The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fineartbuu, 2021-06-11 04:10:23

IADCE 2021 Exhibition Book22

IADCE 2021 Exhibition Book22

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 285

sand cladding does not have an international standard or proportion suitable for the service
in the standard form of the spa, the purpose of the design of the arch for the service of the
sand cladding or the sand spa. It is designed to create privacy space. In using the
service Therefore, studies and research on Japanese-style baths and a study of the usage
behavior of sand spas or sand shampoos have been studied and how they are used. To
compare the information with the standard of the human proportion affects its use. Whether
it is sitting and lying down, including materials that can be designed as a sand cladding that
can be found in the local area and a simple construction system. Create a proportionality
and also create an environment of the area with the standard of opening services
comparable to other spa service standards. The design work was presented. Facade
structures in TOP VIEW, FRONT VIEW, SIDE VIEW, as well as 3D images, are presented as
slides created with 3D Sketchup. Enscape 3.0 plug-in is a presentation program.

Keywords: Design, Facade, Cladding, Sand spa

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

จากเนื่องจากสภาพปัจจุบันการให้บริการด้านสปาทราย หรือสปาห่มทราย จะเป็นการให้บริการ
บริเวณลาน Boat camp ที่เป็นลานพื้นทรายกว้างมีกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในพืน้ ท่นี ี้ แต่การให้บริการสปาทราย หรือ
ห่มทรายนั้น ไม่ได้มีการจัดแบ่งพ้ืนที่ชัดเจน แต่จะใช้วิธีการหาพื้นท่ีว่างและขุดหลุมเพื่อให้นักท่องเที่ยวหรือผู้ท่ีมา
ใช้บริการ ลงไปนอนหรือนั่ง เพื่อนำทรายมาห่มร่างกาย ทำให้ทัศนยี ์ภาพดูไม่เป็นระเบียบเรยี บร้อยและยังขาด
ความเป็นส่วนตัว ท่ีนักท่องเท่ียวหรือผู้มาใช้บริการต้องนอนหรือนั่ง เรียงกัน โดยท่ีอาจต่างคนต่างมาและทำให้
ทัศนียภาพที่ไม่เป็นระเบยี บเรียบร้อย

โดยมีแรงบัลดานใจในการออกแบบซุ้มห่มทราย ท่ีมีโครงสร้างไม่ซับซ้อนและสามารถสร้างภาพลักษณ์
ให้กับสถานท่ีหรือชุมชนให้เกิดเอกลักษณ์สำหรับการท่องเท่ียวได้อีกทาง ซึ่งได้นำเอาพฤติกรรมของ
นักท่องเที่ยวและพฤติกรรมของคนในชุมชนที่ให้บริการมาเป็นแนวทางหลักในการออกแบบที่สามารถตอบ
โจทย์หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ในการให้บริการของชุมชน อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรี ขันธ์
ในการออกแบบโครงสร้างซุ้มจะเน้นวัสดุที่หาได้จากธรรมชาติภายในท้องถิ่นวัสดุหลักท่ีเลือกใช้เป็นไม้ไผ่ท่ีมี
ความทนทานต่อลักษณะภูมิประเทศที่เป็นทะเลได้ดีกว่าวัสดุอ่ืน ๆ

2. แนวคิด / ทฤษฎที ่เี กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)

การศึกษาลักษณะและข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องสำหรับงานออกแบบ ท่ีมีผลต่อการใช้งานของมนุษย์รวมถึง
พฤติกรรม วัสดุและพ้นื ฐานการใชง้ านเหมาะกับสปาห่มทรายควรมี

- ศึกษาขอ้ มลู ขนาดสดั สว่ นของมนษุ ย์ทม่ี ีการนงั่ และนอน
- ศกึ ษาพฤติกรรมและความตอ้ งการใช้งานของสปาทราย
- ศึกษาขอ้ มลู วัสดทุ เี่ หมาะสมการสภาพแวดลอ้ มท่ีจะทำการตดิ ต้ัง
โดยข้อมูลท่ีเก่ียวข้องทั้งหมดจะเป็นพื้นฐานสำคญั ในการทำความเขา้ ใจการออกแบบ ซมุ้ สำหรับการใช้บริการ
สปาทราย หรอื สปาห่มทราย ชมุ ชนทบั สะแก อำเภอทบั สะแก จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 286

3. กระบวนการในการสร้างสรรค์ (Creative Process)
การออกแบบภายในอาคารพาณิชย์ 3 ชั้น ถนนประชาชื่น 2 แยก 1-4 (ซอยสุวรรณดี 2) เขตบางซ่ือ

เตาปูน จังหวัดนนทบุรี ซึ่งมีกระบวนการในขั้นตอนต่างที่นำไปสู่ขั้นตอนการออกแบบได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ มีรายละเอียดการดำเนินงานดังนี้

3.1 เกบ็ ข้อมลู เบอื้ งตน้
3.2 การศกึ ษาและวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.3 การนำเสนอผลงาน 2 และ 3 มิติ
3.1 การเกบ็ ข้อมูลเบอื้ งตน้
จากการสำรวจพฤติกรรมในการรับบริการห่มทราย หรือสปาทราย อำเภอทับสะแก จังหวัด
ประจวบครี ีขันธ์ และจากการสอบถามสมาชกิ ในชุมชรทับสะแกท่ีเปน็ ผู้ให้บริการห่มทราย หรอื สปาทราย โดย
การจดบันทึกเพ่ือเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการออกแบบ รวมถึงรวบรวมข้อมลู ท่เี ก่ียวข้องจากหนังสือเพ่ือให้ไดข้ ้อมูล
ทเ่ี ช่ือถอื ได้ นำมาวิเคราะห์ใช้ในการออกแบบ

ภาพที่ 1 ภาพแสดงทัศนีย์ภาพของการให้บริการหม่ ทราย หรือสปาทราย อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ีขนั ธ์
ที่มา: http://unseentourthailand.com/2019/11/28/dasta-prachuab1/

ภาพที่ 2 ภาพแสดงทศั นียภ์ าพของการใหบ้ ริการหม่ ทราย หรือสปาทราย อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ีขนั ธ์
ทม่ี า: http://unseentourthailand.com/2019/11/28/dasta-prachuab1/

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 287

3.2 การศกึ ษาและวเิ คราะหข์ ้อมูล
จากข้อมูลท่ีได้ซึ่งเป็นปัจจุบัน นำมาสรุปและออกแบบซุ้มห่มทราย หรือสปาทราย โดยแบ่ง

รายละเอียดของข้อมลู ที่ไดเ้ ป็นงานออกแบบภายในดังน้ี
1. มุมมองสัดสว่ นของซุม้ หม่ ทราย TOP VIEW,FRONT VIEW,SIDE VIEW
2. มุมมองทัศนีย์ภาพ ของตวั ซุม้ หม่ ทราย และทัศนียภ์ าพบริเวณพ้ืนท่ีใหบ้ รกิ าร

ภาพที่ 3 ภาพแสดงมุมมอง TOP VIEW

ภาพท่ี 4 ภาพแสดงมุมมอง FRONT VIEW

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 288

ภาพท่ี 5 ภาพแสดงมมุ มอง SIDE VIEW

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 289

3.3 การนำเสนอผลงาน 2 และ 3 มิติ
วิธกี ารนำเสนอผลงานด้วยโปรแกรม 3D Sketchup ปล๊ักอนิ Enscape 3.0

ภาพที่ 6 ภาพแสดงทศั นยี ภ์ าพบรเิ วณพน้ื ทีใ่ ห้บริการซมุ้ หม่ ทราย หรือสปาทราย
โปรแกรม 3D Sketchup ปล๊กั อนิ Enscape 3.0

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 290

ภาพที่ 7 ภาพแสดงทัศนยี ภ์ าพบรเิ วณพน้ื ที่ใหบ้ ริการซุ้มหม่ ทราย หรือสปาทราย
โปรแกรม 3D Sketchup ปล๊กั อิน Enscape 3.0

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 291

4. การวเิ คราะห์ผลงาน (Results Analysis)
หลังจากท่ีได้รวบรวมข้อมูลเพ่ือใชใ้ นการออกแบบซุ้มห่มทราย หรือสปาทราย ชุมชนทับสะแก อำเภอ

ทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งข้อมูลทไ่ี ด้จากเอกสารหนังสอื ท่ีเกี่ยวข้องกับสัดส่วนมนุษย์ ความต้องการ
การใช้งานจากพฤติกรรมผู้รับบริการหรือนักท่องเท่ียว พฤติกรรมผู้ให้บริการสมาชิกชุมชนทับสะแก ได้รำมา
ออกแบบเปน็ ซ้มุ หม่ ทราย หรือสปาทรายในรปู แบบดังนี้

- นำความต้องการการใช้งานและสัดส่วนมนุษย์ท่ีเหมาะสมมาออกแบบ จัดวางการใช้งานภายในซุ้ม
หม่ ทรายหรือสปาทราย

- นำข้อมูลพฤติกรรมท่ีจำเป็น สำหรับการใช้งานทั้งของผู้ให้บริการและผู้รับบริการมาออกแบบให้
เหมาะสมต่อความตอ้ งการการใช้งานในรูปแบบการน่ังเพอ่ื ห่มทรายทเี่ ท้า และการนอนเพอ่ื หม่ ทรายทง้ั ตวั

- นำรปู แบบวสั ดมุ าออกแบบโครางสรา้ งของซมุ้ ห่มทรายและนำเสนอภาพมุมมองTOP VIEW,FRONT
VIEW,SIDE VIEW รวมถึงทัศนยี ภ์ าพบรเิ วณพ้ืนทีใ่ หบ้ รกิ ารหม่ ทรายหรือสปาทราย PERSPECTIVE
5. สรปุ (Conclusion)

ในออกแบบซ้มุ สปาทรายหรือสปาห่มทราย อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ เป็นการออกแบบเพ่ือสร้าง
สภาพแวดล้อมและส่งเสริมด้านการท่องเท่ียวชุมชน การให้บริการท่ีเหมาะสมต่อนักท่องเที่ยวหรือผู้เข้ามาใช้
บริการให้ได้มาตรฐานการบริการด้าน สปา และการเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ ที่สามารถหาได้งา่ ย ท้ังยังสามารถ
ช่วยส่งเสริมและสร้างภาพลักษณ์ให้กับทารท่องเท่ียว และการออกแบบท่ีสอดคล้องต่อพฤติกรรมการใช้งาน
อย่างเหมาะสมอกี ดว้ ย

เอกสารอ้างอิง (References)
กองสถานประกอบการเพอ่ื สุขภาพ. (2559). คมู่ ือเกณฑม์ าตรฐานสถานประกอบการสปาเพอ่ื สุขภาพระดับสากล.

กรุงเทพฯ: เจนสิ มีเดยี คอม.

กิติ สนิ ธุเสก. (2555). การออกแบบภายในขัน้ พ้ืนฐาน หลกั การพิจารณาเบอื้ งต้น. (พมิ พ์ครั้งท่ี 8). กรงุ เทพฯ:
สำนักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

จันทนี เพชรานนท์. (2556). การทำรายละเอียดประกอบแบบ การออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน. (พิมพ์คร้ังท่ี 3).
กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั .

วัฒนะ จูฑะวภิ าต. (2555). ศลิ ปะการออกแบบตกแต่งภายใน. (พิมพ์คร้ังที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิทยพัฒน์
Julius Panero, Martin zelnik, AIA, ASID. (1979). HUMAN DIMENSION & INTERIOR SPACE. New York:

N.Y. 10036.

