The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:44:23

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๑๘๐๖/๒๕๖๐ ธนาคารกรงุ ไทย

จำกดั (มหาชน) โจทก

บริษทั บรหิ ารสินทรพั ย

กรงุ เทพพาณชิ ย

จำกัด (มหาชน) ผูร อง

นายธงชยั

กนกสินสมบตั ิ ผคู ัดคาน

นายสรุ ชัย ศรที อง

กบั พวก จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗ (เดมิ )
พ.ร.บ. จดั ตงั้ ศาลลม ละลายและวธิ พี ิจารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔

เมื่อเจาพนักงานพิทักษทรัพยใชอำนาจยึดทรัพยหลักประกันซึ่งเปนกรรมสิทธิ์
รวมของจำเลยท่ี ๒ และผูคดั คานออกขายทอดตลาดรวมกัน ผรู อ งซงึ่ อยใู นฐานะเจาหน้ี
ตามคำพพิ ากษาและเจา หนจ้ี ำนองของผคู ดั คา นยอ มมสี ทิ ธยิ น่ื คำรอ งเพอ่ื ขอรบั ชำระหน้ี
จำนองในสวนของผคู ดั คานกง่ึ หนึ่งของทรัพยห ลกั ประกนั ทีเ่ จา พนักงานพิทักษท รัพยยึด
ออกขายทอดตลาดไดก อ นเจา หนอ้ี น่ื ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๘๗ (เดมิ ) ประกอบ พ.ร.บ. จดั ตง้ั
ศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ทั้งนี้ แมผูคัดคาน
จะไมไดถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด ก็ไมเปนเหตุขัดของที่ผูรองจะรองขอใหบังคับเหนือ
ทรัพยหลักประกันเพื่อนำเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยหลักประกันในสวนของ
ผคู ดั คา นมาชำระหนจ้ี ำนองใหแ กผ รู อ งโดยผรู อ งไมจ ำตอ งขอใหม กี ารบงั คบั คดใี นคดแี พง
เสยี กอ น ดงั น้ี ผรู อ งจงึ อาศยั อำนาจแหง การจำนอง มสี ทิ ธขิ อกนั เงนิ จากการขายทอดตลาด
ทรัพยหลักประกันในสวนของผูคัดคานซึ่งเปนเจาของกรรมสิทธิ์รวมชำระหนี้จำนองแก
ผูรอ งได

_______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสองเด็ดขาด
เม่อื วันท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๒

๙๓

ผูรองยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งกันเงินสวนที่ไดจากการขายทอดตลาดที่ดินโฉนดเลขที่
๑๒๖๒๔๐ และ ๑๒๖๒๔๑ ตำบลทา ขา ม อำเภอบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง
ในสวนของผคู ดั คา นซงึ่ เปนเจาของกรรมสิทธ์ริ วมกบั จำเลยท่ี ๒ ใหแ กผ รู อง

ผูคดั คา นยนื่ คำคัดคา นและแกไ ขคำคดั คานขอใหยกคำรอ ง
ศาลลม ละลายกลางมีคำส่ังยกคำรอง คา ฤชาธรรมเนียมใหเ ปนพบั
ผรู อ งอทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา คดมี ปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตาม
อทุ ธรณข องผรู อ งวา ผูรอ งมีสิทธขิ อกันเงินท่ไี ดจากการขายทอดตลาดทรพั ยหลักประกนั ในสว น
ของผูคัดคานซึ่งเปนเจาของกรรมสิทธิ์รวมหรือไม เห็นวา ผูรองเปนเจาหนี้จำนองของผูคัดคาน
ตามคำพิพากษาของศาลแพง เมื่อเจาพนักงานพิทักษทรัพยใชอำนาจยึดทรัพยหลักประกันซึ่ง
เปน กรรมสทิ ธร์ิ วมของจำเลยท่ี ๒ และผคู ดั คา นออกขายทอดตลาดรวมกนั โดยแบง แยกมไิ ด ผรู อ ง
ซึ่งอยูในฐานะเจาหนี้ตามคำพิพากษาและเจาหนี้จำนองของผูคัดคานยอมมีสิทธิยื่นคำรองตอ
ศาลลมละลายกลางเนื่องจากเปนการขายทอดตลาดในคดีลมละลาย เพื่อขอรับชำระหนี้จำนอง
ในสว นของผคู ดั คา นกง่ึ หนง่ึ ของทรพั ยห ลกั ประกนั ทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยย ดึ ออกขายทอดตลาด
ไดกอนเจาหนี้อื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๗ (เดิม) ประกอบ
พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ทง้ั น้ี
แมผ คู ดั คา นจะไมไ ดถ กู พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาด กไ็ มเ ปน เหตขุ ดั ขอ งทผ่ี รู อ งจะรอ งขอใหบ งั คบั เหนอื
ทรัพยหลักประกันเพื่อนำเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยหลักประกันในสวนของผูคัดคาน
มาชำระหนี้จำนองใหแกผูรอง โดยผูรองไมจำตองขอใหมีการบังคับคดีในคดีแพงเสียกอน ดังนี้
ผูรองจึงอาศัยอำนาจแหงการจำนองมีสิทธิขอกันเงินจากการขายทอดตลาดทรัพยหลักประกัน
ในสว นของผคู ดั คา นซง่ึ เปน เจา ของกรรมสทิ ธร์ิ วมชำระหนจ้ี ำนองแกผ รู อ งได ทศ่ี าลลม ละลายกลาง
มีคำสั่งยกคำรองนั้น ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ อุทธรณของผูรอง
ฟง ขึน้
พิพากษากลับ ใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยกันเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดที่ดิน
โฉนดทด่ี นิ เลขท่ี ๑๒๖๒๔๐ และ ๑๒๖๒๔๑ ตำบลทา ขา ม อำเภอบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร
พรอมสิง่ ปลูกสราง ในสว นของผคู ัดคานใหแกผูรอ ง คา ฤชาธรรมเนยี มทัง้ สองศาลใหเ ปนพับ.

(อดศิ กั ดิ์ ศรธนะรัตน - ปฏกิ รณ คงพพิ ธิ - พนู ศักด์ิ เข็มแซมเกษ)

หมายเหตุ คดถี ึงท่สี ุด รตมิ า ชัยสโุ รจน - ยอ
อดิศักด์ิ เทยี นกริม - ตรวจ

๙๔

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพเิ ศษท่ี ๓๘๗๔/๒๕๖๑ บริษัทบริหารสนิ ทรัพย

พญาไท จำกัด โจทก

บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย

สุขุมวิท จำกัด ผูรอ ง

นายศริ ะณฏั ฐ วชั รพรจนิ ดาในฐานะ

ผจู ดั การมรดกของนายรณจะพงศ

วัชรพรจินดา กับพวก ผูค ดั คาน

บรษิ ัทสิทธิรนิ ทร

จำกดั กับพวก จำเลย

ป.ว.ิ พ. ตาราง ๑ ขอ (๒) (ก)
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓), ๑๗๙ วรรคทาย

จำเลยที่ ๒ ที่ ๔ อ. และผูคัดคานที่ ๒ รวมกันจดทะเบียนจำนองที่ดินเพื่อเปน
ประกันหนี้ของจำเลยที่ ๔ ไวแกเจาหนี้เดิม สิทธิจำนองยอมครอบที่ดินจำนองทั้งแปลง
ผูรองในฐานะผูรับโอนสิทธิเรียกรองรวมทั้งสิทธิจำนองยอมมีบุริมสิทธิที่จะบังคับเหนือ
ที่ดินจำนองทั้งแปลง จึงมีสิทธิไดรับชำระหนี้จำนองจากการขายทอดตลาดที่ดินทั้งสวน
ของจำเลยท่ี ๒ ท่ี ๔ และผูคดั คา นทัง้ สองซง่ึ แมมไิ ดเปนลูกหน้ีในคดลี ม ละลายน้ี และผูร อ ง
ไมจ ำตอ งฟอ งรอ งบงั คบั จำนองผคู ดั คา นทง้ั สองกอ น เพราะเปน การบงั คบั คดที เ่ี จา พนกั งาน
พิทักษท รัพยไดย ดึ ที่ดนิ จำนองท่จี ำเลยที่ ๒ ที่ ๔ และผูคดั คา นทัง้ สองเปนผูถ ือกรรมสทิ ธ์ิ
รวมออกขายทอดตลาดไปทง้ั แปลงโดยแบง แยกกันไมได

เจาพนักงานพิทักษทรัพยยึดและขายทอดตลาดที่ดินที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔
ถอื กรรมสทิ ธร์ิ วมกบั บคุ คลภายนอกอนั เปน การกระทำตามอำนาจหนา ทข่ี องเจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยท ส่ี บื เนอ่ื งมาจากเจา หนผ้ี มู สี ทิ ธจิ ำนองขอรบั ชำระหนใ้ี นฐานะเจา หนม้ี ปี ระกนั
ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓) เมอ่ื มกี ารขายทอดตลาดทด่ี นิ จำนอง
แลว ยอ มทำใหก ารจำนองระงบั ไปเสมอื นการไดบ งั คบั จำนองแลว จงึ เปน กระบวนพจิ ารณา
สว นหนง่ึ ของการจดั การทรพั ยส นิ ของลกู หนใ้ี นคดลี ม ละลาย การทผ่ี รู อ งยน่ื คำรอ งขอให
มีคำสั่งใหผูรองไดรับเงินสวนของผูคัดคานทั้งสองจากเงินที่ไดจากการขายทอดตลาด

๙๕

ที่ดินจำนอง มิใชคำฟองหรือการรองขอใหบังคับจำนองโดยตรง ผูรองจึงไมตองเสียคา
ขน้ึ ศาลในศาลลม ละลายกลาง และอทุ ธรณข องผรู อ งเปน คดที ม่ี คี ำขอใหป ลดเปลอ้ื งทกุ ข
อันไมอาจคำนวณเปนราคาเงินได ตองเสียคาขึ้นศาลชั้นอุทธรณเพียง ๒๐๐ บาท ตาม
ตาราง ๑ ขอ (๒) (ก) ทาย ป.วิ.พ. ประกอบ พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙
วรรคทาย

______________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๔๗ ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
ของจำเลยทง้ั สเ่ี ดด็ ขาด และวนั ท่ี ๒ ตลุ าคม ๒๕๔๙ พพิ ากษาใหเ ปน บคุ คลลม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๑๒
กันยายน ๒๕๔๘ เจาพนักงานพิทักษทรัพยยึดที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่ ๘๙๕๐๗ ตำบลหวยขวาง
(สามเสนนอกฝงเหนือ) อำเภอหวยขวาง (บางซื่อ) กรุงเทพมหานคร ซึ่งจำเลยที่ ๒ ที่ ๔
นายอดิเทพหรือนายรณจะพงศ และผูคัดคานที่ ๒ เปนผูถือกรรมสิทธิ์รวม โดยบรรษัทบริหาร
สินทรัพยไทยเปนผูรับโอนสิทธิจำนอง และวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๐ เจาพนักงานพิทักษทรัพย
ขายทอดตลาดที่ดนิ ไปในราคา ๒๙,๐๒๐,๐๐๐ บาท

ผรู อ งยน่ื คำรอ งวา จำเลยท่ี ๔ เปน หนบ้ี รษิ ทั เงนิ ทนุ หลกั ทรพั ยร ว มเสรมิ กจิ จำกดั (มหาชน)
เจาหนี้เดิมตามสัญญาวงเงินสินเชื่อลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๓๙ โดยไดทำสัญญากูยืมเงิน
เปนเงิน ๒๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตกลงชำระดอกเบี้ยอัตรารอยละ บีบีแอล เอ็มโออาร + ๑.๕
(๑๓.๗๕ + ๑.๕) ตอ ป จำเลยท่ี ๒ และนายอดิเทพหรือนายรณจะพงศ ทำสญั ญาคำ้ ประกนั ยอม
รบั ผดิ อยา งลกู หนร้ี ว มและจำเลยท่ี ๒ ท่ี ๔ นายอดเิ ทพหรอื รณจะพงศก บั ผคู ดั คา นท่ี ๒ ทำสญั ญา
จำนองทด่ี นิ ซง่ึ ตอ มาเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยย ดึ ไวด งั กลา วในวงเงนิ ๒๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตกลง
ชำระดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๒๕ ตอ ป ตอ มาวนั ท่ี ๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๙ นายอดเิ ทพหรอื รณจะพงศ
และผคู ดั คา นท่ี ๒ ทำสญั ญาปรบั โครงสรา งหนก้ี บั บรรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทยผรู บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง
จากเจา หนเ้ี ดมิ แลว ไมป ฏบิ ตั ติ ามสญั ญา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๔๘ บรรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทย
ยน่ื คำขอรบั ชำระหนอ้ี ยา งเจา หนม้ี ปี ระกนั ในทด่ี นิ ทจ่ี ำนองตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๖ (๓) ผูรองไดรับโอนสิทธิเรียกรองจากบรรษัทบริหารสินทรัพยไทยแลวขอสวมสิทธิ
เปน เจา หนแ้ี ทน เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม คี ำสง่ั อนญุ าต และศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั อนญุ าต
ใหผูรองไดรับชำระหนี้ ๒๖,๑๒๕,๑๓๘.๖๘ บาท ในฐานะเจาหนี้มีประกันในที่ดินจำนองจาก
กองทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ ตามสว นกรรมสทิ ธร์ิ วมของจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ หลงั จาก
เจาพนักงานพิทักษทรัพยขายทอดตลาดที่ดินจำนองแลวไดทำบัญชีแสดงรายการรับ-จายเงิน

๙๖

และจา ยเงนิ ตามสดั สว นการถอื กรรมสทิ ธร์ิ วมในสว นของจำเลยท่ี ๒ เปน เงนิ ๕,๗๕๗,๗๘๒.๔๘ บาท
และสวนของจำเลยที่ ๔ เปนเงิน ๕,๕๑๙,๕๗๖.๓๖ บาท ใหผูรองแลว แตสวนของผูคัดคานที่ ๑
เปนเงิน ๑๒,๐๖๘,๖๗๘.๓๕ บาท และสวนของผูคัดคานที่ ๒ เปนเงิน ๓,๙๐๐,๗๖๙.๒๕ บาท
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยร อการจา ยไว ทำใหผ รู อ งไมไ ดร บั เงนิ จาการขายทอดตลาดทด่ี นิ จำนอง
ในสว นของผคู ดั คา นทง้ั สอง ผรู อ งเปน เจา หนผ้ี มู บี รุ มิ สทิ ธเิ หนอื ทรพั ยจ ำนองและผคู ดั คา นทง้ั สอง
มหี นค้ี า งชำระตอ ผรู อ งตามสญั ญาปรบั โครงสรา งหนแ้ี ละสญั ญาจำนอง ขอใหม คี ำสง่ั ใหผ รู อ งไดร บั
เงนิ สว นของผคู ดั คา นท้ังสองกอ นเจา หนี้รายอนื่

ผูคัดคานทั้งสองยื่นคำคัดคานวา ผูคัดคานทั้งสองมิไดเปนลูกหนี้ตามคำพิพากษาของ
ผรู อ งและไมไ ดเ ปน ลกู หนใ้ี นคดลี ม ละลาย ผคู ดั คา นทง้ั สองไดป ฏบิ ตั ติ ามสญั ญาปรบั โครงสรา งหน้ี
โดยนำคนมาซื้อที่ดินจำนองจากการขายทอดตลาดตามขอตกลงแลว ผูรองมีสิทธิไดรับชำระหนี้
เพยี ง ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ผรู อ งไดร บั ชำระหนจ้ี ากเงนิ ทไ่ี ดจ ากการขายทอดตลาดทด่ี นิ จำนองแลว
๑๑,๒๗๗,๓๕๘.๘๔ บาท คงมีสิทธิไดรับชำระหนี้จากผูคัดคานทั้งสอง ๓,๗๒๒,๖๔๑.๑๖ บาท
และผรู อ งยงั ไมไ ดน ำสญั ญาปรบั โครงสรา งหนแ้ี ละสญั ญาจำนองดำเนนิ คดผี คู ดั คา นทง้ั สอง ผรู อ ง
ไมม อี ำนาจทีจ่ ะบังคบั คดีแกผ คู ัดคา นทงั้ สอง ไมอ าจขอรบั เงินตามคำรองขอใหย กคำรอง

เจา พนักงานพิทกั ษทรัพยไ มย ่นื คำคัดคา น
ศาลลมละลายกลาง มีคำส่ังยกคำรอง คา ฤชาธรรมเนยี มใหเปนพับ
ผูรอ งอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ยตุ วิ า เมอ่ื วนั ท่ี
๒๕ เมษายน ๒๕๓๙ จำเลยที่ ๒ ที่ ๔ นายอดิเทพหรือนายรณจะพงศ และผูคัดคานที่ ๒ ทำ
สัญญาจำนองที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่ ๘๙๕๐๗ ตำบลหวยขวาง (สามเสนนอกฝงเหนือ) อำเภอ
หวยขวาง (บางซื่อ) กรุงเทพมหานคร แกบริษัทเงินทุนหลักทรัพยรวมเสริมกิจ จำกัด (มหาชน)
เจา หนเ้ี ดมิ ในวงเงนิ ๒๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตกลงใหด อกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๒๕ ตอ ป เพอ่ื เปน ประกนั
หนข้ี องจำเลยท่ี ๔ ตามสำเนาหนงั สอื สญั ญาจำนองทด่ี นิ เปน ประกนั และสำเนาโฉนดทด่ี นิ ตอ มา
เมอ่ื ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ เดด็ ขาดแลว บรรษทั บรหิ าร
สินทรัพยไทย เจาหนี้รายที่ ๑๗ ซึ่งรับโอนสิทธิเรียกรองจากเจาหนี้เดิมยื่นคำขอรับชำระหนี้ใน
ฐานะเจาหน้มี ปี ระกนั ในทดี่ ินจำนองตามพระราชบญั ญตั ลิ มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓)
ผรู อ งไดร บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งจากเจา หนแ้ี ลว ขอสวมสทิ ธเิ ปน เจา หนแ้ี ทน และศาลลม ละลายกลาง
มีคำสั่งอนุญาตใหผูรองไดรับชำระหนี้ตามสัญญาเงินกูเปนเงิน ๒๖,๑๒๕,๑๓๘.๖๘ บาท จาก
กองทรัพยสินของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ในฐานะเจาหนี้มีประกันโดยใหไดรับชำระหนี้จากการ

๙๗

ขายทอดตลาดที่ดินจำนองเฉพาะสวนของจำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ตามสวนกรรมสิทธิ์ รวมกอน
เจาหนี้อื่นภายในวงเงินจำนอง สวนที่ยังขาดอยูใหไดรับชำระหนี้อยางเจาหนี้สามัญตามสำเนา
คำขอรบั ชำระหนี้ สำเนาคำสัง่ ศาล และสำเนาความเห็นเจาพนักงานพทิ กั ษท รัพย เม่ือวันท่ี ๑๒
กนั ยายน ๒๕๔๘ เจา พนกั งานพทิ กั ษท รัพยย ึดทีด่ นิ จำนองซ่งึ เปน กรรมสิทธิร์ วมของจำเลยท่ี ๒
จำนวน ๘๔.๖ สวน ของจำเลยที่ ๔ จำนวน ๘๑.๑ สวน ของนายอดิเทพหรือรณจะพงศจำนวน
๑๖๘ สว น และของผคู ดั คา นท่ี ๒ จำนวน ๕๔.๓ สว น และวนั ท่ี ๗ กนั ยายน ๒๕๕๐ เจา พนกั งาน
พิทักษทรัพยขายทอดตลาดที่ดินไปในราคา ๒๙,๐๒๐,๐๐๐ บาท ตามสำเนาแบบรายงานการ
ยึดอสังหาริมทรัพย สำเนาประกาศขายทอดตลาดที่ดิน และสำเนารายงานเจาพนักงานพิทักษ
ทรัพย เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดทำบัญชีแสดงรายการรับ-จายเงิน แลวจายเงินสุทธิในสวน
ของจำเลยท่ี ๒ และท่ี ๔ รวมเปน เงนิ ๑๑,๒๗๗,๓๕๘.๘๔ บาท ใหผ รู อ งและกนั เงนิ ไวใ นสว นของ
นายอดิเทพหรือรณจะพงศเปนเงิน ๑๒,๐๖๘,๖๗๘.๓๕ บาท และของผูคัดคานที่ ๒ เปนเงิน
๓,๙๐๐,๗๖๙.๒๕ บาท ตามสำเนาบญั ชแี สดงรายการรบั -จา ยเงนิ ตอ มา วนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๙
นายอดิเทพหรือรณจะพงศถึงแกความตาย ผูคัดคานที่ ๑ เปนผูจัดการมรดกของนายอดิเทพ
หรือรณจะพงศตามสำเนาคำสง่ั ศาล

