The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:44:23

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

ผิดนัดไมชำระหนี้ดังกลาว โดยคำสั่งซื้อหลักทรัพยครั้งสุดทายของลูกหนี้มีกำหนดชำระ
วนั ท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๓๕ การทผ่ี คู ดั คา นมหี นงั สอื ทวงหนไ้ี ปถงึ ผรู อ งเมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ มนี าคม
๒๕๔๗ จึงพนกำหนด ๑๐ ป นับแตลูกหนี้อาจบังคับสิทธิเรียกรองใหผูรองชำระเงินตาม
คำสั่งซื้อหลักทรัพยในแตละคราวแลว หนี้ตามหนังสือทวงหนี้และหนังสือยืนยันหนี้ของ
ผูคัดคา นจึงขาดอายคุ วาม

การที่ลูกหนี้นำเงินคาขายหลักทรัพยและเงินปนผลจากหลักทรัพยคงคางใน
บัญชีของผูรองไปหักชำระดอกเบี้ยที่ลูกหนี้อางวาผูรองคางชำระนั้นเปนการดำเนินการ
ของลกู หนเ้ี พยี งฝา ยเดยี ว ทง้ั ผรู อ งยนื ยนั วา ไดช ำระหนต้ี ามคำสง่ั ซอ้ื หลกั ทรพั ยแ กล กู หน้ี
ครบถว นแลว การกระทำดงั กลา วของลกู หนจ้ี งึ ไมอ าจถอื ไดว า เปน กรณที ผ่ี รู อ งรบั สภาพหน้ี
ตอลูกหนี้ตามสิทธิเรียกรองโดยชำระหนี้ใหบางสวน ชำระดอกเบี้ย หรือกระทำการใด
อนั ปราศจากขอ สงสยั แสดงใหเ หน็ เปน ปรยิ ายวา ยอมรบั สภาพหนต้ี ามสทิ ธเิ รยี กรอ ง การ
ดำเนนิ การดงั กลา วจงึ ไมเ ปน เหตใุ หอ ายคุ วามสะดดุ หยดุ ลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑)

______________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องบรษิ ทั เงนิ ทนุ หลกั ทรพั ย
เจา พระยา จำกดั ลกู หน้ี เดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๔๔ ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๔๗
ผคู ดั คา นมหี นงั สอื ทวงหนใ้ี หผ รู อ งชำระหนต้ี ามสญั ญาแตง ตง้ั ใหเ ปน ตวั แทนซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยแ ละ
เปดบญั ชีเดนิ สะพดั เปน เงนิ ๑๖,๓๑๒,๘๙๐.๒๑ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอยละ ๒๑ ตอป ของ
ตน เงนิ ๕,๖๐๖,๖๔๘.๗๗ บาท นบั แตว นั ท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๔๔ เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แก
ผคู ดั คา น ผรู อ งมหี นงั สอื ปฏเิ สธหนภ้ี ายในกำหนด ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๕๑ ผคู ดั คา น
มีหนังสือยืนยันหนี้ไปยังผูรอง ผูรองยื่นคำรองคัดคานตอศาลลมละลายกลางวาการสงหนังสือ
ยืนยันหนี้ไมชอบ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งวาการสงหนังสือยืนยันหนี้ของผูคัดคานไมชอบ
ดว ยกฎหมายและมคี ำสง่ั ใหผ คู ดั คา นสง หนงั สอื ยนื ยนั หนไ้ี ปยงั ผรู อ งอกี ครง้ั หนง่ึ ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๗
เมษายน ๒๕๖๐ ผูคัดคานมีหนังสือยืนยันหนี้ไปยังผูรองอีกครั้ง ใหผูรองชำระเงินตามจำนวน
ท่รี ะบใุ นหนังสอื ทวงหน้ี

ผรู อ งยน่ื คำรอ งคดั คา นหนงั สอื ยนื ยนั หน้ี ขอใหม คี ำสง่ั จำหนา ยชอ่ื ผรู อ งจากบญั ชลี กู หน้ี
ผูคัดคานยื่นคำคดั คานขอใหยกคำรอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสงั่ ใหจำหนายชือ่ ผรู อ งออกจากบัญชลี กู หนี้ คาฤชาธรรมเนยี ม
ใหเปน พับ

๑๔๓

ผคู ดั คา นอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพิเศษแผนกคดลี มละลายวินจิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จริงฟงยตุ วิ า ผรู อ ง
ซึง่ เปน ลกู คา ของลูกหน้ไี ดม อบอำนาจใหลูกหน้เี ปน นายหนา ตัวแทนเพ่ือทำการซื้อขายหลกั ทรพั ย
ในตลาดหลกั ทรพั ยแ หง ประเทศไทยตามคำสง่ั ของผรู อ ง ลกู หนจ้ี ะออกเงนิ ทดรองใหแ กผ รู อ งในการ
ซอ้ื หลกั ทรพั ยแ ละรบั เงนิ คา ขายหลกั ทรพั ยแ ทนผรู อ ง ผรู อ งตกลงชำระคา ซอ้ื หลกั ทรพั ยท ล่ี กู หน้ี
ไดทำการสั่งซื้อตามคำสั่งของผูรองภายใน ๓ วัน นับจากวันสั่งซื้อ มีปญหาตองวินิจฉัยตาม
อุทธรณของผคู ัดคา นประการแรกวา คดีขาดอายคุ วามแลวหรอื ไม เห็นวา การทีผ่ คู ัดคานในฐานะ
เจา พนกั งานพิทกั ษท รพั ยแ จง ความเปน หนงั สือไปยงั ผรู อ งใหช ำระเงินแกกองทรัพยสนิ ของลกู หน้ี
ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๙ วรรคหนึ่ง เปนการบังคับตามสิทธิ
เรยี กรอ งของลกู หนซ้ี ง่ึ ผคู ดั คา นมอี ำนาจกระทำไดโ ดยไมต อ งฟอ งคดตี อ ศาล ถอื ไดว า เปน การ
กระทำการอน่ื ใดอนั มผี ลเปน อยา งเดยี วกนั กบั การฟอ งคดอี นั เปน เหตใุ หอ ายคุ วามสะดดุ หยดุ ลง
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕) แลว มิใชตองรอใหมีการออก
หนังสอื ยนื ยันหนต้ี ามมาตรา ๑๑๙ วรรคสอง เสียกอ น ดังทีศ่ าลลมละลายกลางวินจิ ฉัย แตก าร
ทผ่ี รู อ งแตง ตง้ั ลกู หนเ้ี ปน ตวั แทนในการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยใ นตลาดหลกั ทรพั ยแ หง ประเทศไทย
และการที่ผูคัดคานใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้เรียกเอาเงินที่ลูกหนี้ไดทดรองจายไปแทนผูรอง
ในการซอ้ื หลกั ทรพั ยต ามคำสง่ั ของผรู อ งนน้ั เปน กรณที ผ่ี คู ดั คา นใชส ทิ ธเิ รยี กรอ งของลกู หน้ี
ซง่ึ เปน ตวั แทนเรยี กเอาเงนิ ทไ่ี ดอ อกทดรองจา ยไปในกจิ การอนั ตวั การมอบหมายแกต นจากตวั การ
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๘๑๖ ซึ่งไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะจึงมี
กำหนด ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๐ ซึ่งอายุความนั้นตอง
เรม่ิ นบั แตข ณะทล่ี กู หนอ้ี าจบงั คบั สทิ ธเิ รยี กรอ งไดเ ปน ตน ไป ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
มาตรา ๑๙๓/๑๒ อายุความในการใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ในการเรียกเงินคาซื้อหลักทรัพย
ทล่ี กู หนไ้ี ดอ อกเงนิ ทดรองแทนผรู อ งจงึ ตอ งเรม่ิ นบั เมอ่ื ครบกำหนดทผ่ี รู อ งตอ งชำระเงนิ ตาม
คำสั่งซื้อหลักทรัพยที่ลูกหนี้ไดออกเงินทดรองจายแทนผูรองในแตละคราวแตผูรองไมชำระ
โดยหนีพ้ พิ าทในคดีนีเ้ กดิ ขึ้นระหวางวันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๕ ถงึ วนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๓๕
โดยเมือ่ วันท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๓๕ ผรู อ งมคี ำสงั่ ซ้อื หลกั ทรพั ยเปน เงิน ๑๑,๑๙๙,๔๖๘.๗๕ บาท
และวนั เดยี วกันผูรองมคี ำส่งั ขายหลกั ทรพั ยเปน เงิน ๗,๑๐๗,๒๘๕ บาท ครบกำหนดชำระคา
ซื้อขายหลักทรัพยในวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๕ ตอมาเมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๕ ผูรองมี
คำสั่งซื้อหลักทรัพยเปนเงิน ๑๐,๓๙๔,๒๑๒.๕๐ บาท และมีคำสั่งขายหลักทรัพยเปนเงิน
๑๖,๐๐๕,๘๙๗.๘๗ บาท ครบกำหนดชำระคา ซ้อื ขายหลกั ทรัพยใ นวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๕

๑๔๔

เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๕ ผูรองมีคำสั่งซื้อหลักทรัพยเปนเงิน ๑๑,๖๕๒,๙๗๕ บาท และมี
คำสั่งขายหลักทรัพยเปนเงิน ๑๑,๘๗๔,๖๐๓.๖๑ บาท ครบกำหนดชำระคาซื้อขายหลักทรัพย
ในวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๕ เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๕ ผูรองมีคำสั่งซื้อหลักทรัพยเปน
เงิน ๓๖๗,๓๒๗.๕๐ บาท ครบกำหนดชำระคาซื้อหลักทรัพยในวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๕
และเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๕ ผูรองมีคำสั่งซื้อหลักทรัพยเปนเงิน ๕๐,๗๕๒.๕๐ บาท
ครบกำหนดชำระคาซ้อื หลกั ทรพั ยในวนั ที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๓๕ ตอ มาเมื่อวนั ท่ี ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๓๕
ลูกหนี้ไมรับคำสั่งซื้อขายหลักทรัพยของผูรองอีกตอไป เมื่อผูคัดคานอางวาลูกหนี้ไดออกเงิน
ทดรองจายคาซื้อหลักทรัพยที่ผูรองมีคำสั่งซื้อครบถวนแลว แตผูรองมิไดชำระเงินคาซื้อหลักทรัพย
ใหแ กล กู หนต้ี ามกำหนด อายคุ วามในการใชส ทิ ธเิ รยี กรอ งของลกู หนจ้ี งึ ตอ งเรม่ิ นบั เมอ่ื ครบกำหนด
ทผ่ี รู อ งตอ งชำระเงนิ คา ซอ้ื หลกั ทรพั ยค นื ใหแ กล กู หนต้ี ามทล่ี กู หนไ้ี ดอ อกเงนิ ทดรองแทนในแตล ะคราว
แตผ รู อ งผดิ นดั ไมชำระหนีด้ งั กลาว โดยคำสง่ั ซอื้ หลกั ทรัพยค รั้งสุดทา ยของผูรอ งมกี ำหนดชำระ
ในวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๓๕ ดังนี้ การที่ผูคัดคานมีหนังสือทวงหนี้ไปถึงผูรองเมื่อวันที่ ๑๕
มีนาคม ๒๕๔๗ จึงพนกำหนด ๑๐ ป นับแตลูกหนี้อาจบังคับสิทธิเรียกรองใหผูรองชำระเงิน
ตามคำสั่งซื้อหลักทรัพยในแตละคราวแลว หนี้ตามหนังสือทวงหนี้และหนังสือยืนยันหนี้ของ
ผคู ดั คา นจงึ ขาดอายคุ วาม ทง้ั นแ้ี มจ ะปรากฏขอ เทจ็ จรงิ วา ลกู หนไ้ี ดห กั กลบลบหนค้ี า ซอ้ื หลกั ทรพั ย
กับคา ขายหลักทรพั ย และลกู หนน้ี ำเงินปนผลทไ่ี ดจ ากหลักทรพั ยค งคางในบญั ชีของผรู อ งไปหกั
ชำระดอกเบ้ียที่ลกู หนอ้ี างวาผูรองคางชำระระหวางเดือนกนั ยายน ๒๕๓๕ ถึงเดือนมิถนุ ายน ๒๕๔๔
ก็เปนการดำเนินการของลูกหนี้เพียงฝายเดียว ทั้งผูรองยืนยันวาผูรองไดชำระหนี้ตามคำสั่งซื้อ
หลกั ทรพั ยว นั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๓๕ แกล กู หนค้ี รบถว นแลว ไมม เี งนิ คา งชำระลกู หนอ้ี กี ลกู หน้ี
เปนฝายตองชำระเงินคาขายหลักทรัพยใหแกผูรอง การที่ลูกหนี้นำเงินคาขายหลักทรัพยและ
เงินปนผลไปหกั ชำระหนีจ้ งึ ไมอาจถอื ไดว าเปน กรณที ีผ่ รู อ งรบั สภาพหนี้ตอลูกหนีต้ ามสทิ ธิเรียกรอ ง
โดยชำระหนใ้ี หบ างสว น ชำระดอกเบย้ี หรอื กระทำการใด ๆ อนั ปราศจากขอ สงสยั แสดงใหเ หน็
เปนปริยายวายอมรับสภาพหนี้ตามสิทธิเรียกรอง การดำเนินการดังกลาวจึงไมเปนเหตุใหอายุความ
สะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) สวนการที่ลูกหนี้ฟอง
ผูรองเปนคดีอาญาในขอหาเอาไปเสียซึ่งเอกสารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๘๘
ก็หาไดทำใหอายุความในการใชสิทธิเรียกรองคดีนี้สะดุดหยุดลงไม ครั้นเมื่อลูกหนี้ถูกศาลสั่ง
พิทักษทรัพยเด็ดขาดแลวผูคัดคานเขารวบรวมจัดการทรัพยสินของลูกหนี้และมีหนังสือทวงหนี้
ไปยังผูรองเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๔๗ จึงเปนการทวงหนี้เมื่อพนกำหนดอายุความ ๑๐ ป

๑๔๕

คดีจึงขาดอายุความ ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหจำหนายชื่อผูรองออกจากบัญชีลูกหนี้นั้น
ศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษเหน็ พอ งดว ยในผล อทุ ธรณข องผคู ัดคา นฟง ไมขน้ึ

พิพากษายืน คาฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณใหเปน พับ

(อดศิ ักด์ิ ศรธนะรัตน - ปฏกิ รณ คงพพิ ิธ - พนู ศักด์ิ เขม็ แซมเกษ)

รตมิ า ชยั สโุ รจน - ยอ
วริ ตั น วิศษิ ฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงทส่ี ดุ

๑๔๖

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๑๘๓๙/๒๕๖๑ ธนาคารกรงุ ไทย

จำกดั (มหาชน) โจทก

นางยพุ า จนั ทรักษ ผรู อ ง

เจาพนักงาน

พิทกั ษท รพั ย ผูคดั คาน

บรษิ ัทเพชรนำ้ หน่ึง

พฒั นา จำกดั

หรอื บรษิ ัทซติ ี้ แอสเสท

จำกดั กบั พวก จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๒

การทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยจ ะปฏเิ สธทรพั ยส นิ หรอื สทิ ธติ ามสญั ญาตาม พ.ร.บ.
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๒ ไดน น้ั จะตอ งเปน กรณที รพั ยส นิ หรอื สทิ ธติ ามสญั ญา
มภี าระเกนิ ควรกวา ประโยชนท ่จี ะพงึ ได แตส ิทธิของจำเลยท่ี ๑ ทจี่ ะไดร ับชำระเงินคา ที่ดิน
พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งจากผรู อ ง โดยจำเลยท่ี ๑ ตอ งโอนทด่ี นิ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งและจดั ใหม ี
สาธารณปู โภคตา ง ๆ ตามสญั ญาจะซอ้ื จะขายใหผ รู อ ง เปน สทิ ธติ ามคำพพิ ากษาของศาล
ผคู ดั คา นไมม อี ำนาจไมย อมรบั ทรพั ยส นิ หรอื สทิ ธดิ งั กลา ว และการทจ่ี ำเลยท่ี ๑ ตอ งไปโอน
ทด่ี นิ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งและจดั ใหม สี าธารณปู โภคตา ง ๆ กเ็ ปน หนต้ี ามคำพพิ ากษาซง่ึ
จำเลยที่ ๑ ตองปฏิบัติตามดวย ผูคัดคานจะอางอำนาจตามมาตรา ๑๒๒ มาบอกปด
ความผกู พันวา เปนสทิ ธติ ามสญั ญาจะซ้อื จะขายหาไดไ ม

______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสามเด็ดขาด
เม่อื วนั ท่ี ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๕๙

ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหม คี ำสง่ั ใหผ คู ดั คา นปฏบิ ตั ติ ามคำพพิ ากษาศาลแพง คดหี มายเลขแดงท่ี
ผบ. ๑๑๙๖/๒๕๕๔

ผูคัดคานยื่นคำคัดคานวา ภาระที่จำเลยที่ ๑ ตองปฏิบัติตามสัญญาจะซื้อจะขายมีเกิน
ควรกวา ประโยชนท จ่ี ำเลยท่ี ๑ พงึ จะได ผคู ดั คา นจงึ มอี ำนาจไมย อมรบั สทิ ธติ ามสญั ญานน้ั ขอให
ยกคำรอ ง

๑๔๗

ศาลลมละลายกลางมีคำสัง่ ยกคำรอง คา ฤชาธรรมเนียมใหเ ปนพับ
ผูรองอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา เห็นวา การที่เจาพนักงาน
พทิ กั ษท รพั ยจ ะปฏเิ สธทรพั ยส นิ หรอื สทิ ธติ ามสญั ญาตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๒๒ ไดนั้นจะตองเปนกรณีทรัพยสินหรือสิทธิตามสัญญามีภาระเกินควรกวาประโยชน
ทจ่ี ะพงึ ได แตส ทิ ธขิ องจำเลยท่ี ๑ ทจ่ี ะไดร บั ชำระเงนิ ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท เปน สทิ ธติ ามคำพพิ ากษา
ของศาลแพง คดหี มายเลขแดงที่ ผบ.๑๑๙๖/๒๕๕๔ ที่พิพากษาใหจ ำเลยที่ ๑ แบง โอนกรรมสทิ ธ์ิ
ทด่ี นิ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งเนอ้ื ท่ี ๑๐๘ ตารางวา ตามโฉนดทด่ี นิ ทจ่ี ำเลยท่ี ๑ หรอื ตวั แทนไดข ออนญุ าต
จัดสรรที่ดินแกผูรองใหจำเลยที่ ๑ จัดใหมีไฟฟา น้ำประปา ถนนและสาธารณูปโภคตาง ๆ ที่ได
ตกลงตามสัญญาจะซื้อจะขายใหผูรอง หากไมสามารถดำเนินการผูรองจะเปนผูดำเนินการโดย
จำเลยที่ ๑ จะตองออกคาใชจายทั้งสิ้น ใหผูรองชำระคาที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางที่คางชำระ
๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ใหแ กจ ำเลยท่ี ๑ และใหจ ำเลยท่ี ๑ ชดใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนผรู อ งโดยกำหนด
คาทนายความ ๔,๐๐๐ บาท แมสิทธิดังกลาวจะสืบเนื่องมาจากการที่ผูรองและจำเลยที่ ๑ ทำ
สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและบานพิพาทก็ตาม ผูคัดคานก็ไมมีอำนาจไมยอมรับทรัพยสินหรือ
สทิ ธดิ งั กลา วและโดยนยั เดยี วกนั การทจ่ี ำเลยท่ี ๑ จะตอ งไปจดั การแบง โอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ พรอ ม
สิ่งปลกู สรา งเนอื้ ท่ี ๑๐๘ ตารางวา ตามโฉนดท่ดี นิ ท่จี ำเลยที่ ๑ หรอื ตัวแทนไดขออนุญาตจดั สรร
ที่ดินแกผูรองและจัดใหมีไฟฟา น้ำประปา ถนนและสาธารณูปโภคตาง ๆ ที่ไดตกลงตามสัญญา
จะซื้อจะขายก็เปนหนี้ตามคำพิพากษา ซึ่งจำเลยที่ ๑ มีหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามดวย ดังนั้น
ผูคัดคานจะอางอำนาจตามมาตรา ๑๒๒ ดังกลาวมาบอกปดความผูกพันวาเปนสิทธิตามสัญญา
จะซื้อจะขายในกรณีเชน น้หี าไดไม
พพิ ากษากลบั ใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๑ ปฏบิ ตั ติ ามคำพพิ ากษาของ
ศาลแพง คดีหมายเลขแดงท่ี ผบ.๑๑๙๖/๒๕๕๔ คา ฤชาธรรมเนียมทั้งสองชั้นศาลใหเ ปนพับ.

