The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:44:23

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

คำนิยม

นโยบายประการหนง่ึ ทก่ี ำหนดไวเ มอ่ื มาดำรงตำแหนง ประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
คอื การเสรมิ สรา งความเปน เอกภาพของคำพพิ ากษาของศาลและสง เสรมิ ใหก ระบวนการพจิ ารณา
และพิพากษาในศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษรอบคอบ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การรวบรวมคำพพิ ากษาของศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกตา ง ๆ ทเ่ี คยถกู จดั เกบ็ ไวร ปู แบบ
หลากหลายและยากแกการเขาถึงมาจัดทำเปนหนังสือซึ่งเปนสื่อที่สะดวกแกการคนควาใชงาน
และยงั ไมส ามารถทดแทนโดยสอ่ื หรอื อปุ กรณอ น่ื อยา งสมบรู ณเ พอ่ื เผยแพรเ ปน ภารกจิ หนง่ึ ทจ่ี ะเปน
แนวทางใหน โยบายดงั กลา วประสบความสำเรจ็ จงึ เปน ทม่ี าของการแตง ตง้ั คณะทำงานเพอ่ื รวบรวม
และเผยแพรคำพิพากษาของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษนับตั้งแตศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เริ่มเปดทำการจนถึงปจจุบัน การจัดทำหนังสือเลมนี้ไมใชแตเพียงไดประโยชนในการใชเปน
แหลง ขอ มลู ในการเรยี นรู สบื คน และใชเ ปน แนวทางในการทำงานของผพู พิ ากษาและผปู ระกอบ
วิชาชีพกฎหมายเทานั้น แตจะเปนประโยชนแกนักศึกษากฎหมายและผูสนใจทั่วไปดวย ทั้งยัง
ถือเปนตัวอยางที่ดีในการนำนโยบายมาแปรเปลี่ยนเปนรูปธรรมใหสัมฤทธิ์ผลตามนโยบาย
ทก่ี ำหนดไวอีกดวย

ทั้งนี้ ดิฉันขอขอบคุณสำนักงานศาลยุติธรรมที่เล็งเห็นถึงความสำคัญและสนับสนุน
งบประมาณในการจดั ทำหนงั สอื เลม น้ี ขอชน่ื ชมและขอบคณุ คณะทำงานฯ ทป่ี รกึ ษาของคณะทำงานฯ
และผูที่เกี่ยวของที่รวมแรงรวมใจกันจัดทำใหหนังสือเลมนี้สำเร็จขึ้นดวยความวิริยอุตสาหะของ
ทกุ ทา น และขอขอบคณุ ทา นรองประธานศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษทง้ั หาแผนกท่ใี หคำแนะนำ
ทรงคุณคาแกคณะทำงานฯ และสละเวลาตรวจทานความถูกตองของหนังสือเลมนี้จนสมบูรณ
บรรลุวัตถุประสงคทุกประการ

(นางอโนชา ชีวิตโสภณ)
ประธานศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษ

คำปรารภ

ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหคดีลมละลายซึ่งเปน
ประเภทคดีหนึ่งที่เปนคดีชำนัญพิเศษมีผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไดรับการ
พิจารณาพิพากษาในชั้นอุทธรณโดยองคคณะผูพิพากษาที่มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
กฎหมายลม ละลาย เพอ่ื ใหป ระชาชนและคคู วามทม่ี อี รรถคดไี ดร บั การพจิ ารณาพพิ ากษาคดที ถ่ี กู ตอ ง
แมน ยำ และเปน ธรรม ทง้ั โดยลกั ษณะคดจี ะอทุ ธรณไ ปยงั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไดแ ตเ ฉพาะ
กรณตี ามทม่ี บี ทบญั ญตั กิ ฎหมายกำหนดเงอ่ื นไขไวเ ทา นน้ั รวมทง้ั การฎกี าตอ ไปตอ งไดร บั อนญุ าต
ใหฎีกาในระบบขออนุญาตฎีกา ดังนั้น คดีลมละลายและคดีฟนฟูกิจการสวนใหญจึงถึงที่สุด
ในช้ันอทุ ธรณ

ตง้ั แตม กี ารจดั ตง้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษในป ๒๕๕๙ จนถงึ ปจ จบุ นั เปน ระยะเวลา
รว ม ๖ ป ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ แผนกคดลี ม ละลาย ไดพ จิ ารณาพพิ ากษาคดแี ละวางหลกั
คำพพิ ากษาเพอ่ื เปน บรรทดั ฐานเปน จำนวนไมน อ ย กระผมมคี วามภาคภมู ใิ จและยนิ ดเี ปน อยา งยง่ิ
ทเ่ี ปน สว นหนง่ึ ของการจดั ทำหนงั สอื เลม น้ี ทไ่ี ดร วบรวมคำพพิ ากษาทแ่ี ผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั
ขอ กฎหมายอนั สำคญั ไว ทง้ั ในรปู แบบเอกสารและรปู แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เนอ้ื หาในหนงั สอื นไ้ี ดร บั
การเผยแพรในเว็บไซตข องศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษเพอื่ ความสะดวกในการสืบคน และศกึ ษา
ของผูที่มีความสนใจ และหวังเปนอยางยิ่งวาการเผยแพรนี้จะเปนประโยชนตอผูที่สนใจและ
ผูที่เก่ียวของตอ ไป

กระผมขอขอบคณุ ทา นประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษทม่ี คี วามตง้ั ใจในการเผยแพร
คำพพิ ากษาของศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษใหผ ทู ม่ี คี วามสนใจไดเ ขา ถงึ แหลง ขอ มลู ทางวชิ าการน้ี
และขอขอบคณุ ทา นผชู ว ยใหญ ทา นผชู ว ยเลก็ ในแผนก และผเู กย่ี วขอ งทกุ ฝา ย ทร่ี ว มแรงรว มใจกนั
ใหเ กดิ งานอนั เปน ประโยชนต อ ประชาชน และอำนวยความยตุ ธิ รรมของศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ตอ ไป

(นายโชคชัย รุจินนิ นาท)
รองประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษ

คำนำ

ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษจดั ตง้ั ขน้ึ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
พ.ศ. ๒๕๕๘ เปด ทำการเมอ่ื วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ มอี ำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาบรรดาคดที อ่ี ทุ ธรณ
คำพพิ ากษาหรอื คำสง่ั ของศาลชำนญั พเิ ศษ ซง่ึ คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษของแตล ะ
แผนกคดไี ดร บั การพจิ ารณาพพิ ากษาโดยองคค ณะผพู พิ ากษาทม่ี คี วามรู ความเชย่ี วชาญในแตล ะ
แผนกคดีและมีความสำคัญตอสภาพเศรษฐกิจและสังคม การเผยแพรคำพิพากษาศาลอุทธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษทง้ั หา แผนกคดที ส่ี ำคญั ไวใ นทแ่ี หง เดยี วกนั จงึ เปน ประโยชนอ ยา งยง่ิ แกผ พู พิ ากษา
นกั กฎหมาย และผูสนใจทวั่ ไป

ครั้นทานอโนชา ชีวิตโสภณ ประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเขารับตำแหนง
เมอ่ื วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ ไดม นี โยบายใหร วบรวมคำพพิ ากษาหรอื คำสง่ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
และคำวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษที่ไดรับแจงการอานแลวตั้งแตวันที่
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเปด ทำการจนถงึ ปจ จบุ นั ตอ มาจงึ มคี ำสง่ั แตง ตง้ั คณะทำงานรวบรวม
คำพิพากษาหรือคำสั่งศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษและคำวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษ ท่ี ๓๒/๒๕๖๕ ลงวนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๕ และคำสง่ั ท่ี ๓๔/๒๕๖๕ ลงวนั ท่ี ๑๙
พฤษภาคม ๒๕๖๕ โดยมีกรอบระยะเวลาดำเนินการใหเสรจ็ สิ้นภายในเดอื นสงิ หาคม ๒๕๖๕

บดั น้ี การจดั ทำหนงั สอื รวบรวมคำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษทง้ั หา แผนกคดี
ตง้ั แตว นั ทศ่ี าลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเปด ทำการจนถงึ ปจ จบุ นั (เดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๖๕) ตามคำสง่ั
ประธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ ท่ี ๓๒/๒๕๖๕ และ ๓๔/๒๕๖๕ ไดเ สรจ็ สน้ิ ลงแลว คณะทำงานฯ
หวงั วา หนงั สอื รวบรวมคำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเลม นจ้ี ะเปน ประโยชนต อ ผพู พิ ากษา
ตลอดจนนกั กฎหมายและผสู นใจทวั่ ไป

ขอขอบพระคุณประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ คณะทำงานฯ ที่ปรึกษา และผูที่
เกย่ี วขอ งทกุ ทา นทท่ี มุ เทเสยี สละในการจดั ทำหนงั สอื รวบรวมคำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ท้งั หา แผนกคดีจนบรรลุวตั ถปุ ระสงคซ่งึ เปนประโยชนอ ยางย่งิ ตอ ราชการศาลยตุ ธิ รรมสบื ไป

(นายพทิ กั ษ หลิมจานนท)
ประธานคณะทำงานรวบรวมคำพพิ ากษาหรอื คำสงั่

ศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพิเศษและคำวนิ จิ ฉัย
ของประธานศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษ

สารบัญ หนา

๑. การฟอ งขอใหลูกหนลี้ มละลาย ๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๖๖๔/๒๕๖๐ ๗
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๒๓๓๙/๒๕๖๐ ๑๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๑๔๕๗/๒๕๖๑ ๑๖
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๑๖๒๗/๒๕๖๒ ๒๐
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๖๔๔๖/๒๕๖๒ (ประชุมใหญ) ๒๔
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๑๕๙๘/๒๕๖๓ (ประชมุ ใหญ) ๒๘
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๒๘๐๔/๒๕๖๓ (ประชุมใหญ) ๓๑
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษที่ ๒๔๔/๒๕๖๔ ๓๕
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๔๐๗/๒๕๖๔ ๓๙
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษที่ ๔๘๐/๒๕๖๔ ๔๒
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๖๔๑/๒๕๖๔ ๔๕
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๕๕/๒๕๖๕ ๕๐
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๕๖/๒๕๖๕
๕๓
๒. การขอรับชำระหนี้ ๕๗
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๑๖๖๖/๒๕๖๐ ๖๐
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษท่ี ๒๓๓๓/๒๕๖๐ ๖๔
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษท่ี ๒๓๓๑/๒๕๖๑ ๖๗
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๒๘๙๕/๒๕๖๒ ๗๒
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๖๕๐๘/๒๕๖๒ (ประชุมใหญ) ๗๖
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๔๖๙/๒๕๖๓ ๘๐
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๑๓๖๕/๒๕๖๓
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๖๗๖/๒๕๖๔ ๘๔
๘๗
๓. การขอบงั คบั บรุ ิมสิทธิของเจา หน้ีมปี ระกัน ๙๐
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษที่ ๑๔๐๔/๒๕๖๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษที่ ๑๓๑๕/๒๕๖๒
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๑๑๐๔/๒๕๖๓ (ประชุมใหญ)

๔. การขอกันสว นเงนิ ที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยส นิ ในสวนของ หนา
ผูถ อื กรรมสิทธริ์ วมกับลกู หน้ี
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๑๘๐๖/๒๕๖๐ ๙๓
๙๕
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๓๘๗๔/๒๕๖๑ ๑๐๑
๑๐๔
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๔๕๔๔/๒๕๖๒ (ประชมุ ใหญ)

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๔๐๑/๒๕๖๔

๕. การเพกิ ถอนนิติกรรมทล่ี ูกหนก้ี ระทำภายหลังศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษทรพั ยเดด็ ขาด

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๑๔๔๘/๒๕๖๑ ๑๐๗

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษที่ ๕๘/๒๕๖๔ ๑๑๒

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๕๐๔/๒๕๖๔ ๑๑๖

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๑๘๖๐/๒๕๖๔ ๑๒๐

๖. การเพกิ ถอนการฉอฉล ๑๒๓
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๔๘๑๘/๒๕๖๑ ๑๒๘
๑๓๒
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๒๓๗/๒๕๖๒ ๑๓๘

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๘๙๐/๒๕๖๔

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๙๐/๒๕๖๕

๗. การทวงหนี้ ๑๔๒
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๓๘๖๐/๒๕๖๑

๘. การไมยอมรับทรพั ยสนิ หรอื สทิ ธิตามสัญญาของลูกหนี้ ๑๔๗
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๘๓๙/๒๕๖๑ ๑๔๙

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๙๕๗/๒๕๖๔

๙. การคดั คานการกระทำหรอื คำวนิ ิจฉยั ของเจาพนักงานพิทกั ษท รัพย ๑๕๔
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๔๘๒๑/๒๕๖๑ ๑๕๘
๑๖๒
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๕๑๐๗/๒๕๖๑ (ประชมุ ใหญ)

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๑๖๙๔/๒๕๖๒

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๓๔๓๐/๒๕๖๒ หนา
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๔๘๘/๒๕๖๓ ๑๖๖
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๒๘๒๔/๒๕๖๓ ๑๖๙
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๕๐๓/๒๕๖๔ ๑๗๒
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๕๙๕/๒๕๖๔ ๑๗๗
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษที่ ๙๕๘/๒๕๖๔ ๑๘๑
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๑๙๒๕/๒๕๖๔ ๑๘๕
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๑๙๖๔/๒๕๖๔ ๑๙๓
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษที่ ๒๐๓๐/๒๕๖๔ ๑๙๘
๒๐๑
๑๐. คดอี ่ืน ๆ
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษท่ี ๓๘๕๖/๒๕๖๑ ๒๐๕
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๖๓๖๗/๒๕๖๒ (ประชมุ ใหญ) ๒๐๙
คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๒๕๘/๒๕๖๓ (ประชมุ ใหญ) ๒๑๑
คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษที่ ๖๗๕/๒๕๖๔ ๒๑๔

๑๑. คดเี ก่ียวกับการฟน ฟกู จิ การ ๒๑๘
คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๒๓๒๙/๒๕๖๑ ๒๒๒
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๔๕๔๖/๒๕๖๑ ๒๒๖
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษที่ ๖๔๒๘/๒๕๖๒ ๒๒๘
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๔๕๐/๒๕๖๔ ๒๓๖
คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษท่ี ๒๑๒๔/๒๕๖๔
๒๔๕
๑๒. คดีอาญา
คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๓/๒๕๖๒

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๑๖๖๔/๒๕๖๐ ธนาคารไทยพาณชิ ย

จำกดั (มหาชน) โจทก

นายเอนก วงศไพฑรู ยปยะ

กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๒), ๑๙๓/๑๕, ๑๙๓/๓๐, ๑๙๓/๓๓ (๒), ๖๘๐, ๖๙๒, ๖๙๘
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๒๖, ๙๐/๒๗, ๙๐/๖๐, ๙๐/๗๐

จำเลยท่ี ๓ และที่ ๕ เปน ผูคำ้ ประกนั หน้ีท่ีบรษิ ทั ส. มีอยูแกโจทกโดยยอมรับผิด
อยา งลกู หนร้ี ว ม เมอ่ื บรษิ ทั ส. ผดิ นดั ชำระหนแ้ี ละไดท ำสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนก้ี บั โจทก
จำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕ กต็ กลงใหก ารคำ้ ประกนั มผี ลผกู พนั ตามสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนด้ี ว ย
ตอมาบริษัท ส. และโจทกรวมกันยื่นคำรองขอฟนฟูกิจการของบริษัท ส. และศาล
ลมละลายกลางมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการแลว ถือเปนการเริ่มตนใชสิทธิเรียกรองของตน
อนั มลี กั ษณะทำนองเดยี วกบั การฟอ งคดตี าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๒) ทำใหอ ายคุ วาม
ในมลู หนต้ี ามสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนส้ี ะดดุ หยดุ ลงตลอดระยะเวลาทย่ี งั ฟน ฟกู จิ การ
ของลูกหนี้ จนกวาเหตุที่ทำใหอายุความสะดุดหยุดลงนั้นไดสิ้นสุดลง ซึ่งอาจเพราะเหตุ
ศาลมีคำสั่งยกเลิกคำสั่งใหฟนฟูกิจการหรือคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการสวนในคดีนี้
เมอ่ื ระยะเวลาดำเนนิ การตามแผนฟน ฟกู จิ การสน้ิ สดุ ลง บรษิ ทั ส. ไมส ามารถปฏบิ ตั ติ าม
แผนได ศาลลมละลายกลางจึงมีคำสั่งใหพิทักษทรัพยของบริษัท ส. เด็ดขาดตาม พ.ร.บ.
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๐ วรรคสอง อันเปนขั้นตอนตามกระบวนการของ
กฎหมายลม ละลายซง่ึ มลี กั ษณะเดยี วกบั การทโ่ี จทกไ ดฟ อ งคดเี พอ่ื ตง้ั หลกั ฐานสทิ ธเิ รยี กรอ ง
หรอื เพอ่ื ใหช ำระหน้ี ดงั นน้ั อายคุ วามของมลู หนต้ี ามสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนจ้ี งึ สะดดุ
หยุดลงมาตลอดโดยไมมีเหตุที่ทำใหอายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุด จำเลยที่ ๓ และที่ ๕
ตองรับผิดในฐานะผูค้ำประกันหนี้ดังกลาวอยูกอนแลว คำสั่งเห็นชอบดวยแผนคงมีผล
เฉพาะตัวลูกหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการเทานั้น แตไมมีผลเปลี่ยนแปลงความรับผิดของ
บุคคลซึ่งเปนหุนสวนกับลูกหนี้หรือรับผิดรวมกับลูกหนี้ หรือผูค้ำประกันของลูกหนี้ใน
หนี้ที่มีอยูกอนวันที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผนตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคสอง ดังนั้นบุคคลที่ตองรวมรับผิดกับลูกหนี้หรือผูค้ำประกันของ
ลกู หนจ้ี ะยงั คงตอ งรบั ผดิ อกี เชน ไร กต็ อ งเปน ไปตามกฎหมายตา งๆ ซง่ึ วา ดว ยความรบั ผดิ



ของบุคคลในทางแพง เมื่อหนี้ตามสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้ยังชำระไมครบถวนและ
ไมม เี หตอุ น่ื ทท่ี ำใหผ คู ำ้ ประกนั หลดุ พน โจทกจ งึ คงมสี ทิ ธเิ รยี กรอ งจากจำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕
จนกวา จะไดร บั ชำระหนโ้ี ดยสน้ิ เชงิ การทบ่ี รษิ ทั ส. ไมส ามารถฟน ฟกู จิ การไดส ำเรจ็ จนถกู
พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดเปน เหตใุ หอ ายคุ วามสะดดุ หยดุ ลงเปน โทษแกล กู หน้ี จงึ เปน โทษแก
จำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕ ผคู ำ้ ประกนั ดว ยตาม ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๒ เมอ่ื โจทกฟ อ งคดนี ร้ี ะหวา ง
ที่บริษัท ส. ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด จึงเปนการฟองคดีระหวางเวลาที่อายุความสะดุด
หยุดลง อายุความหนี้ค้ำประกันซึ่งมีกำหนด ๑๐ ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐ จึงยัง
ไมเรมิ่ นับ คดีโจทกจงึ ไมขาดอายคุ วาม

______________________________

โจทกฟองขอใหมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งหาเด็ดขาดและพิพากษาใหเปน
บคุ คลลม ละลาย

จำเลยท้งั หา ใหการขอใหย กฟอ ง
ระหวา งพจิ ารณา จำเลยท่ี ๑ ท่ี ๒ และท่ี ๔ ถกู ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดในคดอี น่ื
ศาลลมละลายกลางจงึ ใหจ ำหนายคดเี ฉพาะจำเลยท่ี ๑ ที่ ๒ และท่ี ๔ ออกจากสารบบความ
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕ เดด็ ขาดตามพระราชบญั ญตั ิ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ ใหจำเลยที่ ๓ และที่ ๕ ใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทกโดย
ใหห กั จากกองทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕ เฉพาะคา ทนายความใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
กำหนดตามท่เี หน็ สมควร
จำเลยท่ี ๓ และที่ ๕ อทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ไดเ ปน ยตุ วิ า
เดิมบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด เปนลูกหนี้โจทกประเภทหนี้เงินกูและสัญญาทรัสตรีซีท มีจำเลย
ทง้ั หา เปน ผคู ำ้ ประกนั หนด้ี งั กลา วตอ โจทก โดยผกู พนั ตนเขา ทำสญั ญาคำ้ ประกนั หนท้ี กุ ชนดิ ของ
บรษิ ัทสยามยูนโิ ซล จำกัด รวมทั้งสิน้ ๖ ฉบบั กลาวคือฉบับที่ ๑ เม่ือวนั ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๓๘
จำเลยที่ ๑ และที่ ๒ เขาค้ำประกันในวงเงิน ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ฉบับที่ ๒ เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๓๙
จำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ เขา คำ้ ประกนั ในวงเงนิ ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ฉบบั ท่ี ๓ เมอ่ื วนั ท่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๙
จำเลยท่ี ๑ และท่ี ๒ เขา คำ้ ประกนั ในวงเงนิ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ฉบบั ท่ี ๔ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๓๙
จำเลยท่ี ๑ และนายชาญศกั ด์ิ เขา คำ้ ประกนั ในวงเงนิ ๑,๐๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ฉบบั ท่ี ๕ เมอ่ื วนั ท่ี
๑๘ ธันวาคม ๒๕๓๙ จำเลยที่ ๔ และที่ ๕ เขาค้ำประกันในวงเงิน ๑,๐๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท และ