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามคำแกอ ทุ ธรณข องผคู ดั คา นทง้ั สองวา ผคู ดั คา นทง้ั สองหลดุ พน
ความรับผิดตอผูรองตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้ลงวันที่ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๔๙ แลวหรือไม ที่
ผคู ดั คา นทง้ั สองแกอ ทุ ธรณว า เมอ่ื มกี ารขายทอดตลาดทด่ี นิ จำนองไดเ ปน เงนิ ๒๙,๐๒๐,๐๐๐ บาท
ซ่ึงเปนราคาไมตำ่ กวา ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตามเงื่อนไขการชำระหนใี้ นสัญญาปรบั โครงสรา งหน้ี
ทผ่ี คู ดั คา นทง้ั สองทำไว ผคู ดั คา นทง้ั สองจงึ หลดุ พน ความรบั ผดิ แลว นน้ั เหน็ วา ตามสำเนาสญั ญา
ปรับโครงสรางหนี้ ขอ ๔ ระบุเงื่อนไขการชำระหนี้ของฝายผูคัดคานทั้งสองวาตองปฏิบัติตาม
ขอ ๔.๑ ถงึ ขอ ๔.๓ ซง่ึ เฉพาะขอ ๔.๒ กำหนดใหน ายอดเิ ทพหรอื รณจะพงศต อ งนำผเู ขา ประมลู
ซื้อที่ดินจำนองจากการขายทอดตลาดในราคาไมต่ำกวา ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ในวันประกาศ
ขายทอดตลาดครั้งที่ ๑ แตทางนำสืบของผูคัดคานทั้งสอง คงมีผูคัดคานที่ ๑ และในฐานะผูรับ
มอบอำนาจของผูคัดคานที่ ๒ เบิกความตามบันทึกถอยคำแทนการซักถามพยานวา ผูคัดคาน
ทั้งสองปฏิบัติตามสัญญาปรับโครงสรางหนี้นำบุคคลมาซื้อที่ดินจำนองจากการขายทอดตลาด
แลวเทานั้น จึงเปนการกลาวอางลอย ๆ ไมมีพยานหลักฐานอื่นมาสนับสนุนใหนาเชื่อถือและ
รับฟงได สวนผูรองก็ยังนำสืบโตแยงอยูโดยมีนายกระเษมผูรับมอบอำนาจชวงและทนายความ
ผรู อ งเบกิ ความตามบนั ทกึ ถอ ยคำแทนการซกั ถามพยานวา ผคู ดั คา นทง้ั สองไมป ฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไข
การชำระหนใ้ี นสญั ญาปรบั โครงสรา งหน้ี และยงั คงเปน หนผ้ี รู อ งตามสญั ญาปรบั โครงสรา งหนแ้ี ละ

๙๘

สญั ญาจำนองซง่ึ ผรู อ งไดร บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งจากบรรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทย ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ไมไ ด
วา ผคู ดั คา นทง้ั สองไดน ำผเู ขา ประมลู ซอ้ื ทด่ี นิ ใหไ ดร าคาตามขอ ตกลงในสญั ญาปรบั โครงสรา งหน้ี
ผคู ดั คา นทง้ั สองจงึ ไมห ลดุ พน ความรบั ผดิ ตอ ผรู อ งตามสญั ญาปรบั โครงสรา งหน้ี และยงั คงเปน หน้ี
จำนองทตี่ อ งรับผิดตอ ผูรอ งตามสัญญาจำนอง คำแกอุทธรณข องผูคัดคา นทั้งสองฟงไมขึน้

ปญ หาตองวินจิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผูร อ งขอ แรกมวี า ผูรองมีสิทธิไดร บั ชำระหน้จี ำนอง
จากเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดที่ดินจำนองในสวนของผูคัดคานทั้งสองดวยหรือไม เห็นวา
เมอ่ื จำเลยท่ี ๒ ท่ี ๔ นายอนวุ ฒั นห รอื รณจะพงศ และผคู ดั คา นท่ี ๒ รว มกนั จดทะเบยี นจำนองทด่ี นิ
เพื่อเปนประกันหนี้ของจำเลยที่ ๔ ไวแกเจาหนี้เดิม สิทธิจำนองยอมครอบที่ดินจำนองทั้งแปลง
ผรู อ งในฐานะผรู บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งรวมทง้ั สทิ ธจิ ำนองยอ มมบี รุ มิ สทิ ธทิ จ่ี ะบงั คบั เหนอื ทด่ี นิ จำนอง
ทั้งแปลง จึงมีสิทธิไดรับชำระหนี้จำนองจากการขายทอดตลาดที่ดินทั้งสวนของจำเลยที่ ๒ ที่ ๔
และผูคัดคานทั้งสองซึ่งแมมิไดเปนลูกหนี้ในคดีลมละลายนี้ และผูรองไมจำตองฟองรองบังคับ
จำนองผคู ดั คา นทง้ั สองกอ น เพราะเปน การบงั คบั คดที เ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยไ ดย ดึ ทด่ี นิ จำนอง
ทจ่ี ำเลยท่ี ๒ ท่ี ๔ และผคู ดั คา นทง้ั สองเปน ผถู อื กรรมสทิ ธร์ิ วมออกขายทอดตลาดไปทง้ั แปลงโดย
แบงแยกกันไมได ผูรองจึงมีสิทธิไดรับชำระหนี้จำนองจากเงินที่ไดจากการขายทอดตลาด ที่ดิน
จำนองในสวนของผูคัดคานทั้งสองกอนเจาหนี้รายอื่นดวยตามสวนกรรมสิทธิ์รวมของผูคัดคาน
ทง้ั สองและภายในวงเงนิ จำนองซง่ึ ตอ งไมเ กนิ กวา ภาระหนท้ี ม่ี อี ยจู รงิ ทผ่ี คู ดั คา นทง้ั สองตอ งรบั ผดิ
ตอ ผูรอ ง ทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ยกคำรองนัน้ ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมเ ห็นพอ งดวย
อุทธรณข องผูร องขอ นฟ้ี ง ขึน้

ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองขอตอไปมีวา ผูรองตองเสียคาขึ้นศาลใน
ศาลลม ละลายกลางและชน้ั อทุ ธรณอ ยา งคดมี ที นุ ทรพั ยห รอื ไม เหน็ วา คดนี เ้ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ยึดและขายทอดตลาดที่ดินที่จำเลยที่ ๒ และที่ ๔ ถือกรรมสิทธิ์รวมกับบุคคลภายนอกอันเปน
การกระทำตามอำนาจหนา ทข่ี องเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยท ส่ี บื เนอ่ื งมาจากเจา หนผ้ี มู สี ทิ ธจิ ำนอง
ขอรบั ชำระหนใ้ี นฐานะเจา หนม้ี ปี ระกนั ในทด่ี นิ จำนองตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๖ (๓) และเมอ่ื มกี ารขายทอดตลาดทด่ี นิ จำนองแลว ยอ มทำใหก ารจำนองระงบั ไปเสมอื น
การไดบังคับจำนองแลว จึงเปนกระบวนพิจารณาสวนหนึ่งของการจัดการทรัพยสินของลูกหนี้
ในคดีลมละลาย การที่ผูรองยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งใหผูรองไดรับเงินสวนของผูคัดคานทั้งสอง
จากเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดที่ดินจำนองตามที่ผูรองมีสิทธิจำนอง มิใชคำฟองหรือการ
รองขอใหบังคับจำนองโดยตรง ผูรองจึงไมตองเสียคาขึ้นศาลในศาลลมละลายกลางและอุทธรณ
ของผรู อ งเปน คดที ม่ี คี ำขอใหป ลดเปลอ้ื งทกุ ขอ นั ไมอ าจคำนวณเปน ราคาเงนิ ได ตอ งเสยี คา ขน้ึ ศาล

๙๙

ชน้ั อทุ ธรณเ พยี ง ๒๐๐ บาท ตามตาราง ๑ ขอ (๒) (ก) ทา ยประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง
ประกอบพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗๙ วรรคทาย ที่ศาลลมละลายกลาง
เรียกใหผูรองเสียคาขึ้นศาลเพิ่มมาชั้นศาลละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เปนการไมถูกตอง และตองคืน
คา ขน้ึ ศาลทเี่ สียเกนิ มาแกผ รู อ ง อทุ ธรณข องผูรองขอ น้ีฟง ข้นึ เชน กนั

พพิ ากษากลับ ใหผรู อ งมีสิทธิไดร ับชำระหน้ีจำนองจากเงินท่ไี ดจากการขายทอดตลาด
ทด่ี นิ จำนองในสว นของผคู ดั คา นทง้ั สองกอ นเจา หนร้ี ายอน่ื ดว ยตามสว นกรรมสทิ ธร์ิ วมของผคู ดั คา น
ทง้ั สอง และภายในวงเงนิ จำนองซง่ึ ตอ งไมเ กนิ กวา ภาระหนท้ี ม่ี อี ยจู รงิ ทผ่ี คู ดั คา นทง้ั สองตอ งรบั ผดิ
ตอผูรอง และคืนคาขึ้นศาลในศาลลมละลายกลางและชั้นอุทธรณชั้นศาลละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
แกผ ูรอง คา ฤชาธรรมเนียมทั้งสองชนั้ ศาลนอกจากท่สี ง่ั คนื ใหเ ปน พบั .

(องอาจ งามมศี รี - โชคชัย รุจนิ นิ นาท - วิเชยี ร วชิรประทปี )

นราธปิ บญุ ญพนิช - ยอ
อดศิ กั ดิ์ เทยี นกรมิ - ตรวจ

๑๐๐

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๔๕๔๔/๒๕๖๒ ธนาคารกรงุ เทพ

(ประชมุ ใหญ) จำกัด (มหาชน) โจทก

บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย

สุขุมวิท จำกัด ผูรอง

นายประสทิ ธิ์ เย็นลบั จำเลย

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๘๗ (เดิม), ๓๒๒
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖

เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย ในการยดึ และรวบรวมทรพั ยส นิ ของจำเลยเปน การ
ใชอ ำนาจของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยต ามกฎหมายลม ละลาย ซง่ึ แตกตา งจากกระบวน
การบงั คบั คดใี นคดแี พง ทว่ั ไป หากบคุ คลใดเหน็ วา ตนมสี ทิ ธเิ หนอื ทรพั ยส นิ ทเ่ี จา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยย ดึ ไวอ ยา งไร ยอ มสามารถรอ งขอแสดงสทิ ธขิ องตนเพอ่ื เจา พนกั งานพทิ กั ษ
ทรัพยจะไดสอบสวนพยานหลักฐานและมีคำสั่ง เพราะอาจมีผลกระทบตอกองทรัพยสิน
ในคดีลมละลายและกระทบตอสิทธิของเจาหนี้ทั้งหลายที่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ไวได เมื่อ
เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำวินิจฉัยอยางไรแลว หากกระทบสิทธิเปนที่เสียหายแกตน
บคุ คลดงั กลา วกย็ อ มยน่ื คำรอ งตอ ศาลเพอ่ื มคี ำสง่ั อยา งหนง่ึ อยา งใดตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ ตอไป ผูรองอางวาผูรองรับโอนสิทธิเรียกรองในมูลหนี้ตาม
คำพิพากษาของจำเลยและนาง ว. กับพวก ตอมาจำเลยถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดและ
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยย ดึ ทด่ี นิ ทรพั ยจ ำนองทม่ี ชี อ่ื จำเลยและนาง ว. ถอื กรรมสทิ ธอ์ิ อก
ขายทอดตลาด ผรู อ งในฐานะผรู บั โอนสทิ ธจิ ำนองและเปน เจา หนบ้ี รุ มิ สทิ ธนิ าง ว. ผจู ำนอง
จึงมีสิทธิตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๘๗ (เดิม) หรือตามมาตรา ๓๒๒ ที่แกไขใหมที่จะกันเงิน
จากการขายทอดตลาดกึ่งหนึ่งเพื่อชำระหนี้บุริมสิทธิจำนอง โดยไมปรากฏวาผูรองได
ดำเนินการในชั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพยมากอน กรณีจึงยังไมมีการสอบสวนพยาน
หลักฐานเกี่ยวกับสิทธิของผูรองตอทรัพยในคดีนี้ และไมมีคำสั่งอยางหนึ่งอยางใดอัน
กระทบตอสิทธขิ องผรู องใหไดรบั ความเสยี หาย ผรู อ งจงึ ยงั ไมอ าจยน่ื คำรอ งเปนคดนี ้ีได

_____________________________

๑๐๑

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาด เมอ่ื วนั ท่ี
๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๘ และพพิ ากษาใหล ม ละลายเม่ือวนั ท่ี ๒๑ มนี าคม ๒๕๕๐

ผูรองยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งกันสวนเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดใหแกผูรองกึ่งหนึ่ง
เจาพนักงานพทิ ักษทรพั ยไมย่นื คำคัดคา น
ศาลลมละลายกลางมคี ำสงั่ ยกคำรอง คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพบั
ผรู อ งอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั วา ผรู อ ง
มีสิทธิยื่นคำรองนี้หรือไม เห็นวา เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้ อำนาจในการจัดการ
กจิ การและทรพั ยส นิ ของลกู หนย้ี อ มตกแกเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยแ ตผ เู ดยี วตามพระราชบญั ญตั ิ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และคำสั่งพิทักษทรัพยถือเสมือนเปนหมายของศาลให
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยเ ขา ยดึ ดวงตรา สมดุ บญั ชี และเอกสารของลกู หน้ี และบรรดาทรพั ยส นิ
ซ่ึงอยูใ นความครอบครองของลูกหน้ี หรอื ของผอู ่นื อันอาจแบง ไดใ นคดลี มละลายตามมาตรา ๑๙
วรรคหนง่ึ เพอ่ื นำมาชำระหนใ้ี หแ กเ จา หน้ี ทง้ั ในการรวบรวมทรพั ยส นิ ในคดลี ม ละลาย เจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยม อี ำนาจออกหมายเรยี กลกู หน้ี คสู มรสของลกู หน้ี หรอื บคุ คลหนง่ึ บคุ คลใดมาไตส วน
หรอื สอบสวน และมอี ำนาจสง่ั ใหบ คุ คลนน้ั ๆ สง เอกสารหรอื วตั ถพุ ยานซง่ึ อยใู นความยดึ ถอื หรอื
อำนาจของผูนั้นอันเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพยสินของลูกหนี้ตาม มาตรา ๑๑๗ วรรคหนึ่ง ดวย
ดงั นน้ั ในการยดึ และรวบรวมทรพั ยส นิ ของจำเลยจงึ เปน การใชอ ำนาจของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ตามกฎหมายลมละลาย ซึ่งแตกตางจากกระบวนการบังคับคดีในคดีแพงทั่วไป หากบุคคลใด
เห็นวาตนมีสิทธิเหนือทรัพยสินที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยยึดไวอยางไร ยอมสามารถรองขอ
แสดงสิทธขิ องตนเพื่อเจา พนักงานพทิ กั ษท รัพยจ ะไดสอบสวนพยานหลักฐานและมีคำสั่ง เพราะ
อาจมีผลกระทบตอกองทรัพยสินในคดีลมละลายและกระทบตอสิทธิของเจาหนี้ทั้งหลายที่ยื่น
คำขอรับชำระหนี้ไวได เมื่อเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำวินิจฉัยอยางไรแลว หากกระทบสิทธิ
เปนที่เสียหายแกตน บุคคลดังกลาวก็ยอมยื่นคำรองตอศาลเพื่อมีคำสั่งอยางหนึ่งอยางใดตาม
มาตรา ๑๔๖ ตอไป คดีนี้ผูรองอางวาผูรองรับโอนสิทธิเรียกรองในมูลหนี้ตามคำพิพากษาของ
จำเลยและนางวจิ ติ รากบั พวก ตอ มาจำเลยถกู พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดและเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ยดึ ทด่ี นิ ทรพั ยจ ำนองทม่ี ชี อ่ื จำเลยและนางวจิ ติ ราถอื กรรมสทิ ธอ์ิ อกขายทอดตลาด ผรู อ งในฐานะ
ผูรับโอนสิทธิจำนองและเปนเจาหนี้บุริมสิทธินางวิจิตราผูจำนองจึงมีสิทธิตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๘๗ (เดิม) หรือตามมาตรา ๓๒๒ ที่แกไขใหม ที่จะกันเงินจาก
การขายทอดตลาดกึ่งหนึ่งเพื่อชำระหนี้บุริมสิทธิจำนอง โดยไมปรากฏวาผูรองไดดำเนินการ

๑๐๒

ในชน้ั เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม ากอ น กรณจี งึ ยงั ไมม กี ารสอบสวนพยานหลกั ฐานเกย่ี วกบั สทิ ธิ
ของผูรองตอทรัพยในคดีนี้ และไมมีคำสั่งอยางหนึ่งอยางใดอันกระทบตอสิทธิของผูรองใหไดรับ
ความเสียหาย ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษโดยมติที่ประชุมใหญจึงเห็นวาผูรองยังไมอาจยื่น
คำรองเปนคดีนี้ได ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกคำรองมานั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
เห็นพอ งดวยในผล กรณไี มจ ำตองวนิ ิจฉยั อุทธรณของผูรอง

พิพากษายนื คา ฤชาธรรมเนียมชน้ั อทุ ธรณใหเ ปน พับ.

(สถาพร วสิ าพรหม - สิรพิ ร เปรมาสวัสดิ์ สุรมณี - เกยี รติคณุ แมนเลขา)

นราธิป บญุ ญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วศิ ษิ ฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ท่ีสุด

๑๐๓

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๔๐๑/๒๕๖๔ บรรษทั บรหิ าร

สินทรพั ยไทย โจทก

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ

ขนาดกลางและขนาดยอ ม

แหง ประเทศไทย ผูรอ ง

นางสาวกลั ยาณี

รุทระกาญจน ผคู ดั คา น

บริษทั มณี อินเตอรเนชัน่ แนล

จำกดั กับพวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๓๐๕, ๓๐๖, ๗๑๖
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖

ภายหลังจากศาลลมละลายกลางมีคําสั่งอนุญาตใหผูรองไดรับชําระหนี้ตาม
คําพิพากษาในคดีแพงแลว ผูรองทําสัญญาโอนสินทรัพยซึ่งรวมถึงสิทธิเรียกรองหนี้ตาม
คําพิพากษาในคดีดังกลาวที่มีทรัพยจํานองที่ดินโฉนดเลขที่ ๕๓๓๖๘ ใหแกบริษัท บ.
ผูรับโอน และตอมาเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคําสั่งอนุญาตใหผูรับโอนเขาสวมสิทธิ
เปน เจาหนี้แทนผูร อ งแลว หากผูร ับโอนประสงคจะขอรบั ชําระหนจ้ี าํ นองเพม่ิ เติมในสว น
ของผูคัดคานผูถือกรรมสิทธิ์รวม ก็เปนเรื่องที่ตองยื่นคําขอรับชําระหนี้จํานองตอ
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ไมอ าจยน่ื คาํ ขอโดยตรงตอ ศาลได ทง้ั เมอ่ื ผรู อ งโอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง
ในหนต้ี ามคาํ พพิ ากษาใหแ กผ รู บั โอนไปแลว ผรู อ งจงึ ไมอ ยใู นฐานะเจา หนต้ี ามคาํ พพิ ากษา
ในคดแี พง ดงั กลา วอกี ตอ ไป ผรู อ งจงึ ไมม สี ทิ ธริ อ งขอใหน าํ เงนิ ทไ่ี ดจ ากการขายทอดตลาด
ที่ดินโฉนดเลขที่ ๕๓๓๖๘ ตําบลบางกะป (ลาดพราวฝงเหนือ) อําเภอพญาไท (บางกะป)
กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง กรรมสทิ ธใ์ิ นสว นของผคู ดั คา นมาชาํ ระหนแ้ี กผ รู อ ง

อนึ่ง เมื่อศาลไดพิพากษาใหผูคัดคานและจําเลยที่ ๒ กับพวกรวมกันชําระเงิน
ใหแ กผ รู อ งหากไมช าํ ระใหย ดึ ทรพั ยจ าํ นอง ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๕๓๓๖๘ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง
ออกขายทอดตลาดนําเงินมาชําระหนี้ หากไมพอใหยึดทรัพยสินอื่นของจําเลยที่ ๒ และ

๑๐๔

ผคู ดั คา นกบั พวกออกขายทอดตลาดชาํ ระหนใ้ี หแ กผ รู อ งจนครบถว น สทิ ธเิ รยี กรอ งในหน้ี
ตามคาํ พพิ ากษาดงั กลา วเปน สทิ ธเิ รยี กรอ งใหช าํ ระหนเ้ี งนิ จงึ เปน สทิ ธเิ รยี กรอ งทพ่ี งึ โอน
กันได เมื่อการโอนสิทธิเรียกรองระหวางผูรองกับผูรับโอน นอกจากจะเปนการโอนตาม
พ.ร.ก. บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย พ.ศ. ๒๕๔๑ แลว ยงั ไดค วามวา เมอ่ื ผรู อ งไดบ อกกลา วการ
โอนสิทธิเรียกรองใหผูคัดคานซึ่งเปนลูกหนี้ดวยแลว การโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวจึง
สมบรู ณ ตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหนง่ึ มผี ลใหส ทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ชาํ ระหนจ้ี ากการขายทอดตลาด
ทรัพยจาํ นองในหนี้ตามคาํ พิพากษาตกมาเปน สิทธขิ องผูรับโอน

_____________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒ เด็ดขาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๕๔ และพพิ ากษาใหจ ำเลยท่ี ๒ ลม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘

ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหม คี ำสง่ั ใหผ รู อ งไดร บั ชำระหนจ้ี ากเงนิ ทข่ี ายทอดตลาดในสว นของ
ผูค ดั คา นกอนเจาหนร้ี ายอน่ื รวมทง้ั โจทกด ว ย

จำเลยท่ี ๒ และผคู ดั คานยน่ื คำคัดคา น ขอใหยกคำรอง
ศาลลมละลายกลางมีคำสงั่ ยกคำรอง คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพับ
ผูร อง ผคู ัดคานและจำเลยที่ ๒ อุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ปญหาที่ตองวินิจฉัยตาม
อุทธรณของผูรองวา ผูรองมีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามคำพิพากษาจากเงินที่ไดจากการขาย
ทอดตลาดที่ดิน โฉนดเลขที่ ๕๓๓๖๘ พรอมสิ่งปลูกสราง กรรมสิทธิ์ในสวนของผูคัดคานหรือไม
เห็นวา ภายหลังจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งอนุญาตใหผูรองไดรับชำระหนี้ตามคำพิพากษา
ในคดีแพง หมายเลขแดงที่ ธ.๒๓๔๒/๒๕๕๑ แลว ผูรองทำสัญญาโอนสินทรัพยซึ่งรวมถึงสิทธิ
เรียกรอง หนี้ตามคำพิพากษาในคดีดังกลาวที่มีทรัพยจำนองที่ดินโฉนดเลขที่ ๕๓๓๖๘ ใหแก
บริษัทบริหารสินทรัพยกรุงเทพพาณิชย จำกัด (มหาชน) และตอมาเจาพนักงานพิทักษทรัพยมี
คำสง่ั อนญุ าตใหบ รษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยก รงุ เทพพาณชิ ย จำกดั (มหาชน) เขา สวมสทิ ธเิ ปน เจา หน้ี
แทนผูรองแลว หากบริษัทบริหารสินทรัพยกรุงเทพพาณิชย จำกัด (มหาชน) ประสงคจะขอรับ
ชำระหนี้จำนองเพิ่มเติมในสวนของผูคัดคานผูถือกรรมสิทธิ์รวม ก็เปนเรื่องที่ตองยื่นคำขอรับ
ชำระหนจ้ี ำนองตอ เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ไมอ าจยน่ื คำขอโดยตรงตอ ศาลได ทง้ั เมอ่ื ผรู อ งโอน
สทิ ธเิ รยี กรอ งในหนต้ี ามคำพพิ ากษาใหแ กบ รษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยก รงุ เทพพาณชิ ย จำกดั (มหาชน)
ไปแลว ผูรองจึงไมอยูในฐานะเจาหนี้ตามคำพิพากษาในคดีหมายเลขแดงที่ ธ.๒๓๔๒/๒๕๕๑

๑๐๕

อกี ตอ ไป ผรู อ งจงึ ไมม สี ทิ ธริ อ งขอใหน ำเงนิ ทไ่ี ดจ ากการขายทอดตลาดทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๕๓๓๖๘
ตำบลบางกะป (ลาดพรา วฝง เหนอื ) อำเภอพญาไท (บางกะป) กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง
กรรมสิทธใิ์ นสว นของผคู ัดคา นมาชำระหนแี้ กผ ูรอง ทีศ่ าลลมละลายกลางยกคำรองของผรู องน้นั
ศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษเห็นพองดวย

ปญหาที่ตองวินิจฉัยอุทธรณของผูคัดคานและจำเลยที่ ๒ วา การที่ผูรองโอนสิทธิ
เรียกรองในหนี้ตามคำพิพากษาใหแกบริษัทบริหารสินทรัพยกรุงเทพพาณิชย จำกัด (มหาชน)
ไดโ อนไปดว ยหรอื ไม เหน็ วา คำพพิ ากษาของศาลแพง หมายเลขแดงท่ี ธ.๒๓๔๒/๒๕๕๑ ศาลได
พพิ ากษาใหผ คู ดั คา นและจำเลยท่ี ๒ กบั พวกรว มกนั ชำระเงนิ ใหแ กผ รู อ ง หากไมช ำระใหย ดึ ทรพั ย
จำนองทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๕๓๓๖๘ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งออกขายทอดตลาดนำเงนิ มาชำระหน้ี หากไม
พอใหย ดึ ทรพั ยส นิ อน่ื ของจำเลยท่ี ๒ และผคู ดั คา นกบั พวกออกขายทอดตลาดชำระหนใ้ี หแ กผ รู อ ง
จนครบถว น สทิ ธเิ รยี กรอ งในหนต้ี ามคำพพิ ากษาดงั กลา วเปน สทิ ธเิ รยี กรอ งใหช ำระหนเ้ี งนิ จงึ เปน
สิทธิเรียกรองที่พึงโอนกันได และการโอนสิทธิเรียกรองระหวางผูรองกับบริษัทบริหารสินทรัพย
กรงุ เทพพาณชิ ย จำกดั (มหาชน) นอกจากจะเปน การโอนตามพระราชกำหนดบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย
พ.ศ. ๒๕๔๑ แลว ยังไดความวาผูรองยังไดบอกกลาวการโอนสิทธิเรียกรองใหผูคัดคาน ซึ่งเปน
ลูกหนี้ดวย การโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวจึงสมบูรณ ตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหนึ่ง มีผลใหสิทธิ
ทจ่ี ะไดร บั ชำระหนจ้ี ากการขายทอดตลาดทรพั ยจ ำนองในหนต้ี ามคำพพิ ากษาตกมาเปน สทิ ธขิ อง
บริษัทบริหารสินทรัพยกรุงเทพพาณิชย จำกัด (มหาชน) คำสั่งของศาลลมละลายกลางชอบแลว
อทุ ธรณของผูคัดคานและจำเลยท่ี ๒ ฟง ไมขึ้น

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนยี มทง้ั สองฝา ยในชั้นอทุ ธรณใหเ ปน พับ.

(อดิศักด์ิ เทยี นกรมิ - สถาพร วสิ าพรหม - เกียรติคุณ แมน เลขา)

ภารดี เพ็ญเจรญิ - ยอ
วริ ตั น วิศิษฏวงศกร - ตรวจ

๑๐๖

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษท่ี ๑๔๔๘/๒๕๖๑ ธนาคารทหารไทย

จำกัด (มหาชน) โจทก

เจาพนกั งาน

พิทักษทรพั ย ผูรอง

นายศริ ิ เปย มสวุ รรณ

กบั พวก ผูคดั คา น

นายหมิน วงศส ุริยะวฒั นา

กับพวก จำเลย

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑), ๑๐๙ (๑), ๑๑๓, ๑๔๕ (๔)

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มวี ัตถุประสงคเ พื่อคุมครองประโยชนทั้งแกลกู หนี้
และเจา หนท้ี ง้ั ปวงโดยใหอ ำนาจเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยเ ขา จดั การทรพั ยส นิ ของลกู หน้ี
เพื่อนำไปชำระหนี้ใหแกบรรดาเจาหนี้ทั้งหลายอยางเปนธรรม และชำระสะสางหนี้สิน
ของลูกหนี้ผูมีหนี้สินพนตัวใหเสร็จสิ้นไป การกระทำที่ฝาฝนตอกฎหมายดังกลาวยอม
กระทบตอ ประโยชนของผมู ีสวนไดเ สยี ทัง้ ปวง จงึ เปนกฎหมายอนั เกี่ยวกับความสงบ
เรียบรอยของประชาชน จำเลยที่ ๒ โอนที่ดินสวนของตนใหแกผูคัดคานที่ ๒ ภายหลัง
ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพย จึงเปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดย
กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชนตกเปนโมฆะ แมผูคัดคานที่ ๒
ไมท ราบวา ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๒ เดด็ ขาดกไ็ มอ าจยกความสจุ รติ ขน้ึ เปน
ขออา งเพ่ือลบลางบทกฎหมายดังกลา วได

การใชอำนาจของผรู องในฐานะเจา พนักงานพิทกั ษทรพั ยในการรวบรวมทรพั ยสิน
ทั้งหลายอันลกู หนมี้ ีอยูในเวลาเริม่ ตนแหงการลมละลายตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๐๙ (๑) เพอ่ื นำมาแบง แกบ รรดาเจา หน้ี เปน การใชส ทิ ธติ ดิ ตามเอาคนื ทรพั ยส นิ
ของลกู หนจ้ี ากนติ กิ รรมทเ่ี สยี เปลา กลบั เขา กองทรพั ยส นิ ของผลู ม ละลาย มใิ ชก ารรอ ง
ขอเพิกถอนการฉอฉลตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ ที่ถือวานิติกรรม
นั้นยงั มผี ลอยตู ราบจนกระทงั่ มีคำสัง่ ใหเ พกิ ถอน ซงึ่ ตองรอ งขอภายใน ๑ ป นับแตท ราบถึง
เหตุดงั กลา ว

๑๐๗

การรองขอเพิกถอนการจดทะเบียนนิติกรรมที่เปนโมฆะดังกลาวเปนการใชอำนาจ
ในการติดตามและจัดการทรัพยสินของลูกหนี้ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑)
อนั เปน อำนาจเฉพาะของเจาพนักงานพทิ ักษท รัพยซ่ึงรองขอไดโ ดยทำเปน คำรองตอ ศาล
เปน คดสี าขาในคดลี ม ละลาย มไิ ดย น่ื ฟอ งเปน คดใี หมแ ตอ ยา งใด จงึ มใิ ชก ารฟอ งคดแี พง
เกี่ยวกับทรัพยสินในคดีลมละลายตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๕ (๔)
ทจ่ี ะกระทำไดต อเมื่อไดรบั ความเห็นชอบของกรรมการเจา หน้ีหรอื จากท่ีประชมุ เจาหน้ี

_______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสองเด็ดขาด
เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒ และพิพากษาใหจำเลยทั้งสองเปนบุคคลลมละลายเมื่อวันที่ ๖
สิงหาคม ๒๕๕๕

ผูรองยื่นคำรองวา ภายหลังศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒
เด็ดขาด จำเลยที่ ๒ ซึ่งมีชื่อถือสิทธิครองครองที่ดินตามหนังสือรับตามหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน (น.ส. ๓) เลขที่ ๒๑๔ หมูที่ (๔) ๙ ตำบล (หนองรี) หลุมรัง อำเภอบอพลอย จังหวัด
กาญจนบรุ ี รว มกบั ผคู ดั คา นท่ี ๑ โอนขายทด่ี นิ ดงั กลา วใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ หลงั จากนน้ั ผคู ดั คา นท่ี ๒
แบง แยกทด่ี นิ ออกมาเปน แปลงยอ ยและโอนทด่ี นิ ดงั กลา วใหแ กผ คู ดั คา นอน่ื ขอใหเ พกิ ถอนรายการ
จดทะเบยี นซือ้ ขายที่ดินดังกลาวเฉพาะสว นของจำเลยที่ ๒ ตลอดสาย

ผูคัดคานทั้งสบิ ยืน่ คำคัดคา นขอใหย กคำรอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนรายการจดทะเบียนที่ดินระหวางผูคัดคานที่ ๑
กับจำเลยที่ ๒ ใหแกผูคัดคานที่ ๒ เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๔ เฉพาะสวนของจำเลยที่ ๒
รายการจดทะเบียนถือกรรมสิทธิ์ที่ดินรวมระหวางผูคัดคานที่ ๒ กับผูคัดคานที่ ๓ ถึงที่ ๕
เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ รายการจดทะเบียนแบงกรรมสิทธิ์ที่ดินระหวางผูคัดคานที่ ๒
กับผูคัดคานที่ ๓ ถึงที่ ๕ เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ รายการจดทะเบียนขายที่ดินระหวาง
ผูคัดคานท่ี ๒ กับผคู ดั คา นท่ี ๗ ถึงที่ ๑๐ เมื่อวนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ในสารบญั จดทะเบยี น
หนงั สอื รบั รองการทำประโยชน (น.ส. ๓) เลขท่ี ๒๑๔ หมทู ่ี (๔) ๙ ตำบล (หนองร)ี หลมุ รงั อำเภอ
บอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี เพิกถอนรายการจดทะเบียนใหเฉพาะสวนระหวางผูคัดคานที่ ๔
กบั ผคู ดั คา นท่ี ๖ เมอ่ื วนั ท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๗ ในสารบญั จดทะเบยี นหนงั สอื รบั รองการทำประโยชน
(น.ส. ๓ ข.) เลขที่ ๑ หมูที่ ๙ ตำบลหลุมรัง อำเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี คำขออื่นใหยก
คา ฤชาธรรมเนียมใหเปนพับ

๑๐๘

ผูคัดคา นที่ ๒ ถึงที่ ๑๐ อุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตาม
อทุ ธรณข องผคู ดั คา นท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๑๐ ในประการแรกวา ผรู อ งขอใหเ พกิ ถอนนติ กิ รรมการโอนทด่ี นิ
คดีนี้ไดหรือไม เห็นวา เมื่อศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒ เด็ดขาดแลว
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๔ บัญญัติใหเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยแตผูเดียวมีอำนาจจัดการและจำหนายทรัพยสินของลูกหนี้ และหามมิใหลูกหนี้
กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยสินหรือกิจการของตน เวนแตจะไดกระทำตามคำสั่งหรือความ
เห็นชอบของศาล เจาพนักงานพิทักษทรัพย ผูจัดการทรัพย หรือที่ประชุมเจาหนี้ ตามที่บัญญัติ
ไวใ นกฎหมาย ดงั นน้ั เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยท่ี ๒ เดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม
๒๕๕๒ แลว จำเลยที่ ๒ จึงหมดอำนาจที่จะจัดการและจำหนายหรือกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับ
ทรัพยสินของตน อำนาจดังกลาวยอมตกแกผูรองในฐานะเจาพนักงานพิทักษทรัพยแตผูเดียว
ตามกฎหมาย จำเลยที่ ๒ จึงไมมีอำนาจขายที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน (น.ส. ๓)
เลขที่ ๒๑๔ หมูที่ (๔) ๙ ตำบล (หนองรี) หลุมรัง อำเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ในสวน
ของตนแกผ คู ดั คา นท่ี ๒ ในวนั ท่ี ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ ซง่ึ เปน การกระทำเกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ของตน
ภายหลงั วนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาด นติ กิ รรมการโอนสทิ ธคิ รอบครองในทด่ี นิ ดงั กลา ว
จงึ เปน การฝา ฝน ตอ พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๔ ซง่ึ เปน
กฎหมายเก่ียวกบั ความสงบเรียบรอ ยของประชาชน นิตกิ รรมดังกลา วจงึ เสยี เปลา เปน โมฆะไมมี
ผลผูกพันกองทรัพยสินของจำเลยที่ ๒ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๐
ทผ่ี คู ดั คา นท่ี ๗ ถงึ ท่ี ๑๐ อทุ ธรณว า นติ กิ รรมระหวา งจำเลยท่ี ๒ กบั ผคู ดั คา นท่ี ๒ ไมเ ปน โมฆะ
เพราะผูคัดคานที่ ๒ ไมทราบวาจำเลยที่ ๒ ถูกศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดขณะขายที่ดิน
ใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ นน้ั เหน็ วา กฎหมายลม ละลายเปน กฎหมายพเิ ศษแตกตา งจากกฎหมายแพง
ทว่ั ไป มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื คมุ ครองประโยชนท ง้ั แกล กู หนแ้ี ละเจา หนท้ี ง้ั ปวง โดยใหอ ำนาจเจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยเ ขา จดั การทรพั ยส นิ ของลกู หนเ้ี พอ่ื นำไปชำระหนใ้ี หแ กบ รรดาเจา หนท้ี ง้ั หลายอยา ง
เปนธรรม และชำระสะสางหนส้ี นิ ของลกู หนี้ผมู หี น้ีสนิ พนตวั ใหเ สรจ็ ส้ินไป การกระทำทฝ่ี าฝน ตอ
กฎหมายดงั กลา ว ยอ มกระทบตอ ประโยชนข องผมู สี ว นไดเ สยี ทง้ั ปวง จงึ เปน กฎหมายอนั เกย่ี วกบั
ความสงบเรียบรอยของประชาชน การโอนที่ดินของจำเลยที่ ๒ แกผูคัดคานที่ ๒ ที่ฝาฝนตอ
บทบญั ญตั แิ หง กฎหมายลม ละลาย ซง่ึ หา มมใิ หล กู หนก้ี ระทำการใด ๆ เกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ของตน
หลงั จากศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยแ ลว อนั เปน บทบงั คบั เดด็ ขาด จงึ เปน นติ กิ รรมทม่ี วี ตั ถปุ ระสงค
เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชนโดยมิตอง

๑๐๙

คำนงึ วา คสู ญั ญาทกุ ฝา ยไดร ถู งึ วตั ถปุ ระสงคข องนติ กิ รรมทเ่ี ปน การตอ งหา มตามกฎหมายนน้ั หรอื ไม
แมผูคัดคานที่ ๒ ไมทราบวาศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒ เด็ดขาดก็ไมอาจยกความ
สุจริตขึ้นเปนขออางเพื่อลบลางบทกฎหมายดังกลาวได สวนที่ผูคัดคานที่ ๒ ถึงที่ ๑๐ อุทธรณ
ทำนองวา ผูคัดคานทั้งหลายตางไดสิทธิครอบครองในที่ดินแลว ผูรองไมอาจขอใหเพิกถอนนั้น
เหน็ วา คดนี เ้ี ปน การรอ งขอเพกิ ถอนนติ กิ รรมทเ่ี ปน โมฆะ เมอ่ื นติ กิ รรมการโอนระหวา งจำเลยท่ี ๒
กบั ผคู ดั คา นท่ี ๒ ตกเปน โมฆะ ยอ มเสยี เปลา ไมม ผี ลตามกฎหมาย ไมอ าจอา งสทิ ธใิ ด ๆ ทไ่ี ดจ าก
การอันเปน โมฆะนั้นได จึงมิใชก รณที ่จี ะกลา วอา งสทิ ธิการครอบครองท่ีดนิ โดยอา งเจตนายดึ ถือ
เพอ่ื ตนหรอื การแยง การครอบครองเพอ่ื มใิ หเ พกิ ถอนการจดทะเบยี นของผรู อ งได สว นทผ่ี คู ดั คา น
ท่ี ๓ ถงึ ท่ี ๖ อทุ ธรณว า ผรู อ งขอเพกิ ถอนนติ กิ รรมเกนิ กวา ๑ ป นบั แตว นั ทเ่ี จา หนไ้ี ดท ราบถงึ เหตุ
แหง การเพกิ ถอน ผรู อ งจงึ ไมม สี ทิ ธขิ อใหเ พกิ ถอนการโอนคดนี ไ้ี ดน น้ั เหน็ วา การรอ งขอเพกิ ถอน
การจดทะเบยี นนติ กิ รรมคดนี ้ี เปน การใชอ ำนาจของผรู อ งในฐานะเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยใ นการ
รวบรวมทรัพยสินทั้งหลายอันลูกหนี้มีอยูในเวลาเริ่มตนแหงการลมละลายตามพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๙ (๑) เพื่อนำมาแบงแกบรรดาเจาหนี้ อันเปนการใชสิทธิ
ตดิ ตามเอาคนื ทรัพยส ินของลกู หน้ีจากนติ กิ รรมท่ีเสียเปลา กลับเขากองทรัพยสินของผลู ม ละลาย
หาใชการรองขอเพิกถอนการฉอฉลตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓
ซ่ึงตอ งรอ งขอภายใน ๑ ป นบั แตท ราบถงึ เหตุดงั กลา วไม สว นอุทธรณข องผูคดั คานท่ี ๒ วาการ
ยื่นคำแถลงของเจาหนี้ที่ ๑ ตอผูรองเพื่อใหเพิกถอนการโอนเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริตและ
ประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรงทไ่ี มร บี ตรวจสอบสบื หาทรพั ยส นิ ของจำเลยทง้ั สองนน้ั กม็ ไิ ดเ ปน เหตุ
ทำใหผูรองไมมีอำนาจยื่นคำรองขอเพิกถอนการโอนแตอยางใด ผูรองจึงขอใหเพิกถอนนิติกรรม
การโอนท่ดี นิ คดนี ้ีได อุทธรณข องผูค ดั คานท่ี ๒ ถึงท่ี ๑๐ ฟงไมข นึ้

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นท่ี ๗ ถงึ ท่ี ๑๐ ประการตอ ไปวา ผรู อ ง
ตอ งไดร บั ความเหน็ ชอบจากทป่ี ระชมุ เจา หนห้ี รอื กรรมการเจา หนก้ี อ นยน่ื ฟอ งคดนี ห้ี รอื ไม เหน็ วา
การรอ งขอเพกิ ถอนการจดทะเบยี นนติ กิ รรมของผรู อ งเปน การใชอ ำนาจในการตดิ ตามและจดั การ
ทรพั ยส นิ ของลกู หนต้ี ามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๑) อนั เปน อำนาจเฉพาะ
ของเจาพนกั งานพิทักษท รัพยซึ่งรอ งขอไดโดยทำเปนคำรองตอศาลเปนคดสี าขาในคดลี มละลาย
มไิ ดย น่ื ฟอ งเปน คดใี หมแ ตอ ยา งใด การยน่ื คำรอ งขอเพกิ ถอนการจดทะเบยี นนติ กิ รรมการโอนทด่ี นิ
ของผรู อ งคดนี จ้ี งึ มใิ ชก ารฟอ งคดแี พง เกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ในคดลี ม ละลายตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๕ (๔) ทจ่ี ะกระทำไดต อ เมอ่ื ไดร บั ความเหน็ ชอบของกรรมการเจา หน้ี หรอื
จากทป่ี ระชมุ เจา หนถ้ี า ไมไ ดต ง้ั กรรมการเจา หนไ้ี วต ามมาตรา ๔๑ แมผ รู อ งไมไ ดข อความเหน็ ชอบ

๑๑๐

จากกรรมการเจาหนี้หรือที่ประชุมเจาหนี้กอนยื่นคำรองคดีนี้ ก็ไมเปนการกระทำที่ฝาฝนตอ
กฎหมาย อทุ ธรณขอ นีข้ องผคู ัดคา นที่ ๗ ถึงที่ ๑๐ ฟงไมข น้ึ เชนกนั

อนึ่ง ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งเพิกถอนรายการจดทะเบียนตอมาภายหลังการโอน
เมอ่ื วนั ท่ี ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ ทง้ั หมด ซง่ึ รวมถงึ สว นของผคู ดั คา นท่ี ๑ ทข่ี ณะจดทะเบยี นโอนขาย
ที่ดินมิไดเปนนิติกรรมที่ตองหามดวยนั้นเปนการไมถูกตอง แมไมมีผูใดอุทธรณในปญหานี้
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษชอบทจ่ี ะยกขน้ึ วนิ จิ ฉยั ไดต ามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง
มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑

พิพากษาแกเปนวา ใหเพิกถอนรายการจดทะเบียนตอมาภายหลังวันที่ ๓ มิถุนายน
๒๕๕๔ เฉพาะสวนของจำเลยที่ ๒ ตลอดสาย โดยใหใสชื่อจำเลยที่ ๒ เปนผูถือสิทธิครอบครอง
กึ่งหนึ่งในสารบัญจดทะเบียนหนังสือรับรองการทำประโยชน (น.ส. ๓) เลขที่ ๒๑๔ หมูที่ (๔) ๙
ตำบล (หนองรี) หลุมรัง อำเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี และกึ่งหนึ่งในสารบัญจดทะเบียน
หนังสือรับรองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ข.) เลขที่ ๑ หมูที่ ๙ ตำบลหลุมรัง อำเภอบอพลอย
จังหวัดกาญจนบรุ ี นอกจากท่ีแกใ หเ ปนไปตามคำส่ังศาลลมละลายกลาง คาฤชาธรรมเนยี มช้ันนี้
ใหเ ปน พบั .