THANIT JUNGDAMRONGKIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 292

THANIYA RAWICHAWAKORN (THAI)
The illumination of Porcelain with other materials.
Slip-casting/ Porcelain with other materials, such as Ply wood, glassy black acrylic
and G4 LED, 55 x 65 x 70 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

THE ILLUMINATION OF PORCELAIN WITH OTHER MATERIALS

รปู ทรงพืชทีแ่ ปรสภาพจากพลงั ของธรรมชาติ

ฐานญิ า รวิชวกรณ์*

THANIYA RAWICHAWAKORN**

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 39 หมู่ 1 (คลองหก) อำเภอธัญบุรี ปทมุ ธานี 12110***

[email protected]

Abstract

The aim of this study is to combine other materials, such as Ply wood, glassy black acrylic
and G4 LED, with porcelain in order to create a new lamp design that is functional and decorative.
Throughout this research, the author used the teachings of Gray and Malins (2016) to examine
different practices and research methods. Porcelain, a ceramic material made by heating clay-type
materials to high temperatures, is used to create this artwork because of its translucent nature that
cannot be seen in other types of clay. Porcelain is traditionally made from two essential
ingredients: kaolin (china clay), a silicate material that gives porcelain its plasticity, it structure,
which lends the ceramic its translucency and hardness.

This study got its inspiration from Margaret O’Rorke, who was one of the first to
explore the possibility of translucency with stunningly lit sculptural pieces and installations.
Furthermore, this piece of artwork is inspired by the concept of illumination. The lamp
represents the moon, shining lights to its surroundings. The shadow of the lamp signifies the
moonlight, which is the reflection of the light from the surface of the moon, while the
wood-stain with glassy black acrylic demonstrate the clouds holding up the moon. The
texture of this lamp is inspired by the lumpy and uneven surface of the moon and the color
(yellow) also symbolizes the moonlight. From this study, the author has developed a great
understanding of how to use the practice-based research methodology to create new artistic
objects and innovate in the field of arts.

Keywords: Porcelain; Practice-bases on research; Ceramic mixed media; Moonlight; Lamp

*อาจารย์
**Lecturer
*** Faculty of Fine and Applied Arts, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathumthani, Thailand.

THANIYA RAWICHAWAKORN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 295

1. Introduction

The author discovered the book ‘ Ceramics with Mixed Media’ by Joy Bosworth,
which shows how to combine a variety of materials with ceramics for functional, decorative
or sculptural reasons. The author discovered the book ‘Ceramics with Mixed Media’ by Joy
Bosworth, which shows how to combine a variety of materials with ceramics for functional,
decorative or sculptural reasons. In addition, the author has begun to focus on pure
porcelain and would like to use this translucent quality of the material to demonstrate the
surface pattern and texture. In order to make something functional in this study, it needs to
resemble a lamp.

The purpose of this study was to create multiple objects and use the material
qualities of porcelain to do so. Why Porcelain? The reason for this is because of ‘the basic
qualities usually associated with or required of high-fired porcelain such as delicacy,
translucency, fineness, whiteness, density and purity remained available.’ The author would
like to use this opportunity to take a challenge by making something from porcelain in a way
that it showcases its qualities. Elms said that the material ‘has to show off its qualities of
light, fluidity and delicacy’. He also admired porcelain holistically: ‘It’s so lovely and clean,
so beautiful to handle.’ In addition, O’Rourke’s teachings regarding porcelain and light can
help this study progress to new ideas. This study provides a conceptual of creating the idea
through the process that helped the author to define the way to work and understand how
practice-based on research and ceramic mixed media can be beneficial during the creative
process.

2. Concept / Related Theories
The study uses practice-based research as a starting point to create new artistic

objects and innovate in the field of art. The author used those research skills and
techniques to fabricate and construct the artwork. Furthermore, the teachings of Gray and
Malins (2016) examine the different practice and research methods throughout this study.

The idea is that porcelain is translucent only when the light is turned on. One
research that helped the author a lot is that of Margaret O’Rorke’s. She explains how the
nature of the fired material combined with a power source light can add to the content of
the space it will inhabit (O'Rorke, 2002). In addition, she said ‘Light bounces off most pottery
foams but she wanted her pots to emit light.’ She stumbled across this idea, hence, the
author agrees with her idea. This artist helps the author gain a deeper understanding of the
quality of porcelain, particularly its translucency.

THANIYA RAWICHAWAKORN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 296

Research Design Texture Other Showcase
process exploration materials
(Porcelain) exploration

Figure 1 The Creative Process of Artwork

3. Creative Process
Where inspiration came from? The artwork was inspired by the lumpy and uneven surface

of the moon. The author intends to create two sets of sculptures that have different surfaces -
one is porcelain with unglazed and the other is porcelain with clear translucent glaze. Those two
sculptures are made out of a combination of both porcelain and other materials.

Figure 2 Comparing Unglazed Porcelain artworks during turning on the light and turn off the light

Figure 2 shows that unglazed clay is the quality of integration between form and
surface rather than a separation between the elements of clay and glaze. Moreover, without
the physical barrier of glaze, naked clay is able to invite an immediate response by revealing
a range of direct aesthetic and tactile qualities. From the result of the artwork, the unglazed
glass surface being softer and warmer to the touch and absorbing light. The first sculpture
(Unglazed) shows the qualities of pure clay without any addition. This allows the body to
mature and achieve perfect whiteness and translucency before decoration is applied. The
book ‘Naked Clay Ceramics without Glaze’ inspired the author to create the first sculpture,
as it provides a deep insight into the qualities of pure clay.

Figure 3 Comparing clear – transparent glaze Porcelain artworks during turning turn on the light and turn off the light

THANIYA RAWICHAWAKORN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 297

On the other hand, the second sculpture is clear and has a translucent glaze. The
glaze highlights the shiny surface of the lamp, which makes the artwork looks more
sophisticated and complete. Moreover, the translucent glaze allows the light to shine
through the porcelain.

The wood-stain process

Figure 4 The Process of making the wood-stain

To combine porcelain with other materials, the author would like to use the many
choices of materials that the workshop while studied Master degree in ceramics design at
Bath Spa university in the United of Kingdom provided, such as wood, plastic, in order to
combine those with my final artwork.

Figure 5 The Process of wood-stain for ceramic artwork by using Adobe Illustrators Program

Figure 6 The result of wood-stain for ceramic artwork

THANIYA RAWICHAWAKORN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 298

The author chose to use glassy black acrylic as the surface of the table because it
can reflect the light of the lamp, resembling the moonlight. Furthermore, the author used
ply-wood as the wood stand because it is light and strong.

Figure 7 The final artwork

4. Design Method
The successful creation of a meaningful sculpture requires a design method that has

been thoroughly planned and researched. In this project, the author used practice-based
method to create a more effective design. The author followed Gray and Malins’s (2016)
teaching practices and research methods, which is the original investigation undertaken in
order to gain new knowledge partly by means of practice and the outcomes of that practice.
Furthermore, the approach has encouraged the author to use creativity to develop new
ideas that has been carefully considers and planned such as combining porcelain to other
materials to make a new design of a lamp (see figure 6 and 7).

THANIYA RAWICHAWAKORN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 299

5. Conclusion

This study discovered the significance of the translucency nature of porcelain. The
focus of the study was to explore the different materials that could be used to combine
porcelain with. The artwork, “The Illumination of Porcelain”, demonstrated how the design
concept could have a major impact on people, especially audiences’ emotion. All artists
should pay attention to other elements such as plywood, acyclic in order to develop their
ideas for creating a masterpiece design. This study discussed the design concept and
revealed a broad spectrum of connection between porcelain and other substances. The
results may allow people to adopt a new way of perceiving porcelain. Therefore, this
sculpture demonstrates that porcelain is a useful material as it can be adopted with other
elements to create an eye-catching lamp.

To conclude, the practice-based research methodology was very helpful and the
goal is to use it for other projects that help to answer the author’s questions and develop
new ideas in the future.

References

Bosworth, J. (2006). Ceramics with Mixed Media. London: A & C Black.
Lane, P. (2003). Patterns Contemporary Studio Porcelain. London: A & C Black.
O'rorke, M. (2002). Clay, Light and Water. London: A & C Black.
Perryman, J. (2004). Naked Clay Ceramics without Glaze. London: A & C Black.

THANIYA RAWICHAWAKORN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 300

THIPSUKONT ITTIPRATEEP (THAI)
The little rabbit heart floated.
Mixed Media Arts / Plastic, 70 x 80 x 15 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

THE FLOATING HEART LITTLE RABBIT

กระตา่ ยนอ้ ยกลอยใจ ลอย ลอ่ ง

ทพิ ยส์ คุ นธ์ อิทธิประทีป*

THIPSUKONT ITTIPRATEEP**

ภาควชิ าเทคโนโลยีศิลปอตุ สาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ***

[email protected]

บทคดั ยอ่

ผลงาน “กระต่ายน้อยกลอยใจ ลอย ล่อง” คือการทำงานศิลปะที่เกิดจากการทดลองการใช้วัสดุ
อุตสาหกรรม : เม็ดพลาสติก และแนวคิดที่มี จุดเร่ิมต้นเพ่ือบำบัดจิตใจของตนเองให้ผ่อนคลายและปล่อยวาง
กบั เร่ืองเครยี ดทกี่ ดดันและความวนุ่ วายใจ โดยนำเสนอวธิ ีคิดแบบงา่ ย ๆ ที่ผสู้ ร้างสรรคค์ ้นพบวธิ ีการแหงนหน้า
หรือนอนเล่นในพื้นที่โล่ง หรือว่ายน้ำท่ากรรเชียง แล้วมองท้องฟ้าและก้อนเมฆ ความโล่งตา การผ่อนคลาย
เกิดเป็นความสบายใจจนทำให้หยุดคิดเร่ืองสับสนต่าง ๆ ในหัวทันทีในช่ัวขณะเวลาน้ัน บังเกิดความว่างเปล่า
ในจิตใจข้ึนมาเสมอทุกครั้ง จึงเป็นท่ีมาของจุดเริ่มต้นการทำงานและนำเสนอผลงานศิลปะนี้ ที่จะส่งต่อ
ความคิดและมุมมองดี ๆ ที่จะช่วยลดความกดดัน ความกระวนกระวายใจจากปัญหา ในการใช้ชีวิตในปัจจุบัน
ของผคู้ นบนโลกใบน้ี

คำสำคญั : กระต่ายน้อยกลอยใจ = ตวั แทนจิตใจของคนที่สดใส ร่าเรงิ สนุกสนาน ในจติ นาการของตน ;
ลอย ล่อง = การปล่อยจติ ใจไปใหม้ องเหน็ ส่ิงต่าง ๆ แบบไม่คดิ ถงึ หลกั การและเหตุผลใด ๆ

Abstract

“The floating heart little rabbit,” is the artwork created by experimenting on the use of
industrial material: Plastic Pellets. The concept started from healing my own mind to relax and let
go of the pressure and frustration through the simple way of thinking. The creator found that
looking up high, laying down in the open space, looking up at the sky and the clouds while doing
a backstroke swim returned the eye relief and relaxation. This comfort suddenly helped stop the
frustration inside my mind at that moment. Then, each time, there always comes the empty-
space-mind. It was the origin of working and presenting this artwork to relay the thought and

*ผู้ช่วยศาสตราจารย์
**Assistant Professor
*** Faculty of Architecture and Design, King Mongkut's University of Technology North, Bangkok, Thailand.

THIPSUKONT ITTIPRATEEP / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 303

positive point of view from the creator to help reduce the pressure and frustration from those
who got troubles in living their lives in this world at present.