ฉบบั ที่ ๖ เม่ือวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๔๒ จำเลยท่ี ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ และนายชาญศกั ดเ์ิ ขาคำ้ ประกัน
ในวงเงนิ ๑,๒๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยตกลงยอมรบั ผดิ ในฐานะลกู หนร้ี ว มกบั บรษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั
แตบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด ผิดนัดชำระหนี้แกโจทก ดังนั้นเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๔๒
โจทกแ ละบรษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั จงึ ตกลงทำสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนเ้ี พอ่ื เปน การผอ นปรน
เงอ่ื นไขการชำระหนีท้ ่มี อี ยตู อ กนั โดยจำเลยท้งั หาในฐานะผูค้ำประกนั ไดยนิ ยอมตกลงใหการ
คำ้ ประกนั มผี ลผกู พนั เปน ประกนั ตามสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนด้ี ว ย ยอดหน้ี ณ วนั ทำสญั ญา
ปรับปรุงโครงสรางหนี้คิดเปนตนเงิน ๑,๒๐๙,๗๙๑,๖๘๕.๘๔ บาท ตามบัญชีแหงหนี้ ตอมา
บริษัทสยามยูนิโซล จำกัด และโจทกไดรวมกันยื่นคำรองขอฟนฟูกิจการ ศาลลมละลายกลาง
มีคำส่ังใหฟนฟูกิจการของบริษทั สยามยนู โิ ซล จำกดั ลกู หนเ้ี ม่ือวนั ท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๔๓ และ
มคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การเมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๔๔ แตเ มอ่ื ระยะเวลาดำเนนิ การ
ตามแผนฟนฟูกิจการสิ้นสุดลง บริษัทสยามยูนิโซล จำกัด ไมสามารถปฏิบัติตามแผนได
ศาลลมละลายกลางจึงมีคำสั่งพิทักษทรัพยของบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด เด็ดขาดเมื่อวันที่ ๒๑
สงิ หาคม ๒๕๔๙ และพพิ ากษาใหลมละลายเม่อื วันท่ี ๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๐

คดีมีปญ หาตอ งวินจิ ฉัยตามอุทธรณข องจำเลยท่ี ๓ และที่ ๕ ประการแรกวา มูลหน้ี
ตามสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้ที่จำเลยที่ ๓ และที่ ๕ ค้ำประกันนั้นขาดอายุความแลวหรือไม
เห็นวา มูลหนี้ตามสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้เปนหนี้ที่มาจากการใหสินเชื่อประเภทตาง ๆ
แกบ รษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั แมต ามสญั ญามลี กั ษณะกำหนดเงอ่ื นไขชำระหนค้ี า งใหผ อ นทนุ คนื
เปน งวด ๆ อนั ทำใหส ทิ ธเิ รยี กรอ งในหนต้ี ามสญั ญาดงั กลา วมกี ำหนดอายคุ วาม ๕ ป ตามอทุ ธรณ
ก็ตาม แตตอมามีการรองขอฟนฟูกิจการโดยโจทกและบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด ลูกหนี้ชั้นตน
จนศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการของบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด และตั้งผูทำแผน
เมอื่ วนั ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๓ แมขอ เทจ็ จริงจะไมปรากฏชดั เจนวาโจทกย นื่ คำรองขอฟนฟกู ิจการ
ของบรษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั ในวนั ใดกต็ าม แตก ารทโ่ี จทกซ ง่ึ เปน เจา หนไ้ี ดร ว มยน่ื คำรอ งขอ
ฟนฟูกิจการของบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด ยอมถือไดวาเปนการเริ่มตนใชสิทธิเรียกรองของตน
อนั มลี กั ษณะทำนองเดยี วกบั การฟอ งคดตี ามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๒) ดว ย
ยอมทำใหอายุความในมูลหนี้ตามสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้นั้นสะดุดหยุดลงตลอด
ระยะเวลาที่ยังฟนฟูกิจการของลูกหนี้ จนกวาเหตุที่ทำใหอายุความสะดุดหยุดลงนั้นไดสิ้นสุดลง
ซึ่งอาจเพราะเหตุศาลมีคำสั่งยกเลิกคำสั่งใหฟนฟูกิจการหรือคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการของ
ลูกหนี้ แตก รณีในคดีฟน ฟูกจิ การดังกลาวเมอื่ ปรากฏวา ตอมาเจาพนกั งานพทิ ักษท รพั ยรายงาน
ใหศาลลมละลายกลางทราบวาระยะเวลาการดำเนินการตามแผนสิ้นสุดลงแลว การฟนฟูกิจการ



ยังไมเปนผลสำเร็จตามแผน จึงเห็นสมควรใหบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด ลมละลาย และศาล
ลม ละลายกลางไดม คี ำสง่ั ใหพ ทิ กั ษท รพั ยข องบรษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั เดด็ ขาด ตามพระราชบญั ญตั ิ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๐ วรรคสอง ในวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๙ ตามคำสั่ง
พิทักษทรัพยเด็ดขาด อันเปนขั้นตอนตามกระบวนการของกฎหมายลมละลาย ซึ่งมีลักษณะ
ทำนองเดียวกับการที่โจทกไดฟองคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกรองหรือเพื่อใหชำระหนี้ ดังนั้น
อายุความของมูลหนี้ตามสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้จึงสะดุดหยุดลงมาตลอดโดยไมมีเหตุที่
ทำใหอายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุด สิทธิเรียกรองในมูลหนี้ตามสัญญาที่จำเลยที่ ๓ และที่ ๕
ค้ำประกนั จึงไมข าดอายุความ อทุ ธรณของจำเลยท่ี ๓ และที่ ๕ ขอ น้ีฟง ไมข น้ึ

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๓ และท่ี ๔ ตอ ไปวา จำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕
ตอ งผกู พนั รบั ผดิ ในหนข้ี องบรษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั ตามบญั ชแี หง หนห้ี รอื ไม จำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕
อทุ ธรณว า รายการชำระหนต้ี ามบญั ชดี งั กลา วเปน การชำระหนส้ี นิ เชอ่ื ยอดใหม ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ของโจทกที่ใหแกบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งจำเลยที่ ๓ และที่ ๕ มิได
ยินยอมเขาค้ำประกันสินเชื่อจำนวนดังกลาว จึงไมผูกพันจำเลยที่ ๓ และที่ ๕ ใหตองรับผิดใน
ฐานะผูค้ำประกัน ดังนั้นการชำระหนี้ตามบัญชีแหงหนี้ครั้งสุดทายในวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๔๙
จงึ มใิ ชก ารชำระหนต้ี ามสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหน้ี และถอื ไมไ ดว า เปน การรบั สภาพหนต้ี อ โจทก
ที่ทำใหอ ายุความสะดดุ หยดุ ลงและเปน โทษแกจ ำเลยที่ ๓ และท่ี ๕ การเรม่ิ นบั อายคุ วามสำหรบั
ผูค้ำประกนั ตอ งนับแตว ันที่ศาลลมละลายกลางมคี ำสงั่ เห็นชอบดวยแผนฟนฟกู จิ การอันเปนเหตุ
ทย่ี งั คงมศี กั ยภาพสามารถดำเนนิ กจิ การไดอ ยู แตป ระสบปญ หาสภาพคลอ งทางการเงนิ ชว่ั คราว
ไดมีโอกาสฟนฟูกิจการดวยการปรับโครงสรางหนี้ โครงสรางทุน หรือโครงสรางกิจการ เพื่อให
กจิ การของลกู หนพ้ี น จากภาวะมหี นส้ี นิ ลน พน ตวั กลบั คนื สสู ภาพทส่ี ามารถดำเนนิ กจิ การตามปกติ
ตอไปได เมื่อศาลมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการและตั้งผูทำแผนแลว บรรดาหนี้ที่มีอยูกอนวันที่ศาลมี
คำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การไมว า จะเปน หนต้ี ามคำพพิ ากษาหรอื ไดฟ อ งเปน คดแี พง ไวแ ลว แตอ ยรู ะหวา ง
การพิจารณาก็ตาม ก็ตองยื่นคำขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการตอเจาพนักงานพิทักษทรัพย
ภายในกำหนดเวลาตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๒๖ เพอ่ื จดั เขา สแู ผน
ฟนฟูกิจการในการชำระสะสางใหเสร็จไปในคราวเดียว อันเปนการปรับโครงสรางหนี้ภายใต
กระบวนการฟนฟูกิจการของลูกหนี้ ดังนั้น หนี้ที่อยูในแผนฟนฟูกิจการที่จะไดรับการชำระนั้น
จงึ เปน หนเ้ี ดมิ ทม่ี มี ลู แหง หนเ้ี กดิ ขน้ึ กอ นวนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั ฟน ฟกู จิ การตามมาตรา ๙๐/๒๗ วรรคหนง่ึ
เมื่อพิจารณาบัญชีแหงหนี้แลว เห็นวา รายการคิดบัญชีหนี้เริ่มขึ้นนับแตวันทำสัญญาปรับปรุง



โครงสรางหนี้ของบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด โดยมียอดหนี้ตนเงินสอดคลองกับรายละเอียด
หลกั ฐานการใหส นิ เชอ่ื และยอดหนค้ี งคา งทา ยสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหนท้ี จ่ี ำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕
ผกู พนั ตนคำ้ ประกนั อยู การชำระหนต้ี อ มาภายหลงั วนั ท่ี ๒๗ เมษายน ๒๕๔๔ ทศ่ี าลลม ละลายกลาง
เห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการและตั้งผูบริหารแผน จนกระทั่งบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด
ถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดนั้น ก็เปนการหักชำระตนเงินและดอกเบี้ยคางจากยอดหนี้เดิมเรื่อยมา
เปน ลำดบั โดยไมป รากฏจำนวนเงนิ สนิ เชอ่ื ยอดใหม ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ดงั ทจ่ี ำเลย ท่ี ๓ และท่ี ๕
อา งวา เปน หนท้ี ก่ี อ ขน้ึ ใหมต ามแผนโดยมไิ ดร บั ความยนิ ยอมของตนแตอ ยา งใด รายการชำระหน้ี
ในบญั ชแี หง หน้ี จงึ ไมม รี ายการชำระหนอ้ี น่ื นอกจากหนต้ี ามสญั ญาปรบั ปรงุ โครงสรา งหน้ี ซง่ึ เปน
หนี้เดิมที่จำเลยที่ ๓ และที่ ๕ จะตองผูกพันรับผิดในฐานะผูค้ำประกันอยูกอนแลว ผลของคำสั่ง
เห็นชอบดวยแผนคงมีผลเฉพาะตัวลูกหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการคือบริษัทสยามยูนิโซล จำกัด
เทา นน้ั กลา วคอื เมอ่ื ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผนแลว บรษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั
ลูกหนี้ก็จะตองมาผูกพันในการชำระหนี้ตามที่กำหนดไวในแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งอาจเปนการลด
สัดสวนจำนวนหนี้ลงหรือกำหนดวิธีการชำระหนี้เปนอยางอื่น แตคำสั่งของศาลซึ่งเห็นชอบดวย
แผนไมม ผี ลเปลย่ี นแปลงความรบั ผดิ ของบคุ คลซง่ึ เปน หนุ สว นกบั ลกู หนห้ี รอื รบั ผดิ รว มกบั ลกู หน้ี
หรอื ผคู ำ้ ประกนั ของลกู หน้ี ในหนท้ี ม่ี อี ยกู อ นวนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผนตามพระราชบญั ญตั ิ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคสอง ดังนั้นบุคคลที่ตองรวมรับผิดกับลูกหนี้หรือ
ผูค้ำประกันของลูกหนี้จะยังคงตองรับผิดอีกเชนไร ก็ตองเปนไปตามกฎหมายตาง ๆ ซึ่งวาดวย
ความรบั ผดิ ของบคุ คลในทางแพง เมอ่ื หนต้ี ามรายการทป่ี รากฏในบญั ชแี หง หนย้ี งั ชำระไมค รบถว น
และไมม เี หตอุ น่ื ทท่ี ำใหผ คู ำ้ ประกนั หลดุ พน จากความรบั ผดิ โจทกจ งึ คงมสี ทิ ธเิ รยี กรอ งจากจำเลย
ท่ี ๓ และท่ี ๕ จนกวา จะไดร บั ชำระหนโ้ี ดยสน้ิ เชงิ การทบ่ี รษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั ซง่ึ เปน ลกู หน้ี
ตามสัญญาปรับปรุงโครงสรางหนี้ไมสามารถฟนฟูกิจการไดสำเร็จจนถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด
เปนเหตุใหอายุความสะดุดหยุดลงเปนโทษแกลูกหนี้ดังไดวินิจฉัยมา จึงเปนโทษแกจำเลยที่ ๓
และที่ ๕ ผูค้ำประกันดวยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๙๒ เมื่อโจทกฟอง
คดนี ร้ี ะหวา งทบ่ี รษิ ทั สยามยนู โิ ซล จำกดั ถกู พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาด จงึ เปน การฟอ งคดรี ะหวา งเวลา
ทอ่ี ายคุ วามสะดดุ หยดุ ลง อายคุ วามหนค้ี ำ้ ประกนั ซง่ึ มกี ำหนด ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ยม าตรา ๑๙๓/๓๐ จงึ ยงั ไมเ รม่ิ นบั หาใชว า อายคุ วามหนค้ี ำ้ ประกนั ตอ งเรม่ิ นบั แตว นั ท่ี
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการตามที่จำเลยที่ ๓ และที่ ๕ อุทธรณไม คดีโจทก



จงึ ไมข าดอายคุ วาม ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๓ และท่ี ๕ เดด็ ขาดนน้ั
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยอุทธรณของจำเลยที่ ๓ และที่ ๕ ขอนี้ฟงไมขึ้นเชนกัน

พพิ ากษายืน คาฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณใหเปน พบั .
(โชคชัย รจุ นิ นิ นาท - วเิ ชยี ร วชริ ประทีป - องอาจ งามมีศร)ี

สรายุทธ เตชะวฒุ พิ ันธุ - ยอ
อดิศักดิ์ เทยี นกริม - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎกี าพิพากษายนื ตามคำพพิ ากษาศาลฎีกาท่ี ๔๔๖๑/๒๕๖๒



คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษที่ ๒๓๓๙/๒๕๖๐ ธนาคารกรุงไทย จำกัด

(มหาชน) โจทก

องคการบริหาร

สว นตำบลน้ำก่ำหรือ

เทศบาลตำบลนำ้ กำ่

กบั พวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคหน่ึง
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔

มลู หนท้ี โ่ี จทกน ำมาฟอ งจำเลยท่ี ๓ นน้ั ศาลจงั หวดั นครพนมมคี ำพพิ ากษาตามยอม
ใหจำเลยที่ ๓ รวมกับจำเลยอื่นชำระเงิน ๑๗,๙๓๖,๕๐๗ บาท พรอมดอกเบี้ยแกโจทก
คดีถึงที่สุดแลว หนี้ดังกลาวจึงเปนหนี้ที่อาจกำหนดจำนวนไดโดยแนนอนแมจำเลยที่ ๓
จะรองขอใหพิจารณาคดีใหม และคดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณภาค ๔
แตจำเลยที่ ๓ ซึ่งเปนคูความยอมตองผูกพันในกระบวนพิจารณาของศาลที่พิพากษา
นบั แตว นั ทไ่ี ดพ พิ ากษา จนถงึ วนั ทค่ี ำพพิ ากษานน้ั ไดถ กู เปลย่ี นแปลง แกไ ข กลบั หรอื งดเสยี
ถา หากมี ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๕ วรรคหนง่ึ

หนท้ี โ่ี จทกน ำมาฟอ งจำเลยทง้ั สข่ี อใหล ม ละลายมลู ความแหง คดสี บื เนอ่ื งมาจาก
จำเลยท่ี ๑ ซง่ึ ในขณะทม่ี ฐี านะเปน องคก ารบรหิ ารสว นตำบลกยู มื เงนิ โจทกเ พอ่ื ดำเนนิ การ
พฒั นาโครงสรา งพน้ื ฐาน มจี ำเลยท่ี ๓ เปน ผคู ำ้ ประกนั หนด้ี งั กลา ว แมว า จำเลยท่ี ๓ จะทำ
สัญญาค้ำประกันโดยสมัครใจและตองผูกพันรับผิดในหนี้ของจำเลยที่ ๑ ก็ตาม แตการ
วินิจฉัยใหบุคคลใดลมละลายนั้น ยอมกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพในการดำรงชีวิตตาม
กฎหมาย ตลอดจนสถานะบคุ คลและสทิ ธใิ นทางทรพั ยส นิ ของผนู น้ั โดยตรง เมอ่ื ไมป รากฏ
วาจำเลยที่ ๓ เขาค้ำประกันโดยไดรับประโยชนสวนตัว แตเปนการกระทำเพื่อใหกิจการ
ในงานราชการสวนทองถิ่นดำเนินตอไปได จึงไมสมควรที่จะใหจำเลยที่ ๓ ตองตกเปน
บุคคลลมละลายเพราะเหตุจากขอขัดของในการตราเทศบัญญัติใชเงินกูของจำเลยที่ ๑
กรณีมีเหตุอื่นที่ไมควรใหจำเลยที่ ๓ ลมละลาย ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๔ และแมจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ มิไดอุทธรณแตจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ อยูในฐานะ
ผูค้ำประกันเชนเดียวกันกับจำเลยที่ ๓ กรณีจึงถือวามีเหตุอื่นที่ไมควรใหจำเลยที่ ๒ และ
ที่ ๔ ลมละลายดว ย

_____________________________



โจทกฟ องขอใหม คี ำสง่ั พทิ ักษท รพั ยของจำเลยท้ังสเ่ี ด็ดขาดและพิพากษาใหเ ปนบคุ คล
ลมละลาย

ชั้นตรวจคำฟอ ง ศาลลม ละลายกลางพิพากษายกฟองจำเลยที่ ๑ และมีคำสัง่ รับคำฟอง
เฉพาะจำเลยท่ี ๒ ถงึ ที่ ๔

โจทกอ ุทธรณต อศาลฎกี า ศาลลม ละลายกลางจึงมคี ำสั่งใหจ ำหนา ยคดขี องจำเลยท่ี ๒
ถึงที่ ๔ ชัว่ คราว เพอื่ รอฟงคำพิพากษาศาลฎีกา

ศาลฎกี าพพิ ากษายนื ศาลลม ละลายกลางจงึ มคี ำสั่งใหยกคดขี องจำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๔
ข้นึ พจิ ารณา

จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ไมย่ืนคำใหการและขาดนดั พิจารณา
จำเลยท่ี ๓ ใหก ารขอใหยกฟอง
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๔ เดด็ ขาด ตามพระราชบญั ญตั ิ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ และใหจำเลยท่ี ๒ ถงึ ที่ ๔ รว มกนั ใชคาฤชาธรรมเนยี มแทน
โจทก โดยใหหักจากกองทรัพยสินของจำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๔ เฉพาะคาทนายความใหเจาพนักงาน
พิทกั ษทรพั ยกำหนดตามทเี่ หน็ สมควร
จำเลยที่ ๓ อุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ยตุ ใิ นเบอ้ื งตน
โดยทค่ี คู วามไมไ ดโ ตเ ถยี งกนั วา เมอ่ื วนั ท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ศาลจงั หวดั นครพนมมคี ำพพิ ากษา
ตามยอมเปน คดแี พง หมายเลขแดงท่ี ผบ.๔๗๐/๒๕๕๒ ซง่ึ พพิ ากษาใหจ ำเลยทง้ั สร่ี ว มกนั ชำระเงนิ
๑๗,๙๓๖,๕๐๗ บาท พรอ มดอกเบย้ี แกโ จทก กบั ใหจ ำเลยทง้ั สร่ี ว มกนั ใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก
คดมี ปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๓ วา จำเลยท่ี ๓ เปน ผมู หี นส้ี นิ ลน พน ตวั
และเปน หนโ้ี จทกเ ปน จำนวนแนน อนไมน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาทหรอื ไม เหน็ วา จำเลยท่ี ๓ ถกู ยดึ ทรพั ย
ตามหมายบงั คบั คดี คอื ทด่ี นิ โฉนดทด่ี นิ เลขท่ี ๑๘๘๔๗ ตำบลธาตพุ นม อำเภอธาตพุ นม จงั หวดั
นครพนม พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง โดยเจา พนกั งานบงั คบั คดปี ระเมนิ ราคาทด่ี นิ เปน เงนิ ๑,๑๘๘,๙๓๖ บาท
ทรพั ยด งั กลา วตดิ จำนองเจา หนภ้ี ายนอก และไมค มุ กบั ภาระหนข้ี องโจทก พฤตกิ ารณข องจำเลยท่ี ๓
ตอ งดว ยขอ สนั นษิ ฐานวา มหี นส้ี นิ ลน พน ตวั ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕)
จำเลยที่ ๓ มีหนาที่ตองนำพยานหลักฐานมาสืบหักลางขอสันนิษฐานดังกลาว ที่จำเลยที่ ๓
นำสบื วา เมอ่ื จำเลยท่ี ๑ ไดร บั จดั ตง้ั เปน เทศบาลตำบลมกี ารตง้ั งบประมาณรายจา ย เพอ่ื จะชำระหน้ี
แกโ จทก แตค ณะกรรมการกฤษฎกี าตคี วามวา ยงั ไมม กี ารออกระเบยี บกระทรวงมหาดไทยใหจ ำเลย
ที่ ๑ ในขณะที่มีฐานะเปนองคการบริหารสวนตำบลกูเงินได สัญญากูยืมเงินระหวางจำเลยที่ ๑



