The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by achirapong.art, 2022-09-22 05:44:23

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

รวมคำพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ แผนกคดีล้มละลาย

คำพิพากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พเิ ศษที่ ๑๙๒๕/๒๕๖๔ บรรษัทบรหิ าร

สินทรัพยไทย โจทก

บรษิ ัทบริหาร

สินทรัพยส ุขุมวทิ จำกดั ผรู อง

นางสาววลิ าสินยี 

หรอื นฤพร ซาเสน

กับพวก จำเลย

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖, ๑๕๘

การที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยยึดบานซึ่งปลูกอยูบนที่ดินของจำเลยที่ ๒ แลว
ตอ มานาง บ. ยน่ื คำรอ งขอใหป ลอ ยทรพั ยท ถ่ี กู ยดึ โดยอา งวา เปน บา นของตน เจา พนกั งาน
พิทักษทรัพยสอบสวนแลวมีคำสั่งปลอยบานคืนใหแกนาง บ. ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๕๘ เมอ่ื ผรู อ งไมเ หน็ ดว ยกบั คำสง่ั ดงั กลา วและมคี วามประสงคใ หศ าล
ลม ละลายกลางดำเนนิ กระบวนพจิ ารณาและมคี ำสง่ั กลบั หรอื แกไ ขคำสง่ั ของเจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ย ผรู อ งตอ งยน่ื คำขอโดยทำเปน คำรอ งตอ ศาลลม ละลายกลางภายในกำหนด
เวลา ๑๔ วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดท ราบคำสง่ั ซง่ึ ศาลลม ละลายกลางมอี ำนาจสง่ั ยนื ตาม กลบั หรอื
แกไ ข หรอื สง่ั ประการใดตามทเ่ี หน็ สมควรเปน รายๆ ไป ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๔๖ ไมใ ชก รณกี ารยน่ื อทุ ธรณค ำสง่ั ของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยต อ ศาลอทุ ธรณ
ตามทผ่ี ูรอ งอาง

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ บญั ญตั วิ า “ถา บคุ คลลม ละลาย เจา หน้ี
หรอื บคุ คลใดไดร บั ความเสยี หายโดยการกระทำหรอื คำวนิ จิ ฉยั ของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
บุคคลนั้นอาจยื่นคำขอโดยทำเปนคำรองตอศาลภายในกำหนดเวลาสิบสี่วันนับแตวันที่
ไดทราบการกระทำหรือคำวินิจฉัยนั้น ศาลมีอำนาจสั่งยืนตาม กลับ หรือแกไข หรือสั่ง
ประการใดตามทเ่ี หน็ สมควร” ดงั น้ี เมอ่ื กฎหมายบญั ญตั ใิ หศ าลมอี ำนาจสง่ั เกย่ี วกบั เนอ้ื หา
การกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจาพนักงานพิทักษทรัพยตามมาตรา ๑๔๖ อำนาจในการ
สั่งคำรองขอขยายระยะเวลายื่นคำรองตามมาตรา ๑๔๖ ยอมเปนของศาล สำหรับคำสั่ง
ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยในคำรองขอตรวจสำนวนและคัดถายเอกสารของผูรอง
เจาพนักงานพิทักษทรัพยชอบที่จะมีคำสั่งวาอนุญาตหรือไมอนุญาตใหคัดถายเอกสาร

๑๙๓

การทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยร ะบใุ นคำสง่ั ดว ยวา ครบนดั โตแ ยง คำสง่ั ของเจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยใ นวนั ท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔ นน้ั นอกจากจะเปน คำสง่ั ทไ่ี มเ กย่ี วขอ งกบั เนอ้ื หา
ในคำรอ งของผรู อ งแลว ยงั เปน การกระทำโดยไมม อี ำนาจ ไมม ผี ลเปน การขยายระยะเวลา
ยื่นคำรอ งคดั คานคำส่ังตามมาตรา ๑๔๖ และไมใชเ หตสุ ดุ วิสัยทจ่ี ะใหส ทิ ธิผรู องยนื่ คำรอง
ขอขยายระยะเวลายื่นคำรองคัดคานคำสั่งเจาพนักงานพิทักษทรัพยหลังพนระยะเวลา
ท่กี ฎหมายกำหนด

______________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สองเดด็ ขาด
เมอ่ื วนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน ๒๕๕๔ และพพิ ากษาใหจ ำเลยทง้ั สองเปน บคุ คลลม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๑๔
สงิ หาคม ๒๕๕๕ ตอ มาวนั ท่ี ๗ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ เจาพนักงานพิทกั ษท รพั ยไดยึดทด่ี นิ โฉนด
เลขที่ ๒๕๕๓ ตำบลเสือโกก อำเภอวาปปทุม จังหวัดมหาสารคาม พรอมบานเลขที่ ๘ และ
เลขที่ ๑๓๓ หมูที่ ๑๒ ตำบลเสือโกก อำเภอวาปปทุม จังหวัดมหาสารคาม ที่ดินแปลงดังกลาว
มีชื่อจำเลยที่ ๒ เปนผูถือกรรมสิทธิ์ วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๓ นางบุญมายื่นคำรองวา
บานเลขที่ ๑๓๓ เปนของตนทป่ี ลูกอาศยั มาแลวเปน เวลา ๓๐ ป ขอใหเ จา พนกั งานพิทักษท รพั ย
ปลอ ยทรพั ยด งั กลา ว เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยส อบสวนแลว มคี ำสง่ั เมอ่ื วนั ท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔
ใหปลอ ยบานเลขท่ี ๑๓๓ คืนใหแกนางบญุ มา

ผูรองซึ่งเปนผูสวมสิทธิแทนบรรษัทบริหารสินทรัพยไทย เจาหนี้รายที่ ๓ ยื่นคำรอง
เมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ วา คดีนี้จะครบกำหนดระยะเวลาคัดคานคำสั่งของเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยในวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ รายละเอียดปรากฏตามสำเนาคำรองขอตรวจสำนวน
และคัดถายเอกสารพรอมหมายแจงคำสั่งแนบทายคำรอง เนื่องจากขณะนี้ยังอยูระหวางการ
พิจารณาของผูมีอำนาจเจาหนี้รายที่ ๓ วาจะยื่นคัดคานคำสั่งของเจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือไม
จึงขอขยายระยะเวลายื่นคำรองคัดคานคำสั่งของเจาพนักงานพิทักษทรัพยครั้งที่ ๑ ไปอีก ๓๐ วัน
นับแตวนั ครบกำหนด

ศาลลมละลายกลางตรวจคำรอ งแลว มีคำสง่ั ในวนั เดยี วกันวา ปรากฏตามเอกสารทา ย
คำรองวา ผูรองทราบคำสั่งเจาพนักงานพิทักษทรัพยในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ผูรองตอง
ยน่ื คำรอ งคดั คา นคำสง่ั เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยภ ายในระยะเวลา ๑๔ วนั นบั แตท ราบคำสง่ั นน้ั
ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ ซึ่งจะครบระยะเวลา ๑๔ วัน ในวันที่
๙ มนี าคม ๒๕๖๔ ผรู องย่ืนคำรอ งขอขยายระยะเวลาเกินกำหนดโดยไมป รากฏเหตุสุดวสิ ัย จึงให
ยกคำรอ ง

๑๙๔

ผูร องอทุ ธรณโดยไดร บั อนญุ าตจากศาลอุทธรณค ดีชำนญั พเิ ศษ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง
กันฟงไดวา หลังจากเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ใหปลอย
บานเลขที่ ๑๓๓ ซึ่งตั้งอยูบนที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๕๕๓ ตำบลเสือโกก อำเภอวาปปทุม จังหวัด
มหาสารคาม คนื ใหแ กน างบญุ มา ผรู อ งยน่ื คำรอ งลงวนั ท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔ ตอ เจา พนกั งาน
พิทักษทรัพยเพื่อขอตรวจสำนวนและคัดถายเอกสาร เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งเมื่อวันที่
๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ วา “อนญุ าตใหคัดถาย และถือวา ทราบคำสง่ั ในวนั น้ี ครบกำหนดโตแ ยง
คำสั่ง จพท. ในวันที่ ๑๐ มี.ค. ๖๔ ใหผูรองทราบคำสั่ง” นางสาวปารีนาผูรับมอบอำนาจผูรอง
ลงชื่อรับทราบคำสั่งในวันเดียวกัน ปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองขอแรกมีวา คำสั่ง
ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยที่ใหปลอยบานเลขที่ ๑๓๓ คืนแกนางบุญมา เปนคำสั่งที่ผูรอง
ตองโตแยงภายในกำหนดเวลา ๑๔ วัน นับแตวันที่ไดทราบการกระทำหรือคำวินิจฉัยนั้นตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ หรอื ไม เหน็ วา การทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ยึดบานเลขที่ ๑๓๓ ซึ่งปลูกอยูบนที่ดินของจำเลยที่ ๒ แลวตอมานางบุญมายื่นคำรองขอ
ใหป ลอ ยทรพั ยท ถ่ี กู ยดึ โดยอา งวา เปน บา นของตน เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยส อบสวนแลว มคี ำสง่ั
ปลอยบานเลขที่ ๑๓๓ คืนใหแกนางบุญมาซึ่งเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีอำนาจทำไดตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๕๘ เมอ่ื ผรู อ งไมเ หน็ ดว ยกบั คำสง่ั ดงั กลา วและ
มีความประสงคใหศาลลมละลายกลางดำเนินกระบวนพิจารณาและมีคำสั่งกลับหรือแกไขคำสั่ง
ของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย ผรู อ งตอ งยน่ื คำขอโดยทำเปน คำรอ งตอ ศาลลม ละลายกลางภายใน
กำหนดเวลา ๑๔ วัน นับแตวันที่ไดทราบคำสั่ง ซึ่งศาลลมละลายกลางมีอำนาจสั่งยืนตาม กลับ
หรือแกไข หรือสั่งประการใดตามที่เห็นสมควรเปนราย ๆ ไป ตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ ไมใ ชก รณีการยื่นอทุ ธรณคำส่งั ของเจา พนกั งานพิทักษท รัพยตอศาล
อทุ ธรณตามท่ผี ูร อ งอาง อทุ ธรณของผรู อ งขอนฟ้ี งไมข นึ้
ปญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผรู อ งขอ ตอ ไปมวี า ผรู อ งยน่ื คำรอ งขอขยายระยะเวลา
ยื่นคำรองคัดคานคำสั่งของเจาพนักงานพิทักษทรัพยเกินกำหนดเวลา ๑๔ วัน ตามที่บัญญัติไว
ในพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ หรอื ไม เหน็ วา ไดค วามจากสำเนาเอกสาร
ทา ยคำรอ งขอขยายระยะเวลาคดั คา นคำสง่ั ฉบบั ลงวนั ท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔ ของผรู อ งวา หลงั จาก
มีคำสั่งใหปลอยบานเลขที่ ๑๓๓ คืนใหแกนางบุญมา เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดแจงคำสั่ง
ดงั กลา วไปยงั ผรู อ งตามสำเนาหมายแจง คำสง่ั ท่ี ยธ๐๕๐๗/๐๒๐๒๐ ลงวนั ท่ี ๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔
ผูรองยื่นคำรองลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยขอตรวจสำนวน

๑๙๕

และคัดถายเอกสาร ระบุชื่อเอกสารวา คำสั่งใหปลอยบานเลขที่ ๑๓๓ ซึ่งตั้งอยูบนโฉนดที่ดิน
เลขที่ ๒๕๕๓ ตำบลเสือโกก อำเภอวาปปทุม จังหวัดมหาสารคาม คืนแกผูรอง (นางบุญมา)
เพื่อไปดำเนินการประกอบสำนวนคดีตอไป เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งเมื่อวันที่ ๒๓
กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔ วา “อนญุ าตใหค ดั ถา ยและถอื วา ทราบคำสง่ั ในวนั น้ี ครบนดั โตแ ยง คำสง่ั จพท.
ในวนั ท่ี ๑๐ ม.ี ค. ๖๔ ใหผ รู อ งทราบคำสง่ั ” โดยมนี างสาวปารนี าผรู บั มอบอำนาจผรู อ งลงลายมอื ชอ่ื
รับทราบคำสั่งดังกลาวในวันเดียวกัน การระบุในคำรองวาขอคัดถายคำสั่งใหปลอยบานเลขที่
๑๓๓ แสดงใหเห็นวาผูรองไดรับหมายแจงคำสั่งและทราบคำสั่งของเจาพนักงานพิทักษทรัพยที่
ใหปลอยบานเลขที่ ๑๓๓ คืนแกนางบุญมาแลวจึงยื่นคำรองขอตรวจสำนวนและคัดถายคำสั่ง
ดังกลาวเพื่อประกอบการดำเนินคดีตอไป ดังนี้ เมื่อนับจากวันที่ลงในคำรองขอคัดถายคำสั่งคือ
วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ ครบกำหนด ๑๔ วัน ในวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๖๔ หรือหากจะนับ
จากวันที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยอนุญาตใหคัดถายคำสั่งคือวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๔
ครบกำหนดเวลา ๑๔ วัน ในวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๔ การที่ผูรองยื่นคำรองขอขยายระยะเวลา
ยน่ื คำรอ งคดั คา นคำสง่ั ของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยต อ ศาลลม ละลายกลางเมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔
จึงพนกำหนด ๑๔ วัน ไปแลว ที่ผูรองอางในอุทธรณวา เจาพนักงานพิทักษทรัพยเปน
ผกู ำหนดวา วนั ท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔ เปน วนั ครบ ๑๔ วนั เพอ่ื ใหผ รู อ งทำการโตแ ยง คำสง่ั ถอื วา
เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดขยายระยะเวลาโตแยงคำสั่งใหผูรองโดยอาศัยประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๓ ประกอบดวยพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ นั้น
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๔๖ บัญญัติวา “ถาบุคคลลมละลาย เจาหนี้
หรือบุคคลใดไดรับความเสียหายโดยการกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจาพนักงานพิทักษทรัพย
บุคคลนั้นอาจยื่นคำขอโดยทำเปนคำรองตอศาลภายในกำหนดเวลาสิบสี่วันนับแตวันที่ไดทราบ
การกระทำหรือคำวินิจฉัยนั้น ศาลมีอำนาจสั่งยืนตาม กลับ หรือแกไข หรือสั่งประการใดตาม
ที่เห็นสมควร” ดังนี้ เมื่อกฎหมายบัญญัติใหศาลมีอำนาจสั่งเกี่ยวกับเนื้อหาการกระทำหรือ
คำวินิจฉัยของเจาพนักงานพิทักษทรัพยตามมาตรา ๑๔๖ อำนาจในการสั่งคำรองขอขยาย
ระยะเวลายื่นคำรองตามมาตรา ๑๔๖ ยอมเปนของศาล ซึ่งผูรองก็ทราบขอกฎหมายดังกลาว
จึงไดยื่นคำรองฉบับที่พิพาทตอศาลลมละลายกลาง สำหรับคำสั่งของเจาพนักงานพิทักษทรัพย
ในคำรอ งฉบบั วนั ท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๔ นน้ั ผรู อ งมคี วามประสงคข อตรวจสำนวนและคดั ถา ย
เอกสาร เจาพนักงานพิทักษทรัพยชอบที่จะมีคำสั่งวาอนุญาตหรือไมอนุญาตใหคัดถายเอกสาร
การทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยร ะบใุ นคำสง่ั ดว ยวา ครบนดั โตแ ยง คำสง่ั ของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ในวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ นั้น นอกจากจะเปนคำสั่งที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาในคำรอง

๑๙๖

ของผูรองแลว ยังเปนการกระทำโดยไมมีอำนาจ ไมมีผลเปนการขยายระยะเวลายื่นคำรอง
คัดคานคำสั่งตามมาตรา ๑๔๖ และไมใชเหตุสุดวิสัยที่จะใหสิทธิผูรองยื่นคำรองขอขยายระยะ
เวลายน่ื คำรอ งคดั คา นคำสง่ั เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยห ลงั พน ระยะเวลาทก่ี ฎหมายกำหนด ทศ่ี าล
ลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ยกคำรอ งของผรู อ งมานน้ั ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเหน็ พอ งดว ยอทุ ธรณ
ของผูรอ งฟง ไมข ึน้

พพิ ากษายนื คา ฤชาธรรมเนียมในช้นั นี้ใหเปน พับ.
(พสิ ทุ ธ์ิ ศรขี จร - ฐานติ ศริ จิ ันทรส วา ง - องอาจ งามมศี ร)ี

นราธปิ บุญญพนิช - ยอ
วริ ตั น วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงทส่ี ุด

๑๙๗

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพเิ ศษท่ี ๑๙๖๔/๒๕๖๔ กองทนุ รวมบางกอก

แคปปต อล โจทก

นายสุธรรม

ถนอมบูรณเจริญ ผรู อง

เจาพนักงาน

พิทกั ษทรพั ย กบั พวก ผคู ัดคาน

บริษัทเอส.ท.ี ไทเทลิ

จำกดั กบั พวก จำเลย

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๐ (๔), ๑๗๙ (๔)

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๐ (๔) และมาตรา ๑๗๙ (๔) บัญญัติ
ใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรารอยละสามของเงินสุทธิที่รวบรวมไดโดยนำเงินในกองทรัพยสิน
ของลูกหนชี้ ำระคาธรรมเนยี มซง่ึ มผี ลเทากับใหลกู หน้เี ปนผชู ำระคา ธรรมเนยี มในกรณี
ที่สามารถรวบรวมทรพั ยส ินของลกู หน้ไี ดส ำเร็จ โดยมิไดมีบทบัญญตั ิใดระบถุ ึงกรณีท่ยี ัง
ไมอาจรวบรวมเงินไดสุทธิเพราะเหตุไมมีการขายทอดตลาดทรัพยสินที่เจาพนักงาน
พิทักษทรัพยยึดไวดังเชนกรณีที่มีการถอนการยึดในคดีนี้ การที่ผูรองยอมชำระหนี้แทน
จำเลยที่ ๒ และขอใหถอนการยึดที่ดินเพียง ๒ แปลง เพื่อรักษาสิทธิในฐานะเจาของรวม
อันเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นหลังจากมีการยึดทรัพยอันเปนสวนหนึ่งของการรวบรวมทรัพยสิน
และไมไดรับประโยชนอยางอื่นเพิ่มเติมนอกจากตองการใหการบังคับคดียุติลงเทานั้น
เงินจำนวนที่เจาหนี้รายที่ ๑ และที่ ๔ ยื่นคำขอรับชำระหนี้ จึงมิใชเงินสุทธิที่ไดจากการ
รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ ผูคัดคานที่ ๑ จึงไมมีอำนาจเรียกเก็บคาธรรมเนียมในการ
รวบรวมทรพั ยส ินจากผรู อ ง

_____________________________

คดีเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางไดมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสองเด็ดขาด
เมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ผูคัดคานที่ ๑ ยึดที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๒๑๔ ตำบลสะพานสูง
อำเภอบางกะป กรงุ เทพมหานคร และทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๓๖๕๖ ตำบลบางมด อำเภอบางขนุ เทยี น
กรงุ เทพมหานคร ซง่ึ เปน กรรมสทิ ธร์ิ ว มกนั ระหวา งผรู อ งกบั จำเลยท่ี ๒ เนอ่ื งจากไดม าในระหวา ง

๑๙๘

อยูกินฉันสามีภรรยา ในระหวางประกาศขายทอดตลาดผูรองไดวางเงินชำระหนี้ใหแกโจทก
ซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๑ และผูคัดคานที่ ๒ ซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๔ ที่ยื่นคำขอรับชำระหนี้จนครบ
จำนวน รวมทง้ั ชำระคา ธรรมเนยี มในการรวบรวมทรพั ยส นิ และคา ธรรมเนยี มการยดึ แลว ไมม กี าร
ขายตอ ผคู ดั คา นท่ี ๑ จนผคู ดั คา นท่ี ๑ งดการขายทอดตลาดและถอนการยดึ ทด่ี นิ ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี
๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๓ ผูรองยื่นคำรองตอผูคัดคานที่ ๑ ขอใหคืนคาธรรมเนียมในการรวบรวม
ทรพั ยสิน ๔,๑๕๘,๔๒๙.๖๐ บาท แตผูคัดคา นที่ ๑ มคี ำสั่งยกคำรอง

ผูรองยื่นคำรองขอใหเพิกถอนคำสั่งของผูคัดคานที่ ๑ และใหผูคัดคานที่ ๑ คืนเงิน
๔,๑๕๘,๔๒๙.๖๐ บาท ใหแ กผ ูรอ ง

ผคู ัดคานที่ ๑ ยืน่ คำคัดคานขอใหยกคำรอง
โจทกแ ละผูค ดั คานท่ี ๒ ยน่ื คำคดั คานทำนองเดยี วกัน ขอใหยกคำรอ ง
ศาลลม ละลายกลางมีคำสงั่ ยกคำรอง คาฤชาธรรมเนียมใหเปนพับ
ผรู อ งอุทธรณโดยไดรับอนุญาตจากศาลอทุ ธรณคดชี ำนัญพเิ ศษ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง
กนั ในชน้ั นร้ี บั ฟง ไดเ ปน ทย่ี ตุ วิ า หลงั จากศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยทง้ั สอง
เด็ดขาด มีเจาหนี้ยื่นคำขอรับชำระหนี้รวม ๕ ราย แตตอมาเจาหนี้รายที่ ๒ ที่ ๓ และที่ ๕
ขอถอนคำขอรบั ชำระหน้ี เจา หนผ้ี เู ปน โจทกซ ง่ึ เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๑ ไดย น่ื คำรอ งตอ ผคู ดั คา นท่ี ๑
ขอใหยึดที่ดินรวม ๖ แปลง รวมทั้งที่ดินโฉนดเลขที่ ๒๒๑๔ ตำบลสะพานสูง อำเภอบางกะป
กรงุ เทพมหานคร และทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๓๖๕๖ ตำบลบางมด อำเภอบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร
ตอ มาในระหวา งประกาศขายทอดตลาดผรู อ งซง่ึ มกี รรมสทิ ธร์ิ ว มกบั จำเลยท่ี ๒ ในทด่ี นิ ทง้ั สองแปลง
ดงั กลา วไดว างเงนิ เพอ่ื ชำระหนใ้ี หแ กโ จทก และผคู ดั คา นท่ี ๒ ซง่ึ เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๔ โดยผคู ดั คา น
ที่ ๑ เรียกเก็บคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสินในอัตรารอยละสามของยอดหนี้ของโจทก
และผูคัดคานที่ ๒ เปนเงิน ๑๓๘,๖๑๔,๓๒๐.๑๒ บาท คำนวณเปนเงิน ๔,๑๕๘,๔๒๙.๖๐ บาท
และเรยี กคา ธรรมเนยี มการยดึ แลว ไมม กี ารขายอกี รอ ยละสองของราคาทด่ี นิ ทง้ั สองแปลงเปน เงนิ
๓๔๕,๙๓๙.๖๐ บาท รวมกับคาธรรมเนียมและคาใชจายอื่น ๆ ผูรองไมโตแยงคัดคานในสวนที่
เรยี กเกบ็ คา ธรรมเนยี มการยดึ แลว ไมม กี ารขาย คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ในปญ หาวา ผคู ดั คา นท่ี ๑
มีอำนาจเรียกเก็บคาธรรมเนียมการรวบรวมทรัพยสินจากผูรองไดหรือไม ผูรองอุทธรณวาผูรอง
เปนเพียงผูมีกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินรวมกับจำเลยที่ ๒ ไมไดเกี่ยวของกับการยึดที่ดินและมิไดรับ
ประโยชนอยางอื่นนอกจากการรักษาสิทธิในฐานะเจาของที่ดิน ตางจากเจาหนี้ผูเปนโจทกซึ่ง
ดำเนินการใหผูคัดคานที่ ๑ ยึดทรัพยสินของจำเลยที่ ๒ จึงตองเปนผูรับผิดชำระคาธรรมเนียม

