แผนการจัดการเรยี นรู้
วิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
นางสาวสนุ สิ า ตุน่ คำ
โรงเรียนโสภณวรคณุ วิทยา
ตำบลแมส่ อด อำเภอแมส่ อด จังหวัดตาก
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565
สังกดั สำนกั เขตการศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 4
สำนกั งานการศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
โรงเรียนโสภณวรคุณวิทยา ได้มอบหมายให้คณะครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อกำหนดหรือ
วางแผนการสอนให้เป็นระบบ สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้ของวิชาที่
สอน โดย นางสาวสุนิสา ตุน่ คำ ไดร้ ับสอนวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน
โดยได้รับความเหน็ ชอบจาก
……………………………………………….……ประธาน
(พระมหาธรี วรี ์ ธีรวฑฒฺ นเมธ,ี ดร.)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นโสภณวรคณุ วิทยา
……………………………………………..กรรมการ
(นางสาวศศิวิมล จันน้อย)
รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนโสภณวรคุณวทิ ยา
……………………………………………..กรรมการ
(นายประยูร อุปสอด)
รองผู้อำนวยการโรงเรียนโสภณวรคุณวิทยา
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
จดั ทำขึน้ เพ่อื กำหนดหรือวางแผนรายวชิ าทส่ี อนอย่างเป็นระบบ ใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตรสานศึกษา มาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวช้วี ัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผ้เู รียน เป็นสำคัญ
ให้ผู้เรียนได้เป็นผู้คิดและปฏิบัติด้วยตนเองตามสภาพแวดล้อมและบริบทของโรงเรียน คิด ออกแบบ จัดหา
จัดซื้อสื่ออุปกรณ์ที่เหมาะกับสาระการเรียนรู้ วัดและประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
จดุ ประสงค์ในการเรียนรแู้ ละวัยของผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรียนรู้ให้ประโยชน์หลายประการ นอกจากจะช่วยทำให้ผู้สอนเกิดความม่ันใจใน
การสอนและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ยงั มสี ่วนช่วยในการวางแผนการจัดการเรยี นการ
สอนให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ จะสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพของผู้เรียน เม่ือพบ
ข้อบกพร่องและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนจากการเขียนบันทึกหลังแผนการสอน ผู้สอนได้นำประเด็น
ปัญหาที่พบเจอมาปรับปรงุ แก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสมกับผู้เรียนและสภาพห้องเรียนท่ีจัดการเรียนรู้ ซึ่งช่วยให้
การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากข้ึน อันจะส่งผลไปถึงศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม
เปา้ หมายการเรยี นรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี ประกอบไปด้วย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัดและสาระ
การเรียนรู้แกนกลาง สิ่งที่ต้องรู้และควรรู้ คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายช่ัวโมง
ในการจดั การเรยี นรู้ วิชาภาษาไทยเพม่ิ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2
ปีการศึกษา 2565 การประเมินและการให้คะแนน รวมท้ังแผนการจัดการเรียนรู้ท้ังหมด 38 แผน ส่ือ ใบงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท่ีใช้ในการประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วิธีการและเกณฑ์การประเมิน
การเรียนรูข้ องผเู้ รียน
ผู้สอนขอขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ีให้คำแนะนำ และเป็นที่ปรึกษาในการจัดทำ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีประโยชน์และมีคุณคา่ ต่อการจัดการเรียนการสอน อันจะเป็นประโยชน์สูงสุดต่อตัว
ผู้เรยี นไว้ ณ โอกาสนี้
นางสาวสนุ สิ า ตนุ่ คำ
ผจู้ ัดทำ
สารบญั หนา้
เรอื่ ง ก
คำนำ ข
สารบัญ 1
ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 6
ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้ 12
คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน(สถานศกึ ษา) 13
โครงสร้างรายวชิ า 17
20
โครงสรา้ งรายชัว่ โมงในการจัดการเรียนรู้
หน่วยท่ี 1คำนมสั การคณุ านคุ ุณ 20
25
- แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 30
- แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 37
- แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 3
- แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 46
หน่วยท่ี 2 อเิ หนา ตอน ศึกกะหมงั กหุ นงิ 46
53
- แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 60
- แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 6 66
- แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7
- แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8 73
หนว่ ยที่ 3 นิทานเวตาล (เร่อื งที่ 10) 73
80
- แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 86
- แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 10 94
- แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 100
- แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12
- แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 13 107
หนว่ ยท่ี 4 นริ าศนรินทรค์ ำโคลง 107
115
- แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 14
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
สารบญั (ต่อ) หน้า
เรื่อง 127
131
- แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 16 135
- แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 17
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 141
หน่วยท่ี 5 หัวใจชายหนมุ่ 141
147
- แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 19 152
- แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 20 159
- แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 21 164
- แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 22
- แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 23 168
หนว่ ยที่ 6 ทกุ ข์ของชาวนาในบทกวี 168
174
- แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 24 180
- แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 25 187
- แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 26 195
- แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 27
- แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 28 203
หนว่ ยที่ 7 มงคลสูตรคำฉนั ท์ 203
210
-แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 29 216
- แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 30 222
- แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 31 229
- แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 32
- แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 33 236
หน่วยที่ 8 มหาชาติหรือมหาเวสสนั ดรชาดก 236
242
- แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 34 247
- แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 35 252
- แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 36 255
- แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 37
- แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 38
สารบญั (ต่อ)
เรอ่ื ง หน้า
ภาคผนวก
- แบบบันทกึ หลังแผนการสอน
- คำสั่ง เรื่อง การจดั แผนการสอนของรายวชิ าในแผนกสามัญศึกษา/โครงสรา้ งรายวิชาแผนกธรรม
และแผนกบาลี ปีการศกึ ษา 2565
1
ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง
รายวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
สาระท่ี 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพ่ือนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั รักการอา่ น
ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย
อย่างถกู ต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรือ่ งท่ีอา่ น - บทร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ เช่น บทความ
นวนิยาย และความเรียง
- บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
รา่ ย และลลิ ิต
2. ตีความ แปลความ และขยายความเรือ่ งที่อ่าน การอ่านจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ เช่น
3. วิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองท่ีอ่านในทุก ๆ ด้าน - ข่าวสารจากส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และ
อย่างมีเหตุผล แหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ ในชุมชน
4. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรือ่ งท่ีอ่าน และประเมิน - บทความ
ค่าเพ่ือนำความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา - นทิ าน
ในการดำเนินชีวติ - เรอ่ื งสนั้
5. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับ - นวนิยาย
เร่อื งทอี่ า่ น และเสนอความคิดใหมอ่ ยา่ งมเี หตุผล - วรรณกรรมพน้ื บา้ น
6. ตอบคำถามจากการอ่านประเภทต่าง ๆ ภายใน - วรรณคดีในบทเรยี น
เวลาท่กี ำหนด - บทโฆษณา
7. อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิดผัง - สารคดี
ความคดิ บนั ทึก ย่อความ และรายงาน - บนั เทิงคดี
8. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือ - ปาฐกถา
อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนา - พระบรมราโชวาท
ตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูท้ างอาชพี - เทศนา
- คำบรรยาย
- คำสอน
- บทรอ้ ยกรองร่วมสมัย
- บทเพลง
2
- บทอาเศยี รวาท
- คำขวญั