Keywords: Little rabbit = Representing the minds of people who are cheerful and joyful in their own imagination. ;
The floating heart = the release of the mind to see things without thinking about any principles or reasons

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)

ผู้สร้างสรรค์ต้องการนำเสนอมุมมองของการผ่อนคลายความเครียดให้กับผู้ชมและรับรู้แนวติดการ
ดำรงชีวิตที่สามารถปล่อยวางจิตใจ เพ่ือให้ทุกคนได้ดูแลจิตวิญญาณนของตนเองได้ด้วยวิธีง่าย ๆ เพียงแค่
ปล่อยวางด้วยวิธีแหงนมองท้องฟ้าเพียงแค่น้ีโลกก็เป็นของเราคนเดียวได้อย่างสงบแ บบที่เราได้เห็นธรรมชาติ
ต่าง ๆ โดยไม่จำเป็นต้องมีคำพูดอธิบายใด ๆ และก็ให้ปล่อยใจไปกับจินตนาการสร้างสรรค์ของตนเอง คิดถึง
เรื่องราวในความทรงจำต่าง ๆ อย่างมีความสุขได้ด้วยการแหงนหน้ามองท้องฟ้า เป็นแนวคิดในมุมมอง
สรา้ งสรรค์ผลงานกับการบำบัดจิตใจใหไ้ ด้วางสิง่ ต่าง ๆ ที่วุ่นวายด้วยศิลปะที่ดีตอ่ สุขภาพจติ เพ่ือสามารถส่งต่อ
แนวคดิ ดี ๆ ให้กบั การใช้ชวี ิตของผคู้ นในยคุ ปจั จุบัน

และจากการทดลองใช้วัสดุอุตสาหกรรมชนิดเม็ดพลาสติกหลากสี ในการสร้างสรรค์ที่ไม่ค่อยได้ใช้
ในการทำงานศิลปะ ค้นพบว่าเป็นวัสดุที่น่าสนใจท่ีอยากจะนำมาทดลอง ต่อยอดการทำงานศิลปะหรือผลงาน
สร้างสรรค์ได้หลากหลายและสนุกสนาน กับการหลอมละลายในเตาเผา หรือเตาอบความร้อน ด้วยเทคนิค
ในการหลอมละลายในเตาเผาโดยมีจุดหลอมเหลวของเม็ดพลาสติกแตกต่างกัน จุดหลอมเหลว
(Melting point) เป็นคุณสมบัติทางความร้อนอย่างหนึ่ง โดยจุดน้ีคืออุณหภูมิท่ีวัสดุจะเปล่ียนแปลงสถานะ
จากของแขง็ ไปเปน็ ของเหลว พลาสตกิ เมอ่ื เขา้ สูก่ ระบวนการฉีดพลาสติกจะผ่านการใหค้ วามร้อนจนถงึ อณุ หภมู ิ
ที่เม็ดพลาสติกจะหลอมเหลว ซึ่งเม็ดพลาสติกแต่ละชนิดจะใช้อุณหภูมิในการหลอมเหลวท่ีต่างกันไป
(https://www.patankit.com)

2. แนวคิด / ทฤษฎีทเี่ ก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)
การจำลองภาพการมองเห็นธรรมชาติ, ความทรงจำ และจินตนาการภาพบรรยากาศการมองเห็น

ก้อนเมฆบนท้องฟา้ ท่ีสดใส สามารถตอบสนองตอ่ สายตาการมองเหน็ ท่ีสะกดสายตาใหม้ อง และชว่ ยสรา้ งความ
น่ าส น ใจ ด้ วย ก้อน เมฆ ที่มีรู ป ร่างเห มือน กระต่ าย ตั ว ให ญ่ ล อย อยู่ ด้ าน บ น ท้องฟ้ าเห นื อพ้ื น ผิ วโล กท่ีมีภู เขา
โดยวาดในลักษณะเหมือนเด็กวาดรูปที่ยังขาดทักษะทางการวาดเพื่อเพ่ิมความไร้เดียงสาให้กับภาพผลงาน
ท่ีต้องการแสดงออกแบบเรียบง่ายสบาย ๆ ไม่ยึดติดกับความสมจริงเป็นความต้ังใจให้ลดความเครียด
ของผู้สร้างสรรค์เหมือนเด็ก ๆ ทำอะไรแบบไม่ต้องมีความถูกต้องทางกายภาพ และไม่จำกัดจินตนาการ
แต่สามารถทดแทนรูปรา่ งท่เี ปน็ เหมือนภาพที่ลดรูปและเป็นสัญลักษณ์ตามความเขา้ ใจทเี่ รียบงา่ ยตรงไปตรงมา
ด้วยการวาดภาพในลักษณะของเด็กเล็กวาดเช่น อายุประมาณ 3 - 5 ปีเด็กจะเร่ิมวาดภาพท่ีใช้เส้นง่าย ๆ ได้
เด็กยังไม่สามารถวางแผนก่อนวาดภาพได้ บ่อยคร้ังภาพจึงตกขอบกระดาษ หากเด็กมีพัฒนาการท่ีดีเย่ียม
จะสามารถวาดภาพเชิญสัญลักษณ์ เช่น วาดภาพหัวใจแทนความรักได้ เด็กอายุประมาณ 5 - 8 ขวบ
เด็กเร่ิมวาดภาพได้สมจริงมากข้ึนและจัดองค์ประกอบภาพได้ดีขึ้น (https://happymom.in.th) การใช้สี
ของเด็กนักจิตวิทยาพบว่า เด็ก ๆ ชอบใช้สีสดใสเม่ืออารมณ์ดี เด็กช่วงอายุ 6 ขวบข้ึนไปพอท่ีจะ รู้จักชื่อสี
และเขา้ ใจอารมณข์ องตัวเอง (http://rise.swu.ac.th)

THIPSUKONT ITTIPRATEEP / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 304

3. กระบวนการในการสร้างสรรค์ (Creative Process)
1. การสร้างสรรคผ์ ลงานเร่มิ ต้นการเกบ็ ขอ้ มูลดว้ ยการถา่ ยภาพ ก้อนเมฆต่าง ๆ บนท้องฟ้า

ภาพที่ 1 ตัวอย่างภาพทอ้ งฟ้าท่เี กบ็ ขอ้ มูล

2. การรา่ งภาพโดยใชจ้ ินตนาการกบั ภาพท่ีเห็นและร่างภาพคร่าว ๆ พร้อมกับการจดบนั ทกึ ความคิด
และวิธีนำเสนอ

ภาพท่ี 2 ภาพประกอบการคดิ และรา่ งภาพ

3. นำเมด็ พลาสติกหลากสสี ัน โปรยเมด็ ลงบนแผ่นฟอยล์แทนการวาดรูปด้วยการโปรยให้เกิดเป็นภาพ
และอาจเสริมจินตนาการจากวสั ดทุ ่ีใช้เพมิ่ ขึ้นอกี ในการทำงาน

4. นำพลาสติกที่โรยไว้เข้าเตาหลอมในเตาเผาโดยทดลองหลอมเหลวเม็ดพลาสติกแตกต่างกันไปจุด
หลอมเหลวพลาสติกที่ทดลองใช้มี 2 ชนิด คือ พอลิเอทิลิน (HDPE) ชนิดความหนาแน่นสูงเป็นพลาสติกชนิดท่ี
มสี ีขนุ่ อณุ หภูมิท่ีใช้โดยประมาน 250-280 องศาเซลเซียส และ พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET) เป็นพลาสติก
ชนิดทม่ี สี ีใส อุณหภมู ทิ ใ่ี ช้โดยประมาน 260-280 องศาเซลเซยี ส

THIPSUKONT ITTIPRATEEP / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 305

ภาพที่ 3 เทคนคิ การหลอมพลาสตกิ ด้วยเตาไฟฟา้ บนแผ่นฟอยล์ (Aluminum foil)

การทำคราบน้ำฝน ท่ีไหลรินบนหน้าต่างขณะที่มองผ่านช้ันกระจกเป็นการจำลองสภาพแวดล้อม
ขณะน่ังมองไปนอกหน้าต่างที่มีฝนตกอยู่ โดยการใช้น้ำยาเคลือบใสบนผิววัสดุ ชนิด epoxy resin ค่อย ๆ
หยดลงบนแผน่ acrylic แผน่ หลงั สดุ เรยี นแบบคราบน้ำฝนให้ดมู มี ิตริ ะยะลกึ และเป็นธรรมชาติ

ภาพท่ี 4 การทำคราบนำ้ ฝนดว้ ย อพี ๊อกซ่ี เรซนิ (epoxy resin)

การทำละอองฝน ที่ตกประปรายลงบนหน้าต่าง เพ่ือเพิ่มมิติ ให้กับผลงานสร้างสรรค์ทำให้เกิดความ
ทบั ซ้อนและซบั ซ้อนของภาพมากขึ้น โดยทำลงบนแผ่น acrylic ใสในแผ่นพลาสติกชน้ั ระยะหน้าสุดเพือ่ ให้ภาพ
ดูมีความเป็นธรรมชาติมากข้ึนเกดิ มีระยะลึกช่วยสร้างมิติของผลงาน เทคนิคการทำคือ การใช้มีด cutter กรีด
ลงบนผวิ แผ่นพลาสตกิ เบาบา้ งหนกั บ้างบนแผ่น acrylic ให้เหมือนเหน็ เปน็ ละอองสายฝนทต่ี กลงมา

ภาพที่ 5 การทำละอองฝนตกดว้ ยมดี คัทเตอร์ (cutter) กรดี เสน้ ลงบนผิวแผน่ อะคริ ิค (acrylic)

THIPSUKONT ITTIPRATEEP / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 306

4. การวิเคราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
ผลงานสร้างสรรค์ “กระต่ายน้อยกลอยใจ ลอย ล่อง” นำเสนอเนื้อหาภาพจินตนาการกับก้อนเมฆ

บนท้องฟ้าเป็นรูปกระต่ายตัวใหญ่ล่องลอยในอากาศเหนือภูเขาท่ีมีดอกไม้สีแดงและมีก้อนเมฆรูปมังกรในเทพ
นิยายโอบอยู่ด้านหลังเขา การจัดวางที่มีความกลมกลืนสอดคล้องในโครงสร้างของภาพแบบวงกลม ดอกไม้
คล้ายรูปดอกกุหลาบสีแดงตรงกลางภาพท่ีร่างแบบเด็ก ๆ เป็นจุดดึงความสนใจ การใช้สีท่ีหลากหลายและ
สดใสเหมือนเป็นจินตนาการของเด็กน้อย โดยติดต้ังอยู่บนแผ่นพลาสติก acrylic ใสที่ทำคราบน้ำฝนเป็นพ้ืน
หลงั และละอองฝนบนแผ่น acrylic อีกแผน่ เป็นระยะหนา้ ของภาพ

ภาพท่ี 6 ช่ือภาพ กระต่ายนอ้ ยกลอยใจ ลอย ล่อง เทคนิค ศิลปะสือ่ ผสม ขนาด 701x 80 x 15 เซนตเิ มตร

การใช้รูปร่าง เปน็ การสร้างรูปร่างท่ีลดทอนรายละเอียดท่ีมีลักษณะรปู ร่างอิสระแบบกอ้ นเมฆ ในการ
สร้างภาพเรื่องราวกระต่ายร่าเริงอย่เู หนอื ภูเขาและดอกกหุ ลาบดอกใหญ่สีแดงบนยอดเขาที่อยู่บนหลงั ก้อนเมฆ
รูปมงั กรในเทพนิยายคอยดูแลภูเขาแหง่ น้ีโอบล้อมยอดเขาเป็นลักษณะการวาดภาพอย่างงา่ ย ๆ แบบเดก็ เล็ก ๆ
ทใ่ี ห้ดูไร้เดยี งสาแบบไม่ต้องสมจรงิ นำเสนอภาพใหด้ ูมีเร่อื งราวเหนอื จรงิ เหมือนภาพทมี่ าจากจินตนาการอยกู่ ับ
บรรยากาศและภาพต่าง ๆ ที่เราเห็นขณะมองก้อนเมฆบนท้องฟ้าที่เรามองรอดออกไปข้างนอกหน้าต่างเห็น
ธรรมชาติรอบตัวท่ามกลางขณะท่ีมีสายฝนที่ตกโปรยปลายลงมาโดนหน้าตา่ งที่มีคราบน้ำและละอองฝนอยู่ดา้ นนอก
ผู้สร้างสรรค์ต้ังใจที่จะเรียนแบบคราบน้ำและเม็ดฝนเสมือนจริง เพ่ือทำเป็นภาพซ้อนให้เกิดระยะการมองเห็น

