The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานฉบับสมบูรณ์ <br>แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งตะวันตก พ.ศ.2560-2564

รายงานฉบับสมบูรณ์ <br>แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

Keywords: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

บทที่ 6 แผนแม่บทการพฒั นาพืน้ ท่ีทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 6-16
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564

ตวั ช้วี ดั
1) รอ้ ยละที่เพ่ิมข้นึ ของจานวนนักทอ่ งเท่ียวคุณภาพ รอ้ ยละ 10
2) ร้อยละของความพงึ พอใจของนักทอ่ งเท่ยี วท่ีมีต่อการท่องเทย่ี วของพืน้ ท่ี ร้อยละ 90

ยทุ ธศาสตร์ 5 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการการท่องเท่ียวแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริม
การท่องเทยี่ วในพืน้ ทแี่ ละพน้ื ทเ่ี ชือ่ มโยง
การกาหนดและการพัฒนากลไกการบริหารจัดการที่เหมาะสมต่อการพัฒนาการ
ท่องเที่ยว รวมไปถึงการสร้างความร่วมมือและการสร้างเครือข่ายกับผู้ท่ีมีส่วนได้
ส่วนเสียทางการท่องเที่ยว และการกาหนดรูปแบบการสร้างความร่วมมือเพ่ือ
ขับเคลอ่ื นการทอ่ งเท่ียวในพน้ื ท่ี

กลยุทธเ์ พอื่ การพฒั นา
กลยุทธ์ท่ี 1 สรา้ งองค์กรบริหารจัดการการท่องเที่ยวท่เี นน้ การมสี ่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วน

เสียทางการท่องเทยี่ วเพ่อื การพัฒนาการท่องเที่ยวอยา่ งย่ังยนื
แนวทางการดาเนนิ งาน

- การพัฒนาเส้นทางการท่องเท่ียวภายในพื้นที่โดยการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว
กระแสหลักเป็นจุดเร่ิมต้นและกระจายเส้นทางการท่องเที่ยวไปยังแหล่ง
ท่องเที่ยวรองรวมไปถึงชุมชนผ่านการกาหนดรูปแบบการท่องเที่ยวที่มีความ
สอดคล้องกับทรัพยากรการท่องเที่ยวและพฤติกรรมนักท่องเท่ียว เช่น

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวตามรอยประพาส การท่องเที่ยวเชิง
ผจญภัย
- กาหนดแนวคิดเส้นทางการท่องเที่ยว (Theme Route) อย่างสร้างสรรค์เพื่อ
การเพ่ิมจานวนนักท่องเที่ยวในพื้นที่จะจัดเส้นทางการท่องเท่ียวเช่ือมโยง

ระหว่างจังหวดั เพื่อเพ่ิมจานวนระยะเวลาการพักและกระตุ้นให้เกิดการใช้จา่ ยที่
เพิ่มมากขน้ึ
- กาหนดเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ด้วยรูปแบบการเดินทางท่ี

หลากหลายทั้งในระดับพ้ืนท่ีเขตพัฒนาการท่องเท่ียวต่างๆ ในประเทศไทยและ
การเช่อื มโยงระหวา่ งประเทศ

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 6 แผนแมบ่ ทการพัฒนาพนื้ ท่ีทอ่ งเที่ยวในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ียวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 6-17
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564

กลยทุ ธ์ท่ี 2 สร้างเครือข่ายการมีสว่ นร่วมเพอ่ื การพัฒนาการท่องเทยี่ วท้ังในระดับพ้ืนที่และ
การเชื่อมโยง

แนวทางการดาเนินงาน
- การจัดตัง้ และการพัฒนากลุ่มชมรม และเครือข่ายการท่องเท่ยี วเพ่ือสง่ เสริมให้
เกิดการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาพื้นท่ีอย่าง
ยั่งยนื
- ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวและ
ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้
ความเขา้ ใจดา้ นการท่องเท่ียวและการบริหารจดั การการท่องเทีย่ ว

ผลผลิต
1) พ้ืนท่ีไทยแลนด์ริเวียร่าเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเป็นที่ยอมรับในระดับ
โลก
2) เพิ่มจานวนนักท่องเที่ยว รักษาตลาดนักท่องเท่ียวกลุ่มเดิมและเพ่ิมกลุ่มตลาด
นกั ท่องเทย่ี วใหมท่ ีม่ คี ุณภาพ
3) รูปแบบการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ และสามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการสูงสดุ ของนกั ทอ่ งเท่ยี วตามแนวโน้มการเปล่ียนแปลงโลก
4) เสน้ ทางการท่องเที่ยวเช่ือมโยงทงั้ ภายในพ้นื ท่ีและการเช่ือมโยงในระดับภมู ิภาคและ

ประเทศ เกดิ การกระจายตวั ทางการท่องเท่ียวและโอกาสการเพิม่ รายไดผ้ ลผลิต

ผลลัพธ์
1) เป็นผู้นาทางด้านการท่องเที่ยวชายฝ่ังทะเลในระดับเอเชีย และสร้างภาพลักษณ์เชิง
บวกให้กบั การทอ่ งเท่ยี วของประเทศไทย
2) เกิดรายได้และการกระจายรายได้ ไปยังโซ่อุปทานทั้งระบบ เกิดการขยายตัวทาง
เศรษฐกจิ
3) ความต้องการซือ้ ท่ีมากขน้ึ และความพงึ พอใจต่อการท่องเทยี่ วของประเทศไทย
4) เกดิ การเช่ือมโยงนักท่องเทย่ี วสพู่ น้ื ท่ีนาไปสจู่ านวนนักท่องเท่ยี วในพื้นที่เพมิ่ ขึ้น

ตัวชีว้ ัด
1) การเพิ่มขึ้นของการนาข้อมูลด้านการท่องเท่ียวไปใช้ประโยชน์เพ่ือการส่งเสริมการ
ท่องเทย่ี ว 5 ชดุ ข้อมลู
2) จานวนเครือข่ายการบริหารจัดการการจัดการท่องเท่ียวระดับท้องถ่ินครอบคลุม
พืน้ ที่

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 6 แผนแมบ่ ทการพฒั นาพืน้ ทีท่ ่องเที่ยวในเขตพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวนั ตก (The Roya

แผนแมบ่ ทการพัฒนาพื้นที่ท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วฝัง่ ทะ
วสิ ยั ทศั น์ Thailand Riviera จดุ ห

พันธกจิ ส่ ง เ ส ริ ม ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ยกระดับพน้ื ท่ีการพัฒนา เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า
เปา้ ประสงค์ จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง โครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อ ทางการแข่งขันด้
ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ช้ั น น า สนับสนุนการท่องเท่ียว ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ใ น ทุ ก
ใ น พ้ื น ที่ แ ล ะ ก า ร แ ล ะ ก า ร ส่ ง เ ส ร
ระดบั โลก เ ช่ื อ ม โ ย ง ท า ง ก า ร ลงทุน
ท่องเท่ียว

ย กร ะ ดั บ ค วา ม พร้ อม ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ก า ร พั ฒ น
โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ระบบบริการ ท่ อ ง เ ที่ ย ว คุ ณ ภ า พ แ ห ล่ ง อัตลัก
และส่ิงอานวยความสะดวกเพือ่ ท่ อ ง เ ที่ ย ว กิ จ ก ร ร ม ก า ร ทางวัฒ
รองรับการท่องเที่ยวได้มีการ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ มีการ ใช้ประ
พฒั นาอยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ ล ง ทุ น ใ ห ม่ เ พ่ื อ เ พ่ิ ม ขี ด เกิดกา
ความสามารถของพ้ืนท่ีอย่าง การกร
สมดุลภายใต้บริบทของพ้ืนที่ ส่วน
เพ่ือสรา้ งความยั่งยนื

ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 1 ยุทธศาสตร์ 2 กา
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน การพัฒนาขีดความสามารถ อัตล
ระบบการบรกิ ารและสิง่ อานวย ท า ง ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง ก า ร และ
ความสะดวกดา้ นการท่องเทีย่ ว ท่องเที่ยวและการส่งเสริมการ
โดย
ลงทนุ ในพนื้ ท่อี ย่างยัง่ ยนื

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาก
(The Royal Coast หรอื Thail

al Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564 6-18

ะเลตะวนั ตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564
หมายปลายทางการท่องเท่ยี วชั้นนาระดบั โลก

ามารถ พั ฒ น า แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม เพิ่มจานวนและรายได้ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา
านการ คุ ณ ค่ า อั ต ลั ก ษ ณ์ นักท่องเท่ียวคุณภาพใน อย่างย่ังยืนมุ่งเน้นการ
ก ร ะ ดั บ เอกลักษณ์และทุนทาง พื้นที่เพ่ือการสร้างรายได้ สร้างความสมดุลระหว่าง
ริ ม ก า ร วัฒนธรรมของพื้นท่ีสู่การ แ ล ะ โ อ ก า ส ก า ร พั ฒ น า มิติด้านเศรษฐกิจ สังคม
ใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยั่งยืน ทางสังคมและวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

น า แ ล ะ ส่งเสริมคุณค่า พ้ืนท่ี Thailand Riviera เป็น กลไกการบริหารจัดการที่เกิด
กษณ์ เอกลักษณ์ และทุน พื้นท่ีท่องเที่ยวช้ันนา สามารถ จากการบูรณาการร่วมกันกับ
ฒนธรรมของพ้ืนที่สู่การ เพิ่มจานวนนักท่องเท่ียว และ ทุกระดับท่ีมีความเกี่ยวข้อง
ะโยชน์อย่างยั่งยืนเพื่อให้ ข ย า ย ก ลุ่ ม นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว และทุกฝ่ายสามารถมีส่วนร่วม
ารเพิ่มมลู ค่าและโอกาสใน คณุ ภาพ ในการพัฒนาได้อยา่ งแท้จริง
ระจายรายได้ในทุกภาค

ยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ 4 ยทุ ธศาสตร์ 5
ร พั ฒ น า แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ต ล า ด ก า ร การพัฒนากลไกการบริหาร
ลักษณ์ทางการท่องเท่ียว ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ บ บ
ะการส่งเสริมการท่องเท่ียว ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้าง บู ร ณ า ก า ร เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร
ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ท่ี ดี ท า ง ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ใ น พ้ื น ที่ แ ล ะ พ้ื น ที่
ยชุมชนอย่างยงั่ ยนื
ท่องเทย่ี ว เชื่อมโยง

การท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวันตก
land Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 6 แผนแม่บทการพัฒนาพื้นทีท่ ่องเทย่ี วในเขตพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวันตก (The Roya

กลยทุ ธ์ 1. การพัฒนาขีดความสามารถด้าน 1. การยกระดับคุณภาพแหล่ง
การคมนาคมขนส่งการทอ่ งเที่ยวทั้ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว สู่ ก า ร เ ป็ น แ ห ล่ ง
ทางบก ทางน้าและทางอากาศเพื่อ ท่องเทย่ี วคณุ ค่าสูงอยา่ งยง่ั ยนื
ร อ ง รั บ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง
อตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว 2. การพัฒนาขีดความสามารถ
ผู้ประกอบการ มาตรฐาน
2. การพัฒนาระบบเช่ือมโยงเครอื ขา่ ย สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร ใ ห้ เ ป็ น ท่ี
ก า ร ข น ส่ ง ท า ง บ ก -ร ะ บ บ ร า ง ย อ ม รั บ แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
โครงข่ายถนน การขนส่งทางน้า แนวโน้มการท่องเท่ียว
แ ล ะ ก า ร ข น ส่ ง ท า ง อ า ก า ศ ท่ี
เช่ือมโยงเส้นทางท่องเท่ียวและการ 3. ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น เ พื่ อ
เ ข้ า ถึ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ท่ี ย ว อ ย่ า ง มี ส นั บ ส นุ น ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ใ น
ประสิทธิภาพ ระดับต่างๆ เพ่ือสร้างจุดขาย
ทางการท่องเที่ยวและรองรับ
3. ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร นกั ท่องเท่ยี วคณุ ภาพ
ทรัพยากรท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือ
สง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วตลอดทงั้ ปี 4. การพัฒนาขีดความสามารถ
ด้านทนุ มนุษยใ์ นทุกระดับของ
4. การพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอานวย ภาคการท่องเที่ยวเพื่อรองรับ
ความสะดวก การจัดการมาตรฐาน การเติบโตทางการทอ่ งเท่ยี ว
และความปลอดภัยการท่องเที่ยว
เพ่ือยกระดับคุณภาพการให้บรกิ าร
ของพืน้ ท่ี

ตวั ชีว้ ัด 1. การเพิ่มจานวนเครือข่ายเส้นทาง 1. รอ้ ยละในการเพม่ิ ขึน้ ของจานวน
การท่องเท่ียวที่กระจายในพื้นที่ นกั ทอ่ งเทย่ี วคุณภาพ
และพน้ื ทีเ่ ชือ่ มโยง
2. ร้อยละจากการเพ่ิมขึ้นของ
2. การเพ่ิมจานวนนักท่องเที่ยวท่ี รายได้จากสนิ ค้าและบริการดา้ น
เหมาะสมกับขีดความสามารถใน การท่องเท่ียว
การรองรับนกั ทอ่ งเท่ียวของพนื้ ที่
3. ร้อยละในการเพิม่ ขน้ึ ของจานวน
3. ระดับความสาเร็จของการบริหาร นักท่องเท่ียวจากการท่องเท่ียว
จัดการทรัพยากรที่เพียงพอต่อ รปู แบบใหม่
ความต้องการของทกุ ภาคสว่ น
4. ร้ อ ย ล ะ ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ก า ร
4. ร้อยละในการเพิ่มข้ึนของส่ิง ท่ อ ง เ ท่ี ย ว แ ล ะ จ า น ว น
อานวยความสะดวก จานวนศูนย์ นักท่องเท่ียวกลุ่มเป้าหมายใหม่
อานวยความสะดวกนักท่องเที่ยว ท่เี พ่มิ ขน้ึ
ทเี่ พม่ิ ขึ้น

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาก
(The Royal Coast หรือ Thail

al Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564 6-19

1. ฟื้ น ฟู พั ฒ น า แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม 1. สร้างการรับรู้ต่ออัตลักษณ์ 1. สร้างองค์กรบริหารจัดการ
อั ต ลั ก ษ ณ์ ข อ ง พ้ื น ที่ เ พื่ อ ก า ร และเอกลักษณ์การท่องเท่ียว ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ที่ เ น้ น ก า ร มี
ส ร้ า ง มู ล ค่ า เ พ่ิ ม ท า ง สู่ ก า ร เ ป็ น จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วน
การท่องเท่ียว ทางการ เ สี ย ท า ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ พื่ อ
ก า ร พั ฒ น า ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว
2. การส่งเสริมขีดความสามารถ 2. ท่องเท่ียวชั้นนาในระดับพ้นื ท่ี อย่างยงั่ ยนื
ของชุมชนเพื่อการพัฒนาการ แ ล ะ ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด เ พื่ อ
ท่องเทีย่ วภายใตค้ วามสมดุล ก า ร ส ร้ า ง โ อ ก า ส ท า ง ก า ร 2. สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม
แขง่ ขัน เพ่ือการพัฒนาการท่องเที่ยว
ท้ั ง ใ น ร ะ ดั บ พื้ น ท่ี แ ล ะ ก า ร
3. พัฒนาและส่งเสริมรูปแบบ เชื่อมโยง
ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว บ น ฐ า น ข อ ง
อัตลักษณ์อย่างสร้างสรรค์สู่
มูลค่าทางการท่องเท่ียว

4. การเชื่อมโยงการท่องเที่ยว
กระแสหลักและการพัฒนา
เสน้ ทางท่องเท่ียวเช่ือมโยง

1. ร้อยละการเพิ่มขึ้นของรายได้ที่ 1. ร้อยละท่ีเพิ่มข้ึนของจานวน 1. ร้อยละในการเพม่ิ ข้ึนของการนา
เกิดจากสินค้าและ บ ริก า ร นักท่องเทีย่ วคณุ ภาพ ข้อมูลด้านการท่องเท่ียวไปใช้
ทางดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ประโยชน์เพ่ือการส่งเสริมการ
2. ร้อยละการเพ่ิมขึ้นของรายได้ใน ท่องเทีย่ ว
2. ร้อยละของชุมชนต้นแบบและ อตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ ว
โ ฮ ม ส เ ต ย์ ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร ข้ึ น 2. มีการเช่ือมโยงระบบการบริหาร
ทะเบียนมาตรฐานโฮมสเตย์ 3. ร้อยละของความพึงพอใจของ จัดการการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยง
ไทย นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ที่ มี ต่ อ พื้ น ท่ี ท่ อ ง เ ท่ี ย ว แ ล ะ พื้ น ท่ี
การท่องเทยี่ วของพื้นที่ เช่อื มโยง
3. ร้อยละการเพิ่มข้ึนของรายได้
ของชมุ ชน 4. ร้อยละของจานวนนักท่องเท่ียว 3. มีเครือข่ายการบริหารจัดการ
ในพน้ื ท่ที เ่ี พิ่มข้นึ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถ่ิ น
4. ร้อยละของดัชนีความสุขชุมชน ครอบคลมุ พน้ื ท่ี
ท่ อ ง เ ที่ ย ว จ า ก ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม
กิจกรรมการท่องเท่ยี วชุมชน

การท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝ่งั ทะเลตะวันตก
land Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 6 แผนแมบ่ ทการพฒั นาพืน้ ทท่ี ่องเท่ยี วในเขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 6-20
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564

6.7 แนวทางการบรหิ ารและขบั เคลื่อนเขตพฒั นาการท่องเทย่ี ว

เพ่ือที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายการพัฒนาเขตพัฒนาการท่องเท่ียวชายฝ่ังทะเล
ตะวนั ตกจะต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาพื้นท่ีใหส้ อดคล้องกับอัตลักษณเ์ ช่ือมโยงใหเ้ ห็นเป็นรปู ธรรมท่ี
ชัดเจนไปพร้อมกับการผลักดันให้ผลประโยชน์ท่ีเกิดจากการพัฒนามีการกระจายไปสู่วงกว้างอย่า งบูรณา
การ แนวทางการบรหิ ารงานและขับเคลื่อนงานพัฒนาและการติดตามประเมินผล 2 ประเด็นหลัก คือ 1)
การจัดโครงสร้างองค์กรเพ่ือบูรณาการนโยบายและการดาเนินงาน 2) กระบวนการออกแบบการทางาน
เพื่อการบูรณาการและแนวทางการติดตามประเมินผล

การจัดโครงสรา้ งองคก์ ร
เพอ่ื บูรณาการนโยบาย
และการดาเนนิ งาน

แนวทางการติดตาม กระบวนการออกแบบ
ประเมินผล การทางานเพื่อการบูรณา

การ

ภาพ 6-1 แนวทางการบรหิ ารและขบั เคล่ือนเขตพัฒนาการท่องเท่ียว

การจดั โครงสรา้ งองคก์ รเพือ่ บรู ณาการนโยบายและการดาเนนิ งาน
คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยว ประจาเขตพัฒนาการท่องเท่ียว เป็นองค์กรหลักท่ีมี
หน้าท่ีและบทบาทในการขับเคล่อื นการพัฒนา ซึ่งต้องมีการบูรณาการการทางานร่วมกันกับหน่วยงานที่มี
ความเกยี่ วขอ้ งตง้ั แต่ระดบั นโยบายถึงชุมชน โดยมคี ณะการรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ (ท.ท.ช.)
เป็นแกนกลางในระดับนโยบาย หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งต่อการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 6 แผนแมบ่ ทการพัฒนาพนื้ ท่ที ่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 6-21
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564

หน่วยงานระดับนโยบาย

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (ท.ท.ช.) จัดเป็นองค์กรระดับนโยบายมี
บทบาทในการจดั นโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์การท่องเท่ียวในระดบั ชาติ การกาหนดแผนปฏิบตั ิการ การ
ติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการการท่องเที่ยว ประสานงานเชื่อมโยงการส่ังการของคณะรัฐมนตรี
การเพ่ือขับเคล่ือนการท่องเที่ยวของประเทศไทย อาศัยมาตรา 5 ให้มีคณะกรรมนโยบายการท่องเที่ยว
แห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า ท.ท.ช. ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
ทอ่ งเทีย่ วและกีฬาเป็นรองประธานกรรมการ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
วัฒนธรรม ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวง
แรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อานวยการสานักงบประมาณ ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ นายกสมาคม
องค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย นายก
สมาคมองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
และผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ซงึ่ นายกรัฐมนตรีแตง่ ตัง้ ไม่เกนิ เกา้ คน เปน็ กรรมการ