๑๙๙

ในการรวบรวมทรพั ยส นิ เหน็ วา แมว า พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๐ (๔)
และมาตรา ๑๗๙ (๔) บัญญัติใหคิดคาธรรมเนียมในอัตรารอยละสามของเงินสุทธิที่รวบรวมได
โดยนำเงินในกองทรัพยสินของลูกหนี้ชำระคาธรรมเนียมซึ่งมีผลเทากับใหลูกหนี้เปนผูชำระ
คา ธรรมเนยี มในกรณที ส่ี ามารถรวบรวมทรพั ยส นิ ของลกู หนไ้ี ดส ำเรจ็ โดยมไิ ดม บี ทบญั ญตั ใิ ดระบถุ งึ
กรณีที่ยังไมอาจรวบรวมเงินไดสุทธิเพราะเหตุไมมีการขายทอดตลาดทรัพยสินที่เจาพนักงาน
พทิ กั ษท รพั ยย ดึ ไวด งั เชน ทม่ี กี ารถอนการยดึ ในคดนี ้ี ดงั นน้ั การทผ่ี รู อ งยอมชำระหนแ้ี ทนจำเลยท่ี ๒
และขอใหถ อนการยดึ ทด่ี นิ เพยี ง ๒ แปลง เพอ่ื รกั ษาสทิ ธใิ นฐานะเจา ของรวมอนั เปน เหตกุ ารณท ่ี
เกิดขึ้นหลังจากมีการยึดทรัพยอันเปนสวนหนึ่งของการรวบรวมทรัพยสิน และผูรองก็ไมไดรับ
ประโยชนอ ยา งอน่ื เพม่ิ เตมิ นอกจากตอ งการใหก ารบงั คบั คดยี ตุ ลิ งเทา นน้ั เงนิ ตามจำนวนทโ่ี จทก
และผูคัดคานที่ ๒ ยื่นคำขอรับชำระหนี้รวม ๑๓๘,๖๑๔,๓๒๐.๑๒ บาท จึงมิใชเงินสุทธิที่ไดจาก
การรวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ ผูคัดคานที่ ๑ จึงไมมีอำนาจเรียกเก็บคาธรรมเนียมสวนนี้
จากผูรอง ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกคำรองนั้นไมตองดวยความเห็นของศาลอุทธรณ
คดชี ำนัญพิเศษ อุทธรณข องผรู องฟง ข้ึน

พพิ ากษากลับ ใหแกไ ขคำสงั่ ของผคู ัดคานที่ ๑ ตามรายงานเจาพนักงานพิทักษท รพั ย
ลงวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ เปนใหผูคัดคานที่ ๑ คืนคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสิน
๔,๑๕๘,๔๒๙.๖๐ บาท ใหแ กผรู อ ง คาฤชาธรรมเนียมทง้ั สองศาลใหเปน พบั .

(เกียรตคิ ณุ แมนเลขา - สถาพร วิสาพรหม - เพชรนอ ย สมะวรรธนะ)

ภารดี เพ็ญเจริญ - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

๒๐๐

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษที่ ๒๐๓๐/๒๕๖๔ ธนาคารเพอื่ การ โจทก
สง ออกและนำเขา ผคู ัดคา น
แหงประเทศไทย
เจา พนักงาน จำเลย
พิทักษทรัพย
บรษิ ัทเอ.พี.ออคดิ ส
จำกดั กบั พวก

ป.ว.ิ พ. มาตรา ๑๖๑ วรรคหน่งึ
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๒), ๑๗๙ (๔)
พ.ร.บ. จดั ตั้งศาลลมละลายและวธิ ีพจิ ารณาคดีลม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑

ที่ดินโฉนดเลขที่ ๗๙๙๙ ตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ของจำเลยที่ ๒ ติดจำนองธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรซึ่งเปนเจาหนี้
มปี ระกนั ทไ่ี มไ ดย น่ื คำขอรบั ชำระหนใ้ี นคดลี ม ละลาย หากจำเลยท่ี ๒ ไดร บั เงนิ คา ทดแทน
ที่ดินที่ถูกเวนคืนแลวเจาหนี้มีประกันดังกลาวยอมมีสิทธิไดรับชำระหนี้จำนองจากเงิน
คาทดแทนที่ดินกอนเจาหนี้อื่น หากมีเงินเหลือจึงนำไปชำระแกโจทกซึ่งเปนเจาหนี้ใน
คดลี ม ละลายรายเดยี วทเ่ี หลอื อยใู นขณะทผ่ี คู ดั คา นมคี ำสง่ั อายดั เงนิ คา ทดแทนทด่ี นิ และ
เงินอื่นใดไปยังแขวงทางหลวงนครปฐม เมื่อตอมาโจทกถอนคำขอรับชำระหนี้จนไมมี
เจา หนเ้ี หลอื อยู จงึ มเี หตทุ จ่ี ำเลยท่ี ๒ ไมค วรถกู พพิ ากษาใหล ม ละลาย และศาลลม ละลายกลาง
มีคำสั่งยกเลิกการลมละลายจำเลยที่ ๒ ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๓๕ (๒) การที่จะใหจำเลยที่ ๒ ตองเสียคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสิน
สำหรบั ทรพั ยส นิ ทไ่ี มม กี ารขายหรอื จำหนา ยในอตั รารอ ยละ ๒ ของราคาทรพั ยส นิ ทอ่ี ายดั
จำนวน ๑๑๑,๒๑๙,๖๐๐ บาท ตามมาตรา ๑๗๙ (๔) โดยไมพิจารณายอดหนี้ของเจาหนี้
ทเ่ี หลอื ในขณะผคู ดั คา นมคี ำสง่ั อายดั ประกอบดว ยยอ มเปน การไมย ตุ ธิ รรมแกจ ำเลยท่ี ๒
ซึ่งเปนผูรับผิดในชั้นที่สุดสำหรับคาฤชาธรรมเนียมทั้งปวง ทั้งจำเลยที่ ๒ เปนผูแจงแก
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยเ องวา จะมสี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ จากการเวนคนื ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๗๙๙๙
แสดงวาจำเลยที่ ๒ มีความสุจริตในการดำเนินคดีและมีเหตุสมควร อาศัยอำนาจตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๖๑ วรรคหนึ่ง ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณา

๒๐๑

คดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑ จงึ กำหนดคา ธรรมเนยี มในการรวบรวมทรพั ยส นิ
ทไ่ี มม กี ารขายหรอื จำหนา ยใหจ ำเลยท่ี ๒ รบั ผดิ ชำระอตั รารอ ยละ ๒ ของยอดหนท้ี โ่ี จทก
ย่นื คำขอรับชำระหน้เี ปน เงนิ ๑๕,๙๘๘,๘๘๒.๗๓ บาท ซ่ึงเปนยอดหนข้ี องเจาหน้ีที่เหลือ
ในขณะผูค ดั คา นมีคำสง่ั อายัด

______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยทั้งสองเด็ดขาด
เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๑ และมีคำสั่งยกเลิกการลมละลายของจำเลยทั้งสอง เมื่อวันที่ ๙
มีนาคม ๒๕๖๓

จำเลยท่ี ๒ ยน่ื คำรอ งขอใหม คี ำสง่ั ใหผ คู ดั คา นประกาศแจง ยกเลกิ การลม ละลายจำเลยท่ี ๒
ในราชกิจจานุเบกษา และใหจำเลยที่ ๒ ไมตองรับผิดชำระคาธรรมเนียมอายัดแลวไมมีการขาย
หรือจำหนาย

ผูค ัดคานยืน่ คำคดั คานขอใหย กคำรอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำส่งั ยกคำรอง คา ฤชาธรรมเนียมใหเ ปน พับ
จำเลยที่ ๒ อทุ ธรณโ ดยไดรับอนญุ าตจากศาลอุทธรณค ดีชำนัญพิเศษ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี คู วามไมโ ตแ ยง
กันในชั้นนี้รับฟงไดเปนที่ยุติวา จำเลยที่ ๒ เปนเจาของที่ดินโฉนดเลขที่ ๗๙๙๙ ตำบลแหลมบัว
อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม หลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษทรัพยของจำเลยที่ ๒ เด็ดขาด
มเี จา หนย้ี น่ื คำขอรบั ชำระหน้ี ๒ ราย คอื สำนกั งานประกนั สงั คม ยน่ื คำขอรบั ชำระหน้ี ๖,๒๔๐ บาท
เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๑ และโจทกย น่ื คำขอรบั ชำระหน้ี ๑๕,๙๘๘,๘๘๒.๗๓ บาท เปน เจา หน้ี รายท่ี ๒
เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๒ เจาหนี้รายที่ ๑ ยื่นคำรองขอถอนคำขอรับชำระหนี้ ผูคัดคานมี
คำสั่งอนุญาต ตอมาจำเลยที่ ๒ ขอประนอมหนี้กอนลมละลาย โดยคำขอประนอมหนี้ขอหนึ่ง
ระบวุ า หากจำเลยท่ี ๒ ไดร บั เงนิ จากการเวนคนื ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๗๙๙๙ กอ นระยะเวลาชำระหน้ี
ตามขอ อน่ื จำเลยท่ี ๒ จะนำเงนิ มาชำระหนส้ี ว นทเ่ี หลอื แกเ จา หนร้ี ายท่ี ๒ ทนั ที ทป่ี ระชมุ เจา หน้ี
มีมติพิเศษยอมรับคำขอประนอมหนี้กอนลมละลาย ผูคัดคานรายงานศาลขอใหนัดไตสวน
จำเลยที่ ๒ โดยเปดเผยและกำหนดวันนั่งพิจารณาคำขอประนอมหนี้กอนลมละลาย ตอมา
จำเลยท่ี ๒ แจง ตอ ผคู ดั คา นวา แขวงทางหลวงนครปฐม กรมทางหลวง มหี นงั สอื แจง จำเลยท่ี ๒
ใหไปเจรจาตกลงซื้อขายที่ดินโฉนดเลขที่ ๗๙๙๙ ที่ถูกเวนคืน โดยกำหนดเงินคาทดแทนที่ดิน
๑๑๑,๒๐๙,๖๐๐ บาท และคาเสียหายอื่น ๆ ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๑๑๑,๒๑๙,๖๐๐ บาท

๒๐๒

ผูคัดคานเรียกประชุมเจาหนี้ครั้งอื่น ที่ประชุมเจาหนี้มีมติใหจำเลยที่ ๒ ไปเจรจาตกลงซื้อขาย
ทด่ี นิ ดงั กลา วกบั แขวงทางหลวงนครปฐมไดใ นราคา ๑๑๑,๒๐๙,๖๐๐ บาท เพอ่ื ใหผ คู ดั คา นอายดั
เงนิ รวบรวมเขา กองทรพั ยส นิ ของจำเลยท่ี ๒ ตามคำขอประนอมหนก้ี อ นลม ละลาย เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕
ธันวาคม ๒๕๖๒ ผูคัดคานมีหนังสือถึงผูอำนวยการแขวงทางหลวงนครปฐมแจงเรื่องที่ประชุม
เจาหนี้มีมติอนุญาตใหจำเลยที่ ๒ เจรจาตกลงซื้อขายที่ดินกับแขวงทางหลวงนครปฐมโดยมี
คา ทดแทนไมต ำ่ กวา ๑๑๑,๒๐๙,๖๐๐ บาท และขออายดั เงนิ คา ทดแทนทด่ี นิ และเงนิ อน่ื ใดทจ่ี ำเลย
ที่ ๒ มีสิทธิไดรับ ตอมาวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ โจทกยื่นคำรองขอถอนคำขอรับชำระหนี้
เนื่องจากไดรับชำระหนี้จำนวน ๗,๒๐๐,๐๐๐ บาท จากมารดาของจำเลยที่ ๒ แลว ผูคัดคานมี
คำสั่งอนุญาตและรายงานศาล วันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๓ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหยกเลิก
การลม ละลายจำเลยท่ี ๒ กบั ยกเลกิ นดั ไตส วนจำเลยท่ี ๒ โดยเปด เผยและพจิ ารณาคำขอประนอมหน้ี
หลังจากนั้นผูคัดคานมีคำสั่งใหจำเลยที่ ๒ ชำระคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสินสำหรับ
ทรัพยสินที่ไมมีการขายหรือจำหนายในอัตรารอยละ ๒ ของราคาทรัพยสินที่อายัดจำนวน
๑๑๑,๒๑๙,๖๐๐ บาท คิดเปนเงิน ๒,๒๒๔,๓๙๒ บาท คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของ
จำเลยท่ี ๒ แตเ พียงวา คาธรรมเนยี มทีจ่ ำเลยที่ ๒ จะตอ งชำระในการรวบรวมทรัพยสนิ ควรคิด
ในอตั รารอ ยละ ๒ ของทรพั ยส นิ ทผ่ี คู ดั คา นรวบรวมไดซ ง่ึ ตอ งไมเ กนิ จำนวนหนท้ี จ่ี ำเลยท่ี ๒ ตอ ง
รบั ผิดหรือไม เห็นวา ท่ดี ินโฉนดเลขท่ี ๗๙๙๙ ของจำเลยที่ ๒ ตดิ จำนองธนาคารเพือ่ การเกษตร
และสหกรณการเกษตรซึ่งเปนเจาหนี้มีประกันที่ไมไดยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีลมละลาย หาก
จำเลยที่ ๒ ไดรับเงินคาทดแทนที่ดินที่ถูกเวนคืนแลวเจาหนี้มีประกันดังกลาวยอมมีสิทธิไดรับ
ชำระหนี้จำนองจากเงินคาทดแทนที่ดินกอนเจาหนี้อื่น หากมีเงินเหลือจึงนำไปชำระแกโจทก
ซึ่งเปนเจาหนี้ในคดีลมละลายรายเดียวที่เหลืออยูในขณะที่ผูคัดคานมีคำสั่งอายัดเงินคาทดแทน
ที่ดินและเงินอื่นใดไปยังแขวงทางหลวงนครปฐม เมื่อตอมาโจทกถอนคำขอรับชำระหนี้จนไมมี
เจาหนี้เหลืออยู จึงมีเหตุที่จำเลยที่ ๒ ไมควรถูกพิพากษาใหลมละลาย และศาลลมละลายกลาง
มคี ำสง่ั ยกเลกิ การลม ละลายจำเลยท่ี ๒ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๒)
การทจ่ี ะใหจ ำเลยท่ี ๒ ตอ งเสยี คา ธรรมเนยี มในการรวบรวมทรพั ยส นิ สำหรบั ทรพั ยส นิ ทไ่ี มม กี าร
ขายหรือจำหนายในอัตรารอยละ ๒ ของราคาทรัพยสินที่อายัดจำนวน ๑๑๑,๒๑๙,๖๐๐ บาท
ตามมาตรา ๑๗๙ (๔) โดยไมพิจารณายอดหนี้ของเจาหนี้ที่เหลือในขณะผูคัดคานมีคำสั่งอายัด
ประกอบดวยยอมเปนการไมยุติธรรมแกจำเลยที่ ๒ ซึ่งเปนผูรับผิดในชั้นที่สุดสำหรับคาฤชา
ธรรมเนียมทั้งปวง ทั้งจำเลยที่ ๒ เปนผูแจงแกเจาพนักงานพิทักษทรัพยเองวาจะมีสิทธิไดรับ
เงินจากการเวนคืนที่ดินโฉนดเลขที่ ๗๙๙๙ แสดงวาจำเลยที่ ๒ มีความสุจริตในการดำเนินคดี

๒๐๓

และมเี หตสุ มควร อาศยั อำนาจตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๑๖๑ วรรคหนง่ึ
ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา
๒๘/๑ จงึ กำหนดคา ธรรมเนยี มในการรวบรวมทรพั ยส นิ ทไ่ี มม กี ารขายหรอื จำหนา ยใหจ ำเลยท่ี ๒ รบั ผดิ
ชำระอัตรารอยละ ๒ ของยอดหนี้ที่โจทกยื่นคำขอรับชำระหนี้เปนเงิน ๑๕,๙๘๘,๘๘๒.๗๓ บาท
ซึ่งเปนยอดหนี้ของเจาหนี้ที่เหลือในขณะผูคัดคานมีคำสั่งอายัด ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่ง
ยกคำรองมาน้นั ศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษไมเ ห็นพอ งดว ย อทุ ธรณข องจำเลยท่ี ๒ ฟงขึน้

พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยที่ ๒ ชำระคาธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพยสินที่ไมมี
การขายหรอื จำหนา ยในอตั รารอ ยละ ๒ ของราคาทรพั ยส นิ ทอ่ี ายดั ไปยงั แขวงทางหลวงนครปฐม
แตไมเกินรอยละ ๒ ของยอดหนี้ที่โจทกยื่นคำขอรับชำระหนี้ ๑๕,๙๘๘,๘๘๒.๗๓ บาท
คาธรรมเนียมสวนอื่นใหเปนไปตามคำสั่งเจาพนักงานพิทักษทรัพย นอกจากที่แกใหเปนไปตาม
คำสง่ั ศาลลม ละลายกลาง คาฤชาธรรมเนยี มในชน้ั นใ้ี หเปน พับ.

(ปฏิกรณ คงพิพธิ - จกั รพนั ธ สอนสุภาพ - พูนศักด์ิ เขม็ แซมเกษ)

นราธิป บุญญพนิช - ยอ
วิรตั น วศิ ษิ ฏวงศกร - ตรวจ

๒๐๔

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนัญพเิ ศษที่ ๓๘๕๖/๒๕๖๑ เจา พนักงานพิทกั ษทรัพย

ของบริษัทสยามเหลก็

รดี เยน็ ครบวงจร จำกดั

(มหาชน) โจทก

หา งหุนสวนจำกัด

ทวแี อร จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๕๑๖
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึง่
พ.ร.บ. จดั ตง้ั ศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๔

ศาลลมละลายกลางวินิจฉัยเกี่ยวกับอำนาจฟองของโจทกวา แมจะฟงไดวา
เจาหนผี้ เู ปน โจทกใ นคดีลม ละลายมอบอำนาจให ส. ดำเนนิ คดีโดยไมชอบดวยกฎหมาย
ตามที่จำเลยตอสูก็ตาม แตโจทกในฐานะเจาพนักงานพิทักษทรัพยของลูกหนี้เปนผูฟอง
คดีเองโดยแตงให ส. เปนทนายโจทกได โจทกจึงมีอำนาจฟอง แตจำเลยยังคงอุทธรณ
เหมือนกับที่จำเลยใหการตอสูคดีวา เจาหนี้ผูเปนโจทกในคดีลมละลายไมมีอำนาจ
มอบอำนาจให ส. ดำเนินคดีแทน อุทธรณของจำเลยในสวนนี้มิไดโตแยงคำพิพากษา
ของศาลลมละลายกลางที่ไดวินิจฉัยขางตนวาไมถูกตองหรือไมชอบอยางไร จึงเปน
อุทธรณที่ไมชัดแจงและไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย เพราะไมมีผลที่จะ
เปลย่ี นแปลงคำพพิ ากษาของศาลลม ละลายกลางเปน อยา งอน่ื ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ
ไมร ับวินิจฉัยอุทธรณของจำเลยดงั กลาวตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนง่ึ ประกอบดว ย
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี มละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๔

จำเลยซ้ือทรัพยของลกู หน้ใี นคดีลมละลายจากการขายทอดตลาดของโจทกใน
ราคา ๖,๓๐๐,๐๐๐ บาท โดยทำหนงั สอื สญั ญาซอ้ื ขายและวางเงนิ มดั จำไว ๒๕๐,๐๐๐ บาท
ตอ มาจำเลยไมชำระราคาสวนท่เี หลือ โจทกขายทอดตลาดทรัพยใหมโดยมผี ซู ้ือไดใ น
ราคา ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท เสียคาใชจายในการขายทอดตลาดทรัพยใหม ๕,๕๐๙ บาท
โจทกฟองใหจำเลยชำระสวนที่ขาดของราคาและคาใชจายในการขายทอดตลาดใหม
รวม ๓๐๕,๕๐๙ บาท เปนการดำเนินการตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๑๖ มิใชเรื่องที่โจทกตอง
บอกเลิกสญั ญาซอ้ื ขายตอ จำเลยกอนเพื่อใหสัญญาเลกิ กันแลว เรียกคาเสยี หาย และมใิ ช
กรณที คี่ ูส ญั ญาสมคั รใจเลิกสญั ญาตอ กนั โดยปรยิ าย

๒๐๕

เงนิ มดั จำ ๒๕๐,๐๐๐ บาท ทโ่ี จทกร บิ ตามสญั ญาซอ้ื ขายเปน เงนิ ทไ่ี ดจ ากการขาย
ทอดตลาดทรพั ยข องลูกหนซ้ี ึง่ จะตองรวบรวมเขาไวในกองทรัพยสินของลูกหนี้ ถือเปน
สวนหนงึ่ ของราคาทีจ่ ำเลยไดช ำระใหโ จทกแลว ตอ งนำไปหกั ออกจากเงนิ สว นตา งของ
ราคาในการขายทอดตลาดทรัพยใหมดวย เมื่อรวมกับคาใชจายในการขายทอดตลาด
ทรพั ยใ หมแลว จำเลยจงึ ตองรบั ผิดเงินสวนตา งทขี่ าดอยูแกโ จทก ๕๕,๕๐๙ บาท

______________________________

โจทกฟ อ ง ขอใหบ งั คบั จำเลยชำระเงนิ ๓๐๕,๕๐๙ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕
ตอป ของตน เงนิ ดงั กลาวนับแตว ันถัดจากวนั ฟอ งเปน ตนไปจนกวา ชำระเสรจ็ แกโจทก