THIPSUKONT ITTIPRATEEP / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 307

ให้สมจริงและดูเป็นธรรมชาติในรูปร่างของคราบน้ำไหลของฝนและละอองของฝนท่ีตกอยู่นอกหน้าต่าง บ่งบอกถึง
การคาบเกี่ยวระหวา่ งเรื่องราวในจินตนาการและความเป็นจริงท่ีกำลังดำเนนิ เรื่องอยู่ ณ ขณะน้ัน ๆ

การใช้สี เป็นสีโทนอ่อนเน้นความขาวของเมฆ ความโปร่งใสของน้ำบนหน้าต่างและสอดแทรกสีสัน
สดใส สีแดง ฟ้า เหลือง เขียว ประสานสลับสีสันด้วยหลักการใช้ทฤษฎีสีปรากฏเด่นและการควบคลุม
เปอร์เซ็นต์ระหว่างสีร้อนและสีเย็น 80% : 20% เป็นการใช้สีสดใสแบบเด็ก ๆ วาดรูปท่ีชอบท่ีจะใส่สีท่ีชอบ
มากกวา่ ยึดติดทฤษฎสี ี แตย่ ังควบคลุมความงามของสสี นั ให้พอดีอยไู่ ด้

การจัดวางองค์ประกอบ โดยการจัดวางจุดเด่นไว้กลางภาพ มีลักษณะก่ึงนามธรรมโดยนำเสนอ
เน้ือหาเชิงสัญลักษณ์ ด้วยการใช้รูปกระต่ายแทนความร่าเริงกระโดดโลดเต้นในคร้ังบนของภาพลอยข้ามอยู่
เหนือภูเขาสีเขยี วกบั ดอกไมส้ ีแดงดอกใหญ่อยตู่ รงกลางภาพสอดแทรกอยกู่ ้อนเมฆสีขาวที่ ทีเ่ ป็นรูปดินแดนของ
มังกรในเทพนิยายให้ปกปักษ์รักษาดินแดนในจิตใต้สำนักให้ปลอดภัย มีรูปร่างท่ีกินพื้นท่ีโอบล้อมบริเวณ
คร่งึ ล่างของภาพและมีรูปร่างที่โคง้ รับกับรูปรา่ งกระต่ายตัวใหญ่ด้านบนโดยมกี ารจดั วางให้เกิดความสมดลุ แบบ
สมมารถ สร้างความมีเอกภาพ ลักษณะรูปร่างปุกปุยและรูปทรงอิสระของก่อนเมฆ จุดเด่นนำสายตาด้วยสี
สดใสของดอกไม้สีแดงกลางภาพเพื่อดึงความสนใจนำใหส้ ายตาในการมองภาพ

5. สรุป (Conclusion)

จากทดลองการใช้วสั ดุอุตสาหกรรมชนิดเม็ดพลาสตกิ หลากสี ในการสร้างสรรค์ท่ีไม่ค่อยได้เห็นในการ
ทำงานศิลปะ ก็สามารถเป็นวัสดุท่ีน่าสนใจท่ีจะสามารถนำไปต่อยอดการทำงานสร้างสรรค์ได้ดี หลากหลาย
และสนุกสนาน ประกอบกับการเรียนรู้การใช้ครุภัณฑ์เตาเผาท่ีช่วยเกิดทักษะด้วยการทำงานศิลปะ แต่ก็
สามารถประยุกต์สู่งานออกแบบในเรื่องการใช้วัสดุสร้างสรรค์ให้กับนักศึกษาและผู้สนใจได้มากกว่า
แบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพราะศิลปะคือความมหัศจรรย์ใจที่สามารถสร้างมุมมองความคิดสร้างสรรค์
ใหเ้ กิดการแตกยอดความคิดสู่งานออกแบบได้ดี

ส่วนด้านแนวคิดในมุมมองสร้างสรรค์กับการบำบัดจิตใจสามารถวางสิ่งต่าง ๆ ในหัวสมองท่ีวุ่นวาย
ดว้ ยวธิ ีการท่ีเรยี บงา่ ยมาก ๆ คือการสร้างมมุ มองให้เราได้อย่กู ับตัวเองใหอ้ ิสระจากพันธนาการความคดิ ของตน
โดยการมองท้องฟ้าตัดความสับสนของจิตให้เกิดเป็นสมาธิและเบาสบาย กับศิลปะที่ดีต่อสุขภาพจิตใจ
ไปกับจินตนาการของตนและการสร้างสรรค์บนอากาศ คือการปล่อยวางจิตใจและอารมณ์ไปกับจินตนาการ
และส่ิงแวดลอ้ ม

แนวทางการสร้างสรรค์ครั้งน้ีก็สามารถนำไปใช้สอนนักศึกษาในรายวิชาองค์ประกอบศิลปะที่ทำให้
เหน็ ถึงวธิ กี ารสรา้ งสรรค์ผลงานท่หี ลากหลายเทคนคิ ของผลงานศลิ ปะสอ่ื ผสม เช่นการทดลองวสั ดุเม็ดพลาสติก
หลักทฤษฎีสี เช่นการจัดองค์ประกอบศิลปะ การแสดงถึงแนวคิด ภาพสัญลักษณ์แทนความคิดกับจินตนาการ
ภาพเพื่อส่ือเรื่องราวต่าง ๆ เช่นกระต่ายแทนความอิสระร่าเริง สีสันของภาพ ช่วยสร้างความสวยงาม
และอารมณ์ท่ีต้องการถ่ายทอดผลงานให้กับผู้ชม และแนวคิดที่สร้างคุณค่าและประโยชน์ต่อผู้คนในสังคม
ในทางท่ีสร้างสรรค์ ทำให้ได้ขบคิดต่อการปฏิบัติกายใจของตนเองให้เกิดความสุขสงบขึ้นได้ด้วยวิธีท่ีเรียบง่าย
ดงั กลา่ ว

THIPSUKONT ITTIPRATEEP / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 308

เอกสารอ้างอิง (References)

ศรียา นยิ มธรรม. (2559). จิตวทิ ยาแหง่ ส.ี สืบคน้ ข้อมูลเมอ่ื 15 มีนาคม 2564, เขา้ ถึงได้จาก
http://rise.swu.ac.th/Portals/184/documents/articles/The_Psychology_of_Color.pdf

อุดม จนี ประดับ. (2560). ปรบั อุณหภมู ิการฉีดพลาสตกิ อยา่ งไรใหฉ้ ดี งา่ ย. สบื ค้นข้อมูลเมอื่ 20 มีนาคม
2564, เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.patankit.com/blog/how-to-adjust-injection
temperature

HAPPY MOM.LIFE. (2562). พฒั นาการ “วาดภาพศิลปะ” ของเด็กแตล่ ะวยั ท่ีพ่อแม่ต้องเข้าใจและรบั มือ
ให้ถูกต้อง. สืบค้นข้อมลู เมื่อ 15 มีนาคม 2564, เข้าถึงได้จาก
https://happymom.in.th/th/tips/kids-art-class

TIPPALUK KOMOLVANIJ (THAI)
S.C.A.M.P.E.R. Cards Game
Digital Print, 5.5 x 8.5 (80 Cards)

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

S.C.A.M.P.E.R. CARDS GAME’S DESIGN

FOR CREATIVE SKILLS DEVELOPING AND ENTREPRENEUR

การออกแบบเกมการ์ดสแคมเพอร์ เพือ่ พฒั นาทักษะความคิดสร้างสรรค์

และทกั ษะผปู้ ระกอบการ

ทพิ ยล์ ักษณ์ โกมลวณิช*

TIPPALUK KOMOLVANIJ**

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์ 110/1-4 ถนนประชาชนื่ แขวงทุ่งสองห้องเขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210***

[email protected]

บทคัดย่อ

ผลงานสร้างสรรค์เกมการ์ดสแคมเพอร์ (S.C.A.M.P.E.R.) ชุดน้ี ได้รับแรงบันดาลใจจากการพบปัญหา
การสอนเรื่องการคิดเช่ือมโยง จึงได้พัฒนาวิธีการเล่นจากเป็นเพียงส่ือการสอนเปล่ียนมาเป็นเกมการ์ด และ
กลายเป็นเครื่องมือช่วยสอนการคิดสร้างสรรค์แบบนวัตกร ด้วยการนำหลักคิดสแคมเพอร์ (S.C.A.M.P.E.R.)
มารวมกับการฝึกทักษะความเป็นผู้ประกอบการลงไปในเกมการ์ด ทำให้นักศึกษาทุกคณะวิชาสามารถใช้เป็น
แบบฝึกคิดได้ด้วยตนเอง เกมการ์ดสแคมเพอร์จึงทำให้นักศึกษากล้าคิดกล้าลอง และเกิดความสนุก ท้าทาย
ชว่ ยใหส้ มองไดอ้ อกกำลงั และชว่ ยจุดพลงั ความคิดสร้างสรรคใ์ ห้กบั ผู้เล่นทุกคน

คำสำคัญ: สแคมเพอร,์ การ์ดเกม, ทักษะความคิดสรา้ งสรรค์, ทักษะผปู้ ระกอบการ

Abstract

This set of cards game S.C.A.M.P.E.R. has been created with the inspiration from the
teaching problems about “Associative Thinking”, thus not only just to play ad teaching
materials, but also been developed to be cards game and become “Innovative Teaching
Tools” with the introduction of the principle “S.C.A.M.P.E.R.” come together with
entrepreneurship skills training into the cards to make student dare to think and dare to try
and having a fun feeling, challenging, This helps the brain to exercise and helps to empower
every player’s creativity.

Keywords: S.C.A.M.P.E.R.; Cards Game; Creative Skills; Entrepreneur Skills

*ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์
**Assistant Professor
***Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 311

1. The Importance or Problem’s Background

This creative work cards game S.C.A.M.P.E.R. set has been developed design to be
part of teaching and learning medias for the course of G.E. 1 7 1 “Creative Thinking and
Innovation” used in the ears studied 2562 and the beginning of cards game creation in the
year studied 2 5 5 6 started by facing the difficulties to teach creative thinking as students
often stuck with the lack of connected thinking skills, which is an important concept for
implementing connected concepts in design works. The designer therefore studies further
from various documents and textbooks and found the way how to think of connections y
using unrelated pictures to be thought provoking, cause to think and step out of the old
minds, which had tried to make the first simple cards game prototypes by using images from
internet and pasting on the cardboard and put to trial with the computer graphic students,
Faculty of Fine and Applied Arts, DPU Result found feedback is so good, students had been
able to practice more connected thinking under the problems of capturing the picture card
by themselves. This has been used as teaching materials for a while.

Until in the year studied 2560 the designer got inspiration from the university’s policy
about the important development story 6 essential skills (DPU CORE), which are : Creative
skills, Analytical and problem solving skills, Technological skills, Teamwork skills,
Entrepreneurship skills and Communication skills, therefore the cards game teaching
medium had been brought to develop and used with the students in Computer Graphic
Course (Version prior to the updated course year studied 2560), Phase 2 improvements had
added keywords cards of the concept S.C.A.M.P.E.R. because it was found that students
could not remember those key words and did not see an example of how to think that way.
Therefore, additional cards were added with the keywords of the concept and the example
images of the way to think in order to make students more understanding.

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 312

Figure 1 S.C.A.M.P.E.R. Cards Game developed during the year 2556-2560
Image Source : By Author

In the academic year 2 5 6 2 the designer had been assigned to be Course Leader
G.E.171 Creative Thinking and Innovation, which is in the General Education Administration
Center (GenEd DPU CORE) and assigned to design a symbol for the Administrative Center,
the designer therefore got the opportunity to develop the cards game S.C.A.M.P.E.R by
expanding the cards game S.C.A.M.P.E.R. not only to students in Computer Graphic course
but also to all the students in DPU and improve many parts of the cards both the body and
game play by added Entrepreneurship skills into the cards, added more characters to the
cards game with the role of punishment those who failed the mission and added more self-
taken photo cards to reduce from using the images from internet, however some still used
from the internet.