(วเิ ชยี ร วชิรประทีป - โชคชัย รุจนิ นิ นาท - องอาจ งามมศี ร)ี

หมายเหตุ คดีถึงทสี่ ุด สรายุทธ เตชะวุฒพิ นั ธุ - ยอ
อดิศกั ด์ิ เทียนกรมิ - ตรวจ

๑๔๘

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษท่ี ๙๕๗/๒๕๖๔ นายสตีเฟน ฟุลแกม

กับพวก โจทก

บริษทั พาราไดซ ลากนู า

ภเู กต็ จำกดั ผูร อ ง

เจา พนักงาน

พิทักษทรัพย ผคู ดั คา น

บรษิ ทั นภวรรณ

เอเชีย จำกดั กับพวก จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๒

การทผ่ี คู ดั คา นจะไมย อมรบั สทิ ธติ ามสญั ญาทม่ี ตี อ บคุ คลอน่ื ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๒ นน้ั หมายถงึ สทิ ธติ ามสญั ญาทจ่ี ำเลยจะพงึ ไดร บั หาใชส ทิ ธติ าม
สัญญาที่ผูอื่นจะพึงไดรับไม ขอเท็จจริงไดความวา ผูรองทำสัญญาจะซื้อจะขายหองชุด
พักอาศยั โดยผูรองชำระเงินแกผขู ายครบถว นตามสญั ญาแลว จำเลยท้ังสองยอ มไมม ี
สิทธใิ ด ๆ หรอื ประโยชนท่ีจะไดรับจากผรู องอกี จำเลยทัง้ สองคงมเี พียงหนาทท่ี ่ีจะตอ ง
ปฏิบัติตามสัญญาจะซื้อจะขาย คือกอสรางอาคารหองชุดพักอาศัยใหเสร็จ ดำเนินการ
จดทะเบียนอาคารชุดและจัดตั้งนิติบุคคลอาคารชุดตามกฎหมาย รวมทั้งโอนกรรมสิทธิ์
ใหแกผูรอง เมื่อผูรองไดฟองจำเลยทั้งสองกับพวกเปนจำเลยตอศาลจังหวัดภูเก็ตเปน
คดีแพงใหปฏิบัติตามสัญญาและมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันจนศาล
มีคำพิพากษาตามยอม สิทธิที่ปรากฏตามขอตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความ
จึงหาใชสิทธิตามสัญญาอีกตอไป เพราะเปนสิทธิตามสัญญาประนีประนอมความซึ่งศาล
ไดพ พิ ากษาแลว อนั เปน สทิ ธติ ามคำพพิ ากษานน่ั เอง และการทจ่ี ำเลยทง้ั สองจะตอ งไป
จดทะเบยี นอาคารชุดและจัดต้งั นติ บิ ุคคลอาคารชดุ ตามกฎหมาย รวมทั้งดำเนนิ การปลอด
จำนองหองชุดดังกลาวนำมาโอนใหแกผูรองนั้น ถือไดวาเปนหนี้ตามคำพิพากษา ซึ่งจำเลย
ทัง้ สองผลู ม ละลายมีหนาทีท่ ต่ี อ งปฏิบตั ิตาม ผคู ัดคา นจงึ ไมอาจอางอำนาจตาม พ.ร.บ.
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๒ มาบอกปด ความผกู พนั ของจำเลยทง้ั สองผลู ม ละลาย
ตามสัญญาประนปี ระนอมยอมความดงั กลา วได

_____________________________

๑๔๙

คดสี บื เนอ่ื งมาจากเมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๐ ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
ของจำเลยทง้ั สองเด็ดขาด และพพิ ากษาใหลมละลายเมื่อวนั ที่ ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ ตอ มาวนั ท่ี
๒๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๓ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหผ คู ดั คา นปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
ซงึ่ ศาลไดม คี ำพิพากษาตามยอมแลว ผูคัดคา นสอบสวนแลว มคี ำสั่งยกคำรอง

ผรู อ งยน่ื คำรอ งและแกไ ขคำรอ ง ขอใหม คี ำสง่ั กลบั หรอื แกไ ขคำสง่ั ของผคู ดั คา น ใหผ คู ดั คา น
ดำเนนิ การปลอดจำนอง จดทะเบยี นอาคารชดุ และจดทะเบยี นโอนหอ งชดุ ในอาคารชดุ พกั อาศยั
หลังที่ ๗ ชั้นที่ ๓ หอง ๗ พี (P) หรือหองชุดพักอาศัยเลขที่ ๑๓๓/๔ หมูที่ ๖ ตำบลเชิงทะเล
อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งตั้งอยูบนโฉนดที่ดินเลขที่ ๓๓๘๓๖ เลขที่ดิน ๕๔ ตำบลเชิงทะเล
อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ใหผูรอง หรือมีคำสั่งใหผูรองมีสิทธิในอาคารชุดพักอาศัยดังกลาว
และใหผูค ัดคา นดำเนนิ การแยกสง่ิ ปลกู สรา งในท่ดี ินใหแกผูรองโดยไมข ายทอดตลาด

ผูคัดคานย่นื คำคดั คาน ขอใหยกคำรอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนคำสั่งผูคัดคาน ใหผูคัดคานพิจารณาและ
ดำเนนิ การใหเ ปน ไปตามสทิ ธขิ องผรู อ งตามกฎหมาย คำขออน่ื ใหย ก คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปน พบั
ผูค ดั คานอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงไดวา เมื่อ
วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๙ ผูรองไดทำสัญญาจะซื้อจะขายหองชุดพักอาศัย โครงการชมตะวัน
เรสซิเดนเชี่ยล คอนโดมิเนียม อาคารหลังที่ ๗ ชั้นที่ ๓ หอง ๗ พี (P) เนื้อที่ ๕๔๐ ตารางเมตร
ปจจุบันคือหองชุดพักอาศัยเลขที่ ๑๓๓/๔ หมูที่ ๖ ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
ตั้งอยูบนที่ดินโฉนดเลขที่ ๓๓๘๓๖ เลขที่ดิน ๕๔ ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
ของจำเลยที่ ๑ โดยบริษัทชมตะวัน อพารทเมนทส จำกัด ผูขาย ตกลงจะกอสรางใหแลวเสร็จ
ภายในเดือนธันวาคม ๒๕๕๐ และจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ใหผูรองภายในหนึ่งเดือนนับแต
กอ สรา งและจดทะเบยี นอาคารชดุ แลว เสรจ็ ผรู อ งชำระเงนิ ตามสญั ญาแกผ ขู าย ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ครบถวนแลว และผูขายไดสงมอบหองชุดใหผูรองครอบครองตั้งแตวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๐
แตไ มส ามารถดำเนนิ การจดทะเบยี นโอนใหผ รู อ งได ผรู อ งจงึ ฟอ งคดจี ำเลยทง้ั สองในคดนี ใ้ี นฐานะ
ผรู ว มดำเนนิ การโครงการดงั กลา วกบั พวกตอ ศาลจงั หวดั ภเู กต็ คดรี ะหวา ง บรษิ ทั พาราไดซ ลากนู า
ภเู กต็ จำกดั โจทก บรษิ ทั ชมตะวนั อพารท เมน ทส จำกดั ท่ี ๑ บรษิ ทั นภวรรณ เอเชยี จำกดั ท่ี ๒
บริษัทวิธวัณ จำกัด ที่ ๓ บริษัทมหธน จำกัด ที่ ๔ นางสาวจุรีรัตน ประณีต ที่ ๕ จำเลย ตอมา
เมอ่ื วนั ท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๖ ศาลจงั หวดั ภเู กต็ มคี ำพพิ ากษาตามยอม เปน คดหี มายเลขแดงท่ี
ผบ.๑๘๑/๒๕๕๖ ใหจ ำเลยในคดดี งั กลา วรว มกนั จดทะเบยี นอาคารชดุ พกั อาศยั หลงั ท่ี ๗ ชน้ั ท่ี ๓

๑๕๐

หอง ๗ พี (P) เนื้อที่ ๕๔๐ ตารางเมตร หรือหองชุดพักอาศัยเลขที่ ๑๓๓/๔ หมูที่ ๖ ตำบลเชิง
ทะเล อำเภอถลาง จงั หวดั ภเู กต็ และจดทะเบยี นจดั ตง้ั นติ บิ คุ คลอาคารชดุ ตามกฎหมายอาคารชดุ
รวมทั้งจดทะเบียนปลอดจำนองหองชุดนำมาโอนใหแกผูรองใหเสร็จสิ้นภายใน ๖ เดือน หากไม
ปฏบิ ตั ติ าม ใหผ รู อ งบงั คบั คดเี ปน เงนิ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป
นับแตว นั ฟองเปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ หอ งชดุ ดังกลาวตงั้ อยูบนท่ีดินโฉนดเลขที่ ๓๓๘๓๖
เลขที่ดิน ๕๔ ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ตของจำเลยที่ ๑ ที่ไดจดทะเบียนจำนอง
ไวก บั ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกดั (มหาชน)

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นวา ผคู ดั คา นมอี ำนาจปฏเิ สธไมป ฏบิ ตั ิ
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความระหวางผูรองกับจำเลยทั้งสองหรือไม ผูคัดคานอุทธรณ
ประการแรกวา ในการดำเนินการโอนกรรมสิทธิ์อาคารหองชุดพักอาศัยใหแกผูรอง ผูคัดคาน
จะตองดำเนินการไถถอนจำนองจากธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (มหาชน) โดยจำเลยที่ ๑
มีภาระหนี้กับธนาคารดังกลาวตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ณ วันที่ศาลลมละลายกลาง
มีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาด เปนเงิน ๒๒๗,๕๔๒,๔๙๓.๘๖ บาท พรอมดอกเบี้ย
ผิดนัดนับแตวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ เปนตนไปจนถึงวันขายทอดตลาดทรัพยจำนอง
เมื่อเทียบกับความยุงยากหรือภาระที่จะตองปฏิบัติใหเปนไปตามสัญญาระหวางผูรองกับจำเลย
ทั้งสองแลวจึงเปนกรณีสิทธิตามสัญญามีภาระเกินควรกวาประโยชนที่จะพึงไดรับ เห็นวา การที่
ผคู ดั คา นจะไมย อมรบั สทิ ธติ ามสญั ญาทม่ี ตี อ บคุ คลอน่ื ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๒๒ นั้น หมายถึงสิทธิตามสัญญาที่จำเลยจะพึงไดรับ หาใชสิทธิตามสัญญาที่ผูอื่นจะ
พงึ ไดร บั ไม ขอ เทจ็ จรงิ ไดค วามวา ผรู อ งทำสญั ญาจะซอ้ื จะขายหอ งชดุ พกั อาศยั โดยผรู อ งชำระเงนิ
ตามสัญญาแกผูขายจำนวน ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ครบถวนตามสัญญาแลว จำเลยทั้งสองยอม
ไมม สี ทิ ธใิ ด ๆ หรอื ประโยชนท จ่ี ะไดร บั จากผรู อ งอกี จำเลยทง้ั สองคงมเี พยี งหนา ทท่ี จ่ี ะตอ งปฏบิ ตั ิ
ตามสัญญาจะซื้อจะขาย คือ กอสรางอาคารหองชุดพักอาศัยใหเสร็จ ดำเนินการจดทะเบียน
อาคารชดุ และจดั ตง้ั นติ บิ คุ คลอาคารชดุ ตามกฎหมาย รวมทง้ั โอนกรรมสทิ ธใ์ิ หแ กผ รู อ ง เมอ่ื ผรู อ ง
ไดฟ อ งจำเลยทง้ั สองกบั พวกเปน จำเลยตอ ศาลจงั หวดั ภเู กต็ เปน คดแี พง ใหป ฏบิ ตั ติ ามสญั ญา และ
มีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันจนศาลมีคำพิพากษาตามยอมใหเปนคดีหมายเลข
แดงท่ี ผบ.๑๘๑/๒๕๕๖ ของศาลจงั หวดั ภเู กต็ สทิ ธทิ ป่ี รากฏตามขอ ตกลงในสญั ญาประนปี ระนอม
ยอมความ จงึ หาใชส ทิ ธติ ามสญั ญาอกี ตอ ไป เพราะเปน สทิ ธติ ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
ซึ่งศาลไดพิพากษาแลว อันเปนสิทธิตามคำพิพากษานั่นเอง และการที่จำเลยทั้งสองจะตองไป

๑๕๑

จดทะเบยี นอาคารชดุ และจดั ตง้ั นติ บิ คุ คลอาคารชดุ ตามกฎหมาย รวมทง้ั ดำเนนิ การปลอดจำนอง
หองชุดดังกลาวนำมาโอนใหแกผูรองนั้น ถือไดวาเปนหนี้ตามคำพิพากษา ซึ่งจำเลยทั้งสอง
ผลู ม ละลายมหี นา ทท่ี ต่ี อ งปฏบิ ตั ติ าม ผคู ดั คา นจงึ ไมอ าจอา งอำนาจตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๒ มาบอกปดความผูกพันของจำเลยทั้งสองผูลมละลายตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความดังกลาวได และที่ผูคัดคานอุทธรณอางวา หองชุดอาคารที่พักที่ผูรอง
ขอใหป ฏบิ ตั ติ ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความนน้ั ตง้ั อยบู นทด่ี นิ ทต่ี ดิ จำนองธนาคารไอซบี ซี ี (ไทย)
จำกัด (มหาชน) ผูคัดคานยังไมสามารถรวบรวมทรัพยสินของจำเลยทั้งสองได กองทรัพยสิน
ไมม เี งนิ ทจ่ี ะนำไปชำระหนใ้ี หแ กธ นาคารเพอ่ื ปลอดจำนองไดน น้ั เหน็ วา เมอ่ื การจดั การทรพั ยส นิ
และกิจการของจำเลยทั้งสองยังไมเสร็จสิ้น ขออางดังกลาวเปนเพียงปญหาในชั้นบังคับคดีที่ยัง
มิไดดำเนินการเทานั้น การชำระหนี้ยังไมถือวาเปนการพนวิสัย หากไดจดทะเบียนอาคารชุด
และแยกกรรมสิทธิ์เฉพาะสวนของผูรองแลว ภาระหนี้ที่ตองปลอดการจำนองเพื่อใหเปนไปตาม
คำพิพากษาตามยอมยอมไมสูงดังที่ผูคัดคานอาง สวนอุทธรณของผูคัดคานวา ตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความขอ ๑ ซึ่งกำหนดใหดำเนินการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลอาคารชุด
ตามกฎหมายอาคารชุด รวมทั้งจดทะเบียนปลอดจำนองหองชุดไดพนระยะเวลาตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความแลวผูคัดคานไมสามารถกระทำการไดเนื่องจากสัญญาประนีประนอม
ยอมความและคำพพิ ากษาตามยอมไมไ ดก ำหนดใหถ อื เอาคำพพิ ากษาแทนการแสดงเจตนาของ
จำเลย ผูรองจึงตองบังคับคดีตามขอ ๒ ของสัญญาโดยบังคับเอากับหนี้เงิน ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
พรอมดอกเบี้ยแทนนั้น เห็นวา เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้คือจำเลยทั้งสองแลว
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยแ ตผ เู ดยี วมอี ำนาจจดั การและจำหนา ยทรพั ยส นิ ของลกู หน้ี หรอื กระทำการ
ทจ่ี ำเปน เพอ่ื ใหก จิ การของลกู หนท้ี ค่ี า งอยเู สรจ็ สน้ิ ไปตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๒๒ (๑) ดงั นน้ั ผคู ดั คา นจงึ มอี ำนาจจดั การกจิ การเกย่ี วกบั หอ งชดุ ทพ่ี กั อาศยั ตามสญั ญา
ประนีประนอมยอมความแทนจำเลยทั้งสองได หาใชเรื่องที่ผูรองตองอาศัยคำพิพากษาแทน
การแสดงเจตนาของจำเลยแตอยางใดไม เมื่อสัญญาประนีประนอมยอมความกำหนดหนาที่ให
จำเลยทั้งสองกระทำการตามขอ ตกลงเก่ยี วกับหอ งชดุ ท่ีพักอาศัยดังกลาวอันเปน กิจการเกี่ยวกับ
ทรพั ยสินของจำเลยท้งั สอง เปน หนที้ ี่ตองชำระโดยเฉพาะเจาะจง และไมใ ชกรณีท่สี ภาพแหงหน้ี
ไมเ ปด ชอ งใหบ งั คบั ไดแ ลว ผคู ดั คา นจงึ ไมอ าจปฏเิ สธไมป ฏบิ ตั ติ ามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
ระหวา งผรู อ งกบั จำเลยทง้ั สองได ทศ่ี าลลม ละลายกลางวนิ จิ ฉยั มานน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
เห็นพองดวย อทุ ธรณข องผคู ดั คานฟงไมข้นึ

๑๕๒

พพิ ากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มชนั้ อทุ ธรณใ หเ ปนพับ.
(โชคชยั รุจนิ ินนาท - วเิ ชยี ร วชริ ประทีป - องอาจ งามมีศรี)

สรายุทธ เตชะวฒุ ิพนั ธุ - ยอ
วิรัตน วิศิษฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ที่สดุ

๑๕๓

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พิเศษท่ี ๔๘๒๑/๒๕๖๑ บริษัทบรหิ ารสนิ ทรพั ย

สุขุมวิท จำกดั โจทก

ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา

จำกดั (มหาชน) ผูรอง

เจา พนกั งาน

พิทักษทรพั ย ผูค ดั คา น

นายชานนทห รอื

อานนท ไวยะวงษ

กับพวก จำเลย

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑), ๑๗๙ (๔)

เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๑ เด็ดขาดแลว อำนาจในการจัดการ
และจำหนา ยทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๑ ยอ มเปน ของผคู ดั คา นแตผ เู ดยี ว ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑) แมไ มม เี จา หนน้ี ำยดึ ทรพั ย ผคู ดั คา นกม็ อี ำนาจยดึ ทรพั ยไ ดเ อง
และยึดทรัพยของจำเลยที่ ๑ ไดทั้งหมดโดยไมตองพิจารณาถึงจำนวนหนี้ของโจทก
เหมือนเชนคดีแพง เนื่องจากเปนการกระทำเพื่อประโยชนแกเจาหนี้ทั้งหลาย แมผูรอง
จะขอรบั ชำระหนอ้ี ยา งเจา หนม้ี ปี ระกนั กต็ าม เมอ่ื ทรพั ยห ลกั ประกนั มรี าคาประเมนิ สงู กวา
จำนวนหนท้ี ผ่ี รู อ งขอรบั ชำระหนม้ี าก มลู คา ทรพั ยห ลกั ประกนั สว นทเ่ี หลอื สามารถนำมา
แบงเฉลี่ยชำระหนี้ใหแกเจาหนี้รายอื่นได การขอยึดทรัพยหลักประกันของผูรองจึงเปน
ไปเพอ่ื ประโยชนแ กเ จา หนท้ี ง้ั หลาย การใหผ รู อ งเสยี คา ธรรมเนยี มในการรวบรวมทรพั ยส นิ
ทไ่ี มม กี ารขายหรอื จำหนา ยในอตั รารอ ยละ ๒ ของราคาทรพั ยส นิ ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ (๔) โดยไมพิจารณาถึงยอดหนี้ที่ผูรองขอรับชำระหนี้ยอมเปน
การไมชอบ คำสั่งกรมบังคับคดีที่ ๕๗๘/๒๕๔๙ เรื่อง การเรียกเก็บเงินคาธรรมเนียมใน
คดีแพงและคดีลมละลาย วา การคิดคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขายใหคิดจากราคา
ประเมินขณะยึดของเจาพนักงานบังคับคดีเปรียบเทียบกับยอดหนี้ตามหมายบังคับคดี
โดยคิดดอกเบี้ยถึงวันที่วางคาธรรมเนียม หากจำนวนเงินใดนอยกวาใหใชจำนวนนั้น
เปนฐานในการคิดคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขายได คำสั่งดังกลาวเปนแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับการทำบัญชีแสดงรายการรับ-จายเงินในคดีแพงซึ่งระบุใหนักบัญชีปฏิบัติแตก็

๑๕๔

กำหนดถงึ การคดิ คา ธรรมเนยี มยดึ แลว ไมม กี ารขายไวด ว ย นกั บญั ชแี ละผคู ดั คา นตา งเปน
เจาหนาที่กรมบังคับคดีดวยกัน ยอมตองปฏิบัติเชนเดียวกัน ผูคัดคานจึงตองคิดคา
ธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขาย โดยคิดจากราคาประเมินจากยอดเงินที่ผูรองขอรับ
ชำระหน้ีซง่ึ เปน จำนวนที่นอ ยกวา

_____________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๑ เด็ดขาด
เม่อื วนั ท่ี ๘ มนี าคม ๒๕๕๔

ผูรองซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๓ ยื่นคำรอง ขอใหมีคำสั่งใหผูคัดคานคิดคาธรรมเนียม
ยึดทรพั ยสินแลว ไมมกี ารขายจากยอดหน้ีที่ผรู องขอรบั ชำระหนี้

ผคู ัดคา นยื่นคำคดั คาน ขอใหยกคำรอ ง
ศาลลม ละลายกลางมคี ำส่งั ยกคำรอง คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพับ
ผูคัดคานอทุ ธรณโดยไดรับอนุญาตจากศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงฟงเปนยุติโดย
คคู วามมไิ ดโ ตแ ยง วา ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๑ เดด็ ขาด เมอ่ื วนั ท่ี ๘
มนี าคม ๒๕๕๔ ผรู อ งขอรบั ชำระหนจ้ี ากกองทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๑ มลู หนค้ี ำ้ ประกนั หนเ้ี บกิ เงนิ
เกินบัญชีเปนเงิน ๕,๙๓๒,๑๖๕.๔๗ บาท อยางเจาหนี้มีประกันตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓) โดยมีที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่ ๓๕๑๒, ๓๗๔๔, และ ๓๙๓๓ ตำบล
ทบั กวาง อำเภอแกง คอย จงั หวดั สระบรุ ี จำนองเปน หลกั ประกนั ผคู ดั คา นยดึ หลกั ประกนั ดงั กลา ว
ประเมินราคา ๔๘,๑๘๔,๕๐๐ บาท ตอมาเจาหนี้ที่ขอรับชำระหนี้ทุกรายถอนคำขอรับชำระหนี้
ผูคัดคานถอนการยึดและเรียกใหผูรองชำระคาธรรมเนียมสำหรับทรัพยสินที่ไมมีการขายหรือ
จำหนายตามราคาประเมินในอตั รารอ ยละ ๒ ของราคาทรัพยเ ปน เงิน ๙๖๓,๓๒๔ บาท มปี ญหา
ตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผรู อ งวา คา ธรรมเนยี มการยดึ ทรพั ยส นิ แลว ไมม กี ารขายตอ งคำนวณ
จากยอดหนท้ี ผ่ี รู อ งขอรบั ชำระหนห้ี รอื ไม เหน็ วา เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๑ แลว
อำนาจในการจดั การและจำหนา ยทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๑ ยอ มเปน ของผคู ดั คา นแตผ เู ดยี ว ตาม
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑) แมไมมีเจาหนี้นำยึดทรัพย ผูคัดคาน
กม็ อี ำนาจยดึ ทรพั ยไ ดเ อง และยดึ ทรพั ยข องจำเลยท่ี ๑ ไดท ง้ั หมดโดยไมต อ งพจิ ารณาถงึ จำนวนหน้ี
ของโจทกเหมือนเชนคดีแพงเนื่องจากเปนการกระทำเพื่อประโยชนแกเจาหนี้ทั้งหลาย แมผูรอง