สาระท่ี 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสอื่ สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวใน
รปู แบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
1. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ตรงตาม การเขยี นสื่อสารในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น
วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มี - อธิบาย
ข้อมูล และสาระสำคัญชดั เจน - บรรยาย
- พรรณนา
- แสดงทรรศนะ
- โต้แยง้
- โนม้ นา้ ว
- เชิญชวน
- ประกาศ
- จดหมายกจิ ธุระ
- โครงการและรายงานการดำเนนิ โครงการ
- รายงานการประชุม
- การกรอกแบบรายการต่าง ๆ
2. เขยี นเรียงความ การเขยี นเรียงความ
3. เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและเน้ือหา การเขียนย่อความจากสอื่ ตา่ ง ๆ เชน่
หลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
- เร่ืองส้ัน สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ
และวรรณกรรมพืน้ บ้าน
4. ผลิตงานเขยี นของตนเองในรปู แบบต่าง ๆ การเขยี นในรูปแบบต่าง ๆ เชน่
- สารคดี
- บันเทงิ คดี
5. ประเมินงานเขียนของผู้อ่ืนแล้วนำมาพัฒนางาน การประเมินคณุ คา่ งานเขยี นในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น
เขียนของตนเอง - แนวคดิ ของผเู้ ขยี น
- การใช้ถอ้ ยคำ
- การเรียบเรยี ง
- สำนวนโวหาร
3
- กลวธิ ีในการเขยี น
6. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจตาม การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ
หลักการเขียนเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศ การเขยี นอา้ งองิ ขอ้ มูลสารสนเทศ
อา้ งอิงอย่างถกู ตอ้ ง
7. บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำไปพัฒนาตนเอง การเขยี นบันทึกความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย
อย่างสมำ่ เสมอ
8. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น
สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
1. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคิดเห็นจากเรอื่ งท่ีฟัง การพูดสรุปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจาก
และดู เรื่องทีฟ่ ังและดู
2. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความ การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความ
นา่ เช่อื ถอื จากเรอ่ื งทฟ่ี ังและดู น่าเชอ่ื ถอื จากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู
อยา่ งมีเหตผุ ล การเลือกเร่อื งท่ฟี ังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
3. ประเมินเรื่องท่ีฟังและดู แล้วกำหนดแนวทาง การประเมินเร่ืองท่ีฟังและดูเพ่ือกำหนดแนวทาง
นำไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิต นำไปประยกุ ตใ์ ช้
4. มวี ิจารณญาณในการเลอื กเรื่องที่ฟังและดู
5. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เชน่
น้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้อง - การพูดต่อที่ประชุมชน
เหมาะสม - การพดู อภปิ ราย
- การพูดแสดงทรรศนะ
- การพดู โน้มน้าวใจ
6. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด มารยาทในการฟงั การดู และการพดู
4
สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ
ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
1. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และ ธรรมชาตขิ องภาษา
ลักษณะของภาษา พลังของภาษา
ลกั ษณะของภาษา
- เสยี งในภาษา
- สว่ นประกอบของภาษา
- องคป์ ระกอบของพยางค์และคำ
2 . ใช้ค ำแล ะ ก ลุ่ม ค ำสร้างป ระ โยค ต ร งต าม การใช้คำและกลุม่ คำสร้างประโยค
วัตถุประสงค์ - คำและสำนวน
- การร้อยเรียงประโยค
- การเพ่ิมคำ
- การใชค้ ำ
- การเขยี นสะกดคำ
3. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล ระดบั ของภาษา
รวมทงั้ คำราชาศพั ทอ์ ย่างเหมาะสม คำราชาศพั ท์
4. แตง่ บทรอ้ ยกรอง กาพย์ โคลง รา่ ย และฉนั ท์
5. วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิ่น อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิน่
6. อธิบายและวิเคราะห์หลัก การสร้างคำใน หลักการสรา้ งคำในภาษาไทย
ภาษาไทย
7. วิเคราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาจากสือ่ สงิ่ พมิ พ์ การประเมนิ การใชภ้ าษาจากส่อื ส่ิงพมิ พแ์ ละ
และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์
5
สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เห็นวิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ ค่า
และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
1. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม หลักก ารวิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณ คดีและ
ตามหลกั การวจิ ารณเ์ บอ้ื งตน้ วรรณกรรมเบือ้ งตน้
- จุดมุง่ หมายการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม
- ก ารพิ จารณ ารูป แบ บ ขอ งวรรณ คดีและ
วรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรม
2. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเช่ือมโยงกับ การวิเคราะห์ลักษ ณ ะเด่น ขอ งวรรณ คดีและ
การเรียนรู้ทางประวตั ิศาสตร์และวถิ ีชีวติ ของสังคม วรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์และ
ในอดตี วิถชี วี ติ ของสังคมในอดตี
3. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของ การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและ
วรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทาง วรรณกรรม
วฒั นธรรมของชาติ - ด้านวรรณศิลป์
- ด้านสงั คมและวฒั นธรรม
4. สังเคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพ่ือ การสังเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม
นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง
5. รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบา้ นและอธบิ ายภมู ปิ ญั ญา วรรณกรรมพ้ืนบ้านที่แสดงถึง
ทางภาษา - ภาษากับวฒั นธรรม
- ภาษาถน่ิ
6. ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ คา่
และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด
นำไปใช้อ้างองิ - บทร้อยกรองตามความสนใจ
6
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางตอ้ งรแู้ ละควรรู้
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชวี้ ัด สารการเรยี นรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
1 ท 1.1 ม.4-6/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว - การอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว ✓
และบทร้อยกรองได้อย่าง ประเภทต่าง ๆ เช่น ข่าว
ถู ก ต้ อ ง ไพ เร าะ แ ล ะ บทโฆษณา บทความ จาก
เหมาะสมกบั เรื่องทอี่ ่าน หนังสอื เรียน และสื่ออ่นื ๆ
- การอ่าน ทำน องเสนาะ
โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
และรา่ ย
2 ท 1.1 ม.4-6/2 ตีความ แปลความ และ - ก า ร อ่ า น จั บ ใจ ค ว า ม ✓
ขยายความเรอ่ื งท่อี า่ น วรรณคดี และวรรณกรรมใน
3 ท 1.1 ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่อง ห นั ง สื อ เรี ย น ร ว ม ท้ั ง ✓
ท่ีอา่ นในทุก ๆ ด้านอย่างมี บทเรียนจำกกลุ่มสำระ การ
เหตผุ ล เรียนรู้อืน่ ๆ
4 ท 1.1 ม.4-6/4 คาดคะเนเหตุการณ์จาก ✓
เรื่องที่อ่าน และประเมิน
คา่ เพ่ือนำความรู้ ความคิด
ไปใช้ตดั สนิ ใจแก้ปัญหา
ในการดำเนนิ ชวี ิต
5 ท 1.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง ✓
ค ว า ม คิ ด เห็ น โ ต้ แ ย้ ง กั บ
เรื่อ ง ที่ อ่ าน แ ล ะ เส น อ
ค ว า ม คิ ด ให ม่ อ ย่ า ง มี
เหตุผล
6 ท 1.1 ม.4-6/6 ตอบคำถามจากการอ่าน ✓
งานเขียนประเภทต่าง ๆ
ภายในเวลาท่กี ำหนด
7
ท่ี รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชี้วัด สารการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
✓
7 ท 1.1 ม.4-6/7 อ่าน เร่ืองต่าง ๆ แล้ว ✓
เขียน กรอบแนวคิด ผัง
คว าม คิ ด บั น ทึ ก ย่ อ
ความ และรายงาน
8 ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะห์ความรู้จาก ✓
การอ่าน สื่อ สิ่งพิ มพ์
ส่ื อ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มา
พัฒนาตน พัฒนาการ
เรียน และพัฒนาความรู้
ทางอาชพี
9 ท 1.1 ม.4-6/9 มมี ารยาทในการอ่าน - มารยาทในการอ่าน
10 ท 2.1 ม.4-6/1 เขียนส่ือสารในรูปแบบ - การเขยี นสื่อสารในรูปแบบ ✓
ต่ า ง ๆ ไ ด้ ต ร ง ต า ม ตา่ ง ๆ เช่น
วัตถุป ระสงค์ โดยใช้ - การเขียนประวัติย่อใน
ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง การสมัครงาน หรอื ศึกษาตอ่
มีข้อมูล และสำระสำคัญ - การเขียนจดหมายกิจ
ชัดเจน ธรุ ะ ในชวี ิตประจำวัน
11 ท 2.1 ม.4-6/2 เขยี นเรียงความ - การเขียนโครงงาน ✓
- ก า ร เขี ย น ร า ย ง า น
วชิ าการ
- การเขียนรายงานการ
ประชุม
- การกรอกแบบรายการ
ต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั
- การเขียนวิจารณ์
- การเขยี นเรยี งความ
12 ท 2.1 ม.4-6/3 เขียนย่อความจากส่ือท่ีมี - การเขียน ย่อความจาก ✓
รูป แบ บ แล ะ เนื้ อ ห า วรรณคดีและวรรณกรรมใน
หลากหลาย หนงั สือเรียน หรือส่อื ตา่ ง ๆ
8
ท่ี รหัสตัวชี้วดั ตัวช้วี ัด สารการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
13 ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขยี นของตนเอง - การเขยี นในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ ✓ ✓
✓
ในรปู แบบต่าง ๆ - สารคดี
- บนั เทิงคดี
14 ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของ - การประเมินคุณค่างาน ✓
ผู้อ่ืน แล้วนำมาพัฒนา เขยี น ในด้านต่าง ๆ เช่น
งานเขยี น ของตนเอง - แนวคิดของผ้เู ขียน
- การใชถ้ ้อยคำ
- การเรยี บเรยี ง
- สำนวนโวหาร
- กลวธิ ีในการเขยี น
