหวัดเพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร และจังหวัด
ระนอง ได้ทาการศึกษาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ จานวน 3 ด้าน คือ (1) แหล่งท่องเท่ียว
โครงการในพระราชดาริ (2) แหลง่ ท่องเที่ยวท่มี นษุ ยส์ รา้ งขนึ และ (3) แหลง่ ท่องเท่ยี วชุมชน
2.3.1) แหลง่ ท่องเที่ยวโครงการในพระราชด้าริ
ในส่วนของจังหวัดเพชรบุรี ได้ทาการศึกษาโครงการในพระราชดาริ
ซึ่งป็นโครงการท่ีเกิดจากพระราชประสงค์ของพระมหากษัตริย์และบรมวงศานุวงษ์ พระองค์ทรงได้
ทราบถงึ ความเดือดร้อนของราษฎรและเกษตร จงึ ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ โครงการต่างๆ นามา
บรรเทาและให้ความช่วยเหลือ จากการศึกษาพบจะมีโครงการพัฒนาด้านแหล่งนา จานวน 78
โครงการ โครงการพฒั นาดา้ นการเกษตร จานวน 6 โครงการ โครงการพัฒนาดา้ นส่งิ แวดล้อม จานวน
12 โครงการ โครงการพฒั นาดา้ นการส่งเสรมิ อาชีพ จานวน 9 โครงการ โครงการพฒั นาดา้ นสวสั ดิการ
สังคม/ส่ือสาร จานวน 2 โครงการ และโครงการพัฒนาแบบบูรณาการและโครงการพัฒนาด้านอื่นๆ
จานวน 2 โครงการ
โครงการพฒั นาดา้ นแหลง่ น้า
1) โครงการฝายดอยขนุ ห้วย ตาบลเขาใหญ่อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบุรี
2) ฝายไร่มะมว่ ง ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี
3) อ่างเก็บนาดอนขนุ ห้วยตาบลดอนขุนห้วย อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี
4) อ่างเก็บนาไร่มะมว่ ง ตาบลดอนขุนหว้ ย อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
5) อา่ งเกบ็ นาโป่งทะลุ ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี
6) อา่ งเก็บนาหบุ กะพง ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี
7) อ่างเกบ็ นาห้วยยาง ตาบลท่าคอย อาเภอท่ายาง จังหวดั เพชรบรุ ี
8) อา่ งเก็บนาห้วยวงั ยาว ตาบลวงั ยาว อาเภอท่ายาง จงั หวัดเพชรบรุ ี
9) อ่างเก็บนาห้วยทราย (หุบกระพง) ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบุรี
10) อ่างเกบ็ นาหว้ ยยายไพร ตาบลแกง่ กระจาน อาเภอแกง่ กระจาน จังหวดั
เพชรบรุ ี
11) อา่ งเกบ็ นาหว้ ยใหญ่ ตาบลทบั คาง อาเภอเขาย้อย จงั หวัดเพชรบรุ ี
12) อ่างเกบ็ นาหว้ ยพุน้อย ตาบลทบั คาง อาเภอเขายอ้ ย จงั หวัดเพชรบรุ ี
13) อา่ งเกบ็ นาหว้ ยหิ่ง ตาบลหนองปรง อาเภอเขายอ้ ย จังหวัดเพชรบุรี
14) อ่างเกบ็ นาห้วยหนองยาว ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี
15) อา่ งเกบ็ นาวงั ยาว ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบรุ ี
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-61
16) อ่างเก็บนาห้วยดิน 1 ตาบลกลัดหลวง อาเภอท่ายาง จังหวดั เพชรบุรี
17) ฝายบ้านอ่างหิน ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี
18) ก่อสร้างอ่างห้วยสามเขา ตาบลกลัดหลวง อาเภอท่ายาง จังหวัด
เพชรบุรี
19) อ่างเก็บนากระหร่าง 3 ตาบลป่าเด็ง อาเภอแก่งกระจาน จังหวัด
เพชรบรุ ี
20) อ่างเก็บนาบ้านพุสวรรค์ ตาบลวังจันทร์ อาเภอแก่งกระจาน จังหวัด
เพชรบุรี
21) อ่างเก็บนาบ้านสวรรค์ ตาบลวังจันทร์ อาเภอแก่งกระจาน จังหวัด
เพชรบรุ ี
22) อ่างเก็บนาห้วยทา่ ชา้ ง ตาบลห้วยท่าชา้ ง อาเภอท่ายาง จงั หวัดเพชรบุรี
23) อ่างเก็บนาบ้านหนองไก่เอน ตาบลห้วยลึก อาเภอบ้านลาด จังหวัด
เพชรบรุ ี
24) อ่างเกบ็ นาบา้ นลินช้าง ตาบลยางนากลัดเหนือ อาเภอหนองหญา้ ปล้อง
จงั หวดั เพชรบรุ ี
25) อ่างเก็บนาบ้านเขาบันได ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอหนองหญ้า
ปลอ้ ง จังหวัดเพชรบุรี
26) อ่างเก็บนาห้วยหินลาด ตาบลห้วยแม่เพรียง อาเภอแก่งกระจาน
จังหวดั เพชรบุรี
27) อ่างเก็บนาห้วยสามยอด ตาบลห้วยแม่เพรียง อาเภอแก่งกระจาน
จงั หวดั เพชรบรุ ี
28) อ่างเก็บนาห้วยป่าแดง ตาบลป่าเด็ง อาเภอแก่งกระจาน จังหวัด
เพชรบรุ ี
29) ฝายทดนาห้วยป่าแดง ตาบลป่าเด็ง อาเภอแก่งกระจาน จังหวัด
เพชรบุรี
30) อา่ งเก็บนาห้วยแก้ว ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี
31) อ่างเกบ็ นาหว้ ยสงสัย ตาบลเขากระปกุ อาเภอทา่ ยาง จงั หวัดเพชรบุรี
32) อ่างเก็บนาบ้านหนองโรง ตาบลกลัดหลวง อาเภอท่ายาง จังหวัด
เพชรบุรี
33) ฝายห้วยยาง ตาบลท่าคอย อาเภอท่ายาง จงั หวัดเพชรบุรี
34) อ่างเก็บนาบ้านหนองไทร ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบรุ ี
35) อา่ งเกบ็ นาพุหวาย ตาบลหว้ ยทรายเหนือ อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี
36) จัดหานาเพิ่มเติมพืนท่ี ดอนขนุ ห้วย 1 และ 2 ตาบลดอนขนุ หว้ ย อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบุรี
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว 4-62
37) อ่างเก็บนาบ้านหนองเอือง ตาบลไร่ใหม่พัฒนา อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบุรี
38) อ่างเกบ็ นาหนองเอืองและโป่งมะกอก ตาบลไรใ่ หมพ่ ัฒนา อาเภอชะอา
จังหวดั เพชรบรุ ี
39) อ่างเกบ็ นาเข้าาดนิ 2 ตาบลเขากระปุก อาเภอทา่ ยาง จังหวดั เพชรบุรี
40) อ่างเก็บนาห้วยตะแปดและระบบส่งนา ตาบลห้วยทรายเหนือ อาเภอ
ชะอา จังหวัดเพชรบุรี
41) อ่างเก็บนาหนองไทร ตาบลห้วยทรายเหนือ อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบุรี
42) อา่ งเกบ็ นาเขากระปุก ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
43) ระบบท่อจ่ายนาเขาเสวยกะปิ ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบรุ ี
44) เครือข่ายอ่างเก็บนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ตาบลหนองพลับ
อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตาบลไร่ใหม่พัฒนา ตาบลสาม
พระยา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบรุ ี
45) คลองเปิดและท่อผันนาจาก อ่างห้วยตะแปด-อ่างห้วยทราย (ศูนย์ฯ
ห้วยทรายฯ) จงั หวดั เพชรบรุ ี
46) ท่อผันนาจากอา่ งทงุ่ ขาม-อา่ งหว้ ยตะแปด จังหวัดเพชรบรุ ี
47) ท่อผันนาจากอ่างห้วยตะแปด-อ่างห้วยทราย (หุบกระพง) จังหวัด
เพชรบรุ ี
48) ทอ่ ผันนาจากอ่างหว้ ยไทรงาม-อ่างทุ่งขาม จงั หวัดเพชรบุรี