๑๕๕

จะขอรับชำระหน้อี ยา งเจา หนี้มีประกนั อนั จะทำใหผ รู องมีสทิ ธิรับชำระหนี้จากทรัพยหลักประกัน
กอนเจาหนี้อื่นก็ตาม แตคดีนี้ผูรองขอรับชำระหนี้เพียง ๕,๙๓๒,๑๖๕.๔๗ บาท ในขณะที่ทรัพย
หลกั ประกนั มรี าคาประเมนิ ถงึ ๔๘,๑๘๔,๕๐๐ บาท ซง่ึ สงู กวา จำนวนหนท้ี ผ่ี รู อ งขอรบั ชำระหนม้ี าก
จึงเห็นไดวามูลคาทรัพยหลักประกันสวนที่เหลือสามารถนำมาแบงเฉลี่ยชำระหนี้ใหแกเจาหนี้
รายอน่ื ได การขอยดึ ทรพั ยห ลกั ประกนั ของผรู อ งจงึ เปน ไปเพอ่ื ประโยชนแ กเ จา หนท้ี ง้ั หลาย การ
ใหผ รู องเสยี คา ธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสนิ ทไ่ี มมีการขายหรอื จำหนา ยในอตั รารอยละ ๒
ของราคาทรพั ยส นิ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ (๔) โดยไมพ จิ ารณา
ถึงยอดหนี้ที่ผูรองขอรับชำระยอมไมเปนธรรมแกผูรอง โดยเฉพาะแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการ
ทำบญั ชแี สดงรายรบั -จายเงินในคดแี พง แนบทา ยคำสงั่ กรมบงั คบั คดที ี่ ๕๗๘/๒๕๔๙ มกี ารระบุ
ถึงการคิดคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขายไวในขอ ๑๒ วา การคิดคาธรรมเนียมยึดแลวไมมี
การขาย ใหคิดจากราคาประเมินขณะยึดของเจาพนักงานบังคับคดีเปรียบเทียบกับยอดหนี้ตาม
หมายบังคับคดีโดยคิดดอกเบี้ยถึงวันที่วางชำระคาธรรมเนียม หากจำนวนเงินใดนอยกวาใหใช
จำนวนนั้นเปนฐานในการคิดคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขาย แมผูคัดคานจะอางวาแนวทาง
ปฏิบัติดังกลาวใชกับการดำเนินการบังคับคดีแพง โดยพิจารณาไดจากชื่อเรื่องของแนวปฏิบัติ
และเนื้อหาซึ่งระบุวาใหคิดจากราคาประเมินขณะยึดของเจาพนักงานบังคับคดีเปรียบเทียบกับ
ยอดหนต้ี ามหมายบงั คบั คดกี ต็ าม แตก ป็ รากฏตามคำสง่ั กรมบงั คบั คดที ่ี ๕๗๘/๒๕๔๙ วา คำสง่ั
ดงั กลา วเปน คำสง่ั เรอ่ื ง การเรยี กเกบ็ เงนิ คา ธรรมเนยี มในคดแี พง และคดลี ม ละลาย ซง่ึ เปน การใช
บงั คบั ทง้ั คดแี พง และคดลี ม ละลาย เมอ่ื แนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การทำบญั ชแี สดงรายรบั -จา ยเงนิ
ในคดแี พง เปน เอกสารแนบทา ยคำสง่ั ดงั กลา วยอ มสามารถนำมาใชบ งั คบั เกย่ี วกบั การยดึ ทรพั ยแ ลว
ไมม กี ารขายในคดลี ม ละลายไดโ ดยอนโุ ลม สว นทผ่ี คู ดั คา นอา งวา แนวปฏบิ ตั ดิ งั กลา วมไิ ดก ำหนดให
ผูคัดคานซึ่งปฏิบัติหนาที่ในคดีลมละลายตองถือปฏิบัติโดยอนุโลมนั้น เห็นวา แมคำสั่งดังกลาว
เปน แนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การทำบญั ชแี สดงรายรบั -จา ยเงนิ ในคดแี พง ซง่ึ ระบใุ หน กั บญั ชปี ฏบิ ตั ิ
แตก ม็ กี ารกำหนดถงึ การคดิ คา ธรรมเนยี มยดึ แลว ไมม กี ารขายไวด ว ย ซง่ึ ทง้ั นกั บญั ชแี ละผคู ดั คา น
ตา งเปน เจา หนา ทก่ี รมบงั คบั คดดี ว ยกนั ดงั นน้ั ในเรอ่ื งเดยี วกนั ทง้ั นกั บญั ชแี ละผคู ดั คา นยอ มตอ ง
ปฏิบัติเชนเดียวกัน เมื่อผูคัดคานคิดคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขายก็ตองปฏิบัติใหเปนไป
ตามแนวปฏบิ ตั แิ นบคำสง่ั ดงั กลา ว โดยคดิ จากราคาประเมนิ จากยอดเงนิ ๕,๙๓๒,๑๖๕.๔๗ บาท
ทผ่ี รู อ งขอรบั ชำระหน้ี ซง่ึ เปน จำนวนทน่ี อ ยกวา ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ยกคำรอ งของผรู อ งนน้ั
ศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษไมเ หน็ พองดวย อทุ ธรณของผูร องฟง ขน้ึ

๑๕๖

พิพากษาแกเปนวา ใหผูรองเสียคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสินที่ไมมีการขาย
หรือจำหนายในอัตรารอยละ ๒ ของราคาทรัพยสินนั้น แตไมเกินจำนวนหนี้ที่ผูรองขอรับชำระ
นอกจากทแ่ี กใหเปน ไปตามคำสัง่ ของศาลลม ละลายกลาง คา ฤชาธรรมเนียมในชัน้ นี้ใหเปนพับ.

(วิเชยี ร วชริ ประทีป - โชคชยั รุจินนิ นาท - องอาจ งามมศี ร)ี

ภารดี เพ็ญเจรญิ - ยอ
วิรตั น วศิ ิษฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ท่สี ุด

๑๕๗

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๕๑๐๗/๒๕๖๑ ธนาคารไทยพาณิชย

(ประชุมใหญ) จำกัด (มหาชน) โจทก

เจาพนักงาน

พิทักษท รพั ย ผคู ัดคาน

นายสรุ พนั ธุ

กอบเงินทอง จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒, ๑๐๙, ๑๒๑ วรรคหนง่ึ

จำเลยซ่ึงเปนสมาชิกกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการลาออกจากราชการ
กอ นทจ่ี ำเลยไดร บั การปลดจากการเปน บคุ คลลม ละลาย การลาออกจากราชการมผี ล
ใหส มาชกิ ภาพกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการของจำเลยสน้ิ สดุ ลง และมสี ทิ ธริ บั เงนิ
บำนาญ เงนิ สะสม เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชยและประโยชนต อบแทนนบั จากวนั
ดงั กลา ว จงึ ตอ งถอื วา สทิ ธทิ จ่ี ำเลยไดร บั เงนิ จากกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการนน้ั
เปนทรัพยสินของจำเลยอันอาจแบงไดในคดีลมละลายตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๐๙ ผูคัดคานจึงมีอำนาจรวบรวมเขาในกองทรัพยสินของจำเลยเพื่อแบงใหแก
เจา หนท้ี ง้ั หลายตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ ภายใตเ งอ่ื นไขทต่ี อ งจา ย
คาเลี้ยงชีพใหแกจำเลยที่เปนขาราชการตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๑
วรรคหนึง่ แมกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการสงเงนิ ดงั กลา วใหแกผูค ดั คา นเพอ่ื รวบรวม
เขากองทรัพยสินของจำเลยหลังจากจำเลยไดรับการปลดจากลมละลายแลว ก็เปนการ
ไดรับชำระหนี้ตามสิทธิเรียกรองของจำเลยที่เกิดขึ้นในระหวางถูกพิทักษทรัพย จำเลย
จึงมีสิทธิไดรับคาเลี้ยงชพี จากเงินท่ีกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขาราชการสง ใหแกผ คู ัดคา น
ซึ่งผูคัดคานมีหนาที่ตองกำหนดคาเลี้ยงชีพใหตามสิทธิของจำเลยตามสมควรแกฐานานุรูป
ตามกฎหมายตอไป

___________________________

คดีสืบเนื่องมาจากเมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๔ ศาลลมละลายกลางมีคำพิพากษา
ใหจำเลยเปนบุคคลลมละลาย ตอมาวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๕๙ จำเลยซึ่งเปนขาราชการและ
เปนสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการไดลาออกจากการเปนขาราชการเปนเหตุให

๑๕๘

สมาชกิ ภาพสน้ิ สดุ ลงและมสี ทิ ธไิ ดร บั บำเหนจ็ บำนาญ เงนิ สะสม เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชย
และผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวตามพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๔๕ จนกระทง่ั วนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๕๙ จำเลยไดร บั การปลดจากการเปน
บคุ คลลม ละลาย ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการสง เงนิ สะสม
เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชย และผลประโยชนต อบแทนเงนิ ดงั กลา วรวม ๑,๐๓๘,๖๔๗.๙๑ บาท
ทีจ่ ำเลยมีสิทธไิ ดร ับใหแ กผ ูค ดั คา นในฐานะเจา พนกั งานพทิ ักษทรัพย

จำเลยยน่ื คำรอ งตอ ผคู ดั คา นขอใหม อบเงนิ ทไ่ี ดร บั จากกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ
ใหแ กจำเลยเปน คาเล้ยี งชพี จำเลยและครอบครวั ภายหลังเกษียณอายุราชการ

ผคู ัดคานมีคำส่งั ใหยกคำรอง
จำเลยยื่นคำรองคัดคานคำสั่งของผูคัดคาน ขอใหมีคำสั่งใหผูคัดคานจายเงินที่ไดรับ
จากกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขาราชการใหแ กจำเลย
ผคู ดั คา นยน่ื คำคดั คา นวา จำเลยมสี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ จากกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ
เพราะเหตลุ าออกจากราชการเมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๙ จงึ เปน ทรพั ยท จ่ี ำเลยไดม าในระหวา ง
เปน บคุ คลลม ละลายทผ่ี คู ดั คา นสามารถนำมาแบง ชำระใหแ กเ จา หนไ้ี ด และจำเลยไดร บั การปลด
จากการเปน บคุ คลลม ละลายแลว เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๕๙ จงึ ไมส ามารถรอ งขอใหผ คู ดั คา น
มอบเงินที่ไดรับจากกองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการเปนคาลี้ยงชีพจำเลยและครอบครัวได
ขอใหยกคำรอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหยกคำรอง คาฤชาธรรมเนียมใหเปน พับ
จำเลยอทุ ธรณโดยไดรบั อนุญาตศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง
กนั ในชน้ั นร้ี บั ฟง ไดเ ปน ทย่ี ตุ วิ า เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ กนั ยายน ๒๕๕๔ จำเลยซง่ึ เปน ขา ราชการและเปน
สมาชกิ กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการตกเปน บคุ คลลม ละลาย ตอ มาจำเลยลาออกจากราชการ
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๙ เปน เหตใุ หไ ดส ทิ ธริ บั เงนิ สะสม เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชย
และผลประโยชนตอบแทนเงินของดังกลาวรวม ๑,๐๓๘,๖๔๗.๙๑ บาท จากกองทุนบำเหน็จ
บำนาญขา ราชการ จนกระทง่ั วนั ท่ี ๑๓ กนั ยายน ๒๕๕๙ จำเลยไดร บั การปลดจากการเปน บคุ คล
ลม ละลาย ตอ มากองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการสง เงนิ สะสม เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชย
และผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวใหแกผูคัดคานในฐานะเจาพนักงานพิทักษทรัพยเมื่อ
วันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ จำเลยจึงยื่นคำรองตอผูคัดคานขอใหมอบเงินดังกลาว ทั้งหมดใหแก
จำเลยเพ่ือเปนคาเลยี้ งชีพของจำเลยและครอบครัว ผคู ดั คานมคี ำส่งั ยกคำรอง

๑๕๙

คดมี ปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ในขอ แรกตามทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า จำเลยมสี ทิ ธไิ ดร บั คา เลย้ี งชพี
จากเงนิ ท่กี องทนุ บำเหนจ็ บำนาญขาราชการสงใหแ กผ คู ดั คา นหลงั จากจำเลยไดรบั การปลดจาก
ลม ละลายแลว หรอื ไม ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษโดยทป่ี ระชมุ ใหญ เหน็ วา พระราชบญั ญตั กิ องทนุ
บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๔๔ บญั ญตั วิ า “สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สน้ิ สดุ ลง
เมื่อผูนั้นออกจากราชการ...” และมาตรา ๔๕ บัญญัติวา “สมาชิกมีสิทธิไดรับบำนาญ เงินสะสม
เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชยและผลประโยชนต อบแทนเงนิ ดงั กลา วตามหลกั เกณฑท ก่ี ำหนด
ไวในพระราชบัญญัตินี้เมื่อสมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง” ดังนั้น การที่จำเลยซึ่งเปนสมาชิก
กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการลาออกจากราชการเมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๙ ซง่ึ มผี ลให
สมาชกิ ภาพสิ้นสดุ ลงและมีสทิ ธิรับเงนิ บำนาญ เงนิ สะสม เงนิ สมทบ เงินประเดมิ เงินชดเชยและ
ผลประโยชนต อบแทนนบั จากวนั ดงั กลา ว จงึ ตอ งถอื วา สทิ ธทิ จ่ี ำเลยไดร บั เงนิ จากกองทนุ บำเหนจ็
บำนาญขา ราชการนน้ั เปน ทรพั ยส นิ ของจำเลยอนั อาจแบง ไดใ นคดลี ม ละลายตามพระราชบญั ญตั ิ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๙ ผคู ดั คา นจงึ มอี ำนาจรวบรวมเขา ในกองทรพั ยส นิ ของจำเลย
เพื่อแบงใหแกเจาหนี้ทั้งหลายตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ ภายใต
เงอ่ื นไขทต่ี อ งจา ยคา เลย้ี งชพี ใหแ กจ ำเลยทเ่ี ปน ขา ราชการตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๒๑ วรรคหนง่ึ ซง่ึ บญั ญตั วิ า “ถา ลกู หนเ้ี ปน ขา ราชการ เมอ่ื ศาลไดม คี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยแ ลว
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม สี ทิ ธริ บั เงนิ เดอื น บำนาญ บำเหนจ็ เบย้ี หวดั หรอื เงนิ ในทำนองเดยี วกนั น้ี
ของลกู หนจ้ี ากเจา หนา ทเ่ี พอ่ื รวบรวมแบง ใหแ กเ จา หนไ้ี ด แตเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยจ ะตอ งจา ย
คา เลย้ี งชพี ลกู หนแ้ี ละครอบครวั ตามสมควรแกฐ านานรุ ปู ” แมก องทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ
สง เงนิ ดงั กลา วใหแ กผ คู ดั คา นเพอ่ื รวบรวมเขา กองทรพั ยส นิ ของจำเลยหลงั จากจำเลยไดร บั การปลด
จากลมละลายแลว ก็เปนการไดรับชำระหนี้ตามสิทธิเรียกรองของจำเลยที่เกิดขึ้นในระหวางถูก
พทิ ักษท รพั ย จำเลยจงึ มสี ทิ ธไิ ดร ับคาเล้ยี งชีพจากเงินท่กี องทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการสง ให
แกผูคัดคานตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๑ วรรคหนึ่ง ซึ่งผูคัดคาน
มหี นา ทต่ี อ งกำหนดคา เลย้ี งชพี ใหต ามสทิ ธขิ องจำเลยตามสมควรแกฐ านานรุ ปู ตามกฎหมายตอ ไป

มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตอ ไปวา สมควรกำหนดใหจ ำเลยและครอบครวั ไดร บั เงนิ คา เลย้ี งชพี
เพียงใด แมศาลลมละลายกลางยังมิไดวินิจฉัยปญหาขอนี้ แตเมื่อขอเท็จจริงตามทางนำสืบของ
จำเลยและผคู ดั คา นเพยี งพอแกก ารวนิ จิ ฉยั ในชน้ั อทุ ธรณ จงึ เหน็ สมควรยกปญ หาขอ นข้ี น้ึ วนิ จิ ฉยั
เสียทีเดียวโดยไมจำตองยอนสำนวนไปใหศาลลมละลายกลางพิพากษาใหม ปรากฏตามบันทึก
ถอ ยคำแทนการซกั ถามจำเลยวา หลงั จากจำเลยลาออกจากราชการเมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๕๙
สำนักงานตำรวจแหงชาติไดจายเงินบำนาญตกเบิกในชวงเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ ถึงเดือน

๑๖๐

ตุลาคม ๒๕๕๙ เปนเงิน ๑๙๑,๔๑๘.๐๓ บาท โดยผูคัดคานไดอายัดเงินตกเบิกในชวงกอนจำเลย
ไดรบั การปลดจากลม ละลายไปเปนเงิน ๑๔๖,๖๘๔ บาท โดยไมป รากฏขอเท็จจริงวา ผูคดั คาน
ไดจายคาเลี้ยงชีพจากจำนวนเงินบำนาญสวนที่อายัด และจำเลยไมไดรับเงินบำนาญนับแต
ออกจากราชการในชวงเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ ถึงวันปลดจากลมละลาย เมื่อพิจารณาประกอบ
ขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั คา ใชจ า ยดำรงชพี ของจำเลยและครอบครวั ตามเอกสารเกย่ี วกบั การเงนิ แนบทา ย
คำรองชี้แจงภาระรายจายที่จำเลยสงอางตอศาลลมละลายกลางวานางหรือนางสาวศริญญา
ภรรยาจำเลยเปนแมบ าน จำเลยมบี ตุ รอายุ ๑๐ ป กำลังศึกษาเลา เรยี นมีรายจา ยในครอบครวั ดงั ท่ี
ปรากฏตามใบเสรจ็ รบั เงนิ เปน คา ประกนั ชวี ติ เพอ่ื ผสู งู อายุ คา งวดเชา ซอ้ื รถยนตข องภรรยาจำเลย
คาประกันภัยรถยนต คาภาษีรถยนตประจำป คาบริการอินเทอรเน็ต คาใชโทรศัพท คาธรรมเนียม
การศึกษาของบุตร และตองชำระหนี้กูยืมเงินจากสถาบันการเงินที่จำเลยไดทำสัญญาภายหลัง
ปลดจากลมละลายแลว แมเอกสารการจายเงินคาน้ำประปาและคาใชไฟฟาเปนชื่อบุคคลอื่น
แตส ถานทใ่ี ชไฟฟาและนำ้ ประปาก็ตรงกบั ท่ีอยขู องจำเลยตามเอกสารขอมลู การขอสนิ เชื่อจาก
สถาบนั การเงินดงั กลา วขางตน ซึ่งระบวุ า จำเลยตอ งชำระเงินกูใ หแ กธ นาคารอตั ราเดอื นละ ๕,๙๐๐ บาท
การทจ่ี ำเลยลาออกจากราชการขณะดำรงตำแหนง ขา ราชการตำรวจระดบั สงู ยอ มมคี า ใชจ า ยทจ่ี ำเปน
และพอสมควรในการดำรงสถานะครอบครวั ในวยั เกษยี ณอายรุ าชการ แมไ ดร บั เงนิ บำนาญเดอื นละ
๓๐,๒๗๙.๙๓ บาท แตส ำหรบั สทิ ธไิ ดร บั เงนิ จากกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ เพราะเหตลุ าออก
จากราชการกเ็ ปน เงนิ สะสม เงนิ สมทบ เงนิ ประเดมิ เงนิ ชดเชยและผลประโยชนต อบแทนจากเงนิ
ดงั กลา วทจ่ี า ยในครง้ั เดยี วตามสทิ ธขิ องจำเลยอนั เปน ผลจากการปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี าชการ แมผ คู ดั คา น
มสี ทิ ธิรวบรวมไวในกองทรัพยสินของจำเลยเพื่อชำระใหแ กเ จาหนี้ แตกเ็ หน็ สมควรแบงจา ยเปน
คา เล้ยี งชีพจำเลยและครอบครวั สว นหนง่ึ เปนเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ที่ศาลลมละลายกลางมคี ำสง่ั
มาน้นั ศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพิเศษไมเหน็ พองดว ย อุทธรณของจำเลยฟงข้ึนบางสวน

พิพากษากลับ ใหผูคัดคานจายเงินคาเลี้ยงชีพใหแกจำเลยและครอบครัวจากเงินที่ไดรับ
จากกองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา ราชการเปน เงนิ ๒๐๐,๐๐๐ บาท คา ฤชาธรรมเนยี มทง้ั สองศาล
ใหเปน พับ.

(เกยี รติคณุ แมน เลขา - ณรงค กล่ันวารนิ ทร - สิรพิ ร เปรมาสวสั ด์ิ สุรมณ)ี

หมายเหตุ คดถี ึงทสี่ ุด รติมา ชยั สโุ รจน - ยอ
วิรัตน วศิ ษิ ฏว งศกร - ตรวจ

๑๖๑

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พิเศษท่ี ๑๖๙๔/๒๕๖๒ บริษัทบรหิ ารสินทรัพย

สขุ มุ วทิ จำกัด โจทก

นายกลุ วัสส ลลี าอธวิ ัชร ผรู อ ง

เจา พนักงาน

พทิ ักษท รพั ย ผคู ดั คาน

หา งหุนสวนจำกัด

แซทเทอรน คอมพวิ เตอร

(ประเทศไทย) จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๓๗๗, ๓๗๘

ตามสำเนาหนังสือสัญญาซื้อขายระหวางผูรองกับผูคัดคานที่ทำในวันที่ขาย
ทอดตลาด ขอ ๒.๓ ผูรองวางมัดจำเปนเงิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท และสัญญาจะนำเงินคาซื้อ
สว นทเ่ี หลอื ๑๓,๓๓๐,๐๐๐ บาท มาชำระแกผ คู ดั คา นภายใน ๑๕ วนั นบั แตว นั ซอ้ื เปน ตน ไป
ถา ไมน ำเงนิ ทเ่ี หลอื มาชำระภายในกำหนดยอมใหผ คู ดั คา นรบิ มดั จำทไ่ี ดว างไว มดั จำทผ่ี รู อ ง
ไดใ หผ คู ดั คา นในวนั ทำสญั ญาซอ้ื ขายจงึ มเี พยี ง ๕๐๐,๐๐๐ บาท สว นเงนิ ๒๖๐,๖๕๐ บาท
ทผ่ี รู อ งวางเพม่ิ ตอ ผคู ดั คา นในภายหลงั นน้ั ไดค วามวา ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอวางเงนิ คา ซอ้ื ทรพั ย
สว นท่ีเหลอื เมื่อคดีทีผ่ รู อ งรองขอเพิกถอนการขายทอดตลาดถงึ ทสี่ ุดและขอวางเงนิ เพิม่
เพื่อรวมกับมัดจำแลวมีจำนวนเทากับรอยละ ๕.๕ ของราคาซื้อทั้งหมดตามคำสั่ง
กรมบงั คบั คดที ่ี ๓๓๓/๒๕๕๑ เงนิ สว นนจ้ี งึ เปน เงนิ ทผ่ี รู อ งชำระราคาคา ซอ้ื บางสว นลว งหนา
ภายหลงั จากทำสญั ญาซอ้ื ขาย มใิ ชม ดั จำทว่ี างไวเ ปน ประกนั การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาในวนั ท่ี
ทำสัญญาซื้อขายตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๗๗ เมื่อตอมาผูรองไมวางเงินคาซื้อสวนที่เหลือ
ภายในกำหนดเวลาที่ผูคัดคานอนุญาตใหขยายเวลา ผูรองเปนฝายผิดสัญญา ผูคัดคาน
มสี ทิ ธริ บิ มดั จำ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ไดต ามสญั ญาเทา นน้ั ไมม สี ทิ ธริ บิ เงนิ สว นทผ่ี รู อ งวางเพม่ิ
เพราะมิใชมัดจำทใ่ี หริบไดตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๗๘ (๒)

_____________________________

๑๖๒

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๒
กรกฎาคม ๒๕๕๑ และพพิ ากษาใหล ม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๕๖ ผคู ดั คา นยดึ ทด่ี นิ ตาม
โฉนดเลขท่ี ๑๓๘๘๙๓ และ ๑๒๒๑๑๒ ตำบลหว ยขวาง (สามเสนนอกฝง เหนอื ) อำเภอหว ยขวาง
(บางซื่อ) กรุงเทพมหานคร พรอมอาคารพาณิชยเลขที่ ๗๘๕/๑๙ และ ๗๘๕/๒๐ ของจำเลย
ตอมาขายทอดตลาดแกผูรองเมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ ในราคา ๑๓,๘๓๐,๐๐๐ บาท