ให้ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้อานวยการ

สานักงานพัฒนาการท่องเท่ียว และผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเป็นกรรมการและ

ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้แต่งต้ังจากผู้ซึ่งมีความ
เชย่ี วชาญหรือประสบการณ์ด้านการท่องเท่ียวและอุตสาหกรรมการท่องเท่ยี ว การตลาด การโรงแรม การ
บริหารธุรกิจ ศิลปวัฒนธรรม หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยแต่งตั้งจากการ
รายชื่อของผู้ซ่ึงสภาอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทยเสนอไมน่ อ้ ยกว่าสองคนแต่ไมเ่ กนิ ส่ีคน

หนว่ ยงานเพื่อการขับเคล่อื นระดบั เขตพฒั นาการท่องเท่ียว
คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวมีหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติ
นโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ในการดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว
ภายใต้เขตพฒั นาการท่องเท่ียว เสนอคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติที่จัดทาข้ึนต้องมีความ
สอดคล้องกับกฎหมายท่ีบังคับใช้อยูภ่ ายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวและแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ
และจะต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับแผนงานในการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวภายในเขตของตน
หนว่ ยงานทม่ี หี น้าที่รับผดิ ชอบรวมทง้ั ระยะเวลาในการดาเนนิ การตามแผน
ทั้งนี้รูปแบบการบริหารงานด้านการท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก
น้ันควรเป็นรูปแบบการบริหารงานที่สามารถเชื่อมโยงหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการ
ท่องเที่ยวท้ังภาครัฐและเอกชน โดยการเช่ือมโยงพ้ืนที่ 4 จังหวัดเป้าหมาย รวมไปถึงหน่วยงานภายนอก

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 6 แผนแมบ่ ทการพฒั นาพืน้ ทท่ี ่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 6-22
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ. 2560-2564

พ้ืนท่ีที่ได้เข้ามามีส่วนในการบริหารจัดการด้านการท่องเท่ียวในพื้นที่ ตลอดจนสามารถขับเคลื่อนการ
นาเอาแผนแมบ่ ทการพฒั นาพนื้ ทไ่ี ปสู่การปฏบิ ัตอิ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ซึ่งรูปแบบท่มี ีความเหมาะสมต่อการ
บริหารงานการพัฒนาพื้นที่ท่องเทีย่ วฝ่ังทะเลตะวันตก คือรูปแบบการพัฒนาการท่องเทยี่ ว ซ่ึงจัดต้ังข้ึนมา
ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติ
นโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ในการปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการมี
อานาจแต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการเพื่อพจิ ารณาหรือดาเนินการตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายได้

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ
(ตามมาตรา 5 ของ พ.ร.บ. นโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ พ.ศ. 2551)

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ
(ตามมาตรา 12 ของ พ.ร.บ. นโยบายการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ พ.ศ. 2551)
(ตามมาตรา 18 ของ พ.ร.บ. นโยบายการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ พ.ศ. 2551)

คณะกรรมการพฒั นาการทอ่ งเทีย่ ว
 ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ด้านการท่องเท่ียวและอุตสาหกรรมการ

ท่องเท่ียว การตลาด การโรงแรม การบริหารธุรกิจ ศิลปวัฒนธรรม หรือการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
 ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
 ผู้แทนหน่วยงานของรฐั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
 ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 ประธานหอการค้าจงั หวดั
 ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย
 ผ้ทู รงคณุ วฒุ ดิ ้านการท่องเท่ียวไม่เกิน 30 คน
 ผ้แู ทนกระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา เป็นกรรมการและเลขานุการ

ภาพที่ 6-2 กระบวนการทางานเพือ่ การบรู ณาการ

คณะอนุกรรมการพฒั นาการท่องเทยี่ วในพ้ืนที่ 4 จงั หวดั เป้าหมาย

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-1
และโครงการในการพฒั นาพื้นที่

บทที่ 7
แผนปฏิบัติการสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว

ฝั่งทะเลตะวนั ตก และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

จากการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยว
ในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก ( The Royal Coast หรือ Thailand Riviera)
ได้ดาเนินการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคในการพัฒนาไปสู่การกาหนดวิสัยทัศน์
วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์รวมถึงตัวช้ีวัด ซ่ึงประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์หลัก คือ
1) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบการบริการและส่ิงอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
2) การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันทางการท่องเที่ยวและการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่
อย่างย่งั ยืน 3) การพัฒนาและส่งเสรมิ อัตลักษณท์ างการท่องเทีย่ ว การสง่ เสริมการท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน
อย่างย่ังยืน 4) การส่งเสริมตลาดท่องเท่ียวและการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
ด้านท่องเที่ยว 5) การพัฒนากลไกการบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวในพื้นท่ีและพื้นที่เช่ือมโยง ซึ่งในแต่ละยุทธศาสตร์ได้กาหนดแผนปฏิบัติการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera)
และโครงการเร่งด่วน (Quick Win) ที่สามารถตอบรับการพัฒนาศักยภาพของพ้ืนที่ ประกอบด้วย
6 แผนงานหลัก คือ

1. แผนงานพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบบรกิ ารและการเชือ่ มโยงการท่องเท่ียว

มีเป้าหมายท่ีจะพัฒนาระบบการขนส่งและการเชื่อมโยงท่ีสามารถสร้างการเข้าถึงสู่

การเป็นศูนย์กลาง (Hub) และการกระจายนักท่องเทย่ี วท้ังทางบก ทางน้าและทางอากาศ เพือ่ รองรับ

การขยายตัวทั้งในระดับเมืองรวมไปถึงการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อการท่องเท่ียว ความปลอดภัย

มาตรฐานและสภาพแวดลอ้ มทสี่ ่งเสริมใหเ้ กิดการท่องเทยี่ วอย่างย่งั ยนื

จานวนแผนงาน 5 แผนงาน งบประมาณท้งั สน้ิ 600,000,000 บาท

โครงการ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ

(ลา้ นบาท)

การพัฒนาเส้นทางเข้าสู่แหล่งท่องเท่ียวและ 150 กรมทางหลวงชนบท

เสน้ ทางเลียบชายหาด กระทรวงคมนาคม

การปรับปรุงทัศนียภาพสถานีรถไฟและ 100 การรถไฟแห่งประเทศไทย

ทศั นยี ภาพสองขา้ งทาง กระทรวงคมนาคม

การยกระดับจุดผ่านแดนเพ่ือการส่งเสริมการ 50 กองตรวจคนเขา้ เมือง

ท่องเท่ียว กระทรวงการตา่ งประเทศ

การพฒั นาขดี ความสามารถของสนามบินเพ่ือ 150 กรมทา่ อากาศยาน

รองรบั การท่องเท่ยี ว กระทรวงคมนาคม

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝั่งทะเลตะวันตก 7-2
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ท่ี

โครงการ งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ
(ลา้ นบาท)
โครงการการพัฒนาท่าเรือยอร์ชหรือท่าเทียบ กรมเจ้าทา่
เรอื มารีนา่ 150 กระทรวงคมนาคม

2. แผนงานการพื้นฟู พฒั นา และยกระดบั แหล่งทอ่ งเทีย่ ว
มี เ ป้ า ห ม า ย ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ท รั พ ย า ก ร ท า ง ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว
แหล่งท่องเท่ียว สินค้าและบริการทางการท่องเที่ยวในพื้นที่เพ่ือให้สร้างแรงดึงดูดทางการท่องเท่ียว
และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทม่ี ีมาตรฐานในระดับสากลสามารถรองรบั นักท่องเท่ียวคุณภาพทุกกลุม่
รวมไปถึงการพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์ทกุ ระดับ

จานวนแผนงาน 6 แผนงาน งบประมาณทง้ั สนิ้ 430,000,000 บาท

โครงการ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ
(ล้านบาท) กรมการทอ่ งเทีย่ ว
การออกแบบยกระดับหาดและการปรับปรุง
ทั ศ นี ย ภ า พ เ พ่ื อ เ ป็ น จุ ด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง 150
หลกั การท่องเที่ยว
การออกแบบเพ่ือการพัฒนาส่ิงอานวยความ 120 กรมการท่องเที่ยว
สะดว กภ ายใต้แนว คิดเพ่ือคนท้ัง ม ว ล
(Universal Design) 40 องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
การออกแบบและพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิง จังหวดั เพชรบรุ ี
สาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็น
ศูนย์กลางการทอ่ งเทยี่ วจงั หวัดเพชรบุรี 40 องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
การออกแบบและพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิง จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์
สาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็น
ศู น ย์ ก ล า ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว จั ง ห วั ด 40 การรถไฟแหง่ ประเทศไทย
ประจวบครี ขี ันธ์
การออกแบบและพัฒนาพื้นท่ีกิจกรรมเชิง 40 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
สาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็น จงั หวดั ระนอง
ศูนยก์ ลางการท่องเท่ยี วจังหวดั ชมุ พร
การออกแบบและพัฒนาพื้นที่กิจกรรมเชิง
สาธารณะ (Public Space) เพ่ือการเป็น
ศูนย์กลางการท่องเท่ยี วจังหวดั ระนอง

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนุนการพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-3
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนท่ี

3. แผนงานการส่งเสรมิ การลงทนุ
มีเป้าหมายการกาหนดแนวทางการส่งเสริมการลงทุนและการขยายการลงทุน ที่
สอดคล้องต่อการพัฒนาสู่การเป็นพ้ืนที่ท่องเที่ยวชั้นนา เช่น โรงแรม 5 ดาว สปาที่มีมาตรฐาน
แหล่งท่องเที่ยวใหม่ สวนสนุก ศูนย์แสดงสินค้าและนิทรรศการและธุรกิจที่สามารถดึงดูดกลุ่ม
นักท่องเท่ยี วคณุ ภาพสู่พ้ืนท่แี ละเกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ

จานวนแผนงาน 1 แผนงาน งบประมาณทั้งสน้ิ 20,000,000 บาท

โครงการ งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ
(ลา้ นบาท)
การกาหนดมาตรการการส่งเสริมการลงทุน สานกั งานคณะกรรมการ
สิทธิประโยชน์ธุรกิจเป้าหมายในพื้นที่ไทย 20 ส่งเสริมการลงทุน
แลนด์รเิ วยี รา่

4. แผนงานการพัฒนาการท่องเท่ยี วชุมชน
มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ทางการท่องเท่ียวของพื้นที่ในภาพรวมและพ้ืนท่ี
ในระดับจังหวัด อาเภอและชุมชนท่ีมีศักยภาพ การเสริมสร้างคุณค่าและมูลค่าบนฐานของอัตลักษณ์
ในระดับต่างๆ การส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT) ภายใต้แนวคิด
การทอ่ งเท่ยี วอยา่ งย่ังยนื
จานวนแผนงาน 3 แผนงาน งบประมาณท้ังสิน้ 95,000,000 บาท

โครงการ งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ
(ลา้ นบาท) กรมการท่องเทยี่ ว
ชุมชนต้นแบบการท่องเท่ียวและการเป็นเจ้า กรมการท่องเทย่ี ว
บา้ นทด่ี ี 40 กรมการทอ่ งเทย่ี ว
พัฒนาโฮมสเตย์และการส่งเสริมมาตรฐาน
โฮมสเตย์ 35
การพัฒนามัคคุเทศก์ท้องถิ่นและนักส่ือ
ความหมาย 20

5. แผนงานสง่ เสริมตลาดการทอ่ งเท่ียวและการสรา้ งการรับรู้ภาพลักษณ์ใหม่
มีเป้าหมายเพื่อส่งเสรมิ ภาพลักษณ์เป็นจดุ หมายปลายทางการท่องเที่ยวชั้นนาระดบั
โลก กาหนดตลาดเป้าหมายทางการท่องเท่ียวโดยมุ่งเน้นนักท่องเที่ยวคุณภาพ การส่งเสริมให้เกิด
การเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเท่ียว การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวภายในพื้นที่
และการเชอ่ื มโยงในทกุ ระดับ
จานวนแผนงาน 5 แผนงาน งบประมาณทงั้ สน้ิ 145,000,000 บาท

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-4
และโครงการในการพฒั นาพนื้ ที่

โครงการ งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ
(ลา้ นบาท)
การส่งเสริมกลมุ่ ตลาดคณุ ภาพ การท่องเที่ยวแห่งประเทศ
35 ไทย
ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม เ ส้ น ท า ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ 15
เช่ือมโยงเส้นทางการท่องเทย่ี ว 40 การทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศ
การจัดงานเทศกาลและงานมหกรรมระดับ 35 ไทย
นานาชาติ
การส่งเสริมการประมูลสิทธ์ิเพ่ือเป็นเจ้าภาพ 20 การท่องเทีย่ วแห่งประเทศ
การจัดงานระดบั โลก ไทย

การจัดกิจกรรมกีฬาระดบั นานาชาติ สานกั งานสง่ เสริมการจัดการ
ประชุมและนิทรรศการ
(องคก์ ารมหาชน)
การกีฬาแห่งประเทศไทย

6. แผนงานบรหิ ารจดั การการทอ่ งเท่ียว
มีเป้าหมายการกาหนดกลไกการบริหารจัดการที่เหมาะสมต่อการพัฒนา
การท่องเท่ียว สร้างความร่วมมือและเครือข่ายและการกาหนดรูปแบบการสร้างความร่วมมือเพ่ือ
ขบั เคลื่อนการท่องเทยี่ วในพื้นท่ี

จานวนแผนงาน 2 แผนงาน งบประมาณทัง้ สิ้น 42,000,000 บาท

โครงการ งบประมาณ ผูร้ บั ผิดชอบ
(ล้านบาท)
โ ค ร ง ก า ร ก า ร พั ฒ น า ฐ า น ข้ อ มู ล ด้ า น ก า ร สานกั งานปลัดกระทรวงการ
ทอ่ งเทยี่ วและบริการในรูปแบบ Big Data 30 ท่องเทีย่ วและกีฬา
โครงการติดตามและประเมินผลการดาเนิน
โครงการจัดทาแม่บทพัฒนาการท่องเท่ียวใน 12 สานักงานปลัดกระทรวงการ
เขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก ทอ่ งเท่ยี วและกีฬา
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera)

รวมโครงการเร่งดว่ นท้ังสนิ้ 22 แผนงาน งบประมาณทง้ั สนิ้ 1,292,000,000 บาท

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนุนการพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-5
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ที่

แผนงานตามยุทธศาสตรร์ ะยะกลาง
ยทุ ธศาสตร์ 1 การพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ระบบการบรกิ ารและสิ่งอานวยความ
สะดวกดา้ นการท่องเทยี่ ว
จานวนโครงการ 10 โครงการ งบประมาณทั้งส้ิน 540,000,000 บาท
ยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาขดี ความสามารถการแขง่ ขนั ทางการท่องเทยี่ ว
และการสง่ เสริมการลงทุนในพืน้ ที่อยา่ งยงั่ ยนื
จานวนโครงการ 9 โครงการ งบประมาณท้ังส้นิ 325,000,000 บาท
ยุทธศาสตร์ 3 การพฒั นาและสง่ เสริมอัตลกั ษณ์ทางการท่องเที่ยว การส่งเสรมิ การ
ท่องเทีย่ วโดยชุมชนอย่างย่ังยนื
จานวนโครงการ 7 โครงการ งบประมาณทง้ั ส้นิ 215,000,000 บาท
ยทุ ธศาสตร์ 4 การสง่ เสรมิ ตลาดท่องเทย่ี วและการประชาสัมพันธ์เพอ่ื เสริมสรา้ ง
ภาพลกั ษณท์ ด่ี ดี ้านท่องเท่ียว
จานวนโครงการ 11 โครงการ งบประมาณทั้งสน้ิ 200,000,000 บาท
ยทุ ธศาสตร์ 5 การพัฒนากลไกการบริหารจดั การการทอ่ งเทีย่ วแบบบูรณาการเพอ่ื
ส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวในพ้นื ที่และพน้ื ทเ่ี ช่อื มโยง
จานวนโครงการ 3 โครงการ งบประมาณทั้งสน้ิ 30,000,000 บาท
จานวนโครงการ 19 โครงการ งบประมาณทงั้ ส้นิ 1,310,000,000 บาท

แผนงานตามยทุ ธศาสตร์ระยะยาว
ยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบการบริการและสิ่งอานวยความสะดวก
ด้านการท่องเที่ยว
ยทุ ธศาสตร์ 2 การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันทางการท่องเที่ยวและการส่งเสริม
การลงทุนในพน้ื ทอ่ี ย่างยัง่ ยืน
ยุทธศาสตร์ 3 การพัฒนาและส่งเสริมอัตลักษณ์ทางการท่องเท่ียว การส่งเสริม
การท่องเทีย่ วโดยชุมชนอยา่ งยั่งยนื
ยุทธศาสตร์ 4 การส่งเสริมตลาดท่องเที่ยวและการประชาสัมพันธ์เพ่ือเสริมสร้าง
ภาพลักษณ์ท่ดี ดี า้ นท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ 5 การพัฒนากลไกการบรหิ ารจดั การการท่องเท่ียวแบบบรู ณาการเพ่ือส่งเสรมิ
การทอ่ งเทยี่ วในพื้นทีแ่ ละพ้ืนท่เี ช่อื มโยง
จานวนแผนงาน 10 แผนงาน งบประมาณท้ังส้ิน 405,000,000 บาท

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนนุ การพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวนั ตก 7-6
และโครงการในการพัฒนาพ้นื ท่ี

7.1 รายละเอยี ดโครงการพฒั นาเรง่ ด่วน (Quick Win) ประจาปี 2563-2564

แผนการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ระบบบรกิ ารและการเชอื่ มโยงการท่องเท่ียว

จากยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบการบริการและสิ่งอานวย
ความสะดวกด้านการท่องเท่ียวที่มุ่งการพัฒนาระบบการบริหารจัดการจัดการโลจิสติกส์เพื่อ
การเช่ือมโยงที่สามารถเข้าถึงการเป็นศูนย์กลาง (Hub) การกระจายนักท่องเที่ยว ท้ังทางบก (ระบบ
ราง ถนนสายหลัก) ทางน้า (ท่าเทียบเรือที่มีมาตรฐาน) ทางอากาศ (ท่าอากาศยานและเท่ียวบิน)
ระบบสาธารณูปโภคเพ่ือรองรับการขยายตัวทั้งในระดับชุมชนและระดับเมือง การพัฒนา
ปัจจยั พื้นฐานทางการทอ่ งเท่ยี ว และความปลอดภยั ที่มีมาตรฐานต่อการทอ่ งเท่ยี วและการดาเนนิ ชวี ิต

ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดและสอดรับกับแผนแม่บทฯ จึงจัดทา
แผน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบบริการและการเช่ือมโยงการท่องเที่ยว มีเป้าหมายท่ีจะพัฒนา
ระบบการขนส่งและการเชื่อมโยงที่สามารถสร้างการเข้าถึงสู่การเป็นศูนย์กลางและการกระจาย
นักท่องเที่ยวทั้งทางบก ทางน้าและทางอากาศ เพ่ือรองรับการขยายตัวทั้งในระดับเมืองรวมไปถึงการ
พัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อการท่องเท่ียว ความปลอดภัย มาตรฐานและสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมให้เกิด
การท่องเที่ยวอยา่ งย่งั ยนื

โดยมีโครงการเร่งด่วน (Quick Win) ที่ควรได้รับการพัฒนาทั้งส้ิน จานวน
5 โครงการ โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้