This cards game improvement had been arranged suit for the students of all faculties
to correct misconceptions about teaching creativity as a subject for design learners only.
The designer included the gameplay challenges to make more fun, dare to think outside the
box and make pranks to update the old mindset, try to think new things and play pranks,
when changing perspectives from just for fun and ridiculous ideas to a more develop further
to business in future.

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 313

Figure 2 Show the design development process cards game S.C.A.M.P.E.R.
during the year 2556-2562
Image Source : By Author

2. Concepts/ Related Theories
The designer has studied creative method and innovation by reading literature

reviews such as: Systematic Thinking & Problem Solving Techniques by Dr. Worapat
Phucharoen 2 5 4 6 , The Innovator’s DNA, by Hal Gregersen and Clayton M.Christensen,
translated by Nara Supakroj 2556, A tool to help produce ideas to the best,byMasaharu Kato,
translated by Siriluck Sirimachan 2 5 5 9 , and ThinkPak (Thinker toys) by Michael Michalko,
translated by Thongchai Rojkangsadan 2552

From the studies found that Alexander Os-borne had been the pioneer in the
sceince of brainstorming creativity, he presented this method by combining existing ideas to
be new idea called “Os-borne’s Check Lists” consisted of verb 7 magic words, which are
Substitute (S) – can be replaced?, Combine (C) - can be mixed together?, Adapt (A)–can
modify?, Modify (M) - can be modified?, Put to other uses (P) – can be used to other
applications?, Eliminate (E) - can be existed?, Reverse (R) - can be reversed or upside down?
Os-borne put the words rearranged – to swap the position, sequences, component?, later
on Bob Eberly has rearranged all the words to be more easy to remember and easy to use,
so becomes S.C.A.M.P.E.R.

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 314

Michael Michalko, the creative professional brought this concept “S.C.A.M.P.E.R.” to
compose in a book named “ Thinker Toys” and created cards to be used in brainstorming
activities; called “THINKPAK” with technically thought provoking exercises as “Lotus Blossom”
started with main theme or problems then thinks of the balance further on by writing the
ideas raised in an enlarged circle like a lotus petal. The core that led to the concept will
become a new core, this will continue to think and do the same until the essence that
emerges can stimulate new essence’ ideas related to a problem or a core that is being
thought to be solved by THINKPAK cards will stimulate new ideas by randomly used. This
will make players learn how to look at information in different ways from the others and get
more new initiative ideas to develop both in private life and business. THINKPAK cards will
totally have 56 pieces, divided into two recommended cards to introduce how to play, the
third through 47th will stimulate ideas and the 48th - 56th will evaluate ideas to be used
after the brainstorm activity is finished. (Figure 3)

Figure 3 Brainstorm Cards by Michael Michalko ( Revised version)
Image Source : https://www.lmi-academy.com/scamper

3. Creative Process
In this cards game S.C.A.M.P.E.R. creation, there are two design objectives, i.e.: 1) to

be used in developing creativity for students of all disciplines and 2.) to use as a medium for
developing entrepreneurial skills to all students. From the mentioned objectives, the
designer would like to share the creative process into 2 parts, because the said cards game
will be brought to apply to all students in the first year level in DPU. The 1st part will be
“Design a LOGO for the Center of Administration GenEd DPU CORE” and the 2nd part is to
design, development, improvement of the cards game S.C.A.M.P.E.R..

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 315

3.1 To design a logo for the Center of Administration GenEd DPU CORE

Design ideas a logo for the Center of Administration GenEd DPU CORE, the designer
started from the meaning of General Education and DPU CORE, which is the general
education for all students in DPU must take courses about 3 0 credits as a compulsory
number of credits before they can further on study in each major subject according to the
field of study of each faculty. DPU has given 6 policies in DPU CORE ; Creative skills,
Analytical and problems solving skills Entrepreneurship skills and Communication skills, to
interpret and find signs to convey such meaning in sketching a logo No. 1, the designer uses
Typeface alphabets DPU as university’s LOGO and bold Typeface for CORE (both parts of
Typeface are the university’s logo) to imply that they are primary importance, basis for
studying in the university. The image of the arm with long sleeve stretched out to represent
the students who come for their knowledge and light bulb means for the knowledge to get
subject : GenEd. Sketches No.2 and No.3 added more students into counter closed of the
character “O” and changed light bulb to be brain shape in counter closed of the character
“R” to show that after studying, they will get sparkle useful knowledge in the future. Sketch
No.4 will be an order of hierarchy in reading, stressed DPU to be bigger than CORE, which
changed to be Form#2 in sketch #2 that used DPU smaller than CORE.

To sketch no.3 developed from sketch No.1 - Form#3 and 4 by choosing to adjust
the points of interest; light bulb, student representative in Counter (closed) of the character
“O” and change light bulb to be brain shape and adjust as a character in sketch No.3 After
that brought sketch No.3 and Form 4 from sketch No.2 (Figure 4) to the committee and all
concerned to have discussed and chosen, then adjust by reducing details in lamp holder
area, brain shape to have fewer lines and changed lamp holder to be USB holder to
communicate the international knowledge and advanced technology, finally complete for
the other details of the Logo (Figure 5)

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 316

Figure 4 : The figure shows the process of developing a sketch of the General Education Administration
Center (GenEd DPU CORE)
Image Source : By Author

Figure 5 Shows complete LOGO of GenEd DPU CORE
Image Source : By Author

3.2 Game Design
Cards for S.C.A.M.P.E.R. has totally 8 0 pieces, divided into 5 sets : Picture cards 5 3

pcs. In orange color, S.C.A.M.P.E.R.cards 7 pcs in yellow, Situation cards 1 0 pcs. In blue,
Changer cards 5 pcs. In purple and Rescue cards 5 pcs. In red.

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 317

Usage guidelines can be able to modify in many ways to play, suitable to use for creative
practice thinking and connection thinking, new innovative products thinking or even use to
train the brain thinking, fluent and flexible. The way to play should start from basic by
collecting2 pieces of card then try to find relevance and meaning between the two cards as
much as they can within limited time, like in one or two minutes for at least 20 topics. This
car game can start from two to ten persons or just play for alone thinking. Image cards and
business thinking cards will have 5 pieces that have QR – Code to link to folder to add more
problems or images later to update without renewal. For the strength of the cards reversal is
to create conditions for the players to feel more pressure and think through the box with
helping cards that gave players peach of mind that they have help wither real assist or
deceitful, such as : add more conditions etc.

3.2.1 Conceptual Design

To design the S.C.A.M.P.E.R. cards game the designer has used the design knowledge
in both the basic design elements, colors with design psychology and the six Hats Theory by
using the lines that are basic elements of the design work to express their meaning and
feeling in term of design psychology, oblique line means non-stop, motion so the designer
has chosen cards game in background to be oblique graphics to awaken the enthusiasm of
the players and when the cards been piled up the solid oblique lines will urge players to
feel energetic, excited and alert. In giving colors, the designer chose the background of the
S.C.A.M.P.E.R. cards in yellow, which are happy tone, lively, brightness. In the 6 Hats Theory,
yellow means positive thinking, opportunity for development that’s why yellow color been
used to spark the players.

In photo cards been used in orange, which is the color of joy, to reflex the eagerness,
enthusiasm and creation. Business problems cards been in blue, which is the solid color,
fine, look into the big image to control the management of thinking process, organization the
ideas, make confidence. Turning cards been used in dark purple to show the imagination,
intelligence and experiences. Helper cards been in red to show power feeling and instinct to
remind the players that if they found the problems from turning cards and thought that it
could not be possible to do so, they still have helper cards to play safe, which they are
both real assistance of fake helper cards to make more amusements.

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 318

Figure 6 Cards Game S.C.A.M.P.E.R.
Image Source : By Author

3.2.2 Preparing equipment before playing the game
1. separate cards into 5 sets, face down sort by colors and shuffle the cards
2. prepare small pieces of paper, pen and colored pencils
3. play alternately by little O out, then the first leaving person will be the first

to start playing.
4. play game by selecting the cards by small amount (at least 2 cards/time)

then take more cards when get more experiences.
3.2.3 How to play
Playing cards game S.C.A.MP.E.R. have sequence steps as shown in Figure 7

Figure 7 Methods an Sequence of steps to play S.C.A.M.P.E.R.
Image Source : By Author

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 319

4. Results Analysis
The study results of playing cards game S.C.A.M.P.E.R. found the good feedback from

the users both by lecturers and students. The lecturers used cards game S.C.A.M.P.E.R. as
teaching medias in creative thinking (Explained the methods and steps of using
S.C.A.M.P.E.R.) and exercise problems. To the students’ opinions, they feel relaxed, play
with fun and learn creative thinking from the other groups in class, can apply the concept to
solve problems and participate with friends from different faculties, exchange ideas between
students and lecturers. This learning game is an interesting way to apply to other courses

The designer has arranged the focus group with Board game expert designers, GE 171
lecturers and Teaching Assistant to listen to their opinions for developing and found that
there are things to improve; such as cards game should have unique name to indicate the
ay characteristic type and how to play game, Image cards should be freely thinking, not to
mention what this photo means, no need to for a language under the image, points should
be counted and win or lose results to be decided, should adjust link, QR-Code because
sometime they were unable to check in, which caused the lose opportunity. Cards should
have a challenge or scramble for points or answer from each other to make more fun. Card
that educate and set more specific for business, add more business model canvas to the
game to train skill the business people, the game rules and how to play should be adjusted
to suit to the concept of game that to practice thinking outside the box but still educate to
meet the game design objectives. From the mentioned suggestions, the designer will take
advantages to develop and improve for better solution in future.

Figure 8 Image of Focus Group with Experts, Lecturers and Teaching Assistants
Image Source : By Author

5. Conclusion
Far from working this cards game S.C.A.M.P.E.R. the designer has an opportunity to

design LOGO for the General Education Administration Center (GenEd DPU CORE) and
learned to design cards game and added more fun and knowledge to the game while
playing, which developed not only from teaching materials (GBL) but turned to be learning

TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 320

games and become one of the game mechanics of Gamification (to be used to stimulate,
motive on other activities, which is not only in game), which affected to the learning
behavior of the learners in the 2 st century. The designer got inspiration from this design
work and would like to develop game mechanics and motivate through game and so on to
revolve into a Board-game suitable for creative learning and other courses contents later on.

References

Jack Foster. (2007). How to get Ideas, (Second Edition), translated by Poonlap
Authailertrot. Bangkok: WeLearn Co.,Ltd.

James Bannerman. (2012). Deceptively simple ways to become instantly smarter, translated
by Pimjai Surintaraseri. Bangkok: Nation International Edutainment Public Company
Limited.

Jeff Dyer, Hal Gregersen and Clayton M.Chistensen. (2013). The Innovator’s DNA, translated
by Nara Supakroj. Bangkok: Pran Publishing Company Limited.

Praparat Wisetwongchai. (2020). Color Psychology Chai See Suesan kam Ar-rom Kwamroosuk
Konsue. [Color Psychology Use color to communicate with emotions
The feeling of buying people]. Retrieved from https://www.everydaymarketing.co/
trend-insight/color-psychology-to-communicate-ideas. 2020

Michael Michalko. (2009). ThinkPak (Thinker toys), translated by Thongchai Rojkangsadan.
Bangkok: Kwankao 94 Co.,Ltd.