15 ท 2.1 ม.4-6/6 เขียนรายงานการศึกษา - ก าร เขีย น ร าย งาน เชิ ง ✓
ค้นคว้า เรื่องที่สนใจตาม วิชาการ โดยเน้นการเขียน
หลักการเขียนเชิงวิชาการ อ้างอิงข้อมูลสารสนเทศที่
และใช้ข้อมูลสารสนเทศ ถกู ต้อง
อ้างอิงอย่างถกู ตอ้ ง
16 ท 2.1 ม.4-6/7 บันทึกการศึกษาค้นคว้า - การเขียนบันทึกความรู้
เพ่ือนำไปพัฒนาตนเอง จ า ก แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ที่
อย่างสม่ำเสมอ หลากหลาย
17 ท 2.1 ม.4-6/8 มมี ารยาทในการเขยี น - มารยาทในการเขยี น
18 ท 3.1 ม.4-6/1 สรุปแนวคิด และแสดง - การพูดสรุปสาระสำคัญ ✓
ความคิดเห็นจากเร่ืองที่ และการแสดงความคิดเห็น
ฟงั และดู จากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู
19 ท 3.1 ม.4-6/2 วเิ คราะห์ แนวคดิ การใช้ - การพูดวิเคราะห์ วิจารณ์ ✓
ภ า ษ า แ ล ะ ค ว า ม และประเมินค่าจากเร่ืองที่
น่าเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟัง ฟังและดู
และดูอยา่ งมเี หตุผล
20 ท 3.1 ม.4-6/3 ประเมินเร่ืองท่ีฟังและดู ✓
แล้วก ำหน ดแน วทาง
นำไปประยุกต์ใช้ในการ
ดำเนินชวี ติ
9
ท่ี รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชว้ี ัด สารการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้
✓
21 ท 3.1 ม.4-6/4 มีวิจารณ ญ าณ ในการ - การเลือกเรื่องที่ฟังและดู
✓
เลือกเรอื่ งทฟ่ี ังและดู อยา่ งมีวิจารณญาณ
22 ท 3.1 ม.4-6/5 พูดในโอกาสต่าง ๆ พูด - การพูดในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ✓
แสดงทรรศนะ โต้แย้ง - การอภิปราย
โน้มน้าวใจและเสน อ - การพูดแสดงทรรศนะ
แนวคิดใหม่ด้วยภาษา - การพูดโน้มนา้ วใจ
ถูกตอ้ งเหมาะสม - การกล่าวสุนทรพจน์
- การโต้วาที
23 ท 3.1 ม.4-6/6 มี ม ารย าท ใน ก าร ฟั ง - มารยาทในการฟัง การดู
การดู และการพดู และการพดู
24 ท 4.1 ม.4-6/1 อธิบายธรรมชาติของ - ธรรมชาตขิ องภาษา ✓
ภาษา พ ลังของภาษา - พลังของภาษา
และลักษณะ ของภาษา - ลกั ษณะของภาษาไทย
- เสียงในภาษาไทย
- พยางค์และคำ
- ความหมายของคำ
- ก าร เป ล่ี ยน แ ป ลงข อ ง
ภาษาไทย ในปจั จุบัน
25 ท 4.1 ม.4-6/2 ใช้คำและกลุ่มคำสร้าง - หลักการใช้ถ้อยคำและ ✓
ป ร ะ โ ย ค ต ร ง ต า ม สำนวน
วัตถุประสงค์ - หลักการร้อยเรยี งประโยค
- ห ลั ก ก า ร สั ง เก ต ค ำ
ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เท ศ ใน
ภาษาไทย
- ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง ค ำ ใ น
ภาษาไทย
26 ท 4.1 ม.4-6/3 ใช้ภาษาเหมาะสมแก่ - ระดบั ของภาษา ✓
โอกาส กาลเทศะ และ - คำราชาศพั ทแ์ ละคำสภุ าพ
บุคคล รวมท้ัง คำราชา
ศพั ท์อย่างเหมาะสม
27 ท 4.1 ม.4-6/4 แตง่ บทร้อยกรอง -หลกั การแต่งโคลง รา่ ยฉันท์ ✓
10
ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชีว้ ัด สารการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
28 ท 4.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์อิทธิพลของ - อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ ✓
ภาษาต่างประเทศและ และภาษาถ่ิน
ภาษาถน่ิ
29 ท 4.1 ม.4-6/6 อธิบายและวิเคราะห์ - ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง ค ำ ใ น ✓
ห ลั ก ก าร ส ร้ า ง ค ำ ใน ภาษาไทย
ภาษาไทย
30 ท 4.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์และประเมิน - การประเมินการใช้ภาษา ✓
ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า จ า ก จาก สื่อ สิ่งพิ ม พ์ และ ส่ือ
ส่ื อ ส่ิ ง พิ ม พ์ แ ล ะ สื่ อ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ - ภูมิปัญ ญ าทางภาษาใน
ท้องถนิ่
31 ท 5.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์และวิจารณ์ - การวิจารณแ์ ละประเมินค่า ✓
วรรณคดีและวรรณกรรม ว ร ร ณ ค ดี ว ร ร ณ ก ร ร ม
ตามหลัก การวิจารณ์ ว ร ร ณ ก ร ร ม ท้ อ ง ถิ่ น
เบ้ืองต้น วรรณกรรมอาเซียน และบท
32 ท 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ลักษณะเด่น อาขยาน ✓
ข อ ง ว ร รณ ค ดี เชื่ อ ม โย ง
กั บ ก า ร เรี ย น รู้ ท า ง
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ถี
ชวี ิตของสังคมในอดีต
33 ท 5.1 ม.4-6/3 วิเคราะห์และประเมิน ✓
คุ ณ ค่ า ด้ า น ว ร ร ณ ศิ ล ป์
ข อ ง ว ร ร ณ ค ดี แ ล ะ
ว ร ร ณ ก ร ร ม ใ น ฐ า น ะ ท่ี
เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ของชาติ
34 ท 5.1 ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจาก ✓
วรรณคดีและวรรณกรรม
เพ่ือนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ จริง
11
ท่ี รหัสตัวชี้วัด ตวั ช้ีวัด สารการเรยี นรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้
✓ 5
35 ท 5.1 ม.4-6/5 รวบ รวม วรรณ ก รรม ✓
พ้ืนบ้านและอธิบายภูมิ 31
ปญั ญาทางภาษา
36 ท 5.1 ม.4-6/6 ท่องจำและบอกคุณค่า
บ ท อ า ข ย า น ต า ม ที่
กำหน ด และบทร้อย
กรองที่ มีคุณ ค่า ตาม
ความสนใจและนำไปใช้
อา้ งองิ
รวม 36 ตัวชีว้ ัด
12
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน (สถานศึกษา)
รหสั วชิ า ท 31102 วชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมงจำนวน 1 หน่วยกติ
คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาทักษะการฟัง การดู และการอ่านออกเสียงร้อยแก้วประเภทบทความ นวนิยาย ความเรียง
การอ่านออกเสียงร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อตีความ แปลความ
ขยายความ และตอบคำถามจากเร่ืองที่อ่าน ที่ฟัง ท่ีดูได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์
ประเมินค่า เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจและแก้ปัญหาในเร่ืองการเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดยใช้ข้อมูล
สารสนเทศอา้ งอิงไดอ้ ย่างถูกต้อง เขยี นยอ่ ความจากสื่อที่มีรูปแบบและเน้ือหาหลากหลาย พูดสรุปแนวคิดและ
พูดแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีวจิ ารณญาณจากการฟัง การดู การอ่าน วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
และภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคำในภาษา ศึกษาวิเคราะห์วัฒนธรรมกลุ่มอาเซียนจาก
วรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ข้อคิด ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกำหนดและตามความ
สนใจจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้ประยุกต์ในชีวิตจริง มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง
การพูด และมนี ิสยั รกั การอา่ น รกั การเขยี น
โดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการ
ปฏบิ ัติ กระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง กระบวนการกล่มุ กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการเรยี นความรแู้ ละ
ความเข้าใจ กระบวนการไตรสิกขา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถ ในการสื่อสาร ในการคิด
ในการแก้ปัญญา ในการใช้ทักษะชีวิต และในการใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทำงาน รักความ
เปน็ ไทย มคี ุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมท่ีเหมาะสม
รหัสตวั ช้ีวดั ม.4-6/2 ม.4-6/6 ม.4-6/8 ม.4-6/9
ท 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/6 ม.4-6/8 ม.4-6/6
ท 2.1 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/6
ท 3.1 ม.4-6/1 ม.4-6/5 ม.4-6/6
ท 4.1 ม.4-6/4 ม.4-6/4 ม.4-6/5
ท 5.1 ม.4-6/1
รวมท้ังหมด 18 ตัวช้ีวดั
13
โครงสรา้ งรายวชิ า
วชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน (ท 31102) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง 1 หนว่ ยกติ
หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ท่ี เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด (ช่วั โมง) คะแนน
1 คำนมัสการคุณานุ ท 1.1 ม.4-6/1 การอ่านออกเสียงเรื่อง คำ 4 5
คุณ ม.4-6/2 น มั ส ก าร คุ ณ านุ คุ ณ เป็ น
ท 5.1 ม.4-6/1 วรรณคดีที่มีคุณค่า จะต้อง
อ่าน อย่างถูกต้อง ไพเราะ
ม.4-6/3 เห ม าะ สม วิ เค ราะ ห์ แล ะ
ม.4-6/4 วจิ ารณ์วรรณคดีตามหลักการ
ม.4-6/6 วิจารณ์เบ้ืองต้น วิเคราะหแ์ ละ
ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์
ของวรรณคดีในฐานะที่เป็น
วัฒนธรรมของชาติ สงั เคราะห์
ข้อคิดจากวรรณคดี เพื่อนำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง ทอ่ งจำ
และบอกคุณค่าบทอาขยาน
ตามที่กำหนด
2 อเิ หนา ตอน ท 1.1ม.4-6/1 การศึกษาเร่ือง อิเหนา ตอน 4 10
ศกึ กะหมังกุหนิง ม.4-6/2 ศึกกะหมังกุหนิง จะต้องฝึก
ท 5.1ม.4-6/1 วเิ คราะหต์ ามหลักการวิจารณ์
ม.4-6/3 เบื้ อ ง ต้ น วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ
ม.4-6/4 ประเมินคณุ ค่าด้านวรรณศิลป์
ม.4-6/6 ของวรรณคดี ในฐานะท่ีเป็น
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
สังเคราะห์ขอ้ คิดจากเร่ืองเพื่อ
นำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง
ท่ อ ง จ ำ แ ล ะ บ อ ก คุ ณ ค่ า บ ท
อาขยานตามทกี่ ำหนด
3 นทิ านเวตาล ท 1.1ม.4-6/6 ก ารอ่ าน อ อ ก เสี ย งนิ ท าน 5 10
(เร่ืองที่ 10) ท 5.1ม.4-6/1 เวตาล(เร่ืองที่ 10) จะต้องอ่าน
อย่างถูกตอ้ งไพเราะเหมาะสม
14
หนว่ ย ชือ่ หนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
(ชัว่ โมง) คะแนน
ท่ี เรียนรู้ เรียนร้/ู ตวั ชีว้ ัด
5 5
ต อ บ ค ำ ถ า ม จ า ก เร่ื อ ง
1 20
วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ วิ จ า ร ณ์ 5 5
วรรณ ก รรมตามห ลัก การ
วิจารณ์เบ้ืองต้น วิเคราะห์
ลกั ษณะเด่นของเรอ่ื งเช่อื มโยง
กั บ ก า ร เ รี ย น รู้ ท า ง
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต
วิเคราะห์และประเมินคุณค่า
ด้ า น ว ร ร ณ ศิ ล ป์ ข อ ง
ว ร ร ณ ก ร ร ม ใน ฐ า น ะ ท่ี เป็ น
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