1) โครงการการพัฒนาเส้นทางเข้าสแู่ หล่งท่องเที่ยวและเส้นทางเลยี บชายหาด
2) โครงการการปรับปรุงทัศนยี ภาพสถานรี ถไฟและทศั นยี ภาพสองข้างทาง
3) โครงการการยกระดับจุดผ่านแดนเพื่อการส่งเสริมการท่องเท่ยี ว
4) โครงการพัฒนาขีดความสามารถของสนามบินเพอื่ รองรับการท่องเที่ยว
5) โครงการการพฒั นาทา่ เรือยอร์ช

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเทย่ี วฝั่งทะเลตะวันตก 7-7
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

โครงการการพัฒนาเส้นทางเขา้ สแู่ หลง่ ท่องเที่ยวและเส้นทางเลียบชายหาด

หลักการและเหตุผล

จ า ก แ น ว คิ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า พื้ น ที่ ช า ย ฝ่ั ง ท ะ เ ล ต ะ วั น ต ก ท่ี จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น
จุดหมายปลายทางการท่องเท่ียวชั้นนาระดับโลก ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาการท่องเท่ียว
ชายฝั่งทะเลโดยเฉพาะอย่างย่ิงจากทรัพยากรการท่องเที่ยวหลักของ 4 จังหวัดพ้ืนที่เป้าหมาย พบว่า
มคี วามโดดเดน่ ในเรื่องของแหล่งท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงประเภทชายหาดและรวม
ไปถึงกิจกรรมชายทะเลท่ีสามารถดึงดูดใจนักท่องเท่ียวให้สามารถเข้ ามาท่องเที่ยวในพื้นท่ีได้เป็น
จานวนมาก จากสถิติการท่องเท่ียวพบว่าแนวโน้มการเติบโตทางด้านการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับ
ชายทะเลและชายหาดมีแนวโน้มในการเติบโตเป็นลาดับท่ี 3 เมื่อเทียบกับกิจกรรมการท่องเท่ียว
ทุกประเภท จากความโดดเด่นดังกล่าวและแนวโน้มที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จึงควรให้ความสาคัญต่อ
การพัฒนาการท่องเที่ยวชายฝ่ังทะเล เม่ือเทียบกับกิจกรรมการท่องเที่ยวทุกประเภท ทั้งน้ี
จากความโดดเด่นดังกล่าวและแนวโน้มท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจึงควรให้ค วามสาคัญต่อการ พั ฒ น า
การท่องเทย่ี วชายฝง่ั ทะเล

อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่จะนาไปสู่การยกระดับขีดความสามารถและเพ่ิมจานวน
นกั ทอ่ งเที่ยวจะต้องอาศัยความพร้อมในเรื่องของโครงสร้างปัจจยั พ้นื ฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าถึง
แหล่งท่องเท่ียวได้โดยสะดวก ทั้งนี้ท่ีผ่านมาพบว่า แผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านถนนโดย
กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวงชนบทได้ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเสน้ ทางเลียบชายหาดในพื้นที่
เป้าหมายมีการพัฒนาเส้นทางเลียบชายหาดต้ังแต่บางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี ถึงจังหวัดชุมพร
อย่างไรก็ตาม ในการพัฒนาเส้นทางเลียบชายหาดพบข้อจากัดในเร่ืองของการตัดถนนที่ไม่เป็นแนว
ระนาบคู่กับชายหาดยังมีพื้นท่ีบางส่วนของชายหาดท่ีไม่ต่อเน่ืองกันตลอดแนวจึงนาไปสู่ข้อจากัดของ
การพัฒนาเส้นทางเลียบชายหาดดังกล่าว นอกจากข้อจากัดเร่ืองของการตัดถนนดังกล่าวแล้ว พบว่า
ในบางพื้นท่ียังมีภาวะของการเป็นจุดเสี่ยงเน่ืองจากยังไม่มีส่ิงอานวยความสะดวกด้านสาธารณูปโภค
และการให้การบริการทางการท่องเที่ยว ตัวอย่างเช่น ระบบไฟฟ้า ระบบกล้องวงจรปิด
การส่ือความหมายจุดพักรถ จุดชมวิวระหว่างทาง ท้ังน้ี พบว่าพ้ืนที่บางจุดมีศักยภาพต่อการยกระดับ
ให้กลายเป็นจุดชมวิวแต่จากข้อจากัดของพื้นท่ีเส้นทางทาให้ไม่สามารถยกระดับสู่การเป็นจุดชมวิว
หรืออาจจะนามาซ่ึงโอกาสความเสี่ยงเรื่องอุบัติเหตุได้ อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายจุดที่สาคัญตลอด
เส้นทางเลียบชายหาดที่มีความสวยงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านของทัศนียภาพส่งผลให้
นักท่องเท่ียวแวะเย่ียมชมวิวทิวทัศน์ตลอดการเดินทางท่องเที่ยวซึ่งสร้างโอกาสต่อการสร้างกิจกรรม
การทอ่ งเที่ยวและความประทับใจ

ดังนั้น จัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเล
ตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) น้ีจึงนาเสนอ โครงการการพัฒนาเส้นทางเข้า
สู่แหล่งท่องเที่ยวและเสน้ ทางเลียบชายหาดของแต่ละจังหวัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเส้นทาง
เลียบชายหาดในจุดสาคัญให้มีความพร้อมต่อการรองรับนักท่องเท่ียว ส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัย

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-8
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

จากการทอ่ งเท่ียว ซึง่ ผลจากการพัฒนาจะสร้างประโยชน์ท้ังในด้านของการดารงชวี ิตของประชาชนใน
ท้องถ่ินและรวมไปถึงนักท่องเที่ยวท่ีเดินทางมาท่องเท่ียวในพ้ืนที่ก่อให้เกิดการกระจายตัว
ของนักท่องเท่ยี วและสร้างโอกาสในการสรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี วต่อไป

วัตถุประสงค์

โครงการการพัฒนาเส้นทางเข้าสู่แหล่งท่องเท่ียวและเส้นทางเลียบชายหาดมี
วตั ถปุ ระสงค์โครงการ ดังน้ี

1. เพ่อื ปรบั ปรุงจุดอันตรายบนเส้นทางการทอ่ งเทีย่ วและตามแนวถนนเลยี บชายหาด
2. เพื่อปรับปรุงทางแยกเป็นจุดท่ีทาให้เกิดความล่าช้าในการเดินทางและเป็นจุดเส่ียง

ต่อการเกิดอุบัติเหตุเพ่ือพัฒนาพื้นท่ีริมทางสาหรับการเป็นจุดพักรถและจุดชมวิว
สาหรับนักท่องเทยี่ วและประชาชนท่ใี ช้เส้นทาง
3. เพ่ือยกระดับส่ิงอานวยความสะดวกตลอดเส้นทางการท่องเที่ยวในด้าน
ความปลอดภยั ท้ังในด้านแสงสว่างและกลอ้ งวงจรปิด
4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวชุมชนท่ีเชื่อมโยงกับถนนเลียบชายหาด
และการกระจายตวั ของนักท่องเทย่ี วไปยงั แหล่งท่องเทยี่ วรอง

เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ

1. จานวนจุดชมวิวของเส้นทางเขา้ ส่แู หล่งทอ่ งเที่ยวและเส้นทางเลียบชายหาดในพ้นื ท่ี
เปา้ หมาย 4 จงั หวดั

2. การเพ่ิมจานวนเครอื ขา่ ยเส้นทางการท่องเท่ยี วท่ีกระจายในพืน้ ที่และพนื้ ทเ่ี ช่ือมโยงสู่
ชายหาด 21 เส้นทาง

3. จานวนนักทอ่ งเทีย่ วเพิ่มมากขน้ึ ในพน้ื ที่ ร้อยละ 10

กลมุ่ เป้าหมาย/พ้นื ทเี่ ป้าหมาย

เพื่อให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเที่ยวในเขต
พัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาเส้นทางเข้าสู่แหลง่ ท่องเที่ยวและเส้นทางเลียบชายหาด กาหนด
พ้นื ทเ่ี พอ่ื การพัฒนา ครอบคลุมพ้ืนทเี่ ปา้ หมาย จานวน 4 จงั หวัด โดยมขี อ้ มูลท้งั สน้ิ 21 แห่ง

1. ถนนสายเขา้ นา้ ตกบกกราย อาเภอกระบรุ ี จังหวัดระนอง
2. บ้านคลองโคน-บ้านบางตะบนู อาเภอบา้ นแหลม จังหวดั เพชรบรุ ี
3. บา้ นท่ามว่ ง-บา้ นบางเบิด อาเภอสะพานน้อย จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์
4. บ้านสระน้อย-ชายหาดนา้ ปราณ อาเภอปราณบรุ ี จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์
5. ปากทางบ้านทุ่งมะเม่า-อุทยานวิทยาศาสตร์หว้ากอ อาเภอเมือง จังหวัด

ประจวบครี ขี ันธ์
6. เพชรเกษม-สถานีรถไฟทุ่งประดู่ อาเภอทบั สะแก จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝง่ั ทะเลตะวันตก 7-9
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

7. สถานีรถไฟทุง่ ประด-ู่ วัดทับสะแก อาเภอทบั สะแก จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์
8. แยกทางหลวงหมายเลข 4-บา้ นกรดู อาเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์
9. แยกทางหลวงหมายเลข 3201-บา้ นบางจาก อาเภอประทวิ จังหวดั ชุมพร
10. สายบา้ นบางคอย-บา้ นทุง่ คาคอย อาเภอเมอื ง จงั หวดั ชมุ พร
11. แยกทางหลวงหมายเลข 4001-บ้านโพธิแ์ บะ อาเภอประทวิ จงั หวัดชมุ พร
12. แยกทางหลวงหมายเลข 4198-เทศบาลปากน้าหลังสวน อาเภอทุ่งตะโก จังหวัด

ชมุ พร
13. แยกทางหลวงหมายเลข 4098-บ้านหาดทรายรี-บ้านมัทรี อาเภอเมือง จังหวัด

ชมุ พร
14. ถนนเพชรเกษม-อุทยานวทิ ยาศาสตร์หว้ากอ อาเภอเมอื ง จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์
15. ชายหาดปากน้าปราณ-บ้านหนองบัว อาเภอปราณบุรี จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์
16. แยกทางหลวงหมายเลข 4 (กม.254)-บา้ นบอ่ นอก เลยี บชายหาดพนุ อ้ ย
17. บ้านหนองบัว-บ้านเขากะโหลก อาเภอปราณบุรี จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์
18. บา้ นกรดู -บ้านกลางอา่ ว อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์
19. แยกทางหลวงหมายเลข 41-บ้านหนองทองดา อาเภอเมอื ง จังหวดั ชมุ พร
20. แยกทางหลวงหมายเลข 41-บา้ นคลองชมุ อาเภอเมืองอาเภอสวี จงั หวดั ชุมพร
21. อา่ วทุ่งซาง-หมู่ 5 บ้านบางจาก อาเภอปะทวิ จังหวดั ชุมพร

วิธกี ารและข้ันตอนการดาเนินการ/กจิ กรรม

1. การศกึ ษาแนวทางการพฒั นาเส้นทางเพ่ือการดาเนินการพัฒนาเสน้ ทางสาหรับ
การท่องเที่ยว ท่ีอยบู่ นพน้ื ฐานความปลอดภยั และความเหมาะสมของพ้นื ท่ี

2. กาหนดพื้นท่ีเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาตามแผนประกอบด้วย 21 เส้นทาง โดยให้
ความสาคัญต่อการความสะดวกสบายในการเดินทาง และรวมไปถึงการสื่อ
ความหมาย

3. ดาเนินการด้านตามขอ้ กาหนดทางกฎหมายที่เกยี่ วข้อง
4. การจดั จา้ งตามระเบยี บและกลไกของรฐั

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563-2564

หนว่ ยงานดาเนินงาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ กรมทางหลวงชนบท
กระทรวงคมนาคม
หน่วยงานร่วม มีบทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมือต่อระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรและการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทฯ และ
โครงการ ได้แก่

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-10
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ท่ี

งบประมาณ 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลผลิต 2. กรมการท่องเท่ยี ว

ผลลัพธ์ 150,000,000 บาท

1. จานวนการพัฒนาประสิทธิภาพด้านสิ่งอานวยความสะดวกของเส้นทางเลียบ
ชายหาด ไดแ้ ก่ ระบบไฟฟ้า กล้องวงจรปดิ การสือ่ ความหมายและจุดแวะพกั

2. เพมิ่ เสน้ ทางการเขา้ ถึงแหล่งท่องเทยี่ วและเช่ือมโยงสูช่ ายหาด
3. เพ่ิมจานวนนักท่องเที่ยว และกระจายตัวของนักท่องเท่ียวสู่พ้ืนที่ท่องเท่ียวไทย

แลนดร์ ิเวียร่า

1. เกิดการคมนาคมขนส่งภายในพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพต่อคนในท้องถิ่นและ
นักท่องเทีย่ ว

2. การให้เกิดการลงทุนใหม่ ธุรกิจการท่องเท่ียวและการบริการเพื่อรองรับ
การพฒั นาเสน้ ทางในพืน้ ที่

3. เกิดโอกาสการสรา้ งรายได้ การกระจายรายไดไ้ ปสทู่ กุ ภาคส่วนทเี่ ก่ยี วข้อง

ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั
1. เกิดประสิทธิภาพในการคมนาคมขนส่งในเส้นทางเลียบชายหาดในพื้นท่ี
โดยสามารถลดอุบัติเหตุ สร้างความปลอดภัยและความสะดวกสบายใน
การเดินทางของคนในท้องถ่นิ และนักท่องเที่ยวในการเยย่ี มเยือน
2. การกระจายตวั ของนักท่องเท่ียวไปยังแหลง่ ท่องเที่ยวรอง
3. เกิดภาพลักษณ์เชิงบวกต่อพน้ื ท่ีในการยกระดบั สู่การเปน็ จดุ หมายปลายทาง
ช้นั นาระดับโลก

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพฒั นาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-11
และโครงการในการพัฒนาพ้นื ท่ี

โครงการการปรับปรงุ ทัศนยี ภาพสถานรี ถไฟและทศั นยี ภาพสองขา้ งทาง

หลักการและเหตุ

จากแนวคิดของการพัฒนาพ้ืนที่ชายฝ่ังทะเลตะวันตกท่ีจะนาไปสู่การพัฒนาเป็นจุดหมาย
ปลายทางการท่องเที่ยวชั้นนาระดับโลก จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน
ด้านการคมนาคมขนส่งและการเข้าถึงทั้งจากภายนอกพ้ืนที่และภายในพื้นท่ี รวมไปถึงการเช่ือมโยง
รูปแบบการเดินทางการคมนาคมขนส่งที่สามารถประโยชน์ต่อนักท่องเท่ียวและผู้เย่ียมเยือน
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานการคมนาคมขนส่งพบว่าท่ีผ่านมา กระทรวงคมนาคมโดย การรถไฟ
แห่งประเทศไทยได้ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาและยกระดบั ขีดความสามารถการขนส่งระบบรางทม่ี ี
การเชื่อมโยงจากกรุงเทพฯ ไปจนถึงพ้ืนที่ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่งิ พ้ืนที่เป้าหมายภายใต้โครงการไทย
แลนด์ริเวียร่า นอกจากการพัฒนาโครงสร้างและระบบรถไฟเดิม ปัจจุบันได้มีการพัฒนาโครงการ
ระบบรถไฟรางคู่ รถไฟเดิมที่มีอยู่ซ่ึงการดาเนินงานแบ่งออกเป็น 5 ระยะอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง
ทง้ั น้ีจะมีรถไฟท่เี กดิ ขึน้ ใหม่พร้อมทั้งสถานีเพิ่มขึ้นถึง 59 สถานี และมกี ารแบง่ ประเภทสถานกี ารขนาด
และลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีแตกต่างกัน จัดการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานระบบรถรางดังกล่าว
ข้างต้นจะนาไปสู่โอกาสการเดินทางขนส่งและการเข้าถึงพ้ืนที่ท่องเท่ียวได้มากกว่าเดิม ท้ังนี้
มีการคาดการณ์จานวนผู้เดินทางในอนาคตท่ีจะเพ่ิมมากขึ้นถึง 3 เท่าจากจานวนผู้ใช้บริการเดิม
เนื่องจากสามารถลดระยะเวลาการดาเนินทางจากเดิม ส่งผลให้เกิดการเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียว
อย่างไรก็ตาม เพือ่ เป็นการเตรียมพร้อมสาหรบั การรองรับการเติบโตทางการท่องเที่ยวดังกล่าวข้างต้น
จาเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องให้ความสาคัญต่อการปรับปรุงทัศนียภาพสถานีรถไฟและทัศนียภาพ
สองข้างทาง โดยแนวคิดในเร่ืองของการพัฒนาการท่องเที่ยวให้คุณค่าต่อการพัฒนาระบบการขนส่ง
และการยกระดับสถานีมีหรือจุดเชื่อมโยงให้สามารถเช่ือมโยงกับรูปแบบการท่องเที่ยวอ่ืนและ
นาอัตลักษณ์ความโดดเด่นในพ้ืนที่มาประยุกต์ใช้เพ่ือยกระดับสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีสา มารถ
สรา้ งความประทบั ใจให้กับนักทอ่ งเท่ียวและผู้มาเยี่ยมเยือน

ดงั นัน้ จัดทาแผนแมบ่ ทการพัฒนาพืน้ ทที่ ่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) นี้ จึงนาเสนอโครงการปรับปรุงทัศนียภาพรถไฟและ
ทัศนียภาพสองข้างทาง โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือพัฒนาและยกระดับทัศนยี ภาพของสถานรี ถไฟหลักโดย
นาแนวคิดเรื่องของอัตลักษณ์และความโดดเด่นของพื้นที่มาประยุกต์ใช้ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม
เชิงพาณิชย์เพ่ือการรองรับนักท่องเท่ียว ระบบการให้บริการที่ทันสมัยและคุณภาพของบุคลากร
ท่ีพร้อมให้บริการในระดับสากล ซึ่งหากพิจารณาจากศักยภาพแล้วพบว่าเป็นสถานีรถไฟหลักท่ีมี
การสัญจรและมีขีดความสามารถต่อการยกระดับเพ่ือเป็นสถานีต้นแบบด้านการท่องเที่ยว ได้แก่
สถานีรถไฟเพชรบุรี สถานีรถไฟหัวหิน สถานีรถไฟปราณบุรี สถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์และสถานี
รถไฟชุมพร โดยสถานีรถไฟชุมพรเป็นสถานีท่ีมีศักยภาพทางการพัฒนาใหเ้ ป็นศูนย์กลางการเชือ่ มโยง
ระบบรางของพ้นื ท่ี ผลจากการพัฒนาดังกล่าว สร้างภาพลักษณ์และความพร้อมด้านการขนส่งทางบก
ระบบรางและความพร้อมด้านการท่องเที่ยวที่จะนาไปสกู่ ารเปน็ พ้นื ท่ีจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว
ช้นั นาระดบั โลกได้

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนุนการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-12
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนท่ี

วัตถปุ ระสงค์
โครงการการปรับปรุงทัศนียภาพสถานีรถไฟและทัศนียภาพสองข้างทาง มีวัตถุประสงค์

โครงการดงั น้ี
1. เพ่ือยกระดับทัศนียภาพของสถานีรถไฟท่ีสอดคล้องกับอัตลักษณ์เชิงพ้ืนที่เพ่ือ
การสง่ เสริมภาพลกั ษณ์ทางการทอ่ งเท่ียว
2. เพ่ือออกวางแผนพัฒนาพื้นท่ีของสถานีรถไฟให้สามารถรองรับพฤติกรรม
และกจิ กรรมการทอ่ งเทีย่ วของนกั ท่องเทีย่ วในอนาคต
3. เพ่ือปรับปรุงทัศนียภาพสองข้างทางรถไฟให้มีความสวยงามและปลอดภัยสามารถ
สร้างความประทบั ใจใหก้ ับนกั ทอ่ งเที่ยว
4. เพ่ือพัฒนาโอกาสการเช่ือมโยงการท่องเท่ียวและรองรับการเพิ่มขึ้นของจานวน
นกั ท่องเที่ยว