กบั โจทกไ มม ผี ลผกู พนั จำเลยท่ี ๑ จงึ ไมส ามารถทจ่ี ะตง้ั งบประมาณเพอ่ื ชำระหนใ้ี หจ ำเลยท่ี ๑ ได
เมื่อจำเลยที่ ๑ ซึ่งเปนผูกูเงินอันเปนหนี้ประธานไมผูกพันตอโจทกแลว จำเลยที่ ๓ ซึ่งเปน
ผคู ำ้ ประกนั อนั เปน หนอ้ี ปุ กรณย อ มไมผ กู พนั ตอ โจทกด ว ย นอกจากน้ี จำเลยท่ี ๓ ไดย น่ื คำรอ งขอให
พจิ ารณาคดใี หมต อ ศาลจงั หวดั นครพนม และอทุ ธรณค ำสง่ั ของศาลจงั หวดั นครพนม ตอ ศาลอทุ ธรณ
ภาค ๔ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๖๐ หากศาลอทุ ธรณภ าค ๔ มคี ำสง่ั ใหพ จิ ารณาคดใี หม จำเลย
ที่ ๓ ยอมมีโอกาสชนะคดีแพง ซึ่งมีผลตอการพิจารณาคดีลมละลายในคดีนี้ขอใหศาลอุทธรณ
คดีชำนัญพิเศษมีคำสั่งใหจำหนายคดีของจำเลยที่ ๓ ชั่วคราว เห็นวา มูลหนี้ที่โจทกนำมาฟอง
จำเลยที่ ๓ นั้น ศาลจังหวัดนครพนมมีคำพิพากษาตามยอมใหจำเลยที่ ๓ รวมกับจำเลยอื่น
ชำระเงนิ ๑๗,๙๓๖,๕๐๗ บาท พรอ มดอกเบย้ี แกโ จทก คดถี งึ ทส่ี ดุ แลว จำเลยท่ี ๓ ยงั คงเปน หน้ี
โจทกค ิดถึงวนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ เปนเงิน ๒๓,๔๙๘,๕๑๙.๓๙ บาท หนดี้ งั กลา วจงึ เปนหน้ี
ทอ่ี าจกำหนดจำนวนไดโ ดยแนน อน แมจ ำเลยท่ี ๓ จะรอ งขอใหพ จิ ารณาคดใี หมแ ละคดอี ยรู ะหวา ง
การพิจารณาของศาลอุทธรณภาค ๔ แตจำเลยที่ ๓ ซึ่งเปนคูความยอมตองผูกพันในกระบวน
พจิ ารณาของศาลทพ่ี พิ ากษา นบั แตว นั ทไ่ี ดพ พิ ากษา จนถงึ วนั ทค่ี ำพพิ ากษานน้ั ไดถ กู เปลย่ี นแปลง
แกไข กลับหรืองดเสีย ถาหากมี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๕
วรรคหนง่ึ เมอ่ื คำพพิ ากษาตามยอมของศาลจงั หวดั นครพนมยงั มไิ ดถ กู เปลย่ี นแปลง แกไ ข กลบั
หรืองดเสีย จำเลยที่ ๓ ในฐานะลูกหนี้ตามคำพิพากษาจึงตองรวมรับผิดชำระหนี้ดังกลาว และ
โจทกช อบทจ่ี ะเรยี กชำระหนจ้ี ากจำเลยแตค นใดคนหนง่ึ สน้ิ เชงิ หรอื แตโ ดยสว นกไ็ ดต ามแตจ ะเลอื ก
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๙๑ เมื่อจำเลยที่ ๓ มิไดนำพยานหลักฐานมา
สบื แสดงใหเ หน็ วา ตนมที รพั ยส นิ เพยี งพอจะชำระหนแ้ี กโ จทกไ ดส น้ิ เชงิ จงึ รบั ฟง ไดว า จำเลยท่ี ๓
มหี นส้ี นิ ลน พน ตวั และเปน หนโ้ี จทกเ ปน จำนวนแนน อนไมน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาท สว นทจ่ี ำเลยท่ี ๓
ขอใหจำหนายคดีของจำเลยที่ ๓ ชั่วคราวนั้น เห็นวา การพิจารณาคดีลมละลายตองพิจารณา
เปน การดว น จงึ ยังไมม เี หตุสมควรจำหนายคดีใหอทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๓ ฟง ไมข ้นึ

คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตอไปวา มีเหตุอื่นที่ไมควรใหจำเลยที่ ๓ ลมละลายหรือไม
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษโดยมติที่ประชุมแผนกคดีลมละลาย เห็นวา ตามสำเนาบันทึก
คณะกรรมการกฤษฎีกา ปรากฏวาหนี้ที่โจทกนำมาฟองจำเลยทั้งสี่ขอใหลมละลายนั้น มูลความ
แหง คดสี บื เนอ่ื งมาจากจำเลยท่ี ๑ ซง่ึ ในขณะทม่ี ฐี านะเปน องคก ารบรหิ ารสว นตำบลกยู มื เงนิ โจทก
เพื่อดำเนินการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน มีจำเลยที่ ๓ เปนผูค้ำประกันหนี้ดังกลาวดวย แมวา
จำเลยที่ ๓ จะทำสัญญาค้ำประกันโดยสมัครใจและตองผูกพันรับผิดในหนี้ของจำเลยที่ ๑ ก็ตาม
แตการวินิจฉัยใหบุคคลใดลมละลายนั้น ยอมกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพในการดำรงชีวิตตาม



กฎหมาย ตลอดจนสถานะบุคคลและสิทธิในทางทรัพยสินของผูนั้นโดยตรง เมื่อไมปรากฏวา
จำเลยที่ ๓ เขาค้ำประกันโดยไดรับประโยชนสวนตัว แตเปนการกระทำเพื่อใหกิจการในงาน
ราชการสวนทองถิ่นดำเนินตอไปได จึงไมสมควรที่จะใหจำเลยที่ ๓ ตองตกเปนบุคคลลมละลาย
เพราะเหตจุ ากขอ ขดั ของในการตราเทศบญั ญัติใชเงินกูของจำเลยท่ี ๑ เนอ่ื งจากมคี วามเหน็ ตาม
บนั ทกึ ของคณะกรรมการกฤษฎกี าดงั กลา ว กรณมี เี หตอุ น่ื ทไ่ี มค วรใหจ ำเลยท่ี ๓ ลม ละลาย ตาม
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพย
ของจำเลยที่ ๓ เดด็ ขาดมาน้นั ไมต อ งดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษ

อนง่ึ เมอ่ื มเี หตอุ น่ื ทไ่ี มค วรใหจ ำเลยท่ี ๓ ลม ละลาย แมจ ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ มไิ ดอ ทุ ธรณ
แตจ ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ ซง่ึ อยใู นฐานะผคู ำ้ ประกนั เชน เดยี วกนั กบั จำเลยท่ี ๓ กรณจี งึ ถอื วา มเี หตอุ น่ื
ทไ่ี มค วรใหจ ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ ลม ละลาย ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษมอี ำนาจพพิ ากษาใหม ผี ลถงึ
จำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ ดว ย ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๔๕ (๑) ประกอบ
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑

พพิ ากษากลบั ใหย กฟอ งโจทกส ำหรบั จำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๔ คา ฤชาธรรมเนยี มทง้ั สองศาล
ใหเปนพับ.

(พูนศกั ดิ์ เข็มแซมเกษ - อดศิ ักดิ์ ศรธนะรัตน - ปฏกิ รณ คงพิพิธ)

นราธปิ บุญญพนิช - ยอ
วริ ัตน วิศิษฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎีกาพพิ ากษายนื ตามคำพพิ ากษาศาลฎกี าที่ ๗๔๒๕/๒๕๖๒

๑๐

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษท่ี ๑๔๕๗/๒๕๖๑ ธนาคารกรงุ เทพ จำกัด

(มหาชน) โจทก

บรษิ ทั บอมบ

เอ็นเตอรไ พรส จำกดั

กับพวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๓๔๙
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๔๘
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘, ๑๐, ๑๔

จำเลยท้ังเจ็ดทำหนงั สือรับสภาพหนเ้ี พื่อปรบั โครงสรางหนี้ เปนการตกลงวา
จำเลยที่ ๑ ยอมรับผิดตอโจทกวายังคงคางชำระตนเงินและดอกเบี้ยในหนี้ทั้งหมด
เพื่อไปสูการตกลงใหมีการผอนผันการชำระหนี้และระยะเวลาในการชำระหนี้เทานั้น
จำเลยที่ ๒ ถึงที่ ๗ ผูค้ำประกันยังคงมีภาระการค้ำประกันรวมทั้งบรรดาหลักประกัน
ที่จำนองไวเปนประกันหนี้ตอไป กรณีไมเปนการเปลี่ยนสิ่งที่เปนสาระสำคัญแหงหนี้
อันเปน การแปลงหนใ้ี หมแ ตอยางใด

แมโจทกไดฟองจำเลยทั้งเจ็ดเปนคดีที่ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลาง กต็ าม แตก ารฟองคดีลมละลายเปนการฟองคดีเพอ่ื ใหม กี ารชำระ
สะสางหนีส้ ินของลกู หน้ี ดว ยการรวบรวมทรพั ยสนิ ทอ่ี าจแบงไดใ นคดลี มละลายเขา กอง
ไวในกองทรัพยสินเพื่อแบงเฉลี่ยแกเจาหนี้ใหไดรับชำระหนี้อยางเปนธรรม แมมูลหนี้ที่
โจทกนำมาฟองเปนมูลหนี้เดียวกัน แตสภาพแหงคำขอบังคับตางกัน ฟองโจทกคดีนี้
จึงไมใชเร่อื งเดียวกนั อนั มลี กั ษณะเปนฟองซอ นแตอ ยา งใด

เมื่อโจทกเปนเจาหนี้มีประกันไดตีราคาทรัพยหลักประกันมาในฟองครบถวน
ตามเงอื่ นไขแหงการฟองคดแี ลว ไมจำตองบรรยายฟองถงึ การสละหลักประกนั แตอ ยา งใด
เมอ่ื หนต้ี ามฟอ งเปน หนต้ี ามสญั ญาทท่ี ำไวเ ปน หนงั สอื ระบจุ ำนวนเงนิ ทแ่ี นน อน สามารถ
คำนวณดอกเบย้ี ถงึ วนั ฟอ งได กรณจี งึ เปน หนท้ี อ่ี าจกำหนดจำนวนไดโ ดยแนน อนในขณะ
ฟอ งแลว เมอ่ื จำเลยทง้ั เจด็ ไมน ำสบื ในชน้ั พจิ ารณาวา มที รพั ยส นิ มากกวา หนส้ี นิ และกอ น
ฟองโจทกมีหนังสือบอกกลาวทวงถามใหชำระหนี้ไปยังจำเลยทั้งเจ็ดตามภูมิลำเนาแลว
ไมน อ ยกวา สองครง้ั ซง่ึ มรี ะยะเวลาหา งกนั ไมน อ ยกวา สามสบิ วนั จำเลยทง้ั เจด็ ไดร บั แลว
แตไมชำระหนี้ จึงตองดวยขอ สันนิษฐานวาเปนผมู ีหนส้ี ินลน พนตัว

______________________________

๑๑

โจทกฟองขอใหมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งเจ็ดเด็ดขาด และพิพากษาใหเปน
บคุ คลลม ละลาย

จำเลยทั้งเจ็ดใหก ารขอใหย กฟอง
ศาลลมละลายกลางพิจารณาแลว มีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งเจ็ดเด็ดขาด
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ ใหจ ำเลยทง้ั เจด็ รว มกนั ใชค า ฤชาธรรมเนยี ม
แทนโจทกโดยใหหักจากกองทรัพยสินของจำเลยทั้งเจ็ด เฉพาะคาทนายความใหเจาพนักงาน
พิทกั ษท รัพยกำหนดตามท่ีเห็นสมควร
จำเลยท้งั เจ็ดอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติไดวา
จำเลยที่ ๑ เปนหนี้โจทกรวม ๗ มูลหนี้ โดยมูลหนี้ที่ ๑ เปนหนี้ตามสัญญาขายลดตั๋วเงินเมื่อ
วนั ที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๖ จำนวน ๓๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท มูลหน้ที ี่ ๒ ตามสญั ญาขายลดต๋วั เงนิ
เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๔ จำนวน ๔๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท มูลหนี้ที่ ๓ ตามสัญญาขาย
ตั๋วสัญญาใชเงินสกุลเงินตราตางประเทศเพื่อการนำเขา ๘ ฉบับ รวมเปนเงิน ๒,๔๘๗,๕๒๘
เหรยี ญสหรฐั มลู หนท้ี ่ี ๔ ตามสญั ญาขายตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ สกลุ เงนิ ตราตา งประเทศเพอ่ื การนำเขา
๖ ฉบบั รวมเปน เงนิ ๙๔๐,๔๗๖.๕๖ เหรยี ญสหรฐั มลู หนท้ี ่ี ๕ ตามสญั ญาขายตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ
๒๑ ฉบบั รวมเปนเงนิ ๘๓,๙๙๖,๐๘๔.๕๔ บาท มูลหนท้ี ่ี ๖ ตามสญั ญาทรัสตรซี ีท รวม ๑๑ ฉบับ
รวมคงคา งหนต้ี น เงนิ ๓๖,๔๙๓,๖๗๘.๗๔ บาท ดอกเบย้ี ๗,๘๙๕,๖๓๒.๓๑ บาท และมลู หนท้ี ่ี ๗
ตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี ซึ่งภายหลังการหักทอนบัญชีกันแลว จำเลยที่ ๑ เปนหนี้คาง
ชำระตนเงินเมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗ เปนเงิน ๒๑,๙๒๘,๑๖๗.๓๓ บาท ตามรายการ
เคลอ่ื นไหวของบญั ชสี นิ เชอ่ื มจี ำเลยท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๗ ทำสญั ญาคำ้ ประกนั หนท้ี ง้ั หมดของจำเลยท่ี ๑
นอกจากนจ้ี ำเลยท่ี ๑ จำนองทด่ี นิ โฉนดทด่ี นิ เลขท่ี ๑๐๕๓๔ ตำบลคกึ คกั อำเภอตะกว่ั ปา จงั หวดั
พังงา พรอมสิ่งปลูกสราง จำเลยที่ ๓ จำนองที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่ ๒๗๕๙ ตำบลวังบูรพาภิรมย
(พาหุรัตน) อำเภอพระนคร (ในพระนคร) กรุงเทพมหานคร พรอมสิ่งปลูกสราง จำเลยที่ ๔
จำนองที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่ ๑๔๑๘, ๑๙๑๑, ๒๐๙๕, ๒๐๙๖ และ ๔๔๘๔ ตำบลปากน้ำ อำเภอ
เมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ พรอมสิ่งปลูกสราง และจำเลยที่ ๕ จำนองที่ดินตามหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขท่ี ๑๐๔๑, ๑๐๔๒ ตำบลกระบน่ี อ ย อำเภอเมอื งกระบ่ี จงั หวดั กระบ่ี
พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง เปน ประกนั หนไ้ี ว รวมเงนิ จำนองทง้ั สน้ิ ๑๙๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตอ มาจำเลยทง้ั เจด็
ไดท ำหนงั สอื สญั ญารบั สภาพหนเ้ี พอ่ื ปรบั โครงสรา งหนต้ี อ โจทกร วม ๓ ครง้ั ครง้ั สดุ ทา ยเมอ่ื วนั ท่ี ๓๐
กนั ยายน ๒๕๕๗ โดยยอมรบั วา เปน หนต้ี ามสญั ญาทง้ั สน้ิ คดิ เปน ตน เงนิ ๒๖๓,๐๓๔,๔๖๖.๒๗ บาท

๑๒

และดอกเบี้ยเพียงวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๗ เปนเงิน ๕๔,๙๖๔,๓๘๕.๗๑ บาท รวมเปนเงิน
๓๑๗,๙๙๘,๘๕๑.๙๘ บาท ตามหนังสือสัญญารบั สภาพหนเี้ พือ่ ปรบั โครงสรา งหนี้

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยทั้งเจ็ดประการแรกวา มูลหนี้ตามฟอง
ระงบั แลว หรอื ไม จำเลยทง้ั เจด็ อทุ ธรณใ นขอ แรกวา เมอ่ื มกี ารทำหนงั สอื สญั ญารบั สภาพหน้ี เพอ่ื
ปรับโครงสรางหนี้แลว เปนการแปลงหนี้ใหมอันเปนเหตุใหหนี้เดิมระงับสิ้นลง การที่ศาลมีคำสั่ง
พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั เจด็ เดด็ ขาด จงึ ไมช อบนน้ั เหน็ วา หนงั สอื สญั ญารบั สภาพหนเ้ี พอ่ื ปรบั
โครงสรา งหน้ี โดยเฉพาะฉบบั ลงวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗ ทจ่ี ำเลยทง้ั เจด็ อา งนน้ั ขอ ตกลงตาม
หนังสือสัญญารับสภาพหนี้เพื่อปรับโครงสรางหนี้ดังกลาวเปนเรื่องที่จำเลยที่ ๑ ตกลงยอมรับ
สภาพหนจ้ี ำนวนทจ่ี ำเลยท่ี ๑ ยงั คงคา งชำระอยกู บั โจทกท ง้ั หมด และมกี ารตกลงการผอ นชำระหน้ี
ตามจำนวนและระยะเวลาในการชำระใหม ซึ่งหากจำเลยที่ ๑ ชำระหนี้ทุกประเภทและปฏิบัติ
ตามขอตกลงในหนังสือสัญญารับสภาพหนี้เพื่อปรับโครงสรางหนี้ดังกลาวไดโดยไมผิดนัดแลว
โจทกต กลงยอมยกเวน ดอกเบย้ี บางสว นใหเ ทา นน้ั หนงั สอื สญั ญารบั สภาพหน้ี เพอ่ื ปรบั โครงสรา ง
หนี้นั้นไมมีขอความตอนใดที่ระบุวาหนี้ที่มีอยูเดิมใหระงับไป ขอตกลงดังกลาว จึงเปนกรณีที่
จำเลยที่ ๑ ตกลงยอมรับตอโจทกวายังคงคางชำระตนเงินและดอกเบี้ยในหนี้ที่มีทั้งหมด เพื่อนำ
ไปสูการตกลงใหมีการผอนผันการชำระหนี้และระยะเวลาในการชำระหนี้กันตามที่ตกลงเทานั้น
ทง้ั ตามหนงั สอื สญั ญารบั สภาพหนเ้ี พอ่ื ปรบั โครงสรา งหน้ี ในขอ ๑๒ และ ขอ ๑๓ กย็ งั ระบใุ หผ คู ำ้
ประกันยังคงมีภาระการค้ำประกันรวมทั้งบรรดาหลักประกันที่จำนองไวเปนประกันหนี้ตอโจทก
ตอไป กรณีจึงไมมีลักษณะของการเปลี่ยนสิ่งซึ่งเปนสาระสำคัญแหงหนี้ตามสัญญาอันเปนการ
แปลงหนใ้ี หมแ ตอ ยา งใด สว นทจ่ี ำเลยทง้ั เจด็ อทุ ธรณว า หนต้ี ามฟอ งทง้ั เจด็ รายการ ศาลในคดแี พง
มคี ำพพิ ากษาแลว โดยโจทกไ ดน ำมลู หนท้ี ง้ั หมดกอ นมคี ำพพิ ากษามาฟอ งเปน คดลี ม ละลาย สทิ ธิ
ในหนี้เดิมจึงเปลี่ยนแปลงไปแลว ทำใหหนี้เดิมระงับไปโดยคำพิพากษาคดีแพง ที่ศาลลมละลาย
กลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั เจด็ เดด็ ขาด จงึ ไมช อบเหน็ วา มลู หนต้ี ามฟอ งคดนี จ้ี ำเลย
ทั้งเจ็ดมิไดปฏิเสธวาไมไดเปนหนี้โจทก การที่ศาลคดีสวนแพงมีคำพิพากษาบังคับจำเลยทั้งเจ็ด
ในคดีของศาลแพง คดีหมายเลขแดงที่ พ.๔๔๗๘/๒๕๕๙ พ.๓๘๙๖/๒๕๕๙ พ.๔๖๑๐/๒๕๕๙
พ.๓๕๔๐/๒๕๕๙ ผบ.๗๘๓/๒๕๖๐ และ ผบ.๙๓๒/๒๕๖๐ คดีของศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศกลาง คดีหมายเลขแดงที่ กค.๕๕/๒๕๖๐ ตามคำพิพากษา ก็เปนการ
พพิ ากษาบงั คบั ใหต ามมูลหนท้ี ีจ่ ำเลยทง้ั เจด็ ตอ งรบั ผดิ และเปน มูลหน้เี ดยี วกับทฟี่ อ งขอใหจำเลย
ทั้งเจ็ดลมละลายในคดีนี้ อันเปนการรับรองวาจำเลยทั้งเจ็ดเปนหนี้โจทกในมูลหนี้ตามฟองและ
สามารถใชส ทิ ธิบงั คบั คดไี ดตามกฎหมาย หาไดท ำใหหนที้ ่ีจำเลยท้ังเจ็ดตองรับผิดระงับลงตามท่ี
อุทธรณแตอ ยางใด อุทธรณขอ นี้ของจำเลยทงั้ เจ็ดฟง ไมข ้ึน