49) ศกึ ษาวจิ ยั ต่อเนื่องเร่ืองการบริหารจัดการนาโครงการเครือข่ายอ่างเก็บ
นา ตาบลหนองพลับ อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตาบลไร่
ใหม่พัฒนา ตาบลสามพระยา ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบุรี
50) ท่อผันนาจากอ่างห้วยตะแปด-ห้วยทราย ตาบลสามพระยา อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบุรี
51) ปรับปรุงระบบส่งนาภูเขา ป่าเขาเสวยกะปิ ตาบลสามพระยา อาเภอ
ชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี
52) ระบบส่งนาให้กับราษฎรหมู่บ้านไทยพุทธ ตาบลสามพระยา อาเภอ
ชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี
53) ปรับปรุงท่อลอดบริเวณขอบอ่างเก็บนาห้วยตะแปด ศูนย์ห้วยทรายฯ)
ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบุรี
54) ปรับปรุงระบบระบายนาหมู่บ้านไทยพุทธ ตาบลสามพระยา อาเภอ
ชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี
55) อ่างเกบ็ นาทุ่งขาม ตาบลไร่ใหมพ่ ัฒนา อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเท่ียว 4-63
56) อ่างเก็บนาห้วยไม้ตาย ตาบลไร่ใหม่พัฒนา อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบรุ ี
57) อา่ งเกบ็ นาห้วยทราย (ศูนย์ห้วยทรายฯ) ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา
จงั หวัดเพชรบรุ ี
58) จัดหานาสนับสนุนสวนสัตว์เปิด เขาเตาปูน ตาบลสามพระยา อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
59) แก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดเพชรบุรี ตาบลท่าคอย อาเภอท่ายาง
จังหวดั เพชรบรุ ี
60) แก้ไขปัญหานาท่วมขังจังหวัดเพชรบุรี ตาบลแหลมผักเบีย อาเภอบ้าน
แหลม จังหวัดเพชรบุรี
61) อ่างเก็บนาห้วยแม่ประจันต์ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ บ้านจะโปรง
ตาบลหนองหญา้ ปล้อง อาเภอหนองหญ้าปลอ้ ง จงั หวัดเพชรบุรี
62) อ่างเก็บนาผานาหยด พร้อมระบบส่งนา บ้านพุตูม ตาบลห้วยลึก
อาเภอบา้ นลาด จังหวดั เพชรบุรี
63) อา่ งเก็บนาอา่ งหนิ ตาบลหว้ ยทรายเหนอื อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี
64) อ่างเก็บนาห้วยเกษม ตาบลยางนากลัดเหนือ อาเภอหนองหญ้าปล้อง
จงั หวัดเพชรบรุ ี
65) สบู นาไร่สะท้อน ตาบลห้วยข้อง อาเภอบ้านลาด จังหวดั เพชรบรุ ี
66) เข่ือนป้องกันนาทะเลบริเวณพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ตาบลชะอา
อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบุรี
67) โครงการศึกษาและทดลองบาบัดนาเสียบริเวณพระราชนิเวศน์
มฤคทายวนั ตาบลชะอา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี
68) โครงการจัดหานาให้ท่ีดินของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพบ้านสาระเห็ด
บ้านสาระเห็ด ตาบลกลดั หลวง อาเภอทา่ ยาง จังหวัดเพชรบรุ ี
69) โครงการอ่างเก็บนาห้วยผาก ตาบลกลัดหลวง อาเภอท่ายาง จังหวัด
เพชรบรุ ี
70) โครงการขุดสระเก็บนาเพาะเลียงสภากาชาดไทย ตาบลทุ่งขาม อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
71) โครงการพัฒนาแหล่งนามหาวิทยาลัยศิลปากร (ขุดลอกอ่างเก็บนา
หนองจิก ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี
72) โครงการการช่วยเหลือแหล่งนามหาวิทยาลัยศิลปากร ตาบล
สามพระยา อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี
73) โครงการจัดหานาให้โรงเรียนหุบกระพง จงั หวัดเพชรบุรี ตาบลเขาใหญ่
อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบุรี
74) โครงการจัดหานาบ้านด่านโง บ้านตะเคียนงาม บ้านห้วยไผ่ ตาบลสอง
พ่นี อ้ ง อาเภอทา่ ยาง จงั หวดั เพชรบุรี
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว 4-64
75) โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการนาในเขตพืนท่ีโครงการ
ตามพระราชประสงค์หุบกะพง อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี จังหวัด
เพชรบรุ ี
76) โครงการก่อสร้างประตูระบายนาคลองตาภู่ และอาคารประกอบ
จังหวดั เพชรบรุ ี
77) โครงการระบบเก็บกักนาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47
อันเน่ืองมาจากพระราชดาริหมู่ที่ 5 ตาบลไร่ใหม่พัฒนา อาเภอชะอา
จังหวดั เพชรบุรี
78) โครงการจัดหานาให้พืนท่ีขยายผลศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย
อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ ตาบลชะอา อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี
โครงการพัฒนาดา้ นการเกษตร
1) สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ตาบลสามพระยา อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบุรี
2) โครงการวิจัยและพัฒนามะกอกนามัน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบรุ ี
3) ศูนย์สาธิตพืชไร่และพืชสวนอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ บ้านวัดกุฎิ
ตาบลทา่ แรง้ อาเภอบ้านแหลม จงั หวัดเพชรบรุ ี
4) โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดาริ บ้านหนองคอไก่ ตาบลเขากระปุก
อาเภอท่ายาง จงั หวดั เพชรบรุ ี
5) โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตประชาชน บ้านบางกลอย และบ้านโป่งลึก
ตาบลห้วยแมเ่ พรยี ง อาเภอแกง่ กระจาน จังหวดั เพชรบรุ ี
6) โครงการท่ีดินของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินนี าท บา้ นท่ากระท่มุ อาเภอทา่ ยาง จงั หวดั เพชรบรุ ี
โครงการพัฒนาดา้ นสิ่งแวดล้อม
1) รักษ์ไม้ยางเมืองเพชร อาเภอบา้ นลาด จงั หวดั เพชรบรุ ี
2) โครงการดูแลรักษาป่าไม้บริเวณป่าละอูบน และเขาพะเนินทุ่งอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริ ตาบลแกง่ กระจาน ตาบลสองพ่นี ้อง ตาบลปา่
เด็ง ตาบลห้วยแม่เพรียง อาเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ตาบล
หนองพลับ ตาบลห้วยสัตว์ใหญ่ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบครี ีขนั ธ์
3) โครงการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูสภาพพืนท่ีบริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้า