Masaharu Kato. (2013). A tool to help produce ideas to the best, (KOGU) translated by
Siriluck Sirimachan. Bangkok: arrangement with Masaharu Kato in care of The
Appleaseed Agency Ltd., Tokyo Through Tuttle-Mori Agency, Inc, Tokyo. TPA

UKRIT WANNAPHAPA (THAI)
INTERIOR ARCHITECTURE DESIGN FOR BAN THA SAWANG MUSEUM OF SILK
INTERIOR ARCHITECTURE DESIGN, 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

INTERIOR ARCHITECTURE DESIGN FOR

BAN THA SAWANG MUSEUM OF SILK

ออกแบบสถาปตั ยกรรมภายใน พิพธิ ภัณฑ์ผ้าไหมบา้ นทา่ สวา่ ง

อุกฤษ วรรณประภา*

UKRIT WANNAPHAPA**

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชน่ื แขวงทงุ่ สองหอ้ งเขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210***

[email protected]

บทคัดยอ่

ผ้าไหม บ้านท่าสว่าง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เป็นแหล่งภูมิปัญญาด้านหม่อนไหมนับเป็นเอกลักษณ์ทาง
วัฒนธรรม มรดกชาติที่ต้องมีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาด้านหม่อนไหม แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนในชุมชนท่ีมีความ
เจริญรุ่งเรอื งตั้งแตค่ ร้งั ในอดีต-ปัจจุบัน การทอผา้ ไหมแต่ดั้งเดิมยังคงไว้ซ่ึงรูปลักษณแ์ ละการสบื สานภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ จึงจดั ตั้ง
พพิ ิธภัณฑ์ผา้ ไหมบา้ นท่าสว่างและการอนรุ ักษ์ จังหวดั สุรนิ ทร์ ซึ่งเป็นโครงการประกอบดว้ ย การจดั แสดงให้ความรู้ด้านหมอ่ น
ไหมจากอดีตสู่ปัจจุบัน เพื่อตอบสนองการเรียนรูศ้ ึกษาความเป็นมาของผ้าไหมและลวดลาย ที่มคี วามสอดคลอ้ งกับความเป็น
ปัจจบุ ันทท่ี ันสมัย สามารถผสมผสานวถิ ีชีวิตของชมุ ชน เพ่ือเพ่ิมเอกลักษณข์ องโครงการกับการเรียนรู้ เพือ่ การเกิดกิจกรรมตา่ ง ๆ มา
สนบั สนนุ ให้เกดิ บรรยากาศ ทีม่ ีความเรยี บง่ายและความเปน็ เอกลกั ษณ์ของโครงการ

คำสำคัญ: พิพิธภณั ฑ์, ผ้าไหม, ออกแบบภายใน

Abstract

The silk of Ban Tha Sawang, Mueng district, Surin Province is a source of wisdom of Mulberry Leaf Tea
which is the cultural identity and national heritage that must be preserved. The wisdom of the Mulberry Leaf Tea
demonstrated the wisdom of the people who living in the communities that have flourished in the past to the
present. Traditional silk weaving, is still maintaining the appearance and the inheritance by the establishment of
local wisdom museum in Ban Tha Sawang. The project aspect consists of a project as a characteristic exhibited
the knowledge on Mulberry Leaf Tea since the past to the present to response to the learning and education of
the silk, pattern of silk that is consistent with the current date which can combine the lifestyle of the community,
to increase the uniqueness of project and learning, and to create the activities for supporting an environment
where simplicity and uniqueness of the project.

Keywords: Museum, Silk, Interior Design

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

UKRIT WANNAPHAPA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 323

1. ความสำคัญหรอื ความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

ตามนโยบายจากแผนแม่บทวัฒนธรรมแห่งชาติกระทรวงวัฒนธรรม ได้ให้ความสำคัญเก่ียวกับการ
พัฒนาองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมทางวัตถุซึ่งสามารถจับต้องได้และวัฒนธรรมทางจิตใจที่ไม่สามารถจับต้องได้
และความหลากหลายทางวัฒนธรรม เช่น วัฒนธรรมการแต่งกาย วัฒนธรรมที่เป็นวิถีชีวิต ที่มีเอกลักษณ์
ตา่ งกันไป วา่ ด้วยการอนุรักษ์ผา้ ไหมภูมปิ ัญญาหม่อนไหมและการสืบสาน อนุรักษผ์ ้าไหมภูมปิ ัญญาหม่อนไหม
และพัฒนาการผลติ ผ้าไหมโดยการสอดแทรกวัฒนธรรมองค์ความร้แู ละภูมปิ ัญญาในท้องถน่ิ ท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์

ผ้าไหม บ้านท่าสว่าง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เป็นแหล่งภูมิปัญญาด้านหม่อนไหมนับเป็น
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของประเทศและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติท่ีต้องมกี ารอนุรักษ์และ
สืบสานภูมิปัญญาการทอผ้าไหม แสดงออกถึงมรดกทางวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของคนในชุมชนที่มี
ความเจริญรุ่งเรืองต้ังแต่คร้ังในอดีตการทอผ้าไหมแต่ด้ังเดิมยังคงไว้ซ่ึงรูปลักษณ์และการสืบสานภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน การอนุรักษ์และสืบสานเอกลักษณ์ไหม พิพิธภัณฑ์ด้านหม่อนไหม การอนุรักษ์ ภูมิปัญญาหม่อนไหม
และการสบื สานจงึ นบั วา่ เป็นความสำคญั อยา่ งหนง่ึ ทถี่ ือเป็นการดูแลรักษาสมบตั ิของชาตริ วมถึงเป็นส่วนหนึ่งท่ี
แสดงออกถึงการสนองพระราชดำริสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี
หลวงด้านการพัฒนาหม่อนไหมจึงได้จัดทำโครงการพิพิธภัณฑ์ผ้าไหมบ้านท่าสว่างและการอนุรักษ์ จังหวัด
สุรินทร์ เพ่ือรวบรวมวัฒนธรรม องค์ความรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น บ้านท่าสว่าง ที่เป็นเอกลักษณ์ โดย
พพิ ธิ ภัณฑ์ผา้ ในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเปน็ พิพิธภัณฑผ์ ้าทจี่ ัดแสดงผ้าทเี่ ปน็ เพียง การแสดง หรือ โชว์ และให้
ความรู้ ในรูปแบบพิพิธภัณฑ์นั้น ๆ จึงเห็นว่าควรจะมีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ผ้าที่มีการเก็บรวบรวมผ้าไหม และ
การอนุรักษ์ บำรุง รักษา ผ้าไหมอย่างถูกวิธี โดยผู้ชำนาญการ พร้อมท้ังให้ ความรู้ ไปควบคู่กัน และ
พิพิธภัณฑ์เปน็ ส่วนหนงึ่ ของชมุ ชนโดยให้ชุมชนเข้ามาเปน็ ส่วนรว่ มในการดแู ลพิพธิ ภัณฑ์

จึงเป็นโครงการที่จะตอบสนองการรวบรวมผ้าไหม บ้านท่าสว่าง ให้เป็นแหล่งศึกษาข้อมูลเพ่ือให้
ความรู้เก่ียวกับเครื่องแต่งกาย และเป็นแหล่ง อนุรักษ์ บำรุง รักษา ผ้าไหม ของ บ้านท่าสว่างท่ีมีรายละเอียด
บอกถึงศิลปะ องค์ความรู้และภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น รวมถึงคติความเชื่อต่าง ๆ ไว้ในท่ีเดียว และ เป็น แหล่ง
รวมกลุ่มของคนในชุมชน ให้ สร้างรายได้ รู้ถึงคุณค่า ในชุมชน โดยจัดทำรูปแบบการจัดแสดงเพ่ือเป็นที่
น่าสนใจแก่เยาวชน นักเรียน นักศึกษา นักท่องเที่ยว และผู้ที่สนใจพิพิธภัณฑ์ท่ีมีความหลากหลายทางด้าน
ขอ้ มลู และ เพอ่ื ส่งเสรมิ นโยบายด้านเศรษฐกจิ และสงั คมเชิงวัฒนธรรม ของภาครฐั อย่างย่งั ยืน

2. วตั ถปุ ระสงค์ (Objective)

2.1 เพื่อเป็นแหล่งกลางการเรียนรู้ และเก็บรวบรวม จัดแสดงผ้าไหม บ้านท่าสว่าง จังหวัด สุรินทร์
และ การอนรุ ักษภ์ ูมิปญั ญาด้านงานหมอ่ นไหม

2.2 เพื่อเปน็ ศูนยร์ วมข้อมลู การอนุรักษ์ บำรงุ รักษา ผา้ ไหมอยา่ งถกู วธิ ี
2.3 เพ่อื ใหค้ นในชุมชนรว่ มกนั ตระหนกั ถึงคณุ ค่า และ การอนุรกั ษ์ ภมู ปิ ัญญาการทอผา้ ไหม

UKRIT WANNAPHAPA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 324

3. แนวคดิ / ทฤษฎีทเ่ี ก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)
3.1 แนวความคิดในการออกแบบพนื้ ทใ่ี ชส้ อยหรืออปุ กรณ์ประกอบอาคาร
นำลวดลายผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ผสมผสานความเป็นพ้ืนถิ่นมาประยุกต์เป็นป้ายบอกชื่อโซนจัดแสดง

รูปแบบท่ีเป็นเอกลักษณ์ของโครงการ และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ภายในโครงการพร้อมทั้ง แผ่นพับแสดง
รายละเอยี ดโครงการ และ บตั รคา่ ผ่านทางเข้าโครงการ ด้านภาษาในการสอ่ื สารและด้านข้อมูล จะแสดงขอ้ มูล
3 ภาษา ได้แก่ ไทย อังกฤษ กัมพูชา เพื่อเป็นการต้อนรับ AEC (อาเซียน) โดยใช้ลักษณะตัวอักษรที่เป็น
เอกลักษณ์ของโครงการในรูปแบบเดียวกันทั้งหมด โดยการตกแต่งทั้งภายในภายนอกอาคาร คงกล่ินไอความ
เป็นเอกลักษณ์พื้นถ่ินบวกด้วยกับความทันสมัยโดยแต่ละส่วนของโครงการตกแต่งตามแนวความคิดที่มีความ
แตกต่างตามเรื่องราวที่จัดแสดง โดยสีประจำโครงการคือ สีคราม (สีครามเป็นสีย้อมผ้าสีแรกและทั่วโลกให้
การยอมรับวา่ เป็นสที เ่ี กา่ แกท่ ี่สุด) จึงเกิน แนวความคดิ มลู มังบญุ ไหม

ภาพที่ 1 แสดงแนวคิดการออกแบบ

ภาพที่ 2 แสดงแนวความคิดในการออกแบบอปุ กรณ์ประกอบอาคาร

UKRIT WANNAPHAPA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 325

3.2 แนวความคิดในการออกแบบส่วนจดั แสดง
ลำดบั รูปแบบการจดั แสดง ให้เป็นไปตามลำดบั เรอื่ งราวท่ตี อ้ งการนำเสนอโดยจัดแสดงเรื่องราวเนื้อหา

ท่ีหลากหลาย บางส่วนสามารถร่วมกิจกรรมได้ สัมผสั ไดจ้ ริงเพ่ือสรา้ งความสนใจและลดความน่าเบื่อในการเข้า
ชมรูปแบบมุมมองในการชม จัดให้มีมุมมอง 3 ระดับ คือ ระดับก้มดู ระดับเงยหน้ามอง และระดับสายตาปกติ
เพื่อสร้างมุมมองที่หลากหลายรองรบั กับบุคคลในช่วงวยั ที่ต่างกันและสร้างความน่าสนใจกับวัตถุและเนื้อหาที่
จดั แสดง

ภาพที่ 3 แสดงรปู แบบออกแบบสถาปตั ยกรรมภายใน พพิ ธิ ภณั ฑผ์ า้ ไหมบา้ นทา่ สว่าง

4. การวิเคราะห์ผลงาน (Results Analysis)
การนำรูปแบบสถาปัตยกรรม ทางวัฒนธรรมอีสาน (รูปแบบพื้นถิ่น) สถาปัตยกรรมล้านช้างและ