ผรู อ งยน่ื คำรอ งวา วนั ขายทอดตลาดทด่ี นิ ทง้ั สองแปลงพรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง ผรู อ งวางมดั จำ
๕๐๐,๐๐๐ บาท ตอ มามกี ารรอ งขอเพกิ ถอนการขายทอดตลาด ผรู อ งไดว างเงนิ เพม่ิ ๒๖๐,๖๕๐ บาท
สว นราคาทเ่ี หลอื ผคู ดั คา นใหผ รู อ งชำระเมอ่ื คดรี อ งขอเพกิ ถอนการขายทอดตลาดถงึ ทส่ี ดุ ขณะท่ี
คดีดงั กลาวยังไมถงึ ทส่ี ุด ผูคดั คานมคี ำสัง่ ริบเงินท่ีผูร องวางไวท ้ังหมดรวม ๗๖๐,๖๕๐ บาท และ
นำทรพั ยอ อกขายทอดตลาดใหม ผคู ดั คา นมสี ทิ ธริ บิ เพยี งมดั จำ ๕๐๐,๐๐๐ บาท สว นเงนิ ทผ่ี รู อ ง
วางเพม่ิ มใิ ชเ งนิ ทผ่ี รู อ งไดใ หไ วใ นวนั ทำสญั ญาซอ้ื ขายไมใ ชม ดั จำทจ่ี ะรบิ ได เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ มนี าคม
๒๕๖๑ ผูรองยื่นคำรองขอใหผูคัดคานคืนเงินสวนนี้ ผูคัดคานมีคำสั่งยกคำรองขอใหมีคำสั่งให
ผคู ดั คา นคนื เงนิ ๒๖๐,๖๒๕ บาท (ทถ่ี กู ๒๖๐,๖๕๐ บาท) พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป
ของตน เงินดงั กลาวนับแตว นั ท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๑ เปน ตนไป

ผูคัดคานยื่นคำคัดคานวา หลังจากขายทอดตลาดทรัพย ผูรองยื่นคำรองขอเพิกถอน
การขายทอดตลาด เมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๘ ผูรองวางเงินเพิ่ม ๒๖๐,๖๕๐ บาท ตอมา
ศาลมีคำสั่งถึงที่สุดใหยกคำรองของผูรอง ผูคัดคานมีหมายแจงใหผูรองวางเงินคาซื้อทรัพยสวน
ทเ่ี หลอื วนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๕๙ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอวางเงนิ เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั ถงึ ทส่ี ดุ ในคดที บ่ี คุ คล
ภายนอกรองขอเพิกถอนการขายทอดตลาดผูคัดคานมีคำสั่งอนุญาต หลังจากนั้นศาลมีคำสั่งถึง
ทส่ี ดุ ใหย กคำรอ งของบคุ คลภายนอก ผคู ดั คา นมหี มายแจง ใหผ รู อ งวางเงนิ คา ซอ้ื ทรพั ยส ว นทเ่ี หลอื
อกี ครง้ั วนั ท่ี ๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอวางเงนิ เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั ถงึ ทส่ี ดุ ในคดที ผ่ี รู อ ง
รองขอเพิกถอนการขายทอดตลาดอีกคดีหนึ่ง ผูคัดคานเห็นวาไมมีเหตุที่จะอนุญาต และผูรอง
ผิดสัญญา มีคำสั่งริบมัดจำและขายทอดตลาดทรัพยใหมวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๖๑ ในราคา
๑๓,๔๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเปนราคาต่ำกวาราคาที่ผูรองเคยเสนอไว ผูรองตองชำระราคาสวนตาง
ที่ขาดอยู ๔๓๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป จนกวาชำระเสร็จ คำสั่งของ
ผคู ดั คานชอบดว ยกฎหมายแลว ขอใหย กคำรอ ง

ศาลลมละลายกลางมคี ำสงั่ ยกคำรอง คา ฤชาธรรมเนียมใหเ ปน พับ
ผรู อ งอทุ ธรณโดยไดรับอนุญาตจากศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษ

๑๖๓

ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ยตุ วิ า เมอ่ื วนั ท่ี
๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ผูรองซื้อที่ดินโฉนดเลขที่ ๑๓๘๘๙๓ และ ๑๒๒๑๑๒ ตำบลหวยขวาง
(สามเสนนอกฝง เหนอื ) อำเภอหว ยขวาง (บางซอ่ื ) กรงุ เทพมหานคร พรอ มอาคารพาณชิ ยเ ลขท่ี
๗๘๕/๑๙ และ ๗๘๕/๒๐ ของจำเลยจากการขายทอดตลาดของผคู ดั คา นในราคา ๑๓,๘๓๐,๐๐๐ บาท
และวางเงนิ มดั จำ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ตามสำเนาหนงั สอื สญั ญาซอ้ื ขาย ตอ มาผรู อ งยน่ื คำรอ งตอ ศาล
ลม ละลายกลางขอเพกิ ถอนการขายทอดตลาด เมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๘ ผรู อ งวางเงนิ ตอ
ผคู ดั คา นเพม่ิ ๒๖๐,๖๕๐ บาท หลงั จากศาลมคี ำสง่ั ถงึ ทส่ี ดุ ยกคำรอ งขอเพกิ ถอนการขายทอดตลาด
ของผูรองและของบุคคลภายนอกอีกรายหนึ่ง ผูคัดคานแจงใหผูรองวางเงินคาซื้อสวนที่เหลือ
ผรู อ งไมว างเงนิ ภายในกำหนด อนั เปน การผดิ สญั ญา ผคู ดั คา นมคี ำสง่ั รบิ มดั จำและขายทอดตลาด
ทรัพยใหม วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ ผูรองยื่นคำรองขอใหผูคัดคานคืนเงิน ๒๖๐,๖๕๐ บาท
ผูคัดคานมีคำสั่งยกคำรอง คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองวา ผูคัดคานตอง
คืนเงิน ๒๖๐,๖๕๐ บาทแกผูรองหรือไม เห็นวา ตามสำเนาหนังสือสัญญาซื้อขายระหวางผูรอง
กับผูคัดคานที่ทำในวันที่ขายทอดตลาดขอ ๒.๓ ผูรองวางมัดจำเปนเงิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท และ
สัญญาจะนำเงินคาซื้อสวนที่เหลือ ๑๓,๓๓๐,๐๐๐ บาท มาชำระแกผูคัดคาน ภายใน ๑๕ วัน
นบั แตว นั ซอ้ื เปน ตน ไป ถา ไมน ำเงนิ ทเ่ี หลอื มาชำระภายในกำหนด ยอมใหผ คู ดั คา นรบิ มดั จำทไ่ี ด
วางไว มัดจำที่ผูรองไดใหผูคัดคานในวันทำสัญญาซื้อขายจึงมีเพียง ๕๐๐,๐๐๐ บาท สวนเงิน
๒๖๐,๖๕๐ บาท ทผ่ี รู อ งวางเพม่ิ ตอ ผคู ดั คา นในภายหลงั นน้ั ไดค วามวา ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอวางเงนิ
คา ซอ้ื ทรพั ยส ว นทเ่ี หลอื เมอ่ื คดที ผ่ี รู อ งรอ งขอเพกิ ถอนการขายทอดตลาดถงึ ทส่ี ดุ และขอวางเงนิ เพม่ิ
เพอ่ื รวมกบั มดั จำแลว มจี ำนวนเทา กบั รอ ยละ ๕.๕ ของราคาซอ้ื ทง้ั หมดตามคำสง่ั กรมบงั คบั คดที ่ี
๓๓๓/๒๕๕๑ เงนิ สว นนจ้ี งึ เปน เงนิ ทผ่ี รู อ งชำระราคาคา ซอ้ื บางสว นลว งหนา ภายหลงั จากทำสญั ญา
ซอ้ื ขาย มใิ ชม ดั จำทว่ี างไวเ ปน ประกนั การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาในวนั ทท่ี ำสญั ญาซอ้ื ขายตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา ๓๗๗ เมื่อตอมาผูรองไมวางเงินคาซื้อสวนที่เหลือภายใน
กำหนดเวลาที่ผูคัดคานอนุญาตใหขยายเวลา ผูรองเปนฝายผิดสัญญา ผูคัดคานมีสิทธิริบมัดจำ
๕๐๐,๐๐๐ บาท ไดตามสัญญาเทานั้น ไมมีสิทธิริบเงินสวนที่ผูรองวางเพิ่มเพราะมิใชมัดจำที่ให
รบิ ไดต ามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๓๗๘ (๒) แมจ ะปรากฏตามคำคดั คา นและ
ทางนำสืบของผูคัดคานวา ผูคัดคานขายทอดตลาดทรัพยใหมแลวในราคา ๑๓,๔๐๐,๐๐๐ บาท
ผูรองตองชำระราคาสวนตางที่ขาดอยู ๔๓๐,๐๐๐ บาท แตเมื่อนำมัดจำที่ผูรองริบไวซึ่งถือไดวา
เปน สว นหนง่ึ ของราคาทผ่ี รู อ งไดช ำระแลว มาหกั จากเงนิ สว นตา งทข่ี าดอยเู ชอ่ื วา เพยี งพอชำระเงนิ
สว นตา งทข่ี าดอยแู ละคา ใชจ า ยในการขายทอดตลาดใหมแ ลว ผคู ดั คา นจงึ ตอ งคนื เงนิ สว นทผ่ี รู อ ง

๑๖๔

วางเพม่ิ นน้ั แกผ รู อ ง สว นทผ่ี รู อ งอทุ ธรณว า เมอ่ื สญั ญาซอ้ื ขายเลกิ กนั ผคู ดั คา นตอ งคนื เงนิ ดงั กลา ว
ใหแกผูรองพรอมดอกเบี้ยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา ๓๙๑ วรรคสอง โดย
ผูรองคิดดอกเบี้ยนับแตวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๑ ซึ่งเปนวันที่ผูรองยื่นคำรองขอใหผูคัดคาน
คืนเงินนั้น เห็นวา ตามสัญญาซื้อขาย ขอ ๕ ผูรองตกลงวา กรณีสัญญายกเลิกหรือศาลมีคำสั่ง
เพกิ ถอนดว ยเหตใุ ดกด็ ี เปน เหตใุ หผ รู อ งไมไ ดก รรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ทซ่ี อ้ื ผรู อ งไมต ดิ ใจเรยี กรอ งดอกเบย้ี
หรือคาเสียหายหรือเงินตาง ๆ ที่ชำระไปเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์ขอตกลงนี้ยอมมีผลผูกพัน
ผูรองใหไมอาจเรียกรองดอกเบี้ยตามที่ขอ ประกอบกับเมื่อผูรองไมชำระราคาคาซื้อสวนที่เหลือ
ผคู ดั คา นตอ งนำทรพั ยอ อกขายทอดตลาดใหมต ามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๕๑๖
อันเปนเรื่องที่กฎหมายบัญญัติวิธีปฏิบัติเมื่อผูซื้อไมชำระราคาไวเปนการเฉพาะ โดยผูคัดคาน
ไมต อ งบอกเลกิ สญั ญาตอ ผรู อ งกอ น เพอ่ื จะใหส ญั ญาเลกิ กนั และกรณมี ผี ลเสมอื นเปน การยกเลกิ
หรอื เพกิ ถอนการขายทอดตลาดทผ่ี รู อ งเปน ผซู อ้ื เพราะเปน เรอ่ื งทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วโ ดยเฉพาะ
ดังกลาว ผูรองจึงไมมีสิทธิเรียกใหผูคัดคานรับผิดชำระดอกเบี้ยแกผูรอง ที่ศาลลมละลายกลาง
มีคำสั่งยกคำรองของผูรองนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษเห็นพองดวยบางสวนดังวินิจฉัย
ดังกลาว อุทธรณของผูร องฟงขึน้ บางสว น

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหผ คู ดั คา นคนื เงนิ ๒๖๐,๖๕๐ บาท แกผ รู อ ง นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน
ไปตามคำส่งั ของศาลลม ละลายกลาง คาฤชาธรรมเนยี มในช้ันอุทธรณใหเปน พบั .

(องอาจ งามมีศรี - โชคชัย รุจนิ ินนาท - วิเชยี ร วชริ ประทีป)

สรายุทธ เตชะวฒุ ิพนั ธุ - ยอ
วริ ัตน วศิ ษิ ฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทสี่ ดุ

๑๖๕

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๓๔๓๐/๒๕๖๒ ธนาคารกรงุ ไทย โจทก
จำกัด (มหาชน) ผรู อ ง
ธนาคารกรงุ ไทย ผคู ัดคา น
จำกดั (มหาชน) จำเลย
เจา พนักงาน
พทิ ักษท รัพย
นางศุภาภรณหรือ
ลำพวน นอยไม

ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๑๙ วรรคสอง
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑)

เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาด เจาพนักงานพิทักษทรัพยแต
ผเู ดยี วมอี ำนาจจดั การและจำหนา ยทรพั ยส นิ ของลกู หนต้ี าม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๒๒ (๑) การยดึ ทด่ี นิ พพิ าทจงึ เปน อำนาจของผคู ดั คา น และกอ นมกี ารยดึ ทด่ี นิ พพิ าท
ผคู ดั คา นไดข อใหเ จาพนกั งานทดี่ ินตรวจสอบและอายัดทดี่ ินพพิ าท ซงึ่ ตามหนังสอื ของ
สำนักงานที่ดิน เจาพนักงานที่ดินเพียงแตแจงวาที่ดินพิพาทเปนของจำเลยและไดอายัด
ไวแ ลว เทา นัน้ มิไดมกี ารแจง วา ดินดังกลา วถกู อายดั ไวก อนแลว ในคดอี าญาของศาล
จังหวัดธัญบุรี อีกทั้งเหตุที่ผูรองนำยึดที่ดินพิพาทก็เนื่องจากผูคัดคานมีหมายแจงให
ผูรองมาดำเนินการนำยึดถึง ๓ ครั้ง การที่ผูรองนำหนังสือไปยื่นขอใหผูอำนวยการ
สำนกั งานบงั คบั คดจี งั หวดั ปทมุ ธานี สาขาธญั บรุ ี ดำเนนิ การยดึ และขายทอดตลาดทด่ี นิ
พิพาทนั้น ผูรองเปนเพียงผูดำเนินการแทนผูคัดคานเทานั้น หาใชผูรองซึ่งเปนเจาหนี้
ผเู ปน โจทกใ นฐานะสว นตวั เปน ผยู ดึ ทรพั ยด งั กลา วแตอ ยา งใด แมผ รู บั มอบอำนาจของ
ผูรองจะระบุในคำขอใหยึดทรัพยวาที่ดินไมเปนหลักประกันในคดีอาญาก็ตาม แตก็ไม
ปรากฏวาผูรองหรือผูรับมอบอำนาจของผูรองทราบมากอนวาจำเลยนำที่ดินพิพาทไป
เปนหลักประกันในคดีอาญา ดังนั้น เมื่อที่ดินพิพาทไมอยูในขายที่จะถูกยึดเพื่อชำระหนี้
ใหแกเจาหนี้อื่นจนกวาความรับผิดตามสัญญาประกันจะระงับสิ้นไป ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๑๑๙ วรรคสอง อันสงผลใหผคู ัดคา นไมมอี ำนาจรวบรวมทรพั ยสินดังกลาวของ
จำเลย ผูคัดคานจึงตอ งถอนการยึดเองและไมอ าจส่ังใหผรู อ งซ่ึงเปนเพียงตวั แทนของ
ผูค ัดคา นชำระคา ธรรมเนยี มยดึ แลวไมม ีการขายและคา ใชจ า ยในการบังคบั คดีได

______________________________

๑๖๖

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี
๒๗ มกราคม ๒๕๕๓ และพพิ ากษาใหเ ปน บคุ คลลม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๔ ตอ มา
จำเลยไดรบั การปลดจากการลม ละลายเมื่อวนั ที่ ๒๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๗

ผรู องย่ืนคำรองขอใหศาลมีคำส่ังเพกิ ถอนคำสง่ั ของผคู ดั คา น โดยใหผูรองไดร ับยกเวน
คาธรรมเนียมยึดแลวไมม ีการขายและคา ใชจ ายในการบงั คับคดี

ผคู ดั คา นยืน่ คำคัดคานขอใหย กคำรอ ง
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสั่งใหยกคำรอ ง คาฤชาธรรมเนยี มเปนพบั
ผรู อ งอทุ ธรณโดยไดร บั อนุญาตจากศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง เปน ยตุ โิ ดย
คคู วามมไิ ดโ ตแ ยง วา ผคู ดั คา นสอบสวนพบวา จำเลยเปน เจา ของทด่ี นิ พพิ าท โฉนดทด่ี นิ เลขท่ี ๙๓๘๑๐
ตำบลบงึ ลาดสวาย อำเภอลำลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี ผคู ดั คา นจงึ มหี นงั สอื ขอใหเ จา พนกั งานทด่ี นิ
จังหวัดปทมุ ธานี สาขาลำลกู กา อายดั ท่ดี ินพิพาท จากน้ันผคู ดั คานมหี มายแจงใหผูร อ งมานำยดึ
ที่ดินแปลงดังกลาวรวม ๓ ครั้ง เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๗ และ
วนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ ตอ มาวนั ท่ี ๕ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๙ ผรู อ งนำหนงั สอื ของผคู ดั คา นไปยน่ื
ขอใหสำนักงานบังคับคดีจังหวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี ยึดที่ดินพิพาทและขายทอดตลาดแทน
วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ศาลจังหวัดธัญบุรีมีหนังสือนำสงสำเนาหมายบังคับคดี ตนฉบับ
โฉนดที่ดิน และเอกสารอื่นประกอบการยึดที่ดินมายังสำนักงานบังคับคดีจังหวัดปทุมธานี สาขา
ธัญบุรี เพื่อดำเนินการบังคับคดี เนื่องจากจำเลยนำที่ดินพิพาทไปเปนหลักประกันในคดีอาญา
ในการขอปลอยชั่วคราวบุคคลอื่นแลวผิดสัญญาประกันและศาลมีคำสั่งปรับนายประกัน วันที่ ๑
กันยายน ๒๕๖๐ สำนักงานบังคับคดีจังหวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี มีหนังสือสอบถามมายัง
ผูคัดคานวามเี หตุขัดขอ งในการถอนการยดึ ท่ีดินพพิ าทในคดีลม ละลายหรอื ไม วันท่ี ๗ กนั ยายน
๒๕๖๐ ผูคัดคานแจงไมมีเหตุขัดของในการถอนการยึดทรัพยไปยังสำนักงานบังคับคดี จังหวัด
ปทมุ ธานี สาขาธญั บรุ ี เนอ่ื งจากทด่ี นิ ดงั กลา วไมอ ยใู นขา ยทจ่ี ะถกู ยดึ หรอื อายดั เพอ่ื ชำระหนใ้ี หแ ก
เจา หนอี้ ืน่ จนกวาความรบั ผดิ ตามสัญญาประกนั จะระงับสนิ้ ไปตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๑๙ วรรคสอง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไข เพิ่มเติมประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ ๓๑
ธันวาคม ๒๕๕๘ หลักจากนั้น วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ สำนักงานบังคับคดีจังหวัดปทุมธานี
สาขาธญั บรุ ี มหี นงั สอื แจง ผคู ดั คา นวา ศาลจงั หวดั ธญั บรุ มี คี ำสง่ั ถอนการบงั คบั คดเี นอ่ื งจากจำเลย
ชำระคาปรับตามสัญญาประกันครบถวนแลว วันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ผูคัดคานมีหมายถึง
ผูร องแจงใหม านำยึดทดี่ นิ พิพาทอกี ครัง้ เน่อื งจากความรบั ผดิ ตามสญั ญาประกันระงบั สิน้ ไปแลว

๑๖๗

วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ผูคัดคานมีคำสั่งใหผูรองชำระคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขาย
และคาใชจา ยในการบงั คับคดเี ปนเงิน ๔,๔๔๕ บาท

มีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองวา ผูรองจะตองชำระคาธรรมเนียมยึดแลว
ไมม กี ารขายและคา ใชจ า ยในการบงั คบั คดหี รอื ไม เหน็ วา เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลย
เด็ดขาด เจาพนักงานพิทักษทรัพยแตผูเดียวมีอำนาจจัดการและจำหนายทรัพยสินของลูกหนี้
ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑) การยึดที่ดินพิพาทจึงเปนอำนาจ
ของผูคัดคาน และกอนมีการยึดที่ดินพิพาท ผูคัดคานไดขอใหเจาพนักงานที่ดินตรวจสอบและ
อายดั ทด่ี นิ พพิ าท ซง่ึ ตามหนงั สอื ของสำนกั งานทด่ี นิ จงั หวดั ปทมุ ธานี สาขาลำลกู กา เจา พนกั งาน
ที่ดินเพียงแตแจงวาที่ดินพิพาทเปนของจำเลยและไดอายัดไวแลวเทานั้น มิไดมีการแจงวาที่ดิน
ดงั กลา วถกู อายดั ไวก อ นแลว ในคดอี าญาของศาลจงั หวดั ธญั บรุ ตี ง้ั แตป  ๒๕๔๗ อกี ทง้ั เหตทุ ผ่ี รู อ ง
นำยึดที่ดินพิพาทก็เนื่องจากผูคัดคานมีหมายแจงใหผูรองมาดำเนินการนำยึดถึง ๓ ครั้ง การที่
ผรู อ งนำหนงั สอื ไปยน่ื ขอใหผ อู ำนวยการสำนกั งานบงั คบั คดจี งั หวดั ปทมุ ธานี สาขาธญั บรุ ี ดำเนนิ การ
ยึดและขายทอดตลาดที่ดินพิพาทนั้น ผูรองเปนเพียงผูดำเนินการแทนผูคัดคานเทานั้น หาใช
ผูรอ งซึ่งเปนเจา หนผี้ เู ปนโจทกใ นฐานะสว นตัวเปนผยู ดึ ทรพั ยดงั กลาวแตอ ยา งใดไม แมคำขอให
ยึดทรัพยผูรับมอบอำนาจของผูรองจะระบุวาที่ดินไมเปนหลักประกันในคดีอาญาก็ตาม แตก็ไม
ปรากฏวาผูรองหรือผูรับมอบอำนาจของผูรองทราบมากอนวาจำเลยนำที่ดินพิพาทไปเปน
หลักประกันในคดอี าญา ดงั นนั้ เมอื่ ทดี่ นิ พิพาทไมอยูในขายท่ีจะถูกยดึ เพื่อชำระหนใี้ หแกเจา หน้ี
อื่นจนกวาความรับผิดตามสัญญาประกันจะระงับสิ้นไป ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๑๑๙ วรรคสอง อันสงผลใหผูคัดคานไมมีอำนาจรวบรวมทรัพยสินดังกลาว
ของจำเลย ผคู ดั คา นจงึ ตอ งถอนการยดึ เองและไมอ าจสง่ั ใหผ รู อ งซง่ึ เปน เพยี งตวั แทนของผคู ดั คา น
ชำระคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขายและคาใชจายในการบังคับคดีได ที่ศาลลมละลายกลาง
มคี ำสัง่ ยกคำรองของผรู อ งทีข่ อใหเ พิกถอนคำสัง่ ของผูคัดคา นนน้ั ไมต อ งดวยความเห็นของศาล
อุทธรณคดชี ำนญั พิเศษ อุทธรณข องผรู อ งฟงขน้ึ

พิพากษากลับ ใหเพิกถอนคำสั่งของผูคัดคานที่ใหผูรองชำระคาธรรมเนียมยึดแลว
ไมมีการขายและคาใชจายในการบังคับคดี เปนเงิน ๔,๔๔๕ บาท คาฤชาธรรมเนียมในศาล
ลม ละลายกลางและในชนั้ นใี้ หเปนพบั .

