The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fineartbuu, 2021-06-11 04:10:23

IADCE 2021 Exhibition Book22

IADCE 2021 Exhibition Book22

NAMON KHANTACHAWANA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 135

ภาพท่ี 3 กณุ โฑจากเมอื งศรสี ัชนาลยั และแบบร่าง
ทม่ี า: กฤษฎาและคณะ, หน้า 74 และผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงาน

ภาพท่ี 4 ลายช้าง สัญลักษณ์ของผา้ ทอบ้านหาดเส้ยี ว
ทม่ี า: คณุ สจุ ินต์ โพธ์ิวิจิตร และผสู้ รา้ งสรรค์ผลงาน

3. นำสว่ นประกอบต่างๆมาจดั วางลงบนผนื ผ้าทีข่ งึ ไว้บนโครงเฟรม โดยคำนึงถงึ หลกั องคป์ ระกอบ
เช่น จุดเด่น จดุ รอง ขนาดเลก็ ใหญ่ ความหลากหลายของรูปทรงดอกไม้ เป็นต้น

ภาพที่ 5 การทดลองจดั วางองค์ประกอบ

4. การเยบ็ ตดิ ลงบนผืนผา้ บนโครงเฟรม โดยวธิ กี ารเยบ็ ข้ันพ้ืนฐาน

ภาพที่ 6 การเย็บตดิ ลงบนผนื ผา้

NAMON KHANTACHAWANA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 136

5. การเย็บส่วนประกอบท้งั หมดลงบนผนื ผ้า

ภาพที่ 7 ผลงานท่ีเสรจ็ สมบรู ณ์ “แจกนั ดอกไมบ้ ้านหาดเสีย้ ว”

4. การวเิ คราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
ผลงานช้ินน้ีเกิดจากการนำเศษผ้าทอเหลือใช้มาสร้างสรรค์ให้เกิดผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ เพ่ือเป็น

ต้นแบบในการผลิตซ้ำหรอื เพื่อต่อยอดสำหรับกลมุ่ ทอผ้าและตดั เย็บบ้านหาดเสย้ี ว และเป็นการสร้างมลู คา่ เพ่ิม
จากเศษวัสดุเหลอื ใช้ การสรา้ งผลงานมแี รงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ เน้นการนำรูปทรงจากธรรมชาตมิ าใชใ้ น
การสร้างสรรค์ผลงาน ผู้สรา้ งสรรค์เลือกรปู ทรงพ้ืนฐานเพ่ือง่ายตอ่ การรบั ร้แู ละเปน็ สิ่งท่ีอยใู่ กลช้ ดิ กับชุมชน

การสร้างสรรค์ผลงานเป็นการนำทัศนธาตุต่างๆ มาใช้ เช่น รูปทรง(Form) สี (Color) ขนาด (Scale)
พ้ืนที่ว่าง (Space) พ้ืนผิว (Texture) และเส้น (Line) มาจัดองค์ประกอบ โดยการคำนึงถึงความงดงามความ
นา่ สนใจ และหลักการการออกแบบอันได้แก่ เอกภาพ ดุลยภาพ สัดสว่ น ความกลมกลืน ความขัดแย้ง จงั หวะ
การทำซ้ำ การลดหล่ัน และทิศทาง

ทงั้ น้ีผู้สร้างสรรค์มีข้อจำกัดในเร่ืองของเศษผ้าขาวม้าท่ีมีสีท่ีค่อนข้างจำกัด การสร้างผลงานจงึ เป็นการ
จดั การกับวสั ดุทม่ี ีอยู่ เพ่ือให้ผลงานออกมาสมบรู ณต์ ามวัตถุประสงคข์ องผสู้ ร้างสรรค์
5. สรปุ (Conclusion)

ผสู้ ร้างสรรค์หวังเป็นอย่างย่ิงว่าผลงานช้ินนี้จะสามารถสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน สามารถนำไปผลิต
ซ้ำหรือต่อยอดให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพ่ือเพิ่มยอดทางการขายและเป็นตัวเลือกใหม่สำหรับผู้ซ้ือ และผู้
สร้างสรรค์เชื่อว่ากลุ่มทอผ้าและตัดเย็บบ้านหาดเสี้ยว จะสามารถสร้างผลงานออกมาได้ดีกว่าต้นแบบ
เนอ่ื งจากมีทักษะฝมี ือมีความชำนาญและมปี ระสบการณอ์ ยู่กบั ผา้ ขาวม้ามาอย่างยาวนาน

NAMON KHANTACHAWANA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 137

ภาพท่ี 7 จำลองการติดตั้งภายในบ้าน
ที่มา: https://www.banidea.com/luxury-house-by-studio-workshop และผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงาน

เอกสารอา้ งองิ (References)
กฤษฎา พิณศรี. และคณะ (2535). เคร่ืองถว้ ยสโุ ขทัย : พัฒนาการของเครื่องถว้ ยไทย. (พมิ พ์ครั้งท่ี 1).