๑๓

ปญหาที่ตองวินิจฉัยประการตอไปวา ฟองโจทกคดีนี้ชอบดวยกฎหมายหรือไม จำเลย
ทง้ั เจด็ อทุ ธรณใ นประการแรกวา ฟอ งโจทกค ดนี เ้ี ปน ฟอ งซอ นกบั คดขี องศาลแพง คดหี มายเลขดำ
ท่ี มย.๒๖๙/๒๕๕๘ มย.๒๗๐/๒๕๕๘ พ.๒๘๗๘/๒๕๕๘ พ.๔๒๘๖/๒๕๕๘ พ.๔๒๘๙/๒๕๕๘ และ
พ.๔๔๔๒/๒๕๕๘ คดขี องศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง คดหี มายเลข
ดำที่ กค.๑๙๕/๒๕๕๙ เห็นวา การดำเนินคดีลมละลายเปนการฟองคดีเพื่อใหมีการชำระสะสาง
หนส้ี นิ ของลกู หนผ้ี มู หี นส้ี นิ ลน พน ตวั โดยกำหนดใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม อี ำนาจเขา จดั กจิ การ
และทรพั ยส นิ ของลกู หนด้ี ว ยการรวบรวมทรพั ยส นิ ทอ่ี าจแบง ไดใ นคดลี ม ละลายเขา ไวใ นกองทรพั ยส นิ
เพื่อแบงเฉลี่ยแกเจาหนี้ที่ไดรับอนุญาตใหไดรับชำระหนี้อยางเปนธรรม แตคดีสวนแพงที่โจทก
ฟองตอศาลแพงและศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางนั้น เปนคดีฟอง
เพื่อบังคับสิทธิในทางแพงใหชำระหนี้จากทรัพยสินของจำเลยทั้งเจ็ดแกโจทกเปนการเฉพาะแม
มลู หนใ้ี นคดแี พง ดงั กลา วเปน มลู หนเ้ี ดยี วกบั ทโ่ี จทกน ำมาฟอ งจำเลยทง้ั เจด็ อยา งใด จำเลยทง้ั เจด็
อทุ ธรณอ กี วา โจทกม ไิ ดบ รรยายฟอ งวา โจทกม ไิ ดเ ปน ผตู อ งหา มมใิ หบ งั คบั ชำระหนเ้ี อาแกท รพั ยส นิ
ของจำเลยทง้ั เจด็ ไดเ กนิ กวา ตวั ทรพั ยท เ่ี ปน หลกั ประกนั และจะยอมสละหลกั ประกนั เพอ่ื ประโยชน
แกเจาหนี้ทั้งหลายนั้น เห็นวา ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐ (๒)
บัญญัติวา เจาหนี้มีประกันจะฟองคดีไดก็โดยเงื่อนไขอยางหนึ่งอยางใด ซึ่งอาจกลาวในฟองวา
ถา ลกู หนล้ี ม ละลายแลว จะยอมสละหลกั ประกนั เพอ่ื ประโยชนแ กเ จา หนท้ี ง้ั หลาย หรอื ตรี าคาหลกั
ประกันมาในฟองซึ่งเมื่อหักกับจำนวนหนี้ของตนแลว เงินยังขาดอยูสำหรับลูกหนี้ซึ่งเปนบุคคล
ธรรมดาเปนจำนวนไมนอยกวาหนึ่งลานบาทหรือลูกหนี้ซึ่งเปนนิติบุคคลเปนจำนวนไมนอยกวา
สองลานบาท เมื่อปรากฏตามคำฟองวาโจทกเปนเจาหนี้จำนองมิไดเปนผูตองหามมิใหบังคับ
การชำระหนี้เอาแกทรัพยสินของลูกหนี้เกินกวาตัวทรัพยที่เปนหลักประกัน และโจทกไดตีราคา
ทรัพยจำนองซึ่งเปนหลักประกันมาในฟองหักกับหนี้ของโจทกโดยละเอียดครบถวนตามเงื่อนไข
การฟองคดีแลว จึงไมจำตองบรรยายฟองถึงการสละหลักประกันตามที่จำเลยทั้งเจ็ดอาง และที่
จำเลยทั้งเจ็ดอุทธรณวา มูลหนี้ตามฟองโจทกไมอาจกำหนดจำนวนไดโดยแนนอนนั้น เห็นวา
หนี้ที่อาจกำหนดจำนวนไดโดยแนนอนนั้น ตองพิจารณาขณะที่มีการฟองคดี เมื่อหนี้ตามฟอง
เปนหนี้ตามสัญญาที่ทำไวเปนหนังสือระบุจำนวนเงินพรอมอัตราดอกเบี้ยไวแนนอน สามารถ
คำนวณยอดหนถ้ี งึ วนั ฟอ งได หนต้ี ามฟอ งจงึ เปน หนท้ี อ่ี าจกำหนดจำนวนไดโ ดยแนน อนแลว ขณะ
ฟอง การนำมูลหนี้ทั้งเจ็ดฟองเปนคดีแพงอีกสวนหนึ่งของโจทกจนมีคำพิพากษาตอมา ไมมีผล
ใหก ารฟองคดีนี้ของโจทกเปน ฟองทีไ่ มชอบ อทุ ธรณขอ นข้ี องจำเลยท้งั เจด็ ฟงไมข ้ึนเชนกนั

๑๔

ปญหาตองวินิจฉัยประการตอไปวา โจทกใชสิทธิฟองคดีโดยไมสุจริตหรือไม จำเลย
ทง้ั เจด็ อทุ ธรณว า โจทกไ มน ำเงนิ ฝากในบญั ชเี ลขท่ี ๑๕๐-๓-๐๙๒๘๗-๔ หรอื บญั ชอี น่ื ทจ่ี ำเลยท่ี ๑
เปดไวกับโจทกไปหักชำระหนี้แตตน กลับปลอยใหหนี้เพิ่มมากขึ้นโดยมีเจตนาใหจำเลยทั้งเจ็ด
ตอ งรบั ผดิ ในดอกเบย้ี และเบย้ี ปรบั ทส่ี งู ขน้ึ เปน การใชส ทิ ธทิ ท่ี ำใหเ กดิ ความเสยี หายแกจ ำเลยทง้ั เจด็
เหน็ วา ตามสญั ญาเบกิ เงนิ เกนิ บญั ชี จำเลยท่ี ๑ ทำสญั ญาขอเบกิ เงนิ เกนิ บญั ชโี ดยใชบ ญั ชกี ระแส
รายวัน เลขที่ ๑๕๐-๓-๐๙๒๘๗-๔ เบิกจายเงินออกไปตามสัญญาบัญชีดังกลาวจึงเปนเพียงใช
ในการเดนิ สะพดั บญั ชกี บั โจทกเ ทา นน้ั เมอ่ื ปรากฏวา ภายหลงั หกั ทอนบญั ชแี ลว จำเลยท่ี ๑ เปน
หนี้เบิกเงินเกินบัญชีโจทกอยู ๒๑,๙๒๘,๑๖๗.๓๓ บาท โดยไดความตามบันทึกถอยคำยืนยัน
ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ ของนางสาวชนนิ ทร พยานโจทกว า โจทกไ ดโ อนภาระหนด้ี งั กลา วไปตง้ั
เปนบัญชีเพื่อติดตามหนี้ (Past Due) แทน ทำใหบัญชีกระแสรายวันดังกลาวมียอดเปนศูนย
จงึ ไมใ ชม เี งนิ ไปหกั ชำระหน้ี สว นบญั ชอี น่ื ทอ่ี า งนน้ั ไมป รากฏวา มจี รงิ หรอื ไม กรณไี มเ ปน เชน ทจ่ี ำเลย
ทง้ั เจด็ อา ง ฟง ไมไ ดว า โจทกม เี จตนาทำใหจ ำเลยทง้ั เจด็ เสยี หาย อนั ถอื วา เปน การใชส ทิ ธฟิ อ งคดี
โดยไมสุจรติ

ปญหาตองวินิจฉัยประการสุดทายวา จำเลยทั้งเจ็ดมีหนี้สินลนพนตัวหรือไม จำเลย
ทั้งเจ็ดอุทธรณขอนี้แตเพียงวา หนี้ระงับแลวตามคำพิพากษาคดีแพงและจำเลยทั้งเจ็ดแตละคน
มีทรัพยสินมากกวาหนี้สินที่โจทกฟอง ซึ่งศาลไดวินิจฉัยไวขางตนแลววาหนี้ตามฟองไมระงับ
สว นทว่ี า จำเลยทง้ั เจด็ มที รพั ยส นิ มากกวา หนส้ี นิ ทฟ่ี อ ง กเ็ ปน เพยี งขอ อา งลอย ๆ จำเลยทง้ั เจด็ ไมเ คย
นำสืบใหปรากฏในชั้นพิจารณา เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา กอนฟองคดีโจทกมีหนังสือทวงถามให
ชำระหนี้แลวสองครั้ง ซึ่งมีระยะหางกันไมนอยกวาสามสิบวัน โดยไดสงไปยังที่อยูตามภูมิลำเนา
ของจำเลยทง้ั เจด็ และถอื วา จำเลยทง้ั เจด็ ไดร บั แลว แตไ มช ำระหนแ้ี กโ จทก จงึ ตอ งดว ยขอ สนั นษิ ฐาน
วา เปน ผมู หี นส้ี นิ ลน พน ตวั ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั เจด็ เดด็ ขาดนน้ั
ศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษเห็นพองดว ย อทุ ธรณของจำเลยทั้งเจด็ ฟงไมข ึน้

พิพากษายนื คาฤชาธรรมเนียมในชนั้ อทุ ธรณใ หเปน พับ.

(โชคชยั รุจนิ ินนาท - วิเชียร วชริ ประทปี - องอาจ งามมศี ร)ี

ภารดี เพ็ญเจริญ - ยอ
อดิศักด์ิ เทียนกรมิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงทส่ี ุด

๑๕

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๖๒๗/๒๕๖๒ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด

(มหาชน) โจทก

นายสุรยิ ะ เคนบวั บาน จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐ (๒)

เมื่อโจทกบรรยายฟองวาโจทกมิไดเปนผูตองหามมิใหบังคับชำระหนี้เอาแก
ทรพั ยส นิ ของจำเลยเกนิ กวา ตวั ทรพั ยท เ่ี ปน หลกั ประกนั และโจทกข อตรี าคาหลกั ประกนั
ตามราคาประเมินของคณะกรรมการกำหนดราคาทรัพยเปนเงิน ๓,๙๑๓,๒๐๐ บาท
เมอ่ื หักกับหนข้ี องจำเลยซงึ่ เปนบคุ คลธรรมดาแลวเงนิ ยงั ขาดอยไู มน อ ยกวา หนึง่ ลานบาท
อันเปนการบรรยายฟองตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดแลว คำฟองของโจทกจึงชอบดวย
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐ (๒) สว นราคาหลกั ประกนั ทโ่ี จทกต รี าคามานน้ั
โจทกจ ะอา งองิ มาจากทใ่ี ด โจทกไ มจ ำตอ งบรรยายมาในคำฟอ ง หากแหลง ทม่ี าของราคา
ประเมินหรือราคาประเมินที่โจทกอา งองิ ผดิ พลาดหรือไมชอบจริงตามที่จำเลยอางก็เปน
เพียงเหตุผลโตแยงวาราคาที่โจทกตีมาเปนราคาที่ไมนาเชื่อถือเทานั้น หาไดทำใหการ
บรรยายฟองของโจทกในสวนนี้เสียไปหรือถือวาโจทกไมไดตีราคาหลักประกันมาใน
คำฟอ งไม

______________________________

โจทกฟองขอใหมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาด และพิพากษาใหเปนบุคคล
ลมละลาย

จำเลยใหก ารและแกไขคำใหการ ขอใหย กฟอง
ศาลลมละลายกลางมีคำส่ังใหพิทักษทรัพยข องจำเลยเดด็ ขาดตามพระราชบญั ญตั ิ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ และใหจำเลยใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก โดยใหห ักจาก
กองทรพั ยส นิ ของจำเลย เฉพาะคา ทนายความใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยก ำหนดตามทเ่ี หน็ สมควร
จำเลยอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี าํ นญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั
ฟงยุติไดวา จำเลยเปนหนี้โจทกตามคำพิพากษาของศาลแพงธนบุรี คดีหมายเลขแดงที่
ผบ.๑๖๘๔/๒๕๕๕ จำเลยไมช ำระหนต้ี ามคำพพิ ากษา โจทกน ำเจา พนกั งานบงั คบั คดยี ดึ ทด่ี นิ โฉนด
เลขท่ี ๔๔๙๒๑ ตำบลคอกกระบอื อำเภอเมอื งสมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร ออกขายทอดตลาด

๑๖

หลังจากขายทอดตลาดที่ดินดังกลาว จำเลยมีหนี้คางชำระโจทกคิดถึงวันฟองลมละลาย
๑๓,๒๐๔,๗๗๙.๑๐ บาท ที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๕๑๕๘๕ ตำบลทาขาม อำเภอบางขุนเทียน
กรุงเทพมหานคร พรอมสิ่งปลูกสรางซึ่งเปนหลักประกันของโจทกอีกแปลงหนึ่งถูกเจาพนักงาน
บังคับคดียึดไวตามหมายบังคับคดีในคดีของศาลแพงธนบุรี หมายเลขแดงที่ ๕๖๓/๒๕๕๔
คณะกรรมการกำหนดราคาทรพั ยประเมนิ ราคาหลักประกันเปน เงิน ๓,๙๑๓,๒๐๐ บาท

คดีมปี ญหาทีต่ อ งวินจิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยประการแรกวา คำฟอ งของโจทกชอบ
ดว ยพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐ (๒) และโจทกม อี ำนาจฟอ งหรอื ไมเ หน็ วา
โจทกเปนเจาหนี้มีประกันของจำเลย ซึ่งพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐
กำหนดหลักเกณฑการฟองคดีลมละลายของเจาหนี้มีประกันไววา ภายใตบทบัญญัติมาตรา ๙
เจาหนี้มีประกันจะฟองลูกหนี้ใหลมละลายไดตอเมื่อมิไดเปนผูตองหามมิใหบังคับการชำระหนี้
เอาแกทรัพยสินของลูกหนี้เกินกวาตัวทรัพยที่เปนหลักประกัน และกลาวในฟองวาถาลูกหนี้
ลมละลายแลวจะยอมสละหลักประกันเพื่อประโยชนแกเจาหนี้ทั้งหลาย หรือตีราคาหลักประกัน
มาในฟองซึ่งเมื่อหักกับจำนวนหนี้ของตนแลวเงินยังขาดอยูสำหรับลูกหนี้ซึ่งเปนบุคคลธรรมดา
เปน จำนวนไมน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาทหรอื ลกู หนซ้ี ง่ึ เปน นติ บิ คุ คลเปน จำนวนไมน อ ยกวา สองลา นบาท
เมื่อโจทกบรรยายฟองวาโจทกมิไดเปนผูตองหามมิใหบังคับชำระหนี้เอาแกทรัพยสินของจำเลย
เกินกวาตัวทรัพยที่เปนหลักประกัน และโจทกขอตีราคาหลักประกันตามราคาประเมินของ
คณะกรรมการกำหนดราคาทรัพยเปนเงิน ๓,๙๑๓,๒๐๐ บาท เมื่อหักกับหนี้ของจำเลยซึ่งเปน
บุคคลธรรมดาแลวเงินยังขาดอยูไมนอยกวาหนึ่งลานบาท อันเปนการบรรยายฟองตามเงื่อนไข
ที่กฎหมายกำหนดแลว คำฟองของโจทกจึงชอบดวยพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๐ (๒) สว นราคาหลกั ประกนั ทโ่ี จทกต รี าคามานน้ั โจทกจ ะอา งองิ มาจากทใ่ี ด โจทกไ มจ ำ
ตองบรรยายมาในคำฟอง หากแหลงที่มาของราคาประเมินหรือราคาประเมินที่โจทกอางอิง
ผิดพลาดหรือไมช อบจรงิ ตามท่ีจำเลยอางก็เปน เพียงเหตุผลโตแยงวา ราคาที่โจทกตีมาเปนราคา
ทไี่ มน า เชือ่ ถือเทานั้นหาไดทำใหการบรรยายฟองของโจทกใ นสว นนีเ้ สียไปหรอื ถือวา โจทกไ มไ ด
ตรี าคาหลักประกนั มาในคำฟอ งไม สำหรบั ปญหาวา ทรัพยห ลักประกันมีราคาเพียงใดนนั้ ปรากฏ
วาโจทกกลาวในฟองวาหลักประกันมีราคา ๓,๙๑๓,๒๐๐ บาท อันเปนราคาประเมินของ
คณะกรรมการกำหนดราคาทรัพย ซึ่งตามสำเนาบันทึกขอความปรากฏตามสำเนารายงานการ
ประชุมคณะกรรมการกำหนดราคาทรัพยวาคณะกรรมการดังกลาวนอกจากเจาพนักงานของ
กรมบงั คบั คดแี ลว ยงั มผี แู ทนสภาทนายความ ผแู ทนสมาคมผปู ระเมนิ คา ทรพั ยส นิ แหง ประเทศไทย
และผูแทนกรมที่ดินเขารวมประชุม ซึ่งสองหนวยงานหลังเปนหนวยงานที่มีขอมูลเกี่ยวกับ

๑๗

การประเมินราคาอสังหาริมทรัพยโดยตรง จึงนาเชื่อวาราคาประเมินของคณะกรรมการกำหนด
ราคาทรัพยถูกตองตามหลักเกณฑการประเมินอสังหาริมทรัพย แมจำเลยนำสืบวาภริยาจำเลย
ไดยื่นคำรองขอเพิกถอนราคาประเมินของคณะกรรมการกำหนดราคาทรัพยในคดีแพง แตเมื่อ
คดีดังกลาวศาลยังมิไดมีคำสั่งเพิกถอนการประเมินราคาของคณะกรรมการกำหนดราคาทรัพย
กรณยี งั ฟง ไมไ ดว า ราคาประเมนิ ของคณะกรรมการกำหนดราคาทรพั ยไ มถ กู ตอ ง ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณ
วาราคาประเมินของคณะกรรมการกำหนดราคาทรัพยต่ำเกินสมควร หากโจทกอางอิงราคา
ทองตลาดยอมมหี นไ้ี มถ งึ หนึง่ ลานบาท เห็นวา ในคดลี ม ละลายศาลมีอำนาจตรวจสอบการตีราคา
หลักประกันของโจทก เมื่อจำเลยเห็นวาราคาหลักประกันที่โจทกตีมาเปนราคาที่ไมเหมาะสม
และตำ่ เกนิ สมควร จำเลยกช็ อบทจ่ี ะนำพยานหลกั ฐานเกย่ี วกบั ราคาหลกั ประกนั มาแสดงตอ ศาล
การทจ่ี ำเลยและภรยิ าจำเลยเบกิ ความลอย ๆ วา หลกั ประกนั ขายไดร าคาไมน อ ยกวา หกลา นบาท
โดยจำเลยไมไ ดนำพยานหลกั ฐานมาสบื แสดงใหเหน็ วา ราคาดังกลาวมีหลกั เกณฑว ธิ กี ารประเมนิ
และความนา เชอ่ื ถอื อยา งไร ใชว ธิ เี ปรยี บเทยี บอา งองิ ราคาจากหนว ยงานใด จงึ ไมม นี ำ้ หนกั รบั ฟง
หกั ลา งพยานหลกั ฐานของโจทกแ ละรบั ฟง ไดว า หลกั ประกนั มรี าคา ๓,๙๑๓,๒๐๐ บาท ตามทโ่ี จทก
นำสบื เมอ่ื นำราคาหลกั ประกนั ดงั กลา วมาหกั กบั หนท้ี จ่ี ำเลยคา งชำระจำนวน ๑๓,๒๐๔,๗๗๙.๑๐ บาท
แลว จำเลยยงั คงเปน หนโ้ี จทกไ มน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาท โจทกจ งึ มอี ำนาจนำมลู หนต้ี ามคำพพิ ากษา
มาฟอ งจำเลยเปน คดลี มละลายได ทีศ่ าลลมละลายกลางวนิ จิ ฉัยวา โจทกตรี าคาหลักประกนั ตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐ (๒) และโจทกม อี ำนาจฟอ งน้นั ศาลอุทธรณ
คดีชำนญั พเิ ศษเห็นพองดวย อทุ ธรณของจำเลยขอ นีฟ้ ง ไมข ึ้น