(โชคชยั รุจนิ นิ นาท - วเิ ชยี ร วชริ ประทปี - องอาจ งามมศี ร)ี

รตมิ า ชัยสโุ รจน - ยอ
วิรตั น วศิ ิษฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงทส่ี ดุ

๑๑๑

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษที่ ๕๘/๒๕๖๔ ธนาคารกรงุ ศรีอยธุ ยา

จำกดั (มหาชน) โจทก

เจาพนักงานพิทกั ษทรพั ย ผรู อง

นางสาวณัฎฐพร

โยคนั ชยั ผคู ดั คาน

นางสุชาดา สทุ ธสิ วสั ดิ์

กับพวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐, ๑๓๓๖
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒, ๒๔, ๗๙ วรรคหน่ึง, ๘๑/๑, ๑๐๙

แมจ ำเลยท่ี ๒ จะไดร บั การปลดจากลม ละลายตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๘๑/๑ แลว ก็มีผลเพียงใหจำเลยที่ ๒ หลุดพนจากการเปนบุคคลลมละลายและ
มีอำนาจในการจัดทรัพยสินหรือกิจการของตนซึ่งไดมานับแตวันที่ไดรับการปลดจาก
ลม ละลายแลว เทา นน้ั ผรู อ งยงั คงมอี ำนาจในการจดั การและรวบรวมทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๒
ซึ่งเปนทรัพยสินอันอาจแบงไดในคดีลมละลายตามมาตรา ๑๐๙ หาใชมีอำนาจเพียง
การจำหนา ยทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๒ ซง่ึ ตกอยแู กผ รู อ งเทา นน้ั ทง้ั จำเลยท่ี ๒ ซง่ึ ไดร บั การ
ปลดจากลมละลายยังมีหนาที่ชวยในการจำหนายและแบงทรัพยสินของตนซึ่งตกอยูกับ
ผรู อ งตามทผ่ี รู อ งตอ งการตามมาตรา ๗๙ วรรคหนง่ึ ดงั นน้ั เมอ่ื ทด่ี นิ พพิ าทเปน ทรพั ยส นิ
ที่จำเลยที่ ๒ มีอยูในเวลาเริ่มตนแหงการลมละลาย ผูรองจึงมีอำนาจในการจัดการและ
รวบรวมเพอ่ื แบง แกเ จา หนท้ี ง้ั หลาย และมอี ำนาจยน่ื คำรอ งขอเพกิ ถอนรายการจดทะเบยี น
นติ ิกรรมทดี่ ินพพิ าทระหวา งจำเลยที่ ๒ กับผูคัดคานได

จำเลยที่ ๒ จดทะเบียนขายที่ดินพิพาทใหแกผูคัดคานภายหลังจากที่จำเลยที่ ๒
ถกู ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดแลว โดยไมป รากฏวา จำเลยท่ี ๒ กระทำตามคำสง่ั หรอื
ความเหน็ ชอบของศาล เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ผจู ดั การทรพั ยห รอื ทป่ี ระชมุ เจา หนแ้ี ต
อยางใด การจดทะเบียนโอนขายที่ดินพิพาทยอมเปนการฝาฝนตอ พ.ร.บ. ลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๔ จงึ เปน นติ กิ รรมทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ ปน การตอ งหา ม
ชัดแจงโดยกฎหมายตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐ แมจะมีการทำนิติกรรมนั้น

๑๑๒

โดยสจุ รติ เสยี คา ตอบแทนและไดจ ดทะเบยี นโดยสจุ รติ กต็ าม ผคู ดั คา นกไ็ มอ าจยกความ
สุจริตและเสียคาตอบแทนขึ้นอางเพื่อใหมีผลลบลางบทกฎหมายได ผูรองชอบที่จะยื่น
คำรอ งขอใหเ พกิ ถอนรายการจดทะเบยี นโอนทด่ี นิ ระหวา งจำเลยท่ี ๒ กบั ผคู ดั คา นได กรณี
ดังกลาวจำเลยที่ ๒ จึงยังคงเปนผูถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินอยูดังเดิม การขอใหเพิกถอน
รายการจดทะเบยี นทด่ี นิ พพิ าทดงั กลา ว จงึ เปน การใชส ทิ ธติ ดิ ตามเอาทรพั ยส นิ ของเจา ของ
คนื จากผูไ มม ีสิทธจิ ะยดึ ถือไวตาม มาตรา ๑๓๓๖ ซึง่ ไมม อี ายคุ วาม

_____________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสองเด็ดขาด
เมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๔๖ และพิพากษาใหลมละลายเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๘ ตอมา
จำเลยทง้ั สองไดรับการปลดจากลม ละลายตง้ั แตวนั ท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๑

ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหศ าลมคี ำสง่ั เพกิ ถอนรายการจดทะเบยี นโอนทด่ี นิ ดงั กลา วระหวา ง
จำเลยที่ ๒ กับผูคัดคาน และแจงเจาพนักงานที่ดินใหดำเนินการเพิกถอนรายการจดทะเบียน
เพอ่ื ผรู อ งจะไดดำเนนิ การยึดและขายทอดตลาดที่ดนิ ดงั กลา ว และรวบรวมเขา กองทรัพยสินของ
จำเลยท่ี ๒ ในคดลี ม ละลาย

ผคู ัดคา นยื่นคำคัดคาน ขอใหยกคำรอง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนรายการจดทะเบียนโอนที่ดินหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๖๑๖ และ ๖๑๗ จังหวัดหนองคาย ระหวางจำเลยที่ ๒ กับ
ผคู ัดคา นเสีย สวนคำขออน่ื ใหย ก คา ฤชาธรรมเนียมใหเปนพบั
ผคู ัดคา นอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงยุติใน
เบื้องตนโดยที่คูความไมโตแยงกันวา ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒
เดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๔๖ และพพิ ากษาใหล ม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๔๘
จำเลยที่ ๒ ไดรับการปลดจากลมละลายตั้งแตวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ ตอมาเมื่อวันที่ ๘
กนั ยายน ๒๕๕๔ จำเลยท่ี ๒ ไดจ ดทะเบยี นโอนทด่ี นิ หนงั สอื รบั รองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.)
เลขที่ ๖๑๖ และ ๖๑๗ จังหวัดหนองคาย ใหแกผ ูค ัดคา น
คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูคัดคานประการแรกวา เมื่อจำเลยที่ ๒
ไดร บั การปลดจากลม ละลายแลว ผรู อ งมอี ำนาจยน่ื คำรอ งขอเพกิ ถอนรายการจดทะเบยี นนติ กิ รรม
ที่ดินพิพาทระหวางจำเลยที่ ๒ กับผูคัดคานหรือไม เห็นวา นับแตวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพย

๑๑๓

ของจำเลยท่ี ๒ เดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๔๖ จนถงึ วนั ทจ่ี ำเลยท่ี ๒ ไดร บั การปลดจาก
ลมละลายเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ จำเลยที่ ๒ มีชื่อเปนเจาของที่ดินพิพาท ที่ดินพิพาท
จึงเปนของจำเลยที่ ๒ ที่มีอยูในเวลาเริ่มตนแหงการลมละลาย แมจำเลยที่ ๒ จะไดรับการปลด
จากลม ละลายตามพระราชบัญญตั ิลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘๑/๑ แลว ก็ตาม แตการปลด
จำเลยที่ ๒ จากลมละลายดังกลาวมีผลเพียงใหจำเลยที่ ๒ หลุดพนจากการเปนบุคคลลมละลาย
และมีอำนาจในการจัดการทรัพยสินหรือกิจการของตนซึ่งไดมานับแตวันที่ไดรับการปลดจาก
ลม ละลายแลว เทา นน้ั ผรู อ งซง่ึ เปน เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยย งั คงมอี ำนาจในการจดั การและรวบรวม
ทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๒ อนั อาจแบง ไดใ นคดลี ม ละลายตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๐๙ หาใชม อี ำนาจเพยี งการจำหนา ยทรพั ยสินของจำเลยที่ ๒ ซึง่ ตกอยูแ กผ ูร อ งเทา นนั้
ตามทผ่ี คู ดั คา นอทุ ธรณ ทง้ั จำเลยท่ี ๒ ซง่ึ ไดร บั การปลดจากลม ละลายยงั มหี นา ทช่ี ว ยในการจำหนา ย
และแบงทรัพยสินของตนซึ่งตกอยูกับผูรองตามที่ผูรองตองการตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๗๙ วรรคหนง่ึ ดงั นน้ั เมอ่ื ทด่ี นิ พพิ าทเปน ทรพั ยส นิ ทจ่ี ำเลยท่ี ๒ มอี ยใู นเวลา
เรม่ิ ตน แหง การลม ละลาย ผรู อ งจงึ มอี ำนาจในการจดั การและรวบรวมเพอ่ื แบง แกเ จา หนท้ี ง้ั หลาย
และมีอำนาจยื่นคำรองขอเพิกถอนรายการจดทะเบียนนิติกรรมที่ดินพิพาทระหวางจำเลยที่ ๒
กบั ผูค ัดคา นได อุทธรณของผูคดั คานขอนฟี้ ง ไมข ้ึน

คดมี ปี ญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นตอ ไปวา คำรอ งขอเพกิ ถอนรายการ
จดทะเบยี นโอนทด่ี นิ พพิ าทขาดอายคุ วามแลว หรอื ไม เหน็ วา จำเลยท่ี ๒ ถกู ศาลสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
เด็ดขาดเมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๔๖ และปลดจากลมละลาย เมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๑
ระหวางนั้นอำนาจในการจัดการเกี่ยวกับทรัพยสินของจำเลยที่ ๒ ตกอยูแกเจาพนักงานพิทักษ
ทรพั ยต ามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และหา มจำเลยท่ี ๒ กระทำการใด ๆ
เกี่ยวกับทรัพยสินหรือกิจการของตน เวนแตจะไดกระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบของศาล
เจาพนักงานพิทักษทรัพย ผูจัดการทรัพยหรือที่ประชุมเจาหนี้ตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๔ เมื่อขอเท็จจริงไดความวา จำเลยที่ ๒ จดทะเบียนขายที่ดินพิพาท
ใหแกผูคัดคาน ในวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๔ อันเปนเวลาภายหลังจากที่จำเลยที่ ๒ ถูกศาล
มคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดแลว โดยไมป รากฏวา จำเลยท่ี ๒ กระทำตามคำสง่ั หรอื ความเหน็ ชอบ
ของศาล เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ผจู ดั การทรพั ยห รอื ทป่ี ระชมุ เจา หนแ้ี ตอ ยา งใด การจดทะเบยี น
โอนขายที่ดินพิพาทยอมเปนการฝาฝนตอพระราชบัญญัติลมละลายพ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒
และมาตรา ๒๔ จึงเปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย ตกเปน
โมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๕๐ แมจ ะมกี ารทำนติ กิ รรมนน้ั โดยสจุ รติ

๑๑๔

เสียคาตอบแทนและไดจดทะเบียนโดยสุจริตก็ตาม ผูคัดคานก็ไมอาจยกความสุจริตและเสียคา
ตอบแทนขน้ึ อา งเพอ่ื ใหม ผี ลลบลา งบทกฎหมายได ผรู อ งชอบทจ่ี ะยน่ื คำรอ งขอใหเ พกิ ถอนรายการ
จดทะเบียนโอนที่ดินระหวางจำเลยที่ ๒ กับผูคัดคานได โดยกรณีดังกลาว จำเลยที่ ๒ จึงยังคง
เปนผูถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินอยูดังเดิม การที่ผูรองขอใหเพิกถอนรายการจดทะเบียนที่ดินพิพาท
ระหวา งจำเลยท่ี ๒ กบั ผคู ดั คา นตอ ศาลจงึ เปน การใชส ทิ ธติ ดิ ตามเอาทรพั ยส นิ ของเจา ของคนื จาก
ผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา ๑๓๓๖ ซึ่งไมมีอายุความ
กรณจี งึ ไมจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข อ อน่ื ของผคู ดั คา นอกี เพราะไมท ำใหผ ลคำพพิ ากษาเปลย่ี นแปลงไป
อทุ ธรณข องผูคดั คานฟงไมข นึ้

พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนยี มในชนั้ อุทธรณใ หเปน พับ.

(พูนศกั ดิ์ เข็มแซมเกษ - จกั รพันธ สอนสภุ าพ - ปฏิกรณ คงพพิ ธิ )

สรายทุ ธ เตชะวุฒพิ ันธุ - ยอ
วริ ตั น วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ที่สดุ

๑๑๕

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๕๐๔/๒๕๖๔ บริษทั บริหารสนิ ทรพั ย

สุขุมวทิ จำกัด โจทก

เจาพนักงานพิทกั ษทรัพย ผรู อ ง

นางชุตมิ า เกาเอี้ยน ผูค ดั คา น

นายมานพ ชนะกจิ

กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐, ๑๓๓๖
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒, ๒๔, ๘๕

เมื่อจำเลยที่ ๑ ถึงแกความตายในระหวางถูกศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพย และศาล
ลมละลายกลางมีคำสั่งใหจัดการทรัพยมรดกของจำเลยที่ ๑ โดยนาย อ. เปนผูจัดการ
มรดก การทน่ี าย อ. ในฐานะผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑ กระทำไปเกย่ี วกบั ทรพั ยม รดก
จะใชไ ดเ พยี งใดหรอื ไมน น้ั ใหถ อื เสมอื นวา เปน การกระทำของลกู หนห้ี รอื บคุ คลลม ละลาย
ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘๕ เมื่อนาย อ. ในฐานะผูจัดการมรดกของ
จำเลยที่ ๑ไดไถถอนการจำนองที่ดินพิพาทซึ่งเปนทรัพยที่จำเลยที่ ๑ มีอยูกอนที่ศาลมี
คำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดจากสหกรณ ก. และในวันเดียวกันนาย อ. ไดทำนิติกรรม
การโอนทด่ี นิ พพิ าทใหก บั นาง ล. อนั เปน ระยะเวลาภายหลงั จากทจ่ี ำเลยท่ี ๑ ถกู ศาลมคี ำสง่ั
พิทักษทรัพยเด็ดขาดแลวโดยไมปรากฏวานาย อ. กระทำตามคำสั่งหรือความเห็นชอบ
ของศาล เจาพนักงานพิทักษทรัพย ผูจัดการทรัพยหรือที่ประชุมเจาหนี้ การจดทะเบียน
ไถถ อนจำนองและจดทะเบยี นโอนขายทด่ี นิ พพิ าทยอ มเปน การฝา ฝน ตอ มาตรา ๒๒, ๒๔
ประกอบมาตรา ๘๕ จงึ เปน นติ กิ รรมทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ ปน การตอ งหา มชดั แจง โดยกฎหมาย
เปน โมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๐ แมจ ะมกี ารทำนติ กิ รรมนน้ั โดยสจุ รติ เสยี คา ตอบแทน
และไดจดทะเบียนโดยสุจริต ก็ไมอาจยกความสุจริตขึ้นอางเพื่อมีผลเปนการลบลาง
บทกฎหมายดังกลาวได นาง ล. จึงไมใชผูมีสิทธิครอบครองในที่ดินพิพาทและไมอาจ
จดทะเบียนโอนที่ดินพิพาทตอไปใหผูคัดคานได ผูคัดคานซึ่งเปนผูรับโอนยอมไมมีสิทธิ
ครอบครองทด่ี นิ พพิ าทแมจ ะรับโอนโดยสจุ รติ และเสยี คาตอบแทน

๑๑๖

การทผ่ี รู องขอใหเ พกิ ถอนรายการจดทะเบียนไถถอนจำนองทีด่ ินพพิ าทอนั เปน
โมฆะ เปนการใชส ิทธติ ิดตามเอาทรัพยสนิ ของเจาของคนื จากผูไมม สี ิทธจิ ะยดึ ถือไวต าม
ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๓๖ ซ่งึ ไมมอี ายคุ วาม

______________________________

ผรู อ งยน่ื คำรอ ง ขอใหศ าลมคี ำสง่ั เพกิ ถอนรายการจดทะเบยี นไถถ อนจำนองทด่ี นิ หนงั สอื
รบั รองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขท่ี ๑๖๘๙ ตำบลบางทอง อำเภอทา ยเหมอื ง จงั หวดั พงั งา
พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งระหวา งนายอรณุ ในฐานะผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑ กบั สหกรณก ารเกษตร
ทา ยเหมอื ง จำกดั เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๓ นติ กิ รรมการขายทด่ี นิ ระหวา งนายอรณุ ในฐานะ
ผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑ กบั นางละออ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๓ และนติ กิ รรมการขายทด่ี นิ
ระหวา งนางละออกับผูคัดคา น เม่ือวนั ที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ โดยใหก ลบั คนื สูฐ านะเดิม

นายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ นางละออ และสหกรณการเกษตร
ทา ยเหมอื ง จำกดั ไมยน่ื คำคัดคาน

ผคู ัดคานยื่นคำคดั คา น ขอใหยกคำรอง
ศาลลม ละลายกลางพจิ ารณาแลว มคี ำสง่ั ใหเ พกิ ถอนสารบญั จดทะเบยี นรายการไถถ อน
จำนองที่ดินหนังสือรับรองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๑๖๘๙ ตำบลบางทอง อำเภอ
ทายเหมือง จังหวัดพังงา พรอมสิ่งปลูกสราง เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๓ ระหวางสหกรณ
การเกษตรทายเหมือง จำกัด กับนายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ รายการขาย
ทด่ี นิ หนงั สอื รบั รองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขท่ี ๑๖๘๙ ตำบลบางทอง อำเภอทา ยเหมอื ง
จงั หวดั พงั งา พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม ๒๕๕๓ ระหวา งนายอรณุ ในฐานะผจู ดั การ
มรดกของจำเลยท่ี ๑ กบั นางละออ และรายการขายทด่ี นิ หนงั สอื รบั รองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.)
เลขที่ ๑๖๘๙ ตำบลบางทอง อำเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา พรอมสิ่งปลูกสราง เมื่อวันที่ ๒๘
พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ระหวา งนางละออกบั ผคู ดั คา น คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปน พบั
ผูคัดคา นอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความ
ไมโ ตแ ยง กนั รบั ฟง เปน ยตุ วิ า โจทกฟ อ งใหจ ำเลยทง้ั หา ลม ละลาย ตอ มาวนั ท่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๕๒
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั หา เดด็ ขาด และเมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๓
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหจัดการทรัพยมรดกของจำเลยที่ ๑ และวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓
ศาลจังหวัดพังงามีคำสั่งตั้งนายอรุณเปนผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ ผูรองไดทำการสอบสวน