จำเลยใหการ ขอใหจ ำเลยรับผดิ ชำระเงนิ ๕๐,๐๐๐ บาท แกโจทก
ศาลลมละลายกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๓๐๕,๕๐๙ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรา
รอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ดงั กลา วนบั แตว นั ท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ เปน ตน ไปจนกวา ชำระเสรจ็
แกโจทกและใหจำเลยใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทกโดยกำหนดคาทนายความ ๖,๐๐๐ บาท
จำเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงฟงยุติวา โจทก
ยดึ ทรพั ยร วม ๔๓ รายการ ของบรษิ ทั ส. ลกู หนใ้ี นคดลี ม ละลายหมายเลขแดงท่ี ล.๑๘๗๕/๒๕๕๗
ของศาลลมละลายกลาง ตอมาวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๙ โจทกขายทอดตลาดทรัพยดังกลาว
จำเลยเปนผูซื้อในราคา ๖,๓๐๐,๐๐๐ บาท และทำหนังสือสัญญาซื้อขายกับโจทกโดยวางเงิน
มดั จำ ๒๕๐,๐๐๐ บาท เมอ่ื ครบกำหนดระยะเวลาใหจ ำเลยชำระราคาสว นทเ่ี หลอื ภายใน ๑๕ วนั
นบั แตว นั ซอ้ื จำเลยไมช ำระ โจทกข ายทอดตลาดทรพั ยใ หมว นั ท่ี ๗ ตลุ าคม ๒๕๕๙ นายอมรเปน
ผูซื้อในราคา ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท คดีมีปญหาตามอุทธรณของจำเลยขอแรกวาโจทกมีอำนาจฟอง
หรือไม เห็นวา ศาลลมละลายกลางวินิจฉัยวาแมจะฟงไดวาเจาหนี้ผูเปนโจทกในคดีลมละลาย
มอบอำนาจใหนายสนทยาดำเนินคดีโดยไมชอบดวยกฎหมายตามที่จำเลยตอสูก็ตาม แตโจทก
ในฐานะเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยข องลกู หนเ้ี ปน ผฟู อ งคดเี องตามอำนาจหนา ทจ่ี ดั การและจำหนา ย
ตลอดจนรวบรวมทรัพยสินและฟองคดีเกี่ยวกับทรัพยสินของลูกหนี้ในคดีลมละลายตาม พ.ร.บ.
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ โดยแตง ใหน ายสนทยาเปน ทนายโจทกต ามใบแตง ทนายความ
ลงวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ ทั้งโจทกและจำเลยเปนคูสัญญาตามหนังสือสัญญาซื้อขาย โจทก
จึงมีอำนาจฟอง แตจำเลยยังคงอุทธรณเหมือนกับที่จำเลยใหการตอสูคดีวาเจาหนี้ผูเปนโจทก
ในคดลี ม ละลายไมม อี ำนาจมอบอำนาจใหน ายสนทยาดำเนนิ คดแี ทน ทง้ั ทค่ี ดนี โ้ี จทกด ำเนนิ คดเี อง

๒๐๖

และไมไ ดม อบอำนาจใหผ ใู ดเปน ผรู บั มอบอำนาจดำเนนิ คดแี ทน อทุ ธรณข องจำเลยในสว นนม้ี ไิ ด
โตแยงคำพิพากษาของศาลลมละลายกลางที่ไดวินิจฉัยขางตนวาไมถูกตองหรือไมชอบอยางไร
จึงเปนอุทธรณที่ไมชัดแจงและไมเปนสาระแกคดีอันควรไดรับการวินิจฉัย เพราะไมมีผลที่จะ
เปลย่ี นแปลงคำพพิ ากษาของศาลลม ละลายกลางเปน อยา งอน่ื ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษไมร บั
วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณข องจำเลยสว นดงั กลา วตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๒๕ วรรคหนง่ึ ประกอบดว ย พ.ร.บ.
จดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลายพ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๔ สว นทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า
เมอ่ื จำเลยผดิ สญั ญาซอ้ื ขายไมช ำระเงนิ ตามสญั ญา โจทกไ มไ ดใ ชส ทิ ธบิ อกเลกิ สญั ญาตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๓๘๘ สัญญาซื้อขายยังไมเลิกกันเห็นวา คดีนี้โจทกฟองเรียกรองใหจำเลยรับผิดเงิน
สว นตา งหรอื สว นทข่ี าดของราคาและคา ใชจ า ยในการขายทอดตลาดใหมอ นั เนอ่ื งจากจำเลยซง่ึ เปน
ผูซื้อในการขายทอดตลาดทรัพยครั้งกอนไมชำระราคาภายในกำหนดระยะเวลาตามสัญญาซื้อ
ขายทท่ี ำไวก บั โจทกอ นั เปน ความรบั ผดิ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๑๖ ทง้ั ตามบทบญั ญตั แิ หง กฎหมาย
ดังกลาวก็กำหนดใหผูทอดตลาด ซึ่งในเรื่องนี้คือโจทกเอาทรัพยที่เคยขายทอดตลาดไปนั้นออก
ขายอีกครั้ง จึงเปนกรณีที่กฎหมายบัญญัติวิธีปฏิบัติเมื่อผูซื้อไมชำระราคาไวเปนการเฉพาะ
โดยใหน ำทรพั ยอ อกขายทอดตลาดใหม ซง่ึ มผี ลเสมอื นเปน การยกเลกิ หรอื เพกิ ถอนการขายทอดตลาด
ทรัพยครั้งกอนและกำหนดความรับผิดของผูซื้อคนเดิมที่ละเลยไมใชราคานั้น กรณีมิใชเรื่องที่
โจทกตองบอกเลิกสัญญาซื้อขายตอจำเลยกอนเพื่อใหสัญญาเลิกกันแลวเรียกคาเสียหาย และ
การที่โจทกนำทรัพยออกขายทอดตลาดใหมก็มิใชกรณีที่คูสัญญาสมัครใจเลิกสัญญาตอกันโดย
ปรยิ ายดงั ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณ เพราะเปน เรอ่ื งทโ่ี จทกด ำเนนิ การตามกฎหมายทบ่ี ญั ญตั ไิ วโ ดยเฉพาะ
ดงั กลาว อทุ ธรณข องจำเลยในขอ นี้ฟงไมขึ้น

ปญ หาตองวินจิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยขอตอไปมวี า จำเลยตอ งรับผดิ ชำระเงินสว น
ตา งทข่ี าดอยตู ามฟอ งแกโ จทกเ พยี งใด เหน็ วา เงนิ มดั จำ ๒๕๐,๐๐๐ บาท ทจ่ี ำเลยวางไวต อ โจทก
เปนเงินที่โจทกริบไวตามสัญญาซื้อขาย จึงเปนเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยของลูกหนี้
ซึ่งจะตองรวบรวมเขาไวในกองทรัพยสินของลูกหนี้ตอไป ถือวาเปนสวนหนึ่งของเงินสวนตาง
ของราคาทจ่ี ำเลยไดช ำระแลว ตอ งนำไปหกั ออกจากเงนิ สว นตา งของราคาในการขายทอดตลาด
ทรพั ยใ หมต ามทโ่ี จทกเ รยี กมาดว ย คงเหลอื เงนิ สว นตา งของราคาทข่ี าดอยู ๕๐,๐๐๐ บาท เมอ่ื รวม
กับคาใชจายในการขายทอดตลาดทรัพยใหมเปนเงิน ๕,๕๐๙ บาท ซึ่งจำเลยมิไดอุทธรณโตแยง
วา ไมถ กู ตอ ง จำเลยจงึ ตอ งรบั ผดิ เงนิ สว นตา งทข่ี าดอยแู กโ จทก ๕๕,๕๐๙ บาท ทศ่ี าลลม ละลายกลาง
วินิจฉัยวา เงินมัดจำที่ริบไมเปนการชำระราคาบางสวนของจำเลยที่จะนำมาหักออกจาก
เงินสวนตางของราคาไดนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณของจำเลย
ขอนฟี้ งขน้ึ สวนอทุ ธรณข องจำเลยขอ อ่นื ไมทำใหผลคดีเปลย่ี นแปลงไป จงึ ไมว นิ ิจฉัยให

๒๐๗

อนง่ึ จำเลยอทุ ธรณโ ตแ ยง คำพพิ ากษาของศาลลม ละลายกลางในประเดน็ เงนิ สว นตา งของ
ราคาในการขายทอดตลาดใหมซ ง่ึ พพิ ากษาใหจ ำเลยชำระเปน เงนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท และคา ใชจ า ย
ในการขายทอดตลาดใหม ๕,๕๐๙ บาท แตจ ำเลยเหน็ วา ตอ งรบั ผดิ เงนิ สว นนเ้ี พยี ง ๕๐,๐๐๐ บาท
จำนวนทุนทรัพยที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณมีจำนวน ๒๕๕,๕๐๙ บาท แตจำเลยเสียคาขึ้นศาล
ชน้ั อทุ ธรณม าตามทนุ ทรพั ยท โ่ี จทกฟ อ งในศาลลม ละลายกลางเปน เงนิ ๖,๑๑๐ บาท เปน การเสยี
เกนิ มา ๑,๐๐๐ บาท จึงตองคืนคาขน้ึ ศาลชัน้ อทุ ธรณสว นท่เี สียเกินแกจำเลย

พพิ ากษาแกเ ปน วา ใหจ ำเลยชำระเงนิ ๕๕,๕๐๙ บาท พรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕
ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๐) เปนตนไป
จนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก และใหจ ำเลยใชค า ฤชาธรรมเนยี มในศาลลม ละลายกลางแทนโจทก
เฉพาะคา ขน้ึ ศาลใหใ ชต ามทนุ ทรพั ยท โ่ี จทกช นะคดใี นชน้ั อทุ ธรณ กบั ใหค นื คา ขน้ึ ศาลชน้ั อทุ ธรณ
ที่จำเลยเสียเกินมา ๑,๐๐๐ บาท แกจำเลย สวนคาฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ นอกจากที่สั่งคืน
ใหเ ปนพบั นอกจากทแี่ กใหเปน ไปตามคำพิพากษาของศาลลมละลายกลาง.

(องอาจ งามมีศรี - โชคชัย รุจนิ นิ นาท - วเิ ชยี ร วชิรประทปี )

สรายทุ ธ เตชะวุฒพิ นั ธุ - ยอ
อดิศักดิ์ เทียนกริม - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงทสี่ ุด

๒๐๘

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษที่ ๖๓๖๗/๒๕๖๒ ธนาคารอาคารสงเคราะห โจทก

(ประชุมใหญ) นางดวงเดอื น

จรี พันธภ กั ดี จำเลย

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๖๐ วรรคหนงึ่ , ๑๓๕ (๒)

หลงั จากจำเลยยน่ื คำขอประนอมหนก้ี อ นลม ละลาย จำเลยชำระหนเ้ี พยี งบางสว น
และไมต รงตามกำหนดอนั เปน การผดิ นดั ตามทต่ี กลงไวใ นการประนอมหน้ี และเจา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยร ายงานศาลถงึ เหตดุ งั กลา ว จงึ ชอบทศ่ี าลลม ละลายกลางมอี ำนาจสง่ั ยกเลกิ
การประนอมหนี้อันเปนขั้นตอนตามที่บัญญัติไวตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๖๐ วรรคหนง่ึ เพอ่ื ใหค ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ยเ ดด็ ขาดมผี ลตอ ไป แตเ มอ่ื ปรากฏขอ เทจ็ จรงิ
ตามรายงานของเจาพนักงานพิทักษทรัพยวาภายหลังจากจำเลยผิดนัดไมชำระหนี้
ดังกลาวแลว เจาหนี้ที่ยื่นคำขอรับชำระหนี้เพียงรายเดียวไดยื่นคำรองขอถอนคำขอรับ
ชำระหนี้ จึงไมมีกรณีที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะตองรวบรวมทรัพยสินของจำเลย
ออกขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ใหแกเจาหนี้อีก และเปนกรณีที่ไมมีเจาหนี้คนใด
ยื่นคำขอรับชำระหนี้อันเปนเหตุที่จำเลยไมควรถูกพิพากษาใหลมละลายตาม พ.ร.บ.
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๒) ชอบทศ่ี าลจะมคี ำสง่ั ยกเลกิ การลม ละลายไปเสยี
ทีเดยี ว โดยไมจ ำตอ งพิพากษาใหจ ำเลยลม ละลายกอน

______________________________

เจาพนักงานพิทักษทรัพยรายงานวา จำเลยผิดนัดไมชำระหนี้ตามที่ไดตกลงไวในการ
ประนอมหนี้ ขอใหยกเลิกการประนอมหนี้และพิพากษาใหจำเลยลมละลายตามพระราชบัญญัติ
ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ ตามมาตรา ๖๐ วรรคหนึ่ง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๐
เจา หนซ้ี ง่ึ ยน่ื คำขอรบั ชำระหนเ้ี พยี งรายเดยี วไดข อถอนคำขอรบั ชำระหนแ้ี ละเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
มคี ำสง่ั อนญุ าตแลว จงึ เปน เหตทุ จ่ี ำเลยไมค วรถกู พพิ ากษาใหล ม ละลาย ขอใหย กเลกิ การลม ละลาย
ของจำเลยเสยี ดว ยตามพระราชบญั ญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๒)

ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหย กเลกิ การประนอมหน้ี พพิ ากษาใหจ ำเลยลม ละลายและ
ยกเลิกการลมละลายตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๖๐ วรรคหนึ่ง และ
มาตรา ๑๓๕ (๒)

๒๐๙

จำเลยอุทธรณโ ดยไดรับอนญุ าตจากศาลอุทธรณคดชี ำนญั พิเศษ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตาม
อทุ ธรณข องจำเลยวา เมอ่ื จำเลยผดิ นดั ไมช ำระหนใ้ี หแ กเ จา หนต้ี ามทไ่ี ดต กลงไวใ นการประนอมหน้ี
แตเจาหนี้ดังกลาวซึ่งยื่นคำขอรับชำระหนี้เพียงรายเดียวถอนคำขอรับชำระหนี้และเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยมีคำสั่งอนุญาตแลว ศาลจำตองพิพากษาใหจำเลยลมละลายตามพระราชบัญญัติ
ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๖๐ วรรคหนง่ึ หรอื ไม ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษโดยมตทิ ป่ี ระชมุ ใหญ
เห็นวาเมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดเปนที่ยุติวาหลังจากจำเลยยื่นคำขอประนอมหนี้กอนลมละลาย
โดยตกลงผอ นชำระหนใ้ี หแ กเ จา หน้ี จำเลยชำระหนเ้ี พยี งบางสว นและไมต รงตามกำหนดอนั เปน
การผิดนัดตามที่ตกลงไวในการประนอมหนี้ และเจาพนักงานพิทักษทรัพยรายงานศาลถึงเหตุ
ดังกลาว จึงชอบที่ศาลลมละลายกลางมีอำนาจสั่งยกเลิกการประนอมหนี้อันเปนขั้นตอนตามที่
บญั ญตั ไิ วต ามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๖๐ วรรคหนง่ึ เพอ่ื ใหค ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
เดด็ ขาดมผี ลตอ ไป แตเ มอ่ื ปรากฏขอ เทจ็ จรงิ ตามรายงานของเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยว า ภายหลงั
จากจำเลยผดิ นดั ไมช ำระหนด้ี งั กลา วแลว เจา หนท้ี ย่ี น่ื คำขอรบั ชำระหนเ้ี พยี งรายเดยี วไดย น่ื คำรอ ง
ขอถอนคำขอรบั ชำระหน้ี จงึ ไมม กี รณที เ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยจ ะตอ งรวบรวมทรพั ยส นิ ของจำเลย
ออกขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้ใหแกเจาหนี้อีก และเปนกรณีที่ไมมีเจาหนี้คนใดยื่นคำขอ
รับชำระหนี้อันเปนเหตุที่จำเลยไมควรถูกพิพากษาใหลมละลายตามพระราชบัญญัติลมละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๕ (๒) ซง่ึ ชอบทจ่ี ะมคี ำสง่ั ยกเลกิ การลม ละลายไปเสยี ทเี ดยี ว ทศ่ี าลลม ละลายกลาง
มีคำพิพากษาใหจำเลยลมละลายแลวจึงมีคำสั่งยกเลิกการลมละลายนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญ
พิเศษไมเ ห็นพอ งดว ย อทุ ธรณข องจำเลยฟง ขึ้น
พิพากษาแกเปนวา ใหยกเลิกการประนอมหนี้กอนลมละลายและยกเลิกการลมละลาย
สว นคำขอใหพพิ ากษาใหจ ำเลยลม ละลายใหยกเสีย คาฤชาธรรมเนยี มในชน้ั อุทธรณใหเปน พับ.

(เกยี รตคิ ุณ แมนเลขา - สถาพร วิสาพรหม - สริ พิ ร เปรมาสวัสด์ิ สุรมณี)

นราธปิ บญุ ญพนชิ - ยอ
อดศิ กั ด์ิ เทยี นกริม - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถึงทีส่ ุด

๒๑๐

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณค ดชี ำนัญพเิ ศษที่ ๒๕๘/๒๕๖๓ หา งหุนสว นจำกัด

(ประชมุ ใหญ) อมุ บุญธุรกจิ

หรอื หา งหุนสว นจำกดั

มหานครสรุ นารเี มืองใหม โจทก

นายปรชี า สุวรรณชาติ ผรู อ ง

บรษิ ทั สรุ นคร

เมอื งใหม จำกัด จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๗๗, ๑๐๘๗
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗, ๒๙

โจทกซึ่งเปนเจาหนี้แกลงใหศาลใชอํานาจตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๑๗ จาํ เลยซง่ึ เปน ลกู หนี้ไดย น่ื คาํ รองขอ และศาลลมละลายกลางมคี าํ ส่ังใหโ จทก
ชดใชค าเสยี หายใหแกจาํ เลย ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๙ แลว โจทก
ซึ่งเปนเจาหนี้ไมปฏิบัติตามคําสั่งศาล ศาลลมละลายกลางจึงมีอํานาจออกหมายบังคับ
คดแี กโ จทก โจทกเ ปน นติ บิ คุ คลประเภทหา งหนุ สว นจาํ กดั ผรู อ งในฐานะหนุ สว นผจู ดั การ
ซึ่งเปนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดจึงอยูในสถานะลูกหนี้ และตองรวมรับผิด
กับโจทกที่จะถูกบังคับคดีเชนเดียวกับโจทกโดยไมจําตองฟองเปนคดีใหม ตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๑๐๗๗ (๒) และมาตรา ๑๐๘๗ จาํ เลยจงึ สามารถบงั คบั คดเี อาแกโ จทกแ ละผรู อ งได
แตก ารบังคบั คดศี าลจะตอ งออกคาํ บังคบั แกล กู หนตี้ ามคําพพิ ากษาเสยี กอ น หากลกู หน้ี
ไมปฏิบัติตามคําบังคับ จึงจะสามารถออกหมายบังคับคดีตามคําขอของเจาหนี้ตาม
คําพิพากษาไดตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗๖ ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลลมละลายและ
วิธพี ิจารณาคดลี มละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ การทีศ่ าลลม ละลายกลางออกหมาย
บังคับคดแี กผูรองโดยยงั มไิ ดอ อกคําบังคบั นนั้ ยอ มเปนการไมชอบ

______________________________

คดสี บื เนือ่ งมาจากโจทกฟอ งขอใหจำเลยลมละลาย ระหวา งพจิ ารณา โจทกย ่นื คำรอ ง
ขอใหพ ิทักษทรัพยของลูกหนชี้ ่ัวคราว ศาลลมละลายกลางมีคำส่ังใหพ ทิ กั ษทรพั ยของจำเลย

๒๑๑

ชั่วคราว โดยใหโจทกวางเงินประกันคาเสียหาย ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตอมาศาลลมละลายกลาง
พิพากษายกฟอง และศาลฎีกาพิพากษายืน จำเลยยื่นคำรองขอใหศาลมีคำสั่งใหโจทกชดใช
คาเสียหาย ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๙ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่ง
ใหโจทกชำระคาเสยี หายใหแ กจ ำเลย

จำเลยยน่ื คำขอใหอ อกหมายบงั คบั คดแี กโ จทกแ ละผรู อ งซง่ึ เปน หนุ สว นผจู ดั การของโจทก
โจทกยืน่ คำคัดคา น ขอใหยกคำขอ
ศาลลม ละลายกลางมคี ำส่งั ใหอ อกหมายบงั คับคดแี กโจทกแ ละผูรอ ง
ผูรองอทุ ธรณโดยไดรับอนญุ าตจากศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงรับฟงเปนยุติวา
เมอื่ โจทกย ่ืนฟอ งขอใหจำเลยลมละลาย โจทกไดยน่ื คำรองขอใหพ ิทักษทรัพยของลูกหน้ชี ั่วคราว
และศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหพ ทิ กั ษท รพั ยข องจำเลยชว่ั คราว ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย
พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๗ ตอ มาปรากฏภายหลงั วา โจทกซ ง่ึ เปน เจา หนแ้ี กลง ใหศ าลใชอ ำนาจตาม
มาตรา ๑๗ เมื่อจำเลยซึ่งเปนลูกหนี้ยื่นคำรองขอ ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหโจทกชดใช
คา เสยี หายใหแ กจ ำเลย ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๙ เจา หนไ้ี มป ฏบิ ตั ิ
ตามคำสั่งศาล จำเลยยื่นคำขอใหออกหมายบังคับคดีแกโจทกและผูรองซึ่งเปนหุนสวนผูจัดการ
ของโจทก ศาลลม ละลายกลางมีคำสั่งใหออกหมายบังคบั คดแี กโจทกและผูร อง
คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องผรู อ งประการแรกวา ศาลลม ละลายกลางดำเนนิ
กระบวนพิจารณาผิดระเบียบหรือไม เห็นวา กระบวนพิจารณาชั้นจำเลยรองขอใหโจทกซึ่งเปน
เจา หนช้ี ดใชค า เสยี หาย ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๙ เปน การพจิ ารณา
วาเจาหนี้คือโจทกไดแกลงใหศาลใชอำนาจตามมาตรา ๑๗ หรือไม อันเปนกระบวนพิจารณา
ระหวางโจทกกับจำเลย การที่จำเลยไมนำสงหมายนัดและสำเนาคำรองใหแกผูรอง จึงมิใชการ
ดำเนินกระบวนผิดระเบียบหรือไมชอบดวยกฎหมายแตอยางใด สวนกรณีตอมาเมื่อศาลมีคำสั่ง
ใหโจทกชดใชคาเสียหายแกจำเลย แตโจทกไมปฏิบัติ จำเลยจึงไดขอใหศาลออกหมายบังคับคดี
แกโจทกและผูร อ งนั้น เปน การดำเนนิ การในช้นั บังคบั คดี ซึ่งเปนกระบวนพิจารณาคนละสว นกัน
การดำเนินกระบวนพิจารณาดังกลาวจึงไมเปนการผิดระเบียบ ที่ศาลลมละลายกลางยกคำรอง
ของผูรองในสว นน้ี ศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษเหน็ พอ งดว ย อทุ ธรณข อ น้ขี องผูรองฟงไมข้นึ
ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูรองประการตอไปมีวา จำเลยสามารถบังคับคดี
เอาแกผูรองไดหรือไม เห็นวา เมื่อขอเท็จจริงเปนยุติวา ปรากฏภายหลังวาโจทกซึ่งเปนเจาหนี้
แกลง ใหศ าลใชอ ำนาจตามมาตรา ๑๗ จำเลยซง่ึ เปน ลกู หนไ้ี ดย น่ื คำรอ งขอ และศาลลม ละลายกลาง