กรุงเทพฯ: อมรินทร์พร้นิ ติง้ กรุพ๊ .
กมลวรรณ พชั รพรพิพัฒน์ สารสขุ . (2560). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพทางการออกแบบผลติ ภัณฑ์

แฟชน่ั ประเภทกระเป๋าจากเศษผ้า : กรณีศึกษา ผา้ ทอไทลื้อบา้ นเฮ้ยี อำเภอปัว จงั หวัดน่าน. วารสาร
วจิ ิตรศลิ ป์ 8(1) 60-105.
กำจร สนุ พงษ์ศร.ี (2555). สุนทรียศาสตร์ : หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ ศิลปะวิจารณ.์ (พิมพ์คร้ังท่ี 1).
กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
ชลดู น่ิมเสมอ. (2559). องค์ประกอบของศลิ ปะ. (พมิ พ์คร้งั ที่ 10). กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์อมรินทร์.
ศภุ กรณ์ ดษิ ฐพนั ธ์ และคณะ. (2555). ปจั จัยความสำเร็จท่ีมีต่อการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะของศิลปนิ ไทย:
กรณศี ึกษา ตลาดศลิ ปะร่วมสมัยในมลรัฐแคลิฟอรเ์ นยี นิวยอรก์ ชคิ าโก ประเทศสหรฐั อเมริกา.
งานวจิ ัยสำนกั ศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมยั กระทรวงวัฒนธรรม.
สุจนิ ต์ โพธ์ิวจิ ติ ร. (2563) สัมภาษณ์ 22 สิงหาคม 2563. ผ้าทอบ้านหาดเสี้ยว. สบื คน้ 3 เมษายน 2564, จาก
http://www.info. ru.ac.th/province/sukhotai/wtextile.htm

NAMON KHANTACHAWANA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 138

NANTIYA NA NONGKAI (THAI)
Craft & Care
croshet, 10 x 10 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

CRAFT FOR ELDERLY HEALTH PROMOTING

งานหัตถกรรมเพอื่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ

นนั ทยิ า ณ หนองคาย1, สทิ ธศิ ักด์ิ รัตนประภาวรรณ2, จารวุ รรณ ธาดาเดช3*

NANTIYA NA NOGKAI1, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN2, CHARUWAN TADADEJ3**

คณะศลิ ปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 300001***

E-mail [email protected], [email protected], [email protected]