เป้าหมายและตัวชี้วดั ความสาเร็จของโครงการ
1. จานวนสถานีรถไฟที่ได้รับการพัฒนาตามแผนกระทรวงคมนาคม 5 สถานีหลัก
ที่มีความโดดเด่นการท่องเที่ยว ได้แก่ สถานีรถไฟเพชรบุรี สถานีรถไฟหัวหิน สถานี
รถไฟปราณบรุ ี สถานรี ถไฟประจวบครี ีขันธ์ และสถานีรถไฟชมุ พร
2. ร้อยละของความพงึ พอใจของนักทอ่ งเที่ยวท่มี ีตอ่ การท่องเทยี่ วของพนื้ ท่ี รอ้ ยละ 90
3. ร้อยละของจานวนนักท่องเที่ยวในพ้ืนท่ที ีเ่ พิม่ ขึ้นร้อยละ 20
4. เพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ จากวันธรรมดา 400 คน
และวนั หยดุ 700 คน เป็น 700-1,000 คน/วัน

กลุม่ เปา้ หมาย/พน้ื ที่เปา้ หมาย
เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเที่ยวในเขต

พัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการปรับปรุงทัศนียภาพสถานีรถไฟและทัศนียภาพสองข้างทาง กาหนด
สถานรี ถไฟพน้ื ทเ่ี ป้าหมายเพ่ือการพัฒนา 4 แห่ง ดังนี้

1. สถานีรถไฟเพชรบุรี แนวคิดสถานีที่นาเสนอ “ถิ่นวัฒนธรรมเมืองเพชร” นาเสนอ
สิ่งท่ีโดดเด่นในพ้ืนท่ี 3 มิติหลัก คือ 1) งานช่างและศิลปินแห่งชาติ 2) ศิลปะและ
การแสดง 3) วิถชี ีวิตและประเพณี

2. สถานีรถไฟหัวหิน แนวคิดสถานีที่นาเสนอ “The Royal Memorable” นาเสนอ
ส่งิ ทีโ่ ดดเด่นในพืน้ ท่ีหวั หนิ

3. สถานีรถไฟปราณบุรี แนวคิดสถานีท่ีนาเสนอ “ปราณบุรี” นาเสนอส่ิงที่โดดเด่น
ในพนื้ ที่ วิถีชีวิตปากน้าปราณบุรี

4. สถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์ แนวคิดสถานีที่นาเสนอ “สับปะรด” นาเสนอส่ิงท่ีโดด
เดน่ ในพนื้ ทแ่ี ละด้านการเป็นแหล่งท่องเท่ยี วมีความโรแมนติก อบอนุ่ และปลอดภยั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนุนการพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-13
และโครงการในการพัฒนาพืน้ ท่ี

5. สถานีรถไฟชุมพร แนวคิดสถานีท่ีนาเสนอ “กาแฟไทย” นาเสนอสิ่งที่โดดเด่น
ในพืน้ ทีใ่ นด้านกาแฟท่มี ีช่ือเสยี ง

วธิ ีการและข้นั ตอนการดาเนินการ/กิจกรรม
1. การประชุมระดมความคิดเพื่อการพัฒนาปรับปรุงทัศนียภาพสถานีรถไฟ
และทัศนียภาพสองข้างทาง ท้ังน้ีประกอบด้วย พื้นท่ีเป้าหมายหลัก คือ สถานีรถไฟ
เพชรบุรี สถานีรถไฟหัวหิน สถานีรถไฟปราณบุรี สถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์
และสถานรี ถไฟชุมพร รวม 5 สถานี
2. ศึกษาและกาหนดแนวทางการพัฒนาบนพื้นฐานของอัตลักษณ์ในแต่ละพื้นที่ ท้ังนี้
ใ น เ บ้ื อ ง ต้ น ก า ห น ด เ พ่ื อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร น า ภู มิ ทั ศ น์ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ป ต่ อ ย อ ด
ในการส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของพื้นท่ี และการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูวัฒนธรรม
ท้องถิ่น และเพื่อก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้านอุปสงค์ทางการท่องเท่ียว
และผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ รวมไปถึงกระบวนการการออกแบบภูมิทัศนว์ ัฒนธรรม
เพ่ือการท่องเท่ียว ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและ
เอกชน สามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการออกแบบภูมิทัศนว์ ัฒนธรรมในพืน้ ท่ีอ่ืนๆ
ได้อกี ดว้ ย

 สถานีรถไฟเพชรบุรี แนวคิดสถานีที่นาเสนอ “ถ่ินวัฒนธรรมเมืองเพชร”
นาเสนอสิ่งท่ีโดดเด่นในพื้นที่ 3 มิติหลัก คือ 1) งานช่างและศิลปินแห่งชาติ
2) ศลิ ปะและการแสดง และ 3) วิถชี วี ติ และประเพณี

 สถานีรถไฟหัวหิน แนวคิดสถานีที่นาเสนอ “The Royal” นาเสนอสิ่งที่
โดดเดน่ ในพ้นื ท่ี

 สถานีรถไฟปราณบุรี แนวคิดสถานีที่นาเสนอสิ่งท่ีโดดเด่นในพื้นที่วิถีชีวิต
ปากน้าปราณบุรี

 สถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์ แนวคิดสถานีท่ีนาเสนอสิ่งท่ีโดดเด่นในพ้ืนที่
บรรยากาศของการพกั ผอ่ น

 สถานีรถไฟชุมพร แนวคิดสถานีที่นาเสนอสิ่งที่โดดเด่นในพ้ืนที่
ด้านการท่องเชงิ เกษตรและกีฬา

3. กาหนดแนวทางการพัฒนาสถานแี ละทศั นียภาพสองขา้ งทาง ประกอบดว้ ย

 การออกแบบอาคารใหม่ที่แสดงออกถึงความเช่ือมโยงทางอัตลักษณ์
ทางวัฒนธรรมผา่ นรูปแบบสถาปัตยกรรมภายใต้อตั ลักษณท์ ่ีไดก้ าหนดแต่ละ
จงั หวดั

 การกาหนดแนวทางเพื่อการพฒั นาแผนผงั การใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ ในอนาคต

 การกาหนดแนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ พืน้ ทโี่ ล่ง

 การกาหนดแนวทางการพัฒนาและปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์เมือง

 การกาหนดแนวทางการปรบั ปรุงพ้ืนที่สวนปา่ รกร้างบริเวณข้างเคียง

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝั่งทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนุนการพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ียวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก 7-14
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

 การกาหนดแนวทางการปรับปรุงสถานีรถไฟเพ่ือการพัฒนาให้เป็น
แหล่งท่องเที่ยวท่ีมีความม่ันคง สวยงามตามอัตลักษณ์ความเป็นไทยและ
เปน็ เอกลักษณอ์ ยา่ งยง่ั ยนื ต่อไป

4. การดาเนนิ การพฒั นาสถานีและการตดิ ตาม

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563
หนว่ ยงานดาเนนิ งาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย
กระทรวงคมนาคม
หน่วยงานร่วม มีบทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมือต่อระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรและการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผนแม่บทฯ และ
โครงการ ไดแ้ ก่

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
2. กรมการท่องเทยี่ ว

งบประมาณ 100,000,000 บาท

ผลผลิต

1. สถานีรถไฟท่ีมีความโดดเด่นสามารถนาเสนออัตลักษณ์ในพื้นที่สอดคล้องกับ
ภาพลกั ษณ์จุดหมายปลายทางการทอ่ งเท่ียวชน้ั นาของประเทศ

2. ภาพลักษณ์เชิงบวกต่อสถานีรถไฟรวมถึงพื้นที่ทัศนียภาพของข้างทางก่อให้เกิด
คณุ ค่าทางการท่องเทย่ี ว ความประทับใจจากการท่องเท่ียว

3. ประสิทธิภาพการเช่ือมโยงทางการท่องเทยี่ วโดยมสี ถานรี ถไฟเปน็ ศูนย์กลางเชือ่ มโยง
กบั รปู แบบการขนสง่ ในพืน้ ที่

ผลลัพธ์

1. ความสะดวกในการเดินทางและโอกาสการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวและพ้ืนที่สาคัญ
ต่างๆ

2. เพ่ิมจานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วและการอานวยความสะดวกทางการทอ่ งเทย่ี ว
3. เกดิ การเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมและการช่ืนชมตอ่ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมในพื้นท่ี

ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั
1. เกิดการพัฒนาพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรมภายใต้การเชื่อมโยงคุณค่าเชิงอัตลักษณ์
ทสี่ าคัญกอ่ ใหเ้ กดิ การอนุรกั ษอ์ ย่างยง่ั ยืน

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝ่ังทะเลตะวนั ตก 7-15
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

2. เกิดทัศนียภาพของสถานีรถไฟท่ีสวยงามส่งเสริมภาพลักษณ์ทางการท่องเท่ียวและ
พ้นื ที่การทอ่ งเทย่ี วชน้ั นาของประเทศ

3. ขีดความสามารถและประสิทธิภาพการรองรับและการบริการด้านการขนส่งทาง
รถไฟ

4. สรา้ งการอานวยความสะดวกในการคมนาคมขนสง่ ให้คนในท้องถิ่นและนักทอ่ งเท่ียว
ในการเดินทาง

5. เพ่ือพัฒนาโอกาสการเชื่อมโยงการท่องเท่ียวและรองรับการการเพิ่มขึ้นของจานวน
นักท่องเท่ยี ว

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนุนการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก 7-16
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ท่ี

โครงการการยกระดับจดุ ผ่านแดนเพอ่ื การสง่ เสรมิ การท่องเที่ยว

หลกั การและเหตผุ ล

จ า ก แ น ว คิ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล ต ะ วั น ต ก ที่ จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น
จุดหมายปลายทางการท่องเท่ียวช้ันนาระดับโลก ให้โอกาสการพัฒนาการเชื่อมโยงการเข้าถึง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสการนานักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเข้าสู่พ้ืนที่ เพื่อนาไปสู่การเพิ่มจานวน
นักท่องเท่ียวและโอกาสในการสร้างรายได้ จากการศึกษาพบว่า ในพื้นที่เป้าหมายไทยแลนด์ริเวียร่า
จัดเป็นพื้นท่ีที่มีศักยภาพในด้านเช่ือมการโยงการท่องเท่ียวระหว่างประเทศหรือการท่องเท่ียวข้าม
พรมแดน เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีที่เช่ือมโยงติดกับประเทศเพื่อนบ้าน อย่างสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
โดยปจั จุบนั มกี ารกาหนดดา่ นตรวจคนเข้าเมืองที่เช่ือมโยงกันในหลายพื้นท่ีและมีการเดินทางขา้ มแดน
ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรฐั แห่งสหภาพพมา่ รวมไปถึงนกั ท่องเทยี่ วท่เี ดินทางเชื่อมโยงระหว่าง
พื้นท่ี

ปัจจุบัน พบว่าในพื้นที่อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธม์ ีด่านตรวจคนเข้าเมือง คือ
ด่านตรวจคนเข้าเมืองสิงขรซึ่งปัจจุบันต้ังอยู่ในพื้นท่ีถนนเลียบคลองชลประทาน ตาบลหัวหิน อาเภอ
หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ทาหน้าท่ีในการดูแลและอานวยความสะดวกด้านการเข้าเมือง
เปิดพื้นท่ีดังกล่าวจะสามารถเช่ือมโยงการท่องเที่ยวไปยังเมืองมะริด ภาคตะนาวศรี สาธารณรัฐ
แห่งสหภาพพม่าก่อให้เกิดโอกาสการเช่ือมโยงการท่องเท่ียวระหว่างประเทศ ประกอบกับการพัฒนา
เส้นทาง ถนนทีเ่ ชื่อมโยงตะนาวศรี จะนาไปสู่โอกาสการยกระดับการเช่ือมโยงที่เพ่ิมมากขนึ้ นอกจากนี้
จังหวัดระนองยังมีพื้นที่ท่ีมีขีดความสามารถต่อการเช่ือมโยงไปยังสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า โดยมี
ด่านตรวจคนเข้าเมืองท่ีเช่ือมโยงการท่องเที่ยวระหว่างประเทศอยู่บนถนนเฉลิมพระเกียรติหรือถนน
สะพานปลา ตาบลบางร้ิน อาเภอเมือง จังหวัดระนองโดยมีอานาจหน้าท่ีในการอานวยการและ
สนับสนุนดา้ นการข้อมูลการตรวจบคุ ลากรและพาหนะการบริการคนต่างด้าว งานสืบสวนปราบปราม
และสง่ กลบั รวมถงึ การพิสูจนส์ ัญชาติ ปจั จุบัน จะพบว่ามีนกั ทอ่ งเทย่ี วจานวนมากท่ีเดนิ ทางผา่ นด่าน
ตรวจคนเข้าเมืองระนอง เพื่อเช่ือมโยงการท่องเที่ยวไปยังประเทศพม่า และมีนักท่องเท่ียวจาก
ประเทศพม่าเดินทางเข้าสู่ประเทศไทยผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองระนอง อย่างไรก็ตาม พบว่าใน
บริเวณด่านตรวจคนเข้าเมืองยังมีข้อจากัดในเร่ืองของการอานวยความสะดวกและส่ิงอานวยความ
สะดวกต่างๆ รวมไปถึง การให้บริการทางการทอ่ งเที่ยว

ดังนั้น จัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเล
ตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) น้จี งึ นาเสนอโครงการการพัฒนาดา่ นเข้าเมือง
โดยมุ่งเน้นแนวทางการสร้างความร่วมมือ เพ่ือยกระดับความพร้อมของเดินเข้าเมืองการพัฒนา
ปรับปรุงเง่อื นไขการเข้าเมอื งการปรบั ปรงุ ระบบงานดา้ นการเข้าเมือง และผลท่คี าดว่าจะได้รบั จากการ
พัฒนาจะสร้างโอกาสทางการท่องเท่ียวเพ่ิมจานวนนักท่องเท่ียวและนาไปสู่การสร้างรายได้เข้าสู่
ประเทศ

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-17
และโครงการในการพฒั นาพนื้ ท่ี

วัตถปุ ระสงค์
โครงการการยกระดับจุดผ่านแดนเพ่ือการส่งเสริมการท่องเท่ียว มีวัตถุประสงค์โครงการ

ดังนี้
1. การกาหนดแนวทางความร่วมมือเพ่ือการยกระดับความพร้อมของด่านเข้าเมือง
สิงขร จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ และดา่ นตรวจคนเข้าเมืองระนอง
2. การพัฒนาปรับปรุงเง่ือนไขการเข้าเมืองเพ่ือการสร้างโอกาสทางการทอ่ งเท่ียว
3. การปรบั ปรุงระบบงานด้านการเขา้ เมอื งเพื่อการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการดาเนินงาน
4. เพ่ือกาหนดการพัฒนาขีดความสามารถด่านตรวจคนเข้าเมืองและกิจกรรมการ
บริการด้านการทอ่ งเทีย่ ว

เปา้ หมายและตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ
1. จานวนด่านตรวจคนข้าเมอื งทไี่ ด้รบั การพัฒนา 2 ดา่ น
2. ร้อยละในการเพ่ิมขึ้นของจานวนนักท่องเท่ียวร้อยละ 5 (จากจานวนนักท่องเท่ียว
ผ่านด่านเข้าเมอื งขอ้ มลู จากกองตรวจคนเข้าเมือง)
3. ร้อยละจากการเพมิ่ ขนึ้ ของรายได้จากสนิ ค้าและบริการด้านการท่องเทย่ี ว ร้อยละ 10
ของมูลคา่ การทอ่ งเทย่ี วจังหวดั
4. ร้อยละของจานวนนกั ทอ่ งเท่ยี วในพ้ืนทีท่ ี่เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 10

กลุ่มเป้าหมาย/พน้ื ทีเ่ ป้าหมาย
เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเท่ียวในเขต

พัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการยกระดับจุดผ่านแดนเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยว กาหนดด่านตรวจ
คนเข้าเมอื งทเ่ี ปน็ พื้นทเ่ี ปา้ หมายเพื่อการพัฒนา จานวน 2 แห่ง ดงั นี้

1. ดา่ นตรวจคนเข้าเมอื งสงิ ขร จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์
2. ดา่ นตรวจคนเขา้ เมอื งระนอง จังหวดั ระนอง

วธิ ีการและขนั้ ตอนการดาเนนิ การ/กิจกรรม
1. จัดการประชุมระดมความเห็นเพ่ือการยกระดับจุดผ่านแดนเพื่อการส่งเสริมการ
ท่องเท่ยี ว โอกาสและการเติบโตทางการท่องเท่ยี ว ภายใต้กรอบการพฒั นาดา่ นตรวจ
คนเข้าเมือง ดงั ต่อไปน้ี
 พัฒนาเส้นทางการขนส่ง ด่านชายแดน ปรับปรุงกระบวนการข้ามแดน
(CIQ)
 ผลกั ดันการเร่งรดั การออกกฎหมายเพ่อื รองรับการขนส่งข้ามพรมแดน
 พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน/สง่ิ อานวยความสะดวกในพนื้ ที่
 พฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดนและเช่อื มโยงการผลติ ร่วมกนั
 เสรมิ สรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศในระดบั ทอ้ งถิ่น

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนุนการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเทย่ี วฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-18
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ท่ี

 การพัฒนาตลาดชายแดนให้ได้มาตรฐานและอานวยความสะดวก
ในการข้ามแดนของประชาชน

 ส่งเสรมิ ศกั ยภาพของผูป้ ระกอบการท้องถ่ินใหส้ ามารถแข่งขันได้

 พัฒนาด่านและโครงสร้างพื้นฐานสนับสนุนการค้าและการขนส่งระดับ
ทอ้ งถนิ่ ให้ได้มาตรฐาน

2. การกาหนดแนวทางมาตรการ ระเบียบการเขา้ เมืองเพอื่ โอกาสทางการท่องเท่ียว

 ระบบวซี า่

 ระยะเวลาการพานกั ในประเทศ
3. การกาหนดแนวทางการพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การการตรวจคนเขา้ เมือง

 การพัฒนากาลังคนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความสามารถสร้างสรรค์
ผลิตสารสนเทศ

 การพัฒนาฐานข้อมูลและระบบโปรแกรมประยุกต์สารสนเทศตรวจคนเข้า
เมืองให้เปน็ เครอ่ื งมือในการควบคมุ คนตา่ งดา้ ว

 ชอ่ งตรวจหนังสอื เดินทางอตั โนมัติ

 การบริหารจัดการฐานข้อมลู ลายพิมพ์นว้ิ มอื อตั โนมัติ
4. การกาหนดแผนปฏิบัตติ ิการ การติดตามและประเมนิ ผล

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563

หน่วยงานดาเนนิ งาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อยา่ งมสี ว่ นร่วมสอดคลอ้ งต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่ กระทรวงการตา่ งประเทศ
หน่วยงานร่วม มีบทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมือต่อระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรที่เก่ียวข้องและการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ และโครงการ ได้แก่
1. สานกั งานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
2. สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทนุ
3. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
4. กรมการคา้ ภายใน กระทรวงพาณชิ ย์

งบประมาณ 50,000,000 บาท

ผลผลติ

1. มีแนวทางและกลไกการยกดับด่านตรวจคนเข้าเมืองที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้เกิด
การเพม่ิ จานวนนักทอ่ งเทยี่ ว

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-19
และโครงการในการพฒั นาพ้ืนที่

2. การดาเนินการของดา่ นตรวจคนเข้าเมืองมปี ระสทิ ธภิ าพเพิ่มมากข้นึ
3. การเพิ่มจานวนนกั ท่องเทยี่ วจากตา่ งประเทศเขา้ สูพ่ นื้ ท่ไี ทยแลนด์รเิ วยี ร่า

ผลลพั ธ์

1. เกิดการเพ่ิมรายได้จากการท่องเท่ียวเพิ่มมากขึ้น รวมถึงโอกาสการกระจายรายได้
ทางท่องเทยี่ วไปสูส่ ่วนตา่ งๆ ที่เกยี่ วข้อง

2. เกดิ ความรว่ มมือระหว่างประเทศในการยกระดับขีดความสามารถการท่องเที่ยวข้าม
พรมแดนและการเช่ือมโยงการท่องเท่ียวในระดับอาเซียนและกระจายตัวไปสู่พ้ืนท่ี
อนั ดามันและพื้นท่เี ศรษฐกจิ อื่นๆ

ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1. ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกในการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศ
เพ่ือนบ้าน
2. เกิดการยกระดับขีดความสามารถของจังหวัดในด้านความร่วมมือเพื่อการยกระดับ
ความพร้อมของด่านเข้าเมืองสิงขร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และด่านตรวจคนเข้า
เมอื งระนองสกู่ ารเปน็ พื้นทก่ี ารคา้ การลงทนุ ชายแดน
3. ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและการสร้างอาชีพในพื้นท่ีและการพัฒนาพ้ืนท่ีอย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถปรับปรุงเง่ือนไขการเข้าเมืองเพ่ือการสร้างโอกาสทางการ
ทอ่ งเทย่ี ว
4. สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศท่ีจะไปซ่ึงการ
พัฒนาทางสังคมและวฒั นธรรมร่วมกัน

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-20
และโครงการในการพัฒนาพ้นื ที่

โครงการพัฒนาขีดความสามารถของสนามบินเพือ่ รองรบั การทอ่ งเที่ยว

หลกั การและเหตุผล

การขนส่งทางอากาศภายในประเทศไทยมีการเติบโตสูงมาก ท้ังน้ีเป็นผลมาจากการ
เติบโตของสายการบินต้นทุนต่ารวมไปถึงการส่งเสริมการท่องเท่ียวและการเดินทางในทุกมิติทาให้
ปริมาณความต้องการเที่ยวบินรวมไปถึงการเดินทางทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น
อย่างมาก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีขีดความสามารถและความพร้อมด้านการขนส่งทางอากาศ
ท้ังน้ีจากจานวนท่าอากาศยานหรือสนามบินทั้งในระดับนานาชาติและภายในประเทศมีการกระจาย
ตัวอยู่ในทุกภูมิภาคส่งผลให้เกิดความคล่องตัวในการเช่ือมโยงและการเข้าถึงท่ีมีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวและนักเดินทางในปัจจุบันท่ีต้องการการเดินทางในระยะสั้น
และต้องการความสะดวกสบายและรวดเร็วในการเดินทาง รวมไปถึงการเติบโตของสายการบนิ ต้นทุน
ตา่ ทม่ี กี ารลงทุนเพิม่ ข้นึ ในประเทศไทย

ทงั้ น้จี ากการพิจารณาท่าอากาศยานหรือสนามบนิ ในพนื้ ที่เปา้ หมายจะพบว่า มีสนามบิน
ท่ีใหบ้ ริการจานวน 3 แห่งจากจานวนพนื้ ที่ 4 จงั หวัด ทา่ อากาศยานหัวหินหรือแต่เดิมคือสนามบินบ่อ
ฝ้ายต้ังอยู่ในเขตตาบลบ่อฝ้ายอาเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีอาคารผู้โดยสารขนาด 7,200
ตารางเมตรและมีลานจอดเคร่ืองบินขนาด 31,000 ตารางเมตรสามารถรองรับผู้โดยสารได้ 240 คน
ต่อช่ัวโมง นอกจากนี้ ท่าอากาศยานหัวหินยังเป็นท่ีตั้งของศูนย์ฝึกการบินสถาบันการบินพลเรือนและ
ศูนย์ฝนหลวงหัวหินซ่ึงดูแลภาคใต้ตอนบน ปัจจุบันสนามบินหัวหินเปิดให้บริการทั้งภายในและ
ต่างประเทศ ท่าอากาศยานชุมพรหรือสนามบินชุมพรตั้งอยู่อาเภอปะทิวจังหวัดชุมพรเป็นท่าอากาศ
ยานในสังกดั กรมท่าอากาศยานกระทรวงคมนาคม ปัจจุบนั มกี ารใหบ้ ริการการเดนิ ทางภายในประเทศ
และเป็นการให้บริการของสายการบินต้นทุนต่า ท่าอากาศยานระนองหรือสนามบินระนองต้ังอยู่ใน
อาเภอเมืองระนองจังหวัดระนองเป็นท่าอากาศยานที่สังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม
มลี านจอดเครอื่ งบิน 4 ชอ่ งทางวิ่งยาว 2,000 เมตร ปจั จบุ นั ให้บรกิ ารการเดนิ ทางภายในประเทศ หาก
มองในด้านความสามารถการรองรับ ท่าอากาศยานหรือสนามบินพบว่ายังมีข้อจากัดบางประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งขีดความสามารถในเร่ืองของทางว่ิงและลานจอดเคร่ืองบินซ่ึงมีอยู่ในจานวนจากัด
นอกจากน้ียังพบว่ามีจานวนเที่ยวบินค่อนข้างน้อยส่งผลใหอ้ ัตราค่าโดยสารเครอ่ื งบินมีราคาสูงและจะ
ส่งผลตอ่ การตัดสินใจของนกั ทอ่ งเท่ียวในการเดนิ ทาง

ดังน้ัน จัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเล
ตะวนั ตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) นี้ จึงนาเสนอโครงการพฒั นาขีดความสามารถ
ของสนามบินเพื่อรองรับการท่องเท่ียว โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือยกระดับขีดความสามารถการรองรับ
ของสนามบนิ การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกและการบริการในสนามบนิ การส่งเสรมิ ให้เกดิ การเพ่ิม
เที่ยวบินและสายการบินท้ังน้ีผลท่ีเกิดขึ้นจากการพัฒนาดังกล่าวจ ะนาไปสู่การยกระดับ
ขีดความสามารถในการรองรับเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวและขยายโอกาสในการสร้างรายได้
ทางการทอ่ งเทย่ี วเพม่ิ มากขึน้

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-21
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ที่

วตั ถุประสงค์
โครงการพัฒนาขีดความสามารถของสนามบินเพ่ือรองรับการท่องเที่ยว มีวัตถุประสงค์

โครงการดังนี้
1. เพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถการรองรับของสนามบนิ 3 แห่ง คือ
1) สนามบินหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) 2) สนามบินชุมพร และ 3) สนามบิน
ระนอง
2. เพ่ือพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกและการบริการในสนามบิน 3 แห่ง คือ
1) สนามบินหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์) 2) สนามบินชุมพร และ 3) สนามบิน
ระนอง
3. เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการเพ่ิมสายการบินและเที่ยวบิน 3 แห่ง คือ 1) สนามบินหัวหิน
(จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ)์ 2) สนามบนิ ชมุ พร และ 3) สนามบินระนอง

เปา้ หมายและตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ ของโครงการ
1. จานวนสนามบนิ ที่ได้รบั การพฒั นา จานวน 3 สนามบนิ
2. จานวนเทย่ี วบินท่ีเพิม่ มากขนึ้ /วนั อยา่ งนอ้ ย 4 เทย่ี วบิน
3. จานวนสายการบนิ ท่ีเพม่ิ มากขึ้น/วัน อยา่ งน้อย 2 สายการบนิ
4. รอ้ ยละในการเพิม่ ขนึ้ ของจานวนนกั ท่องเทย่ี วคุณภาพ ร้อยละ 10
5. การเพ่ิมจานวนเครือข่ายเส้นทางการท่องเท่ียวที่กระจายในพ้ืนท่ีและพ้ืนท่ีเช่ือมโยง
จานวน 5 เส้นทาง
6. รอ้ ยละของความพึงพอใจของนักทอ่ งเท่ยี วที่มีตอ่ การท่องเท่ียวของพ้ืนท่ี รอ้ ยละ 90

กลุม่ เปา้ หมาย/พนื้ ท่ีเป้าหมาย
เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเที่ยวในเขต

พัฒนาการท่องเท่ียวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการพฒั นาขดี ความสามารถของสนามบนิ เพื่อรองรบั การท่องเทีย่ ว กาหนดพ้นื ท่ี
สนามบนิ เป้าหมายเพอื่ การพฒั นา จานวน 3 แหง่ ดังนี้

1. ท่าอากาศยานหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ท่าอากาศยานหัวหิน หรือเดิมคือ
สนามบินบ่อฝ้าย ตงั้ อย่ใู นเขต ตาบลบอ่ ฝ้าย อาเภอหวั หนิ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์

2. ท่าอากาศยานชุมพร ท่าอากาศยานชุมพร หรือสนามบินชุมพร ตั้งอยู่อาเภอปะทิว
จงั หวัดชุมพร เป็นท่าอากาศยานในสงั กัดกรมทา่ อากาศยาน กระทรวงคมนาคม

3. ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานระนอง หรือสนามบินระนอง ตั้งอยู่ที่อาเภอ
เมืองระนอง จังหวดั ระนอง เปน็ ทา่ อากาศยานในสังกดั กรมทา่ อากาศยาน กระทรวง
คมนาคม

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนุนการพฒั นาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-22
และโครงการในการพัฒนาพน้ื ท่ี

วธิ กี ารและขัน้ ตอนการดาเนนิ การ/กจิ กรรม
1. การประชุมร่วมกันเพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถของสนามบิน
เพื่อรองรับการท่องเท่ียวท้ังในส่วนของภาครัฐ ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ และภาคเอกชน เพ่ือกาหนดแนวทางและกลไกเพ่ือการพัฒนาแบบองค์รวม
2. กาหนดแนวทางการยกระดับขีดความสามารถในการรองรับปริมาณการจราจรขนส่ง
โดยมีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญของขีดความสามารถในการรองรับปริมาณ
การจราจรและการขนส่งทางอากาศเพ่ือให้เพียงพอกับความต้องการท้ังในระยะส้ัน
และระยะยาว

 ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย (Safety & Security) ซ่ึง
ท่าอากาศยานต้องดาเนินงานได้ไม่น้อยกว่ามาตรฐานด้านความปลอดภัย
ทีก่ าหนดโดย

 ความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility) คือ จานวนประชากร
ทั่วประเทศ สามารถเข้าถึงท่าอากาศยานที่มีเท่ียวบินระหว่างประเทศได้ใน
ระยะเวลารวมในการเดินทางทกุ รูปแบบ

 ความสามารถในการเช่ือมต่อ (Connectivity) หรือท่าอากาศยาน
ต้องรักษาและพัฒนาบริการด้านการบินให้มีความสามารถในการเชื่อมต่อ
กบั ท่าอากาศยานอนื่ ทเี่ หมาะสมกับประเภทของท่าอากาศยาน

 คุณภาพการให้บริการ (Service Quality) โดยท่าอากาศยานต้องมี
ความสามารถในการให้บริการ และพัฒนาบริการให้สอดคล้องกับ
ความต้องการ และความคาดหวงั ของผูใ้ ช้บริการ

 ประสิทธิภาพการดาเนินงาน (Operational Efficiency) ซึ่งท่าอากาศยาน
ต้องสามารถดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
เพื่อส่งม อบ คุ ณ ค่า ให้ กั บผู้ มีส่ว นเ ก่ี ยว ข้ อ งที่ สา คั ญ คว า ม ยั่ ง ยื น
(Sustainability) ท่าอากาศยานต้องสามารถพัฒนาและรักษาสมดลุ ของการ
ดาเนินงานและการพัฒนาท่าอากาศยานใน 3 มิติหลัก ได้แก่ สังคม
เศรษฐกจิ และสง่ิ แวดล้อม

3. การกาหนดแผนพัฒนาเชิงกายภาพสนามบินในด้านท่ีเกี่ยวข้อง อาคารผู้โดยสาร
สามารถรองรบั ผู้โดยสารในช่ัวโมงเร่งดว่ น 300 คนตอ่ ชั่วโมง รองรบั ผ้โู ดยสาร 5 แสน
คนต่อปี ได้แก่

 พ้ืนที่การอานวยความสะดวกด้านการบิน ประกอบด้วย แนวทางการ
พัฒนาท่าอากาศยานเต็มศักยภาพของพ้ืนที่ให้มีขีดความสามารถรองรับ
ผู้โดยสารได้ล้านคนจะต้องมีการพัฒนา Airside และ Landside ซึ่งทาให้มี
หลุมจอดเพ่ิมเพื่อให้รองรับปริมาณการจราจรท่ีเพ่ิมขึ้นในอนาคตการ
ปรับปรุงระบบเตมิ นา้ มันท่าอากาศยานทางท่อ

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-23
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ท่ี

 พ้ืนที่ภายในอาคารสนามบิน ประกอบด้วย พ้ืนท่ีตรวจบัตรผู้โดยสารภายใน
อาคารผู้โดยสารเพ่ือรองรับการเพ่ิมของจานวนนักท่องเที่ยว เปิดโอกาสให้
ภาคเอกชนท่ีมีความสนใจต้องการลงทุนเข้ามาร่วมเจรจา หรือ Public
Private Partnerships (PPP) ไ ด้ ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ที่ ก า ห น ด ไ ว้ แ ล ะ
เ ค รื่ อ ง ต ร ว จ อ า วุ ธ แ ล ะ วั ต ถุ ร ะ เ บิ ด พ ร้ อ ม ส า ย พ า น ล า เ ลี ย ง สั ม ภ า ร ะ
ห้องควบคมุ และอุปกรณ์

 อาคารและส่ิงอานวยความสะดวกอ่ืนๆ ประกอบด้วย การขยายช่องทาง
ถนนในท่าอากาศยาน อาคารระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ
ระบบถนนภายในโดยเพ่ิมช่องทางจราจร การสร้างอาคารสานักงาน การ
ปรับปรุงอาคารคลังสินค้า พร้อมที่จอดรถยนต์และการก่อสร้างรั้วปิดเขต
การบินและเพิม่ ลวดหนามของรั้วบริเวณรอบ

4. การกาหนดแนวทางการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการบริการ

 ยกระดับมาตรฐานบริการและความปลอดภัย

 การเตรียมความพรอ้ มในการตรวจรับการตรวจสอบตาม

 การแก้ไขขอ้ บกพร่องด้านการรกั ษาความปลอดภัย

 การตรวจสอบการกากับดูแลการรักษาความปลอดภัย Universal Security
Audit Program

 การจดั การระบบความปลอดภยั พน้ื ท่ีการบนิ และเครือข่ายดาวเทียม

 พัฒนาสนามบินมีแนวทางการเชื่อมโยงกับระบบคมนาคมทางน้าจาก
สนามบินไปยงั ท่าเรอื เฟอรร์ ห่ี วั หิน

 สนามบินชุมพรเชื่อมต่อระบบคมนาคมทางน้าจากสนามบินไปยังท่าเรือ
อ่าวทงุ่ มะขามน้อยและเดินทางต่อไปยังเกาะเต่า

 สนามบินระนองจะเชื่อมต่อระบบคมนาคมทางน้าจากสนามบินไปยัง
ท่าเทยี บเรือเทศบาลตาบลปากน้าเพ่ือเดนิ ทางไปยังเกาะพยาม

5. จัดการประชุมร่วมกับบริษัทสายการบินเพ่ือการเพ่ิมจานวนสายการบินและจานวน
เที่ยวบินในพืน้ ที่

6. กาหนดแผนการดาเนนิ งานเพือ่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามที่กาหนด
7. ติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563

หน่วยงานดาเนนิ งาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ กรมท่าอากาศยาน กระทรวง
คมนาคม

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-24
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนท่ี

หน่วยงานร่วม มีบทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมือต่อระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องและการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ และโครงการ ได้แก่

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
2. การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย
3. กรมการท่องเทยี่ ว กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา
4. กองตรวจคนเข้าเมือง กระทรวงคมนาคม
5. กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม
6. กรมเจา้ ทา่ กระทรวงคมนาคม
7. การรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม

งบประมาณ 150,000,000 บาท

ผลผลิต

1. ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถการรองรับของสนามบินต่อการบินทั้ง
ภายในประเทศและการเช่อื มโยงระหวา่ งประเทศ

2. เพิ่มจานวนเทย่ี วบินและจานวนสายการบินในพ้ืนที่ตา่ งๆ
3. เพิม่ จานวนนักทอ่ งเทย่ี วทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ

ผลลัพธ์

1. เกิดการขยายตัวทางการเศรษฐกิจและสังคมในพื้นท่ี ท้ังในด้านการลงทุน
การเดนิ ทางเพื่อประกอบกิจกรรมตา่ งๆ การประชมุ แลกเปล่ยี น

2. สรา้ งโอกาสการกระจายตวั ของนักท่องเที่ยวเมืองหลักและการเข้าถงึ แหลง่ ท่องเท่ียว
ไดง้ า่ ยยิ่งขนึ้

3. เกิดการพัฒนาธุรกิจและการบริการท่ีเช่ือมโยงเพ่ือรองรับการขยายตัวและการเพ่ิม
จานวนนกั ท่องเท่ียว

4. เกดิ การสรา้ งรายไดแ้ ละการกระจายรายไดส้ ่พู ้นื ที่

ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ
1. เกิดการขยายตัวด้านการคมนาคมขนส่งทางอากาศเช่ือมโยงภายในประเทศและ
ตา่ งประเทศ
2. เกิดการบูรณาการและการเชอื่ มโยงร่วมกันอย่างมีระบบระหวา่ งพ้ืนที่และหน่วยงาน
ดา้ นการบริการการคมนาคมขนสง่ ทุกระดบั
3. เพ่ิมความสะดวกรวดเร็วและการเข้าถึงสนามบินจะนามาซ่ึงการสร้างโอกาสทาง
การท่องเท่ยี วและการส่งเสริมระบบเศรษฐกิจของพืน้ ที่
4. สามารถเพิม่ นักทอ่ งเที่ยวคุณภาพสงู และนักท่องเทย่ี วที่มีกาลังซื้อในพืน้ ที่

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-25
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

5. เกิดการเพ่มิ การลงทนุ และการสร้างอาชพี ทีเ่ ก่ียวข้อง
6. เกิดการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของการคนในท้องถ่ินและความสามารถใน

การรองรบั นักท่องเทย่ี วได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วฝั่งทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนุนการพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก 7-26
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ท่ี

โครงการการพัฒนาท่าเรอื ยอรช์ หรือทา่ เทียบเรือมารีนา่

หลกั การและเหตุผล

การคมนาคมขนส่งทางน้าถือเป็นโอกาสการเติบโตและการเชื่อมโยงด้านการขนส่งของ
ประเทศไทยท้ังนี้ข้อมูลจากกรมเจ้าท่าพบว่าท่าเทียบเรือยอร์ชในประเทศไทยปัจจุบันมีทั้งหมด
11 แห่งอยู่ในพื้นที่อันดามัน เช่น ภูเก็ต กระบี่และอยู่ในพ้ืนท่ีอ่าวไทย 5 แห่ง ได้แก่ ชลบุรี
ประจวบคีรีขันธ์ รวมไปแล้วสามารถรองรับเรือยอร์ชได้ 2,000 ลา ในขณะที่การกินน้าลึกอยู่ท่ี
ประมาณ 2 ถึง 5 เมตร มีเพียงส่วนน้อยที่รองรับได้ประมาณ 8-10 เมตร นอกจากนี้ หากพิจารณาใน
มิติของการท่องเท่ียวระหว่างประเทศจะพบว่าการท่องเที่ยวด้วยเรือยอร์ชถือเป็นการท่องเที่ยวท่ี
สามารถสร้างรายได้เน่ืองจากนักท่องเท่ียวส่วนใหญ่เป็นนักท่องเท่ียวที่มีกาลังซ้ือสูงจะมีรายได้สูง
ส่งผลใหเ้ กิดการใชจ้ ่ายและการกระจายรายได้ของการท่องเทย่ี วไดเ้ ป็นอยา่ งดี และอาจจะมโี อกาสใน
แง่ของการสนับสนุนการจัดมหกรรมเรือยอร์ชเพ่ือสนับสนุนการท่องเท่ียวไทยใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางมารีน่า
ของอาเซยี นอนั จะนามาซึ่งการสร้างบรรยากาศทางการท่องเทีย่ วทางทะเลและธุรกิจทต่ี ่อเนื่องกระตุ้น
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ท่าเทียบเรือยอร์ชที่เรียกว่า “มารีน่า” นับได้ว่าเป็นปัจจัยพื้นฐาน
ที่สาคัญท่ีสุดสาหรับการท่องเท่ียว เรือยอร์ชซ่ึงส่วนใหญ่มารีน่าต้ังอยู่ตามฝั่งทะเลหรือแม่น้า มีไว้
สาหรับให้เรือยอร์ชเข้าเทียบหรือเข้าจอด ซ่ึงมีค่าใช้จ่ายทุกคร้ังท้ังท่ีเป็นแบบรายวัน รายเดือน หรือ
รายปี โดยภายในมารีน่าจะมีสิ่งอานวยความสะดวก ทั้งการเติมน้ามัน เติมน้าจืด การชาร์ตไฟฟ้า
เติมเสบยี งอาหาร ลอ็ กเกอร์ใหเ้ ช่า อุปกรณเ์ รือร้านอาหาร ตลาดและห้างสรรพสนิ ค้า บริการทอ่ งเทีย่ ว
จองต๋ัวเครื่องบิน และเช่ารถ เป็นต้น โดยมารีน่าบางแห่งอาจจัดให้ มีที่พักร่วมด้วยท้ังในรูปของ
โรงแรมหรือคอนโดมิเนียมหรือห้องชุด ซึ่งความเพียงพอของท่าเทียบเรือและคุณภาพการให้บริการที่
พอใจเปน็ ส่ิงสาคัญตอ่ การเดินทางมาของนกั ท่องเทยี่ วเรอื ยอรช์