๒๑๒

มคี ำสง่ั ใหโ จทกช ดใชค า เสยี หายใหแ กจ ำเลย ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๙
โจทกซ ง่ึ เปน เจา หนไ้ี มป ฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั ศาล ซง่ึ ตามมาตรา ๒๙ บญั ญตั ใิ หศ าลมอี ำนาจบงั คบั เจา หน้ี
นน้ั เสมอื นหนง่ึ วา เปน ลกู หนต้ี ามคำพพิ ากษา อนั เปน กระบวนการในชน้ั บงั คบั คดที ต่ี อ งพจิ ารณา
วาจะสามารถบังคับคดีเอาแกผูใดไดบาง เมื่อโจทกไมปฏิบัติตามคำสั่งศาล ศาลลมละลายกลาง
จงึ มอี ำนาจออกหมายบงั คบั คดแี กโ จทก และกรณนี โ้ี จทกเ ปน นติ บิ คุ คลประเภทหา งหนุ สว นจำกดั
ซึ่งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๐๗๗ บัญญัติวา “อันหางหุนสวนจำกัดนั้น คือ
หา งหนุ สว นประเภทหนง่ึ ซง่ึ มผี เู ปน หนุ สว นสองจำพวกดงั จะกลา วตอ ไปน้ี คอื (๒) ผเู ปน หนุ สว น
คนเดียวหรือหลายคนซึ่งตองรับผิดรวมกันในบรรดาหนี้ของหางหุนสวนไมมีจำกัดจำนวนอีก
จำพวกหนึ่ง” และมาตรา ๑๐๘๗ บัญญัติวา “อันหางหุนสวนจำกัดนั้น ทานวาตองใหแตเฉพาะ
ผูเปนหุนสวนจำพวกไมจำกัดความรับผิดเทานั้นเปนผูจัดการ” ตามบทบัญญัติของกฎหมาย
ดังกลาว ผูเปนหุนสวนประเภทไมจำกัดความรับผิดตองรวมรับผิดในบรรดาหนี้ของหางโดยไม
จำกัดจำนวน และผูจะเปนหุนสวนผูจัดการในหางหุนสวนจำกัดจะมีไดเฉพาะหุนสวนประเภท
ไมจ ำกดั ความรบั ผดิ เทา นน้ั ดงั นน้ั ผรู อ งในฐานะหนุ สว นผจู ดั การซง่ึ เปน หนุ สว นประเภทไมจ ำกดั
ความรับผดิ จึงตอ งรว มรับผิดกบั โจทกโ ดยไมจำกดั จำนวน เม่ือโจทกอ ยใู นสถานะเสมอื นหนึง่ วา
เปนลูกหนี้ตามคำพิพากษา ผูรองในฐานะหุนสวนผูจัดการซึ่งเปนหุนสวนประเภทไมจำกัด
ความรบั ผดิ จงึ อยใู นสถานะลกู หนแ้ี ละตอ งรว มรบั ผดิ กบั โจทกท จ่ี ะถกู บงั คบั คดเี ชน เดยี วกบั โจทก
โดยไมจำตองฟองเปนคดีใหม จำเลยจึงสามารถบังคับคดีเอาแกโจทกและผูรองได แตการบังคับ
คดศี าลจะตอ งออกคำบงั คบั แกล กู หนต้ี ามคำพพิ ากษาเสยี กอ น หากลกู หนไ้ี มป ฏบิ ตั ติ ามคำบงั คบั
จงึ จะสามารถออกหมายบงั คบั คดตี ามคำขอของเจา หนต้ี ามคำพพิ ากษาได ตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๗๖ ประกอบพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณา
คดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ ที่ศาลลมละลายกลางออกหมายบังคับคดีแกผูรองโดย
ยงั มไิ ดอ อกคำบงั คบั นน้ั ไมต อ งดว ยความเหน็ ของศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ อทุ ธรณข องผรู อ ง
ฟงขึ้นบางสว น

พพิ ากษาแกเ ปน ใหย กคำสง่ั ศาลลม ละลายกลางทอ่ี อกหมายบงั คบั คดแี กผ รู อ ง นอกจาก
ที่แกใหเปนไปตามคำสงั่ ของศาลลมละลายกลาง คา ฤชาธรรมเนียมช้ันอทุ ธรณใ หเ ปน พบั .

(สถาพร วิสาพรหม - สริ พิ ร เปรมาสวัสด์ิ สรุ มณี - เกยี รตคิ ณุ แมนเลขา)

ภารดี เพญ็ เจรญิ - ยอ
วิรตั น วศิ ิษฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดีถงึ ที่สุด

๒๑๓

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษท่ี ๖๗๕/๒๕๖๔ บรรษทั ประกนั สนิ เชื่อ

อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม โจทก

นายพนู บุษรา ผูรอ ง

เจา พนกั งาน

พิทกั ษท รพั ย กับพวก ผูคัดคาน

บรษิ ัท ช. จรสั ซี

ซอลท จำกดั กบั พวก จำเลย

ป.วิ.พ. มาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง, ๒๔๓ (๑), ๓๒๓ วรรคหา
พ.ร.บ. จัดตง้ั ศาลลมละลายและวธิ พี ิจารณาคดลี มละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔, ๒๘/๑

การพิจารณาและมีคำสั่งเกี่ยวกับการขอใหชดใชคาสินไหมทดแทนอันเกิดขึ้น
จากการรองขอใหปลอยทรัพยตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๓๒๓ วรรคหา ที่บัญญัติวา “ในกรณี
ที่ศาลไดมีคำสั่งยกคำรองขอที่ยื่นไวตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ถาโจทกหรือเจาหนี้
ตามคำพพิ ากษาทไ่ี ดร บั ความเสยี หายเนอ่ื งจากการยน่ื คำรอ งขอดงั กลา วเหน็ วา คำรอ งขอนน้ั
ไมมีมูลและยื่นเขามาเพื่อประวิงการบังคับคดี บุคคลดังกลาวอาจยื่นคำรองตอศาล
ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลไดมีคำสั่งยกคำรองขอ เพื่อขอใหศาลสั่งใหผูกลาวอาง
ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนสำหรบั ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ แกต นได ในกรณเี ชน วา น้ี ใหศ าล
มอี ำนาจสง่ั ใหแ ยกการพจิ ารณาเปน สำนวนตา งหากจากคดเี ดมิ และเมอ่ื ศาลไตส วนแลว
เหน็ วา คำรอ งนน้ั ฟง ได ใหศ าลมคี ำสง่ั ใหผ กู ลา วอา งชดใชค า สนิ ไหมทดแทนตามจำนวนท่ี
ศาลเหน็ สมควร ถา บคุ คลดงั กลา วไมป ฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั ศาล โจทกห รอื เจา หนต้ี ามคำพพิ ากษา
อาจรองขอใหศาลบังคับคดีแกบุคคลนั้นเสมือนหนึ่งวาเปนลูกหนี้ตามคำพิพากษา”
ในการพิจารณาและมีคำสั่งศาลจึงตองทำการไตสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณของ
ผรู อ งและความเสยี หายตามคำรอ งขอใหช ดใชค า สนิ ไหมทดแทนของผคู ดั คา นท่ี ๒ กอ น
ที่จะมีคำสั่ง แตการที่ศาลลมละลายกลางพิจารณาคำรองของผูคัดคานที่ ๒ แลวมีคำสั่ง
โดยไมไ ตส วน จงึ เปน การไมป ฏิบัตติ ามบทบัญญัติของกฎหมายในขอ ทม่ี งุ หมายจะยังให
การเปน ไปดว ยความยตุ ธิ รรมตาม ป.ว.ิ พ. มาตรา ๒๗ วรรคหนง่ึ ประกอบ พ.ร.บ. จดั ตง้ั
ศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ และมิไดปฏิบัติ
ตามบทบญั ญตั แิ หง ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง วา ดว ยคำพพิ ากษาและคำสง่ั

๒๑๔

ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษจงึ ชอบทจ่ี ะยกคำสง่ั ของศาลลม ละลายกลาง และมคี ำสง่ั ใหม
เสียใหถูกตองตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลลมละลายและ
วธิ พี ิจารณาคดีลม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑

_______________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากเมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน ๒๕๕๗ ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั พทิ กั ษท รพั ย
ของจำเลยทง้ั สเ่ี ดด็ ขาด และพพิ ากษาใหล ม ละลายเมอ่ื วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๕๙ ธนาคารกรงุ ไทย
จำกัด (มหาชน) โดยผูคัดคานที่ ๒ ผูสวมสิทธิแทนซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๗ ยื่นคำขอรับชำระหนี้
มูลหนี้ตามคำพิพากษาคดีแพงหมายเลขแดงที่ ๒๙๙/๒๕๔๙ ของศาลจังหวัดเพชรบุรี รวม
๑๒๓,๗๔๒,๑๘๘.๕๒ บาท อยา งเจา หนม้ี ปี ระกนั เหนอื ทด่ี นิ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา งรวม ๗ แปลง และ
นำยดึ ทด่ี นิ ทเ่ี ปน หลกั ประกนั ซง่ึ รวมทง้ั ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๙๗๑๖ ตำบลบางแกว อำเภอบา นแหลม
จงั หวดั เพชรบรุ ี ของจำเลยท่ี ๒ ผรู อ งยน่ื คำรอ งคดั คา นการยดึ และขอใหป ลอ ยทรพั ยเ ฉพาะทด่ี นิ
๑ ไร ซ่ึงเปนสว นหนึ่งของที่ดินโฉนดเลขที่ ๙๗๑๖ โดยอางวาไดส ิทธโิ ดยการครอบครองปรปก ษ
ผูคัดคานที่ ๑ สอบสวนแลวมีคำสั่งไมใหถอนการยึด ผูรองจึงยื่นคำรองตอศาลลมละลายกลาง
ขอใหกลับคำสั่งของผูคัดคานที่ ๑ ในระหวางการพิจารณาศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหผูรอง
วางเงินประกันการชำระคาสินไหมทดแทนแกผูคัดคานที่ ๒ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และตอมา
มีคำสงั่ ยกคำรอ งขอใหป ลอ ยทรพั ยแ ละคนื เงนิ ประกันคา สินไหมทดแทนใหแกผูรอง

ผคู ดั คา นท่ี ๒ ยน่ื คำรอ งขอใหบ งั คบั ผรู อ งชำระเงนิ ดงั กลา วพรอ มดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ
๗.๕ ตอ ป นับแตว นั ทศี่ าลมีคำสงั่ ใหผ ูรอ งชำระเปนตน ไปจนกวาจะชำระเสรจ็ แกผูค ดั คา นที่ ๒

ศาลลมละลายกลางตรวจคำรองแลวมีคำสั่งวา ตามทางไตสวนคำรองขอขัดทรัพยนั้น
ผูรองขัดทรัพยมีพฤติการณในการรองขัดทรัพยโดยสุจริต ไมมีพฤติการณที่จะประวิงคดีเพื่อให
เกิดความเสียหายแกผูอื่นแตประการใด ทั้งเมื่อศาลมีคำสั่งใหวางเงินประกันความเสียหายก็ทำ
ตามคำสั่งศาลภายในเวลาที่กำหนด จึงไมมีเหตุที่ผูรองขัดทรัพยตองชดใชคาสินไหมทดแทนแก
ผูค ัดคา นที่ ๒ แตอยา งใด ยกคำรอง คา ฤชาธรรมเนียมในชนั้ นี้ใหเปนพับ

ผคู ัดคานท่ี ๒ อทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ปญ หาทต่ี อ งวนิ จิ ฉยั ในชน้ั น้ี
ตามอทุ ธรณข องผคู ดั คา นท่ี ๒ วา ศาลลม ละลายกลางตอ งไตส วนคำรอ งของผคู ดั คา นท่ี ๒ ทข่ี อให
ผรู อ งชดใชค า สนิ ไหมทดแทนกอ นมคี ำสง่ั หรอื ไม เหน็ วา การทผ่ี รู อ งยน่ื คำรอ งตอ ศาลลม ละลายกลาง

๒๑๕

ขอใหก ลบั คำสง่ั ของผคู ดั คา นท่ี ๑ ทม่ี คี ำสง่ั ไมใ หถ อนการยดึ และขอใหศ าลมคี ำสง่ั ใหป ลอ ยทรพั ย
ซง่ึ พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๕๘ บญั ญตั ใิ หศ าลพจิ ารณาและมคี ำสง่ั ชข้ี าด
เหมอื นอยา งคดธี รรมดา แตเ นอ่ื งจากพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ และพระราชบญั ญตั ิ
จัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ ไมไดบัญญัติถึงเรื่องการขอให
ชดใชคาสินไหมทดแทนอันเกิดขึ้นจากการรองขอใหปลอยทรัพยในคดีลมละลายไวโดยเฉพาะ
จึงตองนำบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลมตาม
มาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ดังนั้น ในการพิจารณาและมีคำสั่งเกี่ยวกับการขอให
ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนอนั เกดิ ขน้ึ จากการรอ งขอใหป ลอ ยทรพั ยจ งึ ตอ งบงั คบั ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๓๒๓ วรรคหา ที่บัญญัติวา “ในกรณีท่ศี าลไดมีคำสั่งยกคำรอ งขอ
ที่ยื่นไวตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ถาโจทกหรือเจาหนี้ตามคำพิพากษาที่ไดรับความเสียหาย
เนื่องจากการยื่นคำรองขอดังกลาวเห็นวาคำรองขอนั้นไมมีมูลและยื่นเขามาเพื่อประวิงการ
บังคับคดี บุคคลดังกลาวอาจยื่นคำรองตอศาลภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลไดมีคำสั่งยก
คำรอ งขอ เพอ่ื ขอใหศาลส่ังใหผ ูกลา วอางชดใชค าสนิ ไหมทดแทนสำหรับความเสยี หายท่เี กดิ ขึน้
แกต นได ในกรณเี ชน วา น้ี ใหศ าลมอี ำนาจสง่ั ใหแ ยกการพจิ ารณาเปน สำนวนตา งหากจากคดเี ดมิ
และเมื่อศาลไตสวนแลวเห็นวาคำรองนั้นฟงได ใหศาลมีคำสั่งใหผูกลาวอางชดใชคาสินไหม
ทดแทนตามจำนวนทศ่ี าลเหน็ สมควร ถา บคุ คลดงั กลา วไมป ฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั ศาล โจทกห รอื เจา หน้ี
ตามคำพพิ ากษาอาจรอ งขอใหศ าลบงั คบั คดแี กบ คุ คลนน้ั เสมอื นหนง่ึ วา เปน ลกู หนต้ี ามคำพพิ ากษา”
ในการพิจารณาและมีคำสั่งศาลจึงตองทำการไตสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณของผูรอง
และความเสียหายตามคำรองขอใหชดใชคาสินไหมทดแทนของผูคัดคานที่ ๒ กอนที่จะมีคำสั่ง
แตก ารทศ่ี าลลม ละลายกลางพจิ ารณาคำรอ งของผคู ดั คา นท่ี ๒ แลว มคี ำสง่ั โดยไมไ ตส วน จงึ เปน
การไมป ฏบิ ตั ติ ามบทบญั ญตั ขิ องกฎหมายในขอ ทม่ี งุ หมายจะยงั ใหก ารเปน ไปดว ยความยตุ ธิ รรม
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๗ วรรคหนึ่ง ประกอบพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ และมิไดปฏิบัติตาม
บทบญั ญตั แิ หง ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง วา ดว ยคำพพิ ากษาและคำสง่ั ศาลอทุ ธรณ
คดีชำนัญพิเศษจึงชอบที่จะยกคำสั่งของศาลลมละลายกลางและมีคำสั่งใหมเสียใหถูกตองตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๘/๑ อทุ ธรณข อ นข้ี องผคู ดั คา น
ที่ ๒ ฟงขึ้น และในชั้นนี้ยังไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณขออื่นของผูคัดคานที่ ๒ เพราะไมทำให
ผลแหงคดเี ปลีย่ นแปลงไป

๒๑๖

พพิ ากษาใหย กคำสง่ั ของศาลลม ละลายกลางทส่ี ง่ั ยกคำรอ งตามคำรอ งของผคู ดั คา นท่ี ๒
ฉบับลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๓ ใหศาลลมละลายกลางรับคำรองและไตสวนคำรองของ
ผูคัดคานท่ี ๒ แลว มีคำสั่งใหมต ามรูปคดี คาฤชาธรรมเนยี มในชน้ั อทุ ธรณใหเ ปนพบั .

(เกยี รติคุณ แมน เลขา - สถาพร วสิ าพรหม - อดิศกั ด์ิ เทียนกริม)

สรายทุ ธ เตชะวฒุ พิ นั ธุ - ยอ
วิรตั น วิศิษฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงท่สี ดุ

๒๑๗

คำพิพากษาศาลอทุ ธรณคดีชำนญั พเิ ศษท่ี ๒๓๒๙/๒๕๖๑ บริษทั รวมดี เอ็นจิเนยี รงิ่

แอนด ทรานสปอรต จำกดั โจทก

บริษทั นครไทย

สตรปิ มลิ จำกดั (มหาชน)

หรือบรษิ ทั จี เจ สตลี

จำกดั (มหาชน) จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๑๒, ๑๙๓/๓๐
พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๒๗, ๙๐/๖๐ วรรคหน่ึง, ๙๐/๗๕

แผนฟน ฟกู จิ การของจำเลยทศ่ี าลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบแลว มผี ลผกู พนั เจา หนซ้ี ง่ึ มสี ทิ ธิ
ไดร บั ชำระหนใ้ี นการฟน ฟกู จิ การ ทำใหโ จทกซ ง่ึ เปน เจา หนม้ี สี ทิ ธไิ ดร บั ชำระหนต้ี ามแผน
ฟน ฟกู จิ การแทนสทิ ธใิ นการไดร บั ชำระหนต้ี ามมลู หนเ้ี ดมิ ตาม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง แมตอมาผูบริหารแผนแถลงวาไดปฏิบัติตามแผนครบถวน
และศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการของจำเลย จำเลยก็ยังคงตอง
ผูกพันรับผิดชำระหนี้แกโจทกซึ่งเปนเจาหนี้ที่อาจขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการที่ได
ขอรับชำระหนี้ไวแลว ตามคำสั่งคำขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการและตามที่กำหนด
ไวในแผนฟน ฟูกิจการตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๕

โจทกฟ อ งจำเลยโดยใชส ทิ ธเิ รยี กรอ งตามแผนฟน ฟกู จิ การทศ่ี าลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบแลว
เมื่อพิจารณา พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง ซึ่งบัญญัติวา
“แผนซง่ึ ศาลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบแลว ผกู มดั เจา หนซ้ี ง่ึ อาจขอรบั ชำระหนใ้ี นการฟน ฟกู จิ การได
และเจาหนี้ซึ่งมีสิทธิไดรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการ ทั้งนี้ ตามมาตรา ๙๐/๒๗” เห็นได
วา สทิ ธเิ รยี กรอ งของเจา หนต้ี ามแผนฟน ฟกู จิ การยอ มเกดิ มขี น้ึ ไดก แ็ ตโ ดยคำสง่ั เหน็ ชอบ
ดวยแผนของศาล และสิทธิเรียกรองตามแผนฟนฟูกิจการอาจสิ้นไปเมื่อศาลมีคำสั่ง
ยกเลิกคำสั่งใหฟนฟูกิจการ แตคดีนี้ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการ
ของจำเลย จำเลยจงึ ตอ งผกู พนั ชำระหนต้ี ามแผนตอ ไป สทิ ธเิ รยี กรอ งตามแผนฟน ฟกู จิ การ
ที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบดังกลาวไมมีกฎหมายบัญญัติอายุความไวโดยเฉพาะ จึงมีกำหนด
สบิ ปต าม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐

______________________________

๒๑๘

โจทกฟองและแกไขคำฟองขอใหบังคับจำเลยชำระเงิน ๔,๑๒๘,๖๖๓.๘๙ บาท พรอม
ดอกเบย้ี อตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๑,๘๐๒,๐๙๐.๒๗ บาท นบั ถดั จากวนั ฟอ งเปน ตน ไป
จนกวาจะชำระเสร็จ

จำเลยใหการและแกไ ขคำใหการขอใหยกฟอ ง
ศาลลม ละลายกลางพพิ ากษาใหจ ำเลยชำระหนแ้ี กโ จทกเ ปน เงนิ ๑,๘๐๒,๐๙๐.๒๗ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ เปนตนไปจนกวาจะ
ชำระหนี้เสร็จแกโจทก กับใหจำเลยใชคาฤชาธรรมเนียมแทนโจทก โดยกำหนดคาทนายความ
๑๐,๐๐๐ บาท คำขออ่นื นอกจากนี้ใหยก
จำเลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความ
ไมโตแยงกันฟงเปนยุติไดวา จำเลยเชาสินคาประเภทตูออฟฟศพรอมอุปกรณจากโจทกหลาย
รายการและชำระคาเชาสินคาใหแกโจทกบางสวน คงคางชำระคาเชา ๑,๗๑๖,๐๗๕.๑๘ บาท
ตอ มาศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของจำเลยตามคดหี มายเลขแดงท่ี ฟ.๒๔/๒๕๔๓
โจทกยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีฟนฟูกิจการ เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งใหโจทกไดรับ
ชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการตามมูลหนี้คาเชาตูออฟฟศและอุปกรณตาง ๆ เปนเงินทั้งสิ้น
๑,๘๐๒,๐๙๐.๒๗ บาท พรอ มดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๗.๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๑,๗๑๖,๐๗๕.๑๘ บาท
นบั แตว นั ถดั จากวนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของจำเลยเปน ตน ไปจนกวา จะไดร บั ชำระหนเ้ี สรจ็
ตอมาศาลลมละลายกลางมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผนและขอเสนอขอแกไขแผนตามมติที่ประชุม
เจาหนี้ โดยแผนฟนฟูกิจการกำหนดใหโจทกอยูในกลุมเจาหนี้กลุมที่ ๑๓ และใหจำเลยชำระหนี้
ใหแกเจาหนี้กลุมที่ ๑๓ เปนจำนวนรอยละ ๗๕ ของจำนวนหนี้เงินตนที่มีสิทธิไดรับชำระหนี้
ภายในกำหนด ๘ ป นบั จากวนั ทม่ี ผี ลใชบ งั คบั คอื วนั ท่ี ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๔๖ ตอ มาวนั ท่ี ๒ มนี าคม ๒๕๕๒
ศาลลม ละลายกลางมคี ำส่ังยกเลกิ การฟนฟูกิจการของจำเลย เม่อื ครบกำหนดชำระหนต้ี ามแผน
ฟน ฟูกจิ การ จำเลยไมช ำระหนีใ้ หแ กโ จทก
คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยประการแรกวา จำเลยตอ งรบั ผดิ ชำระหน้ี
ตนเงินตามแผนฟนฟูกิจการใหแกโจทกเพียงใด เห็นวา เมื่อศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผนฟนฟู
กิจการของจำเลย แผนฟนฟูกิจการของจำเลยที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบแลวมีผลผูกมัดโจทกผูเปน
เจาหน้ซี ึ่งมสี ทิ ธไิ ดร ับชำระหนใี้ นการฟน ฟูกจิ การ ทำใหโ จทกมีสทิ ธิไดร ับชำระหน้ตี ามแผนฟน ฟู
กจิ การ แทนสทิ ธใิ นการไดร บั ชำระหนต้ี ามมลู หนเ้ี ดมิ ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง แมตอมาผูบริหารแผนยื่นคำแถลงวาผูบริหารแผนไดปฏิบัติตามแผน