ลายใหญ่) บ้านเขาไม้นวล ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบุรี
4) ศูนย์ศึกษาพันธุ์ไม้และอนรุ ักษ์ธรรมชาติ บ้านท่ากระทุ่ม บ้านสาระเหด็
ตาบลกลัดหลวง อาเภอท่ายาง จงั หวัดเพชรบรุ ี
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 4-65
5) อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ตาบลห้วยทรายเหนือ อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
6) โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสัตว์ป่าบริเวณอุทยาน
แห่งชาตแิ ก่งกระจาน อันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ จงั หวัดเพชรบรุ ี
7) โครงการฟ้ืนฟูและพัฒนาป่าไม้เพ่ือสนับสนุนโครงการช่ังหัวมัน
ตามพระราชดาริ จงั หวัดเพชรบรุ ี
8) โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนหว้ ย จงั หวัดเพชรบรุ ี
9) โครงการแก้ไขปัญหาช้างป่าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานฯ จังหวัด
เพชรบรุ ี
10) โครงการฟ้ืนฟูและพัฒนาป่าไม้เขากระปุก ตามพระราชดาริ อาเภอ
ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
11) โครงการแก้ไขปัญหาช้างป่าตามแนวพระราชดาริบ้านป่าเด็ง จังหวัด
เพชรบรุ ี
12) อุทยานสง่ิ แวดลอ้ มนานาชาตสิ ริ นิ ธร อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี
โครงการพัฒนาดา้ นการส่งเสรมิ อาชพี
1) โครงการตามพระราชประสงคส์ หกรณ์ หุบกะพง ตาบลเขาใหญ่ อาเภอ
ชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี
2) ศูนย์ปฏิบัติการโครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์ หนอง
พลับ-กลัดหลวง บ้านหนองพลับ ตาบลหนองพลับ อาเภอหัวหิน
จงั หวดั เพชรบุรี
3) โครงการตามพระราชประสงค์ ดอนขุนห้วย ตาบลดอนขุนห้วย อาเภอ
ชะอา และตาบลทา่ คอย อาเภอทา่ ยาง จงั หวัดเพชรบรุ ี
4) โครงการพระราชดาริหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ บ้านร่วมใจ
บา้ นปา่ แดง บา้ นเสาร์ห้า และบา้ นสวนใหญ่พัฒนา จังหวดั เพชรบุรี
5) โครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างแบบผสมผสานตามพระราชดาริตาบล
บางแก้ว อาเภอบา้ นแหลม จงั หวดั เพชรบุรี
6) โครงการพระราชดาริ บ้านหุบกะพง ตาบลเขาใหญ่ อาเภอชะอา
จังหวดั เพชรบุรี
7) โครงการตามพระราชดาริ บ้านดอนขุนห้วย ตาบลดอนขุนห้วย อาเภอ
ชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
8) โครงการตามพระราชดาริบ้านดอนขุนห้วย อาเภอชะอา จังหวัด
เพชรบรุ ี
9) โครงการตามพระราชดาริบ้านหบุ กระพง อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการท่องเทีย่ ว 4-66
โครงการพัฒนาด้านสวัสดกิ ารสงั คม/ส่ือสาร
1) โครงการก่อสรา้ งอาคารเรียนและอาคารเอนกประสงค์ บ้านยางนากลดั
เหนือ ตาบลยางนากลัดเหนอื อาเภอหนองหญา้ ปล้อง จงั หวัดเพชรบุรี
2) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน นเรศวรบ้านห้วยโสก ตาบลป่าเด็ง
อาเภอแกง่ กระจาน จังหวัดเพชรบุรี
โครงการพัฒนาแบบบรู ณาการและโครงการพัฒนาดา้ นอืน่ ๆ
1) โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียงตามพระราชดาริบ้านหนองนาดา
บ้านด่านโง บา้ นห้วยไผ่ บ้านห้วยแม่เพรยี ง อาเภอแกง่ กระจาน จังหวัด
เพชรบุรี
2) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบล
สามพระยา อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบุรี
3) โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบีย จังหวัด
เพชรบรุ ี
4) อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบลแหลมผักเบีย อาเภอบ้านแหลม
จงั หวัดเพชรบุรี
5) โครงการวิจัยและประเมินผลในหมู่บ้านเกษตรกรตัวอย่าง จังหวัด
เพชรบุรี
ในส่วนของจังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ ไดท้ าการศึกษาโครงการในพระราชดาริ ซง่ึ ปน็ โค
รงการที่เกิดจากพระราชประสงค์ ของพระมหากษัตริย์ และบรมวงศานุวงษ์ พระองค์ทรงได้ทราบถึง
ความเดอื ดรอ้ นของราษฎร และเกษตร จงึ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ โครงการต่างๆ นามาบรรเทา
และให้ความช่วยเหลือ จากการศึกษาพบจะมีโครงการพัฒนาด้านแหล่งนา จานวน 42
โครงการ โครงการพฒั นาด้านเกษตร 7 โครงการ โครงการพัฒนาดา้ นสงิ่ แวดล้อม จานวน 4 โครงการ
โครงการพัฒนาด้านสวัสดิการและสังคม จานวน 5 โครงการ โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ
จานวน 1 โครงการ โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข จานวน 4 โครงการ และโครงการพัฒนาด้าน
คมนาคม จานวน 1 โครงการ
ดา้ นการพัฒนาด้านแหล่งน้า
1) โครงการอ่างเก็บนายางชุมอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
2) โครงการอ่างเก็บนาคลองบึงอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ์
3) โครงการอ่างเก็บนาห้วยอ่างหินอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์
4) โครงการอ่างเก็บนาคลองช่องลมอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรขี ันธ์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-67
5) โครงการอ่างเก็บนาคลองจะกระอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์
6) โครงการอ่างเก็บนาห้วยไทรงามอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
7) โครงการฝายทดนาคลองลาชูอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
8) โครงการอ่างเก็บนาห้วยวังเต็นอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
9) โครงการอ่างเก็บนาห้วยไกรทองอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
10) โครงการอ่างเก็บนาห้วยสามัคคีอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
11) โครงการอ่างเก็บนาสองกลอน 2 อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรขี ันธ์
12) โครงการอ่างเก็บนาวังขุนพล 1 อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
13) โครงการอ่างเก็บนาวังขุนพล 3 อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