สั ง เค ร า ะ ห์ ข้ อ คิ ด จ า ก
ว ร ร ณ ก ร ร ม เพ่ื อ น ำ ไ ป
ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ
4 นริ าศนรินทรค์ ำ ท 1.1ม.4-6/1 ก ารอ่ าน อ อ ก เสี ย ง นิ ราศ
โคลง ม.4-6/7 นรินทร์ คำโคลง จะต้องอ่าน
ท 5.1ม.4-6/1 อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ไ พ เร า ะ
ม.4-6/2 เห ม าะ สม วิ เค ราะ ห์ แล ะ
ม.4-6/3 วิจารณ์วรรณคดีตามหลักการ
ม.4-6/4 วิจารณ์เบ้ืองต้น วิเคราะห์
ม.4-6/6 ลั ก ษ ณ ะ เด่ น ข อ ง เร่ื อ ง
เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทาง
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต
วิเคราะห์และประเมินคุณค่า
ด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดี
ใน ฐาน ะ ท่ี เป็ น ม ร ดก ท าง
วัฒนธรรมของชาติ ท่องจำ
และบอกคณุ คา่ บทอาขยาน
สอบกลางภาคเรียนท่ี 2
5 หัวใจชายหนุ่ม ท 1.1ม.4-6/7 การศึกษาเร่ือง หัวใจชายหนุ่ม
ตอ้ งฝกึ วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์
15
หน่วย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี (ชั่วโมง) คะแนน
เรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด
6 ทกุ ขข์ องชาวนา 5 5
ในบทกวี วิจารณ์ เบ้ื องต้ น วิ เคราะห์
5 5
7 มงคลสตู รคำฉันท์ ลักษณะเด่นของเรื่อง เช่ือมโยง
กับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
และวิ ถีชีวิ ต วิเคราะห์ และ
ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์
ของวรรณกรรมในฐานะที่เป็น
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
และสังเคราะห์ข้อคิดจากเร่ือง
เพอื่ นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ
ท 1.1 ม.4-6/7 การศึกษาเรื่อง ทุกข์ของชาวนา
ท 5.1 ม.4-6/1 ในบทกวี ต้องฝึกวิเคราะห์และ
ม.4-6/2 วิจารณ์วรรณกรรมตามหลักการ
ม.4-6/3 วิจารณ์ เบ้ื องต้ น วิ เคราะห์
ม.4-6/4 ลักษณะเด่นของเร่ือง เชื่อมโยง
กบั การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
และวิ ถีชีวิ ต วิเคราะห์ และ
ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์
ของวรรณกรรมในฐานะที่เป็น
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
สังเคราะห์ข้อคิดจากเรื่องเพื่อ
นำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ
ท 1.1 ม.4-6/6 การศึกษาเร่ือง มงคลสูตรคำ
ท 5.1 ม.4-6/1 ฉันท์ ต้องฝึกวิเคราะห์ และ
ม.4-6/2 วิจารณ์วรรณคดีตามหลักการ
ม.4-6/3 วิจารณ์ เบื้ องต้ น วิ เคราะห์
ม.4-6/4 ลักษณะเด่นของเร่ือง เช่ือมโยง
กบั การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
และวิ ถีชีวิ ต วิเคราะห์ และ
ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์
ของวรรณ คดี ใน ฐาน ะที่ เป็ น
มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ
16
หน่วย ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
(ชัว่ โมง) คะแนน
ท่ี เรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด
5 5
และสังเคราะห์ข้อคิดจากเร่ือง
1 30
เพอ่ื นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง 100
8 มหาชาติหรอื มหา ท 1.1 ม.4-6/7 การศึกษาเร่ือง มหาชาติหรือ
เวสสันดรชาดก ท 5.1 ม.4-6/1 มหาเวสสันดรชาดก ต้องฝึก
ม.4-6/2 วเิ คราะห์และวจิ ารณ์วรรณกรรม
ม.4-6/3 ตามหลักการวิจารณ์เบ้ืองต้น
ม.4-6/4 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของเรื่อง
ม.4-6/5 เช่ือมโยงกั บการเรียนรู้ทาง
ประวัติ ศาสตร์และวิถี ชีวิ ต
วิ เคราะห์ และประเมิ นคุ ณค่ า
ด้านวรรณศิลป์ของวรรณกรรม
ใน ฐาน ะ ท่ี เป็ น ม รด ก ท าง
วั ฒ น ธรรม ขอ งชาติ แล ะ
สังเคราะห์ข้อคิดจากเร่ืองเพ่ือ
นำไปประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตจรงิ
สอบปลายภาคเรียนท่ี 2
รวมตลอดภาคเรยี นท่ี 2 40
17
โครงสรา้ งรายชั่วโมงในการจดั การเรียนรู้
วชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4
จำนวน
หน่วยการเรียนร้/ู เรอ่ื ง ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นรู้ 4
1
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 คำนมัสการคุณานคุ ณุ 1
1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 ความเปน็ มาและประวตั ผิ แู้ ต่ง 1
4
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 สรปุ เนอ้ื หาและคำศพั ท์ 1
1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ประเมนิ คณุ ค่าและสังเคราะห์ข้อคิด 1
1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 ทอ่ งจำและบอกคุณค่าบทอาขยาน 5
1
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 อเิ หนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง 1
1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 ความเป็นมาและประวตั ิผ้แู ตง่ 1
1
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 สรุปเน้ือหาและคำศพั ท์ 5
1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 ประเมนิ คุณคา่ และสงั เคราะหข์ ้อคิด 1
1
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 8 ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยาน 1
1
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 นทิ านเวตาล (เรอื่ งที่ 10) 1
5
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 9 ความเปน็ มาและประวตั ิผ้แู ตง่ 1
1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 สรปุ เน้ือหาและคำศพั ท์ 1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 11 วเิ คราะห์และวจิ ารณ์
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 วเิ คราะห์ลักษณะเด่น
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 13 ประเมนิ คุณค่าและสังเคราะห์ข้อคิด
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 นิราศนรินทร์คำโคลง
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 14 ความเปน็ มาและประวตั ผิ แู้ ต่ง
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 15 สรุปเนอ้ื หาและคำศัพท์
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 16 วเิ คราะห์และวจิ ารณ์
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 17 วเิ คราะหล์ กั ษณะเด่น
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 18 ประเมนิ คุณค่าและสังเคราะห์ข้อคิด
สอบกลางภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 หวั ใจชายหน่มุ
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 19 ความเป็นมาและประวตั ผิ ู้แต่ง
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 20 สรปุ เน้อื หาและคำศพั ท์
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 21 วิเคราะห์และวิจารณ์
หนว่ ยการเรียนรู้/ เร่ือง 18
แผนการจดั การเรยี นรู้
จำนวน
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 22 วเิ คราะห์ลกั ษณะเดน่ ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 23 ประเมนิ คุณคา่ และสังเคราะหข์ ้อคิด 1
1
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ทุกขข์ องชาวนาในบทกวี 5
1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 24 ความเปน็ มาและประวตั ผิ แู้ ตง่ 1
1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 25 สรปุ เน้อื หาและคำศัพท์ 1
1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26 วิเคราะห์และวจิ ารณ์ 5
1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 27 วเิ คราะหล์ ักษณะเดน่ 1
1
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 26 ประเมนิ คุณคา่ และสังเคราะหข์ อ้ คิด 1
1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 มงคลสตู รคำฉนั ท์ 5
1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 28 ความเป็นมาและประวตั ิผแู้ ตง่ 1
1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 29 สรปุ เนอ้ื หาและคำศัพท์ 1
1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 30 วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์ 1
40
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 31 วิเคราะห์ลกั ษณะเด่น
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 32 ประเมินคุณคา่ และสังเคราะหข์ ้อคิด
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 มหาชาติหรอื มหาเวสสันดรชาดก
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 33 ความเป็นมาและประวตั ิผู้แต่ง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34 สรุปเน้ือหาและคำศัพท์
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 35 วเิ คราะห์และวจิ ารณ์
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 36 วิเคราะห์ลักษณะเด่น
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 37 ประเมินคณุ คา่ และสงั เคราะหข์ ้อคิด
สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2
รวมตลอดภาคเรยี นที่ 2
19
แผนการจดั การเรยี นรู้
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
20
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1
รายวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหสั ท31102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
โรงเรียน โสภณวรคุณวทิ ยา ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
หนว่ ยการเรียนท่ี 1 เรื่อง คำนมสั การคุณานุคณุ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 ความเปน็ มาและประวตั ิผู้แต่ง เวลา 1 ชวั่ โมง/คาบ
ผสู้ อน นางสาวสุนิสา ต่นุ คำ
วันที่สอน : วนั ............................... ที.่ ....................... เดือน .................................พทุ ธศกั ราช ...................