๒๑๙

ครบถวน และศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการของจำเลย จำเลยก็ยังคงตอง
ผูกพันรับผิดชำระหนี้แกโจทกซึ่งเปนเจาหนี้ที่อาจขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการที่ไดขอรับ
ชำระหนี้ไวแลว ตามคำสั่งคำขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการและตามที่กำหนดไวในแผนฟนฟู
กิจการตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๕ เมื่อแผนฟนฟูกิจการที่ศาล
มีคำสั่งเห็นชอบกำหนดใหโจทกอยูในกลุมเจาหนี้ กลุมที่ ๑๓ และกำหนดใหจำเลยชำระหนี้แก
เจา หนก้ี ลมุ นต้ี ามจำนวนในสกลุ เงนิ ตามหนเ้ี ปน จำนวนรอ ยละ ๗๕ ของจำนวนหนเ้ี งนิ ตน ทม่ี สี ทิ ธิ
ไดร บั ชำระหน้ี และตน เงนิ ทเ่ี จา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม คี ำสง่ั อนญุ าตใหโ จทกม สี ทิ ธไิ ดร บั ชำระหน้ี
เปน เงนิ ๑,๗๑๖,๐๗๕.๑๘ บาท จำเลยจงึ ตอ งรบั ผดิ ชำระหนใ้ี หแ กโ จทกเ ปน จำนวนรอ ยละ ๗๕ ของ
ตน เงนิ ๑,๗๑๖,๐๗๕.๑๘ บาท ตามทก่ี ำหนดในแผนฟน ฟกู จิ การ คดิ เปน เงนิ ๑,๒๘๗,๐๕๖.๓๙ บาท
ที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหจำเลยรับผิดเต็มจำนวนตามคำสั่งคำขอรับชำระหนี้ในการฟนฟู
กิจการของเจาพนักงานพิทักษทรัพยนั้น ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษไมเห็นพองดวย อุทธรณ
ของจำเลยขอ น้ีฟง ขนึ้

คดมี ปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ตามอทุ ธรณข องจำเลยประการสดุ ทา ยวา ฟอ งโจทกข าดอายคุ วาม
หรือไม เห็นวา คดีนี้โจทกฟองจำเลยโดยใชสิทธิเรียกรองตามแผนฟนฟูกิจการที่ศาลมีคำสั่ง
เห็นชอบแลว เมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง
ซึ่งบัญญัติวา “แผนซึ่งศาลมีคำสั่งเห็นชอบแลว ผูกมัดเจาหนี้ซึ่งอาจขอรับชำระหนี้ในการฟนฟู
กิจการไดและเจาหนี้ซึ่งมีสิทธิไดรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการ ทั้งนี้ ตามมาตรา ๙๐/๒๗”
เห็นไดวาสิทธิเรียกรองของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการยอมเกิดมีขึ้นไดก็แตโดยคำสั่งเห็นชอบ
ดวยแผนของศาล และสิทธิเรียกรองตามแผนฟนฟูกิจการอาจสิ้นไปเมื่อศาลมีคำสั่งยกเลิกคำสั่ง
ใหฟนฟูกิจการ แตคดีนี้ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการของจำเลย จำเลยจึง
ตองผูกพันชำระหนี้ตามแผนตอไป สิทธิเรียกรองตามแผนฟนฟูกิจการที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบ
ดงั กลา วไมม กี ฎหมายบญั ญตั อิ ายคุ วามไวโ ดยเฉพาะ จงึ มกี ำหนดสบิ ปต ามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๓๐ สิทธิเรียกรองตามคำฟองหาใชสิทธิเรียกรองโดยอาศัยมูลหนี้
คาเชาสินคาอันจะมีอายุความหาปดังที่จำเลยอุทธรณไม ขอเท็จจริงปรากฏวาแผนฟนฟูกิจการ
ที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบ ขอ ๖.๑๒ กำหนดใหจำเลยชำระหนี้แกเจาหนี้กลุมที่ ๑๓ ซึ่งรวมถึงโจทก
ภายในกำหนด ๘ ป นับจากวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖ ซึ่งเปนวันที่แผนมีผลใชบังคับ จึงครบ
กำหนดชำระหนี้ในวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ โจทกจึงอาจบังคับสิทธิเรียกรองใหจำเลยชำระหนี้
ตามแผนฟนฟูกิจการไดนับแตวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เปนตนไป ตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๙๓/๑๒ โจทกฟองคดีนี้เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ยังไมพนกำหนด
สบิ ป ฟอ งโจทกจ งึ ไมขาดอายุความ อุทธรณข อ นี้ของจำเลยฟง ไมขึ้น

๒๒๐

พิพากษาแกเปนวา ใหจำเลยชำระหนี้แกโจทกเปนเงิน ๑,๒๘๗,๐๕๖.๓๙ บาท พรอม
ดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของจำนวนเงินดังกลาว นับแตวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔
เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก นอกจากทแ่ี กใ หเ ปน ไปตามคำพพิ ากษาศาลลม ละลายกลาง
คาฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณใ หเ ปน พบั .

(สิริพร เปรมาสวสั ดิ์ สุรมณี - ณรงค กลั่นวารนิ ทร - เกยี รตคิ ุณ แมนเลขา)

รตมิ า ชัยสโุ รจน - ยอ
อดศิ ักดิ์ เทยี นกรมิ - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี งึ ทีส่ ดุ

๒๒๑

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดชี ำนญั พิเศษท่ี ๔๕๔๖/๒๕๖๑ บรษิ ทั แคนาดอยล ผูรอ งขอ
กรุป จำกดั ผูรอ ง
ธนาคารทหารไทย ลูกหนี้
จำกดั (มหาชน)
บรษิ ทั แคนาดอล
เอเชีย จำกัด

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๔), ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนง่ึ , ๙๐/๑๓

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนึ่ง หามไมใหเจาหนี้
ตามคำพิพากษาบังคับคดีแกทรัพยสินของลูกหนี้ ถามูลแหงหนี้ตามคำพิพากษานั้น
เกิดขึ้นกอนวันที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผน เวนแตศาลที่รับคำรองขอมีคำสั่งเปน
อยางอื่นนั้น เปนบทบัญญัติสวนหนึ่งของกระบวนการฟนฟูกิจการของลูกหนี้ที่กฎหมาย
กำหนดใหเกิดสภาวะหยุดนิ่งหรือสภาวะพักการชำระหนี้นับแตวันที่ศาลไดมีคำสั่งรับ
คำรอ งขอใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนไ้ี วพ จิ ารณา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคท จ่ี ะสงวนรกั ษาทรพั ยส นิ
ของลูกหนี้ไวเพื่อประโยชนแกการฟนฟูกิจการของลูกหนี้หรือการรวบรวมทรัพยสินของ
ลกู หนม้ี าจดั สรรชำระหนแ้ี กเ จา หนอ้ี ยา งเปน ธรรมตามทก่ี ฎหมายกำหนดหรอื ตามเงอ่ื นไข
การชำระหนี้ในแผนฟนฟูกจิ การ

เมือ่ มูลแหงหน้ตี ามคำพิพากษาเปนหนคี้ าจา งซ่งึ เกดิ ขนึ้ หลงั จากศาลมีคำสั่งต้ัง
ผูทำแผนและกอนวันที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผน ทั้งลูกหนี้ยังอยูระหวางผูบริหาร
แผนดำเนนิ ตามแผนฟน ฟกู จิ การ ซง่ึ ยงั คงมสี ภาวะหยดุ นง่ิ หรอื พกั การชำระหนใ้ี นระหวา ง
การฟน ฟูกิจการของลกู หน้ี กรณีตอ งหามมใิ หเจา หน้ีตามคำพิพากษาบังคับคดแี กทรัพย
ของลูกหนี้ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนึ่ง แมเจาหนี้
ตามคำพิพากษาจะไดรับอนุญาตจากศาลลมละลายกลางใหฟองเรียกรองหนี้แรงงาน
เอาจากลูกหนี้ได อันเปนขอยกเวนที่ใหศาลที่รับคำรองขอใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้จะ
มีคำสั่งเปนอยางอื่นไดตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๔) ประกอบ
มาตรา ๙๐/๑๓ ก็ตาม แตหากเจาหนี้ตามคำพิพากษาที่ชนะคดีตามฟองนั้นจะบังคับคดี
แกทรัพยสินของลูกหนี้ซึ่งเปนลูกหนี้ตามคำพิพากษาตอไป ก็ยังจะตองยื่นคำรองขอให
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั อนญุ าตใหบ งั คบั คดดี ว ย เพราะเปน ขน้ั ตอนคนละสว นกนั กบั

๒๒๒

การฟอ งคดี และการบงั คบั คดแี กท รพั ยส นิ ของลกู หนอ้ี าจมผี ลกระทบตอ การฟน ฟกู จิ การ
ของลูกหนี้ได จึงเปนอำนาจของศาลที่จะพิจารณาอีกครั้งหนึ่งวาจะอนุญาตใหบังคับคดี
หรอื ไมต าม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนง่ึ ประกอบมาตรา
๙๐/๑๓ เมอ่ื ไมป รากฏวา ศาลลม ละลายกลางไดม คี ำสง่ั อนญุ าตใหเ จา หนต้ี ามคำพพิ ากษา
คดแี รงงานดำเนนิ การบงั คบั คดแี กท รพั ยส นิ ของลกู หนไ้ี ด การทเ่ี จา พนกั งานบงั คบั คดยี ดึ และ
ขายทอดตลาดทรพั ยของลูกหน้ี จงึ เปนการฝา ฝนตอบทบญั ญัติของกฎหมายดงั กลาว

______________________________

ผูรองซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๑๑๔ ยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งเพิกถอนการยึดและการขาย
ทอดตลาดทรพั ยข องเจา พนกั งานบงั คบั คดี ใหร ะงบั การจา ยเงนิ ทไ่ี ดจ ากการขายทอดตลาดทรพั ย
ในคดีแรงงาน ระงับการขนยายทรพั ยทข่ี ายทอดตลาด และหา มยึดทรพั ยข องลกู หน้ีเพิม่

ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งวา กรณีไมมีเหตุเพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย แตคดี
อยรู ะหวา งการไตส วนคำรอ งขอใหผ บู รหิ ารแผนพน จากตำแหนง จงึ ใหก กั เงนิ ทไ่ี ดจ ากการขาย
ทอดตลาดทรัพยไ วเ พอ่ื รอฟง ผลการไตสวนคำรอ ง แจง เจา พนกั งานบังคบั คดที ราบ

ผรู องอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา คดีนี้ผูรองซึ่งเปนเจาหนี้
ทข่ี อรบั ชำระหนใ้ี นการฟน ฟกู จิ การของลกู หนย้ี น่ื คำรอ งขอใหศ าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั เพกิ ถอน
การยึดและการขายทอดตลาดทรัพยของลูกหนี้ที่เจาพนักงานบังคับคดีดำเนินการบังคับคดีใน
คดแี รงงาน เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั ตามคำรอ งของผรู อ งประการใดแลว คำสง่ั ของศาลมใิ ชค ำสง่ั อยา งหนง่ึ
อยา งใดที่ยกเวน ใหอทุ ธรณไ ดต าม พระราชบัญญตั จิ ัดตง้ั ศาลลมละลายและวิธีพจิ ารณาคดลี ม ละลาย
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๕ (๑) ถงึ (๕) อทุ ธรณข องผรู อ งจงึ ตอ งหา มมใิ หอ ทุ ธรณ แตเ มอ่ื พจิ ารณา
ปญหาตามอุทธรณของผูรองที่วา การที่เจาพนักงานบังคับคดียึดและขายทอดตลาดทรัพยของ
ลกู หนี้เปน การฝา ฝน ตอพระราชบญั ญัตลิ มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) หรอื ไม
ปรากฏขอเท็จจริงตามสำนวนวา ลูกจางของลูกหนี้รวม ๒๗ ราย ยื่นคำรองขอใหศาลลมละลายกลาง
มีคำส่งั อนุญาตใหฟ องลกู หนี้ใหชำระคาจางคา งจายของเดอื นเมษายนและเดอื นพฤษภาคม ๒๕๕๙
ศาลมีคำสั่งอนุญาตเมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ ตอมาลูกจางของลูกหนี้ไดฟองลูกหนี้ตอศาล
แรงงานภาค ๒ ศาลมีคำพิพากษาเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เปนคดีแรงงานหมายเลข
แดงที่ ๑๒๑๔ - ๑๒๔๐/๒๕๕๙ ซึง่ พิพากษาใหลกู หน้ชี ำระคา จางคางจา ยพรอมดอกเบย้ี แกลกู จา ง
แตละคน หลงั จากนน้ั ลกู จางของลูกหน้ีในฐานะเจาหนต้ี ามคำพพิ ากษาไดดำเนนิ การบงั คบั คดี

๒๒๓

เจา พนกั งานบงั คบั คดี สำนกั งานบงั คบั คดจี งั หวดั ระยอง ไดย ดึ ทรพั ยข องลกู หนซ้ี ง่ึ เปน เครอ่ื งจกั ร
รวม ๑๒ รายการ และขายทอดตลาดทรัพยทั้งหมดไปเมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๐ เห็นวา
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนึ่ง หามไมใหเจาหนี้ตาม
คำพพิ ากษาบงั คบั คดแี กท รพั ยส นิ ของลกู หน้ี ถา มลู แหง หนต้ี ามคำพพิ ากษานน้ั เกดิ ขน้ึ กอ นวนั ท่ี
ศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผน เวนแตศาลที่รับคำรองขอมีคำสั่งเปนอยางอื่นนั้น เปนบทบัญญัติ
สวนหนึ่งของกระบวนการฟนฟูกิจการของลูกหนี้ที่กฎหมายกำหนดใหเกิดสภาวะหยุดนิ่งหรือ
สภาวะพกั การชำระหนน้ี บั แตว นั ทศ่ี าลไดม คี ำสง่ั รบั คำรอ งขอใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนไ้ี วพ จิ ารณา
โดยมีวัตถุประสงคที่จะสงวนรักษาทรัพยสินของลูกหนี้ไวเพื่อประโยชนแกการฟนฟูกิจการของ
ลูกหนี้หรือการรวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้มาจัดสรรชำระหนี้แกเจาหนี้อยางเปนธรรมตามที่
กฎหมายกำหนดหรือตามเงื่อนไขการชำระหนี้ในแผนฟนฟูกิจการ เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา
มลู แหง หนต้ี ามคำพพิ ากษาของเจา หนต้ี ามคำพพิ ากษาในคดแี รงงานดงั กลา ว เปน หนค้ี า จา งคา ง
จายของเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ จึงเปนหนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากศาลมีคำสั่งตั้ง
ผทู ำแผนและกอ นวนั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผน ทง้ั ลกู หนย้ี งั อยรู ะหวา งผบู รหิ ารแผนดำเนนิ การ
ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งยังคงมีสภาวะหยุดนิ่งหรือพักการชำระหนี้ในระหวางการฟนฟูกิจการ
ของลูกหนี้ กรณีตองหามมิใหเจาหนี้ตามคำพิพากษาบังคับคดีแกทรัพยสินของลูกหนี้ตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนง่ึ แมเ จา หนต้ี ามคำพพิ ากษา
ทง้ั ๒๗ ราย จะไดร บั อนญุ าตจากศาลลม ละลายกลางใหฟ อ งเรยี กรอ งหนแ้ี รงงานเอาจากลกู หนไ้ี ด
อันเปนขอยกเวนที่ใหศาลที่รับคำรองขอใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้จะมีคำสั่งเปนอยางอื่นไดตาม
พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๑๒ (๔) ประกอบมาตรา ๙๐/๑๓ ก็ตาม
แตหากเจาหนี้ตามคำพิพากษาที่ชนะคดีตามฟองนั้นจะบังคับคดีแกทรัพยสินของลูกหนี้ซึ่งเปน
ลูกหนี้ตามคำพิพากษาตอไป ก็ยังจะตองยื่นคำรองขอใหศาลลมละลายกลางมีคำสั่งอนุญาตให
บังคับคดีดวย เพราะเปนขั้นตอนคนละสวนกันกับการฟองคดี และการบังคับคดีแกทรัพยสิน
ของลกู หน้อี าจมีผลกระทบตอการฟนฟูกจิ การของลกู หน้ไี ด จึงเปน อำนาจของศาลท่ีจะพิจารณา
อีกครั้งหนึ่งวาจะอนุญาตใหบังคับคดีหรือไม ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๐/๑๒ (๕) วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๙๐/๑๓ เมื่อไมปรากฏวาศาลลมละลายกลาง
ไดมีคำสั่งอนุญาตใหเจาหนี้ตามคำพิพากษาคดีแรงงานดำเนินการบังคับคดีแกทรัพยสินของ
ลูกหนี้ได การที่เจาพนักงานบังคับคดียึดและขายทอดตลาดทรัพยของลูกหนี้ จึงเปนการฝาฝน
ตอบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาว ที่ศาลลมละลายกลางมิไดมีคำสั่งใหเพิกถอนการยึดและ
การขายทอดตลาดทรพั ยข องเจา พนกั งานบงั คบั คดนี น้ั เปน การไมช อบ ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษ

๒๒๔

พิจารณาเห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม จำเปนตองแกไขขอผิดพลาดตาม
พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๖ วรรคส่ี

พพิ ากษากลบั ใหเ พกิ ถอนการยดึ และการขายทอดตลาดทรพั ยข องลกู หนท้ี เ่ี จา พนกั งาน
บังคับคดี สำนักงานบังคับคดีจังหวัดระยอง ดำเนินการบังคับคดีในคดีแรงงานหมายเลขแดงที่
๑๒๑๔ - ๑๒๔๐/๒๕๕๙ ของศาลแรงงานภาค ๒ คา ฤชาธรรมเนียมในชั้นนใี้ หเปน พบั .

(องอาจ งามมศี รี - โชคชยั รุจนิ นิ นาท - วเิ ชยี ร วชิรประทปี )

รตมิ า ชัยสุโรจน - ยอ
อดิศักด์ิ เทียนกรมิ - ตรวจ

หมายเหตุ ศาลฎีกาพิพากษายืน ตามคำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๘๓๙๗/๒๕๖๓

๒๒๕

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณคดีชำนญั พิเศษที่ ๖๔๒๘/๒๕๖๒ บริษัทเอน็ เนอรย ่ี เอิรธ
จำกัด (มหาชน) ลูกหนีผ้ ูรองขอ
บรษิ ัทอีวาย คอรป อเรท
แอดไวซอรี่ เซอรว สิ เซส
จำกัด ผูรอง
บริษทั ธนาคารกสกิ รไทย
จำกัด (มหาชน) ผคู ดั คา น

พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๕๘๓ มาตรา ๙๐/๔๘, ๙๐/๕๘ วรรคสาม

เมื่อศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนการทำสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ
แลว ตอมาศาลลมละลายกลางมีคำสั่งไมเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการ และมีคำสั่ง
ยกเลกิ คำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนต้ี าม พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๕๘
วรรคสาม ประกอบมาตรา ๙๐/๔๘ วรรคสี่ แลว ผลของคำสั่งดังกลาวยอมทำใหคำสั่ง
ใหฟนฟูกิจการและกระบวนการตาง ๆ ในคดีฟนฟูกิจการของลูกหนี้เปนอันยกเลิก
เพิกถอนไป เสมือนวาไมเคยมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้นั้น อำนาจหนาที่ในการ
จัดการกิจการและทรัพยสินของลูกหนี้กลับมาเปนของผูบริหารของลูกหนี้ รวมทั้งสิทธิ
และหนาที่ระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้ยอมกลับไปเปนดังเดิมที่มีตอกันอยูกอนศาลมีคำสั่ง
ใหฟ น ฟกู จิ การ ดงั นน้ั เมอ่ื ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ไมเ หน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การและ
มคี ำสง่ั ยกเลกิ คำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนแ้ี ลว การรอ งขอเพกิ ถอนสญั ญาหลกั ประกนั
ทางธุรกิจเปนคดีสาขา ซึ่งเปนกระบวนการหนึ่งในคดีฟนฟูกิจการของลูกหนี้จึงเปนอัน
ยกเลกิ ไปดว ย สญั ญาหลกั ประกนั ทางธรุ กจิ ทท่ี ำขน้ึ ระหวา งผคู ดั คา นและลกู หนก้ี อ นศาล
มีคำสัง่ ใหฟนฟกู จิ การจงึ กลับมามีผลผกู พนั กันตอ

______________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้ และตั้งบริษัท
อีวาย คอรปอเรท แอดไวซอรี่ เซอรวิสเซส จำกัด ปนผูทำแผน เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๐
ตอ มาวนั ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ไมเ หน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การ
และมคี ำส่ังยกเลิกคำสง่ั ใหฟน ฟูกจิ การของลกู หนี้

ผูรองยื่นคำรองขอใหมีคำสั่งเพิกถอนการทำนิติกรรมสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ ซึ่ง
ลูกหนี้ไดกระทำลงกอนมีการยื่นคำรองขอฟนฟูกิจการ โดยมีจุดมุงหมายใหผูคัดคานไดเปรียบ
เจา หนี้อืน่ ตามพระราชบัญญัตลิ มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๔๑

๒๒๖

ผูค ดั คา นยืน่ คำคดั คานขอใหยกคำรอ ง
ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเพิกถอนการทำสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ ลงวันที่
๑๖ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ ระหวา งลกู หนก้ี บั ผคู ดั คา น และการจดทะเบยี นสญั ญาหลกั ประกนั ทางธรุ กจิ
ลงวนั ท่ี ๑๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ ของผคู ดั คา นตอ สำนกั งานทะเบยี นหลกั ประกนั ทางธรุ กจิ กรมพฒั นา
ธรุ กิจ คาฤชาธรรมเนยี มใหเ ปนพบั
ผูคดั คานอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ รบั ฟง ไดว า ภายหลงั
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหเ พกิ ถอนการทำสญั ญาหลกั ประกนั ทางธรุ กจิ ลงวนั ท่ี ๑๖ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐
ระหวางลูกหนี้กับผูคัดคาน และการจดทะเบียนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ ลงวันที่ ๑๙
มิถุนายน ๒๕๖๐ ของผูคัดคานตอสำนักงานทะเบียนหลักประกันทางธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจ
ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๔๑ ตอ มาวนั ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑
ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ไมเ หน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การและมคี ำสง่ั ยกเลกิ คำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การ
ของลูกหนี้ เห็นวา เมื่อศาลลมละลายกลางมีคำสั่งไมเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการ และมีคำสั่ง
ยกเลกิ คำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนต้ี ามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๕๘
วรรคสาม ประกอบมาตรา ๙๐/๔๘ วรรคส่ี แลว ผลของคำสง่ั ดงั กลา วยอ มทำใหค ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การ
และกระบวนการตาง ๆ ในคดีฟน ฟกู จิ การของลกู หนเ้ี ปน อันยกเลกิ เพกิ ถอนไป เสมือนวาไมเคย
มีคำสั่งใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้นั้น อำนาจหนาที่ในการจัดการกิจการและทรัพยสินของลูกหนี้
กลับมาเปนของผูบริหารของลูกหนี้ รวมทั้งสิทธิและหนาที่ระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้ยอมกลับไป
เปนดังเดิมที่มีตอกันอยูกอนศาลมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการ ดังนั้น เมื่อศาลลมละลายกลางมีคำสั่ง
ไมเ หน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การและมคี ำสง่ั ยกเลกิ คำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนแ้ี ลว การรอ งขอ
เพิกถอนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจเปนคดีสาขา ซึ่งเปนกระบวนการหนึ่งในคดีฟนฟูกิจการ
ของลูกหนี้จึงเปนอันยกเลิกไปดวย สัญญาหลักประกันทางธุรกิจที่ทำขึ้นระหวางผูคัดคานและ
ลูกหนี้กลับมามีผลผูกพันกันตอ เมื่อเปนเชนนี้แลว จึงไมจำตองวินิจฉัยอุทธรณของผูคัดคาน
อีกตอ ไป
พพิ ากษากลับ ใหยกคำรอ ง คาฤชาธรรมเนียมชั้นอทุ ธรณใ หเปนพับ.