14) โครงการฝายห้วยมงคล อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์
15) โครงการอ่างเก็บนาห้วยอีออก 3 อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์
16) โครงการอ่างเก็บนาเขาเต่าอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
17) โครงการอ่างเก็บนาหาดทรายใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวดั
ประจวบครี ขี ันธ์
18) โครงการท่อส่งนาหาดทรายใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
19) โครงการอ่างเก็บนาถาไก่หล่น อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
20) โครงการฝายห้วยไทรงาม อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
21) โครงการฝายบ้านมงคล อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์
22) โครงการฝายเขาโค่ง อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรขี ันธ์
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว 4-68
23) โครงการอ่างเก็บนาถาดิน 3 อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์
24) โครงการอ่างเก็บนาบ้านไทรงามอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์
25) โครงการอ่างเก็บนาห้วยคอกช้างตอนล่าง อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์
26) โครงการอ่างเก็บนาหนองคู่ตอนล่างอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
27) โครงการอ่างเก็บนาสองกลอน 1 อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
28) โครงการอ่างเก็บนาห้วยนาซับ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
29) โครงการอ่างเก็บนาห้วยกระชิดอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
30) โครงการอ่างเก็บนาหนองเหียง 1 อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ์
31) โครงการอ่างเก็บนาหนองเหียง 2 อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
32) โครงการฝายทดนาห้วยเหียง 1 อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์
33) โครงการบ่อเก็บนาหนองเสือดา อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
34) โครงการอ่างเก็บนาห้วยยายลาว อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
35) โครงการฝายบ้านวังยาว อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์
36) โครงการอ่างเก็บนาห้วยหนองคาง อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ จงั หวัด
ประจวบครี ีขันธ์
37) โครงการระบบผันนาอ่างเก็บนาห้วยหนองคาง อันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์
38) โครงการอ่างเก็บนานาวัลเปรียงอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์
39) โครงการอ่างเก็บนาหนองหญ้าปล้อง อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์
40) โครงการอ่างเก็บนาห้วยสาโหรง อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-69
41) โครงการฝายห้วยลึก อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ์
42) โ ค ร ง ก า ร จั ด ห า น า ส นั บ ส นุ น โ ค ร ง ก า ร ห ม่ อ น ไ ห ม ส ม เ ด็ จ
พระบรมราชนิ ีนาถ (อา่ งเก็บนาหนองเหยี ง) จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์
โครงการพัฒนาดา้ นเกษตร
1) โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์
2) โครงการศูนย์ปฏิบัติการโครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราช
ประสงค์ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์
3) โครงการธนาคารโค-กระบือ เพื่อเกษตรกรตามพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
4) โครงการสตั วแพทยพ์ ระราชทานพระราชดาริ จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์
5) โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง-ป่าละอู จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์
6) โครงการโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
7) โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง ตามพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ขี ันธ์
โครงการพัฒนาด้านส่งิ แวดลอ้ ม
1) โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
2) โครงการ พัฒนาป่าไม้ปากนาปราณบุรี อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์
3) โครงการจัดสร้างแหล่งอาศัยสัตว์ทะเล (ปะการังเทียม) จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
4) โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าบริเวณป่าสงวน จังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ์
โครงการพัฒนาด้านสวัสดกิ ารและสงั คม
1) โครงการควบคมุ โรคขาดสารไอโอดนี จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์
2) โครงการ นกั เรียนในพระราชานเุ คราะห์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์
3) โครงการสง่ เสริมสหกรณ์ จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์
4) โครงการส่งเสริมคุณภาพการศกึ ษา จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์
5) โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวนั จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศักยภาพการพัฒนาการท่องเท่ยี ว 4-70
โครงการพฒั นาดา้ นสง่ เสริมอาชีพ
1) โครงการฝกึ อาชีพ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์
โครงการพฒั นาดา้ นสาธารณสขุ
1) โครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์
2) โครงการฟันเทียมพระราชทานเพ่ือการส่งเสริมและฟ้ืนฟูสุขภาพช่อง
ปากผ้สู งู อายฯุ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
3) โครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์
4) โครงการดูแลสุขภาพนักเรียนตามพระราชดาริฯ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์
โครงการพฒั นาดา้ นคมนาคม
1) โครงการถนนสายห้วยมงคล อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์