รูปแบบของสถาปัตยกรรมไทยอีสาน โดยจัดผังกลุ่มอาคารตามความเชื่อสมดุล โดย สอดคล้องกับรปู แบบพ้ืนที่
ของ บ้านท่าสว่างท่ีมี รูปแบบของความเป็น ขอม ล้านช้าง และ ไทยอีสาน เปลือกอาคารเป็นวัสดุก่ออิฐฉาบ
ปูน โดย รูปแบบทางสถาปัตยกรรมท่ีปรากฏจึงยังมีความเป็นพ้ืนถ่ินอีสาน และมีการพัฒนารูปแบบไปตามยุค
สมัยท่ีสร้างสอดคล้องกับบริบทรอบขา้ งของโครงการโดย สามารถตอบสนองกิจกรรมต่าง ๆ และ กลมกลืมกับ
วัฒนธรรมพื้นถิ่นท่ีแสดงถึงภูมิปัญญาและเอกลักษณ์ของพ้ืนถิ่นอีสาน โดยพ้ืนที่ส่วนต่าง ๆ ของโครงกาจะมี
ความโล่งโปร่งสบาย เรียบงา่ ย โดดเดน่ ใชเ้ ส้นสายจากใยผ้า และลวดลายของผา้ พร้อมกับเอกลักษณ์ของอีสาน
ใต้เป็นแนวคิดหลักในการออกแบบทุกพ้ืนที่ของโครงการ เพื่อให้เข้าถึงสิ่งของจัดแสดงและเร่ืองราวการจัด
แสดงภายในพิพิธภัณฑ์ การออกแบบให้มีความเปน็ พื้นถ่ินเพือ่ สอดคล้องกบั ภาพลักษณโ์ ครงการและเพอ่ื ความ
น่าสนใจ อีกทั้งทำให้เกิดเอกลักษณ์ของพิพิธภัณฑ์ ได้แก่ ลักษณะทางวัฒนธรรม ลายผ้าไหม เคร่ืองสาน และ

UKRIT WANNAPHAPA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 326

เอกลักษณ์ที่สื่อถึงความเป็นจังหวัดสุรินทร์ มาผนวกกับแนวคิดความเป็นเอกลักษณ์ ทันสมัย เรียบง่าย ด้วย
ลักษณะของวัสดุที่ใช้ รูปทรงต่าง ๆ ท่ีแสดงถึงอารมณ์ความรู้สึก และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย อย่างกลมกลืน จึง
ทำให้ การออกแบบพิพธิ ภัณฑผ์ ้าไหมบ้านท่าสว่าง จังหวดั สรุ นิ ทร์ เป็นเอกลกั ษณ์ ที่นา่ จดจำ

5. สรุป (Conclusion)

การออกแบบพิพิธภัณฑ์ผ้าไหมบ้านท่าสว่าง จังหวัดสุรินทร์ ที่มีการสอดแทรกแนวคิดความเป็น
เอกลักษณ์ของโครงการ ให้ออกมาในรูปแบบท่ีเรียบง่ายทันสมัยและพ้ืนบ้าน ภายใต้กรอบอาคารท่ีเป็น
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม พรอมท้ังแนวคิดย่อยที่มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงเป็นไปตามเรื่องราวการจัด
แสดงเพ่ือรองรับกิจกรรมต่าง ๆ ให้ให้ผู้เข้าใช้เกิดความประทับใจในการเรียนรู้และศึกษาข้อมูลของพิพิธภัณฑ์
ผา้ ไหมบา้ นท่าสวา่ ง จังหวดั สุรินทร์

โดยศึกษาข้อมูลจากหลาย ๆ ด้าน อาทิ เช่น ศึกษาความสัมพันธ์ในแต่ละพื้นท่ี ศึกษาพฤติกรรมของ
ผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการในหลากหลายรูปแบบ ศึกษารูปแบบการจัดแสดงและรูปแบบข้อมูลการจัดแสดง
บริบทกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นขององค์กร ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีจะส่งผลในด้านการออกแบบ แนวคิดการ
ออกแบบ การจดั โซน การวางผงั บรเิ วณ และการนำมาใช้ในการออกแบบโครงการ

เอกสารอ้างองิ (References)

ธนพร เวทย์ศริ ิยานันท์. (2548). ภูมิปญั ญาผ้าไหมของกลุ่มชาตพิ ันธุเ์ ขมร บ้านทา่ สว่าง อำเภอเมอื ง จงั หวดั
สรุ ินทร์. สุรินทร์: มปท.

ปัณฑิตา ตันติวงศ์. (2540). การศึกษาเพ่ืออนุรักษ์ลายผ้าขิตจังหวัดยโสธร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
เปรื่อง กุมุท. (2526). เทคนคิ การจดั นทิ รรศการ. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: สุวริ ิยสาส์น.
Gary Edson and David Dean. (1994). Museum Exhibition: Theory and Practice.

London ; New York.

VITAWAN CHUNTHONE (THAI)
Doctor Ground: Covid 19 Pokka Dot Pattern
Collage / Cotton Fabric, Paper Sticker, 119 x 44 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

COVID 19 POKKA DOT

แบบลายจดุ โควดิ 19

วิทวัน จันทร*

VITAWAN CHUNTHONE**

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธนิ อ.คลองหลวง ปทุมธานี 12120***

[email protected]

บทคัดย่อ

เช้ือไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด 19 มหันตภัยแห่งมวลมนุษยชาติที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
มากมาย บนโลกใบน้ี แบบไม่มีใครตงั้ ตัวมาก่อน ส่งผลกระทบดา้ นต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นชีวิต เศรษฐกิจ ตลอดจน
พฤติกรรมของมนุษย์ การปรับตัวเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอดในยุคโควิด 19 กลับถูกตีความว่าเป็นเร่ืองท่ีไม่เป็นปกติ
ท้ัง ๆ ที่ผ่านมาในอดีต มนุษย์สามารถดำเนินชีวิต หรือดำรงชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องพ่ึงพาส่ิงอำนวยความ
สะดวกหรือเทคโนโลยี

โรงพยาบาลกลายเป็นสถานที่ๆ เต็มไปด้วยความเส่ียง มนุษย์จะเดินทางไปพบแพทย์ในโรงพยาบาล
เฉพาะเมื่อยามจำเป็นเท่านั้น บุคลากรทางการแพทย์กลายเป็นกลุ่มคนท่ีเสียสละและมีความเสี่ยงสูงในการรับเช้ือ
พวกเขาเหล่านั้นควรได้รบั การเชิดชูในความเสียสละในหน้าท่ีการทำงานท่ีเราไม่สามารถจะลืมได้ การคดั กรอง
ผูป้ ว่ ยถูกออกแบบขนึ้ ตามมาตรการความปลอดภัยตามสถานท่ีต่าง ๆ สติกเกอร์วงกลมสีสันสดใสถูกนำมาใช้ใน
การคัดกรองผู้คนที่จะเข้าสถานท่ี ๆ เสีย่ งตอ่ การติดเชอ้ื

ชุดเครื่องแบบของบุคลากรทางการแพทย์ถูกนำมาใช้เพื่อต้องการส่งข้อมูลให้ผู้ชมงานได้รู้สึกถึงความ
น่ากลัวของมหันตภัยร้ายนี้ สติกเกอร์วงกลมสีสดใสถูกนำมาใช้ติดบนเคร่ืองแบบของหมอและพยาบาล โดยคำนึงถึง
สัดส่วน ความกลมกลืน และเอกภาพของแบบลาย เพื่อต้องการนำเสนอเพ่ือเป็นการสื่อความหมาย เน้ือหา
เกยี่ วกบั การเสียสละของบุคคลากรทางการแพทย์ทุกคนในโลกน้ี

คำสำคญั : เชือ้ ไวรสั โคโรนา่ , โควดิ 19, สัดส่วน, ความกลมกลืน

Abstract

The coronavirus or COVID 19, the catastrophe of mankind that has resulted in many
changes on the planet. It is affecting various aspects such as everyday life, economy as well
as human behavior. The adaptations for survival in the COVID-19 phenomenal have been

*ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.
**Assistant Professor Dr.
*** Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University, Pathumthani, Thailand.

VITAWAN CHUNTHONE / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 329

interpreted as unusual, in spite of in the past human are able to live daily without having to
rely on facilities or technology

The hospital becomes dangerous place and risky. Humans only visit the hospital
when necessary. The medical personnel or healthcare worker becomes selfless and at high
risk of infection. They deserve to be honored in the sacrifice of work that unforgettable. The
colorful circle stickers are used to screen people entering crowned places as well as to
symbolize that virus no found.

The medical uniforms are used to deliver information to the audience's senses of
the horrors of the disaster. The use of bright circular stickers are concerned of proportion
harmony and unity to convey the sacrifice to every medical personnel in this World.

Keywords: Virus Corona, Covid 19, Proportion, Harmony

1. ความสำคญั หรอื ความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

เชื้อไวรัสโคนา่ หรือ โควดิ 19 เป็นเช้ือไวรัสสายพันธ์ุใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ และการระบาด
ของเชื้อโควิด 19 ได้คร่าชีวิตมนุษย์อย่างมากมายไปท่ัวโลก และส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ มากมาย
บนโลกใบนี้ แบบไม่มีใครตั้งตัวมาก่อน ส่งผลกระทบด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นชีวิต เศรษ ฐกิจ ตลอดจน
พฤติกรรมของมนุษย์ บางคร้ังการปรับตัวเพ่ือให้มีชีวิตอยู่รอดในยุคโควิด 19 กลับถูกตีความว่าเป็นเร่ืองที่ไม่
เป็นปกติ ท้ัง ๆ ที่ผ่านมาในอดีต มนุษย์สามารถดำเนินชีวิต หรือดำรงชีวิตประจำวันได้โดยไม่ต้องพ่ึงพาส่ิง
อำนวยความสะดวกหรือเทคโนโลยี

การเดินทางไปมาหาสู่กันยังสถานท่ีต่าง ๆ จะเกิดข้ึนในยามจำเป็นเท่าน้ันหรือยกเลิก มนุษย์พยายาม
หลีกเลี่ยงการพบปะสังสรรค์ หรือการรวมกลุ่ม การดำเนินชีวิตประจำวันจำเป็นต้องทำด้วยความระมัดระวัง
ต้องดูแลตัวเอง กิจกรรมสันทนาการต่าง ๆ จำเป็นต้องยุติ การเดินไปยังสถานท่ีต่าง ๆ ไม่ว่าภายประเทศหรือ
ต่างประเทศกลายเป็นต้องถูกเล่ือนไปอย่างไม่มีกำหนด กิจการร้านค้า ธุรกิจใหญ่เล็กต่าง ๆ จำเป็นต้องปิด
ตวั เองลง โรงพยาบาลกลบั กลายเป็นสถานท่ี ๆ เต็มไปด้วยความเส่ียง การเดินทางไปพบแพทย์ในโรงพยาบาล
จะเกิดข้ึนเฉพาะเมื่อยามจำเป็นเท่าน้ัน บุคลากรทางการแพทย์กลายเป็นกลุ่มเส่ียงระดับต้น ๆ ท่ีต้องเสียสละ
และมีความเสี่ยงในการรับเชื้อง่ายที่สุด การคัดกรองผู้ป่วยในรูปแบบต่าง ๆ ได้ถูกออกแบบขึ้นตามมาตรการ
รักษาความปลอดภัยตามสถานที่ต่าง ๆ สติกเกอร์วงกลมสีสันสดใสถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ในการคัดกรอง
ผู้คนทจ่ี ะเขา้ ออกสถานทีต่ า่ ง ๆ