อยา่ งไรก็ตาม การสร้างแรงจูงใจใหเ้ รอื ยอร์ชขนาดใหญ่ (Super Yacht) เขา้ มาท่องเท่ียว
ทางทะเล และประกอบการค้าในน่านน้าไทย พักอาศัยอยู่ในประเทศไทยให้นานขึ้น จาเป็นต้องมีการ
ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบต่างๆ ที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการเข้ามาประกอบการค้าในน่านน้าไทย
ของเรอื ยอร์ชขนาดใหญ่ ทง้ั ตัวเรอื และคนประจาเรือ จงึ ไดป้ ระสานงานเพื่อพิจารณากับส่วนราชการที่
เก่ียวข้อง เช่น กรมเจ้าท่า กรมศุลกากร กรมสรรพากร และสานักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อหา
แนวทางปรับปรงุ กฎหมาย ระเบยี บตา่ งๆ ท่ียังเป็นอุปสรรคอยู่

ดังน้ัน การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยว
ฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) น้ีจึงนาเสนอ โครงการการพัฒนา
ทา่ เรอื ยอร์ชมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือสร้างโอกาสและการพฒั นาท่าเรือยอรช์ สาหรับสง่ เสริมการท่องเทีย่ วผล
ที่คาดว่าจะได้รับจากการพัฒนาจะสร้างโอกาสทางการท่องเที่ยวเพิ่มจานวนนักท่องเท่ียวและนาไป
สกู่ ารสร้างรายไดเ้ ข้าส่ปู ระเทศ

วัตถปุ ระสงค์

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-27
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ท่ี

โครงการการพฒั นาทา่ เรือยอรช์ หรือทา่ เทยี บเรือมารีน่า มีวัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ ดังน้ี
1. ศึกษาเพื่อกาหนดพ้ืนที่ท่ีมีความเหมาะสมจะพัฒนาเป็นท่าเทียบเรือยอร์ช

ทสี่ อดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดท่องเท่ยี วเรือยอร์ช
2. ปรับปรงุ แก้ไขกฎหมาย/ระเบยี บที่เกย่ี วขอ้ งเพื่ออานวยความสะดวกแกเ่ รอื ยอร์ชและ

บคุ คลท่ีเขา้ มากบั เรือยอร์ช
3. เพื่อกาหนดแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการ ส่ิงอานวยความสะดวก

กฎระเบยี บ พิธกี าร และบคุ ลากร
4. เพ่ือศึกษากลไกการส่งเสริมการตลาดและการท่องเท่ียวด้วยเรือยอร์ชและ

การทอ่ งเท่ยี วชายฝงั่ ทะเล

เป้าหมายและตวั ชวี้ ัดความสาเร็จของโครงการ
1. จานวนท่าเรือยอร์ชหรือท่าเทียบเรือมารีน่าอย่างน้อย 3 แห่ง (จากจานวน 7 แห่ง
ของการศึกษาเบื้องต้นโดยกรมเจ้าท่า)
2. รอ้ ยละในการเพ่ิมขึน้ ของจานวนนกั ท่องเทีย่ วคุณภาพจากการท่องเทีย่ ว ร้อยละ 20
3. การเพ่ิมจานวนเครือข่ายเส้นทางการท่องเท่ยี วทีก่ ระจายในพนื้ ท่ีและพื้นที่เชือ่ มโยง
จานวน 5 เส้นทาง
4. รอ้ ยละการเพม่ิ ขนึ้ ของรายได้ในอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว รอ้ ยละ 10 จากการเพม่ิ
มลู ค่าเศรษฐกจิ การท่องเทยี่ วของจังหวัด
5. รอ้ ยละของความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีตอ่ การท่องเท่ียวของพน้ื ที่ ร้อยละ 90

กลมุ่ เป้าหมาย/พืน้ ที่เป้าหมาย
เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเท่ียวในเขต

พัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาท่าเรือยอร์ช/ท่าเทียบเรือมารีน่า กาหนดท่าเทียบเรือมารีน่า
เป้าหมายเพอื่ การพฒั นา จานวน 3 แห่ง ดังน้ี

1. ทา่ เทียบเรือมารีน่าคลองวาฬ จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์
2. ท่าเทยี บเรือมารีนา่ ทงุ่ ตะโก จังหวัดชุมพร
3. ทา่ เทียบเรอื มารีน่าอาเภอเมอื ง จงั หวดั ระนอง

วธิ ีการและขนั้ ตอนการดาเนนิ การ/กจิ กรรม
1. การจัดประชมุ ระดมความคิดเห็นจากภาคสว่ นที่เกีย่ วข้องเพ่ือแนวทางการผลกั ดันท่า
เทียบเรือมารีน่า จากผลการศึกษาความเป็นไปได้ของกระทรวงคมนาคมน้ัน พบว่า
มีการนาเสนอท่าเทียบเรือมารีน่าในพ้ืนที่เปา้ หมาย จานวน 7 แห่ง ดังนี้ 1) ท่าเทียบ
เรือมารีน่าแหลมผักเบ้ีย จังหวัดเพชรบุรี 2) ท่าเทียบเรือมารีน่าปราณบุรี จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ 3) ท่าเทียบเรือมารีน่าคลองวาฬ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4)
ท่าเทียบเรือมารีน่าบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 5) ท่าเทียบเรือมารีน่าอ่าว

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝ่งั ทะเลตะวันตก 7-28
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ที่

สน จังหวัดชุมพร 6) ท่าเทียบเรือมารนี ่าทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร และ 7) ท่าเทียบเรอื
มารีน่า อาเภอเมือง จังหวัดระนอง ทั้งนี้จะกาหนดพ้ืนท่ีนาร่องหลัก 3 แหล่ง คือ 1)
ท่าเทียบเรือมารีน่าบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) ท่าเทียบเรือมารีน่าทุ่ง
ตะโก จังหวัดชมุ พร และ 3) ท่าเทียบเรอื มารีน่า อาเภอเมือง จังหวดั ระนอง
2. การกาหนดแนวทางการศึกษาความเป็นไปได้เชิงลึกเพ่ือการพัฒนาท่าเทียบเรือ
มารนี า่ ภายใต้กรอบแนวคดิ หลัก คอื

 การอนุญาตให้เจ้าของเรือยอร์ชที่เข้ามาท่องเที่ยวและพานักอยู่ในไทย
สามารถประกอบการ ให้เช่าเรือของตนได้ไม่เกิน 1 ปี ตามหลักเกณฑ์ใน
กฎหมายเรือไทย

 การแก้ไขปัญหาอุปสรรคทางกฎหมาย เช่น ค่าธรรมเนียมจอดเรือ
ระยะเวลาพานักในประเทศและระยะเวลาเก็บเรือในประเทศ การค้า
ประกันเมื่อคนประจาเรอื ไมป่ ระสงคเ์ ดินทางกลบั ออกไปพรอ้ มกับเรือ

 การแจง้ เรือเข้าออกสาหรับการเดินทางระหวา่ งจังหวัดชายทะเล

 การจดทะเบียนเรือไทย

 การใหเ้ ช่าเรอื เปล่า

 ทบทวนกฎ ระเบียบว่าด้วยเร่ืองการประกอบธุรกิจและด้านการควบคุม
ความไมเ่ ท่าเทยี มกันระหว่างการนาเรือเข้าจากตา่ งประเทศกับการต่อเรือใน
ประเทศ

 การสนบั สนนุ ธุรกิจอู่ตอ่ เรือในประเทศ

 การพฒั นาฝีมอื และการฝึกอบรมแรงงานในประเทศ การขออนญุ าตกอ่ สร้าง
สงิ่ ลว่ งลา้ ลาน้า

 การช่วยเหลือของภาครัฐในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เข่ือนกัน
ทรายกันคล่ืน การขดุ ลอกร่องนา้ และ การตดิ ตง้ั เคร่ืองหมายเดนิ เรือ เปน็ ต้น

3. การทาการศึกษาผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมเพ่ือการจัดทารายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ มสาหรบั โครงการทา่ เทยี บเรอื

4. การทบทวนแนวทางการส่งเสริมการลงทุนให้ทบทวนการให้สิทธิประโยชน์หลักคือ
ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 5 ปี ซึ่งเสนอให้เลื่อนขั้นการส่งเสริมการลงทนุ
พัฒนามารีน่าจากระดับ B1 เป็น A3

5. การกาหนดแผนการปฏิบัติการเพ่ือการพัฒนาท่าเทียบเรือมารีน่า การติดตามและ
ประเมนิ ผล

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2564
หน่วยงานดาเนินงาน

หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อยา่ งมีส่วนรว่ มสอดคล้องตอ่ แผนแมบ่ ทฯ และโครงการ ไดแ้ ก่ กรมเจา้ ทา่ กระทรวงคมนาคม

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพัฒนาการท่องเท่ยี วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-29
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ท่ี

หน่วยงานร่วม มีบทบาทต่อการร่วมกาหนดแนวทางการพัฒนา ให้ความร่วมมือต่อระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรท่ีเกี่ยวข้องและการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ และโครงการ ได้แก่

1. องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
2. กรมการท่องเท่ยี ว กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา
3. กองตรวจคนเข้าเมือง กระทรวงคมนาคม
4. สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ (BOI)

งบประมาณ 150,000,000 บาท

ผลผลิต

1. การพฒั นาพน้ื ท่เี ป้าหมายสกู่ ารเปน็ ท่าเรือยอร์ช/ทา่ เทยี บเรือมารนี า่ ที่สามารถรองรับ
การทอ่ งเทีย่ วทางน้าและกจิ กรรมการท่องเทีย่ วทางทะเล

2. แนวทางและกลไกเพื่อการส่งเสริมประสิทธิภาพการให้บริการท่าเรือยอร์ช/ท่าเทยี บ
เรอื มารีนา่

3. เพม่ิ จานวนนกั ท่องเที่ยวคณุ ภาพสพู่ ้นื ท่ี และการกระจายรายไดส้ ู่พน้ื ที่

ผลลัพธ์

1. เพม่ิ โอกาสการเช่อื มโยงการท่องเที่ยวทางทะเลและเรือยอรช์ สู่พน้ื ท่ี
2. เพ่ิมกิจกรรมการท่องเที่ยวทางทะเลและการสรา้ งโอกาสทางเศรษฐกิจของพ้ืนที่
3. เพ่ิมจานวนนกั ท่องเทยี่ วคณุ ภาพสพู่ ื้นที่ และการกระจายรายไดส้ ู่พน้ื ท่ี

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
1. เกิดผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ ท้ังในด้านการลงทุน การสร้างอาชีพ การสร้างรายได้
ทางการทอ่ งเทีย่ ว
2. เกิดคุณค่าและประโยชน์ต่อการอานวยความสะดวกและความคล่องตัวทางการ
ทอ่ งเที่ยว
3. เพิ่มจานวนนักทอ่ งเทย่ี วคุณภาพและนักท่องเทีย่ วที่มีกาลงั ซ้ือสงู เข้าสพู่ ้ืนท่ี
4. ก่อให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องในโซ่อุปทานการท่องเท่ียวด้วยเรือยอร์ช
และอุตสาหกรรมการบรกิ ารอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝงั่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนุนการพฒั นาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก 7-30
และโครงการในการพฒั นาพน้ื ท่ี

แผนงานการพืน้ ฟู พฒั นาและยกระดบั แหลง่ ทอ่ งเที่ยว

จากยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันทางการท่องเท่ียวและ
การส่งเสริมการลงทุนในพื้นท่ีอย่างย่ังยืน ท่ีมุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรทางการ
ท่องเท่ียว แหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการ ผู้ประกอบการทางการท่องเที่ยว การกาหนดแนว
ทางการสง่ เสริมการลงทนุ การขยายการลงทนุ การกาหนดแนวคดิ เพอ่ื การพัฒนาการพื้นท่ีในภาพรวม
และแต่ละจังหวัด และการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวและ
อุตสาหกรรมที่เกย่ี วข้อง

ดังน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนดและสอดรับกับแผนแม่บทฯ จึงจัดทา
แผนปฏิบัติการการพ้ืนฟู พัฒนา และยกระดับแหล่งท่องเท่ียว มีเป้าหมายการยกระดับขีด
ความสามารถของทรัพยากรทางการท่องเท่ียว แหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการทางการท่องเที่ยวใน
พ้นื ทเี่ พือ่ ใหส้ ร้างแรงดึงดูดทางการท่องเท่ียวและสง่ เสริมให้เกิดการพฒั นาท่ีมมี าตรฐานในระดับสากล
สามารถรองรับนกั ทอ่ งเทีย่ วคณุ ภาพทกุ กล่มุ รวมไปถงึ การพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์ทกุ ระดับ

โดยมีโครงการเร่งด่วน (Quick Win) ท่ีควรได้รับการพัฒนาทั้งส้ิน จานวน 6 โครงการ
ได้แก่

1. การออกแบบเพื่อยกระดับหาดและการปรับปรุงทัศนียภาพเพ่ือเป็นจุดหมาย
ปลายทางหลักการทอ่ งเทย่ี ว

2. การพฒั นาส่งิ อานวยความสะดวกภายใต้แนวคิดเพื่อคนทงั้ มวล (Universal Design)
3. การพัฒนาพ้ืนท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ของเมือง/จังหวัดเพื่อการ
เปน็ ศนู ย์กลางการทอ่ งเท่ียวจังหวัดเพชรบรุ ี
4. การพัฒนาพ้ืนท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ของเมือง/จังหวัดเพื่อการ
เปน็ ศูนยก์ ลางการทอ่ งเท่ียวจงั หวดั ประจวบครี ขันธ์
5. การพัฒนาพ้ืนที่กิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ของเมือง/จังหวัดเพ่ือการ
เปน็ ศูนยก์ ลางการท่องเท่ียวชมุ พร
6. การพัฒนาพนื้ ท่ีกิจกรรมเชิงสาธารณะ (Public Space) ของเมือง/จงั หวดั เพื่อการ

เปน็ ศนู ย์กลางการท่องเท่ยี วระนอง โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนบั สนนุ การพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-31
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ท่ี

โครงการการออกแบบเพ่อื ยกระดบั หาดและการปรบั ปรุงทศั นียภาพเพอ่ื เปน็ จดุ หมายปลายทาง
หลักการท่องเท่ียว

หลักการเหตผุ ล

จ า ก แ น ว คิ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า พื้ น ที่ ช า ย ฝ่ั ง ท ะ เ ล ต ะ วั น ต ก ที่ จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น
จดุ หมายปลายทางการท่องเทย่ี วชั้นนาระดบั โลก โดยทรพั ยากรการท่องเทย่ี วหลกั ของพนื้ ที่ 4 จังหวดั
คือ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติทุกๆ พ้ืนที่มีแหล่งท่องเท่ียวทาง
ธรรมชาติท่สี วยงามน่าประทับใจ ซ่ึงเกิดจากลักษณะของธรรมชาติ เชน่ เป็นอ่าว แหลม เกาะ หนา้ ผา
โขดหิน ประกอบกับภูมิอากาศและความสวยงามตามธรรมชาติของพื้นท่ีน้ันๆ สภาพธรรมชาติเหลา่ นี้
เป็นสิ่งดึงดูดใจให้มนุษย์เดินทางท่องเท่ียวไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ภายใต้เง่ือนไขของความ
แตกต่างในเร่ืองฉากของธรรมชาติ ภูมิอากาศและกิจกรรมที่จัดข้ึน สถานท่ีน่าสนใจ ท้ังนี้ในพ้ืนที่
เป้าหมายมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประเภทชายหาดและชายทะเลตลอดระยะทางพื้นท่ีรวม
กิโลเมตร ซ่ึงในแต่ละจังหวัดมีชายหาดที่กลายเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวสาคัญและมีชื่อเสียงในระดับโลก
รวมไปถึงหากพิจารณาเรื่อราวความเป็นมาจะพบกว่ามีเร่ืองราวความเป็นมาท่ีน่าสนใจสามารถ
นาเสนอในมิติของการท่องเท่ียวได้

จากแนวคิดริเวียร่าและมุมมองความเข้าใจคาว่า “ริเวียร่า” คือ การท่องเท่ียวชายฝั่ง
ทะเลที่จะมีอัตลักษณ์ท่ีและรูปแบบกิจกรรมการท่องเท่ียวทางทะเลที่สามารถเช่ือมโยงกับการ
ท่องเที่ยวอ่ืนๆ ในพ้ืนที่ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาถึงลักษะทางกายภาพ ศักยภาพ ความพร้อมและ
ไปถึงองค์ประกอบของแหล่งท่องเที่ยวในแต่ละพื้นที่ พบข้อค้นพบเชิงประจักษ์สาคัญ คือ ยังขาด
มาตรฐานการจัดการชายหาดทั้งในด้านคุณภาพหาด การเข้าถึง สิ่งอานวยความสะดวก การสื่อ
ความหมาย การจัดการพื้นที่และความปลอดภัย ซ่ึงถือเป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อภาพลักษณ์ของ
พ้ืนท่ีและการสรา้ งแรงจงู ใจตอ่ การตดั สินใจทอ่ งเที่ยวในพื้นท่ีโดยเฉพาะนักท่องเท่ียวคุณภาพสงู

ดังนั้น การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่ท่องเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝั่ง
ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) นี้จึงนาเสนอโครงการการยกระดับหาด
และการปรับปรุงทัศนียภาพเพื่อเป็นจดุ หมายปลายทางหลกั การท่องเที่ยว โดยการพิจารณาศักยภาพ
ของชายหาดของแต่ละจังหวัดที่มีชื่อเสียงแต่ยังขาดมาตรฐานการด้านพัฒนาชายหาด ซ่ึงจังหวัด
เพชรบุรี ประกอบดว้ ย หาดเจ้าสาราญและหาดชะอา จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ประกอบด้วยหาดหัวหิน
อา่ วประจวบ อา่ วนอ้ ย อา่ วมะนาว จังหวดั ชุมพร ประกอบด้วย หาดทงุ่ วัวแล่นและหาดทรายรี จังหวัด
ระนอง คือ หาดบางเบน รวมพื้นท่ีเป้าหมาย 9 แหล่ง โดยมุ่งเน้นการออกแบบเพ่ือการยกระดับเพื่อ
การปรับปรุงคุณภาพและภาพลักษณ์ท่ีชัดเจน ท้ังนี้ผลท่ีคาดว่าจะได้รับจะเป็นการพื้นฟูให้ชายหาด
ทอ่ งเที่ยวในพ้นื ท่กี ลายเป็นแหล่งท่องเทย่ี วช้ันนาทม่ี ีคุณภาพสรา้ งโอกาสทางการท่องเทีย่ วต่อไป

วัตถุประสงค์โครงการ

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่ังทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏิบตั ิการสนับสนุนการพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝั่งทะเลตะวันตก 7-32
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ท่ี

โครงการการออกแบบเพ่ือยกระดับหาดและการปรับปรุงทัศนียภาพเพื่อเป็นจุดหมาย
ปลายทางหลักการท่องเทย่ี วมวี ตั ถุประสงคโ์ ครงการดังนี้