ในส่วนของจังหวัดชุมพร ได้ทาการศึกษาโครงการในพระราชดาริ ซึ่งป็น
โครงการที่เกิดจากพระราชประสงค์ ของพระมหากษัตริย์ และบรมวงศานุวงษ์ พระองค์ทรงได้ทราบ
ถึงความเดือดร้อนของราษฎร และเกษตร จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ โครงการต่างๆ นามา
บรรเทาและให้ความช่วยเหลือ จากการศึกษาพบจะมีโครงการพัฒนาด้านแหล่งนา 42 โครงการ
โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 2 โครงการ โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/ส่อื สาร จานวน 1 โครงการ
โครงการด้านสวัสดิการสังคม/การศึกษา จานวน 7 โครงการ โครงการพัฒนาแบบบูรณาการและ
โครงการพฒั นาดา้ นอน่ื ๆ จานวน 3 โครงการ
โครงการพัฒนาดา้ นแหล่งน้า
1) ฝายคลองกะเปาะอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบลทะเลทรัพย์
อาเภอปะทิว จงั หวัดชมุ พร
2) จัดหานาให้โครงการขยายพันธุ์ไม้ ดอก-ไม้ผลอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริหมู่บ้านปากด่าน หมู่ 5 ตาบลทะเลทรัพย์ อาเภอปะทิว
จังหวดั ชุมพร
3) พัฒนาพืนท่ีหนองใหญ่ตามพระราชดาริ (ปรับปรุงคัน กันนา
คลองระบายนาสามแกว้ ) ตาบลนาทุง่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดชุมพร
4) พัฒนาพืนท่ีหนองใหญ่ตามพระราชดาริ (ปรับปรุง คลองละมุพร้อม
อาคาร ประกอบ) ตาบลนากระตาม อาเภอทา่ แซะ จังหวัดชมุ พร
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 4-71
5) พัฒนาพืนที่หนองใหญ่ตามพระราชดาริ (ปรับปรุงพัฒนา พืนท่ีหนอง
ใหญ่) ตาบลบางลึก อาเภอเมือง ตาบลนากระตาม อาเภอท่าแซะ
จังหวดั ชมุ พร
6) พัฒนาพืนท่ีหนองใหญ่ตามพระราชดาริ (ก่อสร้างอาคาร บังคับนา
คลองกรูด) ตาบลนากระตาม อาเภอทา่ แซะ จงั หวัดชุมพร
7) พัฒนาพืนที่หนองใหญ่ตามพระราชดาริ (ก่อสร้างอาคาร บังคับนา
คลองขนี าค) ตาบลนากระตาม อาเภอท่าแซะ จังหวดั ชมุ พร
8) ระบบส่งนาสระเกบ็ นาบา้ นบางเบิด อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ ตาบล
ปากคลอง อาเภอปะทวิ จงั หวดั ชุมพร
9) ฝายห้วยยางหมักอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หมู่ 6 บ้านวังตะกอ
ตาบลวังตะกอ อาเภอหลงั สวน จังหวัดชุมพร
10) ฝายห้วยยวนไทร อันเนื่องมาจากพระราชดาริบ้านยวนไทร หมู่ 5
ตาบลท่งุ คาวัด อาเภอละแม จังหวัดชมุ พร
11) ก่อสรา้ งทา้ นบดนิ ห้วยในอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริบ้านทบั ใหม่ หมู่ 5
ตาบลทงุ่ คาวัด อาเภอละแม จงั หวดั ชุมพร
12) ก่อสร้างท้านบดินห้วยลูกปู อันเนื่องมาจากพระราชดาริบ้านสระขาว
หมู่ 16 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัดชุมพร
13) ฝายคลองหินใส พร้อมระบบส่งนา อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
บา้ นจปร. หมู่ 7 ตาบลวังใหม่ อาเภอเมอื ง จังหวัดชุมพร
14) ฝายทดนาคลองตะโก อันเนื่องมาจากพระราชดาริบ้านวังปลา หมู่ 5
ตาบลช่องไม้แก้ว อาเภอทุ่งตะโก จังหวดั ชุมพร
15) ทานบดินคลองปรายพร้อม ระบบส่งนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
หมู่ 4, 6, 11 ตาบลหาดยาย อาเภอหลังสวน จงั หวัดชมุ พร
16) ฝายคลองพรอนั เนื่องมาจาก พระราชดารบิ ้านเขาตะเภาทอง บา้ นปะติ
มา และบา้ นประสานมิตร ตาบลพะโต๊ะอาเภอพะโตะ๊ จงั หวดั ชมุ พร
17) อาคารอดั นาห้วยอินทนิล อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริหมู่ 8 ตาบลครน
อาเภอสวี จงั หวดั ชมุ พร
18) ก่อสร้างอาคารอัดนาบ้านคลองกลางพร้อมอาคารประกอบ จังหวัด
ชุมพร
19) อันเนื่องมาจากพระราชดาริบ้านคลองกลาง หมู่ 15 ตาบลละแม
อาเภอละแม จงั หวัดชมุ พร
20) ทานบดินคลองกระโจม อันเนื่องมาจากพระราชดาริบ้านหินกูบ หมู่ 3
ตาบลสลุย อาเภอทา่ แซะ จังหวัดชมุ พร
21) ฝายคลองปังหวานพร้อมระบบ ส่งนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริบ้าน
ท่าแพ หมู่ 4 และหมู่ 5 ตาบลปงั หวาน อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชมุ พร
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 4-72
22) อาคารอัดนาบ้านนาแซะ พร้อมระบบส่งนาอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ บ้านนาแซะ หมู่ 10 ตาบลบ้านนา อาเภอเมือง จังหวัด
ชุมพร
23) ฝายทดนาบ้านวังปลาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริบ้านวังปลา หมู่
16 ตาบลบา้ นควน อาเภอหลังสวน จงั หวดั ชุมพร
24) อาคารอัดนาบ้านเขาหลัก พร้อมระบบส่งนาและอาคาร ประกอบอัน
เนื่องมาจาก พระราชดาริบ้านเขาหลัก หมู่ 9 ตาบลวิสัยใต้ อาเภอสวี
จังหวดั ชมุ พร
25) ฝายบา้ นแพรกแห้งพรอ้ มระบบส่งนา อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริหมู่ 7
ตาบลวิสยั ใต้ อาเภอสวี จงั หวดั ชมุ พร
26) อาคารอัดนาบ้านคลองเงิน พร้อมระบบส่งนา อันเนื่องมาจาก
พระราชดารบิ ้านคลองเงนิ หมู่ 5 ตาบลพระรักษ์ อาเภอพะโตะ๊ จังหวัด
ชุมพร
27) ฝายคลองเหนกอันเนื่องมาจาก พระราชดาริบ้านคลองเหนก ตาบล
พระรกั ษ์ อาเภอพะโตะ๊ จงั หวัดชมุ พร
28) ฝายนาตกหินเขียวพร้อมระบบส่ง นาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ บ้าน
สันกาแพงหมู่ 23 ตาบลรบั ร่อ อาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
29) ก่อสร้างอาคารอัดนาบ้านหินกูบ พร้อมระบบท่อส่งนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ จงั หวดั ชุมพร
30) พระราชดาริบา้ นหนิ กูบ หมู่ 3 ตาบลสลุย อาเภอท่าแซะ จงั หวัดชุมพร
31) จัดหานาอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช หมู่ 7 ตาบลสลุย อาเภอ
ท่าแซะ จังหวดั ชุมพร
32) โครงการอาคารอัดนาคลองดินแดงพร้อมระบบส่งนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดารอิ าเภอสวี จงั หวัดชุมพร
33) โครงการอาคารอัดนาห้วยพรุเตย อันเนื่องมาจากพระราชดาริอาเภอ
ท่งุ ตะโก จงั หวัดชุมพร
34) ฝายทดนาบ้านคลองหลุงพร้อมระบบสง่ นาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
อาเภอสวี จังหวดั ชุมพร
35) อาคารอัดนาบ้านบางกลอยพร้อมระบบส่งนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ อาเภอทา่ แซะ จงั หวัดชุมพร