(วิเชยี ร วชิรประทปี - โชคชยั รจุ นิ ินนาท - องอาจ งามมศี ร)ี

นราธปิ บญุ ญพนิช - ยอ
วริ ัตน วิศษิ ฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ท่ีสุด

๑๖๘

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๑๔๘๘/๒๕๖๓ ธนาคารไทยพาณชิ ย

จำกัด (มหาชน) โจทก

เจา พนักงาน

พิทกั ษท รัพย ผูคัดคาน

นายธีระวฒั น

ทองจติ ติ จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๙

เงนิ ผลประโยชนต ามกรมธรรมป ระกนั ชวี ติ ของจำเลย ๑๔๑,๐๐๐ บาท เปน สทิ ธิ
เรียกรองของจำเลยผูเอาประกันภัยที่มีตอบริษัทผูรับประกันภัยตามสัญญาประกันชีวิต
ซึ่งจำเลยจะมีสิทธิเรียกรองเงินดังกลาวก็ตอเมื่อจำเลยยังคงมีชีวิตอยูจนถึงวันครบ
กำหนดสญั ญา เมอ่ื วนั ครบกำหนดสญั ญาเปน เวลาหลงั จากทม่ี กี ารปลดจำเลยจากลม ละลาย
สิทธิเรียกรองเงินนี้เพิ่งจะเกิดขึ้นหลังปลดจำเลยจากลมละลายจึงมิใชทรัพยสินในคดี
ลม ละลายอนั อาจแบง แกเ จา หนไ้ี ดต าม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๙ แตไ ด
ความตามรายงานเจาพนักงานพิทักษทรัพยวา ในการใหการสอบสวนเกี่ยวกับกิจการ
และทรพั ยส นิ ของจำเลยตอ ผคู ดั คา น จำเลยไมไ ดแ จง ตอ ผคู ดั คา นวา ไดท ำสญั ญาประกนั
ชีวิตไว ซึ่งการที่ผูคัดคานไมทราบการทำสัญญาประกันชีวิตของจำเลยกอนเวลาปลด
จากลมละลาย ทำใหผูคัดคานไมไดใชอำนาจจัดการและรวบรวมเงินที่จำเลยมีสิทธิจะ
ไดร บั ตามกรมธรรมใ นชว งเวลาทผ่ี า นมาดงั กลา ว โดยเฉพาะหากผคู ดั คา นใชส ทิ ธเิ วนคนื
กรมธรรมตามเงื่อนไขกรมธรรม ซึ่งอยางชาที่สุดสามารถกระทำไดจนถึงวันกอนวันที่
ปลดจำเลยจากลม ละลายในป ๒๕๕๒ แลว ผคู ดั คา นจะมสี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ คา เวนคนื กรมธรรม
ตามตารางมูลคากรมธรรมแนบทายกรมธรรมเปนเงิน ๕๑,๖๐๐ บาท เพื่อรวบรวมเขา
กองทรัพยสินของจำเลยและแบงแกบรรดาเจาหนี้ในคดีได ประกอบกับตามคำรองและ
อุทธรณของจำเลยก็ยอมใหผูคัดคานรวบรวมเงินเพียงจำนวนเทานี้ ถือไดวาจำเลยมิได
รับความเสียหายเปนเงิน ๕๑,๖๐๐ บาท และเมื่อหักเงินสวนนี้ออกแลวผูคัดคานจึงตอง
คนื เงนิ ผลประโยชนต ามกรมธรรมป ระกันชวี ิตสว นท่ีเหลอื ๘๙,๔๐๐ บาท แกจำเลย

______________________________

๑๖๙

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี
๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๔๘ และพพิ ากษาใหเ ปน บคุ คลลม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ เมษายน ๒๕๔๙ ตอ มา
มกี ารปลดจำเลยจากลม ละลายตัง้ แตว นั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๕๒

จำเลยยื่นคำรองวา จำเลยยื่นคำรองตอผูคัดคานขอรับเงินตามกรมธรรมประกันชีวิต
จำนวน ๑๔๑,๐๐๐ บาท ซง่ึ บรษิ ทั กรงุ เทพประกนั ชวี ติ จำกดั (มหาชน) สง ใหแ กผ คู ดั คา น ผคู ดั คา น
มคี ำสง่ั วา เงนิ ดงั กลา วเปน ทรพั ยส นิ ในคดลี ม ละลายอนั อาจแบง แกเ จา หนไ้ี ดจ งึ ไมค นื เงนิ ใหจ ำเลย
และยกคำรอ ง คำสง่ั ของผคู ดั คา นไมช อบดว ยกฎหมายเพราะสญั ญาประกนั ชวี ติ ครบกำหนดสญั ญา
วนั ท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ ซง่ึ ตามกรมธรรมจ ำเลยจะไดร บั เงนิ เมอ่ื มชี วี ติ อยจู นครบกำหนดสญั ญา
เงนิ ดงั กลา วเปน เงนิ ทจ่ี ำเลยมสี ทิ ธจิ ะไดร บั ภายหลงั จากวนั ทป่ี ลดจำเลยจากลม ละลายแลว จงึ ไมใ ช
ทรพั ยส นิ ในคดลี ม ละลายอนั อาจแบง แกเ จา หนไ้ี ด และหากผคู ดั คา นจะนำเงนิ ตามมลู คา กรมธรรม
จนถงึ วนั ทป่ี ลดจากลม ละลายเขา กองทรพั ยส นิ ของจำเลยกจ็ ะไดเ งนิ ไมเ กนิ ๕๑,๖๐๐ บาท สว นเงนิ
ที่เหลือ ๘๙,๔๐๐ บาท ตกเปนสิทธิของจำเลย ขอใหมีคำสั่งใหผูคัดคานคืนเงิน ๑๔๑,๐๐๐ บาท
หรือ ๘๙,๔๐๐ บาท ตามแตศาลจะใชดุลพินิจเห็นสมควร เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมแก
จำเลย

ผูคัดคานยื่นคำคัดคานวา สัญญาประกันชีวิตเริ่มตนกอนศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของ
จำเลยเดด็ ขาดแมม เี งอ่ื นไขใหจ ำเลยไดร บั ผลประโยชนต ามกรมธรรมเ มอ่ื ครบกำหนดสญั ญาอนั เปน
เวลาภายหลังปลดจำเลยจากลมละลาย ก็เปนผลสืบเนื่องมาจากสิทธิตามสัญญาอันมีมากอนที่
จำเลยไดร บั การปลดจากลม ละลาย เงนิ ทจ่ี ำเลยไดร บั เมอ่ื ครบกำหนดสญั ญาจงึ ถอื วา เปน ทรพั ยส นิ
ในคดลี ม ละลายอนั อาจแบง แกเ จา หนไ้ี ด คำสง่ั ของผคู ดั คา นชอบดว ยกฎหมายแลว ขอใหย กคำรอ ง

ศาลลม ละลายกลางมีคำส่งั ยกคำรอ ง คาฤชาธรรมเนียมใหเปน พับ
จำเลยอทุ ธรณโดยไดร บั อนุญาตจากศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พิเศษ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงฟงยุติวา จำเลย
ทำสญั ญาประกนั ชวี ติ กบั บรษิ ทั กรงุ เทพประกนั ชวี ติ จำกดั (มหาชน) เรม่ิ สญั ญาวนั ท่ี ๓๐ มกราคม
๒๕๔๐ ครบกำหนดสัญญาวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ ตอมาวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๑ บริษัท
ผรู บั ประกนั ภยั มหี นงั สอื แจง ผคู ดั คา นวา จำเลยมสี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ ผลประโยชนเ มอ่ื ครบกำหนดสญั ญา
ตามกรมธรรม ๑๔๑,๐๐๐ บาท ผคู ดั คา นแจง ใหบ รษิ ทั ดงั กลา วสง เงนิ เขา กองทรพั ยส นิ ของจำเลย
หลงั จากนน้ั วนั ท่ี ๕ ตลุ าคม ๒๕๖๑ จำเลยยน่ื คำรอ งตอ ผคู ดั คา น ขอรบั เงนิ จำนวนนค้ี นื ผคู ดั คา นมี
คำสง่ั ยกคำรอ ง คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยวา ผคู ดั คา นตอ งคนื เงนิ ผลประโยชน
ตามกรมธรรมประกันชีวิตแกจำเลยหรือไม เพียงใด เห็นวา สิทธิเรียกรองที่ลูกหนี้มีตอผูอื่นโดย
มีอยูตั้งแตวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดอันเปนเวลาเริ่มตนแหงการลมละลายหรือไดมา
ภายหลังวันพิทักษทรัพยเด็ดขาดจนถึงเวลาปลดจากลมละลาย เปนทรัพยสินในคดีลมละลาย

๑๗๐

อันอาจแบงแกเจาหนี้ได ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๙ (๑) และ (๒)
และเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีอำนาจเก็บรวบรวมและรับเงินที่ลูกหนี้มีสิทธิจะไดรับจากผูอื่น
ตามสทิ ธเิ รยี กรอ งนน้ั ตามมาตรา ๒๒ (๒) สำหรบั เงนิ ผลประโยชนต ามกรมธรรมป ระกนั ชวี ติ ของ
จำเลย ๑๔๑,๐๐๐ บาท เปน สทิ ธเิ รยี กรอ งของจำเลยผเู อาประกนั ภยั ทม่ี ตี อ บรษิ ทั ผรู บั ประกนั ภยั
ตามสัญญาประกันชีวิต ซึ่งปรากฏตามกรมธรรมประกันชีวิตของจำเลย ในสวนขอกำหนดการ
จายเงิน ขอ ๓ วา ถาผูเอาประกันภัยมีชีวิตอยูจนครบกำหนดสัญญา บริษัทผูรับประกันภัยจะ
จา ยเงนิ ตามทต่ี กลงแกผ เู อาประกนั ภยั แสดงวา จำเลยจะมสี ทิ ธเิ รยี กรอ งเงนิ ตามขอ กำหนดนจ้ี าก
บรษิ ทั ผรู บั ประกนั ภยั กต็ อ เมอ่ื มเี หตกุ ารณท ว่ี า จำเลยยงั คงมชี วี ติ อยจู นถงึ วนั ครบกำหนดสญั ญา
คือวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ สิทธิที่จะไดรับเงินผลประโยชนของจำเลยยอมเกิดขึ้นในวันครบ
กำหนดสญั ญา ดงั น้ี เมอ่ื วนั ครบกำหนดสญั ญาเปน เวลาหลงั จากทม่ี กี ารปลดจำเลยจากลม ละลาย
สิทธิเรียกรองเงินนี้เพิ่งจะเกิดขึ้นหลังปลดจำเลยจากลมละลาย จึงมิใชทรัพยสินในคดีลมละลาย
อนั อาจแบง แกเ จา หนไ้ี ดต ามบทบญั ญตั มิ าตรา ๑๐๙ ดงั กลา ว แตไ ดค วามตามรายงานเจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยว า ในการใหก ารสอบสวนเกย่ี วกบั กจิ การและทรพั ยส นิ ของจำเลยตอ ผคู ดั คา น จำเลย
ไมไดแจงตอผูคัดคานวาไดทำสัญญาประกันชีวิตไว ซึ่งการที่ผูคัดคานไมทราบการทำสัญญา
ประกันชีวิตของจำเลยกอนเวลาปลดจากลมละลาย ทำใหผูคัดคานไมไดใชอำนาจจัดการและ
รวบรวมเงินที่จำเลยมีสิทธิจะไดรับตามกรมธรรมในชวงเวลาที่ผานมาดังกลาวโดยเฉพาะหาก
ผูคัดคานใชสิทธิเวนคืนกรมธรรมตามเงื่อนไขกรมธรรม ซึ่งอยางชาที่สุดสามารถกระทำไดจนถึง
วันกอนวันที่ปลดจำเลยจากลมละลายในป ๒๕๕๒ แลว ผูคัดคานจะมีสิทธิไดรับเงินคาเวนคืน
กรมธรรมตามตารางมูลคากรมธรรมแนบทายกรมธรรมเปนเงิน ๕๑,๖๐๐ บาท เพื่อรวบรวมเขา
กองทรัพยสินของจำเลยและแบงแกบรรดาเจาหนี้ในคดีได ประกอบกับตามคำรองและอุทธรณ
ของจำเลยก็ยอมใหผูคัดคานรวบรวมเงินเพียงจำนวนเทานี้ กรณีถือไดวา จำเลยมิไดรับความ
เสยี หายเปน เงนิ ๕๑,๖๐๐ บาท และเมอ่ื หกั เงนิ สว นนอ้ี อกแลว ผคู ดั คา นจงึ ตอ งคนื เงนิ ผลประโยชน
ตามกรมธรรมประกันชีวิตสวนที่เหลือ ๘๙,๔๐๐ บาท แกจำเลยดังที่จำเลยอุทธรณขอมา ที่ศาล
ลมละลายกลางมีคำสั่งยกคำรองนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของ
จำเลยฟง ขน้ึ

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหผ คู ดั คา นคนื เงนิ ผลประโยชนต ามกรมธรรมป ระกนั ชวี ติ ๘๙,๔๐๐ บาท
แกจ ำเลย นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำสง่ั ของศาลลม ละลายกลาง คา ฤชาธรรมเนยี มชน้ั อทุ ธรณ
ใหเปน พับ.

(องอาจ งามมศี รี - โชคชัย รจุ ินนิ นาท - วเิ ชยี ร วชิรประทีป)

รตมิ า ชยั สโุ รจน - ยอ

วริ ตั น วิศิษฏวงศกร - ตรวจ

๑๗๑

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๒๘๒๔/๒๕๖๓ ธนาคารไทยพาณิชย

จำกัด (มหาชน) โจทก

บรษิ ัทบรหิ ารสินทรพั ย

สขุ ุมวิท จำกดั ผรู อง

เจา พนกั งาน

พทิ กั ษท รพั ย ผคู ัดคาน

นายเจริญชัย

พิทกั ษภ ูวดล กับพวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๕๓ วรรคสอง
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑), ๙๕, ๑๓๕ (๑), ๑๗๙ (๔)
พ.ร.บ. จัดตง้ั ศาลลมละลายและวิธพี ิจารณาคดลี มละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔

การทผ่ี รู อ งในฐานะผรู บั จำนองซง่ึ เปน เจา หนม้ี ปี ระกนั ใชส ทิ ธติ าม พ.ร.บ. ลม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๕ ยน่ื คำรองตอผูค ัดคา นท่มี ีอำนาจจดั การและจำหนายทรพั ยสิน
ของลูกหนี้ตามมาตรา ๒๒ (๑) โดยมีจุดประสงคใหมีการบังคับจำนองตอทรัพยสินของ
จำเลยท่ี ๓ เพอ่ื ใหไ ดเ งนิ ตามทผ่ี กู พนั กนั ตามสญั ญาจำนองมาชำระหนใ้ี หแ กผ รู อ ง จงึ ตอ ง
ถือวาผรู องเปนผูขอใหบ งั คบั คดีตามความหมายแหง ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๕๓ วรรคสอง
เพอ่ื ประโยชนข องผรู อ งจนมกี ารยดึ ทรพั ยจ ำนองทำใหเ กดิ คา ธรรมเนยี มในการรวบรวม
ทรพั ยสินตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ วรรคหนง่ึ (๔) และผรู อ งย่ืน
คำรองขอถอนคำขอรับชำระหนี้ดังกลาว เมื่อผูคัดคานมีคำสั่งอนุญาต แมตอมาศาล
ลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหย กเลกิ การลม ละลายของจำเลยท่ี ๓ ตามมาตรา ๑๓๕ (๑) เพราะ
เจา หนผ้ี เู ปน โจทกถอนคำขอรับชำระหนีโ้ ดยไมมีเจาหนร้ี ายใดรับเปนโจทกแทน ทำให
ผูคัดคานไมมีอำนาจจัดการและจำหนายทรัพยสินของจำเลยที่ ๓ ในคดีลมละลายไดตอไป
อันเปนผลตามกฎหมาย แตเมื่อการยึดทรัพยจำนองเปนการกระทำเพื่อประโยชนของผูรอง
ผูรองซึ่งเปนเจาหนี้ผูขอบังคับคดีจึงตองเปนผูชำระคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสิน
สำหรบั ทรพั ยส นิ ทไ่ี มม กี ารขายหรอื จำหนา ยตามมาตรา ๑๗๙ (๔) และ ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๕๓
วรรคสอง ประกอบ พ.ร.บ. จดั ต้งั ศาลลม ละลายและวธิ ีพจิ ารณาคดีลม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๔

____________________________

๑๗๒

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหพ ทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สามเดด็ ขาด
เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๐ และมีคำสั่งใหยกเลิกการลมละลายของจำเลยที่ ๑ และที่ ๓
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๑) เมอ่ื วันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
เนอ่ื งจากผรู อ งซง่ึ เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๖ และเจา หนผ้ี เู ปน โจทกข อถอนคำขอรบั ชำระหน้ี โดยไมม ี
เจาหนีร้ ายใดรับเปนโจทกแ ทน

ผรู อ งยน่ื คำรอ งวา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓ หลงั จากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั
พิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๓ เด็ดขาด ผูรองใชสิทธิในฐานะเจาหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพง
หมายเลขแดงที่ ๑๔๑/๒๕๔๓ ของศาลจังหวัดมีนบุรี ยื่นคำรองขอรับชำระหนี้จำนองตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๕ เหนอื ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๑๒๖๓๘ ตำบลโคกแฝด
(เจยี ระดบั ) อำเภอหนองจอก กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งของจำเลยท่ี ๓ ตอ ผคู ดั คา น
ผูคัดคานแจงใหผูรองนำเจาพนักงานพิทักษทรัพยในพื้นที่ซึ่งทรัพยตั้งอยูยึดทรัพยจำนองแลว
แตในระหวางรอการขายทอดตลาด ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหยกเลิกการลมละลายของ
จำเลยที่ ๓ เปนเหตุใหตองยกเลิกการยึดทรัพยจำนองดังกลาวโดยผลของกฎหมาย เนื่องจาก
ผคู ดั คา นไมม อี ำนาจจดั การทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๓ ตอ ไป แตผ คู ดั คา นกลบั มคี ำสง่ั ใหผ รู อ งชำระ
คา ธรรมเนยี มถอนการยดึ แลว ไมม กี ารขาย ๕๑,๑๙๖ บาท ทง้ั ทม่ี ไิ ดเ ปน ความบกพรอ งของผรู อ ง
ซึ่งใชสิทธิบังคับจำนองโดยสุจริต ผูรองจึงไมสมควรตองชำระคาธรรมเนียมดังกลาวตามคำสั่ง
ของผูคัดคาน ขอใหเพิกถอนคำสั่งของผูคัดคานและมีคำสั่งใหงดเวนการชำระคาธรรมเนียม
การยดึ โดยไมม กี ารขายหรือจำหนา ยทรพั ยจำนองตามคำรอง

ผคู ดั คานยนื่ คำคัดคา นวา การยกเลกิ ลม ละลายตามคำส่ังศาลลม ละลายกลางเกิดขึ้น
เนอ่ื งจากเจา หนผ้ี เู ปน โจทกร วมทง้ั ผรู อ งซง่ึ เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๖ ขอถอนคำขอรบั ชำระหน้ี และไมม ี
เจา หนร้ี ายใดรบั เขา เปน โจทกแ ทนเจา หนผ้ี เู ปน โจทกเ ดมิ ผคู ดั คา นตอ งถอนการยดึ ทรพั ยจ ำนอง
เนอ่ื งจากไมม อี ำนาจจดั การทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๓ ตอ ไป การทผ่ี รู อ งไมใ ชส ทิ ธบิ งั คบั คดแี พง
ตามคำพิพากษาจนลวงเลยระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดมาแตแรกทั้งที่สามารถกระทำได จึงไม
ใชผลทางกฎหมายทผ่ี ูร อ งจะปฏิเสธไมชำระคา ธรรมเนยี มการรวบรวมทรพั ยสนิ ขอใหย กคำรอง

ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหยกคำรอง คาฤชาธรรมเนียมเปนพับ และคำขออื่น
นอกจากน้ใี หยก

ผรู อ งอทุ ธรณโ ดยไดร บั อนุญาตจากศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พเิ ศษ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความไม
โตแยง กันในชนั้ น้รี บั ฟงไดเปนทีย่ ตุ ิวา ผูรองเปนเจาหนีซ้ ง่ึ รับโอนสทิ ธิเรียกรองของผรู บั จำนอง