(โชคชยั รุจินินนาท - วิเชียร วชริ ประทปี - องอาจ งามมีศรี)

ภารดี เพ็ญเจรญิ - ยอ
วิรตั น วิศิษฏวงศกร - ตรวจ

หมายเหตุ คดถี ึงที่สดุ

๒๒๗

คำพพิ ากษาศาลอทุ ธรณค ดีชำนญั พเิ ศษที่ ๔๕๐/๒๕๖๔ บรษิ ัทบริหารสินทรพั ย

สุขุมวิท จำกัด โจทก

บรษิ ัทแอล พี เอ็น เพลทมิล

จำกัด (มหาชน) จำเลย

ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐
พ.ร.บ. จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดี

ทรพั ยสินทางปญ ญาและการคาระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙
พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนง่ึ , ๙๐/๗๕

ในวนั ชส้ี องสถานของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลาง
กรรมการผูจัดการจำเลยและเปนผูรับมอบอำนาจของจำเลยแถลงวาเขาใจคำฟองแลว
โดยชดั แจง โดยไมจ ำตอ งใหโ จทกแ กฟ อ งอกี และแถลงสละประเดน็ เรอ่ื งฟอ งเคลอื บคลมุ
ศาลจึงไมไดกำหนดเปนประเด็นขอพิพาท เมื่อศาลทรัพยสินทางปญญาและการคา
ระหวางประเทศกลางโอนคดีไปยังศาลลมละลายกลาง เนื่องจากประธานศาลอุทธรณ
คดีชำนัญพิเศษวินิจฉัยวา คดีไมอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลทรัพยสินทาง
ปญญาและการคาระหวางประเทศ กระบวนพิจารณาดังกลาวก็ไมเสียไป ตาม พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสิน
ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙ จึงไมมีประเด็นขอพิพาท
เรอื่ งฟองโจทกเคลือบคลมุ อกี ตอไป

จำเลยมคี วามผกู พนั ตอ งชำระหนใ้ี หแ กโ จทกต ามแผนฟน ฟกู จิ การซง่ึ ศาลมคี ำสง่ั
เห็นชอบแลวตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง แมศาลจะมี
คำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการของจำเลยแลวก็ตาม คำสั่งดังกลาวก็ไมมีผลเปลี่ยนแปลง
ความผูกพันในหนี้ของจำเลยกับเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ กลาวคือ คำสั่งยกเลิก
การฟนฟูกิจการมีผลใหจำเลยหลุดพนจากหนี้ทั้งปวงซึ่งอาจขอรับชำระหนี้ในการฟนฟู
กจิ การได เวน แตห นซ้ี ง่ึ เจา หนท้ี อ่ี าจขอรบั ชำระหนใ้ี นการฟน ฟกู จิ การจะไดข อรบั ชำระหน้ี
ไวแลว ตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๕ จำเลยยังคงมีหนาที่ชำระหนี้
ใหแกโจทกจนครบถว นตามแผนฟนฟกู ิจการตอไป

สทิ ธเิ รยี กรอ งของโจทกท จ่ี ะไดร บั ชำระหนต้ี ามแผนฟน ฟกู จิ การเปน สทิ ธเิ รยี กรอ ง
ที่ตางไปจากสิทธิเรียกรองเดิมตามสัญญาเลตเตอรออฟเครดิตและสัญญาทรัสทรีซีท

๒๒๘

และเปน สทิ ธเิ รยี กรอ งทไ่ี มม บี ทบญั ญตั แิ หง กฎหมายกำหนดไวเ ปน การเฉพาะวา มอี ายคุ วาม
เทาใด จงึ มกี ำหนดอายุความ ๑๐ ป ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๙๓/๓๐

_____________________________

คดสี บื เนอ่ื งมาจากเมอ่ื วนั ท่ี ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๔๕ ศาลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การ
ของจำเลยและตง้ั บรษิ ทั แอลพเี อน็ แพลนเนอร จำกดั เปน ผทู ำแผน ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๖ สงิ หาคม ๒๕๔๖
ศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการของจำเลย โดยมีบริษัทแอลพีเอ็น แพลนเนอร จำกัด
เปน ผบู รหิ ารแผน และวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ศาลมคี ำสง่ั ยกเลกิ การฟน ฟกู จิ การของจำเลย

โจทกยื่นฟองจำเลยตอศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางวา
เดมิ จำเลยทำสญั ญาสนิ เชอ่ื ประเภทตา ง ๆ รวมถงึ สญั ญาทรสั ทร ซี ที (การขอเครดติ เพอ่ื รบั สนิ คา
ไปกอนชำระเงิน) จำนวน ๔ ฉบับ กับธนาคารมหานคร จำกัด (มหาชน) โดยจำเลยไดนำที่ดิน
โฉนดเลขที่ ๑๗๐๖, ๑๗๓๘, ๔๐๙๐๘ ถึง ๔๐๙๑๓, ๔๒๗๗๒, ๔๗๘๑๔, ๕๖๑๗๒, ๕๖๒๐๙,
๖๐๘๓๔ ถึง ๖๐๘๓๗, ๖๒๔๐๔, ๖๒๔๐๕, ๖๔๕๔๐, ๖๙๐๓๕ ถึง ๖๙๐๔๔, ๖๙๔๓๑, ๙๓๑๘๘
และตราจองเลขที่ ๑๙๘, น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๑, ๒๖/๒๕๐๐, ๒๗/๒๕๐๐ ตำบลบางปลากด อำเภอ
พระสมทุ รเจดยี  จงั หวดั สมทุ รปราการ พรอ มสง่ิ ปลกู สรา ง มาจดทะเบยี นจำนองไวเ พอ่ื เปน ประกนั
การชำระหนด้ี งั กลา ว ตอ มาเมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๔๑ ธนาคารมหานคร จำกดั (มหาชน) ไดโ อน
กจิ การทง้ั หมดรวมถงึ สทิ ธเิ รยี กรอ งทม่ี ตี อ จำเลยใหแ กธ นาคารกรงุ ไทย จำกดั (มหาชน) วนั ท่ี ๒๑
กนั ยายน ๒๕๔๓ ธนาคารกรงุ ไทย จำกดั (มหาชน) ไดโ อนสทิ ธเิ รยี กรอ งทม่ี ตี อ จำเลยใหแ กโ จทก
และวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๔ โจทกไดโอนสิทธิเรียกรองที่มีตอจำเลยดังกลาวใหแกบรรษัท
บริหารสนิ ทรัพยไทย แตจ ำเลยไมส ามารถชำระหน้ไี ด จงึ ย่นื คำรองขอฟนฟูกิจการ และเมอ่ื วันที่
๑๙ สงิ หาคม ๒๕๔๕ ศาลมคี ำสง่ั อนญุ าตใหฟ น ฟกู จิ การของจำเลย โดยกอ นการขอฟน ฟกู จิ การ
ภาระหนข้ี องจำเลยรวมถงึ หลกั ประกนั ทม่ี อี ยกู บั ธนาคารมหานคร จำกดั (มหาชน) ทง้ั หมดไดโ อน
มาใหแ กบ รรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทย เมอ่ื คำนวณเฉพาะภาระหนต้ี ามสญั ญาทรสั ทร ซี ที ทง้ั ๔ ฉบบั
ถึงวันที่ศาลมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการ สำหรับสัญญาฉบับที่ ๑ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๘
คดิ เปน ตน เงนิ และดอกเบย้ี รวม ๖๐,๕๔๓,๙๘๒.๕๑ บาท สญั ญาฉบบั ท่ี ๒ ลงวนั ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๘
คิดเปนตนเงินและดอกเบี้ยรวม ๕๘,๘๗๔,๓๓๘.๔๔ บาท สัญญา ฉบับที่ ๓ ลงวันที่ ๙
ธนั วาคม ๒๕๔๐ คดิ เปน ตน เงนิ และดอกเบย้ี รวม ๑๔๐,๙๓๒,๔๓๐.๖๔ บาท และสญั ญาฉบบั ท่ี ๔
ลงวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๔๐ คิดเปนตนเงินและดอกเบี้ยรวม ๓๐,๕๗๓,๓๔๘.๔๘ บาท รวมเปน
ตน เงนิ และดอกเบย้ี ทง้ั สน้ิ ๒๙๐,๙๒๔,๐๙๙.๙๖ บาท หลงั จากศาลมคี ำสง่ั ใหจ ำเลยฟน ฟกู จิ การแลว

๒๒๙

เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๔๕ บรรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทยนำมลู หนต้ี ามสญั ญาทรสั ทร ซี ที ๔ ฉบบั
และมูลหนี้อื่นรวม ๙ มูลหนี้ ยื่นขอรับชำระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยกับไดรับโอนหนี้จาก
โจทกเ พม่ิ เตมิ รวมเปน ตน เงนิ ๔,๘๐๕,๘๘๔,๓๐๔.๓๗ บาท และดอกเบย้ี ๒,๘๗๙,๙๔๖,๙๓๘.๓๙ บาท
รวมภาระหน้ีทั้งสน้ิ ๗,๖๘๕,๘๘๔,๔๗๕.๗๖ บาท ซึง่ ภาระหนด้ี ังกลาวแยกเปน สว นเฉพาะภาระ
หนี้ตนเงินตามสัญญาทรัสทรีซีท ๔ ฉบับ เปนเงิน ๑๖๖,๙๕๔,๖๙๓.๕๖ บาท คิดเปนสัดสวน
รอ ยละ ๓.๔ ของจำนวนหนต้ี น เงนิ ทบ่ี รรษทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยไ ทยยน่ื ขอรบั ชำระหนด้ี งั กลา วขา งตน
ตอมาเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ โจทกรับโอนสิทธิเรียกรองในหนี้ดังกลาวมาจากบรรษัท
บริหารสินทรัพยไทย โดยบอกกลาวการโอน ทวงถามใหชำระหนี้และไถถอนจำนองใหจำเลย
ทราบแลว จำเลยเริ่มชำระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการตั้งแตวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๖ เปนตนมาจน
กระทั่งศาลมีคำสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการเมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ แตจำเลยยังชำระหนี้
ตามแผนฟน ฟกู จิ การไมค รบถว น จำเลยชำระหนใ้ี หโ จทกค รง้ั สดุ ทา ยเมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๕๗
เปน เงนิ ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท หลงั จากนน้ั จำเลยผดิ นดั ไมช ำระหนแ้ี กโ จทกอ กี ณ วนั ท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๘
คงเหลือตนเงินคางชำระ ๑,๙๑๑,๒๙๑,๒๕๒.๑๐ บาท และดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป
คิดถึงวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เปนเงิน ๑,๓๔๓,๖๓๒,๓๓๙.๑๕ บาท ซึ่งในการชำระหนี้ตาม
แผนฟนฟูกิจการของจำเลยนั้น ไดรวมภาระหนี้ทั้งหมดเปนจำนวนเดียวกันและทำการชำระหนี้
รวมกัน โดยไมไดแบงแยกวาชำระหนี้ในมูลหนี้ใด อันเปนการชำระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการที่
ไมอ าจแบง แยกได ดงั นน้ั เมอ่ื นำสดั สว นรอ ยละ ๓.๔ ตามภาระหนส้ี ญั ญาทรสั ทร ซี ที ทง้ั ๔ ฉบบั
มาคำนวณกับฐานตนเงินทั้งหมด ๑,๙๑๑,๒๙๑,๒๕๒.๑๐ บาท และดอกเบี้ยคางชำระ
๑,๓๔๓,๖๓๒,๓๓๙.๑๕ บาท จะคดิ เปน ภาระหนค้ี งคา งเฉพาะตามสญั ญาทรสั ทร ซี ที ทง้ั ๔ ฉบบั
เปนตนเงิน ๖๕,๐๐๕,๓๒๒.๕๗ บาท และดอกเบี้ย ๔๕,๖๘๓,๔๙๙.๕๓ บาท และเมื่อคำนวณ
ดอกเบย้ี ในอตั รารอ ยละ ๑๕ ตอ ป ของตน เงนิ ๖๕,๐๐๕,๓๒๒.๕๗ บาท นบั แตว นั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘
จนถึงวันฟองคดีนี้ จำเลยคงคางชำระดอกเบี้ยอีก ๘๕๔,๘๖๔.๓๒ บาท รวมเปนหนี้คาง
ชำระทง้ั สน้ิ จำนวน ๑๑๑,๕๔๓,๖๘๖.๔๒ บาท ขอใหจ ำเลยชำระเงนิ ๑๑๑,๕๔๓,๖๘๖.๔๒ บาท
พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๑๕ ตอป จากตนเงิน ๖๕,๐๐๕,๓๒๒.๕๗ บาท นับถัดจากวันฟอง
เปน ตน ไปจนกวา จะชำระเสรจ็ แกโ จทก หากไมช ำระหรอื ชำระไมค รบถว น ใหย ดึ ทรพั ยจ ำนองและ
ทรพั ยส นิ อนื่ ของจำเลยออกขายทอดตลาดชำระหนโ้ี จทกจ นครบ

จำเลยใหก ารขอใหยกฟอง
ระหวา งพจิ ารณา ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศกลางเหน็ วา กรณี
มีปญหาวา คดีอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง

๒๓๐

ประเทศกลางหรอื ไม จงึ เสนอปญ หาดงั กลา วใหป ระธานศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษเปน ผวู นิ จิ ฉยั
ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดี
ทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙ ตอ มาประธานศาลอทุ ธรณ
คดชี ำนญั พเิ ศษวนิ จิ ฉยั วา คดไี มอ ยใู นอำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและ
การคา ระหวา งประเทศ แตเ ปน คดแี พง ทเ่ี กย่ี วพนั กบั คดฟี น ฟกู จิ การโดยตรง จงึ เปน คดลี ม ละลาย
และอยูในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลลมละลาย ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลาย
และวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓ และมาตรา ๗ ศาลทรัพยสินทางปญญา
และการคาระหวางประเทศกลางจึงโอนคดไี ปยงั ศาลลมละลายกลาง

ศาลลมละลายกลางพิพากษาใหจำเลยชำระเงิน ๑๑๑,๕๔๓,๖๘๖.๔๒ บาท พรอม
ดอกเบ้ยี อัตรารอยละ ๑๕ ตอป ของตนเงนิ ๖๕,๐๐๕,๓๒๒.๕๗ บาท นบั ถัดจากวันฟอ ง (ฟอง
วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๘) เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแกโจทก หากไมชำระหรือชำระ
ไมค รบถว น ใหย ดึ ทด่ี นิ โฉนดเลขท่ี ๑๗๐๖, ๑๗๓๘, ๔๐๙๐๘ ถงึ ๔๐๙๑๓, ๔๒๗๗๒, ๔๗๘๑๔,
๕๖๑๗๒, ๕๖๒๐๙, ๖๐๘๓๔ ถงึ ๖๐๘๓๗, ๖๒๔๐๔, ๖๒๔๐๕, ๖๔๕๔๐, ๖๙๐๓๕ ถงึ ๖๙๐๔๔,
๖๙๔๓๑, ๙๓๑๘๘ และตราจองเลขที่ ๑๙๘, น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๑, ๒๖/๒๕๐๐, ๒๗/๒๕๐๐
ตำบลบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ พรอมสิ่งปลูกสราง ออกขาย
ทอดตลาดชำระหนี้โจทก หากไดเงินไมพอใหยึดทรัพยสินอื่นของจำเลยชำระหนี้โจทกจนครบ
กับใหจ ำเลยชำระคาฤชาธรรมเนยี มแทนโจทก โดยกำหนดคาทนายความให ๓๐,๐๐๐ บาท

จำเลยอุทธรณโดยไดร บั ยกเวนคา ธรรมเนยี มศาลช้ันอุทธรณทั้งหมด
ศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษแผนกคดีลมละลายวินิจฉัยวา มีปญหาที่ตองวินิจฉัยตาม
อุทธรณของจำเลยประการแรกวา ศาลลมละลายกลางไมไดหยิบยกประเด็นเรื่องฟองโจทก
เคลอื บคลมุ ขน้ึ วนิ จิ ฉยั ชอบแลว หรอื ไม เหน็ วา ในวนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ ซง่ึ เปน วนั ชส้ี องสถาน
ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลางจดรายงานกระบวนพิจารณาวา
ทนายโจทกไดนำเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับประเด็นที่จำเลยตอสูมาใหกรรมการผูจัดการจำเลย
และเปน ผรู บั มอบอำนาจของจำเลยตรวจสอบแลว แถลงวา เขา ใจคำฟอ งแลว โดยชดั แจง โดยไม
จำตอ งใหโ จทกแ กฟ อ งอกี และกรรมการผจู ดั การจำเลยและเปน ผรู บั มอบอำนาจของจำเลยแถลง
สละประเด็นเรื่องฟองเคลือบคลุม ศาลจึงไมไดกำหนดเปนประเด็นขอพิพาท ในวันดังกลาวจำเลย
ก็ไมคัดคานกระบวนพิจารณาแตอยางใด และเมื่อศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลางโอนคดีไปยังศาลลมละลายกลาง เนื่องจากประธานศาลอุทธรณคดีชำนัญพิเศษ

๒๓๑

วนิ จิ ฉยั วา คดไี มอ ยใู นอำนาจพจิ ารณาพพิ ากษาของศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา ง
ประเทศ กระบวนพจิ ารณาดงั กลา วกไ็ มเ สยี ไป ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
และการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๙ จึงไมมีประเด็นขอพิพาทเรื่องฟองโจทกเคลือบคลุมอีกตอไป ที่ศาล
ลม ละลายกลางไมไ ดห ยบิ ยกประเดน็ ดงั กลา วขน้ึ วนิ จิ ฉยั ชอบแลว อทุ ธรณข องจำเลยขอ นฟ้ี ง ไมข น้ึ
และการที่จำเลยอุทธรณวาฟองโจทกเคลือบคลุม จึงเปนการอุทธรณในขอที่มิไดยกขึ้นวากันมา
แลว โดยชอบในศาลชน้ั ตน ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหนง่ึ
ประกอบพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๔
ศาลอุทธรณคดีชำนญั พเิ ศษจึงไมร ับวินิจฉัยเรอื่ งฟองเคลือบคลมุ ตามที่จำเลยอาง

ปญหาที่ตองวินิจฉัยตามอุทธรณของจำเลยตอไปมีวา จำเลยมีหนี้ที่จะตองชำระใหแก
โจทกห รอื ไมเ พยี งใด เหน็ วา หลงั จากทศ่ี าลลม ละลายกลางมคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การ
ของจำเลย ผูบริหารแผนเสนอขอแกไขแผนฟนฟูกิจการหลายครั้ง ในระหวางปฏิบัติตามแผน
เมอ่ื วนั ท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๖ โจทกไ ดร บั อนญุ าตจากเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยใ หเ ขา สวมสทิ ธิ
เปนคูความแทนบรรษัทบริหารสินทรัพยไทยเปนเจาหนี้รายที่ ๑๓ ซึ่งเปนเจาหนี้กลุมที่ ๑ ตาม
คำรอ งขอสวมสทิ ธิ โดยนายอธวิ ฒุ พิ ยานโจทกเ บกิ ความวา แผนฟน ฟกู จิ การไดก ำหนดหลกั เกณฑ
การชำระหนี้แกเจาหนี้กลุมที่ ๑ ใหมีสิทธิไดรับชำระหนี้รอยละ ๑๐๐ โดยศาลมีคำสั่งเห็นดวย
ขอ เสนอขอแกไ ขแผนครง้ั สดุ ทา ยเมอ่ื วนั ท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๖ ตามแผนฟน ฟกู จิ การฉบบั แกไ ข
ครั้งที่ ๘/๒๕๕๖ จำเลยยังมีภาระหนี้ที่จะตองชำระใหโจทกภายในป ๒๕๖๐ ดังนั้น จำเลยจึงมี
ความผูกพันตองชำระหนี้ใหแกโจทกตามแผนฟนฟูกิจการดังกลาว ซึ่งศาลมีคำสั่งเห็นชอบแลว
ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง แมศาลจะมีคำสั่งยกเลิก
การฟนฟูกิจการของจำเลยเมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ แลวก็ตาม คำสั่งดังกลาวก็ไมมีผล
เปลย่ี นแปลงความผกู พนั ในหนข้ี องจำเลยกบั เจา หนต้ี ามแผนฟน ฟกู จิ การ กลา วคอื คำสง่ั ยกเลกิ
การฟน ฟกู จิ การมผี ลใหจ ำเลยหลดุ พน จากหนท้ี ง้ั ปวงซง่ึ อาจขอรบั ชำระหนใ้ี นการฟน ฟกู จิ การได
เวนแตหนี้ซึ่งเจาหนี้ที่อาจขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการจะไดขอรับชำระหนี้ไวแลว ตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๕ จำเลยยงั คงมหี นา ทช่ี ำระหนใ้ี หแ กโ จทก
จนครบถว นตามแผนฟน ฟกู จิ การตอ ไป ดงั นน้ั เมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั ยกเลกิ การฟน ฟกู จิ การของจำเลย
แลว แตจำเลยชำระหนี้ใหโจทกยังไมครบ และมีการคางชำระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ โจทกคง
มีสิทธิไดรับชำระหนี้จากจำเลยตามจำนวนที่ระบุไวในแผนฟนฟูกิจการที่คางชำระ การที่โจทก
นำภาระหนเ้ี ดมิ ของจำเลยทเ่ี กดิ ขน้ึ กอ นการยน่ื คำรอ งขอฟน ฟกู จิ การมาบรรยายในฟอ งนน้ั เปน