1. เพ่ือการกาหนดแนวทางการออกแบบเพ่ือการยกระดับชายหาดและการปรับปรุง
ทัศนียภาพบริเวณชายหาดโดยรอบเพื่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณค่าสูง (High
Value Destination)

2. เพ่ือกาหนดภาพลักษณ์ชายหาดและแนวคิดการพัฒนาจุดเด่นสาคัญ (Landmark)
ทีส่ อดคล้องกบั อัตลกั ษณข์ องพ้ืนท่ีเพื่อดึงดูดและสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี ว

3. เพื่อการพัฒนามาตรฐานชายหาด ลักษณะทางกายภาพ การจัดการพื้นที่ (Zoning)
การพัฒนาส่ิงส่ือความหมาย (Landmark) ส่ิงอานวยความสะดวก รูปแบบการ
บริการ ความปลอดภยั ของชายหาด รปู แบบกจิ กรรมของชายหาดเพ่ือพัฒนาสู่แหล่ง
ท่องเทีย่ วคุณค่าสูง

4. เพื่อกาหนดแนวทางการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพสามารถรองรับการเติบโต
ทางการท่องเที่ยวและการนาไปสูก่ ารท่องเท่ียวอย่างยงั่ ยืน

เปา้ หมายและตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ ของโครงการ
1. จานวนชายหาดและพื้นที่โดยรอบท่ีได้รับการออกแบบและพัฒนาการยกระดับ
โดยรอบ จานวน 9 หาด
2. แผนการบริหารจัดการชายหาดและพ้ืนที่โดยรอบท่ีกาหนดหน่วยงานและกลไกการ
จัดการ จานวน 9 หาด
3. เพ่ิมจานวนนักท่องเที่ยวทั้งชายไทยและต่างประเทศเข้าสู่พื้นท่ีไทยแลนด์ริเวียร่า
ร้อยละ 10
4. การจัดอันดับแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานด้านการ
ท่องเท่ียวและส่งเสริมการท่องเที่ยว เช่น Trip Advisor หรือรางวัลกินรี ภายใน 10
อันดับแรก
5. การลดจานวนอุบตั ิเหตุและอาชญากรรมจากกิจกรรมการท่องเท่ียวและกจิ กรรมการ
ท่องเท่ียวทางน้าในพ้ืนท่ีชายหาด ร้อยละ 5 จากฐานข้อมูลกรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

กลุ่มเป้าหมาย/พื้นทเ่ี ปา้ หมาย
เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเที่ยวในเขต

พัฒนาการท่องเที่ยวฝ่ังทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) โครงการการ
ออกแบบเพ่ือยกระดับหาดและการปรับปรุงทัศนียภาพเพ่ือเป็นจุดหมายปลายทางหลักการท่องเทยี่ ว
กาหนดพื้นที่เป้าหมายสาหรับการยกระดับชายหาดและพื้นที่โดยรอบ ท้ังส้ินจานวน 9 หาดในพ้ืนท่ี 4
จังหวัด เพชรบรุ ี ประจวบคีรขี นั ธ์ ชมุ พรและระนอง โดยมีรายละเอียดดงั น้ี

1. หาดเจ้าสาราญ ต้ังอยู่หาดเจ้าสาราญ ต้ังอยู่ในตาบลหาดเจ้าสาราญอาเภอเมือง
เพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็น

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั ิการสนับสนุนการพฒั นาการท่องเทย่ี วในเขตพัฒนาการท่องเทยี่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก 7-33
และโครงการในการพัฒนาพื้นที่

ชายหาดเคยมีเร่ืองเล่าทางประวัติศาสตร์กล่าวถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเคย
เสด็จมาพร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงพอพระราชหฤทัยในความงามของ
หาดน้ีมากทรงประทับแรมอยู่หลายวัน จนเป็นท่ีมาของการเรียกช่ือหาดนี้ว่า หาด
เจ้าสาราญ จากหาดเจ้าสาราญไปทางใต้ประมาณ 7 กิโลเมตรเป็นชายหาดปึกเตยี น
ซ่ึงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอีกแห่งของจังหวัดเพชรบุรี ภายใต้การดูแลโดยเทศบาล
ตาบลหาดเจ้าสาราญ
2. หาดชะอา อยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี 41 กิโลเมตร เป็นชายหาดที่สวยงามและมี
ชื่อเสียงของจังหวัดเพชรบุรี บริเวณหาดชะอาที่เป็นหาดสาธารณะมีความยาวราว 5
กิโลเมตร มีถนนเปน็ แนวยาวตลอดหาดกั้นระหวา่ งชายหาดและบ้านพักรา้ นค้าต่างๆ
ส่วนที่เป็นท่ีพักเอกชน มีรีสอร์ทหรูหรามากมายท่ีต้ังอยู่ประชิดชายหาด มีความเป็น
ส่วนตวั สงู ภายใต้การดแู ลโดยเทศบาลเมอื งชะอา
3. หาดหัวหิน อยู่ทางทิศตะวันออกของอาเภอหัวหิน และมีความยาวพาดผ่านตลอด
อาเภอ ในความยาวราว 20 กิโลเมตร ภายใตก้ ารดแู ลโดยเทศบาลเมืองหัวหิน
4. อ่าวประจวบ มีความยาวประมาณ 8 กิโลเมตร โดยอยู่ระหว่างเขาตาม่องล่ายและ
เขาล้อมหมวกเป็นชายหาดโล่งไม่มีเตียงผ้าใบ ไม่มีร่มเงาต้นไม้ ชายหาดน้ีไม่นิยมลง
เล่นน้าเน่ืองจากตั้งอยู่ในตัวเมือง เหมาะสาหรับเดินเล่นชมวิวตอนเย็น ภายใต้การ
ดแู ลโดยเทศบาลเมอื งประจวบคีรขี ันธ์
5. หาดทุ่งวัวแล่น ตั้งอยู่ท่ีตาบลสะพลีอาเภอปะทิว ห่างจากตัวจังหวัดชุมพรไปตาม
ถนนลาดยางสายชุมพร-หาดทุ่งวัวแล่น ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร เป็น
ชายหาดที่มีเม็ดทรายสีขาวนวลละเอียด ลักษณะหาดค่อยๆ ลาดเอียงลงทีละน้อย
จึงเป็นท่ีนิยมของนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศมากที่สุดแห่ง ภายใต้
การดโู ดยลองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลสะพลี
6. หาดทรายรี อยู่บริเวณอ่าวชุมพร ซ่ึงเป็นท่ีที่มีหาดทรายขาวสะอาดตา บริเวณหาดมี
ทงั้ ทีพ่ กั และร้านอาหารบริเวณริมชายหาด บรเิ วณแนวชายหาดเปน็ ท่ีตง้ั ของอนุสรณ์
สถานของพลเรือเอก พระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักด์ิ ภายใต้การ
ดแู ลโดยองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลทรายรี
7. หาดบางเบน เป็นที่ตั้งของที่ทาการอุทยานแห่งชาติแหลมสน มีหาดทรายยาว และ
กว้างใหญ่ ทรายละเอียดเต็มไปด้วยป่าสนธรรมชาติอายุมากกว่า 100 ปี บริเวณ
ชายหาดจะมองเห็นเกาะแก่งในทะเลได้อย่างสวยงาม ภายใต้การดูแลโดยอุทยาน
แห่งชาตเิ ขาแหลมหญา้

วธิ ีการและขั้นตอนการดาเนนิ การ/กจิ กรรม

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเทย่ี วในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวนั ตก 7-34
และโครงการในการพฒั นาพืน้ ที่

1. การศึกษาองค์ประกอบหาดและพ้ืนที่ชายทะเลโดยรอบ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
การศึกษาลักษณะทางกายภาพ (Physical Characteristic) ของพ้ืนที่ของชายหาด
และสภาพพื้นท่ีสาหรับการใช้ประโยชน์จากพ้ืนที่ชายหาด ประกอบด้วย ระบบการ
สัญจร ความสัมพันธ์ของการใช้งานถนนเลียบชายหาดและพื้นที่ชายหาด มุมมอง
ทางด้านทัศนียภาพ พืชพรรณเดิมในพื้นที่โครงการ ระบบสาธารณูปโภค
สาธารณูปการและสิ่งอานวยความสะดวก องค์ประกอบของถนนและกิจกรรมริม
ชายหาด โดยกระบวนการน้ีจะต้องอาศัยการศึกษาวิจัยเชิงลึกที่มีความรู้ความ
เช่ียวชาญด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการออกแบบเชิง
สถาปัตยกรรม ร่วมกับผู้เช่ียวชาญด้านการจัดการการท่องเท่ียวร่วมกับหน่วยงานใน
พ้นื ท่ี

2. ศึกษาอัตลักษณ์ (Identity) ของหาดเพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนาหาดท่ีมีความ
สอดคล้องกับลักษณะเชิงอัตลักษณ์ของพื้นที่ ซ่ึงลักษณะเชิงอัตลักษณ์สามารถ
แสดงออกผ่านสิ่งสะท้อนเชิงกายภาพ หรือด้านองค์ประกอบตามหน้าที่หลักของ
พื้นที่ (Function) เช่น ความโดดเด่นอัตลักษณ์จากชายหาด จุดชมวิว พืชพรรณใน
พื้นท่ี เรือ่ งราวและเร่อื งเล่า

3. กาหนดเป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ (Image) ของหาดท่ีสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ
หาดท้ังน้ี ภาพลักษณ์ของหาดคือการส่ือมุมมองของหาดท่ีเกิดจากการกาหนดจดุ ยนื
และมุมมองท่ีสร้างการจดจาจากการศึกษาเบื้องต้นได้กาหนดเป้าหมายเชิง
ภาพลักษณ์ดงั น้ี

 หาดเจา้ สาราญ เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดเพ่ือการพักผ่อน
เนน้ ความเป็นธรรมชาติ

 หาดชะอา เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดเพ่ือการพักผ่อน
และมีกิจกรรมทางทะเลท่หี ลากหลาย

 หาดหวั หนิ เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดที่มีความครบวงจร
และมีความบรรยากาศท่ีเน้นการพักผ่อนและมีความหรูหรา และมีกิจกรรม
ทางทะเลและกิจกรรมชายหาดทคี่ รบวงจร

 อา่ วประจวบ เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดที่มีเน้นบรรยากาศ
เงียบสงบผอ่ นคลาย และมีความอบอุน่ และบรรยากาศทโ่ี รแมนตกิ

 หาดท่งุ วัวแล่น เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดที่มีความเป็น
ธรรมชาติมกี ิจกรรมชายหาด

 หาดทรายรี เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดที่มีจุดเด่นที่เม็ด
ทรายขาวละเอียด และจดุ ชมววิ ทสี่ วยงามเปน็ เอกลกั ษณ์

 หาดบางเบน เป้าหมายเชิงภาพลักษณ์ คือ ชายหาดธรรมชาตทิ กี่ ว้างสุด
สายตาเน้นการพักผอ่ นและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวันตก 7-35
และโครงการในการพัฒนาพนื้ ที่

4. การออกแบบและการกาหนดแนวทางเพื่อการยกระดับชายหาดและพ้ืนที่โดยรอบ
ไดแ้ ก่

 การกาหนดโครงสร้างวิศวกรชายฝ่ังทะเล การจัดการพ้ืนท่ีชายหาด ปริมาณ
ทรายและระยะหน้ากว้างของทะเล ที่นาไปสู่การวางแผนการจัดการพ้ืนท่ีและ
การประเมนิ เพอื่ การป้องกนั และการลดผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ จากการเปลยี่ นแปลง
ทางธรรมชาติและกิจกรรมทางการท่องเทย่ี ว

 การกาหนดจุดชมวิวหลักและทัศนียภาพของพ้ืนที่ เพ่ือเป็นจุดขาย (Attractive
Point) โดยมีการออกแบบการส่ือความหมายท่ีสะท้อนอัตลักษณ์ เช่น ป้ายชื่อ
รูปปั้น เป็นต้น และเน้นความร่มรื่นจากต้นไม้ใหญ่และเกิดมุมมองให้เห็นทะเล
จากถนนและทางเดินเขา้ มาในพ้นื ที่

 การพัฒนากิจกรรมทางทะเล รูปแบบการให้บริการ การส่งเสริมธุรกิจในพื้นที่
ได้แก่ 1) กิจกรรมท่ีสัมพันธ์กับชายหาด เช่น การน่ังเล่น การอาบแดด เล่นกอง
ทราย กีฬาบนชายหาด กีฬาทางน้า 2) กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการออกกาลัง
เชน่ ลานออกกาลังกาย ลานกฬี าเอก็ ซต์ รมี กฬี าชายหาด 3) กจิ กรรมที่เนน้ การ
รวมตัวของกลุ่มคนมากๆ เช่น ลานกจิ กรรม การแสดงการแจง้ และ 4) กิจกรรม
พื้นท่ีที่มีความเหมาะสมกบั ทกุ พ้ืนที่ เชน่ การว่ิง การเดิน การข่จี กั รยาน

 เพิ่มระบบรักษาความปลอดภัยและการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกทางการ
ท่องเที่ยว เช่น ป้ายบอกทางและป้ายส่ือความหมาย ที่จอดรถ ห้องน้าและห้อง
อาบน้า จดุ ให้บรกิ ารอาหาร รา้ นคา้ รา้ นจาหน่วยของทร่ี ะลึกและศูนยใ์ ห้บริการ
นกั ท่องเที่ยวและการแจง้ เหตุ

 จัดการระบบระบายและกักเก็บน้าฝนโดยไม่ปล่อยให้ไหลผ่านหาดทรายเพื่อลด
ปญั หากดั เซาะชายหาด

หนว่ ยงานดาเนินงาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ กรมการท่องเท่ียว กระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬา และหน่วยงานเจ้าของพ้ืนที่ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่
เทศบาลตาบลหาดเจ้าสาราญ เทศบาลเมืองชะอา เทศบาลเมืองหัวหิน เทศบาลเมือง
ประจวบคีรีขันธ์ องค์การบริหารส่วนตาบลสะพลี องค์การบริหารส่วนตาบลทรายรี และ
อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญา้ กรมอทุ ยาน สัตวป์ า่ และพันธ์พุ ืช กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อม (1 หาด)
หนว่ ยงานรว่ ม มีบทบาทตอ่ การร่วมกาหนดแนวทางการพฒั นา ใหค้ วามรว่ มมือตอ่ การระดม
ความคิด จัดสรรทรัพยากรที่เก่ียวข้องและการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของแผน
แมบ่ ทฯ และโครงการ ได้แก่ การทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศไทย

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปี 2563

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั ิการสนบั สนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-36
และโครงการในการพฒั นาพนื้ ท่ี

งบประมาณ 150,000,000 บาท

ผลผลิต

1. มีแหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาดและพื้นที่โดยรวม มีขีดความสามารถรองรับการ
ทอ่ งเทยี่ วและทัศนียภาพทีส่ วยงามเป็นที่ยอมรับของนักท่องเที่ยวและผู้เยี่ยมเยือนใน
พื้นท่ี

2. เกิดการรับรู้ต่อภาพลักษณ์เชิงบวกต่อด้านการท่องเท่ียวชายหาดและชายทะเลท่ีมี
มาตรฐานและมีอัตลักษณ์และภาพลักษณ์ท่ีโดดเด่นสอดคล้องกับเป้าหมายการเป็น
แหล่งทอ่ งเท่ยี วช้ันนาระดบั โลก

ผลลพั ธ์

1. เพ่มิ จานวนนกั ท่องเทยี่ วคุณภาพทง้ั นักท่องเที่ยวชาวไทยและตา่ งประเทศเขา้ สู่พ้ืนท่ี
2. เกดิ การเพมิ่ รายไดแ้ ละการกระจายรายได้ได้ส่ภู าคสว่ นตา่ งๆ ทเี่ ก่ียวข้อง
3. เกิดการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนในท้องถ่ินและความปลอดภัยจากการ

ท่องเทยี่ ว

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ
1. สามารถยกระดับชายหาดและการปรับปรุงทัศนียภาพบริเวณชายหาดโดยรอบเพ่ือ
การเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวคณุ ค่าสงู (High Value Destination)
2. เกิดภาพลักษณ์เชงิ บวกด้านการท่องเทีย่ วชายหาด
3. เกิดการพัฒนามาตรฐานชายหาด ลักษณะทางกายภาพ การจัดการพ้ืนท่ี การส่ือ
ความหมาย ส่ิงอานวยความสะดวก รูปแบบการบริการ ความปลอดภัยของชายหาด
รปู แบบกิจกรรมของชายหาดเพือ่ พัฒนาสแู่ หลง่ ทอ่ งเที่ยวคุณค่าสงู
4. เกิดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสามารถรองรับการเติบโตทางการท่องเที่ยว
และการนาไปสูก่ ารทอ่ งเที่ยวอยา่ งยัง่ ยนื

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วฝ่ังทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทย่ี วฝงั่ ทะเลตะวันตก 7-37
และโครงการในการพฒั นาพ้นื ที่

โครงการการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกทางการท่องเทยี่ วภายใตแ้ นวคดิ เพอื่ คนทั้งมวล
(Universal Design)

หลกั การเหตผุ ล

จ า ก แ น ว คิ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล ต ะ วั น ต ก ที่ จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า เ ป็ น
จุดหมายปลายทางการท่องเท่ียวช้ันนาระดับโลกน้ัน การยกระดับพื้นท่ีเป้าหมายจะต้องอาศัยการ
พฒั นาแหล่งทอ่ งเที่ยวท่ีมีคุณภาพส่งเสริมใหเ้ กิดความน่าสนใจและเชิญชวนให้นักทอ่ งเที่ยวเดนิ ทางมา
ท่องเที่ยวในพ้ืนท่ี อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบของการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวที่มีประสิทธิภาพยังรวม
ไปถงึ การพัฒนาสงิ่ อานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวท่มี ุ่งตอบสนองกลุ่มลูกค้าเป้าหมายรวมไปถึง
ผู้เยี่ยมเยือนทกุ กลุ่ม จากแนวคดิ ในเรือ่ งของการเตบิ โตทางการท่องเท่ียวและแนวโนม้ การท่องเท่ียวใน
อนาคตพบวา่ จะมีกลุ่มนกั ทอ่ งเท่ียวผู้สงู อายเุ พิ่มจานวนมากขนึ้ อนั เปน็ ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของ
โครงสร้างประชากร ทั้งนี้ จากข้อมูลจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พบว่ากลุ่มนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวคุณภาพที่มีความต้องการด้านการท่องเท่ียวต้องการเข้าร่วมกิจกรรม
ต่างๆ ทางการท่องเที่ยวและจัดเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยวท่ีมีกาลังซื้อสูง นอกจากกลุ่มนักท่องเท่ียว
ผู้สูงอายุแล้วยังหมายรวมไปถึงกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้ด้อยโอกาสซ่ึงมีความต้องการด้านการเรียนรู้จาก
การท่องเท่ียวเพ่ือให้พื้นที่ไทยแลนด์ริเวียร่าสามารถรองรับนักท่องเท่ียวคุณภาพและยกระดับสู่การ
เปน็ แหล่งทอ่ งเที่ยวคณุ ภาพสงู

จากสภาพแหล่งท่องเท่ียวในปัจจุบันของพ้ืนท่ีเป้าหมายพบว่ามีความพยายามท่ีจะ
พัฒนาขีดความสามารถในเร่ืองของการรองรับกลุ่มนักท่องเท่ียวเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด
อย่างไรก็ตาม มีข้อค้นพบเชิงประจักษ์เกี่ยวกับขีดความสามารถด้านสิ่งอานวยความสะดวกท่ียังมี
ความจาเป็นอย่างสูงที่จะต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องท้ังน้ีเพื่อปรับภาพลักษณ์ใหม่ให้กับพ้ืนที่
หรือแหล่งท่องเที่ยวหลักอันจะนาไปสู่การปรับการรับรู้และภาพลักษณ์ใหม่ให้กับพ้ืนที่ท่องเ ท่ียวอีก
ดว้ ย