๑๗๓

ซึ่งเปนเจาหนี้ตามคำพิพากษาในคดีแพงหมายเลขแดงที่ ๑๔๑/๒๕๔๓ ของศาลจังหวัดมีนบุรี
ฉบับลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๓ ตอมาเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ ผูรองไดยื่นคำรอง
ตอ ผคู ดั คา นขอใชส ทิ ธริ บั ชำระหนใ้ี นฐานะผรู บั จำนองเหนอื ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๑๒๖๓๘ ตำบลโคกแฝด
(เจยี ระดบั ) อำเภอหนองจอก กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งของจำเลยท่ี ๓ ซง่ึ เปน ทรพั ย
จำนองในคดีดังกลาว ผูคัดคานจึงแจงใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยประจำสำนักงานบังคับคดี
กรงุ เทพมหานครเขตพน้ื ท่ี ๓ ในพน้ื ทซ่ี ง่ึ ทรพั ยต ง้ั อยยู ดึ และขายทอดตลาดทรพั ยจ ำนองดงั กลา ว
เพอ่ื นำเงนิ สง เขา กองทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๓ โดยผแู ทนผรู อ งไดน ำยดึ ทรพั ยจ ำนองเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ในระหวางรอการขายทอดตลาด ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหยกเลิกการ
ลม ละลายของจำเลยท่ี ๓ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๕๙ เนอ่ื งจากเจา หนผ้ี เู ปน โจทกเ ดมิ และผรู อ ง
ซง่ึ เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๖ ซง่ึ เขา เปน โจทกแ ทนขอถอนคำขอรบั ชำระหนโ้ี ดยไมม เี จา หนร้ี ายใดเตม็ ใจ
กระทำการดงั กลา วตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๑) ผคู ดั คา นจงึ ถอน
การยดึ ทรพั ยจ ำนองและมคี ำสง่ั ใหผ รู อ งชำระคา ธรรมเนยี มในการรวบรวมทรพั ยส นิ สำหรบั ทรพั ยส นิ
ทไ่ี มม กี ารขายหรอื จำหนา ย มปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั วา ผรู อ งตอ งชำระคา ธรรมเนยี มในการรวบรวม
ทรัพยสินสำหรับทรัพยสินที่ไมมีการขายหรือจำหนายตามคำสั่งของผูคัดคานหรือไม เห็นวา
แมผ รู อ งซง่ึ รบั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งจากเจา หนต้ี ามคำพพิ ากษาในคดแี พง หมายเลขแดงท่ี ๑๔๑/๒๕๔๓
ของศาลจงั หวดั มนี บรุ ี มไิ ดใ ชส ทิ ธบิ งั คบั คดตี ามผลคำพพิ ากษาในคดแี พง ดงั กลา ว แตก ารทผ่ี รู อ ง
ในฐานะผูรับจำนองซึ่งเปนเจาหนี้มีประกันใชสิทธิตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๕ ยื่นคำรองตอผูคัดคานที่มีอำนาจจัดการและจำหนายทรัพยสินของลูกหนี้ตาม
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑) โดยมีจุดประสงคใหมีการบังคับจำนอง
ตอ ทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๓ เพอ่ื ใหไ ดเ งนิ ตามทผ่ี กู พนั กนั ตามสญั ญาจำนองมาชำระหนใ้ี หแ กผ รู อ ง
จงึ ตอ งถอื วา ผรู อ งเปน ผขู อใหบ งั คบั คดตี ามความหมายแหง ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง
มาตรา ๑๕๓ วรรคสอง เมื่อผูคัดคานออกหนังสือถึงเจาพนักงานพิทักษทรัพยประจำสำนักงาน
บังคับคดีกรุงเทพมหานครเขตพื้นที่ ๓ ซึ่งทรัพยจำนองตั้งอยูใหดำเนินการยึดทรัพยจำนอง
เพอ่ื ประโยชนข องผรู อ งซง่ึ เปน ผขู อใหบ งั คบั คดี จนมกี ารยดึ ทรพั ยจ ำนอง ทำใหเ กดิ คา ธรรมเนยี ม
ในการรวบรวมทรพั ยส นิ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ วรรคหนง่ึ (๔)
และผรู อ งยน่ื คำรอ งขอถอนคำขอรบั ชำระหนด้ี งั กลา วเมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘ เมอ่ื ผคู ดั คา น
มีคำสั่งอนุญาต การดำเนินการเพื่อถอนการยึดทรัพยจำนองของจำเลยที่ ๓ จึงเปนไปตาม
คำขอของผรู อ ง แมตอมาศาลลม ละลายกลางมคี ำส่งั ใหยกเลิกการลม ละลายของจำเลยที่ ๓ ตาม
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๑) เพราะเจาหน้ผี ูเปน โจทกถอนคำขอรับ

๑๗๔

ชำระหนี้โดยไมมีเจาหนี้รายใดรับเปนโจทกแทน ทำใหผูคัดคานไมมีอำนาจจัดการและจำหนาย
ทรัพยสินของจำเลยที่ ๓ ในคดีลมละลายไดตอไปอันเปนผลตามกฎหมายซึ่งมิไดเกิดจากความ
ไมสุจริตหรือความบกพรองของผูรองจริงดังที่ผูรองกลาวอางในอุทธรณ แตเมื่อการยึดทรัพย
จำนองเปนการกระทำเพอ่ื ประโยชนของผูรอง ผรู องซึ่งเปน เจาหน้ีผูขอบงั คับคดจี ึงตองเปน ผูชำระ
คาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสินสำหรับทรัพยสินที่ไมมีการขายหรือจำหนายตาม
พระราชบญั ญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ วรรคหนง่ึ (๔) และประมวลกฎหมาย
วิธีพจิ ารณาความแพง มาตรา ๑๕๓ วรรคสอง ประกอบพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลลม ละลายและ
วิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งมานั้น ศาล
อุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเห็นพองดวย อทุ ธรณของผูรองฟงไมข ้ึน

พิพากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มในชัน้ อุทธรณใ หเ ปน พบั .

(เกียรติคณุ แมน เลขา - สถาพร วิสาพรหม - อดิศักดิ์ เทยี นกรมิ )

ขอสงั เกต
คดลี ม ละลายตา งจากคดแี พง เนอ่ื งจากนบั แตศ าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยแ ลว เจา พนกั งาน

พทิ กั ษท รพั ยแ ตผ เู ดยี วมอี ำนาจรวบรวมทรพั ยส นิ ของลกู หนไ้ี ดเ อง ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑) โดยไมจ ำตอ งมเี จา หนใ้ี ดมานำยดึ กอ นดงั เชน คดแี พง ดงั นน้ั ถา ตอ มา
มีเหตุใหถอนการยึด โจทกหรือเจาหนี้อื่นก็ไมตองรับผิดในคาธรรมเนียมยึดแลวไมมีการขาย
ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ (๔) ประกอบประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๕๓ และมาตรา ๑๖๙/๒ วรรคทาย เวนแต เหตุถอนการยึดนั้น
เกิดขน้ึ เพราะโจทกถ อนฟอ ง หรือเจาหน้ีผูนำยดึ ไดข อถอนการยึดเสียเอง ตามนัยคำพิพากษา
ศาลฎีกาที่ ๓๙๐๔/๒๕๔๗ และคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๘๕/๒๕๔๘ หรือเจาหนี้มีประกันที่
ยน่ื คำขอรบั ชำระหนต้ี ามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓) ขอถอนคำขอรบั
ชำระหนี้ ตามนัยคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๗๙๘/๒๕๕๙ และคำพิพากษาของศาลอุทธรณ
คดีชำนัญพิเศษท่ี ๔๘๒๑/๒๕๖๑

เกี่ยวกับคดีนี้แมผูรองเปนเพียงเจาหนี้มีประกันผูนำยึดโดยขอบังคับหลักประกันตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๕ มใิ ชผ ยู น่ื คำขอรบั ชำระหนส้ี ามญั สำหรบั สว น
ที่ขาดอยูจากการบังคับจำนองตามมาตรา ๙๖ และยังไมมีแนวคำพิพากษาศาลฎีกาวินิจฉัยเกี่ยวกับ
การคิดคาธรรมเนียมถอนการยึดตามมาตรา ๙๕ แตการที่ผูรองยื่นคำรองขอขายทอดตลาดบังคับ

๑๗๕

หลักประกันในคดีลมละลายก็เพื่อประโยชนของตนเองมิใชเพื่อประโยชนแกเจาหนี้ทั้งหลาย
เมื่อตอมาผูรองผูขอบังคับคดีไดขอถอนบังคับหลักประกันดังกลาวเสียเองแลว ผูรองจึงสมควร
ตอ งรบั ผดิ ในคา ธรรมเนยี มถอนการยดึ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ (๔)
ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๕๓ วรรคสอง และมาตรา ๑๖๙/๒
วรรคทา ย

สวนปญหาการที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยไมสามารถแตงตั้งเจาหนี้คนใดขึ้นมาแทน
เจาหนี้ผูเปนโจทกไดตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๕๖ ทั้งผูรองซึ่งเปน
ผูขอบังคับจำนองตามมาตรา ๙๕ ก็ไมมีสิทธิขอเขาเปนเจาหนี้ผูเปนโจทกแทนตามนัยคำพิพากษา
ศาลฎีกาที่ ๓๒๘๓/๒๕๓๒ จนเปนเหตใุ หศ าลสั่งยกเลิกการลม ละลายตามมาตรา ๑๓๕ (๑) นน้ั
กม็ ใิ ชป ญ หาในชน้ั เรยี กเกบ็ คา ธรรมเนยี มถอนการยดึ เพราะผรู อ งขอถอนคำขอบงั คบั หลกั ประกนั
เสียกอน เทียบตามเหตุผลในคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๗๙๘/๒๕๕๙ แตถาขอเท็จจริงเปลี่ยนไป
วาผูรองมิไดขอถอนคำขอบังคับหลักประกันตามมาตรา ๙๕ แตศาลยังคงมีคำสั่งยกเลิกการ
ลม ละลายตามมาตรา ๑๓๕ (๑) เพราะเจา พนักงานพทิ ักษท รพั ยไมอาจแตงตัง้ เจาหนค้ี นใดข้ึนมา
แทนเจา หนผ้ี เู ปน โจทกไ ดต ามมาตรา ๑๕๖ ผรู อ งกไ็ มต อ งรบั ผดิ ในคา ธรรมเนยี มสำหรบั ทรพั ยส นิ
ที่รวบรวมแลว ไมม กี ารขายเนื่องจากมกี ารยกเลิกการลมละลายโดยคำส่ังศาลน้ัน

(วิรตั น วศิ ิษฏวงศกร)
ผูพ พิ ากษาศาลอทุ ธรณ
ประจำกองผชู ว ยผพู พิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนญั พิเศษ

สรายุทธ เตชะวุฒพิ ันธุ - ยอ
วิรัตน วิศิษฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ทสี่ ุด

๑๗๖

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๕๐๓/๒๕๖๔ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรัพย

กรุงศรีอยุธยา จำกัด โจทก

บริษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย

อลั ฟาแคปปตอล จำกดั ผรู อ ง

เจา พนักงาน

พทิ กั ษทรัพย ผคู ัดคาน

นางอภิรดี

กัลยาพิเชฏฐ จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๐ วรรคสี่ (เดมิ ), ๒๙๖ วรรคสี่ (๒) (เดมิ )
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๐

การขายทอดตลาดในคดีแพง นาย ท. ผูซื้อทรัพยไดชําระราคาคาซื้อทรัพย
ครบถว นแลว และเจา พนกั งานบงั คบั คดไี ดท าํ บญั ชแี สดงรายการรบั -จา ย เสรจ็ เรยี บรอ ยแลว
ผูมีสวนไดเสียไดตรวจและรับรองบัญชีถูกตอง ทั้งเจาพนักงานบังคับคดีไดรายงานศาล
ถึงการบังคับคดีเสร็จสิ้นแลว การบังคับคดีจึงเสร็จลงแลวตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๙๖
วรรคสี่ (๒) (เดิม) ไมมีการกระทําอยางไรตอไปอีก สวนการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน
ที่ซื้อนั้น เปนหนาที่ของผูซื้อที่จะตองไปดําเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนเอง ซึ่งเปน
อกี ขน้ั ตอนหนง่ึ ตา งหากจากการบงั คบั คดี การทผ่ี ซู อ้ื ทรพั ยย งั ไมไ ดไ ปดาํ เนนิ การเปลย่ี นแปลง
ทางทะเบยี นหาทาํ ใหก ารขายทอดตลาดทรพั ยท เ่ี สรจ็ ลงแลว เสยี ไปไม และแมผ ซู อ้ื ทรพั ย
จะไมไ ดไ ปดาํ เนนิ การเปลย่ี นแปลงทางทะเบยี นเปน เวลาเกนิ กวา ๑๐ ป แลว แตใ นคดแี พง
ดังกลาวก็ไมปรากฏวามีผูมีสวนไดเสียคนใดดําเนินการฟองรองวาการขายทอดตลาด
ดงั กลา วไมช อบ การขายทอดตลาดของเจา พนกั งานบงั คบั คดจี งึ มผี ลสมบรู ณต ามกฎหมาย
และไมเลกิ ไปโดยปริยาย

ศาลลม ละลายกลางมคี าํ สง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจาํ เลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน
๒๕๕๒ แตปรากฏวาเจาพนักงานบังคับคดีไดทําการขายทอดตลาดทรัพยดังกลาวใหแก
นาย ท. ไปตง้ั แตว นั ท่ี ๒๘ กนั ยายน ๒๕๔๗ เมอ่ื พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๐
วรรคสอง บัญญัติวาการบังคับคดีนั้น ใหถือวาไดสําเร็จบริบูรณเมื่อพนกําหนดเวลาที่
อนญุ าตใหเจา หนอี้ นื่ ย่นื คําขอเฉลี่ยตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง ซ่ึงตาม

๑๗๗

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๙๐ วรรคส่ี (เดมิ ) ไดก ําหนดเวลาที่เจา หนจ้ี ะย่ืนคําขอเฉลย่ี ไวโดยใหย น่ื
กอนสิ้นระยะเวลา ๑๔ วัน นับแตวันขายทอดตลาดทรัพยดังกลาว ฉะนั้น การบังคับคดี
ในคดีของศาลแพงดังกลาวจึงสําเร็จบริบูรณแลวกอนวันที่ศาลลมละลายกลางมีคําสั่ง
พทิ กั ษท รพั ยข องจาํ เลยเดด็ ขาด การบงั คบั คดขี องเจา พนกั งานบงั คบั คดจี งึ ใชย นั ผคู ดั คา น
ได ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๐ วรรคหนง่ึ และวรรคสอง ทง้ั บทบญั ญตั ิ
มาตรา ๑๑๐ ไมก ระทบถงึ ความสมบรู ณแ หง การซอ้ื โดยสจุ รติ ในการขายทอดตลาดทรพั ยส นิ
ตามคาํ สง่ั ศาลในคดแี พง ตามมาตรา ๑๑๐ วรรคทา ย ผคู ดั คา นจงึ ไมอ าจยดึ ทรพั ยด งั กลา ว
มาขายทอดตลาดซ้ำไดอกี

_____________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ กนั ยายน ๒๕๕๒ ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
ของจำเลยเด็ดขาด

ผูรองยื่นคำรอง ขอใหมีคำสั่งใหผูคัดคานดำเนินการขายทอดตลาดทรัพยหลักประกัน
ในคดแี พง หมายเลขแดงท่ี ๑๓๑๘๔/๒๕๔๒ ของศาลแพง

ผคู ดั คานไมย ื่นคำคัดคาน
ศาลลม ละลายกลางมคี ำส่งั ใหยกคำรอ ง คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปน พบั
ผรู องอุทธรณโ ดยไดรับอนญุ าตจากศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติใน
เบอ้ื งตน โดยทค่ี คู วามมไิ ดโ ตแ ยง กนั วา ผรู อ งเปน ผสู วมสทิ ธคิ ำขอรบั ชำระหนข้ี องเจา หนผ้ี เู ปน โจทก
ซึ่งยื่นคำขอรับชำระหนี้เปนเจาหนี้รายที่ ๒ อยางเจาหนี้มีประกันตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓) แตที่ดินโฉนดเลขที่ ๖๗๔๑๔ ตำบลพระประโทน อำเภอเมือง
นครปฐม จงั หวดั นครปฐม พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง ซง่ึ เปน หลกั ประกนั ถกู เจา หนใ้ี นคดแี พง ดำเนนิ การ
บังคับคดีและขายทอดตลาดไปตั้งแตวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๗ มีนายทิวา เปนผูประมูลได
ในราคา ๕,๐๐๐ บาท โดยเปน การขายแบบมภี าระจำนองตดิ ไป นายทิวาชำระราคาคา ซือ้ ทรพั ย
ครบถวน และเจาพนักงานบังคับคดีไดทำรายการบัญชีรับจายเสร็จแลว แตยังมิไดมีการโอน
กรรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ยใ หแ กผ ซู อ้ื ผรู อ งจงึ ฟอ งผซู อ้ื ทรพั ยเ ปน คดแี พง หมายเลขแดงท่ี ๑๙๓๕/๒๕๖๑
ของศาลจงั หวดั นครปฐม แตศ าลพพิ ากษายกฟอ งเพราะไมม หี ลกั ฐานชดั วา จำเลยเปน ผซู อ้ื ทรพั ยจ รงิ
ผรู อ งจงึ ขอใหผ คู ดั คา นยดึ ทรพั ยห ลกั ประกนั ออกขายทอดตลาด แตผ คู ดั คา นมคี ำสง่ั วา การบงั คบั คดี
สำเร็จบริบูรณลงโดยไดยึดทรัพยขายทอดตลาดในคดีแพงไปแลว จึงไมสามารถดำเนินการ

๑๗๘

ยึดทรัพยไดอีกเพราะเปนการยึดซ้ำ ใหผูรองไปใชสิทธิตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา ๗๒๙ ตอ ไป

มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองวา คำสั่งของผูคัดคานชอบแลวหรือไม
เหน็ วา การขายทอดตลาดในคดีแพง ของศาลแพง คดหี มายเลขแดงที่ ๑๓๑๘๔/๒๕๔๒ นายทวิ า
ผูซื้อทรัพยไดชำระราคาคาซื้อทรัพยครบถวนแลว และเจาพนักงานบังคับคดีไดทำบัญชีแสดง
รายการรบั -จา ย เสรจ็ เรยี บรอ ยแลว ตง้ั แตว นั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ผมู สี ว นไดเ สยี ไดต รวจและ
รับรองบัญชีถูกตองแลวเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ซึ่งผูรองก็รับมาในอุทธรณแลววา
เจา พนกั งานบงั คบั คดไี ดร ายงานศาลแพง ถงึ การบงั คบั คดเี สรจ็ สน้ิ แลว การบงั คบั คดจี งึ เสรจ็ ลงแลว
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๖ วรรคสี่ (๒) (เดิม) ไมมีการกระทำ
อยางไรตอไปอีก สวนการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่ซื้อนั้น เปนหนาที่ของผูซื้อที่จะตองไป
ดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนเอง ซึ่งเปนอีกขั้นตอนหนึ่งตางหากจากการบังคับคดีการที่
ผูซื้อทรัพยยังไมไดไปดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนหาทำใหการขายทอดตลาดทรัพย
ที่เสร็จลงแลวเสียไปไม และแมผูซื้อทรัพยจะไมไดไปดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนเปน
เวลาเกินกวา ๑๐ ป แลว แตในคดีแพงดังกลาวก็ไมปรากฏวามีผูมีสวนไดเสียคนใดดำเนินการ
ฟองรอ งวา การขายทอดตลาดดังกลา วไมชอบ การขายทอดตลาดของเจา พนักงานบังคับคดจี งึ มี
ผลสมบรู ณต ามกฎหมายและไมเ ลกิ ไปโดยปรยิ ายดงั ทผ่ี รู อ งอทุ ธรณ สว นทผ่ี รู อ งอทุ ธรณว า ทรพั ย
ดังกลาวยังเปนของจำเลยตลอดมาและมีอยูในขณะที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพย
ของจำเลยเด็ดขาด จึงอยูในอำนาจจัดการของผูคัดคาน และกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินยังไมโอนไป
เปนของผูซื้อทรัพย หากผูคัดคานดำเนินการยึดทรัพยตามความประสงคของผูรองที่ขอรับ
ชำระหนี้ไวแลวก็ไมเปนการยึดซ้ำนั้น เห็นวา ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๑๐ วรรคหนง่ึ บญั ญตั วิ า “คำสง่ั ของศาลทใ่ี หย ดึ หรอื อายดั ทรพั ยส นิ ของลกู หนไ้ี วช ว่ั คราว
หรือหมายบังคับคดีแกทรัพยสินของลูกหนี้นั้น จะใชยันแกเจาพนักงานพิทักษทรัพยของลูกหนี้
ไมไดเวนแตการบังคับคดีนั้นไดสำเร็จบริบูรณแลวกอนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพย” และตาม
วรรคสองของบทบญั ญตั ดิ งั กลา ว บญั ญตั วิ า “การบงั คบั คดนี น้ั ใหถ อื วา ไดส ำเรจ็ บรบิ รู ณเ มอ่ื พน
กำหนดเวลาที่อนุญาตใหเจาหนี้อื่นยื่นคำขอเฉลี่ยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง”
และตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๐ วรรคสี่ (เดิม) อันเปนกฎหมาย
ที่ใชบังคับขณะนั้น บัญญัติวา “ในกรณีที่ยึดทรัพยสินเพื่อขายทอดตลาดหรือจำหนายโดยวิธีอื่น
คำขอเชน วา นใ้ี หย น่ื กอ นสน้ิ ระยะเวลาสบิ สว่ี นั นบั แตว นั ทม่ี กี ารขายทอดตลาดหรอื จำหนา ยทรพั ยส นิ
ทข่ี ายทอดตลาด หรอื จำหนา ยไดใ นครง้ั นน้ั ๆ” คดนี ศ้ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข อง

๑๗๙

จำเลยเด็ดขาด เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๒ แตปรากฏวาเจาพนักงานบังคับคดีไดทำการ
ขายทอดตลาดทรัพยดังกลาวใหแกนายทิวาผูซื้อทรัพยไปตั้งแตวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๗
เมื่อพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๐ วรรคสอง บัญญัติวา การบังคับคดีนั้น
ใหถือวาไดสำเร็จบริบูรณเมื่อพนกำหนดเวลาที่อนุญาตใหเจาหนี้อื่นยื่นคำขอเฉลี่ยตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ซึ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๙๐
วรรคสี่ (เดิม) ไดกำหนดเวลาที่เจาหนี้จะยื่นคำขอเฉลี่ยไวโดยใหยื่นกอนสิ้นระยะเวลา ๑๔ วัน
นับแตว นั ขายทอดตลาดทรัพยดังกลา ว ฉะน้ัน การบังคบั คดใี นคดขี องศาลแพงดงั กลา วจงึ สำเรจ็
บรบิ รู ณแ ลว กอ นวนั ทศ่ี าลลม ลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาด การบงั คบั คดขี อง
เจาพนักงานบังคับคดีจึงใชยันผูคัดคานได ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา
๑๑๐ วรรคหนึ่งและวรรคสอง ทั้งบทบัญญัติมาตรา ๑๑๐ ไมกระทบถึงความสมบูรณแหงการซื้อ
โดยสุจริตในการขายทอดตลาดทรัพยสินตามคำสั่งศาลในคดีแพงตามมาตรา ๑๑๐ วรรคทาย
ผูคัดคานจึงไมอาจยึดทรัพยดังกลาวมาขายทอดตลาดซ้ำไดอีก ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยก
คำรอ งของผรู องมาน้ัน ศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษเหน็ พอ งดวย อุทธรณของผูรอ งฟงไมขน้ึ

พพิ ากษายืน คาฤชาธรรมเนยี มในช้ันอุทธรณใ หเ ปน พบั .