๑๑๗

เกี่ยวกับการโอนที่ดินหนังสือรับรองการทำประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขที่ ๑๖๘๙ ตำบลบางทอง
อำเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา แลวปรากฏวา เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ จำเลยที่ ๑ จด
ทะเบียนจำนองที่ดินพิพาทไวกับสหกรณการเกษตรทายเหมือง จำกัด ตอมาวันที่ ๒๙ มีนาคม
๒๕๕๓ นายอรณุ ในฐานะผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑ ไดไ ถถ อนจำนองทด่ี นิ พพิ าทจากสหกรณ
การเกษตรทายเหมือง จำกัด และในวันเดียวกันนายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑
ไดท ำนติ กิ รรมโอนขายทด่ี นิ พพิ าทใหก บั นางละออคสู มรสของนายอรณุ ตอ มาวนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน
๒๕๕๔ นางละออไดท ำนติ ิกรรมโอนขายท่ดี ินพพิ าทใหกบั ผูคดั คาน

คดมี ปี ญ หาทจ่ี ะตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นวา ผรู อ งมอี ำนาจยน่ื คำรอ งขอให
เพิกถอนรายการจดทะเบียนไถถอนจำนองที่ดินพิพาทระหวางนายอรุณในฐานะผูจัดการมรดก
ของจำเลยที่ ๑ กับสหกรณการเกษตรทายเหมือง จำกัด เพิกถอนการขายที่ดินพิพาทระหวาง
นายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ กับนางละออ และระหวางนางละออกับผคู ดั คาน
หรอื ไม เห็นวา จำเลยที่ ๑ ไดรับสทิ ธิครอบครองทด่ี ินพิพาทมาต้งั แตว ันท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๕๑
อนั เปน เวลากอ นทศ่ี าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาด เมอ่ื ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
เด็ดขาดแลวอำนาจในการจัดการเก่ียวกบั ทรัพยสินของจำเลยท่ี ๑ ตกอยูแ กเจา พนกั งานพทิ ักษ
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และหา มจำเลยท่ี ๑ ทำการใด ๆ เกย่ี วกบั
ทรัพยสินหรือกิจการของตน เวนแตจะไดกระทำตามคำสั่งหรือตามความเห็นชอบของศาล
เจาพนักงานพิทักษทรัพย ผูจัดการทรัพยหรือที่ประชุมเจาหนี้ ตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๔ เมอื่ จำเลยท่ี ๑ ถึงแกความตายในระหวางถูกศาลมคี ำสงั่ พิทักษท รพั ย
และศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหจัดการทรัพยมรดกของจำเลยที่ ๑ โดยนายอรุณเปนผูจัดการ
มรดก การที่นายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ กระทำไปเกี่ยวกับทรัพยมรดก
จะใชไดเพียงใดหรือไมนั้น ใหถือเสมือนวาเปนการกระทำของลูกหนี้หรือบุคคลลมละลาย ตาม
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๘๕ ดังนั้น เมื่อขอเท็จจริงไดความวานายอรุณ
ในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ ไดไถถอนการจำนองที่ดินพิพาทจากสหกรณการเกษตร
ทายเหมือง จำกัด เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๓ และในวันเดียวกันนายอรุณในฐานะผูจัดการ
มรดกของจำเลยที่ ๑ ไดทำนิติกรรมการโอนที่ดินพิพาทใหกับนางละออคูสมรสของนายอรุณ
อนั เปน ระยะเวลาภายหลงั จากทจ่ี ำเลยท่ี ๑ ถกู ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดแลว โดยไมป รากฏ
วา นายอรณุ กระทำตามคำสง่ั หรอื ความเหน็ ชอบของศาลเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ผจู ดั การทรพั ย
หรอื ทป่ี ระชมุ เจา หนแ้ี ตอ ยา งใด การจดทะเบยี นไถถ อนจำนองและจดทะเบยี นโอนขายทด่ี นิ พพิ าท
ยอมเปนการฝาฝน ตอพระราชบญั ญตั ิลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๔ ประกอบ

๑๑๘

มาตรา ๘๕ จึงเปนนิติกรรมทีม่ วี ตั ถปุ ระสงคเปน การตอ งหา มชัดแจงโดยกฎหมายเปน โมฆะตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๐ แมจะมีการทำนิติกรรมนั้นโดยสุจริต เสียคา
ตอบแทน และไดจ ดทะเบยี นโดยสจุ รติ กต็ าม กไ็ มอ าจยกความสจุ รติ ขน้ึ อา งเพอ่ื มผี ลเปน การลบลา ง
บทกฎหมายดงั กลา วไดน ติ กิ รรมไถถ อนจำนองระหวา งนายอรณุ ในฐานะผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑
กบั สหกรณก ารเกษตรทา ยเหมอื ง จำกดั และนติ กิ รรมการโอนขายทด่ี นิ ระหวา งนายอรณุ ในฐานะ
ผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑ กับนางละออ เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๓ จึงเปนการเสียเปลา
มาแตเ รม่ิ แรก เสมอื นหนง่ึ ไมม กี ารทำนติ กิ รรมกนั และไมม ผี ลใด ๆ เกดิ ขน้ึ ตามกฎหมาย นางละออ
จงึ ไมใ ชผ มู สี ทิ ธคิ รอบครองในทด่ี นิ พพิ าทและไมอ าจจดทะเบยี นโอนทด่ี นิ พพิ าทตอ ไปใหผ คู ดั คา นได
ผูคัดคานซึ่งเปนผูรับโอนยอมไมมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาทแมจะรับโอนโดยสุจริตและเสียคา
ตอบแทนก็ตาม ผูรองชอบที่จะยื่นคำรองขอใหเพิกถอนรายการจดทะเบียนไถถอนจำนองที่ดิน
พพิ าทระหวา งนายอรณุ ในฐานะผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑ กบั สหกรณก ารเกษตรทา ยเหมอื ง
จำกัด เพิกถอนการขายที่ดินพิพาทระหวางนายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑
กบั นางละออ และระหวา งนางละออกบั ผคู ดั คา นไดโ ดยกรณดี งั กลา วจำเลยท่ี ๑ จงึ ยงั คงเปน ผมู สี ทิ ธิ
ครอบครองทด่ี นิ พพิ าทอยดู งั เดมิ การทผ่ี รู อ งขอใหเ พกิ ถอนรายการจดทะเบยี นไถถ อนจำนองทด่ี นิ
พพิ าทระหวา งนายอรณุ ในฐานะผจู ดั การมรดกของจำเลยท่ี ๑ กบั สหกรณก ารเกษตรทา ยเหมอื ง
จำกัด เพิกถอนการขายที่ดินพิพาทระหวางนายอรุณในฐานะผูจัดการมรดกของจำเลยที่ ๑
กบั นางละออ และระหวา งนางละออกบั ผคู ดั คา นตอ ศาลจงึ เปน การใชส ทิ ธติ ดิ ตามเอาทรพั ยส นิ ของ
เจาของคืนจากผูไมมีสิทธิจะยึดถือไวตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๓๖
ซง่ึ ไมม อี ายคุ วาม กรณไี มจ ำตอ งวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข อ อน่ื ของผคู ดั คา นอกี เพราะไมท ำใหผ ลคำพพิ ากษา
เปลยี่ นแปลงไป อทุ ธรณของผูค ดั คา นฟง ไมข น้ึ

พพิ ากษายนื คาฤชาธรรมเนยี มในชนั้ อุทธรณใหเปนพับ.

(พนู ศักด์ิ เขม็ แซมเกษ - จกั รพันธ สอนสภุ าพ - ปฏกิ รณ คงพพิ ิธ)

สรายุทธ เตชะวฒุ ิพนั ธุ - ยอ
วริ ตั น วิศิษฏวงศกร - ตรวจ

๑๑๙

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนัญพิเศษท่ี ๑๘๖๐/๒๕๖๔ ธนาคารกรงุ เทพ จำกดั

(มหาชน) โจทก

เจาพนักงานพทิ ักษท รัพย ผรู อ ง

นายยุทธพงษ บำรุงพันธุ

ในฐานะผจู ดั การมรดก

ของนางยพุ ินรตั น

แสงอรุณ ผคู ัดคา น

นายบุญเลศิ

อจั ฉริยปญญา จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๓)

เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดแลวผูรองซึ่งเปนเจาพนักงาน
พทิ กั ษท รพั ยเ ทา นน้ั ทม่ี อี ำนาจทำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความหรอื ตอ สคู ดเี กย่ี วกบั
ทรพั ยส นิ ของจำเลย ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๓) หนต้ี ามสญั ญา
ประนีประนอมยอมความที่จำเลยทำขึ้นหลังจากที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลย
เด็ดขาดแลวจึงไมสมบูรณเพราะเกิดขึ้นโดยฝาฝนขอหามของกฎหมายดังกลาว แมศาล
จังหวัดมีนบุรีมีคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความก็ไมผูกพันเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยและศาลในคดีลมละลายใหตองถือตาม ซึ่งผูรองก็ไดพิจารณาสัญญา
ประนีประนอมยอมความดังกลา วและมคี ำสงั่ ไมง ดการขายทอดตลาดไปแลว โดยไมจ ำ
ตองมารองขอตอศาลใหเพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความกอนแตอยางใด ทั้งการ
ทีผ่ ูรองย่นื คำรองขอใหศ าลลม ละลายกลางมคี ำส่งั เพกิ ถอนการทำสญั ญาประนีประนอม
ยอมความมีผลเปน อยา งเดียวกับการขอใหเ พกิ ถอนคำพพิ ากษาตามยอมซึง่ ตอ งกระทำโดย
ศาลสงู ในคดีแพงดังกลาว ไมใชศ าลลมละลายกลาง

______________________________

๑๒๐

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี
๔ ตุลาคม ๒๕๕๐ และพิพากษาใหจำเลยเปนบุคคลลมละลายเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๑
ตอมาจำเลยถึงแกความตาย ศาลมคี ำพพิ ากษาใหจ ดั การทรัพยม รดกของจำเลยเมือ่ วนั ที่ ๑๙
กรกฎาคม ๒๕๖๑

ผูรองยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งเพิกถอนการทำสัญญาประนีประนอมยอมความฉบับลง
วนั ที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑ ซึง่ จำเลยกระทำภายหลังศาลมีคำสัง่ พิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาด

ผคู ดั คา นยื่นคำคดั คานขอใหย กคำรอง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งวาสัญญาประนีประนอมยอมความระหวางจำเลยกับผูคัดคาน
ฉบับลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑ เปน โมฆะ คาฤชาธรรมเนียมใหเปนพับ
ผูคดั คานอทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี าํ นญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ไดว า เมอ่ื วนั ท่ี
๓ เมษายน ๒๕๕๑ จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับนางยุพินรัตน โดยจำเลยตกลง
จะไปจดทะเบยี นโอนทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๓๐๕๒๓, ๓๐๕๖๑, ๓๔๔๕๑, ๓๔๖๓๒, ๓๔๖๓๓, ๓๔๖๓๔,
๓๔๖๕๙, ๓๖๗๙๗ ตำบลสองสลึง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง และที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๗๕๔๙
ตำบลสามงามทาโบสถ อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ใหแกนางยุพินรัตน และศาลจังหวัดมีนบุรี
มคี ำพพิ ากษาตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความดงั กลา ว ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ผคู ดั คา นยน่ื คำรอ งตอ ผรู อ งขอใหง ดการขายทอดตลาดทด่ี นิ มโี ฉนด ๘ แปลง ทจ่ี งั หวดั ระยองของ
จำเลย โดยอางวาศาลจังหวัดมีนบุรีไดมีคำพิพากษาตามยอมใหจำเลยโอนที่ดินตามประกาศ
ขายทอดตลาดดงั กลา วใหแ กน างยพุ นิ รตั นแ ลว จำเลยจงึ ไมใ ชเ จา ของกรรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ ทผ่ี รู อ งนำ
ออกขายทอดตลาด ผรู อ งสอบสวนแลว ปรากฏวา สญั ญาประนปี ระนอมยอมความและคำพพิ ากษา
ตามยอมดังกลาวทำขึ้นเมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑ อันเปนเวลาภายหลังจากที่ศาลมีคำสั่ง
พิทักษทรัพยจำเลยเด็ดขาดแลว จึงเปนการตองหามตามมาตรา ๒๒ (๓) แหงพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ ประกอบประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕๐ จึงมีคำสั่งวา
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความเปน โมฆะ ไมม เี หตใุ หง ดการขายทอดตลาด ตอ มาวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม
๒๕๖๓ ผูรองมายื่นคำรองตอศาลลมละลายกลางเปนคดีนี้ขอใหมีคำสั่งเพิกถอนการทำสัญญา
ประนีประนอมยอมความ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งวาสัญญาประนีประนอมยอมความดังกลาว
เปนโมฆะ

๑๒๑

ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นมวี า คำสง่ั ศาลลม ละลายกลางทว่ี า สญั ญา
ประนีประนอมยอมความระหวางจำเลยกับผูคัดคานเปนโมฆะนั้นชอบหรือไม เห็นวา เมื่อศาลมี
คำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดแลว ผูรองซึ่งเจาพนักงานพิทักษทรัพยเทานั้นที่มีอำนาจ
ทำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความหรอื ตอ สคู ดเี กย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ของจำเลย ตามพระราชบญั ญตั ิ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๓) หนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่จำเลยทำขึ้น
หลังจากที่ศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดแลวจึงไมสมบูรณเพราะเกิดขึ้นโดยฝาฝน
ขอ หา มของกฎหมายดงั กลา ว แมศ าลจงั หวดั มนี บรุ มี คี ำพพิ ากษาตามสญั ญาประนปี ระนอมยอมความ
กไ็ มผ กู พนั เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยแ ละศาลในคดลี ม ละลายใหต อ งถอื ตาม ซง่ึ ผรู อ งกไ็ ดพ จิ ารณา
สญั ญาประนปี ระนอมยอมความดงั กลา วและมคี ำสง่ั ไมง ดการขายทอดตลาดไปแลว โดยไมจ ำตอ ง
มารองขอตอศาลใหเพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความกอนแตอยางใด ทั้งการที่ผูรอง
ยน่ื คำรอ งขอใหศ าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั เพกิ ถอนการทำสญั ญาประนปี ระนอมยอมความมผี ลเปน
อยา งเดยี วกบั การขอใหเ พกิ ถอนคำพพิ ากษาตามยอมซง่ึ ตอ งกระทำโดยศาลสงู ในคดแี พง ดงั กลา ว
ไมใชศาลลมละลายกลาง ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งมานั้นศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ
ไมเหน็ พองดว ย อทุ ธรณของผูคัดคานฟงขน้ึ บางสว น

พิพากษากลบั ใหย กคำรอ ง คาฤชาธรรมเนยี มทัง้ สองศาลใหเปนพับ.

(เพชรนอ ย สมะวรรธนะ - สถาพร วิสาพรหม - เกยี รติคุณ แมนเลขา)

รติมา ชัยสุโรจน - ยอ
วิรัตน วศิ ษิ ฏวงศกร - ตรวจ

๑๒๒

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๔๘๑๘/๒๕๖๑ บรษิ ัทบรหิ ารสนิ ทรัพย

กรุงเทพพาณชิ ย จำกดั โจทก

เจา พนักงานพทิ กั ษท รพั ย ผรู อ ง

กองมรดกของ

นายชวาล รตภิ ักดี

หรอื โสตถวิ ันวงศ

กบั พวก ผูคดั คา น

บริษัทซี.เอส.

อินเตอรเนชนั่ แนล

อีเลค็ โทรนคิ ส จำกดั

กบั พวก จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดิม)

จำเลยที่ ๓ ทำหนังสือสัญญาโอนเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายใหแก
ผูคัดคานที่ ๒ พรอมทั้งยื่นคำขอโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนแลวและ
ชำระคาคำขอโอนสิทธิในวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ นิติกรรมที่จำเลยที่ ๓ ไดกระทำลง
เพอ่ื โอนสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ จงึ เสรจ็ สน้ิ ในวนั
ดงั กลา ว แมศ าลจงั หวดั พระโขนงไดม คี ำสง่ั เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ มนี าคม ๒๕๕๕ ใหน ายทะเบยี น
สำนกั เครอ่ื งหมายการคา ระงบั การจดทะเบยี นโอนสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ไวช ว่ั คราว
กอนก็ตาม แตคำสั่งของศาลจังหวัดพระโขนงมิไดทำใหการทำนิติกรรมโอนสิทธิใน
เครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายระหวางจำเลยที่ ๓ และผูคัดคานที่ ๒ ที่ไดทำขึ้น
กอ นหนา ตอ งเสยี ไป ทง้ั คำพพิ ากษาตามยอมของศาลจงั หวดั พระโขนงในเวลาตอ มากย็ งั
คงยนื ยนั สทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สอง สว นทน่ี ายทะเบยี นเขยี นขอ ความวา อนญุ าต
โอนลงวนั ท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๕ กเ็ ปน กรณที น่ี ายทะเบยี นดำเนนิ การตามคำขอโอนสทิ ธิ
และนิติกรรมการโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายที่จำเลยที่ ๓ และ
ผูคัดคานที่ ๒ ไดกระทำไวกอนหนา ทั้งตามหนังสือของสำนักเครื่องหมายการคาที่แจง
ใหผูคัดคานที่ ๒ ทราบวา ไดรับจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนโดยตาม

๑๒๓

รายการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงเจาของก็ระบุชัดเจนวา มีการโอนเครื่องหมายการคา
ทง้ั สองเครอ่ื งหมายใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔ จงึ ฟง ไดว า นติ กิ รรม
ที่จำเลยที่ ๓ ไดกระทำลงเพื่อโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายใหแก
ผูคัดคานที่ ๒ เกิดขึ้นในวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ สวนการที่นายทะเบียนเครื่องหมาย
การคา จะดำเนนิ การเกย่ี วกบั การจดทะเบยี นโอนสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ในวนั ใดหลงั
จากนัน้ ก็เปนข้นั ตอนทนี่ ายทะเบียนตอ งดำเนินการตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วของตอไป การ
ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของนายทะเบยี นในภายหลงั มใิ ชน ติ กิ รรมอนั จำเลยท่ี ๓ ไดก ระทำ
ลงทีผ่ รู อ งอาจรองขอใหเ พกิ ถอนได

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) บญั ญตั วิ า การขอใหศ าลเพกิ ถอน
การฉอ ฉลตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยน น้ั ใหเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยข อได
โดยทำเปน คำรอ ง ซง่ึ เปนเรือ่ งที่กฎหมายลม ละลายใหอำนาจแกเจาพนกั งานพิทักษท รพั ย
ทีจ่ ะกระทำการแทนเจา หนไ้ี ดเปน กรณีพเิ ศษโดยไมต อ งไปฟอ งเปน คดขี นึ้ มาใหมเทา นัน้
แตเ จา หนท้ี ี่มสี ิทธขิ อใหศาลเพิกถอนนติ กิ รรมใด ๆ อันลูกหนไ้ี ดกระทำลงไปทัง้ ที่รอู ยูว า
จะเปน ทางใหเ จา หนเ้ี สยี เปรยี บจะตอ งเปน ผทู เ่ี ปน เจา หนอ้ี ยแู ลว ในขณะทล่ี กู หนไ้ี ดท ำ
นติ กิ รรมดงั กลา ว เจา หนภ้ี ายหลงั จะถอื ยอ นไปวา ตนไดถ กู ฉอ ฉลดว ยตง้ั แตย งั ไมไ ดอ ยู
ในฐานะเจา หน้นี ้ันมิได คำรองของผูรอ งบรรยายวา การโอนสทิ ธิในเครอ่ื งหมายการคา
ดังกลา วทำใหโ จทกซ ึ่งย่นื คำขอรับชำระหนีจ้ ากกองมรดกของจำเลยท่ี ๓ ตอ งเสียเปรียบ
แตเ มอ่ื โจทกไ ดร บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งทม่ี ตี อ จำเลยท่ี ๓ มาจากบรรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทย
เมอ่ื วันท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๕ ฐานะความเปน เจาหนขี้ องโจทกท่ีมตี อจำเลยท่ี ๓ จึงเกิดขึน้
นับแตวันดงั กลาวเปน ตนมา เมอ่ื จำเลยท่ี ๓ ทำนติ กิ รรมโอนสทิ ธิในเครื่องหมายการคา
ทง้ั สองเครอ่ื งหมายใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ กอ นโจทกไ ดร บั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งทม่ี ตี อ จำเลยท่ี ๓
โจทกจ งึ ไมอ ยใู นฐานะเจา หน้ีที่อาจเสียเปรียบได แมจ ำเลยที่ ๓ จะโอนสทิ ธใิ นเครือ่ งหมาย
การคาทั้งสองเครื่องหมายโดยไมมีคาตอบแทน ผูรองก็ไมมีสิทธิรองขอใหเพิกถอนการ
ฉอฉลได

______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยจำเลยที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔
เด็ดขาดและพพิ ากษาใหจ ดั การทรพั ยม รดกของจำเลยท่ี ๓ เมื่อวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙

๑๒๔

ผูรองยื่นคำรองวา จำเลยที่ ๓ โอนสิทธิในเครื่องหมายการคา “SAFE - T - CUT”
และเครอ่ื งหมายการคา “เซฟ - ที - คทั ” ใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ โดยไมม คี า ตอบแทน อนั เปน นติ กิ รรม
ที่จำเลยที่ ๓ กระทำลงโดยรูวาเปนทางใหโจทกซึ่งเปนเจาหนี้เสียเปรียบ ขอใหมีคำสั่งเพิกถอน
การโอนเครอ่ื งหมายการคา “SAFE - T - CUT” และเครอ่ื งหมายการคา “เซฟ - ที - คทั ” ระหวา ง
จำเลยที่ ๓ กับผูคัดคานที่ ๒ ใหผูคัดคานที่ ๒ โอนเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายคืน
กองมรดกของจำเลยท่ี ๓ หากไมโ อนใหถ อื เอาคำสง่ั ของศาลแทนการแสดงเจตนา กรณที ไ่ี มอ าจ
กลบั คนื สฐู านะเดมิ ได ใหผ คู ดั คา นท่ี ๒ ชดใชร าคาเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายเปน เงนิ
๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ศาลมีคำสั่งเปนตนไป
จนกวา จะชำระเสร็จ

ผูคัดคานทั้งสองยื่นคำคัดคา นขอใหยกคำรอง
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหเ พกิ ถอนการโอนเครอ่ื งหมายการคา “SAFE - T - CUT”
ตามคำขอจดทะเบียนเลขที่ ๓๖๘๙๖๘ ทะเบียนเลขที่ ค๙๒๖๑๔ และเครื่องหมายการคา
“เซฟ - ที - คัท” ตามคำขอจดทะเบียนเลขที่ ๓๑๔๒๔๕ ทะเบียนเลขที่ ค๖๑๐๐๔ ระหวาง
จำเลยที่ ๓ กับผูคัดคานที่ ๒ ที่ไดกระทำเมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ และใหกองมรดกของ
จำเลยท่ี ๓ ผคู ดั คา นท่ี ๑ กบั ผคู ดั คา นท่ี ๒ กลบั คนื สฐู านะเดมิ โดยใหผ คู ดั คา นท่ี ๒ โอนเครอ่ื งหมาย
การคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายดงั กลา วคนื กองมรดกของจำเลยท่ี ๓ หากไมย อมปฏบิ ตั ใิ หถ อื เอาคำสง่ั
ของศาลเปน การแสดงเจตนา ในกรณที ไ่ี มอ าจกลบั คนื สฐู านะเดมิ ได ใหผ คู ดั คา นท่ี ๒ ชดใชร าคา
เครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายแทนเปน เงนิ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท พรอ มดอกเบย้ี ในอตั รา
รอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ในตน เงนิ ดงั กลา วนบั แตว นั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั ใหเ พกิ ถอนเปน ตน ไปจนกวา จะชำระ
เสรจ็ คาฤชาธรรมเนยี มใหเปนพับ
ผูคดั คานทัง้ สองอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติวา
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔ จำเลยท่ี ๓ ทำหนงั สอื สญั ญาโอนเครอ่ื งหมายการคา “SAFE - T - CUT”
ตามคำขอจดทะเบียนเลขที่ ๓๖๘๙๖๘ ทะเบียนเลขที่ ค๙๒๖๑๔ และเครื่องหมายการคา
“เซฟ - ที - คทั ” ตามคำขอจดทะเบยี นเลขท่ี ๓๑๔๒๔๕ ทะเบยี นเลขท่ี ค๖๑๐๐๔ ใหแ กผ คู ดั คา น
ที่ ๒ และในวันเดียวกันไดยื่นคำขอโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนแลว ตอมาวันที่
๑๕ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕ จำเลยท่ี ๔ ฟอ งจำเลยท่ี ๓ ในฐานะผจู ดั การมรดกของนางสมุ าลเี กย่ี วกบั
สิทธิในเครื่องหมายการคา ท้งั สองเครอื่ งหมายในสว นของนางสมุ าลตี อ ศาลจังหวัดพระโขนงเปน
คดีหมายเลขดำที่ พ.๒๔๐/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๕ คูความตกลงกันไดจึงทำสัญญา
ประนีประนอมยอมความและศาลพิพากษาตามยอม ตอมานายทะเบียนเครื่องหมายการคา

๑๒๕

มหี นงั สอื ลงวนั ท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๕๕ แจง ผคู ดั คา นท่ี ๒ ใหท ราบวา ไดร บั จดทะเบยี นเปลย่ี นแปลง
รายการในทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายตามคำรอ งลงวนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔
แลว

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยประการแรกวา จำเลยที่ ๓ ไดกระทำนิติกรรมโอนสิทธิใน
เคร่อื งหมายการคา ท้งั สองเคร่ืองหมายในวนั ใด เห็นวา จำเลยท่ี ๓ ทำหนงั สอื สัญญาโอนเครอ่ื งหมาย
การคา ทง้ั สองเครอื่ งหมายใหแกผคู ดั คา นท่ี ๒ พรอ มท้ังยนื่ คำขอโอนสทิ ธิในเครื่องหมายการคา
ทจี่ ดทะเบยี นแลว และชำระคา คำขอโอนสทิ ธใิ นวนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔ นิติกรรมทีจ่ ำเลยที่ ๓
ไดกระทำลงเพื่อโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายใหแกผูคัดคานที่ ๒ จึงเสร็จสิ้น
ในวนั ดงั กลา ว สว นทผ่ี รู อ งอา งวา ภายหลงั จำเลยท่ี ๓ ทำสญั ญาโอนและยน่ื คำขอโอนเครอ่ื งหมาย
การคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายแลว จำเลยท่ี ๔ ยน่ื ฟอ งจำเลยท่ี ๓ ในฐานะผจู ดั การมรดกของนางสมุ าลี
ตอ ศาลจงั หวดั พระโขนง ซง่ึ ศาลมคี ำสง่ั ใหร ะงบั การจดทะเบยี นโอนสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา
ดังกลาวชั่วคราว หลังจากศาลจังหวัดพระโขนงมีคำพิพากษาตามยอม นายทะเบียนเครื่องหมาย
การคาจึงจดทะเบียนโอนเครอ่ื งหมายการคา ท้งั สองเครอ่ื งหมายใหแกผ คู ัดคา นที่ ๒ ในวนั ที่ ๒๗
ตุลาคม ๒๕๕๕ นิติกรรมการโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายจึงเกิดในวัน
ดังกลาวนั้น แมศาลจังหวัดพระโขนงไดมีคำสั่งเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๕ ใหนายทะเบียน
สำนักเครื่องหมายการคาระงับการจดทะเบียนโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาตามคำขอจดทะเบียน
เลขท่ี ๓๖๘๙๖๘ และเลขท่ี ๓๑๔๒๔๕ ไวช ว่ั คราวกอ นกต็ าม แตค ำสง่ั ของศาลจงั หวดั พระโขนง
มิไดทำใหการกระทำนิติกรรมโอนสิทธิในเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายระหวางจำเลยที่ ๓
และผูคดั คานที่ ๒ ที่ไดทำขนึ้ กอ นหนา ตองเสียไป ท้งั คำพิพากษาตามยอมของศาลจังหวัดพระโขนง
ในเวลาตอมาก็ยังคงยืนยันสิทธิในเครื่องหมายการคาทั้งสองเครื่องหมายของจำเลยที่ ๓ สวนที่
สำเนาเอกสารหมาย ร.๙ แผน ท่ี ๓ และ ร.๑๐ แผน ท่ี ๓ มขี อ ความเขยี นดว ยลายมอื ความวา
อนญุ าตโอนลงวนั ท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๕ กเ็ ปน กรณที น่ี ายทะเบยี นดำเนนิ การตามคำขอโอนสทิ ธิ
และนติ กิ รรมการโอนสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายทจ่ี ำเลยท่ี ๓ และผคู ดั คา นท่ี ๒
ไดกระทำไวกอนหนา อีกทั้งยังปรากฏตามหนังสือลงวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ ของสำนัก
เครอ่ื งหมายการคา ทอ่ี อกมาภายหลงั วนั ดงั กลา วแจง ใหผ คู ดั คา นท่ี ๒ ทราบวา ไดร บั จดทะเบยี น
เปลย่ี นแปลงรายการในทะเบยี นตามคำรอ ง ก.๐๖ ลงวนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔ โดยตามรายการ
จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงเจาของกร็ ะบุชดั เจนวา มีการโอนเคร่อื งหมายการคาทั้งสองเคร่อื งหมาย
ใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔ ขอ เทจ็ จรงิ จงึ รบั ฟง ไดว า นติ กิ รรมทจ่ี ำเลยท่ี ๓
ไดก ระทำลงเพอ่ื โอนสทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมายใหแ กผ คู ดั คา นท่ี ๒ เกดิ ขน้ึ ใน

๑๒๖

วนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๔ สว นการทน่ี ายทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา จะดำเนนิ การเกย่ี วกบั การ
จดทะเบียนโอนสิทธิในเครื่องหมายการคา ในวนั ใดหลงั จากน้นั กเ็ ปน ข้ันตอนทน่ี ายทะเบยี นตอ ง
ดำเนนิ การตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งตอ ไป การดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของนายทะเบยี นในภายหลงั
มิใชน ติ กิ รรมอันจำเลยท่ี ๓ ไดกระทำลงทผ่ี ูรองอาจรอ งขอใหเพิกถอนได อุทธรณข องผคู ัดคา น
ทัง้ สองขอ นฟ้ี งข้นึ

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยประการตอไปวา ผูรองมีสิทธิรองขอใหเพิกถอนนิติกรรมโอน
สทิ ธใิ นเครอ่ื งหมายการคา ทั้งสองเครื่องหมายระหวางจำเลยที่ ๓ กับผคู ดั คา นที่ ๒ หรอื ไม เหน็ วา
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดิม) บัญญัติวา การขอใหศาลเพิกถอน
การฉอ ฉลตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยน ั้น ใหเจา พนกั งานพทิ กั ษทรพั ยขอไดโ ดยทำ
เปน คำรอง ซึ่งเปน เร่อื งท่ีกฎหมายลมละลายใหอำนาจแกเ จาพนกั งานพิทักษท รัพยท ี่จะกระทำการ
แทนเจา หนีไ้ ดเปน กรณีพเิ ศษโดยไมตองไปฟอ งเปนคดีขนึ้ มาใหมเ ทา นนั้ แตเจาหนี้ทมี่ สี ิทธิขอให
ศาลเพกิ ถอนนติ กิ รรมใด ๆ อนั ลกู หนไ้ี ดก ระทำลงไปทง้ั ทร่ี อู ยวู า จะเปน ทางใหเ จา หนเ้ี สยี เปรยี บ
จะตอ งเปน ผทู เ่ี ปน เจา หนอ้ี ยแู ลว ในขณะทล่ี กู หนไ้ี ดท ำนติ กิ รรมดงั กลา ว เจา หนภ้ี ายหลงั จะถอื ยอ น
ไปวาตนไดถ กู ฉอฉลดว ยตั้งแตยังไมไ ดอ ยใู นฐานะเจา หนนี้ ้ันมิได คำรอ งของผูรอ งบรรยายวา การ
โอนสทิ ธใิ นเคร่อื งหมายการคา ดงั กลา วทำใหโ จทกซ งึ่ ยืน่ คำขอรับชำระหนีจ้ ากกองมรดกของ
จำเลยที่ ๓ เปนเงิน ๕๐๗,๗๖๐,๘๙๙.๑๘ บาท ตองเสียเปรียบ แตเมื่อโจทกไดรับโอนสิทธิ
เรียกรองในมูลหนต้ี ามคำพพิ ากษา ๔ คดี ทม่ี ตี อ จำเลยท่ี ๓ มาจากบรรษทั บริหารสนิ ทรพั ยไ ทย
เม่อื วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ ฐานะความเปน เจา หนข้ี องโจทกท่ีมีตอ จำเลยท่ี ๓ จึงเกดิ ข้นึ นับแต
วนั ดังกลาวเปน ตนมา เมอื่ จำเลยที่ ๓ ทำนติ ิกรรมโอนสิทธิในเครอ่ื งหมายการคา ทง้ั สองเครอ่ื งหมาย
ใหแกผูคัดคานที่ ๒ กอนโจทกไดรับโอนสิทธิเรียกรองที่มีตอจำเลยที่ ๓ เปนเวลา ๑๑ เดือนเศษ
โจทกจ งึ ไมอ ยใู นฐานะเจา หน้ที อี่ าจเสียเปรียบได แมจำเลยท่ี ๓ จะโอนสทิ ธิในเคร่ืองหมายการคา
ทั้งสองเครื่องหมายโดยไมมีคาตอบแทน ผูรองก็ไมมีสิทธิรองขอใหเพิกถอนการฉอฉลได ที่ศาล
ลมละลายกลางมคี ำสั่งมานั้น ศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมเ ห็นพอ งดวย อุทธรณของผคู ัดคาน
ทงั้ สองฟง ข้นึ

พิพากษากลับ ใหย กคำรอ ง คา ฤชาธรรมเนียมท้ังสองศาลใหเปนพบั .

(อดศิ กั ด์ิ ศรธนะรตั น - ปฏกิ รณ คงพิพธิ - พูนศกั ด์ิ เข็มแซมเกษ)

หมายเหตุ คดีถึงท่สี ุด รติมา ชัยสโุ รจน - ยอ
วิรัตน วศิ ษิ ฏว งศกร - ตรวจ

๑๒๗

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษที่ ๑๒๓๗/๒๕๖๒ ธนาคารกรงุ เทพ จำกดั

(มหาชน) โจทก

เจาพนักงานพิทกั ษทรพั ย ผูรอ ง

นางสาวปทมา

ศรศี ักดิ์ ผคู ดั คา น

บรษิ ทั อารโ ตว ดู

(ไทยแลนด) จำกัด

กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๐
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ (๓)
พ.ร.บ. ลมละลาย (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๒, ๑๕, ๒๐

โจทกเ ปน เจา หนผ้ี ยู น่ื คำรอ งขอใหผ รู อ งดำเนนิ การเพกิ ถอนการขายทด่ี นิ พพิ าท
ของจำเลยที่ ๕ โจทกจึงเปนเจาหนี้ผูเกี่ยวของในเรื่องนี้ อายุความการใชสิทธิเรียกรอง
ของผรู อ งตอ งบงั คบั ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๐ โดยตอ งถอื อายคุ วามของเจา หนผ้ี เู กย่ี วขอ ง
ไดรูตนเหตุอันเปนมูลใหเพิกถอนเปนเกณฑพิจารณา แมระหวางการพิจารณาของศาล
ลม ละลายกลาง มี พ.ร.บ. ลม ละลาย (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๕ ใหเ พม่ิ เตมิ พ.ร.บ.
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ วรรคสอง ซง่ึ บญั ญตั ใิ หอ ายคุ วามการขอใหเ พกิ ถอน
ตามมาตรา ๑๑๓ วรรคหนง่ึ หา มมใิ หข อเมอ่ื พน หนง่ึ ปน บั แตเ วลาทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ไดร ตู น เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอนกต็ าม แตต าม พ.ร.บ. ลม ละลาย (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรา ๒ และมาตรา ๒๐ ซึ่งเปนบทบัญญัติใหมีผลบังคับเฉพาะกาล ก็บัญญัติใหคดี
ลมละลายที่ไดยื่นฟองกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับคือวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๑
และยังคงคางพิจารณาอยูในระหวางปฏิบัติการของเจาพนักงานพิทักษทรัพย ใหบังคับ
ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ ซง่ึ ใชอ ยกู อ นวนั ดงั กลา วจนกวา คดจี ะถงึ ทส่ี ดุ เมอ่ื คดนี ้ี
โจทกฟ อ งกอ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั ดิ งั กลา วใชบ งั คบั คดขี องผรู อ งยงั คงตอ งใชอ ายคุ วาม
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๐ บังคับอยูตามเดิม ขอเท็จจริงปรากฏวา โจทกไดตรวจสอบ
สารบบขอมูลทางทะเบียนของที่ดินพิพาทเมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๐ วาจำเลยที่ ๕

๑๒๘

และนางประภาผูถือกรรมสิทธิ์รวมไดขายที่ดินพิพาทโดยอาจทำใหเจาหนี้เสียเปรียบ
จึงถือวาเปนวันที่โจทกไดรูตนเหตุอันเปนมูลใหเพิกถอน และการที่เจาหนี้ไดรูตนเหตุ
อันเปนมูลใหเพิกถอนก็ไมจำเปนที่เจาหนี้จะตองรูแนชัดถึงขนาดเห็นไดวาลูกหนี้ทำ
นติ กิ รรมโดยรอู ยวู า เปน ทางใหเ จา หนต้ี อ งเสยี เปรยี บอนั เปน การฉอ ฉลเจา หนแ้ี ลว เพราะ
กรณเี พยี งแตใ หเ จา หนร้ี ถู งึ ตน เหตทุ จ่ี ะเปน มลู ใหด ำเนนิ การเพอ่ื ขอใหเ พกิ ถอนการฉอ ฉล
ไดตอไปเทานั้น สวนการรองขอเพิกถอนการฉอฉลเปนอำนาจหนาที่ตามกฎหมายของ
ผูรองที่จะตองพิจารณาดำเนินการสอบสวนเมื่อมีเจาหนี้รายใดมาแจงใหทราบถึงการ
จำหนา ยจา ยโอนทรพั ยส นิ ของลกู หน้ี หากตอ มาผรู อ งเหน็ วา มเี หตทุ จ่ี ะรอ งขอใหเ พกิ ถอน
การฉอ ฉลของลกู หนไ้ี ด กต็ อ งยน่ื คำรอ งตอ ศาลใหท นั ภายในกำหนดอายคุ วาม มใิ ชห นา ท่ี
เจา หนจ้ี ะตอ งพจิ ารณาจนรวู า การทำนติ กิ รรมของลกู หนเ้ี ปน ทางใหเ จา หนเ้ี สยี เปรยี บกอ น
ที่จะมาแจงใหผูรองทราบ เมื่อนับแตวันที่โจทกซึ่งเปนเจาหนี้ไดรูตนเหตุอันเปนมูลให
เพิกถอนดังกลาวจนถึงวันที่ผูรองยื่นคำรองคดีนี้เปนเวลาเกินกวาหนึ่งป คดีของผูรอง
จงึ ขาดอายคุ วามตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) ประกอบ ป.พ.พ.
มาตรา ๒๔๐

______________________________

คดีสบื เนอ่ื งมาจากโจทกฟ อ งขอใหม คี ำสั่งพทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทั้งหา เด็ดขาดวันที่
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ และศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งหาเด็ดขาด
วันที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘

ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหม คี ำสง่ั เพกิ ถอนนติ กิ รรมการซอ้ื ขายทด่ี นิ พพิ าทพรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง
ระหวา งจำเลยท่ี ๕ และนางประภากบั ผคู ัดคานเฉพาะสวนของจำเลยที่ ๕ และใหจ ำเลยที่ ๕
กับผูคัดคานกลับคืนสูฐานะเดิม โดยใหผูคัดคานโอนที่ดินพิพาทเฉพาะสวนของจำเลยที่ ๕
คนื กองทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๕ หากไมโ อนใหถ อื เอาคำสง่ั หรอื คำพพิ ากษาของศาลเปน การแสดง
เจตนาของผูคัดคาน กรณีไมอาจกลับคืนสูฐานะเดิมได ขอใหผูคัดคานชดใชราคาที่ดินพิพาท
เฉพาะสวนของจำเลยที่ ๕ เปนเงิน ๑,๐๑๗,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป
ของตนเงินดังกลาวนับแตวันที่ศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาใหเพิกถอนการซื้อขายเปนตนไป
จนกวาชำระเสร็จ

ผูค ดั คา นยน่ื คำคัดคา นขอใหยกคำรอง
ศาลลม ละลายกลางมีคำส่ังยกคำรอ ง คาฤชาธรรมเนียมใหเ ปนพับ