ปญ หาท่ีตอ งวินจิ ฉัยตอ ไปมวี าจำเลยมหี น้ีสนิ ลน พน ตัวและมีเหตอุ ่ืนที่ไมค วรใหจ ำเลย
ลมละลายหรือไมขอเท็จจริงปรากฏวาจำเลยถูกยึดทรัพยตามหมายบังคับคดี กรณีจึงตองดวย
ขอสันนิษฐาน ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕) วา จำเลยมีหนี้สินลน
พนตัว จำเลยมีหนาที่นำพยานหลักฐานมาสืบหักลางขอสันนิษฐานดังกลาว จำเลยใหการและ
นำสบื ไดค วามวา นอกจากทรพั ยส นิ ทเี่ ปนหลกั ประกนั แลว จำเลยยงั เปน เจา ของทดี่ นิ โฉนดเลขที่
๑๒๒๙๔๔, ๑๒๒๙๔๕, ๑๒๒๙๖๓ และ ๑๒๒๙๖๔ ตำบลทาขาม อำเภอบางขุนเทียน
กรุงเทพมหานคร พรอมสิ่งปลูกสรางราคาประมาณสิบสามลานบาท ซึ่งติดภาระจำนองอยูกับ
ธนาคารกสกิ รไทย จำกดั (มหาชน) ทรพั ยส นิ ดงั กลา ว และหลกั ประกนั ทถ่ี กู ยดึ มมี ลู คา สงู เพยี งพอ
ชำระหนี้โจทก โดยจำเลยไมนำสืบวาที่ดินมีภาระจำนองเทาใด แตไดความจากนางสาวฟาติน
พยานโจทกเบิกความประกอบเอกสารหมาย จ.๒๐ วา ธนาคารผูรับจำนองแจงตอเจาพนักงาน
บังคับคดีวามียอดหนี้คางชำระ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๕ จำนวน ๗,๗๑๖,๗๗๖.๐๑ บาท

๑๘

ดังนั้น แมฟงวาทรัพยสินดังกลาวมีราคาตามที่จำเลยอาง แตเมื่อหักชำระหนี้จำนองแลวราคา
ทรัพยที่เหลือรวมกับราคาหลักประกันจำนวน ๓,๙๑๓,๒๐๐ บาท ตามที่วินิจฉัยไวขางตนแลว
ยังไมเพียงพอหักชำระหนี้ธนาคารผูรับจำนองและชำระหนี้โจทกไดทั้งหมด พยานหลักฐานของ
จำเลยจึงรับฟงไมไดวาจำเลยมีทรัพยสินเพียงพอชำระหนี้ทั้งหมดใหแกโจทกและไมมีน้ำหนัก
รับฟงหักลางขอสันนิษฐานของกฎหมายได ขอเท็จจริงฟงไดวาจำเลยเปนผูมีหนี้สินลนพนตัว
สวนที่จำเลยอางวาจำเลยประกอบการคาสายรัดพลาสติกมีรายไดเดือนละ ๑๖๐,๐๐๐ บาท
สามารถชำระหนี้ได จำเลยพยายามขวนขวยชำระหนี้ใหแกโจทกเรื่อยมา จึงมีเหตุอื่นไมควรให
จำเลยลมละลายนั้น เห็นวา จำเลยกลาวอางลอย ๆ มิไดนำหลักฐานเกี่ยวกับรายไดดังกลาว
มาแสดง จึงรับฟงไมไดวาจำเลยมีรายไดตามที่อาง หลังจากศาลมีคำพิพากษาแลวจำเลยมิได
ชำระหนจ้ี นกระทง่ั โจทกด ำเนนิ การบงั คบั คดี ทอ่ี า งวา จำเลยสามารถขวนขวายหาเงนิ มาชำระหน้ี
แกโจทก ก็ไมปรากฏวาจำเลยไดนำเงินมาชำระหนี้ใหแกโจทกแตอยางใด กรณีจึงไมมีเหตุอื่น
ที่ไมควรใหจำเลยลมละลาย ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดมานั้น
ชอบแลว ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพิเศษเหน็ พอ งดวย อุทธรณข องจำเลยฟงไมข นึ้

พิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมในชน้ั น้ใี หเ ปนพับ.

(สิรพิ ร เปรมาสวสั ด์ิ สรุ มณี - สถาพร วิสาพรหม - เกยี รตคิ ณุ แมนเลขา)

สรายทุ ธ เตชะวฒุ พิ นั ธุ - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทสี่ ุด

๑๙

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๖๔๔๖/๒๕๖๒ บริษัทโชวะ พรีซิชน่ั

(ประชมุ ใหญ) อนิ ดัสตรี จำกัด โจทก

นายโยชินาริ โอกาโมโตะ จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๗๐ วรรคสอง, ๑๙๓/๑๔ (๑), ๓๑๔ วรรคสอง, ๘๒๓ วรรคหน่ึง, ๑๐๑๕, ๑๑๖๗
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙

หนังสือสัญญาที่จำเลยทำไวแกโจทกเปนภาษาญี่ปุนนั้น มีขอความเปนคำแปล
ภาษาไทยวา จำเลยจะเปนผชู ำระเงนิ คนื โจทก ๑๓,๒๑๓,๕๓๑ เยน แสดงใหเ หน็ ชดั เจนวา
จำเลยทำหนังสือสัญญาดังกลาวเปนการสวนตัว ไมไดทำในฐานะกรรมการผูมีอำนาจ
กระทำการแทนบริษัท ช. การกระทำของจำเลยจึงไมผูกพันบริษัท และไมใชการกระทำ
ที่บริษัทจะใหสัตยาบันไดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๒๓ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๑๑๖๗ ทั้งไมใช
การทบ่ี รษิ ัทรบั สภาพหนต้ี อโจทกต ามสทิ ธิเรยี กรอ งโดยทำเปนหนังสือรับสภาพหนี้ใหต าม
มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) แตก ารที่จำเลยยอมผูกพันเขาชำระหนดี้ ังกลา วแทนบริษัท ช. นนั้
เปน สัญญาประเภทหนึ่ง แมจำเลยเปนกรรมการบริษัทไมตอ งรบั ผดิ ตอ บุคคลภายนอก
เปน การสว นตวั ตามบทบญั ญตั วิ า ดว ยตวั แทนซง่ึ นำมาใชบ งั คบั ตามมาตรา ๑๑๖๗ และ
บริษัทนั้นจัดวาเปนนิติบุคคลตางหากจากผูถือหุนทั้งหลายตามมาตรา ๑๐๑๕ จำเลยจึง
ไมใ ชผ มู สี ว นไดเ สยี ในการชำระหนข้ี องบรษิ ทั กต็ าม แตเ มอ่ื จำเลยมฐี านะเปน ผแู ทนแสดง
ความประสงคข องบรษิ ทั ตามมาตรา ๗๐ วรรคสอง จงึ ถอื ไดว า บรษิ ทั ช. รบั รแู ละยนิ ยอม
ใหจำเลยเขาชำระหนี้ตามหนังสือสัญญาดังกลาวแลว การที่จำเลยทำหนังสือสัญญาจะ
เขา ชำระหนแ้ี กโ จทกจงึ ไมเ ปนการขนื ใจลูกหน้ีตามมาตรา ๓๑๔ วรรคสอง

การทจ่ี ำเลยเรยี กประชมุ วสิ ามญั ผถู อื หนุ อนั เปน เวลาภายหลงั โจทกฟ อ งคดนี แ้ี ลว
ซง่ึ บริษัท ช. มผี ถู ือหุนเพียง ๔ คน ในการประชมุ วิสามญั ผถู ือหุน มีเพยี งจำเลยกบั นาย ส.
เพียง ๒ คน เขารว มประชมุ แลวลงมติไมย ินยอมใหบ ุคคลใดเขา ชำระหนี้แทนบริษทั จำเลย
ยอมทราบดีวาจะทำใหโจทกไ ดร ับความเสียหาย การใชส ทิ ธิของจำเลยซึ่งมแี ตจ ะใหเ กดิ
ความเสียหายแกโจทกนั้น เปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย จึงเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต
จำเลยจะอางสทิ ธอิ นั มิชอบดวยกฎหมายน้ีมาตอ สเู พ่ือใหห ลุดพน จากความรบั ผิดหาไดไ ม
และการท่ีโจทกประสงคจะดำเนินคดีกบั ผูใ ดเปน สทิ ธิของโจทกท่ีกระทำไดตามที่กฎหมาย
ใหอำนาจไว ไมจำตองฟองรองบริษัท ช. เปนคดีแพงหรือคดีลมละลายกอน ทั้งโจทกมี

๒๐

อำนาจฟองจำเลยใหลมละลายไดหากเขาเงื่อนไขตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙ โดยไมจ ำตองฟอ งจำเลยเปน คดีแพง กอ น

_____________________________

โจทกฟองและแกไขคำฟองขอใหมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยของจำเลยเด็ดขาดและพิพากษา
ใหเปนบคุ คลลมละลาย

จำเลยย่ืนคำใหก ารขอใหยกฟอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาด ตามพระราชบัญญัติ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ และใหจ ำเลยใชคาฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก โดยใหห ักจาก
กองทรพั ยส นิ ของจำเลย เฉพาะคา ทนายความใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยก ำหนดตามทเ่ี หน็ สมควร
จำเลยอทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ในเบอ้ื งตน ทค่ี คู วาม
มไิ ดโ ตเ ถยี งกนั ในชน้ั นร้ี บั ฟง ไดว า โจทกเ ปน นติ บิ คุ คลตามกฎหมายของประเทศญป่ี นุ มวี ตั ถปุ ระสงค
ประกอบธุรกิจชิ้นสวนอะไหล ตามหนังสือรับรอง สวนจำเลยเปนกรรมการบริษัทโชวะ พรีซิชั่น
(ประเทศไทย) จำกัด มีอำนาจลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทกระทำการผูกพัน
บรษิ ทั ได ทง้ั เปน ผถู อื หนุ ในบรษิ ทั ดงั กลา วดว ยตามหนงั สอื รบั รองและสำเนาบญั ชรี ายชอ่ื ผถู อื หนุ
เมอ่ื วนั ท่ี ๗ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จำเลยทำหนงั สอื สญั ญาไวแ กโ จทกม ใี จความวา จำเลยรบั วา มหี นค้ี า งชำระ
โจทกเ ปน เงนิ คา งจา ยคา สนิ คา และตามสญั ญากยู มื เงนิ ของบรษิ ทั โชวะ พรซี ชิ น่ั (ประเทศไทย) จำกดั
รวมเปนเงิน ๑๓,๒๑๓,๕๓๑ เยน คำนวณตามอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่โจทกฟองคดีนี้ เปนเงิน
๓,๘๖๔,๙๕๗.๘๒ บาท จำเลยจะคนื เงนิ ดงั กลา วแกโ จทก สว นวธิ กี ารชำระเงนิ คนื จำเลยจะนำเสนอ
ใหโจทกพอใจ โดยจำเลยลงลายมือชื่อและพิมพลายนิ้วมือไวในหนังสือดังกลาว มีปญหาที่ตอง
วินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยวา จำเลยตองรับผิดชำระเงินตามที่ทำหนังสือสัญญาไวแกโจทก
หรือไม ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษโดยมติที่ประชุมใหญเห็นวาหนังสือสัญญาที่จำเลยทำไว
แกโจทกเปนภาษาญี่ปุนนั้นมีขอความเปนคำแปลภาษาไทยวาจำเลยจะเปนผูชำระเงินคืนโจทก
๑๓,๒๑๓,๕๓๑ เยน แสดงใหเ หน็ ชดั เจนวา จำเลยทำหนงั สอื สญั ญาดงั กลา วเปน การสว นตวั สว น
ทม่ี ขี อ ความระบวุ า เงนิ จำนวนดงั กลา วเปน เงนิ คา งจา ยคา สนิ คา กบั เงนิ ตามสญั ญากยู มื เงนิ ทบ่ี รษิ ทั
โชวะ พรซี ชิ น่ั (ประเทศไทย) จำกดั คา งชำระตอ โจทกน น้ั กเ็ ปน เพยี งการระบทุ ม่ี าของจำนวนเงนิ
ทจ่ี ำเลยจะชำระคนื แกโ จทกเ อาไวด ว ยเทา นน้ั เมอ่ื จำเลยไมไ ดท ำหนงั สอื สญั ญาในฐานะกรรมการ
ผูมีอำนาจกระทำการแทนบริษัท การกระทำของจำเลยจึงไมผูกพันบริษัท และไมใชการกระทำ

๒๑

ที่บริษัทจะใหสัตยาบันไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘๒๓ วรรคหนึ่ง และ
มาตรา ๑๑๖๗ ทง้ั ไมใ ชก ารทบ่ี รษิ ทั รบั สภาพหนต้ี อ โจทกต ามสทิ ธเิ รยี กรอ งโดยทำเปน หนงั สอื รบั
สภาพหนี้ใหตามมาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) อยางไรก็ดี การที่จำเลยยอมผูกพันเขาชำระหนี้ดังกลาว
แทนบรษิ ทั นน้ั เปน สญั ญาประเภทหนง่ึ แมจ ำเลยเปน กรรมการบรษิ ทั ไมต อ งรบั ผดิ ตอ บคุ คลภายนอก
เปน การสว นตวั ตามบทบญั ญตั วิ า ดว ยตวั แทนซง่ึ นำมาใชบ งั คบั ตามมาตรา ๑๑๖๗ และบรษิ ทั นน้ั
จัดวาเปนนิติบุคคลตางหากจากผูถือหุนทั้งหลายตามมาตรา ๑๐๑๕ จำเลยจึงไมใชผูมีสวน
ไดเสียในการชำระหนี้ของบริษัทก็ตาม แตเมื่อจำเลยมีฐานะเปนผูแทนแสดงความประสงคของ
บรษิ ทั ตามมาตรา ๗๐ วรรคสอง จงึ ถอื ไดว า บรษิ ทั รบั รแู ละยนิ ยอมใหจ ำเลยเขา ชำระหนต้ี ามหนงั สอื
สัญญาดังกลาวแลว การที่จำเลยทำหนังสือสัญญาจะเขาชำระหนี้แกโจทกจึงไมเปนการขืนใจ
ลกู หนต้ี ามมาตรา ๓๑๔ วรรคสอง สว นทจ่ี ำเลยนำสบื วา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๑ ทป่ี ระชมุ
วิสามัญผูถือหุนของบริษัทมีมติไมยินยอมใหบุคคลอื่นชำระหนี้แทนบริษัทตามสำเนารายงาน
การประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ นั้น ปรากฏวาจำเลยเรียกประชุมวิสามัญผูถือหุน
อันเปนเวลาภายหลังโจทกฟองคดีนี้แลวซึ่งบริษัทมีผูถือหุนเพียง ๔ คน ตามสำเนาบัญชีรายชื่อ
ผูถือหุน ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนมีผูถือหุนเพียง ๒ คน เขารวมประชุม คือ จำเลยกับ
นายสฤษดิ์ แลวที่ประชุมลงมติไมยินยอมใหบุคคลใดเขาชำระหนี้แทนบริษัท การเรียกประชุม
ผูถือหุนอันเปนเวลาภายหลังจากที่โจทกฟองขอใหจำเลยลมละลายแลวดังกลาว จำเลยยอม
ทราบดวี า จะทำใหโ จทกไ ดร บั ความเสยี หาย การใชส ทิ ธขิ องจำเลยซง่ึ มแี ตจ ะใหเ กดิ ความเสยี หาย
แกโจทกนั้น เปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย จึงเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต จำเลยจะอางสิทธิ
อันมิชอบดวยกฎหมายนี้มาตอสูเพื่อใหหลุดพนจากความรับผิดหาไดไม จำเลยจึงตองผูกพัน
รบั ผดิ ชำระหนแ้ี กโ จทกต ามหนงั สอื สญั ญา สว นทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า โจทกไ มเ คยฟอ งรอ งบรษิ ทั โชวะ
พรซี ชิ น่ั (ประเทศไทย) จำกดั เปน คดแี พง และคดลี ม ละลาย แตก ลบั ฟอ งจำเลยเปน คดลี ม ละลาย
โดยไมฟองเปนคดีแพงกอน ถือเปนการใชสิทธิฟองจำเลยโดยไมสุจริตนั้น เห็นวา การที่โจทก
ประสงคจ ะดำเนนิ คดกี บั ผใู ดเปน สทิ ธขิ องโจทกท ก่ี ระทำไดต ามทก่ี ฎหมายใหอ ำนาจไว ไมจ ำตอ ง
ฟองรองบริษัทดังกลาวเปนคดีแพงหรือคดีลมละลายกอนแตอยางใด และโจทกมีอำนาจฟอง
จำเลยใหลมละลายไดหากเขาเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙
โดยไมจ ำตอ งฟอ งจำเลยเปน คดแี พง กอ น ไมเ ปน การใชส ทิ ธโิ ดยไมส จุ รติ แตป ระการใด เมอ่ื จำเลย
มีหนี้สินลนพนตัวและเปนหนี้โจทกเปนจำนวนแนนอนไมนอยกวาหนึ่งลานบาท และกรณีไมมี
เหตอุ น่ื ทไ่ี มค วรใหจ ำเลยลม ละลาย ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาด
มานน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ย อทุ ธรณข องจำเลยลว นฟง ไมข น้ึ กรณไี มจ ำตอ ง

๒๒

วินิจฉัยปญหาตามคำแกอุทธรณของโจทกที่วา จำเลยทำหลักฐานการประชุมวิสามัญผูถือหุน
ภายหลังโจทกฟองคดีนี้แลว เปนการแปลงหนี้ใหมโดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้ เมื่อไมไดรับความยินยอม
จากโจทกจ งึ ไมชอบดว ยกฎหมายหรือไม เพราะไมท ำใหผ ลแหง คดเี ปลี่ยนแปลงไป

พิพากษายืน คา ฤชาธรรมเนยี มในช้ันอุทธรณใ หเปนพับ.
(ปฏกิ รณ คงพิพิธ - อดิศักดิ์ ศรธนะรตั น - พนู ศกั ด์ิ เขม็ แซมเกษ)

นราธิป บุญญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วิศษิ ฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงท่สี ุด

๒๓

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษที่ ๑๕๙๘/๒๕๖๓ นางสาวอรทมุ กมุทพร โจทก

(ประชุมใหญ) นางสาวจารุวรรณ

ตนั บรบิ ูรณ กบั พวก จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘

พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาลลม ละลายและวธิ พี ิจารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕) (๙)

มูลหนี้ที่โจทกนำมาฟองขอใหจำเลยลมละลายในคดีนี้และคดีหมายเลขแดงที่
๒๗๔๐/๒๕๖๒ ของศาลลม ละลายกลาง เปน มลู หนต้ี ามคำพพิ ากษาตามยอมของศาลแพง
คดเี ดยี วกนั โดยคดมี ปี ระเดน็ ทต่ี อ งพจิ ารณาอยา งเดยี วกนั วา จำเลยทง้ั สองมหี นส้ี นิ ลน พน ตวั
หรือไม แมเหตุในการพิจารณาวาจำเลยทั้งสองมีหนี้สินลนพนตัว ในคดีหมายเลขแดงที่
๒๗๔๐/๒๕๖๒ โจทกก ลา วอา งขอ สนั นษิ ฐานตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕)
แตโจทกไมนำสืบใหเห็นถึงพฤติการณอันตองดวยขอสันนิษฐานของจำเลยทั้งสอง
ดังกลาว เปนเหตุใหศาลลมละลายกลางรับฟงไมไดวาจำเลยทั้งสองมีหนี้สินลนพนตัว
และพิพากษายกฟอง สวนเหตุที่อางวาจำเลยทั้งสองมีหนี้สินลนพนตัวในคดีนี้ โจทก
กลาวอางขอสันนิษฐานตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๙) วาโจทก
มหี นงั สอื บอกกลา วทวงถามใหจ ำเลยทง้ั สองชำระหนไ้ี มน อ ยกวา สองครง้ั ซง่ึ มรี ะยะเวลา
หางกันไมนอยกวาสามสิบวันและจำเลยทั้งสองไมชำระหนี้ แตการมีหนังสือบอกกลาว
ทวงถามสองครง้ั นน้ั เปน การดำเนนิ การภายหลงั จากศาลลม ละลายกลางพพิ ากษายกฟอ ง
ในคดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒ แลว การกระทำของโจทกดังกลาวก็เพื่อใหโจทก
สามารถกลาวอางและนำสืบถึงพฤติการณของจำเลยทั้งสองอันตองดวยขอสันนิษฐาน
ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๙) ในคดีนี้ ทั้งที่โจทกสามารถดำเนินการ
บอกกลาวทวงถามใหจำเลยทั้งสองชำระหนี้ไมนอยกวาสองครั้ง ซึ่งมีระยะเวลาหางกัน
ไมนอยกวาสามสิบวันไดตั้งแตกอนฟองคดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒ แตโจทกมิได
ปฏิบัติ เหตุที่โจทกกลาวอางในคดีนี้จึงเปนเรื่องที่โจทกควรกระทำไดอยูแลวในคดีกอน
มใิ ชเ หตทุ เ่ี กดิ ขน้ึ ใหมอ นั เกดิ จากการกระทำของจำเลยทง้ั สอง ฟอ งของโจทกค ดนี จ้ี งึ เปน
การรื้อรองฟองกันอีกในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับเหตุในคดี
หมายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๘ ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาล

๒๔

ลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ฟองโจทกคดีนี้จึงเปน
ฟอ งซำ้ กับคดหี มายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒

______________________________

โจทกฟ อ งขอใหศ าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สองเดด็ ขาดและพพิ ากษาใหเ ปน
บคุ คลลม ละลาย

จำเลยทัง้ สองใหการขอใหย กฟอง
ศาลลมละลายกลางวินิจฉยั ชี้ขาดเบ้อื งตน ในปญ หาขอ กฎหมายตามคำรองของจำเลย
ทง้ั สองวา ฟอ งโจทกเ ปน ฟอ งซำ้ กบั คดหี มายเลขแดงท่ี ๒๗๔๐/๒๕๖๒ ของศาลลม ละลายกลาง
พิพากษายกฟอ ง คา ฤชาธรรมเนยี มใหเปน พบั
โจทกอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทโ่ี จทกแ ละจำเลย
ทง้ั สองไมโ ตเ ถยี งกนั ในชน้ั นฟ้ี ง เปน ยตุ ไิ ดว า เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ เมษายน ๒๕๖๑ โจทกฟ อ งตอ ศาลแพง
บงั คับจำเลยทั้งสองใหรวมกันชำระหน้ีกยู มื เงินพรอมดอกเบยี้ ตอ มาวนั ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑
โจทกแ ละจำเลยทง้ั สองทำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความและศาลแพง มคี ำพพิ ากษาตามยอม
ใหจำเลยทั้งสองรวมกันชำระหนี้โจทกจำนวน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท ผอนชำระเปนงวดทุกวันที่ ๑
ของเดอื น งวดละ ๒๐,๐๐๐ บาท เรม่ิ ชำระงวดแรกวนั ท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ตกลงชำระใหเ สรจ็ สน้ิ
ภายในวนั ท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๖๒ หากผดิ นดั ยอมใหโ จทกบ งั คบั คดตี ามยอดเงนิ กยู มื ๓,๕๐๐,๐๐๐ บาท
พรอ มดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๑๕ ตอ ป คดีถึงทีส่ ดุ แลว เมอ่ื ครบกำหนดชำระ จำเลยท้งั สอง
เพิกเฉย โจทกขอใหศาลแพงออกหมายบังคับคดีเพื่อยึดทรัพยสินของจำเลยทั้งสองชำระหนี้
ตอ มาวนั ที่ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ โจทกฟ อ งขอใหจ ำเลยท้ังสองลม ละลาย โดยอางวาจำเลย
ทั้งสองมิไดชำระหนต้ี ามคำพิพากษาตามยอมคดีหมายเลขแดงท่ี มย.๑๕๙/๒๕๖๑ ของศาลแพง
ศาลแพง ไดม หี มายตง้ั เจา พนกั งานบงั คบั คดเี พอ่ื ยดึ ทรพั ยข องจำเลยทง้ั สองแลว ถอื วา จำเลย
ทั้งสองเปนผูมีหนี้สินลนพนตัว โดยเปนหนี้โจทกไมนอยกวา ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท และเปนหนี้ที่
กำหนดจำนวนไดแ นน อนทถ่ี งึ กำหนดชำระแลว ขอใหศ าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สอง
เดด็ ขาดและพิพากษาใหเปน บคุ คลลมละลาย ศาลลม ละลายกลางมคี ำพพิ ากษายกฟองเมื่อวนั ที่
๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ เปนคดีหมายเลขแดงที่ ล.๒๗๔๐/๒๕๖๒ ของศาลลมละลายกลาง ตอมา
วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๒ โจทกฟองขอใหจำเลยทั้งสองลมละลายเปนคดีนี้โดยอางวาจำเลย
ทั้งสองเปนหนี้โจทกตามคำพิพากษาตามยอมของศาลแพงคดีเดียวกัน กอนฟองคดีนี้โจทกมี

๒๕

หนงั สือทวงถามลงวนั ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ และวันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒ ใหจ ำเลยท้ังสอง
ชำระหนต้ี ามคำพพิ ากษาตามยอม จำเลยทง้ั สองไดร บั หนงั สอื ดงั กลา วแลว แตเ พกิ เฉยไมช ำระหน้ี
ขอใหศาลมีคำสั่งพิทักษท รัพยข องจำเลยทงั้ สองเดด็ ขาด และพพิ ากษาใหเ ปนบุคคลลมละลาย

ปญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกว า ฟอ งโจทกเ ปน ฟอ งซำ้ หรอื ไม ศาลอทุ ธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษโดยมตทิ ป่ี ระชมุ ใหญเ หน็ วา คดหี มายเลขแดงท่ี ๒๗๔๐/๒๕๖๒ ของศาลลม ละลายกลาง
และคดนี โ้ี จทกน ำมลู หนต้ี ามคำพพิ ากษาตามยอมของศาลแพง คดหี มายเลขแดงท่ี มย. ๑๕๙/๒๕๖๑
มาฟองขอใหจำเลยทั้งสองลมละลาย โดยคดีมีประเด็นที่ตองพิจารณาอยางเดียวกันวาจำเลย
ทั้งสองมีหนี้สินลนพนตัวหรือไม ทั้งนี้ แมเหตุในการพิจารณาวาจำเลยทั้งสองมีหนี้สินลนพนตัว
ในคดหี มายเลขแดงท่ี ๒๗๔๐/๒๕๖๒ โจทกก ลา วอา งขอ สนั นษิ ฐานตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕) แตโ จทกไ มน ำสบื ใหเ หน็ ถงึ พฤตกิ ารณอ นั ตอ งดว ยขอ สนั นษิ ฐานของ
จำเลยทง้ั สองดงั กลา ว เปน เหตใุ หศ าลลม ละลายกลางรบั ฟง ไมไ ดว า จำเลยทง้ั สองมหี นส้ี นิ ลน พน ตวั
และพิพากษายกฟอง สวนเหตุที่อางวาจำเลยทั้งสองมีหนี้สินลนพนตัวในคดีนี้ โจทกกลาวอาง
ขอ สนั นษิ ฐานตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๙) วา โจทกม หี นงั สอื บอกกลา ว
ทวงถามใหจ ำเลยทง้ั สองชำระหนไ้ี มน อ ยกวา สองครง้ั ซง่ึ มรี ะยะเวลาหา งกนั ไมน อ ยกวา สามสบิ วนั
และจำเลยทง้ั สองไมช ำระหน้ี แตก ารมหี นงั สอื บอกกลา วทวงถามทง้ั สองครง้ั เมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒
และวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒ นั้น เปนการดำเนินการภายหลังจากศาลลมละลายกลาง
พิพากษายกฟอ งในคดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒ แลว การกระทำของโจทกด ังกลา วกเ็ พอื่
ใหโจทกสามารถกลาวอางและนำสืบถึงพฤติการณของจำเลยทั้งสองอันตองดวยขอสันนิษฐาน
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๙) ในคดนี ท้ี ง้ั ทโ่ี จทกส ามารถดำเนนิ การ
บอกกลา วทวงถามใหจ ำเลยทง้ั สองชำระหนไ้ี มน อ ยกวา สองครง้ั ซง่ึ มรี ะยะเวลาหา งกนั ไมน อ ยกวา
สามสิบวันไดตัง้ แตก อ นฟองคดหี มายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒ แตโจทกม ไิ ดปฏิบัติ เหตุท่โี จทก
กลา วอา งในคดนี จ้ี งึ เปน เรอ่ื งทโ่ี จทกค วรกระทำไดอ ยแู ลว ในคดกี อ น มใิ ชเ หตทุ เ่ี กดิ ขน้ึ ใหมอ นั เกดิ จาก
การกระทำของจำเลยทั้งสอง ฟองของโจทกคดีนี้จึงเปนการรื้อรองฟองกันอีกในประเด็นที่ได
วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันกับเหตุในคดีหมายเลขแดงที่ ๒๗๔๐/๒๕๖๒ ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๘ ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและ
วธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ฟอ งโจทกค ดนี จ้ี งึ เปน ฟอ งซำ้ กบั คดหี มายเลขแดง
ท่ี ๒๗๔๐/๒๕๖๒ ดงั นน้ั ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั วนิ จิ ฉยั ชข้ี าดเบอ้ื งตน ในปญ หาขอ กฎหมาย
และพิพากษายกฟองโจทกจึงชอบแลวศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวย อุทธรณของ
โจทกฟงไมข น้ึ

๒๖

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมในช้นั นใ้ี หเ ปน พบั .

(ชวลิต ยงพาณิชย - สถาพร วิสาพรหม - เกียรตคิ ณุ แมน เลขา)

ความเห็นแยง ในคดหี มายเลขดำที่ ล ๓๔/๒๕๖๓ หมายเลขแดงที่ ๑๕๙๘/๒๕๖๓
กระผมเหน็ วา พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ หาไดม บี ทบญั ญตั บิ งั คบั เจา หน้ี

ใหตองใชสทิ ธิทำหนงั สอื บอกกลา วทวงถามลูกหน้ีใหชำระหนี้ไมนอยกวาสองครงั้ ตามมาตรา ๘ (๙)
กอนฟองคดีลมละลายเฉกเชนคดีแพงอื่นทั่วไปซึ่งจะตองปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณชิ ยมาตรา ๒๐๔ วรรคแรก หรอื กรณเี ลิกสญั ญาตามมาตรา ๓๘๖ ถงึ มาตรา ๓๘๘

กรณีเจาหนี้คดีนี้เพิ่งใชสิทธิมีหนังสือบอกกลาวกอนฟองคดีลมละลายคดีที่สองจึงเปน
สทิ ธิทีเ่ จาหน้ีจะพึงกระทำไดโดยชอบ

การแปลกฎหมายวา กรณมี หี นังสือทวงถามของเจา หนใ้ี นภายหลัง “เปน เรอื่ งที่ควร
กระทำไดอ ยแู ลวในคดกี อน มใิ ชเ หตุทเ่ี กดิ ข้นึ ใหม” นน้ั เหน็ วา การมหี นังสือทวงถามของเจาหนี้
เกดิ ขึ้นภายหลังศาลมีคำพิพากษายกฟองคดแี รกไปแลว จงึ ตองฟงเปน ความจริงวา การทำหนังสือ
ทวงถามครง้ั นเ้ี ปน การกระทำหรอื เหตทุ เ่ี กดิ ขน้ึ ใหมย ง่ิ ไปกวา นน้ั ทง้ั ๆ ทพ่ี ระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๙) มาตราอน่ื ๆ และกฎหมายอน่ื ใดมไิ ดบ ญั ญตั กิ ำหนดเปน ขอ บงั คบั ให
เจาหนี้ตองใชสิทธิตามมาตรา ๘ (๙) กอนอนุมาตรา ๑ ถึง ๘ มิฉะนั้นเจาหนี้จะเสียสิทธิอื่นตาม
กฎหมายในภายหลัง นอกจากจะเปนการขัดตอกฎหมายลมละลายแลว ก็ถือไดวาไมสอดคลอง
กับบทบัญญัติประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๐๔ วรรคสอง ดวย ที่สำคัญเปน
อยางยิ่งยังตองถือเปนการแปลความกฎหมายที่ขัดตอกฎหมายแมคือ บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕ วรรคแรก ที่บัญญัติไวในหมวด ๓ สิทธิ
และเสรภี าพของปวงชนชาวไทย มาตรา ๒๕ วรรคแรก วา “สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย
นอกจากที่บัญญัติคุมครองไวเปนการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแลว การใดมิไดหามหรือจำกัดไวใน
รัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพที่จะกระทำการนั้นได และไดรับ
ความคมุ ครองตามรัฐธรรมนูญ...”

การใชส ทิ ธขิ องเจา หนใ้ี นการมหี นงั สอื ทวงถามภายหลงั จงึ ตอ งตามบทบญั ญตั พิ ระราชบญั ญตั ิ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๙) ซ่งึ บงั คับไดโดยชอบ

(ชวลติ ยงพาณชิ ย)
ผพู พิ ากษาอาวโุ สในศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษ

รตมิ า ชัยสุโรจน - ยอ
วิรัตน วิศษิ ฏวงศกร - ตรวจ

๒๗

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษท่ี ๒๘๐๔/๒๕๖๓ ธนาคารกรงุ ไทย จำกดั

(ประชมุ ใหญ) (มหาชน) โจทก

นางสาวปารดา

หรือภาวิดา ถอื ผล จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๘๕๑

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕)

แมต ามสำเนาสญั ญาประนปี ระนอมยอมความแนบทา ยสำเนาคำพพิ ากษาตามยอม
ไมมีลายมือชื่อจำเลยลงไวก็ตาม แตตามสำเนารายงานกระบวนพิจารณามีขอความ
ระบวุ า คคู วามทง้ั สองฝา ยแถลงรว มกนั วา คดสี ามารถตกลงกนั ไดต ามสญั ญาประนปี ระนอม
ยอมความที่เสนอตอศาลและขอใหศาลพิพากษาตามยอม ศาลจังหวัดเดชอุดมจึง
พพิ ากษาคดแี ละบงั คบั คดตี ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ ซง่ึ จำเลยไดล งลายมอื ชอ่ื
ไวใ นรายงานกระบวนพจิ ารณานด้ี ว ย เมอ่ื พจิ ารณาเอกสารทง้ั สองฉบบั ดงั กลา วประกอบ
กนั แลว ถือไดว า สญั ญาประนีประนอมยอมความระหวางโจทกกับจำเลยมีหลักฐานเปน
หนงั สือลงลายมือช่อื จำเลยซง่ึ เปนฝา ยที่ตอ งรับผดิ เปนสำคัญตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๕๑
สัญญาประนีประนอมยอมความและคำพิพากษาตามยอมยอมมีผลผูกพันจำเลย
เมื่อจำเลยยังคงเปนหนี้คางชำระตามคำพิพากษาตามยอมแกโจทกอันเปนหนี้ที่อาจ
กำหนดจำนวนไดโ ดยแนน อนไมน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาท โจทกจ งึ นำหนค้ี ำพพิ ากษาตามยอม
มาฟองขอใหจ ำเลยลมละลายได

กอนฟองโจทกสืบหาทรัพยสินของจำเลยตามภูมิลำเนาจำเลยแลว ไมพบวา
จำเลยมีกรรมสิทธิ์ที่ดินตามสำเนาคำขอตรวจสอบกรรมสิทธิ์ที่ดิน ถือวาจำเลยไมมี
ทรัพยสินอยางหนึ่งอยางใดที่จะพึงยึดมาชำระหนี้ได ซึ่งตองดวยขอสันนิษฐานตาม พ.ร.บ.
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕) วาจำเลยมีหนี้สินลนพนตัว เมื่อจำเลยมิไดนำสืบ
วามีทรัพยส นิ ใดบางทีเ่ พียงพอชำระหนี้โจทกไ ดเพ่อื หกั ลา งขอ สันนิษฐานของกฎหมาย
ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวา จำเลยมีหนี้สินลนพนตัว สวนที่จำเลยเคยชำระหนี้ใหโจทก
กอนที่โจทกยื่นฟองคดีนี้ ๒ ครั้ง ก็เปนจำนวนเงินไมมากเมื่อเทียบกับหนี้ที่คางชำระอยู
ถอื มิไดวา จำเลยขวนขวายชำระหนี้ จงึ ไมมเี หตทุ ไี่ มควรใหจำเลยลม ละลาย

______________________________

๒๘

โจทกฟ อ งขอใหมีคำสง่ั พิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดและพิพากษาใหเปนบุคคล
ลม ละลาย

จำเลยใหการขอใหยกฟอง
ศาลลมละลายกลางพิจารณาแลววินิจฉัยวา สัญญาประนีประนอมยอมความไมมี
ลายมือชอ่ื ฝา ยจำเลยลงไว สญั ญาประนปี ระนอมยอมความและคำพิพากษาตามยอมไมช อบ
ดวยกฎหมาย พพิ ากษายกฟองคาฤชาธรรมเนยี มใหเปนพบั
โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณค ดีชำนัญพเิ ศษแผนกคดีลมละลายวินจิ ฉัยวา คดมี ปี ญ หาตองวนิ จิ ฉัยตาม
อทุ ธรณของโจทกเพียงขอเดยี ววา โจทกนำหน้คี ำพิพากษาตามยอมมาฟอ งขอใหจำเลยลม ละลาย
ไดหรือไม ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษโดยมติที่ประชุมใหญเห็นวา แมตามสำเนาสัญญา
ประนปี ระนอมยอมความแนบทา ยสำเนาคำพพิ ากษาตามยอมไมม ลี ายมอื ชอ่ื จำเลยลงไวก ต็ าม
แตต ามสำเนารายงานกระบวนพจิ ารณามขี อ ความระบวุ า คคู วามทง้ั สองฝา ยแถลงรว มกนั วา
คดีสามารถตกลงกนั ไดตามสัญญาประนปี ระนอมยอมความทีเ่ สนอตอศาลและขอใหศาลพพิ ากษา
ตามยอม ศาลจังหวัดเดชอุดมจึงพิพากษาคดีและบังคับคดีตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
ซง่ึ จำเลยไดล งลายมอื ชอ่ื ไวใ นรายงานกระบวนพจิ ารณานด้ี ว ย ดงั น้ี เมอ่ื พจิ ารณาเอกสาร
ทง้ั สองฉบบั ดงั กลา วประกอบกนั แลว ถอื ไดว า สญั ญาประนปี ระนอมยอมความระหวา งโจทก
กับจำเลยมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อจำเลยซึ่งเปนฝายที่ตองรับผิดเปนสำคัญตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย มาตรา ๘๕๑ สญั ญาประนปี ระนอมยอมความและคำพพิ ากษา
ตามยอมยอ มมผี ลผกู พนั จำเลย และไดค วามตามทางนำสบื ของโจทกว า จำเลยยงั คงเปน หนค้ี า ง
ชำระตามคำพิพากษาตามยอมแกโ จทกจำนวนตามฟอ งตามรายละเอยี ดการคำนวณยอดหนี้
อนั เปน หนท้ี อ่ี าจกำหนดจำนวนไดโ ดยแนน อนไมน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาท โจทกจ งึ นำหนค้ี ำพพิ ากษา
ตามยอมมาฟองขอใหจ ำเลยลมละลายได ทศ่ี าลลมละลายกลางวินิจฉยั วา สัญญาประนปี ระนอม
ยอมความและคำพิพากษาตามยอมไมชอบดวยกฎหมายนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
ไมเ หน็ พองดว ย อุทธรณข องโจทกฟงข้นึ
ปญหาที่ตองวินิจฉัยตอไปวา จำเลยมีหนี้สินลนพนตัวและมีเหตุที่ไมควรใหจำเลย
ลม ละลายหรอื ไม เหน็ วา ขอ เทจ็ จรงิ ไดค วามตามทางนำสบื ของโจทกว า กอ นฟอ งโจทกส บื หา
ทรัพยส นิ ของจำเลยตามภูมลิ ำเนาจำเลยแลว ไมพ บวาจำเลยมกี รรมสทิ ธิท์ ี่ดนิ ตามสำเนาคำขอ
ตรวจสอบกรรมสทิ ธิท์ ่ีดิน ถือวา จำเลยไมมีทรัพยสินอยางหน่งึ อยางใดท่ีจะพงึ ยดึ มาชำระหน้ไี ด
ซึ่งตองดวยขอสันนิษฐานตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕) วาจำเลย

๒๙

มหี นส้ี นิ ลน พน ตวั เมอ่ื จำเลยมไิ ดน ำสบื วา มที รพั ยส นิ ใดบา งทเ่ี พยี งพอชำระหนโ้ี จทกไ ดเ พอ่ื หกั ลา ง
ขอสันนิษฐานของกฎหมาย ขอเท็จจริงจึงรับฟงไดวา จำเลยมีหนี้สินลนพนตัว สวนที่จำเลย
เคยชำระหนี้ใหโจทกในป ๒๕๖๑ กอนที่โจทกยื่นฟองคดีนี้ ๒ ครั้ง ก็เปนจำนวนเงินไมมาก
เมอ่ื เทยี บกบั หนท้ี ค่ี า งชำระอยู ถอื มไิ ดว า จำเลยขวนขวายชำระหน้ี จงึ ไมม เี หตทุ ไ่ี มค วรใหจ ำเลย
ลม ละลาย กรณตี องใหพทิ กั ษทรัพยข องจำเลยเด็ดขาด

พพิ ากษากลบั เปน วา ใหพ ทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาด ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ ใหจำเลยใชค าฤชาธรรมเนยี มท้ังสองศาลแทนโจทก โดยหกั จากกอง
ทรพั ยส นิ ของจำเลย เฉพาะคา ทนายความใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยก ำหนดตามทเ่ี หน็ สมควร.