บทคัดยอ่

จากการท่ีประเทศก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ ทุกภาคส่วนล้วนคำนึงถึงการดูแล การเข้าถึง
การบริการต่าง ๆ ที่จะเอ้ือประโยชน์ให้กับผู้สูงอายุมาเป็นลำดับแรก โดยเฉพาะเร่ืองการดูแลสุขภาพ เพราะ
การมีสุขภาพที่ดีสำหรับผู้สูงอายุนั้น คือเรื่องท่ีสำคัญท่ีสุด ไม่เพียงแต่เพื่อตัวผู้สูงอายุเอง ยังรวมถึงคนใน
ครอบครัวทุกคนด้วย หากผู้สงู อายุมีสุขภาพท่ีดี คนในครอบครัวก็จะมีความสขุ และไมเ่ ป็นห่วงกังวล สามารถที่
จะทำภารกิจหน้าที่ของตนเองได้อย่างเต็มที่ ดังนั้น การใส่ใจ ดูแล และส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุจึงเป็น
เร่ืองสำคัญ ท้ังสุขภาพกายไปจนถึงสุขภาพจิต ทั้ง 2 ส่วนน้ี จะต้องสัมพันธ์กันคือต้องมีสุขภาพกายที่ดีและ
สุขภาพจิตที่ดี ผลงานสร้างสรรค์ชุดน้ีเป็นผลงานท่ีเกิดจากแรงบันดาลใจในการคิดค้นออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ี
สามารถส่งเสรมิ ให้ผู้สงู อายมุ ีสุขภาพกายและใจที่ดีข้ึนได้ โดยการผลิตทงั้ หมดเลือกใช้วัสดุที่ไม่เป็นอันตรายต่อ
ผู้สูงอายุ คำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งานเป็นดับแรก ตลอดจนกระบวนการผลิตท่ีไม่ซับซ้อนโดยใช้งาน
หัตถกรรมพื้นฐาน ประยุกต์เข้าการออกแบบเพื่อมวลชน (Universal Design) ท่ียืดหยุ่นได้ในการนำไป
ประยกุ ต์ใช้งานกับผลติ ภณั ฑ์ต่าง ๆ ผสู้ ูงอายุสามารถผลติ ได้เอง หากมีความสนใจ สมรรถภาพยังสามารถทจ่ี ะ
ผลติ ได้ เพอื่ เป็นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพจิตคอื การสรา้ งความภาคภูมใิ จในตนเอง รู้สกึ ว่าตนเองนั้นยังมปี ระโยชน์ มี
คุณคา่ หรือแม้แต่ การผลติ ที่เกิดจากบุคคลอ่ืน ๆ ในครอบครัวได้ ประดิษฐ์และหยิบยื่นให้ ผู้สงู อายุก็จะรูส้ ึกถึง
ความเป็นที่รัก เปน็ คนสำคญั ของครอบครัว เพราะการมสี ุขภาพจิตทีด่ ี สง่ ผลใหม้ ีสขุ ภาพกายทดี่ เี ชน่ กัน

คำสำคัญ: งานหตั ถกรรม, สง่ เสรมิ สขุ ภาพ, ผสู้ ูงอายุ

Abstract

As the country has entered a full-fledged aging society All sectors put in place a top
priority in providing care and access to services that will benefit the elderly. Especially about
health care Because of good health for the elderly Is the most important thing Not only for

*อาจารย,์ อาจารย์ ดร., รองศาสตราจารย์ ดร.
**Lecturer, Lecturer Dr., Associate Professor Dr.
*** Faculty of Art and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima, Thailand.

NANTIYA NA NOGKAI, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, CHARUWAN TADADEJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 141

the elderly Also includes all family members If the elderly is in good health the family will
be happy. And not worried Able to carry out their duties to the fullest, therefore, caring for
and promoting the health of the elderly is essential. Both physical health to mental health,
these two areas must be related to each other, namely, having good physical health and
good mental health. This set of creations It is the work of inspiration in product design that
can promote the elderly to have better physical and mental health by all production select
materials that are not harmful to the elderly consider safety in use as the first priority. As
well as a simple production process using basic handicrafts applied to design for the masses
(Universal Design) that is flexible to apply to various products, the elderly can produce by
themselves. If interested Performance can also be produced to promote mental health is
building self-esteem feel that they can still be useful, valuable, or even productive by other
people in the family invent and hand it to the elderly will feel loved is an important person
in the family because of having good mental health resulting in good physical health as well.

Keywords: Craft, Health Promoting, Elderly

1. บทนำ (Introduction)
สังคมผู้สูงอายุน้ันมีประเด็นปัญหาท่ีต้องศึกษาและเร่งแก้ไข ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของร่างกายและจิตใจ

นอกจากร่างกายจะเส่อื มถอยตามสภาพของวัยแลว้ นน้ั ส่ิงท่ีเป็นตัวกำหนดสุขภาพดา้ นต่าง ๆ ของผู้สงู อายุก็คือ
สภาพจิตใจ หากผสู้ ูงอายุมีความเขา้ ใจในสภาพและสามารถหาความสขุ โดยขา้ มข้อจำกดั ในเรือ่ งของวยั ได้อย่าง
เหมาะสมก็จะทำให้ผู้สงู อายุ มีสุขภาพจิตท่ีดีส่งผลถงึ การมีสขุ ภาพกายที่ดีตามมาด้วย ตรงกันข้ามหากผู้สูงอายุ
ไม่มีความสุข มีสุขภาพจิตหดหู่ เศร้าหมอง มีส่วนทำให้สุขภาพร่างกายทรุดโทรมด้วยเช่นกัน ดงั นั้นในงานวิจัย
ช้ินน้ี ผู้วจิ ัยจึงให้ความสำคัญในประเดน็ การสรา้ งความสขุ ให้กบั ผสู้ งู อายโุ ดยเฉพาะเรื่องการเหน็ คุณคา่ ในตนเอง