36) สถานีสูบนาด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งนาคลองหัววัง-พนังตัก อาเภอ
เมือง จังหวัดชุมพร
37) จัดหานาให้ราษฎรบ้านนาเหรียง อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ อาเภอ
สวี จงั หวัดชุมพร
38) โครงการก่อสร้างระบบประปาถังสูงพร้อมระบบส่งนาอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริอาเภอทา่ แซะ จังหวัดชุมพร
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-73
39) โครงการอาคารอัดนาห้วยตายุทธ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริอาเภอ
ละแม จงั หวัดชมุ พร
40) โครงการอาคารอัดนาบ้านคลองหนิ ด้าพร้อมระบบส่งนาอนั เน่ืองมาจาก
พระราชดาริบ้านหน้าศาลช้างแล่น หมู่ท่ี 12 ตาบลเขาค่าย อาเภอ
สวี จังหวดั ชมุ พร
41) โครงการฝายคลองตางิพร้อมระบบส่งนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
บ้านยายไท หมทู่ ่ี 3 ตาบลหงษเ์ จริญ อาเภอท่าแซะ จงั หวัดชุมพร
42) โครงการจัดหาแหล่งนาเพ่ือสนับสนุนโรงเรียนต้ารวจตระเวนชายแดน
สิริราษฎร์ บ้านสระขาว หมู่ที่ 16 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัด
ชมุ พร
โครงการพัฒนาด้านสิง่ แวดล้อม
1) จัดการทรัพยากรประมงชายฝ่ังโดย ชุมชนแบบบูรณาการ
อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ (ฟื้นฟูทรัพยากรและฝึกอบรม)
บ้านทุ่งมหา บ้านบ่อส้าโรง บ้านถ้าธงบ้านนาพุ และบ้านบนไร่ ตาบล
ปากคลอง อาเภอปะทิว จังหวัดชมุ พร
2) อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาริหมู่ 5 และ 6 ตาบล
สลุย หมู่ 4 และ 7 ตาบลสองพี่น้อง หมู่ 4 ตาบลครน หมู่ 13 ตาบล
บางนาจืด อาเภอท่าแซะ อาเภอสวี อาเภอหลงั สวน จังหวดั ชุมพร
โครงการพฒั นาด้านคมนาคม/สอ่ื สาร
1) พัฒนาพืนท่ีหนองใหญ่ตามพระราชดาริ (ปรับปรุงคลองละมุ) ตาบล
นากระตาม อาเภอท่าแซะ จงั หวดั ชุมพร
โครงการดา้ นสวัสดิการสังคม/การศึกษา
1) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สันตินิมิตร บ้านสันตินิมิตร หมู่ 10
ตาบลรบั รอ่ อาเภอทา่ แซะ จงั หวัดชมุ พร
2) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน บ้านพันวาล บ้านพันวาล หมู่ 11
ตาบลรับรอ่ อาเภอทา่ แซะ จงั หวดั ชมุ พร
3) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน บ้านควนสามัคคี บ้านควนสามัคคี
หมู่ 13 ตาบลครน อาเภอสวี จงั หวดั ชมุ พร
4) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน บ้านห้วยเหมือง บ้านห้วยเหมือง
หมู่ 13 ตาบลนาขา อาเภอหลังสวน จงั หวัดชมุ พร
5) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนสิรริ าษฎร์ บ้านสระขาว หมู่ 16 ตาบล
ละแม อาเภอละแมจังหวดั ชมุ พร
6) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน บ้านสวนเพชร บ้านคลองกลาง
หมู่ 15 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัดชมุ พร
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทท่ี 4 ศักยภาพการพัฒนาการท่องเที่ยว 4-74
7) พฒั นาพืนท่ีหนองใหญต่ าม พระราชดาริ (กอ่ สรา้ งขยายระบบจาหน่าย
ไฟฟ้า) ตาบลบางลึก อาเภอเมอื ง จังหวดั ชุมพร
โครงการพัฒนาแบบบูรณาการและโครงการพฒั นาด้านอน่ื ๆ
1) การพัฒนาการเกษตรดินทราย ชายทะเลอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ
ตาบลปากคลอง อาเภอปะทิว จังหวัดชมุ พร
2) ส่งเสริมและฟน้ื ฟอู าชีพของ สมาชกิ สหกรณท์ ่ีประสบภยั ธรรมชาตจิ าก
พายุไต้ฝุ่นเกย์ในจังหวัดชุมพร ตาบลทะเลตาบลทรัพย์ อาเภอปะทิว
อาเภอทา่ แซะ จงั หวัดชมุ พร
3) พัฒนาส่วนพระองค์ บ้านนาพุตาบลปากคลอง อาเภอประทิว จังหวัด
ชมุ พร
ในส่วนของจังหวัดระนอง ได้ทาการศึกษาโครงการในพระราชดาริ ซึ่งป็น
โครงการที่เกิดจากพระราชประสงค์ ของพระมหากษัตริย์ และบรมวงศานุวงษ์ พระองค์ทรงได้ทราบ
ถึงความเดือดร้อนของราษฎร และเกษตร จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ โครงการต่างๆ นามา
บรรเทาและให้ความช่วยเหลือ จากการศึกษาพบจะมีโครงการพัฒ นาด้านแหล่งนา 9
โครงการ โครงการพัฒนาด้านเกษตร จานวน 2 โครงการ โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข จานวน 3
แห่ง และโครงการพัฒนาด้านสวสั ดกิ าร/การศกึ ษา จานวน 1 โครงการ
โครงการพัฒนาด้านแหลง่ น้า
1) อาคารอัดนาห้วยหอย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ บ้านบุรีรัมย์ หมู่ 1
ตาบลในวงใต้ ละอุน่ จงั หวัดระนอง
2) อาคารอดั นาบ้านโป่งรวยพร้อมระบบส่งนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
บ้านคลองเงิน หมู่ 7 ตาบลปากจน่ั อาเภอกระบรุ ี จงั หวดั ระนอง
3) อาคารอัดนาห้วยนาทุ่น อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ บ้านนาทุ่น หมู่
10 ตาบลลาเลยี ง อาเภอกระบรุ ี จังหวัดระนอง
4) ฝายคลองรังแตน อันเนื่องมาจากพระราชดาริ บ้านรังแตนใต้ หมู่ 11
ตาบล จปร. อาเภอกระบรุ ี จงั หวัดระนอง
5) อาคารอัดนาคลองวังยวน อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ตาบลกะเปอร์
อาเภอกระบุรี จงั หวัดระนอง
6) อาคารอัดนาบ้านห้วยไทรงาม อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบล
ลาเลยี ง อาเภอกระบุรี จงั หวัดระนอง
7) อาคารอัดนาคลองวังยวนพร้อมระบบส่งนาฯ ตาบลกะเปอร์ อาเภอ
กะเปอร์ จังหวดั ระนอง
8) อ่างเก็บนาอ่าวใหญ่พร้อมระบบระบายนาฯ ตาบลเกาะพยาม อาเภอ
เมือง จงั หวดั ระนอง
9) ฝายคลองหนิ เพงิ พร้อมระบบสง่ นา อาเภอเมือง จงั หวัดระนอง
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 4-75
โครงการพัฒนาดา้ นเกษตร จา้ นวน 2 โครงการ
1) ธนาคารโค-กระบือ เพือ่ เกษตรกรตามพระราชดาริ หมู่ 5 ตาบล หงาว,
หมู่ 5-8 ตาบลราชกรูด, หมู่ 2 ตาบลบางใหญ่, หมู่ 2 ตาบลบางแก้ว
อาเภอเมอื ง, อาเภอละอนุ่ จงั หวดั ระนอง
2) คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรม
โอรสาธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร จงั หวัดระนอง
โครงการพฒั นาด้านสาธารณสขุ จ้านวน 3 แห่ง