1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด
การอ่านเร่ือง คำนมัสการคุณานุคุณ จะต้องศึกษาความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง รวมทั้งจะต้อง
อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามหลกั การอ่าน
2. ตวั ชีว้ ัด / จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ตวั ช้ีวัด ท 1.1 ม.4-6/1อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และ
เหมาะสมกับเร่ืองท่อี า่ น
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองวรรณคดเี รอ่ื ง คำนมสั การคุณานุคุณ ได้
3. สาระการเรยี นรู้
การอา่ นออกเสียง ประกอบด้วย
- บทร้อยกรอง เชน่ กาพย์
4. กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ ที่ 1 นำเขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลาง
ค่อนขา้ งเกง่ ปานกลางค่อนขา้ งอ่อน และออ่ น
2. ครูท่องคำนมัสการพระพุทธคุณเป็นทำนองสรภัญญะให้นักเรียนฟัง 1 รอบ แล้วให้นักเรียน
รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท่องคำนมัสการพระพุทธคุณเป็นทำนองสรภัญญะ โดยครูเช่ือมโยง
ความสมั พนั ธ์สู่คำนมสั การคณุ านุคุณ
ขั้นที่ 2 ลงมือปฏบิ ตั ิ
4. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายเกยี่ วกับหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองตามท่ีเคยได้เรียนมา
5. ครูจบั สลากเลอื กนกั เรียน 2-3 กลมุ่ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองเรอ่ื ง คำนมัสการคุณานคุ ณุ จาก
หนงั สอื เรยี น
6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง
คำนมสั การคณุ า-นุคุณ จากหนงั สือเรยี น
7. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั ความเป็นมาและประวตั ผิ ้แู ตง่ เรื่อง คำนมสั การคุณานคุ ุณ
21
8. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอความรู้เร่ือง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง
เรือ่ ง คำนมัสการคณุ านคุ ุณ หน้าชนั้ เรยี น
9. นักเรียนทุกคนทำใบงาน เรื่อง ความเป็นมาและประวตั ิผู้แต่งเร่ือง คำนมัสการคุณานุคุณ เสร็จ
แลว้ ตรวจสอบความเรยี บร้อย
10. ครูจบั สลากเลือกนกั เรยี น 2-3 คน ออกมานำเสนอคำตอบในใบงาน หน้าช้นั เรียน
ขัน้ ท่ี 3 สรุป
11. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความเป็นมาและประวตั ผิ แู้ ตง่ เร่อื ง คำนมัสการคุณานุคุณ
5. ภาระชิ้นงาน
- ใบงาน เรอ่ื ง ความเปน็ มาและประวตั ิผู้แตง่ เรื่อง คำนมสั การคณุ านคุ ุณ
6. สื่อการเรียนรู้
- หนังสอื เรียน ภาษาไทย: วรรณคดีและวรรณกรรม ม.4
- บทคำนมัสการพระพุทธคณุ
7. การวัดและประเมนิ ผล
วธิ กี าร เคร่อื งมอื เกณฑ์
ตรวจใบงานเร่ือง ความเป็นมาและประวัติ ใบงานเรื่อง ความเปน็ มาและประวัติ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ผแู้ ตง่ เรือ่ ง คำนมสั การคุณานคุ ุณ ผู้แต่งเร่อื ง คำนมสั การคุณานคุ ุณ
ประเมนิ การนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล รายบคุ คล
สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สังเกตความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
ในการทำงานและรักความเปน็ ไทย ประสงค์
22
เอกสารประกอบการสอน
บทคำนมัสการพระพุทธคณุ
องคใ์ ดพระสมั พุทธ สวุ สิ ทุ ธสันดาน
ตดั มูลเกลศมาร บ มหิ มน่ มิหมองมวั
กเ็ บิกบานคอื ดอกบัว
หนง่ึ ในพระทัยท่าน สวุ คนธกำจร
ราคี บ พนั พวั พระกรณุ าดงั สาคร
มละโอฆกนั ดาร
องค์ใดประกอบดว้ ย และชส้ี ุขเกษมสานต์
โปรดหมู่ประชากร อันพ้นโศกวิโยคภัย
ษจุ รัสวิมลใส
ชี้ทางบรรเทาทกุ ข์ กเ็ จนจบประจักษ์จริง
ชที้ างพระนฤพาน สันดานบาปแห่งชายหญงิ
มละบาปบำเพ็ญบุญ
พร้อมเบญจพิธจัก- ศริ เกล้าบงั คมคณุ
เหน็ เหตทุ ่ใี กล้ไกล ญภาพนน้ั นริ นั ดร
กำจัดน้ำใจหยาบ
สตั ว์โลกได้พงึ่ พิง
ข้าขอประณตน้อม
สมั พุทธการุญ-
23
ชอ่ื .........................................................................................................................ช้ัน...............เลขที.่ ...........
ใบงาน คำนมัสการคณุ านุคณุ
คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี
1. คำนมัสการคุณานคุ ุณ แปลมาจากภาษาอะไร ใครเป็นผ้ปู ระพนั ธ์
2. คำนมสั การคณุ านุคณุ มเี นือ้ ความวา่ ด้วยเรื่องอะไรบ้าง จงอธิบาย
3. ใหน้ กั เรยี นอธิบายประวตั ขิ อง พระยาศรสี นุ ทรโวหาร มาพอสงั เขป
4. เพราะเหตใุ ด คำนมสั การคณุ านคุ ณุ แตล่ ะตอนจงึ แตง่ ดว้ ยคำประพนั ธ์ประเภทต่าง ๆ
5. คำนมัสการคุณานุคุณตอนใดท่ีเป็นบทสวดเคารพคุณบิดามารดาและครูอาจารย์ และถ้าผู้ท่ีปฏิบัติตามจะ
ไดร้ บั ผลตอบแทนอยา่ งไร
24
ชื่อ.........................................................................................................................ชัน้ ...............เลขที่............
เฉลยใบงาน คำนมสั การคุณานุคณุ
คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. คำนมสั การคุณานุคุณ แปลมาจากภาษาอะไร ใครเป็นผ้ปู ระพันธ์
คำนมสั การคณุ านคุ ณุ แปลมาจากคาถาบาลี ประพันธโ์ ดยพระยาศรีสนุ ทรโวหาร
2. คำนมสั การคุณานคุ ณุ มีเน้ือความวา่ ด้วยเรื่องอะไรบ้าง จงอธบิ าย
คำมนัสการคุณานุคุณ มีเน้ือหาว่าด้วยการน้อมรำลึก และสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บดิ ามารดา และครอู าจารย์
3. ให้นกั เรยี นอธิบายประวตั ิของ พระยาศรสี ุนทรโวหาร มาพอสังเขป
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้รอบรู้ในวิชาภาษาไทยเป็น
นกั ปราชญค์ นสำคัญของไทยในรัชกาลที่ 5 ทั้งยงั เปน็ ครูที่เป่ยี มดว้ ยคุณธรรม อทุ ศิ ชีวติ เพ่ือพัฒนาการศึกษาของ
ชาติอีกด้วยงานนพิ นธท์ ่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ ตำราเรียนภาษาไทยชดุ อไุ ภยพจน์ อักษรประโยค และคำนมสั การคุณานุคุณ
4. เพราะเหตุใด คำนมัสการคุณานุคณุ แต่ละตอนจึงแต่งดว้ ยคำประพนั ธป์ ระเภทตา่ งๆ
เพราะเนื้อหาจะได้มีความไพเราะ ทอ่ งจำได้งา่ ย มที ำนองในการท่องบทสวดด้วยทำนองสรภัญญะ
ยงิ่ ทำให้น่าฟงั และจดจำ
5. คำนมัสการคุณานุคุณตอนใดที่เป็นบทสวดเคารพคุณบิดามารดาและครูอาจารย์ และถ้าผู้ที่ปฏิบัติตามจะ
ไดร้ บั ผลตอบแทนอยา่ งไร
คำนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ ผู้ที่เคารพบูชาบิดามารดาและครูอาจารย์ทำให้ชวี ิตมีความ
มงคล กตญั ญูกตเวที มีชวี ิตที่เจริญรงุ่ เรือง
25
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2
รายวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท31102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
โรงเรียน โสภณวรคณุ วทิ ยา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
หน่วยการเรยี นที่ 1 เรอ่ื ง คำนมสั การคุณานคุ ุณ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 2 สรุปเน้ือหาและคำศัพท์ เวลา 1 ชั่วโมง/คาบ
ผสู้ อน นางสาวสนุ ิสา ตนุ่ คำ
วนั ทสี่ อน : วัน.............................. ที่........................ เดอื น .................................พุทธศกั ราช ...................
1. สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด
การอ่านเรื่อง คำนมสั การคุณานุคุณ จะต้องตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองที่อ่าน รวมถึง
การค้นหาความหมายของคำศัพท์ จากเรื่องทอี่ ่าน
2. ตัวชว้ี ดั / จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ตวั ชี้วัด ท 1.1 ม.4-6/1อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ และ
เหมาะสมกับเรือ่ งท่อี า่ น
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อา่ นออกเสียงบทร้อยกรองวรรณคดเี ร่อื ง คำนมัสการคุณานุคุณได้
3. สาระการเรียนรู้
การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย
- บทรอ้ ยกรอง เชน่ กาพย์
4. กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี 1 นำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูใหน้ ักเรียนกลมุ่ เดิม อ่านเรื่อง คำนมสั การคุณานุคุณ จากหนังสือเรียน โดยครูกำหนดเวลาให้
นักเรียนอ่านในใจ
2. ครตู ดิ ตัวอย่างบทประพนั ธ์จากเรื่อง คำนมัสการคุณานคุ ุณ ใหน้ ักเรียนดู แล้วให้นักเรยี นช่วยกัน
ถอดความบทประพนั ธ์ ตามความเข้าใจของนกั เรยี น
3. ครูอธิบายวธิ ีการค้นหาความหมายของคำศัพท์ และวธิ ีถอดความบทประพันธ์ เพ่อื ให้นักเรียนมี
ความรู้ความเขา้ ใจมากย่ิงข้นึ
ขัน้ ท่ี 2 ลงมอื ปฏบิ ัติ
4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันวางแผนการคน้ หาความหมายของคำศพั ท์ และถอดความบทประพนั ธ์
จากเรื่อง คำนมสั การคณุ านคุ ุณ
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันค้นหาความหมายของคำศัพท์ และถอดความบทประพันธ์เร่ือง
คำนมสั การคณุ านคุ ณุ ตามแผนทไี่ ด้วางไว้ แลว้ จดบันทึกลงในสมดุ ของแต่ละคน
6. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอ หนา้ ชนั้ เรยี น
7. นักเรียนทกุ คนทำใบงาน เรื่อง สรปุ เน้อื หาและคำศัพทเ์ ร่อื ง คำนมัสการคุณานคุ ุณ
26
8. ครเู ฉลยคำตอบในใบงาน โดยเปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถาม เสร็จแล้วนำใบงานสง่ ครู
ขน้ั ที่ 3 สรุป
9. นักเรยี นรว่ มกันสรุปเนอื้ หาและคำศัพท์จากการอ่านเร่ือง คำนมสั การคุณานุคุณ
5. ภาระชนิ้ งาน
- ใบงาน เรื่อง สรุปเนอื้ หาและคำศพั ทเ์ รือ่ ง คำนมสั การคุณานุคณุ
6. สือ่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียน ภาษาไทย: วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.4
- ตัวอย่างบทประพันธ์
7. การวดั และประเมนิ ผล
วิธกี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานเร่ือง สรุปเนื้อหาและ ใบงานเรื่อง สรปุ เน้ือหาและคำศัพท์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
คำศพั ทเ์ ร่ือง คำนมสั การคณุ านุคุณ เร่ือง คำนมัสการคุณานุคุณ
ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
รายบุคคล รายบคุ คล
สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่ัน แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึง ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ในการทำงานและรักความเปน็ ไทย ประสงค์
27
เอกสารประกอบการสอน
ตัวอยา่ งบทประพันธ์
คำนมสั การอาจริยคุณ
อนง่ึ ขา้ คำนับน้อม ต่อพระครูผกู้ ารุญ
โอบเออ้ื และเจอื จนุ อนสุ าสน์ทกุ ส่ิงสรรพ์
ท้งั บุญบาปทกุ สงิ่ อนั
ยงั บ ทราบกไ็ ดท้ ราบ ขยายอัตถใ์ หช้ ดั เจน
ชแี้ จงและแบ่งปนั และกรณุ า บ เอยี งเอน
ใหฉ้ ลาดและแหลมคม
จิตมากดว้ ยเมตตา หะจิตมดื ทง่ี นุ งม
เหมือนทา่ นมาแกลง้ เกณฑ์ กส็ วา่ งกระจ่างใจ
ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร
ขจดั เขลาบรรเทาโม- จติ น้อมนยิ มชม
กงั ขา ณ อารมณ์
คุณสว่ นนค้ี วรนบั
ควรนกึ และตรกึ ใน
28
ชอ่ื .........................................................................................................................ชั้น...............เลขท่.ี ...........