๒๓๒

เพียงการบรรยายรายละเอียดถึงที่มาแหงมูลหนี้ตามจำนวนหนี้ที่กำหนดไวในแผนฟนฟูกิจการ
เทานั้น และเนื่องจากการขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการโจทกไดขอรับชำระหนี้รวมทั้งหมด
๙ มลู หน้ี เปน จำนวนเดยี วกนั และเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยม คี ำสง่ั อนญุ าตใหโ จทกไ ดร บั ชำระหน้ี
เต็มตามขอ ตามสำเนาคำขอรับชำระหนี้และสำเนาคำสั่งเจาพนักงานพิทักษทรัพย และในการ
ปรับปรุงโครงสรางหนี้ แผนฟนฟูกิจการ ขอ ๗.๒.๒ ก. ไดกำหนดใหหนี้ใหมของจำเลยเปนหนี้
สว นท่ี ๑ และขอ ๗.๒.๒ ข. ไดก ำหนดใหแ บง หนเ้ี ดมิ ของจำเลยทง้ั หมดออกเปน ๘ สว น (สว นท่ี ๒
ถงึ สว นท่ี ๙) โดยแบง หนข้ี องโจทกซ ง่ึ เปน เจา หนก้ี ลมุ ท่ี ๑ ออกเปน หลายสว น และจดั ใหอ ยใู นหน้ี
สว นท่ี ๓ ถงึ สว นท่ี ๘ ซง่ึ การชำระหนแ้ี ตล ะสว นใหโ จทกต ามแผนฟน ฟกู จิ การมไิ ดแ บง แยกวา เปน
การชำระหนี้ในมูลหนี้ของโจทกตามคำขอรับชำระหนี้ประเภทใดบาง ดังนั้น เมื่อจำเลยผิดนัด
ชำระหนี้ การแยกคำนวณหนี้เพื่อเรียกรองใหจำเลยรับผิดชำระหนี้ที่คางจึงตองคำนวณตาม
สดั สว นของมลู หนเ้ี ดมิ ทโ่ี จทกย น่ื คำขอรบั ชำระหนเ้ี ปน สำคญั จงึ ฟง ไดว า โจทกฟ อ งเรยี กใหจ ำเลย
ชำระหนี้ตามมูลหนี้ที่จำเลยคางชำระในแผนฟนฟูกิจการ มิใชตามมูลหนี้เดิมตามที่จำเลยอาง
จำเลยจึงมีหนาที่ตองชำระหนี้ที่คางใหแกโจทกจนครบถวนตามแผนฟนฟูกิจการ สวนที่จำเลย
อุทธรณวา ในระหวางดำเนินการตามแผนฟนฟูกิจการ จำเลยไดนำเงิน ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ไปผอ นชำระหนใ้ี หแ กโ จทก แตโ จทกน ำไปตดั ชำระดอกเบย้ี ทง้ั จำนวนไมต ดั ชำระตน เงนิ เปน การ
ไมชอบดวยกฎหมายเพราะจำเลยแจงความประสงคใหโจทกนำเงินไปหักชำระตนเงินกอน
และโจทกไดใหจำเลยนำเงินไปวางใหโจทก ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งจะตองนำไปจัดสรรใหแก
เจาหนใี้ นแผนฟนฟูกจิ การ แตโจทกนำไปหักชำระหนีใ้ หแกโ จทกเ อง เห็นวา การที่จำเลยนำเงิน
๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท ไปผอนชำระใหโจทก แมจำเลยจะแจงความประสงคใหโจทกนำเงินไปหัก
ชำระตนเงินกอน แตโจทกมิไดตกลงดวย และตามแผนฟนฟูกิจการก็มิไดระบุใหจำเลยกระทำ
เชนนี้ได จึงจะถือวามีการตกลงกันไวแลวไมได เมื่อการชำระหนี้ของจำเลยไมพอชำระหนี้
ใหแกโจทกทั้งหมด การชำระหนี้จึงตองชำระดอกเบี้ยที่คางชำระซึ่งเกิดขึ้นกอนวันชำระหนี้
หากมีเงินเหลือจากชำระดอกเบี้ยจึงนำไปชำระตนเงิน ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา ๓๒๙ วรรคหนึ่ง การที่โจทกนำเงินจำนวนดังกลาวไปชำระดอกเบี้ยทั้งหมด โดยไมได
นำไปชำระตนเงิน จึงไมใชการกระทำที่ไมชอบดวยกฎหมาย สวนเงิน ๘๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ทจ่ี ำเลยอทุ ธรณอ า งวา โจทกน ำไปหกั ชำระหนแ้ี กโ จทกเ อง โดยไมน ำไปจดั สรรแกเ จา หนท้ี กุ ราย
ตามแผนฟน ฟกู ิจการ และภายหลงั ศาลมคี ำส่งั ยกเลิกการฟนฟูกจิ การของจำเลย จำเลยไดผอ น
ชำระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการในป ๒๕๕๖ และ ๒๕๕๗ เปนเงินสูงถึง ๔๙,๑๐๓,๙๘๕.๕๐ บาท
และชำระป ๒๕๖๐ และ ๒๕๖๑ อีกเปน เงินจำนวนกวา ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท นั้น เหน็ วา จำเลย

๒๓๓

ไมไดใหการยกขอตอสูในเรื่องดังกลาวมาโตแยงวา มูลหนี้ตามฟองของโจทกไมถูกตอง การที่จำเลย
นำสืบถึงขอเท็จจริงดังกลาวเปนการนำสืบนอกคำใหการ เปนขอที่มิไดยกขึ้นวากันมาแลวโดยชอบ
ในศาลชั้นตน ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง มาตรา ๒๒๕ วรรคหน่ึง ประกอบ
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลลมละลายและวิธีพิจารณาคดีลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๔
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษจงึ ไมร บั วนิ จิ ฉยั สว นทจ่ี ำเลยอทุ ธรณว า ไดช ำระหนใ้ี หโ จทกใ นป ๒๕๖๐
และ ๒๕๖๑ เปนเงินอีกกวา ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท นั้น เห็นวา เงินจำนวนดังกลาวเปนเงินที่
จำเลยชำระใหโจทกภายหลังจากที่โจทกฟองคดีนี้แลว ซึ่งปรากฏตามรายงานกระบวนพิจารณา
ของศาลลม ละลายกลาง ฉบบั ลงวนั ท่ี ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๖๐ วนั ท่ี ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๐ และวนั ท่ี ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๖๑ ใจความวาทนายโจทกและทนายจำเลยแถลงรวมกันวา จำเลยไดชำระหนี้
ใหโ จทกแ ลว ประมาณ ๓๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท เปน การชำระหนใ้ี นมลู หนท้ี เ่ี กย่ี วพนั กบั คดหี มายเลข
ดำท่ี พก.๒/๒๕๖๐ ของศาลลม ละลายกลาง ยงั เหลอื ยอดหนท้ี ต่ี อ งชำระอกี ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
จำนวนเงนิ ทจ่ี ำเลยชำระและยอดหนท้ี ค่ี า งชำระดงั กลา วมากกวา มลู หนใ้ี นคดนี ้ี นา เชอ่ื วา เงนิ กวา
๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท เปนเงินที่จำเลยชำระหนี้ใหโจทกตามขอตกลงอื่น มิไดชำระหนี้ใหโจทก
ในคดีนี้ เมื่อการชำระหนี้แกโจทกตามแผนฟนฟูกิจการของจำเลยไมไดแบงแยกวาชำระหนี้ใน
มูลหนี้ประเภทใด ดังนั้น การฟองใหจำเลยรับผิดชำระหนี้ใหโจทกจึงสามารถนำสัดสวนรอยละ ๓.๔
ตามภาระหนส้ี ญั ญาทรสั ทร ซี ที ทง้ั ๔ ฉบบั มาคำนวณกบั ฐานตน เงนิ ทง้ั หมดทย่ี น่ื ขอรบั ชำระหน้ี
และดอกเบี้ยคางชำระทั้งหมดโดยเทียบสัดสวนไดเพราะเมื่อรวมทุกคดีแลวโจทกก็ไมมีสิทธิไดรับ
ชำระหนเ้ี กนิ กวา จำนวนทข่ี อรบั ชำระหนแ้ี ละตามทก่ี ำหนดในแผนฟน ฟกู จิ การ จำเลยจงึ ตอ ง
รบั ผิดชำระหนีใ้ หแกโจทกต ามฟอ ง อทุ ธรณขอ นข้ี องจำเลยฟง ไมข ้ึนเชน เดยี วกัน

มปี ญหาท่ตี องวนิ จิ ฉัยตามอุทธรณของจำเลยประการสดุ ทายวา ฟองโจทกขาดอายุความ
หรอื ไม เหน็ วา เมอื่ บรรษัทบรหิ ารสินทรัพยไทยเจาหนีเ้ ดมิ ไดย ่นื คำขอรบั ชำระหนใ้ี นการฟน ฟู
กิจการของจำเลย และแผนฟนฟูกิจการของจำเลยที่ศาลมีคำสั่งเห็นชอบแลวกำหนดใหจำเลย
ตอ งชำระหนใ้ี หแกโจทกซ่ึงเปน เจา หนก้ี ลุม ท่ี ๑ สิทธิเรยี กรองของโจทกท่จี ะไดรบั ชำระหนี้ตาม
แผนฟนฟูกิจการจึงเปนสิทธิเรียกรองที่ตางไปจากสิทธิเรียกรองตามสัญญาเลตเตอรออฟเครดิต
และสัญญาทรัสทรีซีท และเปนสิทธิเรียกรองที่ไมมีบทบัญญัติแหงกฎหมายกำหนดไวเปนการ
เฉพาะวามอี ายคุ วามเทาใด จงึ มีกำหนดอายคุ วาม ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย
มาตรา ๑๙๓/๓๐ สวนดอกเบี้ยคางชำระมีกำหนดอายุความ ๕ ป ตามมาตรา ๑๙๓/๓๓ (๑)
เมอ่ื ภายหลงั ศาลมคี ำสง่ั ยกเลกิ การฟน ฟกู จิ การ ผลของคำสง่ั ยกเลกิ การฟน ฟกู จิ การสำหรบั โจทก
ซึ่งเปนเจาหนี้ที่ยื่นคำขอรับชำระหนี้ คือยังคงมีสิทธิเรียกรองที่จะไดรับชำระหนี้ตามที่กำหนดไว

๒๓๔

ในแผนฟน ฟกู จิ การทศ่ี าลใหค วามเหน็ ชอบแลว ตอ ไป ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๐/๗๕ และมาตรา ๙๐/๗๖ ดังน้นั เมื่อจำเลยยังคงมกี ารชำระหน้ใี หแ กโจทกต ามแผน
ฟน ฟูกจิ การเรือ่ ยมา โดยชำระหนีค้ ร้ังสุดทา ยเมือ่ วนั ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๗ หลังจากนั้นจำเลย
ผิดนัดไมชำระหนี้ อายุความ ๑๐ ป สำหรับเงินตน และ ๕ ป สำหรับดอกเบี้ยคางชำระ ในสิทธิ
เรียกรองที่เกิดขึ้นจึงเริ่มนับแตขณะที่จำเลยผิดนัดดังกลาว ซึ่งโจทกอาจบังคับสิทธิเรียกรอง
ไดต ามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๙๓/๑๒ การทโ่ี จทกน ำคดมี าฟอ งเมอ่ื วนั ท่ี ๓๑
สงิ หาคม ๒๕๕๘ จงึ ยงั ไมล ว งพน อายคุ วาม ๑๐ ป และ ๕ ป มลู หนเ้ี งนิ ตน และดอกเบย้ี คา งชำระ
ตามฟอ งของโจทก จงึ ยงั ไมข าดอายคุ วาม ทศ่ี าลลม ละลายกลางพพิ ากษาใหจ ำเลยชำระหนโ้ี จทก
ตามฟอ ง ศาลอทุ ธรณค ดีชำนัญพิเศษเหน็ พองดว ย อทุ ธรณข องจำเลยลว นฟง ไมข ้ึน

พิพากษายืน ใหจำเลยใชคาฤชาธรรมเนียมในชั้นอุทธรณแทนโจทก โดยกำหนด
คา ทนายความ ๑๕,๐๐๐ บาท.

(พนู ศกั ดิ์ เขม็ แซมเกษ - จกั รพนั ธ สอนสุภาพ - ปฏกิ รณ คงพพิ ธิ )

นราธิป บุญญพนชิ - ยอ
วริ ัตน วศิ ิษฏว งศกร - ตรวจ

๒๓๕

คำพพิ ากษาศาลอุทธรณค ดีชำนญั พิเศษที่ ๒๑๒๔/๒๕๖๔ บรษิ ทั ทที แี อนดท ี

จำกัด (มหาชน) ลกู หน้ผี รู องขอ

บริษทั อยุธยา ลิมิเต็ด เจาหน้ี

บริษัทคลาวด

คอมพิวต้งิ โซลูช่นั ส

จำกัด กบั พวก ผโู ตแ ยง

พ.ร.บ. ลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๓๒, ๙๐/๖๐ วรรคหนง่ึ , ๙๐/๗๘

ผโู ตแ ยง ท่ี ๒ เปน เจา หนร้ี ายหนง่ึ ทย่ี น่ื คำรอ งคดั คา นคำขอรบั ชำระหนข้ี องเจา หน้ี
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยจ งึ ตอ งแจง กำหนดนดั สอบสวนหนใ้ี หผ โู ตแ ยง ท่ี ๒ ทราบ เพอ่ื จะ
ไดมีโอกาสโตแยงหรือเสนอพยานหลักฐานหักลางพยานหลักฐานที่เจาหนี้เสนอตอเจา
พนักงานพิทักษทรัพย อันเปนการดำเนินการตามหลักฟงความทุกฝาย แตเจาพนักงาน
พทิ กั ษท รพั ยก ม็ อี ำนาจทจ่ี ะใชด ลุ พนิ จิ ในการพจิ ารณาวา จะนำพยานหลกั ฐานใดมาพจิ ารณา
หรือหากเจาพนักงานพิทักษทรัพยเห็นวาพยานหลักฐานเทาที่ไดสอบสวนมาเพียงพอ
ที่จะทำความเห็นเรื่องหนี้ที่ขอรับชำระตอศาล หรือพยานที่อางมาใหการฟุมเฟอยเกิน
สมควร หรือประวิงใหชักชาหรือไมเกี่ยวกับประเด็น เจาพนักงานพิทักษทรัพยก็ยอม
มีอำนาจที่จะงดการสอบสวนได เมื่อเจาพนักงานพิทักษทรัพยเห็นวาพยานหลักฐานที่
ปรากฏอยูในสำนวนเพียงพอและสามารถที่จะทำความเห็นได จึงอาจไมจำเปนตองแจง
ใหผูโตแยงที่ ๒ ทราบ เพื่อใหมาตรวจสอบหรือเสนอพยานหลักฐานอื่นใดเพิ่มเติมอีก
ทั้งการทำความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยก็เปนความเห็นเชนเดียวกับที่เคย
มีคำสั่งไวในชั้นฟนฟูกิจการ กรณีจึงอาจไมมีความจำเปนที่จะตองใหผูโตแยงที่ ๒ เสนอ
พยานหลักฐานเพื่อโตแยงคัดคานใด ๆ อีก ถือไดวาเจาพนักงานพิทักษทรัพยใชดุลพินิจ
ในการสอบสวนและงดสอบสวนพยานหลกั ฐานท่ไี มจ ำเปนหรือฟุม เฟอยเกินจำเปนตาม
ทเ่ี หน็ สมควร และไมท ำใหผ โู ตแ ยง ท่ี ๒ เสยี หายหรอื เสยี เปรยี บ กระบวนการและขน้ั ตอน
ตลอดจนวธิ ีการสอบสวนหน้ขี องเจาพนักงานพิทักษท รพั ยจงึ ชอบดว ยกฎหมายแลว

ในระหวางการฟนฟูกิจการ เจาหนี้ไดรับโอนสิทธิเรียกรองมาจากเจาหนี้เดิม
๘ ราย ซึ่งตามคำสั่งคำขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการของเจาหนี้เดิมทั้ง ๘ ราย
เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งใหเจาหนี้เดิมทั้ง ๘ ราย ดังกลาวไดรับชำระหนี้ โดยให

๒๓๖

ไดรับชำระดอกเบี้ยตามอัตราที่กำหนดแบบไมทบตนนับถัดจากวันที่ศาลมีคำสั่งให
ฟน ฟกู จิ การเปน ตน ไปจนกวา ลกู หนจ้ี ะชำระเสรจ็ การขอรบั ชำระหนข้ี องเจา หนใ้ี นกรณี
ที่ลูกหนี้ที่ขอฟนฟูกิจการแลวตอมาถูกศาลสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด เจาหนี้จึงชอบที่จะได
รับชำระหนี้ตามจำนวนหนี้ที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยหรือศาลเคยมีคำสั่งอนุญาตใหได
รับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการไวตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๓๒
เพราะคำสั่งศาลที่ใหพิทักษทรัพยเด็ดขาดไมกระทบถึงการใดที่ไดกระทำโดยสุจริตและ
เปน ไปตามแผนแลว กอ นศาลมคี ำสง่ั เชน วา นน้ั และมผี ลใหห นท้ี เ่ี จา หนม้ี สี ทิ ธไิ ดร บั ชำระ
ในการฟนฟูกิจการกลับคืนสูสถานะดังที่เปนอยูเดิม เวนแตสภาพแหงหนี้ในขณะนั้นจะ
ไมเ ปดชอ งใหกระทำไดต ามมาตรา ๙๐/๗๘ ดงั นัน้ เม่ือเจาพนักงานพิทักษท รพั ยมีคำสัง่
ใหเ จา หน้ีเดมิ ทง้ั ๘ ราย ในชนั้ ฟนฟูกจิ การไดรบั ชำระหนี้ในสว นดอกเบยี้ นบั แตว นั ท่ี ๗
พฤศจิกายน ๒๕๕๑ เปนตนไปจนกวาจะชำระเสร็จแบบไมทบตน เจาหนี้ในฐานะที่เปน
ผรู บั โอนสิทธิเรยี กรองมาจากเจาหนที้ ้งั ๘ ราย ดังกลาว จึงตองผกู พนั ที่จะไดรับชำระหน้ี
ในสวนดอกเบี้ยเพียงเทาที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคำสั่งไวในชั้นฟนฟูกิจการแลวเทานั้น
เจา หนจ้ี งึ หามสี ทิ ธไิ ดร บั ดอกเบย้ี แบบทบตน ตง้ั แตว นั ทศ่ี าลมคี ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การ (วนั ท่ี ๗
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๑) ถึงวนั ท่ีศาลมคี ำสั่งพิทกั ษท รพั ย (วนั ที่ ๑๕ มนี าคม ๒๕๕๙)

อัตราสว นในการแปลงหน้ีเปนทุนเพ่ือใชในการคำนวณเพื่อหักชำระหน้ใี นช้ัน
ฟน ฟกู จิ การจะตอ งใชใ นอตั ราเทา ใดนน้ั ตามแผนฟน ฟกู จิ การระบวุ า ใหใ ชอ ตั ราหน้ี ๑ บาท
คดิ เปน หนุ ๑ หนุ ซง่ึ แผนฟน ฟกู จิ การดงั กลา วเมอ่ื ศาลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบแลว ยอ มผกู มดั
เจาหนี้ซึ่งอาจขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการไดและเจาหนี้ซึ่งมีสิทธิไดรับชำระหนี้
ในการฟนฟูกิจการตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคหนึ่ง โดย
เจา หนีเ้ ปน เจาหนีซ้ ่ึงอาจขอรบั ชำระหน้ใี นการฟนฟูกจิ การไดย อมตองถกู ผกู มัดตามแผน
ฟนฟูกิจการนั้นดวย แมตอมาลูกหนี้จะถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาดก็ไมกระทบถึงการใด
ที่ไดก ระทำโดยสุจริตและเปน ไปตามแผนแลวกอนมีคำสงั่ เชนวา นั้นตามมาตรา ๙๐/๗๘
การที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดคำนวณการแปลงหนี้เปนทุนโดยใชอัตราหนี้ ๑ บาท
คดิ เปนหุน ๑ หนุ จงึ ถูกตอ งแลว

_____________________________

คดีสืบเนื่องมาจากศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการของลูกหนี้เมื่อวันที่ ๗
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๑ และตง้ั บรษิ ทั พี แพลนเนอร จำกดั เปน ผทู ำแผนเมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๒

๒๓๗

ตอมาศาลมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการโดยมีผูทำแผนเปนผูบริหารแผนเมื่อวันที่ ๒๘
ธนั วาคม ๒๕๕๓ ศาลมคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยขอ เสนอขอแกไ ขแผนครง้ั ท่ี ๑ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๕๔
และมคี ำสง่ั ตง้ั บรษิ ทั พซี แี อล แพลนเนอร จำกดั เปน ผบู รหิ ารแผนคนใหมเ มอ่ื วนั ท่ี ๓ มนี าคม ๒๕๕๗
และมีคำสั่งเห็นชอบดวยขอเสนอขอแกไขแผนครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๗
ตามคดีหมายเลขแดงที่ ฟ.๕๕/๒๕๕๑ ของศาลลมละลายกลาง ตอมาเมื่อระยะเวลาดำเนินการ
ตามแผนสน้ิ สดุ ลง แตก ารฟน ฟกู จิ การยงั ไมเ ปน ผลสำเรจ็ ตามแผน ศาลลม ละลายกลางจงึ มคี ำสง่ั
พิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๗๐
วรรคสอง เม่อื วนั ที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙

เจาหนี้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เปนเจาหนี้ในมูลหนี้เงินกู จำนำ และโอนสิทธิเรียกรอง
จำนวน ๑๒ อันดับ รวมเปนเงิน ๒๐,๕๘๗,๔๙๘,๘๑๕.๐๓ บาท จากกองทรัพยสินของลูกหนี้
ในฐานะเจาหนม้ี ปี ระกันตามพระราชบัญญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๙๖ (๓)

เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดใหบรรดาเจาหนี้และลูกหนี้ตรวจคำขอรับชำระหนี้ตาม
พระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๐๔ แลว ผโู ตแ ยง ท่ี ๑ ซง่ึ เปน เจา หนร้ี ายท่ี ๑๗๔๕
ผูโตแยงที่ ๒ ซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๑๗๔๗ และผูโตแยงที่ ๓ ซึ่งเปนเจาหนี้รายที่ ๑๗๖๕ โตแยง
คำขอรับชำระหนข้ี องเจาหน้ีรายน้ี