๑๒๙

ผูรองอทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ฟง ยตุ วิ า เมอ่ื วนั ท่ี
๒๐ มนี าคม ๒๕๕๘ จำเลยที่ ๕ และนางประภาจดทะเบยี นขายทดี่ นิ พพิ าทตามโฉนดที่ดนิ เลขท่ี
๑๕๐๘๗๕ ตำบลบางจาก อำเภอพระโขนง กรงุ เทพมหานคร พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งเลขท่ี ๙๙๐/๓๘
แกผ คู ดั คา นในราคา ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท ตอ มาวนั ท่ี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ โจทกฟ อ งจำเลยท่ี ๕
ขอใหล ม ละลายเปน คดนี ้ี และวนั ท่ี ๑๐ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๐ โจทกย น่ื คำรอ งขอใหผ รู อ งดำเนนิ การ
เพิกถอนการขายที่ดินพิพาทเฉพาะสวนของจำเลยที่ ๕ อางวาเปนการกระทำการฉอฉลของ
จำเลยที่ ๕ ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดิม) และมาตรา ๑๑๔
ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผรู อ งมวี า คดขี องผรู อ งขาดอายคุ วามหรอื ไม ทผ่ี รู อ งอทุ ธรณว า
วันที่โจทกยื่นคำรองตอผูรองขอใหดำเนินการเพิกถอนการขายที่ดินพิพาทของจำเลยที่ ๕
เปน วนั ทโ่ี จทกแ ละผรู อ งไดร ถู งึ ตน เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอนนน้ั เหน็ วา โจทกเ ปน เจา หนผ้ี ยู น่ื คำรอ ง
ขอใหผ รู อ งดำเนนิ การเพกิ ถอนการขายทด่ี นิ พพิ าทของจำเลยท่ี ๕ โจทกจ งึ เปน เจา หนผ้ี เู กย่ี วขอ ง
ในเรอ่ื งน้ี อายคุ วามการใชส ทิ ธเิ รยี กรอ งของผรู อ งตอ งบงั คบั ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
มาตรา ๒๔๐ โดยตองถืออายุความของเจาหนี้ผูเกี่ยวของไดรูตนเหตุอันเปนมูลใหเพิกถอนเปน
เกณฑพิจารณา แมระหวางการพิจารณาของศาลลมละลายกลาง มีพระราชบัญญัติลมละลาย
(ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๕ ใหเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๑๓ วรรคสอง ซึ่งบัญญัติใหอายุความการขอใหเพิกถอนตามมาตรา ๑๑๓ วรรคหนึ่ง
หา มมใิ หข อเมอ่ื พน หนง่ึ ปน บั แตเ วลาทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยไ ดร ตู น เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอน
ก็ตาม แตตามพระราชบัญญัติลมละลาย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๒ และมาตรา ๒๐
ซึ่งเปนบทบัญญัติใหมีผลบังคับเฉพาะกาล ก็บัญญัติใหคดีลมละลายที่ไดยื่นฟองกอนวันที่
พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับคือวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๑ และยังคงคางพิจารณาอยูในระหวาง
ปฏิบัติการของเจาพนักงานพิทักษทรัพยใหบังคับตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
ซึ่งใชอยูกอนวันดังกลาวจนกวาคดีจะถึงที่สุด เมื่อคดีนี้โจทกฟองวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘
กอนวันที่พระราชบัญญัติดังกลาวใชบังคับ คดีของผูรองยังคงตองใชอายุความตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๔๐ บังคับอยูตามเดิม ขอเท็จจริงปรากฏตามสำเนาคำรอง
ของโจทกเอกสารหมาย ร.๒๖ หรือ ค.๑๘ วาโจทกไดตรวจสอบสารบบขอมูลทางทะเบียนของ
ที่ดินพิพาททราบวา จำเลยที่ ๕ และนางประภาผูถือกรรมสิทธิ์รวมไดขายที่ดินพิพาทโดยอาจ
ทำใหเจาหนี้เสียเปรียบตามสำเนาโฉนดที่ดินและสำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดินเอกสารทาย
คำรองหมายเลข ๓ ซึ่งตรงกับเอกสารหมาย ร.๔ และ ร.๘ เมื่อพิจารณาสำเนาเอกสารทั้งสอง

๑๓๐

ฉบับนี้แลว มีเจาพนักงานที่ดินรับรองสำเนาถูกตองโดยลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๐ แสดงวา
โจทกไดไปตรวจสอบและขอคัดถายสำเนาเอกสารมาในวันดังกลาว โจทกจึงทราบการขายที่ดิน
พพิ าทของจำเลยท่ี ๕ ตง้ั แตว นั นน้ั แลว ซง่ึ ถอื วา เปน วนั ทโ่ี จทกไ ดร ตู น เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอน
และการทเ่ี จา หนไ้ี ดร ตู น เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอนกไ็ มจ ำเปน ทเ่ี จา หนจ้ี ะตอ งรแู นช ดั ถงึ ขนาดเหน็
ไดวาลกู หนี้ทำนติ กิ รรมโดยรูอยวู า เปนทางใหเจา หน้ีตอ งเสยี เปรียบอนั เปน การฉอ ฉลเจาหนี้แลว
เพราะกรณีเพียงแตใหเจาหนี้รูถึงตนเหตุที่จะเปนมูลใหดำเนินการเพื่อขอใหเพิกถอนการฉอฉล
ไดตอไปเทานั้น สวนการรองขอเพิกถอนการฉอฉลเปนอำนาจหนาที่ตามกฎหมายของผูรองที่
จะตองพิจารณาดำเนินการสอบสวนเมื่อมีเจาหนี้รายใดมาแจงใหทราบถึงการจำหนายจายโอน
ทรัพยสินของลูกหนี้ หากตอมาผูรองเห็นวามีเหตุที่จะรองขอใหเพิกถอนการฉอฉลของลูกหนี้ได
ก็ตองยื่นคำรองตอศาลใหทันภายในกำหนดอายุความ มิใชหนาที่เจาหนี้จะตองพิจารณาจนรูวา
การทำนิติกรรมของลูกหนี้เปนทางใหเจาหนี้เสียเปรียบกอนที่จะมาแจงใหผูรองทราบดังที่ผูรอง
อา งในอทุ ธรณ ดงั น้ี เมอ่ื นบั แตว นั ทโ่ี จทกซ ง่ึ เปน เจา หนไ้ี ดร ตู น เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอนดงั กลา ว
จนถงึ วันทีผ่ รู อ งย่ืนคำรอ งคดนี วี้ นั ที่ ๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๑ เปนเวลาเกินกวาหนึง่ ป คดขี องผรู อ ง
จึงขาดอายุความตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดิม) ประกอบ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๔๐ ที่ศาลลมละลายกลางวินิจฉัยปญหาขอนี้และ
มีคำสงั่ ยกคำรอ งของผูรอ งนัน้ ชอบแลว อทุ ธรณของผรู อ งฟงไมข น้ึ

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนียมในชน้ั อุทธรณใหเ ปน พบั .

(องอาจ งามมศี รี - โชคชยั รุจินินนาท - วิเชียร วชริ ประทปี )

รตมิ า ชยั สุโรจน - ยอ
วิรตั น วศิ ษิ ฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทีส่ ดุ

๑๓๑

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษที่ ๘๙๐/๒๕๖๔ ธนาคารกรุงเทพ

จำกัด (มหาชน) โจทก

เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ผูรอง

บริษทั บางกอกรบั เบอร

ดีเวลลอปเมนต

เซ็นเตอร จำกัด ผคู ัดคา น

บริษทั บางกอก รับเบอร จำกัด

(มหาชน) จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๐
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๓๑ วรรคสอง
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๔๑, ๑๑๓ (เดมิ ), ๑๔๕ (๑) ถงึ (๕)
พ.ร.บ. ลม ละลาย (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๒๐

คดีรองขอใหศาลเพิกถอนการฉอฉลตาม ป.พ.พ. เปนคดีแพงที่เกี่ยวพันกับคดี
ตามกฎหมายวาดวยลมละลาย และ พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดิม)
ใหอ ำนาจเจา พนักงานพิทกั ษท รัพยกระทำการแทนเจาหนโี้ ดยไมตองไปฟองเปน คดีใหม
เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งแลวจึงนำบทบัญญัติวาดวยการทุเลาการบังคับตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับได ทั้งจำเลยระบุในคำรองขอทุเลา
การบงั คบั วา เปน การขอทเุ ลาการบงั คบั คดใี นระหวา งการอทุ ธรณ และยน่ื มาพรอ มคำฟอ ง
อทุ ธรณโ ดยไมป รากฎวา เปน กรณที ม่ี เี หตฉุ กุ เฉนิ อยา งยง่ิ ตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๓๑ วรรคสอง
อำนาจสั่งคำรองฉบับดังกลาวเปนของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ศาลลมละลายกลาง
ไมมอี ำนาจสั่งคำรองขอทุเลาการบงั คับของจำเลย

โจทกฟ อ งขอใหจ ำเลยลม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๕๙ ศาลลม ละลายกลาง
มีคำสัง่ พิทักษท รพั ยของจำเลยเดด็ ขาดวนั ท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ คดีน้ีจึงเปน คดลี ม ละลาย
ที่ไดยนื่ ฟองกอ นวนั ท่ี พ.ร.บ. ลม ละลาย (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ ใชบังคับ และยงั คงคาง
พิจารณาอยูในศาลหรืออยูระหวางปฏิบัติการของเจาพนักงานพิทักษทรัพย อายุความ
ทใ่ี ชบ งั คบั ตอ งเปน ไปตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) ซง่ึ ใชอ ยกู อ น
วนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั ฉิ บบั ดงั กลา วใชบ งั คบั ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๓๒

มาตรา ๒๐ โดยบังคับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๒๔๐ ที่หามมิใหรองขอเพิกถอนเมื่อพน ๑ ป
นบั แตเ วลาทเ่ี จา หนไ้ี ดร ตู น เหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอน เมอ่ื ผรู บั มอบอำนาจโจทกซ ง่ึ เปน
เจาหนี้ที่ยื่นคำรองขอใหผูรองยื่นคำรองขอใหศาลมีคำสั่งเพิกถอนนิติกรรมทราบเรื่อง
การทำสญั ญาเชา เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๑ ผรู อ งยน่ื คำรอ งคดนี ต้ี อ ศาลลม ละลายกลาง
เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๒ ยังไมพนกำหนด ๑ ป นับแตวันที่โจทกไดรูตนเหตุอันเปนมูล
ขอใหเพิกถอน คำรองของผูรองไมขาดอายุความ เจาหนี้รายอื่นไมใชเจาหนี้ที่ยื่นคำรอง
ขอใหผูรองยื่นคำรองขอใหศาลมีคำสั่งเพิกถอนนิติกรรม จึงไมนับอายุความนับแตวันที่
เจา หนร้ี ายอ่ืนทราบเร่อื งการทำสัญญาเชา ทพี่ ิพาท

การขอใหศ าลเพกิ ถอนนติ กิ รรมทเ่ี ปน การฉอ ฉลเกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ของจำเลยใน
คดลี ม ละลายนน้ั เปน กรณที ก่ี ฎหมายคอื พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ )
กำหนดขน้ั ตอนและตวั บคุ คลทม่ี อี ำนาจยน่ื คำรอ งไวโ ดยเฉพาะ คอื เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ทั้งมิใชการกระทำที่ตองไดรับความเห็นชอบจากกรรมการเจาหนี้หรือที่ประชุมเจาหนี้
ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๕ (๑) ถงึ (๕) ประกอบมาตรา ๔๑ ผรู อ งจงึ
มีอำนาจดำเนินการไดโดยไมต อ งอาศยั อำนาจจากทป่ี ระชมุ เจา หน้ี

______________________________

คดีสบื เน่ืองมาจากโจทกย่ืนฟองขอใหจ ำเลยลม ละลายเม่ือวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๙
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสั่งพิทกั ษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดเมอื่ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐

ผูรองยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งเพิกถอนการทำสัญญาเชาระหวางจำเลยกับผูคัดคาน
ลงวนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ รวม ๓ ฉบบั คอื สญั ญาเชา เลขท่ี ๐๖๐/๒๕๖๐ เลขท่ี ๐๖๑/๒๕๖๐
และเลขที่ ๐๙๒/๒๕๖๐

จำเลยและผูคดั คา นยนื่ คำคัดคา นและแกไ ขคำคดั คานขอใหยกคำรอง
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหเ พกิ ถอนการทำสญั ญาเชา เลขท่ี ๐๖๐/๒๕๖๐ เลขท่ี ๐๖๑/๒๕๖๐
และเลขที่ ๐๙๒/๒๕๖๐ ระหวางจำเลยกับผูคัดคาน ใหลบ ขีดฆา หรือเพิกถอนรายการจดทะเบียน
การเชาทัง้ ๓ ฉบบั ออกจากสารบัญจดทะเบยี นท่ดี ิน คา ฤชาธรรมเนียมใหเ ปนพับ
จำเลยและผูค ัดคานอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ปรากฏในสำนวนดวยวา
ในวันยื่นอุทธรณคำสั่ง ลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๓ ของศาลลมละลายกลางนั้น จำเลยไดยื่น
คำรองลงวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ขอใหศาลมีคำสั่งทุเลาการบังคับในระหวางการอุทธรณ

๑๓๓

ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ใหย กคำรอ ง จำเลยยน่ื อทุ ธรณ ลง
วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ รับ
อทุ ธรณฉ บบั ดงั กลา วมาดว ยนน้ั คดนี เ้ี ปน คดรี อ งขอใหศ าลเพกิ ถอนการฉอ ฉลตามประมวลกฎหมาย
แพง และพาณชิ ย เปน คดแี พง ทเ่ี กย่ี วพนั กบั คดตี ามกฎหมายวา ดว ยลม ละลายและพระราชบญั ญตั ิ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) ใหอ ำนาจเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยก ระทำการแทน
เจา หนโ้ี ดยไมต อ งไปฟอ งเปน คดใี หม เมอ่ื ศาลมคี ำพพิ ากษาหรอื คำสง่ั แลว จงึ นำบทบญั ญตั วิ า ดว ย
การทเุ ลาการบงั คบั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาใชบ งั คบั ได ทศ่ี าลลม ละลายกลาง
มีคำสั่งวากฎหมายลมละลายไมนำการทุเลาการบังคับคดีมาใชและยกคำรองขอทุเลาการบังคับ
ของจำเลยจงึ เปน คำสง่ั ทม่ี ชิ อบ ทง้ั จำเลยระบใุ นคำรอ งขอทเุ ลาการบงั คบั วา เปน การขอทเุ ลาการ
บังคับคดีในระหวางการอุทธรณ และยื่นมาพรอมคำฟองอุทธรณ โดยไมปรากฏวาเปนกรณีที่มี
เหตุฉุกเฉินอยางยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๒๓๑ วรรคสอง อำนาจ
สั่งคำรองฉบับดังกลาวเปนของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ ศาลลมละลายกลางไมมีอำนาจ
สั่งคำรองขอทุเลาการบังคับของจำเลย จึงใหเพิกถอนคำสั่งศาลลมละลายกลาง ลงวันที่ ๒๓
พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ทใ่ี หย กคำรอ งขอทเุ ลาการบงั คบั ของจำเลย และศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
พิเคราะหแลวเห็นวา ไดทำคำพิพากษาคดีนี้เสร็จแลว จึงไมจำเปนตองสั่งคำรองขอทุเลาการ
บังคบั ของจำเลย

สำหรับอุทธรณของจำเลยและผูคัดคานเกี่ยวกับการขอใหเพิกถอนสัญญาเชานั้น
ขอเท็จจริงที่คูความไมโตแยงกันในชั้นนี้ฟงไดวา โจทกฟองขอใหจำเลยลมละลายเมื่อวันที่ ๒๓
กนั ยายน ๒๕๕๙ ตอ มาวนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ จำเลยทำสญั ญาเชา กบั ผคู ดั คา นรวม ๓ ฉบบั
คอื สญั ญาเชา เลขท่ี ๐๖๐/๒๕๖๐ เลขท่ี ๐๖๑/๒๕๖๐ และเลขท่ี ๐๙๒/๒๕๖๐ ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั
ตามอุทธรณของจำเลยและผูคัดคานขอแรกมีวา คำรองของผูรองขาดอายุความหรือไม จำเลย
และผูคัดคานอุทธรณในทำนองเดียวกันวา หลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด จำเลย
ไดสงมอบรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยสินและสัญญาเชาแกผูรองครบถวนแลวเปนเหตุใหในวันที่
๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ผูรองมีหนังสือทวงถามคาเชาไปยังผูคัดคาน วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๑
ผูรองแจงเรื่องสัญญาเชาและการรับเงินคาเชาตามสัญญาใหเจาหนี้ที่มาตรวจคำขอรับชำระหนี้
ทราบ นายนันทิภาคยผูรับมอบอำนาจโจทก เบิกความรับวา ไดเขารวมประชุมและตรวจคำขอ
รบั ชำระหนด้ี ว ย ผรู อ งชอบทจ่ี ะรอ งขอใหเ พกิ ถอนการทำสญั ญาเชา ดงั กลา วภายใน ๑ ป นบั จาก
วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๑ การที่ผูรองยื่นคำรองคดีนี้วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๒ คำรองของผูรอง
จึงขาดอายุความนั้น เห็นวา โจทกฟองขอใหจำเลยลมละลายเมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๙

๑๓๔

ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยเด็ดขาดวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ คดีนี้
จึงเปนคดีลมละลายที่ไดยื่นฟองกอนวันที่พระราชบัญญัติลมละลาย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
ใชบ งั คบั และยงั คงคา งพจิ ารณาอยใู นศาลหรอื อยรู ะหวา งปฏบิ ตั กิ ารของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
อายุความที่ใชบังคับตองเปนไปตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดิม)
ซง่ึ ใชอ ยกู อ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั ฉิ บบั ดงั กลา วใชบ งั คบั ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย (ฉบบั ท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๒๐ โดยบงั คับตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๒๔๐ ทีห่ า ม
มิใหรองขอเพิกถอนเมื่อพน ๑ ป นับแตเวลาที่เจาหนี้ไดรูตนเหตุอันเปนมูลใหเพิกถอน เมื่อ
นายนันทิภาคย ผูรับมอบอำนาจโจทกซึ่งเปนเจาหนี้ที่ยื่นคำรองขอใหผูรองยื่นคำรองขอใหศาล
มคี ำส่งั เพิกถอนนติ กิ รรม เบิกความวา พยานทราบเรื่องการทำสญั ญาเชา เม่ือวันท่ี ๑๑ เมษายน
๒๕๖๑ ผรู อ งยน่ื คำรอ งคดนี ต้ี อ ศาลลม ละลายกลางเมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ เมษายน ๒๕๖๒ ยงั ไมพ น กำหนด
๑ ป นับแตวันที่โจทกไดรูตนเหตุอันเปนมูลขอใหเพิกถอน คำรองของผูรองไมขาดอายุความ
ที่นางอักษราพยานจำเลยและผูคัดคานเบิกความวา พยานเปนผูรับมอบอำนาจบริษัทพี เอ
แคปปต อล จำกดั เจา หนร้ี ายท่ี ๙๔๔ พยานไปทก่ี รมบงั คบั คดใี นวนั ท่ี ๙ มกราคม ๒๕๖๑ ซง่ึ เปน
วนั นัดตรวจคำขอรบั ชำระหน้ี เจา พนักงานพทิ กั ษท รพั ยไ ดชีแ้ จงรายละเอียดเกี่ยวกบั กิจการและ
ทรพั ยส นิ ตา ง ๆ ของจำเลยใหเ จา หนท้ี ง้ั หลายทราบ เจา หนร้ี ายท่ี ๙๔๔ และเจา หนอ้ี กี หลายสบิ ราย
ที่ไปตรวจคำขอรับชำระหนี้รับทราบเกี่ยวกับการทำสัญญาเชาที่พิพาทนั้น เจาหนี้รายที่ ๙๔๔
ไมใ ชเ จา หนท้ี ย่ี น่ื คำรอ งขอใหผ รู อ งยน่ื คำรอ งขอใหศ าลมคี ำสง่ั เพกิ ถอนนติ กิ รรม จงึ ไมน บั อายคุ วาม
นบั แตว นั ทน่ี างอกั ษราหรอื เจา หนร้ี ายอน่ื ทราบเรอ่ื งการทำสญั ญาเชา ทพ่ี พิ าท อทุ ธรณข องจำเลย
และผูค ัดคานขอ นีฟ้ ง ไมข นึ้

ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยและผคู ดั คา นขอ ตอ ไปมวี า สญั ญาเชา ระหวา ง
จำเลยกับผูคัดคานเปนนิติกรรมที่เปนการฉอฉลหรือไม นายวรวิชพยานผูรอง เบิกความวาเงิน
ที่จำเลยจะไดรับจากการนำทรัพยสินไปใหผูคัดคานเชาทั้ง ๓ สัญญา คำนวณแลวเปนเงินรวม
๑๓๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ในระยะเวลา ๑๐ ป ไมรวมการเสียภาษี ที่ดินของจำเลยตามสัญญาเชา
เลขที่ ๐๖๐/๒๕๖๐ และเลขที่ ๐๖๑/๒๕๖๐ มีราคาประเมินเฉพาะที่ดิน ๑๙๕,๕๓๒,๘๐๐ บาท
และ ๑๓,๐๒๗,๙๔๐ บาท ตามลำดับ รวมเปน เงิน ๒๐๘,๕๖๐,๗๔๐ บาท สูงกวาเงินที่จะไดรับ
ตามสัญญาเชามาก ทั้งที่ยังไมรวมราคาของโรงงานและสิ่งปลูกสรางอื่น ๆ และมีโอกาสที่จะขาย
ไดร าคาสงู กวา ราคาประเมนิ กรณขี ายทอดตลาดมผี เู ขา แขง ขนั สรู าคาหลายราย ผคู ดั คา นซง่ึ เปน
ผูเชาทราบถึงสถานะทางการเงินของจำเลยเปนอยางดี เพราะกรรมการผูคัดคานที่ลงชื่อใน
สญั ญาเชา คอื พลเอกเชญิ ชยั และนางนชุ นาถลว นเปน กรรมการของจำเลยและเพง่ิ เขา เปน กรรมการ