(พนู ศกั ด์ิ เขม็ แซมเกษ - จักรพนั ธ สอนสภุ าพ - ปฏกิ รณ คงพพิ ิธ)

นราธิป บุญญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏวงศกร - ตรวจ

๑๘๐

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๕๙๕/๒๕๖๔ บรรษัทบริหาร

สินทรพั ยไ ทย โจทก

บริษัทแชมปร ิช จำกัด ผูรอ ง

เจา พนกั งาน

พทิ กั ษท รพั ย กับพวก ผคู ดั คาน

บรษิ ัทนอ มอนนั ต จำกดั จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๕๑๖

ผูรองเปนผูซื้อที่ดินพิพาทจากการขายทอดตลาดของเจาพนักงานบังคับคดี
ในฐานะกระทำการตามที่ผูคัดคานที่ ๑ มอบหมาย ผูรองวางเงินมัดจำแลวแตไมชำระ
ราคาคาซื้อใหครบถวนภายในกำหนดเวลา เจาพนักงานบังคับคดีมีคำสั่งริบเงินมัดจำ
ของผรู องและใหน ำทรัพยข ายทอดตลาดใหม อนั เปนการชอบดว ย ป.พ.พ. มาตรา ๕๑๖ แลว
สัญญาซื้อขายที่ดินพิพาทระหวางผูรองกับผูคัดคานที่ ๑ จึงสิ้นสุดลงหรือระงับไปนับแต
เจาพนักงานบังคับคดีมีคำสั่งนั้นแลว และผูคัดคานที่ ๑ จะตองจัดการจำหนายทรัพย
รายนี้ใหเสร็จสิ้นโดยดำเนินการขายทอดตลาดใหมตอไป ผูรองไมมีสิทธิเรียกรองใด ๆ
ใหผ ูค ัดคา นที่ ๑ ปฏบิ ัติตามสญั ญาซ้ือขายอีก มใิ ชวา สญั ญาซือ้ ขายยังคงมีอยูแ ละไมย ตุ ิ
ผูรองจึงไมอาจขอชำระเงินคาซื้อทรัพยทั้งหมดตอผูคัดคานที่ ๑ และใหผูคัดคานที่ ๑
โอนกรรมสทิ ธ์ิทด่ี ินพพิ าททั้งสามแปลงแกผ รู อง

_____________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี
๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๓ และพพิ ากษาใหจ ำเลยลมละลายวันท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๔

ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหม คี ำสง่ั ใหผ คู ดั คา นท่ี ๑ รบั เงนิ คา ซอ้ื ทรพั ย ๑,๑๓๖,๓๒๐,๐๐๐ บาท
และโอนกรรมสิทธทิ์ ดี่ นิ พิพาททง้ั สามแปลงแกผรู อง

ผคู ัดคานทงั้ สามตา งยนื่ คำคัดคา นขอใหยกคำรอง
ศาลลม ละลายกลางพจิ ารณาแลว วนิ จิ ฉยั วา ผคู ดั คา นท่ี ๒ และท่ี ๓ ไมม สี ว นไดเ สยี ในคดี
ไมมีสิทธิยื่นคำคัดคาน จึงไมจำตองวินิจฉัยประเด็นขอตอสูของผูคัดคานที่ ๒ และที่ ๓ สวนคดี
ระหวา งผรู อ งกบั ผคู ดั คา นท่ี ๑ ในปญ หาวา ผคู ดั คา นท่ี ๑ ควรรบั เงนิ คา ซอ้ื ทรพั ยแ ละโอนกรรมสทิ ธ์ิ

๑๘๑

ทด่ี นิ พพิ าทแกผ รู อ งหรอื ไม วนิ จิ ฉยั วา คดรี อ งขดั ทรพั ยถ งึ ทส่ี ดุ แลว หากผคู ดั คา นท่ี ๑ รบั เงนิ คา
ซื้อทรัพยจากผูรองและโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพิพาทแกผูรองจะไดเงินเขากองทรัพยสินของลูกหนี้
เปนทรัพยสินในคดีลมละลายอันอาจแบงแกเจาหนี้ได ซึ่งเปนวิธีที่สะดวกและเปนผลดีที่สุดตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๓ จงึ มคี ำสง่ั ใหผ คู ดั คา นท่ี ๑ รบั เงนิ คา ซอ้ื ทรพั ย
ทง้ั หมดตามสญั ญาซอ้ื ขายลงวนั ท่ี ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๖ จำนวน ๑,๑๓๖,๓๒๐,๐๐๐ บาท และโอน
กรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๑๕๒๔, ๑๙๐๘ และ ๑๕๒๑ ตำบลบางแจงรอ นนอก อำเภอราษฎรบ รู ณะ
กรุงเทพมหานคร แกผูรอง กับใหยกคำคัดคานของผูคัดคานที่ ๒ และที่ ๓ คาฤชาธรรมเนียม
ใหเปนพบั

ผคู ดั คา นที่ ๑ อุทธรณโดยไดรบั อนุญาตจากศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษ
ผคู ดั คา นท่ี ๒ และท่ี ๓ ยน่ื คำรอ งขออนญุ าตอทุ ธรณ ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษมคี ำสง่ั
ไมอนญุ าตใหอุทธรณ ไมร ับอุทธรณของผูค ัดคา นท้งั สองน้ี
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ยตุ วิ า เมอ่ื วนั ท่ี
๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ ผูรองเปนผูซื้อที่ดินพิพาทรวม ๓ แปลง ของจำเลยจากการขายทอดตลาด
ทรพั ยในคดหี มายเลขแดงที่ พ ๕๙๓๙/๒๕๔๕ ของศาลแพงธนบรุ ี ซง่ึ เจาพนักงานบงั คับคดขี าย
ทอดตลาดทรพั ยต ามทไ่ี ดร บั มอบหมายจากผคู ดั คา นท่ี ๑ และผรู อ งทำสญั ญาซอ้ื ขาย โดยวางเงนิ
มดั จำ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท หลงั จากนน้ั วนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๖ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอขยายระยะเวลา
วางเงนิ คา ซอ้ื สว นทเ่ี หลอื ออกไป ๓ เดอื น เจา พนกั งานบงั คบั คดมี คี ำสง่ั อนญุ าต ซง่ึ จะครบกำหนด
วางเงินวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๗ ตอมากอนครบกำหนดวางเงิน วันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖
ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอขยายระยะเวลาวางเงนิ ออกไปจนกวา คดรี อ งขอใหป ลอ ยทรพั ยท ข่ี ายจะถงึ ทส่ี ดุ
เจาพนักงานบังคับคดีเห็นวามีผูขอเพิกถอนการขายทอดตลาดและคดียังไมถึงที่สุด มีคำสั่งไม
อนญุ าตใหขยายเวลาตามคำรองและใหผูรองวางเงินเพมิ่ เปน รอ ยละ ๕.๕ ของราคาซอื้ และวันท่ี
๒๐ มกราคม ๒๕๕๗ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอขยายระยะเวลาวางเงนิ เพม่ิ ตามคำสง่ั เจา พนกั งานบงั คบั คดี
เนอื่ งจากผูรอ งย่ืนคำรองคดั คานคำส่งั เจาพนักงานบงั คบั คดตี อ ศาลแลว เจาพนักงานบงั คบั คดมี ี
คำสง่ั ไมอ นญุ าตและใหผ รู อ งวางเงนิ ตามกำหนดเวลาเดมิ ในวนั ท่ี ๒๕ มกราคม ๒๕๕๗ เมอ่ื ครบ
กำหนดเวลาดงั กลาวแลวผูรอ งไมวางเงนิ เม่อื วนั ท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ เจา พนกั งานบงั คบั คดี
มคี ำสง่ั รบิ เงนิ มดั จำของผรู อ ง และใหน ำทด่ี นิ พพิ าททง้ั สามแปลงขายทอดตลาดใหม และวนั ท่ี ๒๓
กนั ยายน ๒๕๖๒ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอชำระเงนิ คา ซอ้ื ทรพั ยท ง้ั หมดตอ ผคู ดั คา นท่ี ๑ และใหผ คู ดั คา น
ท่ี ๑ โอนกรรมสิทธิท์ ีด่ ินพพิ าทแกผูรอง ผคู ดั คานท่ี ๑ มีคำสั่งยกคำรอ ง

๑๘๒

คดมี ปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นท่ี ๑ วา ผรู อ งขอชำระเงนิ คา ซอ้ื ทรพั ย
ท้งั หมดตอผูคดั คา นที่ ๑ และใหผูคัดคา นที่ ๑ โอนกรรมสทิ ธทิ์ ่ดี นิ พิพาททงั้ สามแปลงแกผ รู องได
หรือไม เห็นวา ในการขายทอดตลาดทรัพยของผูคัดคานที่ ๑ ถาผูซื้อชำระราคาคาซื้อครบถวน
ภายในกำหนดเวลาตามสญั ญาซ้อื ขายหรือตามท่ีผคู ดั คานท่ี ๑ ขยายระยะเวลาให การขายทอด
ตลาดนั้นเปนอันสำเร็จบริบูรณ และผูคัดคานที่ ๑ ตองโอนกรรมสิทธิ์แกผูซื้อตอไป แตหากผูซื้อ
ไมช ำระราคาคา ซอ้ื ใหค รบถว นภายในกำหนดเวลาดงั กลา วตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
มาตรา ๕๑๕ ผคู ดั คา นท่ี ๑ จะตอ งรบิ เงนิ มดั จำทผ่ี ซู อ้ื วางไวต ามขอ ตกลงในสญั ญาซอ้ื ขายทผ่ี ซู อ้ื
ทำไว แลวตองนำทรัพยนั้นขายทอดตลาดใหม ถาและไดเงินเปนจำนวนสุทธิไมคุมราคาและคา
ขายทอดตลาดเดิม ผูซื้อเดิมตองรับผิดในสวนที่ขาดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา ๕๑๖ กฎกระทรวง กำหนดหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการขายทอดตลาด พ.ศ. ๒๕๕๔
ขอ ๒๔ และคำสั่งกรมบังคับคดีที่ ๓๓๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ขอ ๑๒ ทั้ง
ขอ เทจ็ จรงิ ยงั ไดค วามดว ยวา หลงั จากเจา พนกั งานบงั คบั คดมี คี ำสง่ั เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๕๖
ใหผูรองวางเงินคาซื้อเพิ่มแลว ผูรองยื่นคำรองคัดคานตอศาลแพงธนบุรีขอใหมีคำสั่งเพิกถอน
คำสั่งของเจาพนักงานบังคับคดี ศาลมีคำสั่งยกคำรอง ศาลอุทธรณพิพากษายืน โดยวินิจฉัยวา
คำส่งั เจา พนกั งานบังคับคดที ี่ใหวางเงินคาซอ้ื เพิม่ และริบเงนิ มัดจำชอบแลว ผูร อ งฎีกา ศาลฎกี า
มีคำสงั่ ไมร บั คดตี ามฎกี าของผูร องไวพ ิจารณาพพิ ากษา และใหจำหนา ยคดี ผลแหงคำพพิ ากษา
และคำสง่ั อนั ถงึ ทส่ี ดุ ดงั กลา วยอ มผกู พนั ผรู อ งตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา
๑๔๕ วรรคหนง่ึ ดงั น้ี เมอ่ื เจา พนกั งานบงั คบั คดใี นฐานะกระทำการตามทผ่ี คู ดั คา นท่ี ๑ มอบหมาย
มคี ำสง่ั รบิ เงนิ มดั จำของผรู อ ง และใหน ำทรพั ยข ายทอดตลาดใหม อนั เปน การชอบตามบทบญั ญตั ิ
กฎหมายดงั กลา ว จงึ ทำใหส ญั ญาซอ้ื ขายทด่ี นิ พพิ าทระหวา งผรู อ งกบั ผคู ดั คา นท่ี ๑ สน้ิ สดุ ลงหรอื
ระงับไปนับแตเจาพนักงานบังคับคดีมีคำสั่งนั้นแลว และผูคัดคานที่ ๑ จะตองจัดการจำหนาย
ทรัพยรายนี้ใหเสร็จสิ้นโดยดำเนินการขายทอดตลาดใหมตอไป ผูรองไมมีสิทธิเรียกรองใด ๆ
ใหผูคัดคานที่ ๑ ปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายอีก กรณีมิใชวาสัญญาซื้อขายยังคงมีอยูและไมยุติ
ดงั ทผ่ี รู อ งอา งตามคำรอ ง ผรู อ งจงึ ไมอ าจขอชำระเงนิ คา ซอ้ื ทรพั ยท ง้ั หมดตอ ผคู ดั คา นท่ี ๑ และให
ผคู ดั คา นท่ี ๑ โอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ พพิ าททง้ั สามแปลงแกผ รู อ ง สว นปญ หาตามอทุ ธรณข อ อน่ื ของ
ผูคัดคานที่ ๑ ไมจำตองวินิจฉัย เพราะมิไดทำใหผลคดีเปลี่ยนแปลงไป ที่ศาลลมละลายกลาง
วนิ จิ ฉยั และมคี ำสง่ั ใหผ คู ดั คา นท่ี ๑ ดำเนนิ การตามคำรอ งของผรู อ งนน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ไมเห็นพอ งดวย อุทธรณของผูคดั คา นท่ี ๑ ฟง ขึน้

พิพากษากลับ ใหย กคำรอ งของผูรอง คา ฤชาธรรมเนยี มในช้นั อุทธรณใ หเปนพับ.

(องอาจ งามมศี รี - โชคชยั รุจนิ นิ นาท - วิเชียร วชริ ประทปี )

๑๘๓

ขอ สงั เกต
ผรู อ งซอ้ื ทรพั ยไ ดจ ากการขายทอดตลาดทด่ี นิ ของจำเลยในราคา ๑,๑๓๖,๓๒๐,๐๐๐ บาท

เมื่อป ๒๕๕๖ โดยขอขยายเวลาชำระราคาสวนที่เหลือแตไมยอมวางเงินรอยละ ๕.๕ จำนวน
๕๙,๔๙๗,๖๐๐ บาท ตามเงื่อนไขในสัญญาซื้อขายและในประกาศขายทอดตลาด จึงเปนการ
ผิดสัญญาซื้อขาย ที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งริบเงินมัดจำและใหนำทรัพยออกขายทอด
ตลาดใหม คำสั่งดังกลาวเปนที่สุดแลวตามคำสั่งศาลฎีกาที่ ๒๒๑๘/๒๕๕๙ การที่ตอมาผูรอง
ยน่ื คำรอ งพพิ าทเมอ่ื ป ๒๕๖๒ ขอใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยร บั เงนิ คา ซอ้ื ทรพั ยส ว นทเ่ี หลอื แลว
โอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ แกผ รู อ งจงึ เปน การลว งเลยเวลาตามสญั ญาแลว ทง้ั ขอ เสนอใหมข องผรู อ งทจ่ี ะ
ขอวางเงินซื้อทรัพยภายหลังผิดสัญญาซื้อขายแลวไมผูกพันเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามนัย
คำพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๔๕๗/๒๔๗๗

สำหรับคำสั่งของศาลลมละลายกลางที่ใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยรับเงินและโอน
กรรมสิทธิ์ที่ดินแกผูรองตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๓ เพราะเห็นวา
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม ไิ ดน ำสบื วา หากนำขายทอดตลาดใหมจ ะไดร าคามากกวา ครง้ั แรกนน้ั
เปน ขอ เทจ็ จรงิ ทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม ไิ ดก ลา วอา งใหม ภี าระการพสิ จู น และมไิ ดอ ยใู นประเดน็
พพิ าทวา เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม อี ำนาจรบั เงนิ และโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ แกผ รู อ งโดยจะไมป ฏบิ ตั ิ
ตามคำสั่งที่ถึงที่สุดแลววาใหขายทอดตลาดใหมไดหรือไม เพราะถาเงินรายไดในการทอดตลาด
สวนหนึ่งสวนใดคางชำระอยูเพราะเหตุเจาพนักงานพิทักษทรัพย ผูคัดคานที่ ๑ ละเลยไมบังคับ
ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๕๑๕ หรอื มาตรา ๕๑๖ ผคู ดั คา นท่ี ๑ ผทู อดตลาด
จะตองรับผิดตามมาตรา ๕๑๗ การที่ศาลลมละลายกลางสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยรับเงิน
และโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ แกผ รู อ งตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๒๓ โดยท่ี
สญั ญาซือ้ ขายเดิมเจา พนกั งานพิทกั ษทรพั ยสิน้ ความผกู พนั แลว ถอื ไดวาเปนการขายโดยวธิ ีอน่ื
นอกจากการขายทอดตลาด ตามมาตรา ๑๒๓ เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะตองไดรับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการเจาหนี้หรือที่ประชุมเจาหนี้แลวเทานั้น เนื่องจากเปนเรื่องสำคัญ
เกี่ยวกับสวนไดเสียของบรรดาเจาหนี้ทุกคน ตามนัยคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๖๗/๒๕๐๘
ขอ เสนอใหมข องผรู อ งทจ่ี ะขอซอ้ื ทรพั ยใ นราคาเดมิ นน้ั จงึ มไิ ดท ำใหก องทรพั ยส นิ ของลกู หนจ้ี ำเลย
ไดร บั ประโยชนม ากขน้ึ แตอ ยา งใด ราคาประเมนิ ทด่ี นิ ของจำเลยปจ จบุ นั ไดเ ปลย่ี นแปลงไปมากแลว
การขายทอดตลาดใหมต ามคำสง่ั ทถ่ี งึ ทส่ี ดุ กลบั จะเปน ประโยชนแ กก องทรพั ยส นิ มากกวา เนอ่ื งจาก
ลูกหนี้จำเลยยังคงมีหนี้ที่ตองรับผิดตามยอดหนี้ที่เจาหนี้ทั้งหลายขอรับชำระหนี้จำนวนมาก
รวม ๔,๕๒๗,๑๘๙,๗๘๓.๗๒ บาท

(วิรัตน วิศิษฏวงศกร)
ผูพ ิพากษาศาลอุทธรณ
ประจำกองผชู วยผูพ พิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนัญพเิ ศษ

สรายุทธ เตชะวฒุ ิพนั ธุ - ยอ
วิรตั น วศิ ิษฏวงศกร - ตรวจ
๑๘๔

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษที่ ๙๕๘/๒๕๖๔ บริษทั เจ.เอส.ที.

เซอรว สิ เซส จำกดั

กบั พวก โจทก

บรษิ ัท ปตท. จำกัด

(มหาชน) ผูรอง

เจาพนกั งาน

พทิ กั ษทรพั ย ผูค ดั คา น

บรษิ ัทนาแคป เอเซยี

แปซฟิ ก (ไทยแลนด)

จำกดั จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๓๖ (๕)
ป.รษั ฎากร มาตรา ๘๕/๑๕, ๘๕/๑๙
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๙, ๒๒

แมการถูกศาลพิพากษาใหลมละลายจะเปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหบริษัทเลิกกัน
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๒๓๖ (๕) ก็ตาม แตการฟองคดีลมละลายมีวัตถุประสงคเพื่อ
การจัดการทรัพยสินของลูกหนี้ จึงตางจากการเลิกบริษัทและชำระบัญชีตาม ป.พ.พ.
เนอ่ื งจากความเปน นติ บิ คุ คลของลกู หนใ้ี นคดลี ม ละลายยงั คงมอี ยตู ลอดเวลาแหง กระบวน
พิจารณา เชน ลูกหนี้ยังคงสามารถขอประนอมหนี้ไดทั้งกอนและหลังมีคำพิพากษาให
ลมละลาย หรือลูกหนี้อาจหลุดพนจากภาวะลมละลายไดดวยเหตุตาง ๆ ตามกฎหมาย
ความเปน นติ บิ คุ คลของจำเลยแมจ ะตกเปน บคุ คลลม ละลายกย็ งั ดำรงอยตู ามความมงุ หมาย
ของกฎหมายลมละลาย เมื่อจำเลยเปนผูประกอบการจดทะเบียนซึ่งมีหนาที่ในการออก
ใบกำกับภาษีและยังมิไดแจงการเลิกกิจการตาม ป.รัษฎากร มาตรา ๘๕/๑๕ ทั้งอธิบดี
กรมสรรพากรมไิ ดม คี ำสง่ั ใหข ดี ชอ่ื จำเลยออกจากทะเบยี นภาษมี ลู คา เพม่ิ ตามมาตรา ๘๕/๑๙
จำเลยจงึ ยงั คงมหี นา ทใ่ี นการออกใบกำกบั ภาษใี นฐานะผปู ระกอบการจดทะเบยี นอยตู อ ไป
เมื่อตอมาจำเลยถูกศาลสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดและพิพากษาใหลมละลาย ผูคัดคานใน
ฐานะเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยท ม่ี อี ำนาจจดั การเกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ และกจิ การทง้ั ปวงของ
จำเลยแตเ พียงผูเดียวตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ ทงั้ มีอำนาจในการ

๑๘๕

เขา ยดึ ดวงตรา สมดุ บญั ชี และเอกสารของลกู หนไ้ี ดต ามมาตรา ๑๙ วรรคหนง่ึ ผคู ดั คา น
จงึ มหี นา ทต่ี อ งออกใบกำกบั ภาษใี หแ กผ รู อ งซง่ึ เปน ผชู ำระเงนิ ใหแ กผ คู ดั คา น ในนามของ
จำเลย แมวาหนี้ที่เกิดขึ้นนั้นจะเกิดขึ้นกอนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยจำเลยเด็ดขาด
ก็ตาม เพราะการออกใบกำกับภาษีมิไดเปนการกระทบกระเทือนตอกองทรัพยสินของ
จำเลยเปนเพียงการปฏิบัติหนาที่ของผูคัดคานอันเกี่ยวกับการจัดการกิจการตางๆ ของ
จำเลยผลู มละลายที่คางอยใู หเ สรจ็ ส้ินไปเทานั้น

______________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ตอ มาวนั ท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๕๖ ศาลพิพากษาใหจำเลยลมละลาย

ผูรองยื่นคำรองขอใหมคี ำสง่ั ใหผคู ัดคานออกใบกำกบั ภาษใี หผูรอง
ผูค ัดคา นย่ืนคำคดั คา นวา ผูค ดั คานไมมหี นา ทต่ี องออกใบกำกับภาษีใหแกผูรอง
ศาลลมละลายกลางมคี ำสัง่ ใหย กคำรอง คา ฤชาธรรมเนียมใหเปน พับ
ผูรอ งอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา เหน็ วา ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอให
ผคู ดั คา นออกใบกำกบั ภาษใี หผ รู อ งเมอ่ื ผรู อ งไดช ำระหนใ้ี หแ กผ คู ดั คา นไปตามคำพพิ ากษาของศาล
แตศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกคำรองโดยเห็นวาบริษัทจำเลยเลิกกันตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย มาตรา ๑๒๓๖ (๕) จงึ ไมจ ำตอ งจดทะเบยี นเลกิ ประกอบกจิ การตามประมวลรษั ฎากร
มาตรา ๘๕/๑๕ เมอ่ื จำเลยไมไ ดป ระกอบกิจการเนือ่ งดวยเหตลุ ม ละลาย จำเลยจงึ ไมอยูใ นสถานะ
ที่จะออกใบกำกับภาษีใหแกผูรองได กรณีมิใชเปนการจัดการกิจการและทรัพยสินของจำเลยซึ่ง
อยใู นอำนาจของผคู ัดคา นตามพระราชบญั ญตั ิลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ ผูคดั คานจึง
ไมอาจออกใบกำกับภาษีใหผูรองไดนั้น คำสั่งดังกลาวแมไมตองดวยขอยกเวนที่จะอุทธรณไดตาม
พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๕ (๑)
ถงึ (๕) แตเ นอ่ื งจากคดนี ศ้ี าลลม ละลายกลางไดม คี ำสง่ั รบั อทุ ธรณข องผรู อ งแลว และศาลอทุ ธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ สมควรเพอ่ื ประโยชนแ หง ความยตุ ธิ รรมจำเปน ตอ งแกไ ขขอ ผดิ พลาด จงึ รบั
อุทธรณของผูรองไวพิจารณาตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๖ วรรคสี่ คดีนี้ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันรับฟงเปนยุติวา ผูรองมี
ฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงพลังงาน ผูรองกับจำเลยซึ่งเปนผูประกอบการที่ไดจดทะเบียน
มีหนาที่ออกใบกำกับภาษี ไดทำสัญญาวาจางเหมากอสรางโครงการวางทอสงกาซธรรมชาติ