ใบงาน สรปุ เนอื้ หาและคำศพั ทเ์ รอ่ื ง คำนมสั การคณุ านุคุณ
ตอนที่ 1
คำชี้แจง ให้นกั เรียนสรปุ เนือ้ หา คำนมสั การคณุ านคุ ณุ ท้งั 5 ตอน มาพอสงั เขป
ตอนท่ี 2
คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นเขียนความหมายของคำศัพท์ที่กำหนดให้
คำศพั ท์ ความหมาย
นมัสการ
อาจรยิ คุณ
เอารสทศพล
อนุสาสน์
จตสุ จั
29
ชอื่ .........................................................................................................................ช้ัน...............เลขท่.ี ...........
เฉลยใบงาน สรุปเน้ือหาและคำศพั ท์เร่อื ง คำนมสั การคณุ านุคณุ
ตอนท่ี 1
คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนสรปุ เนอื้ หา คำนมสั การคุณานคุ ณุ ทัง้ 5 ตอน มาพอสงั เขป
(พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน)
ตอนท่ี 2
คำชแี้ จง ให้นักเรยี นเขยี นความหมายของคำศพั ท์ที่กำหนดให้
คำศพั ท์ ความหมาย
นมัสการ การกราบ การไหว้ การคารวะ
อาจรยิ คุณ พระคณุ ของครู
เอารสทศพล บตุ รของพระพทุ ธองค์ หมายถงึ พระภกิ ษุ
อนุสาสน์ คำสัง่ สอน
จตุสัจ อรยิ สจั 4 คอื ความจริงอนั ประเสรฐิ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมทุ ัย นิโรธ มรรค
30
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3
รายวิชา ภาษาไทยพ้นื ฐาน รหสั ท31102 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
โรงเรยี น โสภณวรคุณวิทยา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
หนว่ ยการเรียนที่ 1 เรอื่ ง คำนมัสการคณุ านุคุณ
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 ประเมนิ คุณคา่ และสังเคราะหข์ ้อคิด เวลา 1 ชวั่ โมง/คาบ
ผสู้ อน นางสาวสนุ สิ า ตุ่นคำ
วันท่ีสอน : วนั ............................... ท.ี่ ....................... เดือน .................................พทุ ธศกั ราช ...................
1. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
การศึกษาเรื่อง คำนมัสการคุณานุคุณ จะต้องสามารถประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ
สงั เคราะห์ข้อคดิ ทไี่ ด้จากการอ่าน เพอื่ นำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ
2. ตวั ชว้ี ดั / จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ตวั ช้ีวัด
ท 5.1 ม.4-6/3 วิเคราะหแ์ ละประเมนิ คุณคา่ ด้านวรรณศลิ ป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่
เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ
ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. วิเคราะห์และประเมนิ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ปจ์ ากเรอ่ื ง คำนมสั การคณุ านคุ ณุ ได้
2. สังเคราะหข์ ้อคิดทไ่ี ด้จากการอ่านเรอ่ื ง คำนมสั การคุณานุคณุ ได้
3. สาระการเรียนรู้
1. การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คณุ คา่ วรรณคดี
- ด้านวรรณศิลป์
2. การสังเคราะหว์ รรณคดี
4. กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั ท่ี 1 นำเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครูให้นักเรียนฟังเพลงพระคุณที่สาม แล้วร่วมกันอภิปรายเนื้อหาในเพลงเปรียบเทียบกับคำ
นมัสการอาจริยคุณจากหนงั สือเรยี น
2. ครูสนทนากบั นักเรียนเก่ียวกับผ้มู ีพระคณุ
ขน้ั ท่ี 2 การสอน
3. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม ร่วมกันศึกษาเรื่อง คำนมัสการคุณานุคุณ จากหนังสือเรียน ห้องสมุด
หรอื แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ โดยให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาตามประเด็นที่ครกู ำหนด ดงั นี้
1. การวเิ คราะห์และประเมนิ คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์
2. การสงั เคราะหข์ ้อคดิ และแนวทางในการดำเนินชีวิต
31
4. นักเรียนแต่ละคนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง จากน้นั นำความรูท้ ี่ได้จากการศึกษาตามประเด็นมา
อภิปรายร่วมกนั ภายในกลุม่ จนไดค้ ำตอบทีเ่ ป็นมติของกลุม่
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์
และสังเคราะห์ข้อคิดรวมถึงแนวทางในการดำเนินชีวิตจากเร่ือง คำนมัสการคุณานุคุณ หน้าช้ันเรียน โดย
ตวั แทนกลุ่มหมายเลข 1 นำเสนอคำตอบ กลุ่มหมายเลข 2 ตรวจสอบตัวแทนกล่มุ หมายเลข 2 นำเสนอคำตอบ
กล่มุ หมายเลข 3 ตรวจสอบ ทำแบบน้ไี ปเรื่อย ๆ จนครบทกุ กลมุ่
ขั้นท่ี 3 สรปุ
6. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปคณุ ค่าและข้อคิดของเรือ่ ง คำนมสั การคณุ านคุ ุณ
7. นกั เรยี นทุกคนทำใบงาน เรอ่ื ง ประเมินคณุ คา่ และสงั เคราะหข์ อ้ คิดเรอ่ื ง คำนมัสการคณุ านุคณุ
8. ครูจบั สลากเลือกนกั เรียนนำเสนอคำตอบในใบงาน หนา้ ชน้ั เรยี น
9. ครูเฉลยคำตอบในใบงาน โดยใหน้ กั เรยี นจับค่กู นั ตรวจความถูกต้องของใบงาน แล้วนำสง่ ครู
5. ภาระช้นิ งาน
- ใบงาน เรอ่ื ง ประเมินคุณคา่ และสงั เคราะห์ข้อคดิ เร่อื ง คำนมสั การคณุ านุคุณ
6. ส่ือการเรียนรู้
- หนงั สือเรียน ภาษาไทย: หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.3
- เพลงพระคุณท่ีสาม
7. การวัดและประเมนิ ผล
วธิ กี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์
ตรวจใบงาน เร่ือง ประเมินคุณค่า ใบงาน เร่ือง ประเมินคุณค่าและ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
และสังเคราะห์ข้อคิดเรื่อง คำ สังเคราะห์ข้อคิดเรื่อง คำนมัสการ
นมสั การคณุ านคุ ุณ คณุ านคุ ุณ
ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
รายบุคคล รายบคุ คล
สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึง ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ประสงค์
32
เอกสารประกอบการสอน
เพลงพระคุณทสี่ าม สุเทพ โชคสกุล
ครูบาอาจารย์ ทท่ี ่านประทานความรมู้ าให้
อบรมจติ ใจ ใหร้ ผู้ ิดชอบช่วั ดี
ก่อนจะนอนสวดมนต์ออ้ นวอนทุกที
ขอกุศลบญุ บารมีสง่ เสริมครนู ใี้ หร้ ่มเยน็
ครูมบี ญุ คณุ จะตอ้ งเทดิ ทนู เอาไว้เหนอื เกลา้
ทา่ นสง่ั สอนเรา อบรมให้เราไม่เวน้
ท่านอุทศิ ไม่คิดถงึ ความยากเย็น
สอนใหร้ ู้จัดเจน เฝา้ แนะ เฝา้ เน้น มไิ ด้อำพราง
พระคุณที่สาม งดงามแจม่ ใส
แต่วา่ ใครหนอใคร เปรยี บเปรยครไู วว้ ่าเปน็ เรือจ้าง
ถา้ หากจะคิด ย่งิ คิดย่ิงเหน็ วา่ ผิดทาง
มใี ครไหนบ้างแนะนำแนวทางอย่างครู
บุญเคยทำมาต้ังแตป่ างใด เรายกให้ท่าน
ตง้ั ใจกราบกราน เคารพคุณท่าน กตัญญู
โรคและภัย อยา่ มาแผว้ พานคุณครู
ขอกุศลผลบญุ คำ้ ชู ให้ครมู สี ุขช่ัวนิรนั ดร
(ใหค้ รมู สี ุขช่วั นิรันดร)
ทีม่ า : http://bbznet.pukpik.com/scripts/view.php?user=spsc&board=1&id=1584&c=1&order=numview
33
ช่อื .........................................................................................................................ช้ัน...............เลขที่............