เจาพนักงานพิทักษทรัพยสอบสวนแลวทำความเห็นวา การโอนสิทธิเรียกรองระหวาง
ผูโอนกับเจาหนี้ชอบดวยกฎหมาย เห็นควรใหเจาหนี้ไดรับชำระหนี้ในมูลหนี้อันดับ ๑ และ
อนั ดบั ๒ ซง่ึ รบั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งมาจาก แอฟวะนวิ เอเชยี สเปเชย่ี ล ซติ เุ อชน่ั ส ฟน ด ท,ู แอล พี
เจา หน้ี รายท่ี ๖ รวมเปน เงนิ ๔,๘๙๘,๘๗๐,๙๑๒.๖๖ บาท มลู หนอ้ี นั ดบั ๓ รบั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง
มาจากแอฟวะนิว เอเชีย สเปเชี่ยลซิตุเอชั่นส ฟนด ทรี, แอล พี เจาหนี้รายที่ ๗ เปนเงิน
๓,๒๒๗,๑๖๖,๗๖๒.๘๒ บาท มูลหนี้อันดับ ๔ รับโอนสิทธิเรียกรองมาจาก แอฟวะนิว เอเชีย
อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด เจาหนี้รายที่ ๘ เปนเงิน ๗๖,๘๘๘,๒๓๗.๕๘ บาท มูลหนี้อันดับ ๕
และอนั ดบั ๖ รบั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งมาจาก เคลยี รว อเตอร แคปปต อล พารท เนอรส ฟน ด ทรี แอล พี
เจา หนร้ี ายท่ี ๑๕ รวมเปน เงนิ ๒,๓๗๕,๖๐๑,๘๓๒.๙๓ บาท มลู หนอ้ี นั ดบั ๗ และอนั ดบั ๘ รบั โอน
สิทธิเรียกรองมาจาก เครดิต อินดัสเตรียล เอ คอมเมอรเชียล สาขาสิงคโปร เจาหนี้รายที่ ๑๖
รวมเปน เงนิ ๑,๔๔๓,๓๐๙,๙๓๖.๖๖ บาท มลู หนอ้ี นั ดบั ๙ รบั โอนสทิ ธเิ รยี กรอ งมาจาก กองทนุ รวม
ไทยดีเวลลอปเมนท เจาหนี้รายที่ ๑๙ เปนเงิน ๑,๖๔๘,๗๕๐,๖๔๑.๘๐ บาท มูลหนี้อันดับ ๑๐
และอันดับ ๑๑ รับโอนสิทธิเรียกรองมาจาก ซีวีไอจีวีเอฟ (ลักซ) มาสเตอร เอส เอ อาร แอล
เจาหนี้รายที่ ๔๐ รวมเปนเงิน ๔๗๙,๕๗๙,๗๗๕.๖๐ บาท และมูลหนี้อันดับ ๑๒ รับโอนสิทธิ

๒๓๘

เรียกรองมาจากธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) โดยบริษัทบริหารสินทรัพยสาทร จำกัด
ผูสวมสิทธิแทน เจาหนี้รายที่ ๔๑ เปนเงิน ๔๗๓,๔๙๖,๐๖๐.๒๕ บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น
๑๔,๖๒๓,๖๖๔,๑๖๐.๑๐ บาท ในฐานะเจา หนม้ี ปี ระกนั ตามพระราชบญั ญตั ลิ ม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
มาตรา ๙๖ (๓) โดยใหไ ดร บั ชำระหนจ้ี ากการขายทอดตลาดหนุ ของบรษิ ทั ทที แี อนดท ี ซบั สไครเบอร
เซอรวิสเซส จำกัด ๙๙๙,๙๙๓ หุน กอนเจาหนี้อื่นในวงเงินจำนำเปนเงิน ๙,๙๙๙,๙๓๐ บาท
หากยังขาดอยูเทาใด ใหไดรับชำระหนี้โดยสวนเฉลี่ยอยางเจาหนี้สามัญจากกองทรัพยสินของ
ลกู หนีต้ ามพระราชบัญญัติลม ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๑๓๐ (๗) สว นทข่ี อเกินมาใหยกเสยี

ศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหเจาหนี้ไดรับชำระหนี้ตามความเห็นของเจาพนักงาน
พิทกั ษท รพั ย

เจาหน้แี ละผโู ตแยง ที่ ๒ อทุ ธรณ
ศาลอทุ ธรณค ดชี ำนญั พเิ ศษแผนกคดลี ม ละลายวนิ จิ ฉยั วา ขอ เทจ็ จรงิ เบอ้ื งตน ทค่ี คู วาม
ไมโ ตแ ยง กนั รบั ฟง เปน ยตุ ไิ ดว า เมอ่ื วนั ท่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๓ ศาลลม ละลายกลางในคดหี มายเลข
แดงท่ี ฟ.๒๕/๒๕๔๓ มคี ำสง่ั ใหฟ น ฟกู จิ การของลกู หนซ้ี ง่ึ ขณะนน้ั ใชช อ่ื เดมิ วา บรษิ ทั ไทยเทเลโฟน
แอนด เทเลคอมมวิ นเิ คชน่ั จำกดั (มหาชน) และมคี ำสง่ั เหน็ ชอบดว ยแผนฟน ฟกู จิ การเมอ่ื วนั ท่ี ๒๗
ธนั วาคม ๒๕๔๓ โดยลกู หนต้ี กลงทำสญั ญาปรบั โครงสรา งหนฉ้ี บบั ลงวนั ท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๔๔
รวมทง้ั สญั ญาวา ดว ยขอ ตกลงรว ม (Common Terms Agreement) กบั บรรดาเจา หนต้ี ามขอ ตกลง
ในแผนฟนฟูกิจการ และศาลลมละลายกลางมีคำสั่งใหยกเลิกการฟนฟูกิจการ เมื่อวันที่ ๒๔
ธันวาคม ๒๕๔๔ ตอมาลูกหนี้ยื่นคำรองขอฟนฟูกิจการอีกครั้งและศาลมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการ
เปนคดีหมายเลขแดงที่ ฟ.๕๕/๒๕๕๑ ของศาลลมละลายกลาง เมื่อครบกำหนดระยะเวลาการ
ดำเนนิ การตามแผนฟน ฟกู จิ การ ๕ ป แลว การฟน ฟกู จิ การไมส ำเรจ็ ตามแผน ศาลลม ละลายกลาง
จึงมีคำสั่งพิทักษทรัพยของลูกหนี้เด็ดขาดตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา
๙๐/๗๐ วรรคสอง เมอ่ื วนั ท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๕๙ ในระหวา งการฟน ฟกู จิ การเจา หนเ้ี ดมิ ของลกู หน้ี
ตามแผนฟน ฟกู จิ การ ๘ ราย ประกอบดว ยแอฟวะนวิ เอเชยี สเปเชย่ี ล ซติ เุ อชน่ั ส ฟน ด ท,ู แอล พี
เจา หนร้ี ายท่ี ๖ แอฟวะนวิ เอเชยี สเปเชย่ี ล ซติ เุ อชน่ั ส ฟน ด ทร,ี แอล พี เจา หนร้ี ายท่ี ๗ แอฟวะนวิ
เอเชีย อินเตอรเ นชัน่ แนล ลมิ เิ ตด็ เจาหนี้รายที่ ๘ เคลยี รวอเตอร แคปปต อล พารท เนอรส ฟน ด
ทรี แอล พี เจาหนี้รายที่ ๑๕ เครดิต อินตัสเตรียล เอ คอมเมอรเชียล, สาขาสิงคโปร เจาหนี้
รายท่ี ๑๖ กองทนุ รวมไทยดเี วลลอปเมนท กองทุนจดทะเบียนภายใตก ฎหมายแหง ประเทศไทย
โดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวมวรรณ จำกัด เจาหนี้รายที่ ๑๙ ซีวีไอจีวีเอฟ (ลักซ)
มาสเตอร เอส เอ อาร แอล เจาหนี้รายที่ ๔๐ และธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) โดย

๒๓๙

บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยส าทร จำกดั ผสู วมสทิ ธแิ ทน เจา หนร้ี ายท่ี ๔๑ ไดโ อนสทิ ธเิ รยี กรอ งในหน้ี
สกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลเงินบาทใหเจาหนี้ ซึ่งเปนนิติบุคคลประเภทบริษัท จดทะเบียนจัด
ตั้งภายใตกฎหมายแหงหมูเกาะบริติช เวอรจิน โดยมีบริษัทอันดามัน ซี แมเนจเมนท ลิมิเต็ด
เปน ผมู อี ำนาจกระทำการแทน ซง่ึ เจา หนใ้ี นประเทศไทยสามารถยน่ื คำขอรบั ชำระหนใ้ี นคดลี ม ละลาย
ตามพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔๔๖ ของหมูเกาะบริติช เวอรจิน ได และ
เจา หนไ้ี มเ คยไดร บั ทรพั ยส นิ หรอื สว นแบง จากทรพั ยส นิ ของลกู หนน้ี อกราชอาณาจกั รและยอมสง
ทรพั ยส นิ หรอื สว นแบง จากทรพั ยส นิ ของลกู หนม้ี ารวมในกองทรพั ยส นิ ของลกู หนใ้ี นราชอาณาจกั ร

กรณเี หน็ สมควรวนิ จิ ฉยั ตามอุทธรณข องผูโ ตแ ยงท่ี ๒ และทเี่ จาพนกั งานพทิ กั ษทรพั ย
แกอ ทุ ธรณก อ นวา อทุ ธรณข องผโู ตแ ยง ท่ี ๒ เปน อทุ ธรณท ไ่ี มไ ดโ ตแ ยง คำสง่ั ของศาลลม ละลายกลาง
เปนอุทธรณที่ไมแจงชัด ตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๒๓
(ที่ถกู มาตรา ๒๒๕ วรรคหนงึ่ ) ประกอบพระราชบัญญตั จิ ดั ต้งั ศาลลม ละลายและวิธีพจิ ารณาคดี
ลมละลาย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ (ที่ถูก มาตรา ๒๔) หรือไม เห็นวา แมอุทธรณของผูโตแยง
ที่ ๒ จะมิไดโตแยงคำสั่งศาลลมละลายกลางที่อนุญาตใหเจาหนี้ไดรับชำระหนี้ตามความเห็น
ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยวาไมชอบอยางไร ที่ถูกเจาหนี้ควรมีสิทธิไดรับชำระหนี้ในแตละ
มูลหนี้เพียงใดก็ตาม แตการที่ผูโตแยงที่ ๒ อุทธรณอางวา กระบวนการในการสอบสวนหนี้ของ
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยไ มช อบเนอ่ื งจากมไิ ดแ จง วนั กำหนดนดั สอบสวนใหผ โู ตแ ยง ท่ี ๒ ทราบ
ผูโตแยงที่ ๒ จึงไมมีโอกาสที่จะโตแยงคัดคานหรือเสนอพยานหลักฐานเพื่อหักลางคำขอรับ
ชำระหนี้ของเจาหนี้อันเปนการนำไปสูการวินิจฉัยวา เจาหนี้ควรจะไดรับชำระหนี้หรือไมหรือ
ไดร บั ชำระหนม้ี ากนอ ยเพยี งใด ถอื เปน การโตแ ยง คำสง่ั ของศาลลม ละลายกลางแลว อทุ ธรณข อง
ผโู ตแ ยง ท่ี ๒ จงึ ชอบดว ยกฎหมาย สว นทผ่ี โู ตแ ยง ท่ี ๒ อทุ ธรณต อ มาวา ผโู ตแ ยง ท่ี ๒ เปน เจา หน้ี
รายหนึ่งที่ไดยื่นคำรองคัดคานคำขอรับชำระหนี้ของเจาหนี้ไว แตในกระบวนการ ขั้นตอน และ
วิธีการสอบสวนหนี้ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยมิไดแจงใหผูโตแยงที่ ๒ ทราบถึงกำหนดนัด
สอบสวนหนเ้ี ลย ทำใหผ โู ตแ ยง ท่ี ๒ ไมม โี อกาสไดโ ตแ ยง หรอื ตรวจสอบความถกู ตอ งของเอกสาร
หรอื พยานหลกั ฐานทเ่ี จา หนเ้ี สนอ และไมม โี อกาสเสนอพยานหลกั ฐานเพอ่ื หกั ลา งพยานหลกั ฐาน
ของเจา หน้ี ทง้ั ไมม โี อกาสซกั คา นพยานของเจา หนอ้ี นั เปน การขดั หลกั การฟง ความทกุ ฝา ย ซง่ึ หาก
ผโู ตแ ยง ท่ี ๒ ไดม โี อกาสรว มสอบสวนหนแ้ี ลว เจา หนอ้ี าจไมไ ดร บั ชำระหนห้ี รอื ไดร บั ชำระหนน้ี อ ยลง
การดำเนินการและการทำความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยจึงไมชอบดวยกฎหมายนั้น
คดีจึงมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของผูโตแยงที่ ๒ วา การสอบสวนหนี้ของเจาพนักงาน
พิทักษทรัพยชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา ผูโตแยงที่ ๒ เปนเจาหนี้รายหนึ่งที่ยื่นคำรอง

๒๔๐

คดั คา นคำขอรบั ชำระหนข้ี องเจา หนไ้ี ว เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยจ งึ ตอ งแจง กำหนดนดั สอบสวน
หนี้ใหผูโตแยงที่ ๒ ทราบเพื่อที่ผูโตแยงที่ ๒ จะไดมีโอกาสโตแยง หรือเสนอพยานหลักฐาน
เพื่อหักลางพยานหลักฐานที่เจาหนี้เสนอตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยอันเปนการดำเนินการ
ตามหลกั ฟง ความทกุ ฝา ยดงั ทผ่ี โู ตแ ยง ท่ี ๒ อทุ ธรณ แตอ ยา งไรกด็ ี ในการสอบสวนหนเ้ี จา พนกั งาน
พทิ กั ษท รพั ยก ม็ อี ำนาจทจ่ี ะใชด ลุ พนิ จิ ในการพจิ ารณาวา จะนำพยานหลกั ฐานใดมาพจิ ารณาหรอื
หากเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยเ หน็ วา พยานหลกั ฐานเทา ทไ่ี ดส อบสวนมาเพยี งพอทจ่ี ะทำความเหน็
เรื่องหนี้ทขี่ อรับชำระตอศาล หรือพยานท่อี างมาใหก ารฟุมเฟอ ยเกินสมควร หรอื ประวงิ ใหช ักชา
หรอื ไมเ ก่ียวกบั ประเดน็ เจาพนกั งานพิทกั ษทรัพยกย็ อ มมีอำนาจทจี่ ะงดการสอบสวนได ซ่งึ เมือ่
พจิ ารณาความเหน็ ตามคำขอรบั ชำระหนข้ี องเจา หนข้ี องเจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยแ ลว เหน็ ไดว า
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยไ ดใ หค วามสำคญั แกค ำรอ งคดั คา นของผโู ตแ ยง ทง้ั สามแลว โดยกำหนด
ประเด็นจากขอโตแยงคัดคานเพื่อใชเปนหลักในการวินิจฉัยทำความเห็น โดยเฉพาะประเด็นที่
เกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมายของการโอนสิทธิเรียกรอง เจาพนักงานพิทักษทรัพยก็อาศัย
คำพิพากษาฎีกาที่ ๕๖๗๑-๕๖๗๒/๒๕๖๐ ซึ่งทั้งเจาหนี้และผูโตแยงที่ ๒ ตางเปนคูความในคดี
ดงั กลา วยอ มตองถกู ผกู พันตามผลของคำพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความแพง
มาตรา ๑๔๕ วรรคหนง่ึ ประกอบพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลลม ละลายและวธิ พี จิ ารณาคดลี ม ละลาย
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ สวนในประเด็นที่เกี่ยวกับการคิดคำนวณดอกเบี้ยและจำนวนหนี้
เจาพนักงานพิทักษทรัพยก็อาศัยขอสัญญาในสัญญาวาดวยขอตกลงรวม (Common Terms
Agreement) แผนฟน ฟกู จิ การ และกฎหมาย เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยจ งึ เหน็ วา พยานหลกั ฐาน
ที่ปรากฏอยูในสำนวนเพียงพอและสามารถที่จะทำความเห็นได จึงอาจไมจำเปนตองแจงให
ผูโตแยงที่ ๒ ทราบ เพื่อใหมาตรวจสอบหรือเสนอพยานหลักฐานอื่นใดเพิ่มเติมอีก ทั้งการทำ
ความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยก็เปนความเห็นเชนเดียวกับที่เคยมีคำสั่งไวในชั้นฟนฟู
กิจการ กรณีจึงอาจไมมีความจำเปนที่จะตองใหผูโตแยงที่ ๒ เสนอพยานหลักฐานเพื่อโตแยง
คดั คา นใด ๆ อกี ถอื ไดว า เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยไ ดใ ชด ลุ พนิ จิ ในการสอบสวนและงดสอบสวน
พยานหลักฐานที่ไมจำเปนหรือฟุมเฟอยเกินจำเปนตามที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยเห็นสมควร
และไมทำใหผูโตแยงที่ ๒ เสียหายหรือเสียเปรียบ ดังนี้ แมเจาพนักงานพิทักษทรัพยจะมิไดแจง
กำหนดนัดสอบสวนหนี้ใหผูโตแยงที่ ๒ ทราบก็ตาม กระบวนการและขั้นตอนตลอดจนวิธีการ
สอบสวนหนี้ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยจึงชอบดวยกฎหมายแลว อุทธรณของผูโตแยงที่ ๒
ฟง ไมข ึ้น

๒๔๑

คดีมีปญหาตองวินิจฉัยตามอุทธรณของเจาหนี้และที่เจาพนักงานพิทักษทรัพย
แกอุทธรณวา เจาหนี้มีสิทธิไดรับชำระหนี้เพียงใด โดยเจาหนี้อุทธรณทำนองวา เจาหนี้มีสิทธิ
ที่จะไดรับชำระหนี้เปนเงิน ๒๐,๖๕๗,๑๔๖,๘๖๐.๖๘ บาท มิใช ๑๔,๖๒๓,๖๖๔,๑๖๐.๑๐ บาท
ดังที่เจาพนักงานพิทักษทรัพยมีความเห็นและที่ศาลลมละลายกลางมีคำสั่ง ซึ่งเหตุที่ทำให
เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ยท ำความเหน็ วา เจา หนม้ี สี ทิ ธไิ ดร บั ชำระหนเ้ี พยี ง ๑๔,๖๒๓,๖๖๔,๑๖๐.๑๐ บาท
เน่ืองมาจากเหตุสองประการ คอื (๑) เจาหนมี้ ีสทิ ธิคิดดอกเบีย้ ทบตนสำหรับดอกเบี้ยผดิ นัด
ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ศาลมีคำสั่งใหฟนฟูกิจการ (วันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๑) ถึงวันที่ศาลมี
คำสั่งพิทักษทรัพย (วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙) เพราะรวมระยะเวลาแลวเปนระยะเวลามากกวา ๗ ป
เจาหนี้มีสิทธิที่จะคิดดอกเบี้ยทบตนไดเพราะเปนดอกเบี้ยคางชำระเกินกวา ๑ ป แลว ตามสัญญา
วาดวยขอตกลงรวม ขอ ๖.๓ (ค) แตเจาพนักงานพิทักษทรัพยมิไดคิดดอกเบี้ยทบตนให และ (๒)
ในการคำนวณการแปลงหนเ้ี ปน ทนุ เพอ่ื นำมาหกั ชำระหนใ้ี นชน้ั ฟน ฟกู จิ การ เจา พนกั งานพทิ กั ษท รพั ย
ใชอ ัตราการชำระหน้ีในอัตราหน้ี ๑ บาท คดิ เปนหนุ ๑ หุน ตามแผนฟน ฟูกิจการฉบับซ่งึ ไดรับ
ความเห็นชอบจากที่ประชุมเจาหนี้เมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ขอ ๖.๒ ซึ่งที่ถูกจะตอง
ใชอัตราหนี้ ๐.๑๓ บาท คิดเปนหุน ๑ หุน ซึ่งเปนมูลคาตามความเปนจริง ไมใชมูลคาที่กำหนด
ไวตามแผนฟนฟูกิจการ จึงทำใหจำนวนเงินที่นำมาหักชำระหนี้สูงกวาความเปนจริงนั้น เห็นวา
ในระหวางการฟนฟกู ิจการ เจา หน้ีไดร บั โอนสิทธิเรียกรองมาจากเจาหนีเ้ ดมิ ๘ ราย ซง่ึ ตามคำสงั่
คำขอรับชำระหนี้ในการฟนฟูกิจการของเจาหนี้เดิมทั้ง ๘ ราย เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดวินิจฉัย
ทำนองเดียวกัน โดยแบงมูลหนี้เงินกูออกเปน ๓ กลุม เงินกูกลุม ก. เจาพนักงานพิทักษทรัพย
เห็นวา เมื่อมีดอกเบี้ยคางชำระเกิน ๑ ป เจาหนี้เดิมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดถึงวันที่ศาล
มีคำสงั่ ใหฟ น ฟกู จิ การ สวนเงินกูกลมุ ข. และ ค. เจา พนักงานพิทักษทรพั ยเ ห็นวา ขอ ตกลงรวม
ขอ ๖.๓ (ค) ที่ระบวุ า “ถาดอกเบี้ยกรณผี ดิ นดั ใด ๆ สำหรบั จำนวนเงินทีเ่ กนิ กำหนดชำระ คา งจาย
อยเู ปน เวลาไมน อยกวา หนึ่งป จะถูกนำไปทบเขากบั จำนวนเงินทเี่ กนิ กำหนดชำระและจำนวนเงิน
ทั้งหมดจะมีการคิดดอกเบี้ยในอัตราที่อธิบายไวในขอ (ก) ขางตน” เปนขอตกลงที่ใหอำนาจ
เจาหนี้ในการที่จะคิดดอกเบี้ยทบตนหากมีดอกเบี้ยผิดนัดที่คางชำระอยูเปนเวลาไมนอยกวา
๑ ป แตส ญั ญาวา ดว ยขอ ตกลงรว มดงั กลา วไดท ำขน้ึ ในชน้ั ทล่ี กู หนม้ี กี ารฟน ฟกู จิ การในคดหี มายเลข
แดงที่ ฟ.๒๕/๒๕๔๓ ของศาลลมละลายกลาง ซึ่งตามแผนฟนฟูกิจการฉบับลงวันที่ ๒๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๓ เอกสารหมาย จ.๕ ขอ ๔.๓.๒ (ค) (๒), ๔.๓.๓ (ค) (๒) กำหนด
ใหดอกเบี้ยที่พักชำระไมถือเปนดอกเบี้ยผิดนัดตามแผนฟนฟูกิจการดังกลาว และยังมีดอกเบี้ย
คางชำระไมถึง ๑ ป เจาหนี้เดิมจึงไมอาจคิดดอกเบี้ยทบตนได เจาพนักงานพิทักษทรัพยจึง

๒๔๒


Click to View FlipBook Version