(องอาจ งามมศี รี - โชคชัย รุจนิ ินนาท - วิเชียร วชิรประทปี )

นราธิป บญุ ญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วศิ ษิ ฏว งศกร - ตรวจ

๓๐

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๒๔๔/๒๕๖๔ นางสาว ร. โจทก
นาย อ. จำเลย

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ (๓)

สาเหตุที่โจทกฟองจําเลยเปนคดีนี้เนื่องมาจากโจทกและจําเลยไดทําสัญญา
ประนปี ระนอมยอมความตอ ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง แตจ าํ เลยยงั มไิ ดป ฏบิ ตั กิ าร
ชาํ ระหนใ้ี หแ ลว เสรจ็ ตามสญั ญา ซง่ึ นบั แตโ จทกแ ละจาํ เลยไดส ญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
กันดังกลาวแลว โจทกกับจําเลยก็มีปญหาและขอพิพาทเกี่ยวกับการไมปฏิบัติตาม
สญั ญานน้ั ตลอดมา แมว า สญั ญาดงั กลา วจะเปน สญั ญาทก่ี ำหนดหนา ทใ่ี หจ าํ เลยตอ งปฏบิ ตั ิ
หรอื ชาํ ระหนเ้ี ปน สว นใหญแ ละกาํ หนดใหโ จทกม หี นา ทต่ี อ งปฏบิ ตั อิ ยใู นบางประการ แตก ็
มใิ ชก ารทโ่ี จทกจ ะตอ งปฏบิ ตั กิ ารอยา งหนง่ึ อยา งใดเสยี กอ นแลว จาํ เลยจงึ ตอ งปฏบิ ตั กิ าร
ชําระหนี้อยางหนึ่งอยางใดตอบแทนอันจะมีลักษณะเปนสัญญาตางตอบแทน แตในขอ
ตกลงบางประการทน่ี อกเหนอื จากทร่ี ะบไุ วใ นสญั ญาประนปี ระนอมยอมความทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม
เชน โจทกแ ถลงตอ ศาลเยาวชนและครอบครวั กลางวา เมอ่ื จาํ เลยชาํ ระเงนิ ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ตามสัญญาประนีประนอมยอมใหแกโจทก โจทกกับมารดาโจทกจะลาออกจากการเปน
กรรมการบริษัทพรอมทั้งโอนหุนในบริษัทใหแกจําเลย แมขอแถลงดังกลาวจะมิไดอยูใน
สัญญาประนีประนอมยอมความแตก็เปนขอตกลงที่ผูกมัดโจทก แตเมื่อจําเลยไดเตรียม
แคชเชยี รเ ชค็ มาเพอ่ื ชาํ ระแกโ จทกแ ลว โจทกก บั มารดากม็ ไิ ดย นิ ยอมปฏบิ ตั ติ ามคำแถลง
นอกจากนี้ โจทกกับจําเลยก็ยังมีขอพิพาทในเรื่องอำนาจปกครองบุตรผูเยาวทั้งสองการ
จา ยคา อปุ การะเลย้ี งดบู ตุ ร การสง มอบบตุ รผเู ยาวใ หแ กอ กี ฝา ยหนง่ึ การเลอื กสถานศกึ ษา
ใหแกบุตรผูเยาว การสงมอบรถยนต การแบงเครื่องมือแพทยและเวชภัณฑ รวมทั้งการ
ซอมแซมบานที่อยูอาศัยของบุตรทั้งสอง ซึ่งเปนขอพิพาทในสาระสําคัญตามที่ปรากฏ
ในสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงเปนเหตุใหทั้งโจทกและจําเลยยังมิไดปฏิบัติตาม
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความ รวมทง้ั ขอ ทต่ี อ งปฏบิ ตั ติ ามทไ่ี ดแ ถลงไวต อ ศาลเยาวชน
และครอบครวั กลาง จนกระทง่ั นาํ ไปสคู วามขดั แยง ทม่ี ากขน้ึ โดยมกี ารแจง ความรอ งทกุ ข
ใหด าํ เนนิ คดแี กโ จทกใ นขอ หายกั ยอกทรพั ยแ ละนาํ คดไี ปฟอ งรอ งกนั ตอ ศาลอกี หลายคดี
ทั้งในคดีของศาลเยาวชนและครอบครัวกลางก็มีขอขัดแยงถึงขนาดตองขอใหศาลออก
หมายจบั อกี ฝา ยหนง่ึ รวมทง้ั การขอใหศ าลออกหมายตง้ั เจา พนกั งานบงั คบั คดี จงึ เหน็ ไดว า
หนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นยังเปนหนี้ที่มีขอโตแยงและยังไมมีขอยุติ

๓๑

จนเปนเหตุใหจําเลยยังไมปฏิบัติการชําระหนี้ กรณีจึงยังไมอาจถือไดวาหนี้ที่โจทกนํามา
ฟอ งอาจกาํ หนดจาํ นวนไดโ ดยแนน อน โจทกจ งึ ไมอ าจฟอ งจาํ เลยขอใหศ าลมคี าํ สง่ั พทิ กั ษท รพั ย
จําเลยเดด็ ขาดตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ (๓) ได

______________________________

โจทกฟองขอใหพ ิทักษท รพั ยจำเลยเด็ดขาดและพิพากษาใหจำเลยลมละลาย
จำเลยใหก ารขอใหย กฟอ ง
ศาลลมละลายกลางพิพากษายกฟอง คาฤชาธรรมเนียมใหเ ปน พับ
โจทกอ ุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายตรวจวินิจฉัยวาขอเท็จจริงที่คูความ
ไมโตแยงกันรับฟงเปนยุติวา จำเลยเปนหนี้โจทกตามคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความของศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง ตามคดหี มายเลขแดงท่ี พ ๖๐๐/๒๕๖๐ แตห ลงั จาก
ที่ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางมีคำพิพากษาดังกลาวแลว จำเลยไดปฏิบัติตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความ ขอ ๑ โดยไดจดทะเบียนหยากับโจทกเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐
แตจ ำเลยยงั มไิ ดป ฏบิ ตั กิ ารชำระหนต้ี ามสญั ญาประนปี ระนอมขอ อน่ื ใหแ ลว เสรจ็ วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑
โจทกข อใหศาลเยาวชนและครอบครัวกลางออกหมายต้งั เจา พนกั งานบงั คับคดี
คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกว า มลู หนท้ี โ่ี จทกน ำมาฟอ งกำหนดจำนวน
ไดโดยแนน อนแลวหรือไม เห็นวา สาเหตุทโี่ จทกฟ องจำเลยเปนคดนี เ้ี นื่องมาจากโจทกและจำเลย
ไดท ำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความตอ ศาลเยาวชนและครอบครวั กลางเมอ่ื วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แตจำเลยยังมิไดปฏิบัติการชำระหนี้ใหแลวเสร็จตามสัญญานั้น ซึ่งเมื่อพิเคราะหสำเนา
รายงานกระบวนพิจารณาของศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง สำเนาจดหมายและจดหมาย
อเิ ล็กทรอนกิ ส ประกอบกบั สำเนารายงานกระบวนพิจารณาของศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
แลวปรากฏวานับแตโจทกและจำเลยไดสัญญาประนีประนอมยอมความกันดังกลาว โจทกกับ
จำเลยก็มีปญหาและขอพิพาทเกี่ยวกับการไมปฏิบัติตามสัญญานั้นตลอดมา แมวาสัญญาดังกลาว
จะเปน สญั ญาทก่ี ำหนดหนา ทใ่ี หจ ำเลยตอ งปฏบิ ตั หิ รอื ชำระหนเ้ี ปน สว นใหญแ ละกำหนดใหโ จทก
มีหนาที่ตองปฏิบัติอยูในบางประการ แตก็มิใชการที่โจทกจะตองปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใด
เสียกอนแลวจำเลยจึงตองปฏิบัติการชำระหนี้อยางหนึ่งอยางใดตอบแทนอันจะมีลักษณะเปน
สัญญาตา งตอบแทนดังทีโ่ จทกอุทธรณกต็ าม แตใ นขอตกลงบางประการทน่ี อกเหนือจากที่ระบุ
ไวในสัญญาประนปี ระนอมยอมความท่เี กดิ ขึน้ ใหม เชน การท่โี จทกแถลงตอศาลเยาวชนและ

๓๒

ครอบครัวกลางเมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ วาเมื่อจำเลยชำระเงิน ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตาม
สัญญาประนีประนอมยอมความขอ ๓ ใหแกโจทกแลว โจทกกับมารดาโจทกจะลาออกจากการ
เปนกรรมการบริษัท ด. พรอมทั้งโอนหุนในบริษัทดังกลาวใหแกจำเลยตามรายงานกระบวน
พจิ ารณาลงวันท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ แมขอแถลงดังกลา วจะมิไดอยใู นสญั ญาประนีประนอม
ยอมความแตก็เปนขอตกลงที่ผูกมัดโจทก แตโจทกกับมารดาก็มิไดยินยอมลาออกจากการเปน
กรรมการบรษิ ทั และมไิ ดโ อนหนุ ในบรษิ ทั ใหแ กจ ำเลยทง้ั ๆ ทจ่ี ำเลยไดเ ตรยี มแคชเชยี รเ ชค็ สองฉบบั
ฉบับละ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท มาเพื่อชำระแกโจทกแลวในวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๐ นอกจากนี้
โจทกกับจำเลยก็ยังมีขอพิพาทในเรื่องอำนาจปกครองบุตรผูเยาวทั้งสอง การจายคาอุปการะ
เลี้ยงดูบุตร การสงมอบบุตรผูเยาวใหแกอีกฝายหนึ่ง การเลือกสถานศึกษาใหแกบุตรผูเยาว
การสง มอบรถยนต การแบง เครอ่ื งมอื แพทยแ ละเวชภณั ฑ รวมทง้ั การซอ มแซมบา นทอ่ี ยอู าศยั ของ
บตุ รทง้ั สอง ซง่ึ เปน ขอ พพิ าทในสาระสำคญั ตามทป่ี รากฏในสญั ญาประนปี ระนอมยอมความทง้ั สน้ิ
เสมอมา จึงเปนเหตุใหทั้งโจทกและจำเลยยังมิไดปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
รวมทง้ั ขอ ทต่ี อ งปฏบิ ตั ติ ามทไ่ี ดแ ถลงไวต อ ศาลเยาวชนและครอบครวั กลาง จนกระทง่ั นำไปสคู วาม
ขัดแยงที่มากขึ้น โดยมีการแจงความรองทุกขใหดำเนินคดีแกโจทกในขอหายักยอกทรัพยและ
นำคดไี ปฟอ งรอ งกนั ตอ ศาลอกี หลายคดี ทง้ั ในคดขี องศาลเยาวชนและครอบครวั กลางกม็ ขี อ ขดั แยง
ถึงขนาดตอ งขอใหศ าลออกหมายจบั อีกฝายหน่งึ รวมท้ังการขอใหศ าลออกหมายตงั้ เจา พนักงาน
บงั คบั คดี จงึ เหน็ ไดว า หนต้ี ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความนน้ั ยงั เปน หนท้ี ม่ี ขี อ โตแ ยง และยงั
ไมม ขี อ ยตุ ดิ งั ทจ่ี ำเลยเบกิ ความและแกอ ทุ ธรณ จนเปน เหตใุ หจ ำเลยยงั ไมป ฏบิ ตั กิ ารชำระหน้ี แมว า
กรณจี ะปรากฏวา โจทกม กี ารทวงถามใหจ ำเลยชำระหนต้ี ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความแลว
หลายครั้งอันอาจเปนกรณีที่ตองดวยขอสันนิษฐานตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๘ (๙) ก็ตาม แตกรณีตามมาตรา ๘ (๙) ดังกลาวก็เปนเพียงขอสันนิษฐานที่เปนไปเพื่อ
ประโยชนในการฟองคดีลมละลายตอศาลเทานั้น นอกจากนี้ จำเลยเปนแพทยผูเชี่ยวชาญและมี
ชองทางในการประกอบอาชีพไดอยางมั่นคงประกอบกับจำเลยมีเจตนาที่จะชำระหนี้ ดังจะเห็น
ไดจ ากการทจ่ี ำเลยเตรยี มแคชเชยี รเ ชค็ มาเพอ่ื ชำระหนแ้ี กโ จทก การทจ่ี ำเลยดำเนนิ การซอ มแซม
บานที่อยูอาศัยจนกระทั่งนาย พ. ผูเชี่ยวชาญดานสถาปตยกรรมของสำนักงานศาลยุติธรรมได
ตรวจสอบบานที่อยูอาศัยที่จำเลยดำเนินการซอมแซมแลว เห็นวามีความแข็งแรงและปลอดภัย
ในการอยอู าศยั สว นทม่ี นี ำ้ รว่ั ฝา ถลม ปนู ฉาบแตกตามแนวรอยตอ อาคารหลกั กบั อาคารตอ เตมิ
นน้ั สามารถซอ มแซมตามหลกั วชิ าได ตลอดจนจำเลยนำบตุ รผเู ยาวไ ปศกึ ษาและจา ยคา เลา เรยี น
ตามหนาที่ของตน กรณีจึงยังไมอาจถือไดวาหนี้ที่โจทกนำมาฟองอาจกำหนดจำนวนไดโดย

๓๓

แนนอน อันจะทำใหโจทกฟองจำเลยขอใหศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยและพิพากษาใหเปนบุคคล
ลมละลายตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ (๓) ทั้งโจทกก็ยังคงมีชองทาง
ที่จะบังคับคดีในคดีของศาลเยาวชนและครอบครัวกลางที่มีการขอออกหมายตั้งเจาพนักงาน
บังคับคดีไดอยูแลว หากโจทกเห็นวาจำเลยไมชำระหนี้ ที่ศาลลมละลายกลางพิพากษายกฟอง
โจทกมานั้น ศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษเห็นพอ งดวยในผล

พิพากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมในช้นั อทุ ธรณใ หเ ปนพบั .

(จกั รพนั ธ สอนสุภาพ - ปฏกิ รณ คงพพิ ธิ - พูนศกั ด์ิ เขม็ แซมเกษ)

รติมา ชยั สโุ รจน - ยอ
วริ ัตน วิศษิ ฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ที่สดุ

๓๔

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๔๐๗/๒๕๖๔ ธนาคารกรงุ ไทย จำกัด

(มหาชน) โจทก

นายมังกร ชจู ติ ตป ระชิต จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๑๔ (๑), ๑๙๓/๓๒, ๒๙๑, ๒๙๕, ๖๙๒, ๘๕๒
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๔ (๑)

สญั ญาคำ้ ประกนั เปน หนอ้ี ปุ กรณ ผคู ำ้ ประกนั จะตอ งรบั ผดิ ตามสญั ญาคำ้ ประกนั
ตอ เมอ่ื ลกู หนไ้ี มช ำระหนท้ี เ่ี ปน หนป้ี ระธาน และยงั มหี นป้ี ระธานทเ่ี จา หนไ้ี มไ ดร บั ชำระหน้ี
การที่โจทกยื่นฟองนาย ป. และจำเลยใหชำระหนี้ตามมูลหนี้เดิมแลวมีการทำสัญญา
ประนีประนอมยอมความ ศาลมีคำพิพากษาตามยอมแลว ยอมทำใหหนี้เดิมระงับสิ้น
ไปเกิดเปนหนี้ใหมตามสัญญาประนีประนอมยอมความตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๕๒ ไมมี
หนี้ประธานเดิมที่จำเลยในฐานะผูค้ำประกันจะตองรับผิด จำเลยตองรับผิดตอโจทกใน
ฐานะลูกหนี้ตามคำพิพากษาตามยอม และไมนำ ป.พ.พ. มาตรา ๖๙๒ ที่วา “อายุความ
สะดดุ หยดุ ลงเปนโทษแกลกู หน้ีนั้น ยอ มเปนโทษแกผคู ำ้ ประกันดว ย” มาใชบ ังคับ

หน้ีตามคำพพิ ากษาตามยอมของศาลท่ีถงึ ท่สี ุด มกี ำหนดอายคุ วาม ๑๐ ป ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๒ ขอ ความในสัญญาประนีประนอมยอมความมีลกั ษณะทน่ี าย ป.
และจำเลยตกลงจะชำระหนใ้ี หแ กโ จทกโ ดยสน้ิ เชงิ นาย ป. และจำเลยจงึ มฐี านะเปน ลกู หน้ี
โจทกรวมกันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๙๑ การที่นาย ป. ผอนชำระหนี้บางสวนใหแกโจทก
มีผลใหอายคุ วามสะดดุ หยดุ ลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) เม่อื ไมปรากฏวานาย ป.
ผอ นชำระหน้บี างสว นดังกลา วแทนจำเลย หรือจำเลยรวมกับนาย ป. ชำระหนีใ้ หโจทก
ไปบางสวนดวย จึงมผี ลเปนโทษเฉพาะแกน าย ป. ไมม ีผลเปนโทษแกจ ำเลยตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๒๙๕ เมื่อสัญญาประนีประนอมยอมความกำหนดใหจำเลยกับพวกชำระคาฤชา
ธรรมเนยี มในสว นทศ่ี าลไมส ง่ั คนื กบั คา ทนายความ ๓,๐๐๐ บาท ใหแ กโ จทกภ ายในวนั ท่ี
๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ จำเลยไมชำระ อายุความที่โจทกมีสิทธินำหนี้ตามคำพิพากษาคดี
ดงั กลา วมาฟอ งจำเลยใหล ม ละลายจงึ เรม่ิ นบั แตข ณะทอ่ี าจบงั คบั สทิ ธเิ รยี กรอ งเปน ตน ไป
คือวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒ โจทกฟองคดีนี้วันที่ ๑๒
มีนาคม ๒๕๖๓ พนกำหนด ๑๐ ป หนี้ที่โจทกนำมาฟองจำเลยจึงขาดอายุความ และ
เปนหนี้ที่ไมสามารถนำไปยื่นคำขอรับชำระหนี้ไดตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๔ (๑) กรณีจงึ มเี หตอุ ่ืนทไ่ี มค วรใหจำเลยลม ละลาย

_____________________________

๓๕

โจทกฟ อ งขอใหม คี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดและพพิ ากษาใหเ ปน บคุ คลลม ละลาย
จำเลยไมย ่ืนคำใหก ารและขาดนัดพิจารณา
ศาลลมละลายกลางพิพากษายกฟอง คาฤชาธรรมเนียมใหเปน พับ
โจทกอ ุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง กนั
ในชั้นนี้ฟงไดวา จำเลยเปนลูกหนี้โจทกตามคำพิพากษาคดีแพงหมายเลขแดงที่ ย.๑๕๒๔/๒๕๕๐
ของศาลจงั หวดั นนทบรุ ี ซง่ึ พพิ ากษาตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ ลงวนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๕๐
ใหนายปรีดาและจำเลย ชำระหนี้ตามฟองแกโจทก ๖๑๗,๗๙๐.๔๗ บาท พรอมดอกเบี้ย
อตั รารอ ยละ ๑๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๕๖๙,๗๒๕.๓๑ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ ง (ฟอ งวนั ท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐)
จนกวาจะชำระหนี้เสร็จสิ้นโดยผอนชำระใหแกโจทกเปนรายเดือนภายในวันที่สิ้นสุดของ
ทุกเดอื นติดตอกันเดอื นละไมนอยกวา ๗,๕๐๐ บาท เร่ิมผอนชำระต้งั แตเดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๕๐
เปน ตน ไป และจะชำระใหเ สรจ็ สน้ิ ภายใน ๑๒ เดอื น นบั แตว นั ทำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
จำเลยกบั พวกยินยอมชำระคา ฤชาธรรมเนยี มในสว นที่ศาลไมสง่ั คืนกับคาทนายความ ๓,๐๐๐ บาท
ใหโจทกภ ายในวันที่ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๐ หากไมชำระหน้หี รือชำระหนไ้ี มครบถว นใหบงั คบั คดี
บงั คบั จำนอง ยดึ ทรพั ยจ ำนองและทรพั ยส นิ อน่ื ของจำเลยกบั พวกขายทอดตลาดนำเงนิ มาชำระหน้ี
จนครบ ตามสำเนาคำพพิ ากษาตามยอมและสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ เอกสารหมาย จ.๔
หลังจากศาลมีคำพิพากษา นายปรีดาผอนชำระหนี้แกโจทกจนถึงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘
สว นจำเลยไมไ ดช ำระหน้ี ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องโจทกม วี า หนท้ี โ่ี จทกน ำมาฟอ ง
จำเลยขาดอายุความหรือไม โดยโจทกอุทธรณวา การที่นายปรีดาผอนชำระหนี้บางสวนถือวา
เปนการที่จำเลยไดรับสภาพหนี้ตอโจทก มีผลใหอายุความหนี้ตามคำพิพากษาตามยอมคดีแพง
หมายเลขแดงท่ี ย.๑๕๒๔/๒๕๕๐ ทโ่ี จทกน ำมาฟอ งจำเลยสะดดุ หยดุ ลง โดยอายคุ วามจะครบใน
วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๘ เทยี บเคียงคำพิพากษาศาลฎกี าที่ ๕๖๙๕/๒๕๕๘, ๒๕๙๖/๒๕๕๙
และ ๘๗๓๘/๒๕๕๙ ประกอบประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๖๙๒ ทว่ี า “อายคุ วาม
สะดุดหยุดลงเปนโทษแกลูกหนี้นั้น ยอมเปนโทษแกผูค้ำประกันดวย” เห็นวา สัญญาค้ำประกัน
เปน หนอ้ี ปุ กรณ ผคู ำ้ ประกนั จะตอ งรบั ผดิ ตามสญั ญาคำ้ ประกนั ตอ เมอ่ื ลกู หนไ้ี มช ำระหนท้ี เ่ี ปน หน้ี
ประธาน และยงั มหี นป้ี ระธานทเ่ี จา หนไ้ี มไ ดร บั ชำระหน้ี การทโ่ี จทกไ ดย น่ื ฟอ งนายปรดี าและจำเลย
ใหชำระหนี้ตามมูลหนี้เดิมแลวมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความศาลมีคำพิพากษา

๓๖

ตามยอมแลว ยอ มทำใหห นเ้ี ดมิ ระงบั สน้ิ ไปเกดิ เปน หนใ้ี หมต ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความตาม
ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๘๕๒ ไมม หี นป้ี ระธานเดมิ ทจ่ี ำเลยในฐานะผคู ำ้ ประกนั
จะตอ งรบั ผดิ จำเลยคงตอ งรบั ผดิ ตอ โจทกใ นฐานะลกู หนต้ี ามคำพพิ ากษาตามยอมของศาลจงั หวดั
นนทบรุ ที ี่โจทกนำมาฟอ งคดนี ี้ และไมนำประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๖๙๒ มาใช
บังคับดังที่โจทกกลาวอาง คำพิพากษาศาลฎีกาที่โจทกอางขอเท็จจริงไมตรงกับคดีนี้ เมื่อหนี้
ตามฟอ งเปน หนต้ี ามคำพพิ ากษาตามยอมของศาลทถ่ี งึ ทส่ี ดุ มกี ำหนดอายคุ วาม ๑๐ ป ตาม
ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๙๓/๓๒ ขอ ความในสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
เอกสารหมาย จ.๔ มีลักษณะที่นายปรีดาและจำเลยตกลงจะชำระหนี้ใหแกโจทกโดยสิ้นเชิง
นายปรดี าและจำเลยจงึ มฐี านะเปน ลกู หนโ้ี จทกร ว มกนั ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
มาตรา ๒๙๑ การทน่ี ายปรดี าผอ นชำระหนบ้ี างสว นใหแ กโ จทกม ผี ลใหอ ายคุ วามสะดดุ หยดุ ลง
ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) เมอ่ื ไมป รากฏวา นายปรดี าผอ น
ชำระหนบ้ี างสว นดงั กลา วแทนจำเลย หรอื จำเลยรว มกบั นายปรดี าชำระหนใ้ี หโ จทกไ ปบางสว นดว ย
จึงมีผลเปนโทษเฉพาะแกนายปรีดา ไมมีผลเปนโทษแกจำเลย ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย มาตรา ๒๙๕ ไดค วามจากคำเบกิ ความของพยานโจทกค อื นายสนั ติ และคำแถลงการณ
ปด คดขี องโจทกว า หลงั จากศาลจงั หวดั นนทบรุ มี คี ำพพิ ากษา จำเลยไมไ ดใ หค วามรว มมอื ในการ
ผอ นชำระหน้ี แตโ จทกไ มไ ดน ำสบื ใหเ หน็ วา เปน การไมช ำระหนร้ี ายการใด เมอ่ื สญั ญาประนปี ระนอม
ยอมความขอ ๓. กำหนดใหจำเลยกับพวกชำระคาฤชาธรรมเนียมในสวนที่ศาลไมสั่งคืนกับคา
ทนายความ ๓,๐๐๐ บาท ใหแกโจทกภายในวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ จำเลยไมชำระอายุความ
ที่โจทกมีสิทธินำหนี้ตามคำพิพากษาคดีดังกลาวมาฟองจำเลยใหลมละลายจึงเริ่มนับแตขณะที่
อาจบังคับสิทธิเรียกรองเปนตนไป คือวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๒ โจทกฟองคดีนี้วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๓ พนกำหนด ๑๐ ป หนี้
ที่โจทกนำมาฟองจำเลยเปนคดีนี้จึงขาดอายุความ และเปนหนี้ที่ไมสามารถนำไปยื่นคำขอรับ
ชำระหนี้ไดตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๔ (๑) การพิจารณาพิพากษา
คดีลมละลายผิดแผกแตกตางกับการพิจารณาคดีแพงสามัญ เพราะพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ เปน กฎหมายที่เก่ียวกบั ความสงบเรียบรอยของประชาชน มผี ลในทางตดั สิทธิและ
เสรีภาพของผูที่ถูกพิทักษทรัพยหรือพิพากษาใหเปนบุคคลลมละลาย แมจำเลยจะไมใหการ
ตอสูคดี ศาลยอมมีอำนาจยกอายุความขึ้นวินิจฉัยได กรณีมีเหตุอื่นที่ไมควรใหจำเลยลมละลาย
ปญหาตามอุทธรณขออื่นของโจทกไมจำเปนตองวินิจฉัยเนื่องจากไมทำใหผลของคำพิพากษา

๓๗

เปลี่ยนแปลงไป ที่ศาลลมละลายกลางพิพากษายกฟองโจทกนั้นชอบแลว อุทธรณของโจทก
ฟงไมขน้ึ

พิพากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมในชนั้ นี้ใหเ ปนพบั .
(พสิ ุทธิ์ ศรีขจร - โชคชยั รจุ นิ ินนาท - วิเชียร วชิรประทีป - องอาจ งามมีศร)ี

นราธปิ บญุ ญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

๓๘

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๔๘๐/๒๕๖๔ ธนาคารกสิกรไทย จำกดั

(มหาชน) โจทก

บรษิ ทั นาชุนหมง จำกัด

กบั พวก จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ (๓)

การฟอ งคดีลม ละลายเปนการฟอ งขอใหศ าลมคี าํ สัง่ พิทกั ษท รพั ยส ินของลกู หน้ี
ผมู หี นี้สินลนพนตัว เพือ่ นําไปสูกระบวนการจดั การทรพั ยสนิ ของลูกหนเ้ี พ่ือประโยชน
แกเจาหน้ที ั้งหลาย แตกตางไปจากการยนื่ ฟองใชสทิ ธิเรยี กรอ งบงั คับใหล ูกหน้ีชาํ ระหนี้
แกโจทกเพียงผูเดียวหากมีการผิดนัดดังเชนคดีแพงสามัญที่เจาหนี้จะพึงฟองคดีตอศาล
ตอเมื่อมีการโตแยงเกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๕๕
เสยี กอ น แมห นต้ี ามคาํ พพิ ากษาและสญั ญาประนปี ระนอมยอมความตามฟอ งอนั เปน
มลู หนที้ โี่ จทกย ่นื ฟอ งจาํ เลยท้งั สามจะถงึ กําหนดชาํ ระหนีใ้ หแ ลวเสรจ็ ภายหลังวนั ที่โจทก
ย่นื ฟองขอใหลมละลาย แตเ มอ่ื คําพิพากษาและสัญญาประนีประนอมยอมความอนั เปน
มลู เหตใุ หน าํ คดมี าฟอ งเปน หนท้ี อ่ี าจกาํ หนดจาํ นวนไดโ ดยแนน อน แมว า ยงั ไมถ งึ กาํ หนด
ชําระโดยพลันแตถึงกําหนดชําระในอนาคตหลังจากโจทกยื่นฟอง โจทกจึงมีอํานาจนํา
ขอผูกพันตามคําพิพากษาและสัญญาประนีประนอมยอมความดังกลาวเปนมูลในการ
ฟองจําเลยทั้งสามใหลมละลายไดตามหลักเกณฑดังที่บัญญัติไวตาม พ.ร.บ. ลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ (๓) และเปนการใชสิทธิโดยชอบดวยกฎหมาย ไมใชการฟอง
โดยไมส ุจรติ ดงั ท่จี าํ เลยทงั้ สามอทุ ธรณ

______________________________

โจทกฟอ งขอใหม ีคำส่งั พทิ ักษท รพั ยของจำเลยท้ังสามเดด็ ขาดและพิพากษาใหล ม ละลาย
จำเลยทั้งสามใหก ารและแกไ ขคำใหการขอใหยกฟอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสามเด็ดขาดตามพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ กับใหจ ำเลยทง้ั สามรวมกันใชคาฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก
โดยใหหกั จากกองทรพั ยส ินของจำเลยทั้งสาม เฉพาะคาทนายความใหเ จา พนกั งานพิทักษท รัพย
กำหนดตามทเ่ี หน็ สมควร

๓๙

จำเลยทัง้ สามอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง
กันในชั้นนี้รับฟงไดเปนที่ยุติวา โจทกเปนเจาหนี้ตามคำพิพากษาของจำเลยทั้งสามในคดีแพง
หมายเลขแดงท่ี พ ๗๕๐/๒๕๖๒ ของศาลจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ซง่ึ พพิ ากษาตามสญั ญาประนปี ระนอม
ยอมความใหจำเลยทั้งสามรวมกันชำระเงิน ๒๒,๑๓๓,๓๖๘.๕๑ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา
รอ ยละ ๑๕ ตอ ป ของเงนิ ตน ๑๙,๙๓๐,๐๐๐ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ ง (วนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๒)
เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ ใหแ กโ จทกโ ดยจะผอ นชำระใหเ สรจ็ สน้ิ ภายในเดอื นมกราคม ๒๕๖๓
หากผิดนัดยอมใหโจทกบังคับคดีไดทันที และยอมชำระคาฤชาธรรมเนียมที่ศาลไมสั่งคืนกับคา
ทนายความ ๓,๐๐๐ บาท ใหแกโจทกภายในเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๒ ภายหลังมีคำพิพากษา
ดังกลาว จำเลยทง้ั สามยังไมไ ดผอนชำระหน้ีตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ มีปญ หาที่ตอ ง
วนิ จิ ฉยั ขอ แรกตามทจ่ี ำเลยทง้ั สามอทุ ธรณว า โจทกม อี ำนาจนำหนท้ี ย่ี งั ไมถ งึ กำหนดชำระเปน มลู
ในการฟองคดีนี้ไดหรือไม เห็นวา พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ บัญญัติวา
“เจาหนี้จะฟองลูกหนี้ใหลมละลายไดก็ตอเมื่อ (๑) ลูกหนี้มีหนี้สินลนพนตัว (๒) ลูกหนี้ซึ่งเปน
บคุ คลธรรมดาเปน หนเ้ี จา หนผ้ี เู ปน โจทกค นเดยี วหรอื หลายคนเปน จำนวนไมน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาท
หรือลูกหนี้ซึ่งเปนนิติบุคคลเปนหนี้เจาหนี้ผูเปนโจทกคนเดียวหรือหลายคนเปนจำนวนไมนอย
กวาสองลานบาท และ (๓) หนี้นั้นอาจกำหนดจำนวนไดโดยแนนอนไมวาหนี้นั้น จะถึงกำหนด
ชำระโดยพลันหรือในอนาคตก็ตาม” ดังนั้น ในการฟองคดีลมละลายเพื่อใหศาลมีคำสั่ง
พทิ กั ษท รพั ยส นิ ของลกู หนผ้ี มู หี นส้ี นิ ลน พน ตวั จงึ ตอ งเปน ไปตามหลกั เกณฑด งั ทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
เพื่อนำไปสูกระบวนการที่เจาหนี้ทั้งหลายรวมทั้งเจาหนี้ผูเปนโจทกตองยื่นคำขอรับชำระหนี้ตอ
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยต ามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๑ อนั เปน กระบวนการ
จดั การทรพั ยส นิ ของลกู หนเ้ี พอ่ื ประโยชนแ กเ จา หนท้ี ง้ั หลาย แตกตา งไปจากการยน่ื ฟอ งเพอ่ื ใชส ทิ ธิ
เรียกรองบังคับใหลูกหนี้ชำระหนี้แกโจทกเพียงผูเดียวหากมีการผิดนัดดังเชนคดีแพงสามัญที่
เจาหนี้จะพึงฟองคดีตอศาลตอเมื่อมีการโตแยงเกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ของบุคคลใดตาม
กฎหมายแพง ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๕๕ แมห นต้ี ามคำพพิ ากษาและ
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความตามฟอ งอนั เปน มลู หนท้ี โ่ี จทกย น่ื ฟอ งจำเลยทง้ั สามจะถงึ กำหนด
ชำระหนี้ใหแลวเสร็จภายในเดือนมกราคม ๒๕๖๓ แตเมื่อคำพิพากษาและสัญญาประนีประนอม
ยอมความอันเปนมูลเหตุใหนำคดีมาฟองเปนหนี้ที่อาจกำหนดจำนวนไดโดยแนนอน แมวายัง
ไมถึงกำหนดชำระโดยพลันแตถึงกำหนดชำระในอนาคตหลังจากโจทกยื่นฟอง โจทกก็มีอำนาจ
นำขอผูกพันตามคำพิพากษาและสัญญาประนีประนอมยอมความดังกลาวเปนมูลในการฟอง

๔๐

จำเลยทั้งสามใหลมละลายไดตามหลักเกณฑดังที่บัญญัติไวตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙ (๓) และเปน การใชส ทิ ธโิ ดยชอบดว ยกฎหมาย ไมใ ชก ารฟอ งโดยไมส จุ รติ
ดังที่จำเลยท้งั สามอุทธรณ

ปญหาที่ตองวินิจฉัยตอไปวา จำเลยทั้งสามมีหนี้สินลนพนตัวหรือไม จำเลยทั้งสาม
อทุ ธรณว า จำเลยทง้ั สามประกอบกจิ การคา ปลกี คา สง สรุ าและนำ้ ดม่ื มรี ายไดไ มน อ ยกวา เดอื นละ
๑๐๐,๐๐๐ บาท เพียงพอที่จะผอนชำระหนี้โจทก จำเลยทั้งสามจึงไมใชผูมีหนี้สินลนพนตัวนั้น
คงไดค วามตามบนั ทกึ ถอ ยคำยนื ยนั ขอ เทจ็ จรงิ ของนายเศรษฐพสั พยานโจทกว า กอ นฟอ งโจทก
ไดส บื หาทรพั ยส นิ ของจำเลยทง้ั สามและไดร บั แจง จากเจา พนกั งานทด่ี นิ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ซง่ึ เปน
ภมู ลิ ำเนาของจำเลยทง้ั สามวา จำเลยทง้ั สามไมม กี รรมสทิ ธห์ิ รอื สทิ ธคิ รอบครองทด่ี นิ ในเขตจงั หวดั
ดังกลาว จึงตองดวยขอสันนิษฐานตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๕)
วาจำเลยทั้งสามมีหนี้สินลนพนตัว จำเลยทั้งสามมีหนาที่นำพยานหลักฐานมานำสืบหักลาง
ขอ สนั นษิ ฐานดังกลาว แตจ ำเลยท้งั สามนำสบื โดยจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ใหก ารตามบนั ทึกถอ ยคำ
ยืนยันขอเท็จจริงทำนองเดียวกันวา จำเลยทั้งสามประกอบกิจการคาขายมีรายไดโดยไมปรากฏ
ขอเท็จจริงอื่นสนับสนุนใหเชื่อไดวาจำเลยทั้งสามประกอบกิจการมีรายไดเพียงพอที่จะชำระหนี้
โจทกจ รงิ เมอ่ื พจิ ารณาประกอบขอ เทจ็ จรงิ ทร่ี บั ฟง ไดเ ปน ทย่ี ตุ วิ า หลงั จากทำสญั ญาประนปี ระนอม
ยอมความแลว จำเลยทั้งสามซึ่งอางวามีรายไดไมนอยกวาเดือนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ไมเคยผอน
ชำระหนี้ตลอดมานับแตเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๒ ถึงเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ จึงไมเชื่อวาเปนจริง
ดงั ทจ่ี ำเลยท่ี ๒ และท่ี ๓ ใหก าร ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ไดว า จำเลยทง้ั สามเปน ผมู หี นส้ี นิ ลน พน ตวั การท่ี
จำเลยท่ี ๑ ซง่ึ เปน นติ บิ คุ คลเปน หนโ้ี จทกไ มน อ ยกวา สองลา นบาท จำเลยท่ี ๒ ท่ี ๓ ซง่ึ เปน บคุ คล
ธรรมดาเปน หนโ้ี จทกไ มน อ ยกวา หนง่ึ ลา นบาท และหนต้ี ามฟอ งเปน หนต้ี ามคำพพิ ากษาซง่ึ กำหนด
จำนวนไดโ ดยแนน อน ดงั น้ี เมอ่ื ไมม ปี รากฏขอ เทจ็ จรงิ ใดอนั เปน เหตอุ น่ื ทไ่ี มค วรใหจ ำเลยทง้ั สาม
ลม ละลาย ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สามเดด็ ขาดตามพระราชบญั ญตั ิ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔ นน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ย อทุ ธรณท กุ ขอ
ของจำเลยท้งั สามฟง ไมขนึ้

พิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมในชนั้ อทุ ธรณใหเปน พับ.

(เกียรตคิ ุณ แมนเลขา - สถาพร วสิ าพรหม - อดศิ กั ด์ิ เทยี นกรมิ )

รติมา ชัยสโุ รจน - ยอ
วิรตั น วศิ ษิ ฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ท่ีสุด

๔๑

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๖๔๑/๒๕๖๔ บรรษัทประกันสินเช่ือ
อุตสาหกรรมขนาดยอ ม โจทก
นางสาวธันยพัต บญุ ชู จำเลย

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๔) ข

ขณะโจทกสงหนังสือทวงถามครั้งที่ ๑ ลงวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๓ จำเลยมี
ภมู ิลำเนาอยูบานเลขท่ี ๑๓๒/๓๗๒ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ
พนกั งานไปรษณียร ายงานผลการสงที่หนาซองหนงั สอื ทวงถามวา ไมม ผี ูร บั ตามจา หนา
แตตอมาวนั ที่ ๒๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๓ ซึง่ เปน วันหลังจากโจทกมกี ารสงหนงั สือทวงถาม
ใหจ ำเลยโดยชอบไมถ ึง ๓๐ วัน ไดมกี ารยา ยท่ีอยูข องจำเลยออกจากบา นเลขทดี่ งั กลา ว
เขาไปอยูในทะเบียนบานกลางเปนการถาวร โดยไมมีการแจงใหโจทกซึ่งเปนเจาหนี้ทราบ
กรณีถือไดวาเปนการจงใจหลีกเลี่ยงหลบซอนโจทกไมใหทำการติดตามทวงถามไดถูกตอง
ท้ังในเวลาโจทกฟ อ งคดนี ้ี ก็สง หมายเรยี กและสำเนาคำฟอ งใหแ กจำเลยไมได จนตอง
ประกาศหนังสือพิมพ ดังนี้ ถือไดวา จำเลยไดไปเสียจากเคหสถานท่ีเคยอยูเพ่ือประวงิ
การชำระหนห้ี รอื มใิ หเ จา หนไ้ี ดร บั ชำระหน้ี พฤตกิ ารณข องจำเลยจงึ ตอ งดว ยขอ สนั นษิ ฐาน
ตามกฎหมายวา เปน ผมู หี นส้ี นิ ลน พน ตวั ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘ (๔) ข แลว

____________________________

โจทกฟอ งขอใหมคี ำสง่ั พิทกั ษทรัพยจ ำเลยเดด็ ขาดและพิพากษาใหเ ปน บคุ คลลมละลาย
จำเลยไมย่นื คำใหการและขาดนัดพจิ ารณา
ศาลลม ละลายกลางพพิ ากษายกฟอ ง คาฤชาธรรมเนยี มใหเปนพบั
โจทกอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติใน
เบื้องตนโดยที่คูความมิไดโตแยงกันวา เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำเลยไดทำสัญญา
กูเงินกับธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) เปนเงิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีโจทกเปน
ผูค้ำประกันในวงเงินไมเกิน ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตอมาจำเลยผิดนัดชำระหนี้เปนตนเงินและ
ดอกเบี้ย ๔,๘๙๙,๒๙๘.๖๗ บาท ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ไดฟองจำเลยตอศาล
จังหวัดสมุทรปราการเปนคดีหมายเลขดำที่ ผบ.๑๗๗๘/๒๕๕๗ ตอมาวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๙

๔๒


Click to View FlipBook Version