๑๘๖

ไทรนอย-โรงไฟฟาพระนครเหนือ/ใต ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ ตอมาผูรองกับจำเลยมีขอ
พิพาทกันตามสัญญาดังกลาว เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จำเลยยื่นคำเสนอขอพิพาทตอ
อนุญาโตตุลาการขอใหผูรองชำระเงินตามสัญญาวาจาง แตในวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓
จำเลยถูกศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด ผูคัดคานจึงเขามาวาคดีแทนจำเลย
อนญุ าโตตลุ าการมีคำวนิ ิจฉยั ช้ขี าดใหผรู องชำระหนแ้ี กจำเลย ผูคดั คา นจึงย่นื คำรองตอ ศาลแพง
ขอใหบังคับตามคำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการและคัดคานคำรองขอเพิกถอนคำชี้ขาด
ของผูรอง ศาลแพงมีคำพิพากษาใหผูรองชำระเงิน ๑,๑๔๓,๗๑๐,๗๑๓.๑๕ บาท และ
๔๘,๐๔๔,๖๐๗.๖๐ ดอลลารส หรฐั พรอ มดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของแตล ะจำนวนนบั แต
วนั ทต่ี ามใบแจง หนแ้ี ตล ะฉบบั ถงึ กำหนดชำระเปน ตน ไป จนกวา จะชำระเสรจ็ แกผ คู ดั คา นหากหน้ี
จำนวนใดไมเคยมีใบแจงหนี้ใหคิดดอกเบี้ยในอัตราดังกลาวนับแตวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓
อันเปนวันที่ยื่นคำเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ ใหผูรองคืนหลักประกันการปฏิบัติตาม
สญั ญาแกผ คู ดั คา น คา ธรรมเนยี ม คา ใชจ า ยชน้ั อนญุ าโตตลุ าการและคา ปว ยการอนญุ าโตตลุ าการ
ใหเ ปน ไปตามบญั ชี แนบทา ยคำชข้ี าดใหผ รู อ งใชค า ฤชาธรรมเนยี มแทนผคู ดั คา นเฉพาะคา ขน้ึ ศาล
ใหใชเทาที่ชนะคดี โดยกำหนดคาทนายความ ๓๐,๐๐๐ บาท กับคาใชจายในการดำเนินคดี
๓๐,๐๐๐ บาท คำขออื่นใหยก คดีถึงที่สุดตามคำพิพากษาศาลฎีกา ผูรองยื่นคำรองขอชำระเงิน
พรอมดอกเบี้ยตามคำพิพากษา ๔,๕๔๓,๕๑๐,๐๕๔.๔๘ บาท ซึ่งผูคัดคานไดรับเงินดังกลาว
ไปจากศาลแลว แตย งั คงโตแ ยง วา ผรู อ งจะตอ งชำระเงนิ อกี ๑๔๘,๓๗๐,๙๒๕.๑๘ บาท เนอ่ื งจาก
เงินที่ผูรองไดชำระใหแกผูคัดคาน ดังกลาวประกอบดวยหนี้ที่มีใบแจงหนี้และที่ไมมีใบแจงหนี้
โดยในสว นหนท้ี ม่ี ใี บแจง หนร้ี วม ๖๒ ฉบบั ผรู อ งไดช ำระคา วา จา งพรอ มดอกเบย้ี และภาษมี ลู คา เพม่ิ
แตใ นสว นหนท้ี ไ่ี มม ใี บแจง หน้ี ศาลแพง มไิ ดพ พิ ากษาใหช ำระภาษมี ลู คา เพม่ิ ดว ย แตผ รู อ งประสงค
ทจ่ี ะชำระภาษมี ลู คา เพม่ิ ตามกฎหมายผคู ดั คา นปฏเิ สธไมอ อกใบกำกบั ภาษใี หแ กผ รู อ งทง้ั หนท้ี ม่ี ี
ใบแจงหนี้และที่ไมมีใบแจงหนี้โดยอางวาจำเลยถูกศาลพิพากษาใหลมละลายแลวเมื่อวันที่ ๒๑
มกราคม ๒๕๕๖ บริษัทจำเลยจึงเปนอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา ๑๒๓๖ (๕) อนั เปน การเลกิ กนั โดยผลของกฎหมาย กรณจี งึ ไมจ ำตอ งแจง การเลกิ กจิ การตาม
ประมวลรัษฎากร มาตรา ๘๕/๑๕ จำเลยจึงไมอยูในฐานะที่จะออกใบกำกับภาษีได ทั้งการ
ออกใบกำกบั ภาษมี ใิ ชก ารจัดการทรัพยสนิ ของจำเลยที่จะอยูใ นอำนาจของผคู ัดคา น

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผรู อ งวา ผคู ดั คา นมหี นา ทต่ี อ งออกใบกำกบั ภาษี
ใหแกผูรองหรือไม เห็นวา แมการถูกศาลพิพากษาใหลมละลายจะเปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหบริษัท
เลกิ กนั ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๒๓๖ (๕) กต็ าม แตก ารฟอ งคดลี ม ละลาย

๑๘๗

มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื การจดั การทรพั ยส นิ ของลกู หน้ี การชำระบญั ชขี องบรษิ ทั ในคดลี ม ละลายจงึ ตา ง
จากการเลกิ บริษทั และชำระบัญชตี ามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย เนือ่ งจากความเปน
นิติบุคคลของลูกหนี้ในคดีลมละลายยังคงมีอยูตลอดเวลาแหงกระบวนพิจารณา เชน ลูกหนี้
ยังคงสามารถขอประนอมหนี้ไดทั้งกอนและหลังมีคำพิพากษาใหลมละลายหรือลูกหนี้อาจ
หลุดพนจากภาวะลมละลายไดดวยเหตุตาง ๆ ตามกฎหมาย ดังนั้น ความเปนนิติบุคคลของ
จำเลยแมจะตกเปนบุคคลลมละลายก็ยังดำรงอยูตามความมุงหมายของกฎหมายลมละลาย
ดังท่ีผรู องอทุ ธรณ เมอื่ จำเลยเปน ผปู ระกอบการจดทะเบยี นตามประมวลรัษฎากรซึง่ มีหนา ทใี่ น
การออกใบกำกบั ภาษีนั้น นางณตั ฐา นติ กิ รชำนาญการ กรมสรรพากร พยานผูร อ งเบกิ ความ
ยืนยันวา ผูประกอบการที่ยังมิไดแจงการเลิกกิจการตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๘๕/๑๕
ก็ยังมีหนาที่ตองออกใบกำกับภาษีตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.๖๖/๒๕๓๙ หนาที่ในการออกใบ
กำกบั ภาษีจะสน้ิ สุดลงเม่อื มีการแจง การเลกิ กิจการตามมาตรา ๘๕/๑๕ และอธบิ ดกี รมสรรพากร
ไดม คี ำสง่ั ใหข ดี ชอ่ื ผปู ระกอบการจดทะเบยี นนน้ั ออกจากทะเบยี นภาษมี ลู คา เพม่ิ ตามมาตรา ๘๕/๑๙
ซึ่งในขอ นน้ี างไปรมาเจา พนกั งานพิทักษท รพั ยก เ็ บิกความตอบทนายความผรู อ งถามคา นรับวา
เมื่อจำเลยถูกศาลพิพากษาใหลมละลายแลว ยังมิไดแจงการเลิกกิจการตอกรมสรรพากร จำเลย
จึงยังคงมีหนา ท่ใี นการออกใบกำกับภาษีในฐานะผูป ระกอบการจดทะเบียนอยูตอ ไป เม่อื จำเลย
ถูกศาลสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดและพิพากษาใหลมละลายในเวลาตอมา ผูคัดคานในฐานะ
เจาพนกั งานพทิ กั ษทรัพยที่มีอำนาจจดั การเกย่ี วกับทรัพยสนิ และกิจการทง้ั ปวงของจำเลยแตเ พยี ง
ผเู ดยี วตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ ทง้ั มอี ำนาจในการเขา ยดึ ดวงตรา
สมุดบัญชี และเอกสารของลูกหนี้ไดตามมาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง ผูคัดคานจึงมีหนาที่ตองออกใบ
กำกับภาษีใหแกผูรองซึ่งเปนผูชำระเงินใหแกผูคัดคานในนามของจำเลย แมวาหนี้ที่เกิดขึ้นนั้น
จะเกิดขึ้นกอนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยจำเลยเด็ดขาดก็ตามดังที่ผูรองอุทธรณ เพราะการ
ออกใบกำกับภาษีมิไดเปนการกระทบกระเทือนตอกองทรัพยสินของจำเลยเปนเพียงการปฏิบัติ
หนาที่ของผูคัดคานอันเกี่ยวกับการจัดการกิจการตาง ๆ ของจำเลยผูลมละลายที่คางอยูให
เสร็จสิ้นไปเทานั้น แตอยางไรก็ตาม สำหรับหนี้ที่ไมมีใบแจงหนี้ที่ผูรองชำระใหแกผูคัดคานตาม
คำพิพากษาซึ่งเปนจำนวนที่ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มนั้น เห็นวา การออกใบกำกับภาษี จำเลย
ซึ่งเปนผูประกอบการจดทะเบียนจะตองจัดทำในทันทีที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่ม
เกิดขึ้น โดยในกรณีของการใหบริการนั้น ความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มจะเกิดขึ้นเมื่อ
ไดมีการชำระคาบริการ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๘/๑ (๑) (๒) รวมทั้งมีหนาที่เรียกเก็บ
ภาษมี ลู คา เพม่ิ จากผรู อ งซง่ึ เปน ผรู บั บรกิ ารตามมาตรา ๘๒/๔ วรรคหนง่ึ ดงั นน้ั ผคู ดั คา นจะตอ ง

๑๘๘

ออกใบกำกับภาษสี ำหรบั หนีท้ ไ่ี มม ีใบแจง หน้ใี หแกผูร องกต็ อ เมอื่ ผูร องชำระภาษมี ลู คาเพม่ิ ใหแก
ผูคัดคานดวยแลว อุทธรณขออื่นของผูรองลวนเปนรายละเอียดปลีกยอยที่ไมทำใหผลของ
คำพพิ ากษาเปลย่ี นแปลงไปได จงึ ไมจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหย กคำรอ งของ
ผูร อ งมาน้ัน ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเ ห็นพอ งดวย อทุ ธรณข องผูรองฟงข้นึ

พพิ ากษากลบั ใหผ คู ดั คา นออกใบกำกบั ภาษสี ำหรบั หนท้ี ม่ี ใี บแจง หน้ี และออกใบกำกบั
ภาษีสำหรับหน้ีท่ีไมมีใบแจงหนีใ้ หแ กผ รู อ งเม่ือผูรอ งชำระภาษีมูลคา เพ่มิ ใหแ กผูคัดคานแลวตาม
ประมวลรัษฎากร คำขออืน่ นอกจากนใี้ หย ก คา ฤชาธรรมเนียมในชนั้ อทุ ธรณใหเ ปนพบั .

(จกั รพนั ธ สอนสุภาพ - ปฏกิ รณ คงพพิ ิธ - พูนศักดิ์ เขม็ แซมเกษ)

ขอ สงั เกต
คดีลมละลายเปนการฟองรองเพื่อจัดการทรัพยสินของลูกหนี้ ผลของการชำระบัญชี

ในคดีลม ละลายจงึ ตางกับการเลิกบริษทั และการชำระบัญชีตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย
เนือ่ งจากความเปนนิตบิ คุ คลของลูกหน้ใี นคดลี ม ละลายยงั คงอยตู ลอดกระบวนพิจารณา ตามนัย
คำพิพากษาศาลฎีกาท่ี ๓๙๐๒/๒๕๔๙ เชน ลูกหนีโ้ ดยกรรมการบรษิ ทั ยงั ขอประนอมหน้ไี ดท ง้ั
หลังพิทักษทรัพยเด็ดขาดและภายหลังมีคำพิพากษาใหลมละลาย หรือหากมีการแบงทรัพยสิน
ครั้งที่สุดมีการชำระหนี้เต็มจำนวนแลวศาลก็มีคำสั่งยกเลิกการลมละลายตามพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๓) สวนทรัพยสินถาหากยังเหลืออยูใหคืนลูกหนี้ไปตาม
มาตรา ๑๓๒ เมื่อหลุดพนจากคดีลมละลายแลวหากบริษัทลูกหนี้มิไดกลับมาดำเนินกิจการ
การดำเนนิ การใหส น้ิ สดุ สภาพนติ บิ คุ คลกต็ อ งดำเนนิ การถอนทะเบยี นตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๒๗๓/๑ ตอไป ท้ังการเลิกบริษทั เพราะเหตอุ น่ื นอกจากลม ละลายตาม
ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา ๑๒๕๑ เมือ่ มกี ารต้ังผูชำระบญั ชี อำนาจกรรมการใน
ฐานะผูแทนนิติบุคคลหมดไป แตการเลิกบริษัทดวยเหตุลมละลายตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย มาตรา ๑๒๔๗ การชำระบญั ชบี รษิ ทั ใหจ ดั ทำตามกฎหมายลม ละลาย คอื ดำเนนิ การ
ชำระบญั ชโี ดยเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยเ พอ่ื รวบรวมและจำหนา ยทรพั ยส นิ ของลกู หน้ี หรอื กระทำ
การทจ่ี ำเปน เพอ่ื ใหก จิ การทค่ี า งอยเู สรจ็ ไปตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒
และเมอ่ื ถกู พทิ กั ษท รพั ยแ ลว ลกู หนต้ี อ งสง มอบทรพั ยส นิ ดวงตรา สมดุ บญั ชี และเอกสารเกย่ี วกบั
ทรัพยสินและกิจการของตนทั้งหมดใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยตามมาตรา ๒๓ ประกอบ

๑๘๙

มาตรา ๑๙ วรรคหนง่ึ ทง้ั ตามมาตรา ๒๔ ลกู หนจ้ี ะกระทำการใดๆ เกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ หรอื กจิ การ
ของตนมไิ ดแลว เวน แตศาล เจาพนกั งานพทิ ักษทรัพย หรอื ทีป่ ระชุมเจา หนม้ี คี ำส่ังหรอื ใหค วาม
เหน็ ชอบแลวตามที่บญั ญัตไิ วในพระราชบัญญตั ิลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓

สำหรับขอยกเวนตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกาที่ลูกหนี้ยังสามารถดำเนินการไดดวย
ตนเองในระหวางถูกพิทักษทรัพยหรือลมละลาย ไดแก กรณีการตอสูคดีลมละลายทั้งในชั้นศาล
และชั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพย เชน กรรมการบริษัทลงนามในคำคัดคานคำขอรับชำระหนี้
ของเจาหนี้ไดแมมิไดประทับตราบริษัท เพราะดวงตราถูกเจาพนักงานพิทักษทรัพยยึดไปแลว
(คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๑๘/๒๕๓๘) หรือการดำเนินคดีแพงที่ไมเกี่ยวกับทรัพยสินของลูกหนี้
เชน บรษิ ัทลูกหนถ้ี ูกฟองรอ งเปนคดอี าญาได (คำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๓๙๐๒/๒๕๔๙)

สว นอำนาจในการจดั กจิ การแทนลกู หนข้ี องเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยต ามพระราชบญั ญตั ิ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม อี ำนาจกระทำการตา งๆ ในนาม
ลกู หน้ี (คำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๒๕๘๓/๒๕๓๑) เชน เพอ่ื ใหก จิ การทค่ี า งอยเู สรจ็ ไปเจา พนกั งาน
พิทักษทรัพยบอกเลิกจางลูกจางของลูกหนี้ เจาพนักงานพิทักษทรัพยจึงถูกฟองเพื่อใหนำเงิน
จากกองทรัพยสินของลูกหนี้มาจายเงินคาชดเชยได (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๑๑๔/๒๕๒๘)
หรือเมื่อเจาพนักงานพิทักษทรัพยถูกแจงประเมินภาษีในขณะที่มีหนาที่จัดการแทนลูกหนี้ใน
ภาษีที่เกิดขึ้นหลังศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีหนาที่อุทธรณ
โตแยงการประเมิน เมื่อไมกระทำและไมชำระคาภาษีพรอมเงินเพิ่ม จึงถูกฟองรองบังคับให
ชำระคาภาษีดังกลาวตอศาลภาษีอากรกลางได (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๗๑๒/๒๕๓๔) ทั้ง
เจาพนักงานพิทักษทรัพยในฐานะผูดูแลกองทรัพยสินของลูกหนี้ยังมีอำนาจจัดการทรัพยสิน
แทนลูกหนี้ และมีหนาที่แบงชำระหนี้เงินจากกองทรัพยสินของลูกหนี้พระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๙ ใหกับเจาหนี้ที่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามมาตรา ๒๗, ๙๑ ในหนี้เงิน
ทเ่ี กดิ กอ นวนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย และยงั มหี นา ทแ่ี บง ชำระหนภ้ี ายหลงั มคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
ใหก บั ผทู ม่ี สี ทิ ธติ ามกฎหมายทล่ี กู หนม้ี คี วามผกู พนั ตอ งชำระตามกฎหมายอน่ื เชน ตามกฎหมาย
มหาชน ตวั อยา ง

- เมอ่ื นติ บิ คุ คลลกู หนแ้ี พค ดอี าญาแลว รฐั บงั คบั โทษปรบั ทางอาญาเอากบั กองทรพั ยส นิ
ในคดีลมละลายไดโดยไมต อ งยนื่ คำขอรับชำระหนก้ี อน (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๒๕๒/๒๕๕๙)

- หนภ้ี าระภาษแี มเ กดิ ขน้ึ ภายหลงั ลกู หนถ้ี กู พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดกไ็ มม กี ฎหมายยกเวน
ลูกหนี้ไมตองเสียภาษีและเงินเพิ่ม เจาพนักงานพิทักษทรัพยถูกฟองบังคับชำระหนี้คาภาษีและ

๑๙๐

เงนิ เพิม่ จากกองทรัพยส ินของลกู หน้ีได (คำพพิ ากษาศาลฎกี าที่ ๓๗๔/๒๕๓๔, ๓๗๑๒/๒๕๓๔)
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยใ นฐานะผมู อี ำนาจจดั กจิ การและทรพั ยส นิ แทนลกู หนจ้ี งึ ตอ งปฏบิ ตั ติ าม
ประมวลรัษฎากรเชนเดียวกับกรณีกอนศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยลูกหนี้เด็ดขาด (คำพิพากษา
ศาลฎีกาท่ี ๔๒๗๕/๒๕๖๐)

เกี่ยวกับคดีนี้ แมอุทธรณของผูรองตองหามอุทธรณแตมีเหตุจำตองแกไขขอผิดพลาด
คำสง่ั ของศาลลม ละลายกลาง ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๖ วรรคทาย เนื่องจากการเลิกบริษัทดวยเหตุลมละลายตามประมวล
กฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๒๔๗ จำเลยยงั คงสถานะความเปน นติ บิ คุ คลอยแู ละมหี นา ท่ี
ตอ งเสยี ภาษแี มถ กู พทิ กั ษท รพั ยห รอื ลม ละลายแลว ตามนยั คำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๓๗๔/๒๕๓๔,
๓๗๑๒/๒๕๓๔, ๔๒๗๕/๒๕๖๐, ๕๒๕๒/๒๕๕๙ เมอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ยตุ วิ า จำเลยเปน ผปู ระกอบการ
จดทะเบยี นภาษมี ลู คา เพม่ิ แตเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยอ า งวา จำเลยไมม หี นา ทอ่ี อกใบกำกบั ภาษี
เพราะเลิกกิจการแลวนั้น ปรากฏวาจำเลยไมเคยแจงจดทะเบียนเลิกประกอบกิจการพรอมกับ
คนื ใบทะเบยี นภาษมี ลู คา เพม่ิ และอธบิ ดกี รมสรรพากรไดส ง่ั ขดี ชอ่ื ออกจากทะเบยี นภาษมี ลู คา เพม่ิ
ตามประมวลรษั ฎากร มาตรา ๘๕/๑๘ ประกอบคำสง่ั กรมสรรพากรท่ี ป.๖๖/๒๕๓๙ เรอ่ื ง การแจง
เลกิ ประกอบกจิ การตามมาตรา ๘๕/๑๕ แหง ประมวลรษั ฎากร เมอ่ื จำเลยยงั ไมถ กู ขดี ชอ่ื ออกจาก
การเปนผูประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม และเจาพนักงานพิทักษทรัพยไดไปขอรับเงิน
ที่วางไวตอศาลแพงแทนจำเลยจากการบริการรับเหมากอสรางใหแกผูรองอันเปนกิจการที่อยูใน
บังคับตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๗๗/๒ แลว เมื่อจำเลยยังคงเปน
ผูประกอบการที่จดทะเบียนยอมมีสิทธิเรียกเก็บภาษีมูลคาเพิ่มจากผูรองซึ่งเปนผูซื้อสินคาหรือ
ผูรับบริการ จึงมีหนาที่ตามประมวลรัษฎากรตองออกใบกำกับภาษีใหแกผูรองเมื่อความรับผิด
ในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มเกิดขึ้น (กรณีภาษีมูลคาเพิ่มที่เกิดจากการใหบริการ ใหความรับผิด
ทั้งหมดเกิดขึ้นเมื่อไดรับชำระราคาคาบริการตามมาตรา ๗๘/๑ (๑)) ทั้งหากจำเลยผูเสียภาษี
มิไดจัดทำใบกำกับภาษีและสงมอบใหแกผูรับบริการตามที่กำหนดตองเสียเบี้ยปรับอีกสองเทา
ของจำนวนภาษีตามใบกำกับภาษีตามมาตรา ๘๙ (๕) และมีความรับผิดทางอาญาตาม
มาตรา ๙๐/๒ (๓) แหง ประมวลรษั ฎากร เมอ่ื จำเลยเปน บคุ คลลม ละลายซง่ึ ตอ งสง มอบหรอื ถกู ยดึ ดวงตรา
สมดุ บญั ชี และเอกสารเกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ และกจิ การของตนทง้ั หมดแลว จำเลยจงึ ไมส ามารถออก
ใบกำกับภาษีตามหนาที่ของตนไดดวยตนเอง เวนแตจะไดกระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบ
ของศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพยพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๔
ทั้งเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีอำนาจจัดกิจการเกี่ยวกับทรัพยสินและกิจการทั้งปวงของจำเลย

๑๙๑

แตเ พยี งผเู ดยี วจงึ มหี นา ทต่ี อ งดำเนนิ การออกใบกำกบั ภาษดี งั กลา วเมอ่ื มกี ารชำระคา บรกิ าร และ
ออกใบกำกับภาษีสำหรับหนี้สวนที่ไมมีใบแจงหนี้เมื่อผูรองชำระภาษีมูลคาเพิ่มใหแกผูคัดคาน
แลว แทนจำเลยตอไป ตามคำขอและประเดน็ ท่ีตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผรู อ ง

(วิรัตน วิศิษฏวงศกร)
ผูพิพากษาศาลอุทธรณ
ประจำกองผูชวยผพู พิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษ

นราธิป บุญญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏวงศกร - ตรวจ

๑๙๒


Click to View FlipBook Version