ใบงาน เรือ่ ง ประเมินคณุ ค่าและสังเคราะหข์ อ้ คิดเรอ่ื ง คำนมัสการคุณานคุ ณุ
คำช้ีแจง ให้นกั เรียนเขยี นสรปุ ประเมนิ คณุ ค่าและสงั เคราะห์ขอ้ คิดวรรณคดเี รื่อง คำนมัสการคณุ านคุ ณุ
1. คุณค่าดา้ นเนื้อหาของคำนมสั การพระพุทธคณุ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
2. คณุ ค่าดา้ นเนือ้ หาของคำนมัสการพระธรรมคุณ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
3. คณุ คา่ ดา้ นเนอ้ื หาของคำนมัสการพระสังฆคุณ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
4. คณุ ค่าด้านเนื้อหาของคำนมัสการมาตาปติ ุคณุ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
5. คณุ ค่าดา้ นเนื้อหาของคำนมัสการอาจริยคุณ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
6. คุณคา่ ด้านกลวธิ ีการแต่งโดยการเลือกสรรคำเหมาะกับเน้อื เรื่อง
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
7. ข้อคดิ ท่ไี ดจ้ ากเรอ่ื ง คำนมัสการคุณานคุ ณุ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
8. นกั เรียนสามารถนำขอ้ คิดท่ีได้ไปประยุกต์ในใชช้ วี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งไร
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
34
ชื่อ.........................................................................................................................ชัน้ ...............เลขที.่ ...........
เฉลยใบงาน เรอื่ ง ประเมนิ คณุ คา่ และสงั เคราะห์ข้อคิดเรอ่ื ง คำนมัสการคุณานุคณุ
คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นเขยี นสรปุ ประเมนิ คุณค่าและสงั เคราะหข์ ้อคดิ วรรณคดเี รื่อง คำนมัสการคุณานคุ ณุ
1. คุณค่าดา้ นเน้อื หาของคำนมัสการพระพทุ ธคณุ
การสรรเสรญิ พระคุณของพระพุทธเจ้า 3 ประการ ได้แก่ พระวิสทุ ธิคณุ พระมหากรณุ าธคิ ุณ และ
พระปญั ญาคุณซงึ่ พระพุทธเจา้ ทรงเป็นผมู้ พี ระคณุ อย่างสูงสุด
2. คุณคา่ ดา้ นเน้อื หาของคำนมัสการพระธรรมคณุ
พระธรรมมีพระคุณตอ่ พุทธศาสนิกชน ทำให้มนุษย์หลดุ พ้นจากความทุกข์ และอยู่ร่วมกันอย่างสงบ
สขุ พระธรรมเปน็ บอ่ เกิดแห่งความดที ่ชี ว่ ยส่องทางสว่างใหแ้ ก่ชีวิตและจิตใจของสรรพสัตวท์ ง้ั หลาย
3. คณุ ค่าด้านเนอื้ หาของคำนมัสการพระสังฆคณุ
พระสงฆ์มีพระคุณแก่พุทธศาสนิกชน พระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดหลักธรรมอันเป็นหัวใจสำคัญของ
พระพุทธศาสนา
4. คุณค่าดา้ นเน้อื หาของคำนมัสการมาตาปติ ุคุณ
บิดามารดาเป็นผ้มู ีพระคุณ เป็นผูใ้ ห้กำเนดิ และเล้ียงดูบุตรโดยไม่หวังสงิ่ ตอบแทน ให้ความรักความ
เมตตา เอาใจใส่ดแู ลโดยบรสิ ุทธ์ิใจ คอยแนะนำตกั เตือนช้ีทางที่ดี พระคุณของบดิ ามารดายิ่งใหญ่กว่าภูเขาและ
แผน่ ดนิ
5. คณุ ค่าด้านเนอ้ื หาของคำนมสั การอาจริยคณุ
ครูบาอาจารย์เป็นผู้มีพระคุณ เป็นผู้อบรมส่ังสอนและถ่ายทอดวิชาความรู้ให้มนุษย์ได้นำไปใช้
ประโยชน์ในการประกอบอาชพี
6. คณุ ค่าดา้ นกลวิธีการแตง่ โดยการเลอื กสรรคำเหมาะกับเนือ้ เร่อื ง
ถอ้ ยคำท่นี ำมาใช้ไพเราะ เหมาะสม ใช้คำงา่ ยแต่มคี วามหมายลึกซงึ้ อา่ นแลว้ เข้าใจ รูส้ ึกซาบซง้ึ
7. ข้อคดิ ทีไ่ ดจ้ ากเร่อื ง คำนมัสการคณุ านคุ ณุ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
8. นักเรียนสามารถนำข้อคิดท่ีไดไ้ ปประยุกต์ในใชช้ วี ติ ประจำวนั ได้อย่างไร
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
(พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครูผู้สอน)
35
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน ประเมนิ การนำเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการทีก่ ำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง
ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน
ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
4321
1 ความถูกต้องของเน้อื หา
2 ความคดิ สรา้ งสรรค์
3 วิธีการนำเสนอผลงาน
4 การนำไปใช้ประโยชน์
5 การตรงตอ่ เวลา
รวม
ลงช่ือ....................................................ผู้ประเมิน
................ /................ /................
เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 4 คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน 14 - 17 ดี
ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งเป็นสว่ นใหญใ่ ห้ 2คะแนน 10 - 13 พอใช้
ผลงานหรือพฤติกรรมมขี อ้ บกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน ตำ่ กว่า 10 ปรบั ปรุง
36
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล
คำช้แี จง : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงใน
ชอ่ งที่ตรงกับระดบั คะแนน
ลำดับ ชื่อ-สกลุ ความต้ังใจ ความ การตรงตอ่ ความ ผลสำเรจ็ รวม
ท่ี ของผู้รับการ ในการทำงาน รบั ผิดชอบ เวลา สะอาด ของงาน 20
เรียบร้อย
ประเมนิ คะแนน
43214321432143214321
ลงชอ่ื ....................................................ผ้ปู ระเมิน
................ /................ /................
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ
ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก
14 - 17 ดี
10 - 13 พอใช้
ตำ่ กวา่ 10 ปรบั ปรุง
37
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4
รายวชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน รหัส ท31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
โรงเรยี น โสภณวรคณุ วิทยา ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
หนว่ ยการเรยี นที่ 1 เรื่อง คำนมัสการคณุ านคุ ุณ
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 4 ท่องจำและบอกคณุ ค่าบทอาขยาน เวลา 1 ช่ัวโมง/คาบ
ผู้สอน นางสาวสนุ ิสา ตนุ่ คำ
วนั ทีส่ อน : วัน............................... ท.ี่ ....................... เดือน .................................พุทธศักราช ...................
1. สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด
การท่องบทอาขยานจากเรอ่ื ง คำนมัสการคณุ านคุ ุณ ตอ้ งบอกคณุ ค่าของเร่อื งได้
2. ตวั ชวี้ ัด / จุดประสงค์การเรยี นรู้
ตัวชี้วัด ท 5.1 ม.4-6/6 ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองที่มี
คุณคา่ ตามความสนใจและนำไปใชอ้ า้ งอิง
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ท่องจำบทอาขยานจากเรือ่ ง คำนมัสการคุณานคุ ณุ ได้
2. บอกคณุ ค่าบทอาขยานจากเรือ่ ง คำนมัสการคณุ านคุ ณุ ได้
3. สาระการเรียนรู้
บทอาขยานทม่ี ีคณุ ค่า
- บทอาขยานตามทีก่ ำหนด
4. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจกบทความแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการท่องบทอาขยานของ อ. ศิวกานต์ ปทุมสูตร ให้
นักเรียนอา่ น
2. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกบั ความคิดเหน็ ของอ. ศิวกานต์ ปทมุ สูตร
3. ครูสรุปความสำคัญของการท่องบทอาขยาน
ขนั้ ท่ี 2 การสอน
1. ครแู จกใบงาน เร่ือง วิเคราะหค์ ณุ คา่ บทอาขยานเรอื่ ง คำนมสั การคณุ านคุ ุณ ใหน้ กั เรยี นทกุ คน
2. นกั เรียนแต่ละคนคิดหาคำตอบดว้ ยตนเอง โดยครูกำหนด เวลาใหก้ บั นกั เรียน
3. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละคนจับคู่กบั เพ่ือนภายในกล่มุ ผลดั กันอธิบายคำตอบทีต่ นคิดได้
4. นักเรียนรวมกลุ่มแลว้ ผลัดกนั อธิบายคำตอบในใบงานให้เพือ่ นฟัง แล้วให้แตล่ ะกลุ่มสรปุ เป็นมติของกลุ่ม
5. ครูจับสลากเลือกตัวแทนนักเรียนนำเสนอคำตอบในใบงาน หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความ
ถกู ตอ้ ง
38
ขัน้ ท่ี 3 สรปุ
1. นกั เรียนทกุ คนร่วมกันสรุปคุณคา่ บทอาขยานจากเรือ่ ง คำนมัสการคณุ านคุ ณุ
2. ครูให้นักเรียนทุกคนท่องบทอาขยาน คำนมัสการมาตาปิตุคุณ และคำนมัสการอาจริยคุณ
นอกเวลาเรยี นครูประเมนิ ผลการทอ่ งจำเปน็ รายบคุ คล
5. ภาระชิน้ งาน
- ใบงาน เรื่อง วิเคราะหค์ ุณคา่ บทอาขยานเรอื่ ง คำนมสั การคุณานุคุณ
6. สอ่ื การเรียนรู้
- หนังสือเรยี น ภาษาไทย: หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.3
- เอกสารประกอบการสอน
7. การวัดและประเมินผล
วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานเรื่อง วิเคราะห์คุณค่าบท ใบงานเรอ่ื ง วเิ คราะหค์ ณุ ค่าบท รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
อาขยานเร่ือง คำนมัสการคุณานุคุณ อาขยานเรอ่ื ง คำนมัสการคุณานุคุณ
ประเมินการทอ่ งบทอาขยาน แบบประเมินการทอ่ งบทอาขยาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
รายบคุ คล รายบคุ คล
สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่น แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ในการทำงานและรักความเป็นไทย ประสงค์
39
เอกสารประกอบการสอน
ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การท่องบทอาขยาน
หากคณุ คิดว่า การท่องอาขยานเป็นเรือ่ งล้าสมยั
คุณน่ันแหละลา้ สมยั
ถา้ คุณคดิ วา่ การท่องอาขยานเป็นเรือ่ งของนกแก้วนกขนุ ทอง
คณุ นนั่ แหละนกแกว้ นกขนุ ทอง
จำคำพูดของใครเขามา…ตน้ื เขินนกั
ถ้าคุณคดิ วา่ การท่องอาขยานเป็นเร่อื งเสียเวลา
นั่นแสดงว่าคุณไมเ่ คยไดใ้ หเ้ วลากบั การท่องอาขยานเลย
จึงไมเ่ คยได้รับรู้รสและอ่ิมเอมกับรกั …
และถ้าคณุ คดิ วา่ การทอ่ งอาขยานเปน็ เรอื่ งตอ้ งหา้ ม
คุณก็ตอ้ งห้ามพระและนกั บวชทุกลทั ธิศาสนาในบ้านเมืองของเราสวดมนต์
อีกทัง้ จะตอ้ งหา้ มนักรอ้ งหรอื ผูค้ นทง้ั หลายในประเทศนีร้ อ้ งเพลง
เพราะทงั้ นักสวดและนักร้องกล็ ว้ นเปน็ นกั ทอ่ งจำ…
ทมี่ า : อาจารย์ศิวกานต์ ปทุมสตู ร
40
ชอื่ .........................................................................................................................ช้นั ...............เลขท่.ี ...........