๑๓๕

ของผูคัดคานเมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ นายนันทิภาคยเบิกความวา จำเลยเคยปรับปรุง
โครงสรางหนี้ภายใตคณะกรรมการเพื่อสงเสริมการปรับปรุงโครงสรางหนี้เมื่อป ๒๕๔๓ แตไม
สำเรจ็ ตอ มาไดย น่ื คำรอ งขอใหฟ น ฟกู จิ การครง้ั ท่ี ๑ ศาลมคี ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การและมคี ำสง่ั เหน็ ชอบ
ดวยแผนฟนฟูกิจการ จำเลยชำระหนี้ไดตามแผนในชวงป ๒๕๔๕-๒๕๔๗ เริ่มหยุดชำระหนี้
ตง้ั แตเ ดอื นมกราคม ๒๕๔๘ หลงั จากนน้ั มกี ารยน่ื คำรอ งขอแกไ ขแผนอกี ๔ ครง้ั ทป่ี ระชมุ เจา หน้ี
ไมย อมรับแผน ศาลมีคำสัง่ ยกเลิกการฟน ฟูกิจการเมื่อวันท่ี ๒๐ กนั ยายน ๒๕๕๐ ในวนั ดงั กลาว
บรษิ ทั พี เอ แคปปต อล จำกดั ยน่ื คำรอ งขอใหฟ น ฟกู จิ การของจำเลยเปน ครง้ั ท่ี ๒ ศาลมคี ำสง่ั ให
ฟน ฟกู จิ การ และตอ มามคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผนเมอ่ื วนั ท่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓ จำเลยชำระหน้ี
ตามแผนไดเพียง ๒ งวด แลวหยุดชำระหนี้ตั้งแตงวดเดือนมิถุนายน ๒๕๕๔ เรื่อยมาอางเหตุวา
ขาดสภาพคลอ งภายในกจิ การและแจง วา จะขอแกไ ขแผน แตไ มไ ดด ำเนนิ การใด ๆ จนศาลมคี ำสง่ั
ยกเลกิ การฟน ฟกู จิ การ ตอ มาจำเลยถกู ฟอ งขอใหล ม ละลายในคดนี ้ี หลงั จากศาลลม ละลายกลาง
มีคำสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษพิพากษายืน ศาลฎีกาไมอนุญาตให
จำเลยฎีกา เห็นวา โจทกฟองขอใหจำเลยลมละลายเมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๙ สัญญาเชา
ระหวา งจำเลยกบั ผคู ดั คา นทำเมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ภายหลงั มกี ารขอใหจ ำเลยลม ละลาย
ตอ งดวยบทบญั ญตั ิพระราชบัญญัตลิ มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๔ ทใี่ หสันนิษฐานไวก อ น
วาเปนการกระทำที่ลูกหนี้และผูที่ไดลาภงอกแตการนั้นรูอยูวาเปนทางใหเจาหนี้ตองเสียเปรียบ
การทำสัญญาเชาระหวางจำเลยกับผูคัดคานมีผลใหทรัพยสินของจำเลยเกิดภาระผูกพัน เงินที่
จะไดรับตามสัญญาเชานอกจากต่ำกวาราคาประเมินที่ดินที่ยังไมรวมราคาของโรงงานและ
สิ่งปลูกสรางอื่น ๆ เปนจำนวนมากแลว ยังตองใชเวลาตามสัญญาถึง ๑๐ ป ทั้งไดความวา
กรรมการของผคู ดั คา นทล่ี งชอ่ื ในสญั ญาเชา กเ็ ปน กรรมการของจำเลยอยดู ว ย ผคู ดั คา นยอ มทราบ
ถงึ สถานะทางการเงนิ ของจำเลยเปน อยา งดี ทจ่ี ำเลยนำสบื วา เหตทุ น่ี ำทรพั ยส นิ ออกใหผ คู ดั คา น
เชา เพอ่ื ใหธ รุ กจิ ผลติ รองเทา สามารถดำเนนิ การตอ ไปได เปน ประโยชนแ กเ จา หนเ้ี นอ่ื งจากจำเลย
จะไดค า เชา ผเู ชา จะดแู ลรกั ษาซอ มบำรงุ เครอ่ื งจกั รและทรพั ยส นิ ใหม สี ภาพดี กรรมสทิ ธใ์ิ นทรพั ยส นิ
ยังเปนของจำเลย ไมมีขอหามขายทรัพยสินระหวางสัญญาเชา สินคาคงคางไมเกิดการสูญเสีย
หากจำเลยถกู ศาลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาด กจิ การของจำเลยทด่ี ำเนนิ การอยู สนิ คา ทม่ี คี ำสง่ั
ซอ้ื และอยรู ะหวา งการผลติ ยงั ไมส ง มอบจะถกู ระงบั เกดิ ผลเสยี หาย อาจทำใหพ นกั งานและลกู จา ง
ของจำเลยประมาณ ๖,๐๐๐ คน ตอ งออกจากงาน จำเลยถอื หนุ ผคู ดั คา นรอ ยละ ๙๙ หากมผี ลกำไร
หรือเงินปนผลก็จะตกแกจำเลยนั้น มีน้ำหนักนอย ไมพอฟงหักลางขอสันนิษฐานของกฎหมาย
และพยานหลักฐานของผูรองดังกลาว ขอเท็จจริงฟงไดวา สัญญาเชาระหวางจำเลยกับผูคัดคาน

๑๓๖

เปนนิติกรรมที่จำเลยและผูคัดคานทำขึ้นโดยรูอยูวาเปนทางใหเจาหนี้ตองเสียเปรียบ จึงเปน
นติ กิ รรมท่เี ปน การฉอฉล ผรู อ งมีอำนาจย่ืนคำรองขอใหเ พิกถอนนติ ิกรรมดงั กลาวได

ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณอ กี วา ผรู อ งมไิ ดเ รยี กประชมุ เจา หนเ้ี พอ่ื ขอใหม มี ตวิ า จะรอ งขอใหเ พกิ ถอน
การทำสญั ญาเชา ระหวา งจำเลยกบั ผคู ดั คา นหรอื ไม การกระทำของผรู อ งเปน การจดั การทรพั ยส นิ
ของจำเลยโดยขดั ตอ กฎหมายนน้ั เหน็ วา การขอใหศ าลเพกิ ถอนนติ กิ รรมทเ่ี ปน การฉอ ฉลเกย่ี วกบั
ทรพั ยส นิ ของจำเลยในคดลี ม ละลายนน้ั เปน กรณที ก่ี ฎหมายคอื พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) กำหนดขน้ั ตอนและตวั บคุ คลทม่ี อี ำนาจยน่ื คำรอ งไวโ ดยเฉพาะ คอื เจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ย ทง้ั มใิ ชก ารกระทำทต่ี อ งไดร บั ความเหน็ ชอบจากกรรมการเจา หนห้ี รอื ทป่ี ระชมุ เจา หน้ี
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๕ (๑) ถงึ (๕) ประกอบมาตรา ๔๑ ผรู อ ง
จึงมีอำนาจดำเนินการไดโดยไมตองอาศัยอำนาจจากที่ประชุมเจาหนี้ อุทธรณของจำเลยขอนี้
ฟงไมขึ้น ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนการทำสัญญาเชาระหวางจำเลยกับผูคัดคาน
มานั้นชอบแลว อุทธรณของจำเลยและผูค ัดคานทกุ ขอฟง ไมข ้นึ

พพิ ากษายืน คา ฤชาธรรมเนยี มในชัน้ นใ้ี หเ ปนพบั .
(พสิ ทุ ธ์ิ ศรีขจร - โชคชัย รุจินินนาท - องอาจ งามมศี ร)ี

นราธิป บญุ ญพนชิ - ยอ
วริ ตั น วศิ ษิ ฏว งศกร - ตรวจ

๑๓๗

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๙๐/๒๕๖๕ บริษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย

พญาไท จำกัด โจทก

เจาพนกั งานพทิ กั ษท รัพย ผรู อง

นางสาวกรวไิ ล

เยยี วยาสัตว ผคู ดั คาน

นายทองสุข แสงจันทร

กบั พวก จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐, ๒๓๗, ๒๔๐
ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ), ๑๑๕
พ.ร.บ. จัดตัง้ ศาลลม ละลายและวิธพี ิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔

การรองขอใหศาลเพิกถอนเสียไดซึ่งนิติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ไดกระทำลงทั้งรู
อยวู า จะเปน ทางใหเ จา หนเ้ี สยี เปรยี บตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๒๓๗
นั้น เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะตองยื่นคำขอโดยทำเปนคำรองตาม พ.ร.บ. ลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) ภายในหนง่ึ ป นบั แตเ วลาทเ่ี จา หนผ้ี เู กย่ี วขอ งไดร ตู น เหตุ
อันเปนมูลใหเพิกถอน หรือภายในสิบปนับแตไดทำนิติกรรมนั้นตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา ๒๔๐ สวนการขอใหเพิกถอนการกระทำอันเปนการใหเปรียบ
ตามมาตรา ๑๑๕ นั้น กฎหมายมิไดบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงมีอายุความ ๑๐ ป
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย มาตรา ๑๙๓/๓๐

การท่ี พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๓ (เดมิ ) และมาตรา ๑๑๕ บญั ญตั ิ
ใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยรองขอตอศาลใหเพิกถอนการฉอฉลหรือการกระทำอันเปน
การใหเ ปรยี บเจา หนไ้ี ดน น้ั เปน เรอ่ื งทก่ี ฎหมายลม ละลายใหอ ำนาจแกเ จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ผูรองในอันที่จะกระทำแทนเจาหนี้ไดเปนกรณีพิเศษ โดยทำเปนคำรองตอศาล
ในคดีลมละลายไมตองไปฟองเปนคดีแพงใหมเทานั้น แตอายุความยอมเปนไปตาม
บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายในทางแพง ซง่ึ หาใชข อ กฎหมายอนั เกย่ี วดว ยความสงบเรยี บรอ ย
ของประชาชนแตประการใดไม เมื่อจำเลยที่ ๑ และผูคัดคานมิไดยื่นคำคัดคานปฏิเสธ

๑๓๘

ในคดีนี้มาตั้งแตแรกวา คดีของผูรองขาดอายุความตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง
ประกอบ พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔
คดีก็ไมมีประเด็นเรื่องของอายุความใหจำตองวินิจฉัย ที่ศาลลมละลายกลางวินิจฉัยวา
คดขี องผูรองขาดอายคุ วามโดยไมวนิ จิ ฉยั ในประเด็นขออน่ื อกี และใหยกคำรอ งนั้น ยอ ม
เปนการไมชอบ

_____________________________

คดีสืบเนอื่ งมาจากโจทกฟ องขอใหจ ำเลยทั้งสองลม ละลายเมอื่ วันท่ี ๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๐
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สองเดด็ ขาดเมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐
และพพิ ากษาใหจ ำเลยท้ังสองลมละลายเมอ่ื วนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒

ผรู องยื่นคำรอ งขอใหมีคำส่ังเพิกถอนการจำนองทดี่ ินระหวางจำเลยท่ี ๑ กบั ผคู ัดคาน
กับใหท ้งั สองฝายกลับคนื สูฐ านะเดิม

จำเลยที่ ๑ และผูคดั คานไมย่ืนคำคัดคาน
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหย กคำรอง คา ฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพับ
ผูร องอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความมิได
โตแยงกันในชั้นนี้ฟงไดวา จำเลยที่ ๑ กับนางออนลี้ เปนเจาของกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินโฉนด
เลขที่ ๑๘๔๒๕ ตำบลคลองสี่ (คลอง ๔ ออก) อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี (ธัญบุรี)
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐ ซง่ึ เปน วนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สองเดด็ ขาด
จำเลยที่ ๑ จดทะเบียนจำนองที่ดินแปลงดังกลาวเฉพาะสวนกรรมสิทธิ์ของตนไวแกผูคัดคาน
เพอ่ื เปนประกนั การกยู มื เงิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองมีวา คำสั่งศาลลมละลายกลางวา คดีผูรอง
ขาดอายุความโดยมิไดวินิจฉัยประเด็นขออื่นและใหยกคำรองของผูรองชอบหรือไม เห็นวา
การรอ งขอใหศ าลเพกิ ถอนเสยี ไดซ ง่ึ นติ กิ รรมใด ๆ อนั ลกู หนไ้ี ดก ระทำลงทง้ั รอู ยวู า จะเปน ทาง
ใหเ จา หนเ้ี สยี เปรยี บตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๒๓๗ นน้ั เจา พนกั งาน
พิทักษทรัพยจะตองยื่นคำขอโดยทำเปนคำรองตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๑๓ (เดิม) ภายในหนงึ่ ปน บั แตเ วลาทเ่ี จาหน้ผี เู กีย่ วขอ งไดร ูตน เหตอุ ันเปนมูลใหเ พิกถอน
หรือภายในสิบปนับแตไดทำนิติกรรมนั้น ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๔๐
สวนการขอใหเ พิกถอนการกระทำอนั เปนการใหเปรยี บตามพระราชบญั ญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓

๑๓๙

มาตรา ๑๑๕ นน้ั กฎหมายมไิ ดบ ญั ญตั อิ ายคุ วามไวโ ดยเฉพาะ จงึ มอี ายคุ วาม ๑๐ ป ตามประมวล
กฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๙๓/๓๐ คดนี ้ี ศาลลม ละลายกลางวนิ จิ ฉยั วา ผรู อ งยน่ื คำรอ ง
ขอใหเพิกถอนนิติกรรมจำนองระหวางจำเลยที่ ๑ กับผูคัดคาน เมื่อพน ๑ ป นับแตเจาหนี้ผูเปน
โจทกแ ละผรู อ งทราบเหตอุ นั เปน มลู ใหเ พกิ ถอนและพน ๑๐ ป นบั แตม กี ารทำนติ กิ รรม เนอ่ื งจาก
จำเลยท่ี ๑ กบั ผคู ดั คา นจดทะเบยี นจำนองทด่ี นิ เฉพาะสว นตนตอ พนกั งานเจา หนา ทเ่ี มอ่ื วนั ท่ี ๑๓
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐ ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอใหเ พกิ ถอนนติ กิ รรมจำนองตอ ศาลเมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน
๒๕๖๔ จงึ ขาดอายคุ วามตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๒๔๐ และ ๑๙๓/๓๐ แลว
แตปญหาวาคดีขาดอายุความหรือไมนั้น เห็นวา การที่พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๑๓ (เดิม) และมาตรา ๑๑๕ บัญญัติใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยรองขอตอศาลให
เพกิ ถอนการฉอ ฉลหรอื การกระทำอนั เปน การใหเ ปรยี บเจา หนไ้ี ดน น้ั เปน เรอ่ื งทก่ี ฎหมายลม ละลาย
ใหอำนาจแกเจาพนักงานพิทักษทรัพยผูรองในอันที่จะกระทำแทนเจาหนี้ไดเปนกรณีพิเศษ โดย
ทำเปนคำรองตอศาลในคดีลมละลายไมตองไปฟองเปนคดีแพงใหมเทานั้น แตอายุความยอม
เปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายในทางแพง ซึ่งอายุความทางแพงคือกำหนดระยะเวลาที่
กฎหมายบัญญัติใหใชสิทธิซึ่งเปนบุคคลสิทธิหรือสิทธิสวนบุคคลที่ใชบังคับสิทธิเรียกรองของตน
ตามกฎหมายอนั กอ ใหเ กดิ ผลวา หากเพกิ เฉยหรอื ปลอ ยปละละเลยจนระยะเวลาทก่ี ำหนดลว งพน ไป
สิทธิเรียกรองนั้นจะเปนอันยกขึ้นกลาวอางอีกมิได กำหนดอายุความทางแพงมีบัญญัติไวใน
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๑ ซึ่งเปนหลักทั่วไป ถึงแมกำหนดอายุความจะถูก
บัญญัติไวโดยกฎหมายแตก็หาใชขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน
แตประการใดไม ซึ่งแตกตางจากอายุความในทางกฎหมายอาญา เมื่อจำเลยที่ ๑ และผูคัดคาน
มไิ ดย น่ื คำคดั คา นปฏเิ สธในคดนี ม้ี าตง้ั แตแ รกวา คดขี องผรู อ งขาดอายคุ วาม ตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง ประกอบพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและ
วธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ กรณไี มเ ปน ไปตามหลกั พจิ ารณาในศาลชน้ั ตน
คดีก็ไมมีประเด็นเรื่องของอายุความใหจำตองวินิจฉัย ศาลจึงไมอาจหยิบยกอายุความ ๑ ป และ
๑๐ ป ดังกลาว ซึ่งมิใชปญหาขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชนขึ้น
วินิจฉัยไดเองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๒๙ และประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๒ (๕) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและ
วธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ทศ่ี าลลม ละลายกลางวนิ จิ ฉยั วา คดขี องผรู อ ง
ขาดอายุความโดยไมวินิจฉัยในประเด็นขออื่นอีกและใหยกคำรองนั้น ยอมเปนการไมชอบและ
ไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ คำวินิจฉัยของศาลลมละลายกลางเปน

๑๔๐

กรณีมิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงวาดวยคำพิพากษา
และคำสง่ั อนั มเี หตสุ มควรใหย กคำสง่ั ดงั กลา ว และยอ นสำนวนกลบั คนื ไปใหศ าลลม ละลายกลาง
มคี ำสง่ั ตามคำรอ งเสยี ใหม ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบ
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑
อุทธรณของผรู องฟง ขน้ึ

พิพากษายกคำสั่งศาลลมละลายกลาง กับใหศ าลลม ละลายกลางมคี ำสั่งใหมต ามรูปคดี
คาฤชาธรรมเนียมในช้นั นีใ้ หเปน พบั .

(ชวลิต ยงพาณชิ ย - สถาพร วสิ าพรหม - เกยี รตคิ ุณ แมนเลขา)

นราธปิ บุญญพนิช - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทส่ี ุด

๑๔๑

คำพิพากษาศาลอุทธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๓๘๖๐/๒๕๖๑ นายชูศักด์ิ ทรงเงินดี

ผูช ำระบัญชรี อ งขอให

บริษทั เงนิ ทุนหลกั ทรพั ย

เจาพระยา จำกัด

ลมละลาย

นางจนั ทนา พงษว ชิ ยั ผรู อ ง

เจาพนกั งาน

พิทักษทรพั ย ผคู ัดคาน

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๑๔ (๑), ๑๙๓/๑๔ (๕), ๑๙๓/๓๐, ๘๑๖
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๙ วรรคหน่ึง วรรคสอง

การทผ่ี คู ดั คา นในฐานะเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยแ จง ความเปน หนงั สอื ไปยงั ผรู อ ง
ใหชำระเงินแกกองทรัพยสินของลูกหนี้ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๑๙
วรรคหนง่ึ เปน การบงั คบั ตามสทิ ธเิ รยี กรอ งของลกู หนซ้ี ง่ึ ผคู ดั คา นมอี ำนาจกระทำไดโ ดย
ไมต อ งฟอ งคดตี อ ศาล ถอื ไดว า เปน การกระทำการอน่ื ใดอนั มผี ลเปน อยา งเดยี วกนั กบั การ
ฟอ งคดอี นั เปน เหตใุ หอ ายคุ วามสะดดุ หยดุ ลงตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๔ (๕) แลว มใิ ช
ตองรอใหมกี ารออกหนังสือยืนยนั หน้ตี ามมาตรา ๑๑๙ วรรคสอง เสยี กอน

การทผ่ี รู อ งแตง ตง้ั ลกู หนเ้ี ปน ตวั แทนในการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยใ นตลาดหลกั ทรพั ย
แหงประเทศไทยและการที่ผูคัดคานใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้เรียกเอาเงินที่ลูกหนี้ได
ทดรองจา ยไปแทนผรู อ งในการซอ้ื หลกั ทรพั ยต ามคำสง่ั ของผรู อ งนน้ั เปน กรณที ผ่ี คู ดั คา น
ใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ซึ่งเปนตัวแทนเรียกเอาเงินที่ไดออกทดรองจายไปในกิจการ
อนั ตวั การมอบหมายแกต นจากตวั การตาม ป.พ.พ. มาตรา ๘๑๖ ซง่ึ ไมม กี ฎหมายบญั ญตั ิ
ไวโ ดยเฉพาะจงึ มกี ำหนด ๑๐ ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐ ซง่ึ อายคุ วามนน้ั ตอ งเรม่ิ นบั
แตขณะที่ลูกหนี้อาจบังคับสิทธิเรียกรองไดเปนตนไปตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒
เมื่อผูคัดคานอางวาลูกหนี้ไดออกเงินทดรองจายคาซื้อหลักทรัพยที่ผูรองมีคำสั่งซื้อ
ครบถว นแลว แตผ รู อ งมไิ ดช ำระเงนิ คา ซอ้ื หลกั ทรพั ยใ หแ กล กู หนต้ี ามกำหนด อายคุ วาม
ในการใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้จึงตองเริ่มนับเมื่อครบกำหนดที่ผูรองตองชำระเงินคา
ซอ้ื หลกั ทรพั ยค นื ใหแ กล กู หนต้ี ามทล่ี กู หนไ้ี ดอ อกเงนิ ทดรองแทนในแตล ะคราว แตผ รู อ ง

๑๔๒


Click to View FlipBook Version