1) ฟันเทียมพระราชทานโรงพยาบาลระนอง และโรงพยาบาลชุมชนทุก
แหง่ ในจังหวัดระนอง และทุกอาเภอ
2) หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทรา บรม
ราชชนนี จังหวัดระนอง บา้ นแหลมนาว ตาบลนาคา อาเภอสขุ สาราญ,
บ้านทรพั ย์สมบรู ณ์, ตาบลบา้ นนา อาเภอกะเปอร์, บ้านเกาะหาดทราย
ดา ตาบลหงาว อาเภอเมือง บ้านเกาะพยาม ตาบลเกาะพยาม อาเภอ
เมือง บ้านคอกช้าง ตาบลในวงเหนอื อาเภอละอนุ่ บา้ นทงุ่ ตาพล ตาบล
บางแก้ว อาเภอละอนุ่ บา้ นคลองจั่น ตาบลจปร. อาเภอกระบุรี บา้ นใน
กรัง ตาบล จปร. อาเภอกระบรุ ี
3) ควบคุมและป้องกันการขาดสารไอโอดีน สถานบริการสาธารณสุขทุก
แห่งในจงั หวดั ระนอง
โครงการพัฒนาด้านสวสั ดิการ/การศึกษา จา้ นวน 1 โครงการ
1) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบา้ นในวงและโรงเรยี นในถน่ิ ทุรกนั ดาร
a. สนับสนุนด้านการประมง โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
บา้ นในวง ตาบลในวงเหนือ อาเภอละอ่นุ จงั หวัดระนอง
b. พัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชดาริ หมู่ 2
ตาบลในวงใต้ อาเภอละอุน่ จงั หวัดระนอง
c. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการบัญชี โรงเรียนตารวจตระเวน
ชายแดนบ้านในวง ตาบลในวงเหนือ อาเภอละอุ่น จังหวัด
ระนอง
d. ควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในถ่ิน
ทุรกันดารและพืนที่ในแผนภูฟ้าพัฒนา โรงเรียนตารวจ
ตระเวนชายแดนบ้านผาเพิง ตาบลในวงเหนือ อาเภอละอุ่น
จงั หวดั ระนอง
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศักยภาพการพัฒนาการท่องเทีย่ ว 4-76
e. เกษตรเพ่ืออาหารกลางวันในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
บา้ นในวง หมู่ 1 ตาบลในวงเหนือ อาเภอละอุ่น จังหวัดระนอง
2.3.2) แหล่งทอ่ งเทย่ี วท่มี นษุ ยส์ รา้ งขึน้
ในส่วนของจังหวัดเพชรบุรี ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่งท่องเท่ียว โดย
ศึกษามาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเท่ียว ประเภทการท่องเที่ยว เพ่ือวิเคราะห์ความเหมาะสม
และศักยภาพการท่องเท่ยี วเพอื่ นนั ทการ ดา้ นแหล่งทอ่ งเทีย่ วทีม่ นษุ ยส์ รา้ งขนึ พบวา่ มีแหล่งทอ่ งเทย่ี ว
ที่มีความนา่ สนใจ จานวน 9 สถานที่
‐ เขื่อนแก่งกระจาน อยู่ในเขตอาเภอแก่งกระจาน ห่างจากตัวเมือง
เพชรบุรีประมาณ 53 กิโลเมตร เป็นเข่ือนดินแห่งแรกของประเทศไทย
สร้างขึนกันแม่นาเพชรบุรีทาให้เป็นทะเลสาบกว้างใหญ่ และอาจกล่าว
ได้ว่าเป็นทะเลสาบนาจืดท่ีใหญ่ท่ีสุดของประเทศไทย การเดินทาง
เสน้ ทางแรกไปทางอาเภอท่ายางต่อไป ประมาณ 30 กิโลเมตร ส่วนอีก
เส้นทางหน่ึงไปตามทางหลวงหมายเลข 5 ประมาณหลักกิโลเมตรที่
186 มที างแยกขวา เข้าไปอกี ประมาณ 30 กิโลเมตร
‐ เขื่อนแม่ประจันต์ โครงการห้วยแม่ประจันต์เป็นโครงการท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริ ให้กรมชลประทาน
พิจารณาก่อสร้างอ่างเก็บนาเพื่อจัดหานาให้ราษฎรท่ีอาศัยอยู่ริมห้วย
แม่ประจันต์ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมยามขาดแคลนนาใช้
นอกจากนันยังช่วยระบายนาเสริมให้แก่กรมชลประทานเพชรบุรีและ
ช่วยกักเก็บนาเพื่อบรรรเทาอุทกภัยในฤดูนานอง อีกทังยังสามารถเป็น
แหลง่ ท่องเทีย่ วพักผ่อนหยอ่ นใจ มีทัศนยี ภาพทส่ี วยงาม
‐ ชะอ้าเอทีวีปาร์ค ชะอาเอทีวีปาร์คมีพืนที่โดยรวม 10 ไร่ ในความดูแล
ของคุณสุรพงษ์ บรรณเกียรติ เจ้าของสถานท่ี มีการให้บริการทุกวัน
ยกเว้นวันพุธวันเดียวและเปิดให้บริการตังแต่ 9 โมงเช้าจนถึง 6 โมง
เย็น กิจกรรมที่ให้บริการหลัก คือ ATVS, Horse Riding , Paintball
Shooting Range , Archery, Paintballing
‐ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นศูนย์กลาง
การ เผ ย แพร่ คว ามรู้ แล ะการ ฝึ กอบ ร มร ะดับส า กล ด้าน การ อ นุ รั ก ษ์
พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีกิจกรรมการเรียนรู้
ท่ีหลากหลายครบวงจรสร้างสรรค์นวตั กรรมเช่ือมโยงวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยที งั ในประเทศและตา่ งประเทศกบั ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพฒั นาการท่องเที่ยว 4-77
‐ ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงด้าเขาย้อย ชาติพันธ์ุไทยทรงดาอาศัยอยู่ใน
ประเทศเวียดนามตอนเหนือ โดนกวาดล้อมเข้ามายังประเทศไทยสมัย
พระเจ้ากรงุ ธนบุรี
‐ ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรงด้าหรือลาวโซ่ง ตังอยู่ หมู่ 5 ตาบลเขาย้อย
“ไทยทรงดา ลาวโซ่ง หรือ ไทยโซ่ง” หมายถึง กลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่ง
ท่ีพูดภาษาไทย คนไทยเรียกชนกลุ่มนีว่า ลาวหรือลาวโซ่งเพราะอพยพ
จากเมืองเดียนเบียนฟู อยู่ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ผ่าน
มายังประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และได้เข้ามาตงั
ถ่ินฐานในไทยนานราว 200 ปี มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์
นิยมแต่งกายด้วยสีดา มีภาษาพูดและเขียนเป็นของตัวเอง ชานาญการ
ทอผ้าและจักสาน ในชว่ งเดือนเมษายนของทุกปีจะมงี านร่ืนเรงิ สังสรรค์
ของชาวลาวโซ่ง โดยจัดหมนุ เวยี นไปตามหมบู่ ้านต่างๆ
‐ สะพานท่าสรง และทัศนียภาพริมแม่น้าเพชรบุรี เพชรบุรีเป็นเมืองท่ี
เคยรุ่งเรืองมาตังแต่ในอดีต และมีความผูกพันธ์กับสายนาโดยใช้เป็น
เส้นทางสัญจรและทาการค้าจึงจะพบเห็นสะพานข้ามแม่นาหลายแห่ง
ดังเช่นสะพานท่าทรงเช่นกัน นาในแม่นาเพชรบุรีถูกใช้เป็นเครื่องเสวย
พระสธุ ารสในสมยั รัชกาลท่ี 5
‐ อุทยานศาสนาพระโพธิสัตว์กวนอิม เนือท่ี187 ไร่ อุทยาน
ประกอบด้วย เจ้าแม่กวนอิมพันมือ แดนพุทธเกษตร หุบเขาสี่อริยสงฆ์
แดนห้าแม่ผู้ย่ิงใหญ่
‐ พิพิธภัณฑ์วชิรปราสาท วัดเพชรพลี พิพิธภัณฑ์วชิรปราสาท
เป็นสถานท่ีประดิษฐานพระเขียวแก้ว พระบรมสารีริกธาตุ
ฉัพพรรณรังสี พระเสมหธาตุและจัดแสดงพระพุทธรูป วัตถุโบราณ
ต่างๆในวัดเพชรพลี ก่อตังขึนโดยท่านพระครูพิศิษฐศิลปาคม เจ้า
อาวาสรูปที่ 5 (วัดเพชรพลี) ตามหลักฐานที่ได้บันทึกไว้ในช่วง พ.ศ.