ใบงาน เรอ่ื ง วเิ คราะหค์ ณุ ค่าบทอาขยานเรอื่ ง คำนมัสการคุณานุคุณ
คำชแี้ จง ให้นกั เรียนเขียนวเิ คราะหค์ ุณคา่ บทอาขยาน คำนมสั การมาตาปติ คุ ุณ และคำนมัสการอาจรยิ คณุ
บทอาขยาน คำนมัสการมาตาปติ ุคุณ
ข้าขอนบชนกคณุ ชนนีเปน็ เคา้ มลู
ผู้กอบนกุ ลู พูน ผดุงจวบเจรญิ วัย
บ บำราศนิราไกล
ฟมู ฟกั ทะนุถนอม บ คิดยากลำบากกาย
แสนยากเทา่ ไรไร ถนอมเล้ียง ฤ รู้วาย
จนไดร้ อดเป็นกายา
ตรากทนระคนทกุ ข์ ชนนีคอื ภผู า
ปกปอ้ งซ่ึงอนั ตราย ก็ บ เทยี บ บ เทียมทัน
จะสนองคุณานันต์
เปรียบหนักชนกคุณ อดุ มเลศิ ประเสริฐคุณ
ใหญพ่ ืน้ พสนุ ธรา
เหลือที่จะแทนทด
แทบ้ ูชไนยอนั
วเิ คราะห์คุณค่าได้ ดังน้ี
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
41
บทอาขยาน คำนมัสการอาจรยิ คณุ
อน่งึ ข้าคำนับน้อม ตอ่ พระครผู ู้การณุ
โอบเอ้ือและเจอื จนุ อนสุ าสนท์ กุ สงิ่ สรรพ์
ทง้ั บญุ บาปทกุ ส่งิ อัน
ยงั บ ทราบก็ไดท้ ราบ ขยายอัตถใ์ ห้ชดั เจน
ช้แี จงและแบง่ ปนั และกรณุ า บ เอียงเอน
ใหฉ้ ลาดและแหลมคม
จติ มากดว้ ยเมตตา หะจิตมืดทงี่ ุนงม
เหมือนท่านมาแกลง้ เกณฑ์ กส็ วา่ งกระจา่ งใจ
ถอื ว่าเลิศ ณ แดนไตร
ขจัดเขลาบรรเทาโม- จิตนอ้ มนิยมชม
กงั ขา ณ อารมณ์
คณุ ส่วนนี้ควรนบั
ควรนึกและตรกึ ใน
วิเคราะหค์ ุณคา่ ได้ ดงั น้ี
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
42
ชอ่ื .........................................................................................................................ช้นั ...............เลขที.่ ...........
เฉลยใบงาน เรอ่ื ง วิเคราะห์คุณค่าบทอาขยานเรอื่ ง คำนมัสการคณุ านุคุณ
คำช้แี จง ใหน้ ักเรียนเขยี นวิเคราะหค์ ณุ ค่าบทอาขยาน คำนมสั การมาตาปิตคุ ณุ และคำนมสั การอาจริยคณุ
บทอาขยาน คำนมัสการมาตาปิตุคณุ
ขา้ ขอนบชนกคุณ ชนนเี ปน็ เค้ามูล
ผกู้ อบนกุ ูลพูน ผดุงจวบเจริญวัย
บ บำราศนิราไกล
ฟูมฟักทะนุถนอม บ คดิ ยากลำบากกาย
แสนยากเท่าไรไร ถนอมเล้ียง ฤ รู้วาย
จนได้รอดเปน็ กายา
ตรากทนระคนทกุ ข์ ชนนคี อื ภผู า
ปกปอ้ งซงึ่ อันตราย ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน
จะสนองคณุ านันต์
เปรยี บหนักชนกคุณ อดุ มเลิศประเสรฐิ คุณ
ใหญพ่ ้ืนพสุนธรา
เหลือที่จะแทนทด
แท้บูชไนยอนั
วิเคราะหค์ ุณคา่ ได้ ดงั น้ี
มารดาบิดาเป็นผ้มู พี ระคณุ แกเ่ รา เพราะเป็นผใู้ หก้ ำเนิดและเลี้ยงดเู ราโดยไม่หวังผลตอบแทน ตั้งแต่
เราเกิดมาท่านก็ให้ความรกั ความเมตตา เอาใจใส่ดูแลห่วงใยโดยบริสุทธิ์ใจ คอยแนะนำตักเตอื นชี้ทางที่ดีให้แก่
เรา เมื่อเราทุกข์หรือเจ็บไข้ ท่านก็ทุกข์ด้วย แม้จะต้องทำงานด้วยความเหนื่อยยากตรากตรำ ท่านก็ยอมสู้ทน
พระคณุ ของบิดามารดายิง่ ใหญก่ วา่ ภูเขาและแผน่ ดิน
(พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของครูผูส้ อน)
43
บทอาขยาน คำนมสั การอาจรยิ คณุ
อนึง่ ขา้ คำนบั น้อม ตอ่ พระครูผู้การณุ
โอบเอื้อและเจอื จุน อนสุ าสนท์ ุกส่ิงสรรพ์
ท้งั บุญบาปทกุ ส่งิ อัน
ยัง บ ทราบกไ็ ดท้ ราบ ขยายอตั ถ์ใหช้ ดั เจน
ชี้แจงและแบง่ ปัน และกรุณา บ เอียงเอน
ให้ฉลาดและแหลมคม
จิตมากด้วยเมตตา หะจิตมดื ท่งี ุนงม
เหมือนท่านมาแกลง้ เกณฑ์ ก็สว่างกระจ่างใจ
ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร
ขจดั เขลาบรรเทาโม- จติ นอ้ มนยิ มชม
กังขา ณ อารมณ์
คุณส่วนนีค้ วรนบั
ควรนึกและตรกึ ใน
วเิ คราะหค์ ุณคา่ ได้ ดังนี้
ครูบาอาจารยเ์ ปน็ ผมู้ พี ระคณุ แกเ่ รา เพราะเปน็ ผอู้ บรมสั่งสอนและเป็นผ้ถู ่ายทอดวิชาความรูใ้ ห้แก่
เรา ปรารถนาให้เรามีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ในเรอื่ งต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งแจม่ แจง้ และสามารถนำไปใชใ้ ห้เป็น
ประโยชน์ในการประกอบอาชีพต่อไปในอนาคต
(พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน)
44
แบบประเมินการทอ่ งบทอาขยาน
คำช้ีแจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมการทอ่ งบทอาขยานของนกั เรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ งท่ีตรงกับ
ระดบั คะแนน
ถกู ตอ้ ง ความ
ช่อื -สกุล ตาม การแบง่ ออกเสยี ง ถูกต้อง รวม
ของผู้รับการประเมนิ 16
ลำดับที่ ลักษณะคำ วรรคตอน ชดั เจน ของบท คะแนน
ประพันธ์ อาขยาน
4321 4321 432 14321
ลงช่ือ....................................................ผปู้ ระเมิน
................ /................ /................
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
ปฏบิ ตั ิได้ถูกต้อง
ปฏบิ ตั ิมีขอ้ บกพรอ่ งเล็กน้อย ให้ 4 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏบิ ตั ิมีข้อบกพรอ่ งปานกลาง ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ตั ิมขี อ้ บกพรอ่ งมาก ให้ 2 คะแนน 14 - 16 ดีมาก
ให้ 1 คะแนน
11 - 13 ดี
8 - 10 พอใช้
ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