ทฤษฎี พัฒนาการทางจิตสังคมของอีรกิ อีริกสัน (Erik Erikson) ได้อธิบายพัฒนาการของผู้สงู อายุวา่ เป็นวัย
แห่งข้ันการ พัฒนาความรู้สึกม่ันคงทางจิตใจ ในทางกลับกันผู้สูงอายุ ที่ไม่สามารถผ่านถึงขั้นพัฒนาการความรู้สึก
มั่นคงทาง จิตใจได้ จะรู้สึกสิ้นหวัง ท้อแท้ ขาดความสุข มองไม่เห็น ถึงคุณค่าของตนเอง เกิดความเครียด ความคับ
ข้องใจ รู้สึกผิดและไร้ค่าจนมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าได้ (สุพรรษา แสงพระจันทร์, 2016) การอยู่อย่างมีความสุขใน
วัยเกษียณ ทำได้โดย สร้างคุณค่าให้ตัวเอง (building self-esteem) ทำในส่ิงดี ๆ ให้กับตนเองและผู้อ่ืน ช่วยผู้อ่ืน
และสังคมตามที่ทำได้ มีเป้าหมายชีวิต ไม่เปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่น ทำความสำเร็จเล็ก ๆ ในแต่ละวัน และมี
ความสุขกับส่ิงเล็ก ๆ นั้นเสมอ อย่างที่สอง คือ สร้างสุขภาพกายและสุขภาพใจให้ตนเอง (Building better health
and good mental health) (นพ.เจษฎา โชคดำรงสุข, 2015) การที่ผู้สูงอายุคิดว่า การแต่งกายท่ีสะอาดสวยงาม
และเหมาะสมทำให้ ผู้ท่ีพบเห็นชื่นชมและยอมรับตนเอง ทำให้รู้สึกว่า ตนเองมีคุณค่ามากขึ้น นอกจากน้ียังพบว่า
ผู้สูงอายุ ได้ปรับตัวเพื่อรักษาสุขภาวะด้านจิตใจและสังคม ของตนเองโดยการเข้าร่วมกิจกรรมชุมชน การคิด
เชิงบวก (มาธุรี อุไรรัตน์ และมาลี สบายย่ิง, 2017) การดำเนินกิจกรรมศิลปะบำบัดกับผู้สูงอายุ การเลือกใช้สื่อ
และอุปกรณ์เป็นส่ิงสำคัญท่ีควรพิจารณาเพราะผู้สูงอายุมีข้อจำกัดทางกายภาพ (ขวัญฤทัย อ่ิมสมโภช, 2549)
นอกจากความสำคัญเรื่องจิตใจที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ยังพบว่าอีกประเด็นท่ีน่าสนใจและสามารถสร้างความ
ภาคภูมิใจให้กับผู้สูงอายุได้อีกทางน่ันคือ ความรู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า มีความสามารถ มีประโยชน์ มีพลังที่จะ
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้เช่นกัน ไม่ใช่เพียงเฉพาะวัยหนุ่มสาวเท่านั้น ที่จะมีพลังในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้

NANTIYA NA NOGKAI, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, CHARUWAN TADADEJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 142

ศิลปะเป็นตัวกลางในการสื่อสาร และสร้างสรรค์ผลงาน ที่สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นอาชีพหลังเกษียณ และยังทำ
ให้มีเกิดการแลกเปลีย่ นความรู้จากประสบการณ์ไปสู่คนรุ่นหลัง เกิดความสมั พันธร์ ะหว่างแต่ละช่วงวัย

ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น ทางผู้วิจัยจึงเล็งเห็นประเด็นปัญหาท่ีพบในสังคมผู้อายุ คือ ปัญหาเรื่องจิตใจ
การเหน็ คุณค่าในตนเองลดนอ้ ยลง ปัญหาในเรื่องของรายได้พบว่าผู้สูงอายุหลังเกษยี ณ ไมม่ ีรายได้ทำให้การใช้
ชีวิตลำบาก รู้สึกเป็นภาระ ซ่ึงนำไปสู่ปัญหาเร่ืองของการเห็นคุณค่าในตนเองน้อยลงเช่นกัน และ ปัญหาเรื่อง
ความสัมพันธ์ระหว่างวยั ดังน้ันในงานวิจัยน้ีจะเป็นงานวิจัยท่ีมุ่งเน้นให้เกิดความสัมพันธ์อันดีของทุกช่วงวัยใน
สังคม นำไปสู่การสร้างคุณค่าในตนเอง การดึงศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวผู้สูงอายุออกมา โดยการใช้เคร่ืองมือที่
อยู่บนพ้ืนฐานของงานออกแบบที่เน้นเร่ือง mental design เพ่ือใช้ได้ผลงาน สร้างอาชีพ ก่อให้เกิดรายได้กับ
ผู้สูงอายุ และผลงานนั้นก็จะนำไปสู่ผู้สูงอายุในการใช้งาน ก่อให้เกิดความสุข ทั้งผู้ผลิต ผู้รับ และคนในชุมชน
อยู่รว่ มกนั ด้วยความสัมพนั ธอ์ ันดมี ีคุณภาพชีวติ ทด่ี ี สามารถดำรงชีวิตด้วยตนเองได้อย่างมีคุณค่า และมคี วามสุข

2. เนอ้ื หา (Content)

การศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือให้ได้มาซึ่งข้อมูลท่ีเพียงพอสำหรับการนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์
นำไปสู่กาสร้างองค์ความรู้และกระบวนการที่เหมาะสมสำหรับการถ่ายทอดกระบวนการสู่ผู้สูงอายุ ตามหลัก
ทฤษฏีต่าง ๆ

1. Maslow's hierarchy of needs ที่เก่ียวข้องกับแรงจูงใจของมนุษย์ (Motivation) เป็นแนวคิด
ทเี่ ป็นลำดับข้ันความต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs ) ที่มนุษย์ทุกคนตอ้ งเติมเต็มความต้องการใน
ระดับพ้ืนฐานให้ได้ ก่อนที่จะเติมเต็มความตอ้ งการในระดบั ท่ีมากกว่าในข้ันต่อไป คนเรามีความปรารถนาหรือ
ความต้องการท่ีจะเติมเต็มความสมบูรณ์แบบในชีวิต คือการได้รับความเคารพนับถือจากผู้คนรอบข้าง เพื่อให้
รู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า ไม่รู้สึกอ่อนแอหรือต่ำต้อย (ปรีดี นุกุลสมปรารถนา, 2563) การตระหนักถึงความสำคัญ
ในการสร้าง Self Esteem จึงเป็นส่ิงที่ไม่ควรละเลย โดยผู้ที่มี Self Esteem สูงนั้นจะมีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง
ในทางกลับกัน การมี Self Esteem ต่ำจะส่งผลให้รู้สึกแย่และมีมุมมองความคิดต่อตัวเองในแง่ลบ ซ่ึงเป็นเหตุ
ให้ขาดความกระตือรือร้นในการทำส่ิงต่าง ๆ และรู้สึกว่าตนเองไม่มีความสามารถในการเผชิญหน้ากับปัญหา
หรือความท้าทายในชีวิต การสร้างความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง สามารถทำได้ด้วยการดึงศักยภาพ ความรู้
ความสามารถทผ่ี สู้ ูงอายมุ อี ยู่ในตัวเองออกมาให้ได้มกี ารถ่ายทอด แลกเปลีย่ น เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการหรือ
กิจกรรมต่าง ๆ ผู้สูงอายุจะรู้สึกมีความสุขและมีคุณค่า (นนทรี วงษ์วิจารณ์ และ สุปาณี สนธิรัตน์, 2556)

ความต้องการได้รับความนับถือยกย่อง (Self-Esteem needs) กล่าวคือมนุษย์ต้องการที่จะได้รับ
ความนบั ถอื ยกย่องออกเปน็

1.1 ความต้องการนับถือตนเอง (Self–respect) คือ ความต้องการมีอำนาจ มีความเชื่อมั่น ในตนเอง
มีความแข็งแรง มีความสามารถในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น และมีความเป็นอิสระทุกคน
ต้องการที่จะร้สู ึกวา่ เขามคี ณุ คา่ และมีความสามารถท่จี ะประสบความสำเรจ็ ในภารกจิ ต่าง ๆ