ดังนั้น การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนที่ท่องเที่ยวในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่ง
ทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) น้ีจึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องพัฒนาส่ิง
อานวยความสะดวกทางการท่องเท่ียวภายใต้แนวคิดเพ่ือคนทั้งมวลหรือ Universal Design ซึ่งได้ให้
ความสาคญั ตอ่ การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกทั้งกลมุ่ ผู้ใช้บริการทั่วไปกล่มุ คนพิการทุพพลภาพรวม
ไปถึงคนชรา จากความสาคัญดังกล่าวนี้เอง จึงเห็นควรที่จะยกระดับแหลง่ ท่องเที่ยวผ่านโครงการการ
พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวภายใต้แนวคิดเพื่อคนท้ังมวลโ ดยมีพื้นท่ีเป้าหมายคือ
แหลง่ ท่องเทย่ี วหลักที่สอดคล้องกบั พฤติกรรมนักท่องเที่ยวรวมไปถึงแหล่งท่องเที่ยวที่เปน็ ที่ชื่นชอบใน
พื้นที่ 4 จังหวัดโดยมีเป้าหมายสูงสุดคือการยกระดับสิ่งอานวยความสะดวกรวมถึงการบริการท่ีมี
มาตรฐานสากลรองรบั นักทอ่ งเท่ยี วท้ังในปจั จบุ นั และอนาคต

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการท่องเทีย่ วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏิบตั กิ ารสนับสนนุ การพัฒนาการท่องเท่ียวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วฝั่งทะเลตะวนั ตก 7-38
และโครงการในการพฒั นาพ้นื ที่

วัตถุประสงคโ์ ครงการ
โครงการการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวภายใต้แนวคิดเพ่ือคนท้ัง

มวล (Universal Design) มีวัตถุประสงค์โครงการดังน้ี
1. เพ่ือพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเท่ียวเพ่ืออานวยความสะดวกภายใต้
แนวคิดเพ่ือคนท้ังมวลให้กับประชาชนในพื้นที่และนักท่องเท่ียวนาไปสู่การยกระดับ
พื้นทกี่ ารทอ่ งเทย่ี วชั้นนาระดับโลก
2. เพ่ือพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกในสถานที่ให้บริการนักท่องเท่ียวเพื่ออานวยความ
สะดวกให้กับประชาชนในพ้ืนที่และนักท่องเท่ียวส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตท่ีดีกับ
คนในทอ้ งถิน่ และความประทบั ใจจากการท่องเทย่ี ว
3. เพื่อยกระดับมาตรฐานสิ่งอานวยความสะดวก และคุณภาพการบริการทางการ
ท่องเทย่ี วใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรบั ในระดับสากล
4. เพื่อรองรับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการเติบโตทางการท่องเที่ยวทั้งกลุ่ม
ผูส้ งู อายุและการสง่ เสริมการท่องเทีย่ วเพอ่ื คนทัง้ มวล (Tourism for All)

กลุม่ เปา้ หมาย/พ้ืนที่
เพ่ือให้การดาเนินการภายใต้การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาพ้ืนท่ีท่องเที่ยวในเขต

พัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันตก (The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) บรรลุเป้าหมาย
ตามเป้าประสงค์ โครงการการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวภายใต้แนวคิดเพ่ือคน
ทั้งมวล (Universal Design) ในระยะแรกได้กาหนดพ้ืนที่เป้าหมายสาหรับการพัฒนา โดยพิจารณา
จากแหล่งท่องเท่ยี วหลกั ทไี่ ดร้ ับความนยิ มในพ้นื ท่ี โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้

1. อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีพื้นท่ีครอบคลุมท้องท่ี
อาเภอหนองหญ้าปล้องอาเภอแก่งกระจานอาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เป็น
อุทยานแห่งชาติที่สมบูรณ์ เป็นป่าต้นน้า ลาธารของลุ่มแม่น้าเพชรบุรี และแม่น้า
ปราณบุรี มีเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่น่าสนใจหลายแห่ง เช่น ทะเลสาบ น้าตก ถ้า
หน้าผาท่ีสวยงาม ทั้งเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีพ้ืนท่ีมากท่ีสุดของประเทศ เนื้อที่
ประมาณ 2,915 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,821,875 ไร่ พ้ืนทเ่ี ปา้ หมายเพ่ือการพัฒนา
คอื ยอดเขาพะเนนิ ทุ่ง ภายใตก้ ารดูแลโดยกรมศิลปากร

2. อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เป็นสถานที่เที่ยวท่ีสาคัญของเพชรบุรีซ่ึงถือได้ว่า
เป็นสัญลักษณ์ของเมืองเพชรบรุ ี หรือเขาวังซึ่งมีเจดีย์และอาคารสีขาวสะอาด เขาวัง
เป็นโบราณสถานเก่าแก่คู่เมืองเพชรบุรี ต้ังอยู่บนยอดเขาสูง 92 เมตร เขาวังมีพระที่
นั่ง พระตาหนัก วัดและกลุ่มอาคารต่างๆ มากมาย ส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรม
ตะวันตกแบบ นิโอคลาสสิคผสม สถาปัตยกรรมจีนตั้งอยู่บนยอดเขาใหญ่ๆ 3 ยอด
ด้วยกัน ดังน้ี 1) ยอดเขาด้านทิศตะวันออกบริเวณไหล่เขาเป็นท่ีต้ังของ วัดมหา
สมณาราม 2) ยอดเขาด้านทิศตะวันออก เป็นที่ตั้งของวัดพระแก้วหรือวัดพระแก้ว
น้อย และ 3) ยอดเขาด้านทิศตะวันตก เป็นท่ีตั้งของพระราชวังพระนครคีรี ภายใต้
การดแู ลโดยกรมศลิ ปากร กระทรวงวฒั นธรรม

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเทีย่ วฝัง่ ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนับสนนุ การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการท่องเทยี่ วฝงั่ ทะเลตะวนั ตก 7-39
และโครงการในการพัฒนาพ้ืนที่

3. พระราชวังพระรามราชนิเวศน์หรือวังบ้านปืน ตั้งอยู่ท่ีเขตบ้านปืนริมแม่น้าเพชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรีแผนผังของตัวอาคารสร้างเป็นส่ีเหล่ียมผืนผ้าล้อมสวนหย่อม มี
สระน้าพุตั้งอยู่ตรงกลาง ส่วนที่ประทับเป็นตึกสองช้ันขนาดใหญ่ หลังคาทรงสูงรูป
โดม ภายในเปน็ โถงสูงมบี นั ไดโค้งขนึ้ สู่ชั้นสองซงึ่ จัดเปน็ จุดเด่นของพระตาหนักเพราะ
รวมสง่ิ นา่ ชมไว้หลายหลาก ภายใตก้ ารดแู ลโดยกรมศลิ ปากร กระทรวงวฒั นธรรม

4. อุทยานราชภักด์ิพระบรมราชานุสาวรีย์บูรพกษัตริย์ 7 พระองค์ อุทยานราชภักดิ์
ต้ังอยู่ในพ้ืนที่กองทัพบก อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีพ้ืนท่ี 222 ไร่เศษ
ภายในจัดสร้าง พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบูรพกษัตริย์ไทยขนาดใหญ่ เพื่อ
เป็นการเทิดทูนและประกาศเกียรติคุณสมเด็จพระมหากษัตริย์แห่งสยาม ทั้ง 7
พระองค์ ในอริ ยิ าบถทรงยืน หล่อดว้ ยโลหะสารดิ นอก มีความสูงเฉลย่ี ถงึ 13.9 เมตร
ภายใตก้ ารดแู ลโดยมลู นธิ ิราชภกั ด์ิ

5. อุทยานแห่งชาตเิ ขาสามรอ้ ยยอด ตง้ั อยู่ในเขตอาเภอกยุ บรุ ี และอาเภอปราณบรุ ี ห่าง
จากหัวหินลงมาทางใต้ประมาณ 63 กม. ตามตานานของเทือก เขาสามร้อยยอด มี
พ้ืนท่ที ้งั หมดประมาณ 98 ตร.กม. หรือ 61,300 ไร่ ลกั ษณะภมู ิประเทศประกอบด้วย
ภูเขาหินปูนสลับซับซ้อน มีที่ราบน้าท่วมถึงอยู่ริมชายฝ่ังทะเล เป็นที่อาศัยของนก
นานาชนิดได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเม่ือวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2509
และเป็น อุทยานแห่งชาติประเภทชายฝ่ังทะเลแห่งแรกของประเทศไทย ภายใต้การ
ดูแลโดยกรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธ์ุพืช

6. เขาตะเกียบ เป็นเขาที่ยื่นออกไปในทะเลมีโขดหินสวยงาม เป็นท่ีประดิษฐาน
พระพุทธรูปปางห้ามญาติขนาดใหญ่หันหน้าออกสู่ทะเล บนยอดเขามีทางเดินข้ึนไป
สามารถชมทิวทัศน์ของท้องทะเลและตัวเมืองหัวหินได้อย่างชัดเจน ชายหาดเขา
ตะเกียบมีความยาวประมาณ 1.5 กิโลเมตร มีความลาดชันน้อย ทรายขาวละเอียด
บริเวณชายหาดมีร้านอาหาร รีสอร์ท โรงแรมและร้านจาหน่ายสนิ ค้าจากการประมง
และของทะเลแห้ง ภายใต้การดูแลโดยเทศบาลเมืองหวั หิน จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์

7. เขาช่องกระจก เป็นภูเขาขนาดย่อมสูง 245 เมตร เหนือระดับน้าทะเล ต้ังอยู่ริมอ่าว
ประจวบฯ ในบริเวณ วัดธรรมิการามวรวิหาร ยอดเขามีช่องทะลุโปร่งคล้ายกรอบ
กระจก ทางข้ึนเป็นบันไดคอนกรีต จานวน 396 ขั้น ในปี 2497 พระเทพสุทธิโมลี
(หลวงพ่อป่ิน) อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมิการามวรวิหาร ได้รับมอบเขาช่องกระจกจาก
จังหวัดให้อยู่ในความดูและรักษาของวัด ภายใต้การดูแลโดยเทศบาลเมือง
ประจวบคีรีขนั ธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

8. จุดชมวิวเขามัทรี สถานที่ท่องเที่ยวดังจังหวัดชุมพร ที่จะทาให้ได้สัมผัสบรรยากาศ
สบายๆ ไม่ว่าจะเป็นการดูพระอาทิตย์ข้ึน หรือ พระอาทิตย์ตกดิน เป็นภาพ
บรรยากาศท่ีสวยงามท่ีสาคัญสามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์แบบ 360 องศา เห็นเกาะ
น้อยใหญ่และเรือประมงท่ีจอดเทยี บท่าทะเลปากน้าชุมพร พร้อมสักการะองค์เจ้าแม่
กวนอิม ประทับท่าน่ังหันไปทางทะเล อีกท้ังยังมีร้านกาแฟเล็กๆ ให้น่ังจิบกาแฟ

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแม่บทพฒั นาการทอ่ งเท่ียวในเขตพฒั นาการท่องเที่ยวฝัง่ ทะเลตะวันตก
(The Royal Coast หรอื Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทที่ 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วฝง่ั ทะเลตะวนั ตก 7-40
และโครงการในการพัฒนาพืน้ ที่

พรอ้ มชมวิวสวยๆ ทางข้ึนเขาคอ่ นข้างชัน รอบบรเิ วณยงั เป็นพนื้ ที่สวน มที ี่นัง่ พักผ่อน
ชมวิว ภายใตก้ ารดแู ลเทศบาลโดยเมอื งชุมพร จงั หวดั ชุมพร
9. ศาลกรมหลวงชุมพร ศาลกรมหลวงชุมพรฯ ตั้งอยู่บริเวณหาดทรายรีหาดทรายยาว
ทรายขาวสะอาด ซึ่งเป็นที่ตงั้ ของอนุสรณ์สถานของ พลเรอื เอก พระบรมวงศเ์ ธอกรม
หลวงชุมพรเขตร อุดมศักด์ิ ผู้ทรงสถาปนากองทัพเรือสมัยใหม่ ตัวศาลอยู่บนเรือรบ
หลวงพระร่วงจาลองท่ีหันหน้าออกสู่ทะเล จึงเป็นจุดท่ีมองเห็นทิวทัศน์ของ
หาดทรายรีได้ชัดเจนตลอดเว้ิงอ่าว ภายใต้การดูแลโดยเทศบาลตาบลเขตรอุดมศกั ดิ์
จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์
10.โครงการพระราชดาริหนองใหญ่ เป็นโครงการพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยหู่ ัว เพ่อื แกป้ ัญหาน้าท่วมในจังหวัดชุมพร อยรู่ มิ ถนนสายชมุ พร อา่ วทงุ่ วัวแล่น
ถงึ ชลประทานจงั หวดั ชุมพรแลว้ แยกขวาใช้เสน้ ทางเลยี บคลองหัววงั พนงั ตกั จนถงึ ที่
ทาการโครงการ ในพ้ืนท่ี 3,000 ไร่ ประกอบด้วยอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ มีไม้ยืนต้น
ปลูกเป็นแนวรอบอ่างเก็บน้า บรรยากาศเงียบสงบร่มรื่น ริมอ่างเก็บน้าเป็นพื้นที่ชุ่ม
น้า มีนกทุ่งอาศัยอยู่หลายชนิด เหมาะแก่การศึกษาชวี ติ นกและระบบนิเวศของพ้ืนท่ี
ชมุ่ นา้ ภายใต้การดูแลโดยศูนย์ประสานงานโครงการตามพระราชดาริจงั หวัดชมุ พร
11.พระราชวังรัตนรังสรรค์ ที่ต้ังของจะอยู่ใกล้กับศาลากลางระนอง สร้างขึ้นโดยอ้างอิง
จากรปู ถา่ ย และ พระราชหัถเลขาทีร่ ชั กาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธไ์ ว้ในจดหมายเหตุ
ทางราชการ โดยมีขนาดย่อส่วน 1:100 งบประมาณในการก่อสร้างมาจากการออก
สลากกาชาดฉบับพิเศษ ตัวพระราชวังที่ทาขึ้นมาใหม่ทาจากไม้สัก และไม้
ตะเคียนทองเป็นกลุ่มเรือนไม้ขนาดใหญ่มีทางเดินเช่ือมกันตลอด บริเวณด้านหน้า
พระราชวังรัตนรังสรรค์ (จาลอง) เป็นสวนสาธารณะมีรูปปั้นคนงานทาเหมืองแร่
บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์แร่ธาตุในสมัยน้ัน ภายใต้การดูแลโดยเทศบาลเมือง
ระนอง
12.จวนเจ้าเมืองระนอง หรือบ้านค่ายเจ้าเมืองระนอง บ้านทรงจีนขนาดกะทัดรัดซึ่งถูก
สร้างในสมัยพระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอซู้เจียง) ซึ่งพระยาดารงสุจริตมหิศร
ภักดี (คอซิมก๊อง) บุตรชายคนที่ 2 ของท่านคอซู้เจียง สร้างเพื่อใช้เป็นที่พักของบิดา
เริ่มสร้างเม่ือประมาณปี พ.ศ. 2420 มีเนื้อที่ประมาณ 33 ไร่เศษ ตั้งอยู่ในเขต
เทศบาลเมืองระนอง ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน
ภายใตก้ ารดูแลโดยเทศบาลเมอื งระนอง

เปา้ หมายและตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ
1. จานวนแหล่งท่องเที่ยวท่ีได้รับการพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว
ภายใต้แนวคิดเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) จานวน 12 แหล่ง (ตามพื้นท่ี
เป้าหมาย)
2. เพ่ิมจานวนนักท่องเท่ียวท้ังชายไทยและต่างประเทศเข้าสู่พ้ืนที่ไทยแลนด์ริเวียร่า
ร้อยละ 10

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) แผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการท่องเท่ียวฝง่ั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564

บทท่ี 7 แผนปฏบิ ตั กิ ารสนบั สนนุ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วฝัง่ ทะเลตะวันตก 7-41
และโครงการในการพัฒนาพืน้ ที่

3. รอ้ ยละของความพงึ พอใจของนักทอ่ งเท่ียวทีม่ ีตอ่ การท่องเทย่ี วของพื้นที่ ร้อยละ 90

วธิ กี ารและขนั้ ตอนการดาเนินการ/กิจกรรม
1. การกาหนดพืน้ ที่เปา้ หมายเพื่อการพฒั นาสง่ิ อานวยความสะดวก กาหนดพื้นทน่ี าร่อง
เพ่อื การพฒั นาเร่งด่วนดังข้อมูลข้างต้น จานวน 12 แหลง่ ท่องเที่ยว
2. ประเมินศักยภาพดา้ นส่ิงอานวยความสะดวกในแหล่งท่องเทยี่ ว แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน
ได้แก่ 1) สิ่งอานวยความสะดวกภายในอาคาร และ 2) สิ่งอานวยความสะดวก
ภายนอกอาคาร เพื่อกาหนดลาดับความสาคัญสาหรับการกาหนดแนวทางการ
พฒั นา/ยกระดับสง่ิ อานวยความสะดวก
3. ออกแบบและวางแผนการพัฒนาพัฒนาส่ิงอานวยความสะดวกท่ีคานึงถึง
องค์ประกอบดังนี้ 1) มาตรฐานการออกแบบอาคาร สถานที่และส่ิงอานวยความ
สะดวกสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง
2) มาตรฐานว่าด้วยวัสดุและผลิตภัณฑ์ด้านอัคคีภัย 3) มาตรฐานการออกแบบทาง
หนไี ฟ และ 4) กฎสง่ิ อานวยความสะดวกผูพ้ กิ ารคนชรา
4. กาหนดองค์ประกอบสาหรับการพัฒนาในแหล่งท่องเท่ียวประกอบด้วย 1) ขนาด
พื้นที่ สัญลักษณ์และองค์ประกอบ ได้แก่ ความกว้างของพ้ืนท่ีใช้งาน พื้นที่สาหรับ
เก้าอี้ใช้ล้อ สัญลักษณ์ เคร่ืองหมาย ป้าย ตัวอักษร ตัวอักษรต่างสัมผัส ส่ือหรือ
รูปภาพ พื้นที่ผิวต่างสัมผัส บันได ทางลาด ราวจับสาหรับบันไดและทางลาดพื้น
2) สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ได้แก่ ทางเดิน ทางข้ามถนน (ทางม้าลาย) ทาง
ลาดตัดคนั หิน อุปกรณ์ประกอบถนน ที่จอดรถ ทางเขา้ ออกอาคาร 3) สภาพแวดล้อม
ภายในอาคาร ได้แก่ โถงทางเข้า ทางสัญจรภายในอาคาร ประตู หน้าต่าง ลิฟต์
อ่างล้างหน้าและอ่างล้างมือ โถปัสสาวะชาย ห้องส้วมและโถส้วม พ้ืนท่ีอาบน้าแบบ
ฝักบัว และ 4) ความปลอดภัย ได้แก่ สัญญาณเตือนฉุกเฉิน การป้องกันและระงับ
อัคคีภัย และการอพยพและเสน้ ทางหนไี ฟ
5. ดาเนินการจา้ งเหมา เพ่อื กอ่ สร้างและปรบั ปรงุ พื้นทโี่ ดยพิจารณาจากผลการประเมิน
ศักยภาพและการออกแบบที่สอดคล้องกับแนวคิดส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อ
คนทงั้ มวล มงุ่ เน้นการใชง้ านเพอ่ื ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ และการสรา้ งความพงึ พอใจ

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน ปี 2563

หนว่ ยงานดาเนนิ งาน
หน่วยงานหลัก มีบทบาทต่อการกาหนดวตั ถุประสงค์ เป้าประสงค์และแผนการดาเนินการ
อย่างมีส่วนร่วมสอดคล้องต่อแผนแม่บทฯ และโครงการ ได้แก่ กรมการท่องเที่ยว และ
องค์กรหลักในพื้นท่ีและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ีนที่เป้าหมาย ได้ แก่
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธพุ์ ชื กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม เทศบาลเมือง
หัวหิน เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ เทศบาลตาบลเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) แผนแมบ่ ทพัฒนาการท่องเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ่ งเที่ยวฝ่งั ทะเลตะวนั ตก
(The Royal Coast หรือ Thailand Riviera) พ.ศ.2560-2564


Click to View FlipBook Version