จากการทีต่ ้องเข้าออกโรงพยาบาลบอ่ ย ๆ อันเนื่องจากคนในครอบครัวปว่ ยและต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล
เป็นเวลานานในชว่ งตลอดช่วงเวลาการแพรก่ ระจายของไวรสั โควดิ 19 ได้เห็นพฤตกิ รรมของเจ้าหน้าที่คดั กรอง
คนไข้และบุคลาการทางการแพทย์ที่ทำงานในโรงพยาบาลทุกคน ทุก ๆ ครั้งเม่ือเดินผ่านจุดคัดกรองของ
โรงพยาบาลจำเป็นต้องมีการวัดไข้และเม่ืออุณหภูมิไม่ถึง 37 องศา ก็จะถูกติดสต๊ิกเกอร์วงกลมสีสดใสลงบน
เสอ้ื ผา้ ดงั นนั้ จึงนำมาซงึ่ แรงบนั ดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะ

2. แนวคิด / ทฤษฎที ีเ่ กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)

จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด 19 ที่ผ่านมา การวัดไข้คัดกรองบุคคลท่ีเดิน
ทางเข้าออกไปในสถานที่ต่าง ๆ เป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคยแต่ในปัจจุบันกลับกลายเป็นเรื่องปกติในปัจจุบัน สติกเกอร์

VITAWAN CHUNTHONE / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 330

วงกลมสีสันต่าง ๆ ถกู นำมาใช้เป็นสัญลกั ษณ์เพ่ือแสดงออกถึงการปลอดเช้ือไวรัสโคโรนา่ แพทย์เป็นผู้ท่ีใช้ชีวิต
สว่ นใหญท่ ำงานในโรงพยาบาลและถอื เป็นกลมุ่ เสี่ยงสูงสดุ ในการรับเชอื้ ดงั กลา่ วเพ่ือรักษาผู้ติดเชื้อ

เครือ่ งแบบของแพทย์และพยาบาลที่ใชส้ ีขาวนนั้ มเี หตุผลจากเรื่องของความสะอาด และการแสดงออก
เชงิ สญั ญะ (Sign) เนื่องจากในยโุ รปในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 นั้นมีการระบาดของโรค
ต่าง ๆ จนเกิดการรณรงคเ์ ร่ืองความสะอาดภายใต้ Antisepsis Campaign สีขาวจงึ เป็นตวั แทนทสี่ ือ่

ความหมายเชิงวิทยาศาสตร์นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ชุดกาวน์สีขาว (white coat) นั้นได้ถูกฝังลึกเข้าไป
ในแง่ของความรู้สกึ และส่อื ถงึ ทั้งแพทย์ พยาบาล รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์

การนำชดุ เครื่องแบบของแพทย์ หรือ เสอื้ กาวน์ และเคร่ืองแบบพยาบาล มาใชจ้ ึงเพ่ือตอ้ งการสะท้อน
ให้รู้สึกถึงความน่ากลัวของ มหันตภัยรา้ ยน้ี และต้องการนำเสนอเน้อื หาเกี่ยวกับบุคคลากรทางการแพทย์ที่ต้อง
ระมดั ระวังและดูแลตวั เองในการทำงานท่ีต้องเสีย่ งชีวติ ในโรงพยาบาลแบบหลีกเล่ยี งไม่ได้ จงึ จำเป็นต้องไดร้ บั
ความไวว้ างใจและเพื่อแสดงให้เห็นถงึ ความปลอดภัยและความมน่ั ใจในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์
รูปแบบในชุดแบบลายจุดโควิด 19 บนเสอ้ื กาวนข์ องแพทย์และชุดเครื่องแบบพยาบาลนำไปสกู่ ารสะทอ้ นให้
เหน็ ถงึ ความเสยี สละและการสรรเสริญพวกเขาเหล่านน้ั

3. การวเิ คราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
การถ่ายทอดเน้ือหา (Content) จึงมีความสำคัญและสอดคล้องกับรูปแบบ (Art Form) สามารถ

กระตุ้นเร้าให้เกิดการรับรู้ร่วมกัน การเลือกเครือ่ งมือมาใช้จะสอ่ื สารเน้ือหาจึงใช้สติกเกอรร์ ูปร่างวงกลมสีตา่ ง ๆ
ท่ีใชต้ ิดบนเสอ้ื ผา้ หลงั การวัดไข้มาตดิ ลงบนชุดเครอ่ื งแบบบคุ ลากรทางการแพทย์

เสื้อกาวน์และชดุ พยาบาลที่นำมาเปน็ ชุดของหมอลพยาบาลที่ทำงานใน โรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี และ
ท่ีเลือกใช้ชุดเครื่องแบบที่ผ่านการใช้งานมาแล้วน้ันเพื่อต้องการสื่อสารอารมณ์ความร้สู ึกถึงการผ่านการใช้งาน
มาจริงในสถานทีจ่ ริงและในเหตกุ ารณ์จริง

ขัน้ ตอนก่อนการลงมอื ติดสติ๊กเกอร์ต้องคำนงึ ถึงพ้ืนทวี่ า่ งทั้งหมดบนชุดเคร่ืองแบบ เชน่ ดา้ นบนบริเวณ
หัวไหล่ของเสื้อกาวน์ เส้ือพยาบาลและแขนเส้ือซึ่งเป็นพื้นท่ี ๆ มักใช้ติดสติกเกอร์บริเวณจุดคัดกรองของ
โรงพยาบาล และการกำหนดตำแหน่งพื้นท่ี ๆ จะติดน้ันจะคำนึงถึงการเลือกใช้สติ๊กเกอร์รูปร่างวงกลมขนาด
ต่าง ๆ เช่น เล็ก กลาง และใหญ่ ขนาด สี สัดสว่ น ความกลมกลืนและเอกภาพ

ภาพที่ 1 ผลงานชิน้ ที่ 1 เสอ้ื กาวน:์ แบบลายจดุ โควดิ 19 (Lab Coat: Covid 19 Pokka Dot)

VITAWAN CHUNTHONE / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 331

ภาพท่ี 2 ผลงานชนิ้ ที่ 2 ชดุ พยาบาล: แบบลายจดุ โควดิ 19 (Nurse Outfit)

4. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
การถ่ายทอดเน้ือหา (Content) จึงมีความสำคัญและสอดคล้องกับรูปแบบ (Art Form) สามารถ

กระตุ้นเรา้ ใหเ้ กิดการรบั รู้ร่วมกัน การเลือกเครอ่ื งมือมาใชจ้ ะส่ือสารเนื้อหาจึงใช้สตกิ เกอร์รูปรา่ งวงกลมสีต่าง ๆ
ท่ีใช้ตดิ บนเสือ้ ผา้ หลังการวดั ไขม้ าตดิ ลงบนชุดเคร่ืองแบบบคุ ลากรทางการแพทย์

เส้ือกาวน์และชุดพยาบาลทน่ี ำมาเป็นชุดของหมอลพยาบาลทท่ี ำงานใน โรงพยาบาลศนู ยร์ าชบุรี และ
ทเ่ี ลอื กใชช้ ุดเคร่ืองแบบท่ีผ่านการใช้งานมาแล้วนน้ั เพือ่ ต้องการส่ือสารอารมณ์ความรูส้ กึ ถงึ การผา่ นการใชง้ าน
มาจริงในสถานทจี่ รงิ และในเหตุการณจ์ รงิ
5. สรปุ (Conclusion)

- ชดุ ผลงานนถี้ กู สรา้ งสรรค์ขน้ึ เพื่อสรรเสริญและยกย่องบคุ คลากรทางการแพทย์ทุกทา่ นที่ทำงานใน
เหตุการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด19

- ชุดผลงานนี้ถูกสร้างสรรคข์ น้ึ เพื่อใหผ้ ู้ชมงานไดต้ ระหนกั ถึงการเสย่ี งชวี ติ และการเสยี สละของหมอ
และพยาบาลในโรงพยาบาล
เอกสารอ้างอิง (References)
กระทรวงสาธารณสขุ . (2514). พระกรณยี กจิ ของพลเอกสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาชัยนาท

นเรนทร ท่เี ก่ยี วกบั การแพทย์และสาธารณสขุ . สืบคน้ 19 มีนาคม 2564, จาก
http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:143081
มติชนออนไลน.์ (2554). “พิพธิ ภัณฑ์พยาบาล” รากฐานอนามัยสตร.ี สืบคน้ 20 `มนี าคม 2564, จาก
https://mgronline.com/ /travel/detail/9540000122561
ธรี ะ วรธนารตั น์. (2018). ทำไมหมอจงึ ใส่เสอ้ื กาวนส์ ีขาว. สบื คน้ 20 มนี าคม 2564, จาก
https://www.hfocus.org/content/2018/06/15937

VITAWAN CHUNTHONE / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 332

WINAI SUKWIN (THAI)
Yala in the Past 2
Oil on canvas, 70 x 90 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

YALA IN THE PAST
จงั หวดั ยะลาในอดีต

วนิ ัย สขุ วิน*

WINAI SUKWIN**

คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวดั ยะลา 95000***

[email protected]

บทคัดยอ่

จิตรกรรมสร้างสรรค์ชุด “จังหวัดยะลาในอดีต” เป็นการถ่ายทอดความประทับใจและประสบการณ์
ตรงของผู้สร้างสรรค์ท่ีได้อยู่อาศัยในจังหวัดยะลา ในช่วงระยะเวลากว่า 30 ปีท่ผี ่านมาจวบจนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้
พบเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้าน ในจังหวัดยะลา เช่น วิถีชีวิต สังคม การเมือง เศรษฐกิจ ค่านิยม
และศิลปวัฒนธรรม ถึงแม้การเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดการพัฒนาตามบริบทของยุคสมัย แต่สำหรับผู้สร้างสรรค์
สงิ่ ท่ีเกิดขึ้นในอดตี กลบั กลายเปน็ ความทรงจำท่ีมคี ุณค่าย่ิง

ผูส้ ร้างสรรค์จึงได้นำเร่ืองราวเหลา่ น้ี มาส่ือสารผ่านผลงานจิตรกรรมรูปแบบสัจนิยมในลักษณะเฉพาะ
ตน ด้วยเทคนิคสีน้ำมนั บนผ้าใบ จำนวน 4 ชน้ิ ขนาด 70X90 ซม. โดยใช้วธิ ีการปาดปา้ ยสี ให้เกดิ เป็นรอ่ งรอย
ทีแปรง ไม่เกล่ียเรียบ สร้างบรรยากาศของภาพเป็นโทนสีซีเปีย เพ่ือให้ความรู้สึกเก่าสื่อถึงความเป็นอดีต ซึ่งได้
นำสถานท่ีสำคัญเป็นองค์ประกอบหลักและมีภาพคนเป็นองค์ประกอบรอง ท้ังเพ่มิ เติม ตัดทอนบางส่วนเพื่อให้
เกดิ ความงดงามเปน็ เอกภาพด้วยเทคนิคที่แปลกใหม่ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของผู้สร้างสรรค์ โดยผู้สนใจสามารถนำ
เทคนคิ วธิ กี ารนี้ไปประยุกตใ์ ช้กับการสร้างสรรคใ์ นเนื้อหาอ่นื ๆ ได้ และเปน็ การกระตุ้นใหส้ ังคมเห็นคณุ ค่าของ
ประวัติศาสตร์ มีความภาคภูมิใจและสำนึกรักท้องถิ่น เกิดความรู้รักสามัคคี อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขโดยใช้
ผลงานศลิ ปะเปน็ ส่ือกลางในการเลา่ เรือ่ งด้วยภาพ

คำสำคัญ: สัจนิยม, ซีเปยี , เอกภาพ, เทคนคิ , สีน้ำมัน

Abstract

The creative painting, “Yala in the Past,” presents an impression from direct
experiences of the creator who have lived in Yala for 30 years as can be seen from many
changes happening in the province such as, way of life, societies, politics, economy , values ,
arts and culture. Even though the changes caused the developments in periods, the changes
are the valuable memories of the creator.

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Humanities and Social Sciences, Yala Rajabhat University, Yala, Thailand.


Click to View FlipBook Version