2490-2524 เจ้าอาวาสองค์ก่อนๆ ได้รวบรวมวัตถุโบราณ เช่น เครื่อง
ถว้ ยชามสังคโลก และเครื่องเบญจรงค์ ตังแต่ก่อนสมัยสุวรรณภูมิจนถึง
สมัยรัตนโกสินทร์ และพระพุทธรูปท่ีมีค่าจัดเก็บไว้ให้อยู่ในสถานท่ี
เดียวกนั หากมีโอกาสไดเ้ ดนิ ทางมายังจังหวดั เพชรบุรีไม่ควรพลาดที่จะ
มาสักการสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิท่มี ีความสาคญั ต่อพุทธศาสนา
ในส่วนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ทาการศึกษาและสรุปแหล่ง
ท่องเที่ยว โดยศึกษาฐานข้อมูลแหล่งท่องเท่ียว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเท่ียวและ
กีฬา และนาข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาร่วมกับกิจกรรมการท่องเท่ียว ประเภทการท่องเท่ียว เพื่อ
วิเคราะห์ความเหมาะสม และศักยภาพการท่องเที่ยวเพื่อนันทการ ด้านแหล่งท่องเท่ียวท่ีมนุษย์สร้าง
ขึน พบวา่ มีแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทมี่ คี วามน่าสนใจ จานวน 13 สถานที่
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564
บทที่ 4 ศกั ยภาพการพัฒนาการท่องเทย่ี ว 4-78
‐ เขาช่องกระจก เป็นภเู ขาขนาดย่อมสูง 245 เมตร เหนือระดับนาทะเล
ตังอยูร่ ิมอา่ วประจวบฯในบริเวณวัดธรรมิการามวรวหิ าร ยอดเขามีช่อง
ทะลุโปร่งคล้ายกรอบกระจก ทางขึนเป็นบันไดคอนกรีต จานวน 396
ขัน ในปี พ.ศ.2497 พระเทพสุทธิโมลี(หลวงพ่อป่ิน) อดีตเจ้าอาวาสวัด
ธรรมิการามวรวิหาร ได้รับมอบเขาช่องกระจกจังหวัดให้อยู่ในความ
ดแู ลของวัด
‐ เขาหินเหล็กไฟ สามารถมองเห็นทิวทัศน์ของหัวหินได้โดยรอบ บน
ยอดเขาเปน็ ท่รี าบกว้าง ตกแต่งเป็นสวนสาธารณะ สวนสขุ ภาพ
‐ ตลาดจั๊กจน่ั (Cicada Market) สมยั เร่มิ แรกกอ่ นทพ่ี ืนท่ีนีจะถูกจัดให้
เป็นตลาดและเมื่อมีตลาดเกิดขึนแล้วแต่ร้านยังไม่มาก ถึงเวลาพลบค่า
จะได้ยินเสียงจักจั่นร้องระงมดังไปทั่วพืนที่ จึงเป็นท่ีมาของช่ือตลาด
จกั จั่น หรอื Cicada Market
‐ ตลาดฉัตรไชย เป็นตลาดเก่าแก่ที่มีช่ือเสียงที่ได้สร้างขึนมาตังแต่พ.ศ.
2469 ในรัชสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 7
ต า ม พ ร ะ ร า ช ด า ริ ใ น ค ร า ว ท่ี ไ ด้ เ ส ด็ จ แ ป ร พ ร ะ ร า ช ฐ า น ม า ป ร ะ ทั บ
ณ วังไกลกังวล เป็นครังแรกพร้อมกับสมเด็จพระนางเจ้าราไฟพรรณี
โดยราชสกุลฉัตรไชย พลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตร
ไชยากร กรมพระกาแพงเพ็ชรอัครโยธินฯ ทรงเป็นหัวหน้าจัดสร้างขึน
น้อมเกล้าฯ ถวาย ตลาดก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กทังอาคารถูก
ออกแบบให้มีหลังโค้งคร่ึงวงกลมต่อเน่ืองกัน 7 โค้งเพื่อให้เป็น
สัญลกั ษณ์ มีหมายถงึ ว่าไดม้ กี ารสรา้ งขึนในรชั สมัยของรชั กาลที่ 7
‐ ตลาดโตร้ ุง่ หวั หนิ เรม่ิ แรกในการจดั ตลาดเป็นส่วนการขายอาการและ
เสือผ้าแบบตลาดคนเดินกลางคืน โดยใช้พืนที่ของถนนเพียง 100-300
เมตรบริเวณช่วงต่อเช่ือมตลาดหลังจากนันจึงย้ายลงมาในถนนและเรม่ิ
การจัดสรรพืนท่ี โดยในปี 2540 เริ่มขยายตลาดออกไปยังตลาดบน
และเร่ิมการจัดตลาดโดยเทศกิจ ทาให้มีร้านค้าเพิ่มขึนมากมาย โดย
ส่วนใหญจ่ ะเป็นของกนิ เล่น ขนมขบเคยี ว และร้านอาหารทะเล ตามส่งั
ของทรี่ ะลกึ เสือผ้าเปน็ สว่ นใหญ่
‐ เพลินวาน เพลินวาน ถูกสร้างขึนเพ่ือให้เป็นศูนย์รวมความสขุ สถานที่
หยุดเวลา เรื่องราวมากมายในอดีตไว้ เพื่อให้ความทรงจาดีๆ ของ
วันวาน ย้อนคืนกลับมาสร้างความอ่ิมเอมใจให้กับผู้คนยุคนี สมัยนี อีก
ครังก่อนท่ีสิ่งเหล่านี จะเลือนลางและจางหายไปตามกาลเวลา
เพลนิ วานมาจาก “Play and Learn และคาในวนั วาน” จากจุดเร่ิมต้น
ท่ีมาจากความรักและคิดถึงหัวหินในวันก่อน เพลินวานจึงถือกาเนิดขนึ
เพ่ือให้เป็นศูนย์กลางจุดหมายการเดินทางแห่งใหม่ของคนหัวหินและ
นักท่องเที่ยวที่มาเยือน เพลินวาน คือ “ศูนย์รวมความสุข สถานที่...
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564