1.2 ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือจากผู้อ่ืน (esteem from others) คือ ความต้องการมี
เกียรติยศ การได้รับยกย่อง ได้รับการยอมรับ ได้รับความสนใจ มรสถานภาพ มีช่ือเสียงเป็นท่ีกล่าวขาน และ
เปน็ ท่ีช่ืนชมยินดี มีความตอ้ งการท่ีจะได้รับความยกย่องชมเชยในส่ิงท่ีเขากระทำซึง่ ทำให้รู้สึกว่าตนเองมีคณุ ค่า
ว่าความสามารถของเขาได้รับการยอมรับจากผู้อื่น

NANTIYA NA NOGKAI, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, CHARUWAN TADADEJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 143

2. คูเปอร์ สมิท (Coopersmith,1984,pp.9-11) การเสนอแนวทางการเสริมสร้างและรักษาระดบั สูง
ของความภาคภมู ใิ จในตนเอง

2.1 ให้การยอมรับความรู้สึกของบุคคลตามความเป็นจริง ช่วยให้บุคคลได้ถ่ายทอด ความรู้สึกของ
ตนเองออกมาโดยเฉพาะการยอมรบั ความรสู้ กึ ในด้านลบ เช่น ความรู้สึกกลัว ขัดแย้ง เปน็ ตน้

2.2 ยอมรบั ในความแตกตา่ งของบคุ คลในการเผชิญปญั หาและวิธกี ารแกป้ ญั หา เปดิ โอกาสให้คน ๆ
น้นั ได้แก้ปัญหาของตนอยา่ งเตม็ ท่ี

2.3 หลีกเล่ยี งการเปล่ียนแปลงที่รุนแรงและกะทนั หนั อันเป็นการสรา้ งความไมม่ ่นั ใจใหก้ ับบคุ คล
2.4 ใหเ้ หน็ แบบอยา่ งท่ีมีประสทิ ธภิ าพในการเผชญิ ปญั หา ใหบ้ ุคคลได้ถอื เปน็ ตวั อยา่ งเพอ่ื สนับสนนุ ให้
เขาได้ใช้ศกั ยภาพท่ีมีอย่เู ผชิญกับปญั หาดว้ ยความมัน่ ใจและส่งเสริมใหเ้ กิดกำลังใจท่จี ะสูต้ ่อไป
2.5 ชว่ ยให้บุคคลพัฒนาวิธกี ารแกป้ ัญหาในทางสร้างสรรค์ ดว้ ยการระบายอารมณท์ ี่ ขนุ่ มัว ซึ่งเปน็
โอกาสทเ่ี ขาได้ค่อย ๆ เข้าใจความยงุ่ ยาดของตนเอง ชว่ ยลดระดับความเครียดลงได้
2.6 ให้ความสำคญั กับการนับถอื ตนเอง เพื่อเพมิ่ ความเขม้ แขง็ ในการทีจ่ ะแกป้ ญั หา
2.7 สนับสนุนใหผ้ ูใ้ กลช้ ดิ มีความร้คู วามเข้าใจในตัวบคุ คลน้ัน และใหค้ วามร่วมมอื ในการเสริมสรา้ ง
ความเข้มแข็งในการแกป้ ญั หา
3. ลกั ษณะของบุคคลทีม่ คี วามรู้สึกเห็นคุณคา่ ในตนเองสูง มดี ังต่อไปนี้ (นุจริ า สารถ้อย, 2547)
3.1 มใี บหน้าทา่ ทางวิธกี ารพูดและการเคลือ่ นไหวแฝงไว้ดว้ ยความแจ่มใสร่าเริงมี ชวี ติ ชีวา
3.2 สามารถพดู ถึงความสำเร็จหรือขอ้ บกพรอ่ งของตนเองไดอ้ ย่างตรงไปตรงมาและดว้ ยน้ำใสใจจริง
3.3 สามารถเปน็ ท้งั ผู้ให้และผู้รบั การสรรเสริญการแสดงออกด้วยความรักความซาบซ้ึง
3.4 สามารถเปิดใจรบั คำตำหนแิ ละไม่ทุกข์รอ้ นเมือ่ มีผู้กล่าวถงึ ความผิดพลาดของตน
3.5 คำพดู และการเคลื่อนไหวมลี ักษณะธรรมชาติไม่กังวล
3.6 มคี วามกลมกลืนกนั อยา่ งดีระหว่างคำพดู การกระทำ การแสดงออกและการเคลอื่ นไหว
3.7 สามารถทีจ่ ะเห็นและสนุกสนานกบั แง่ตลกของชีวติ ทัง้ ของตนเองและผู้อนื่
3.8 มเี จตคติทเี่ ปิดเผยอยากรู้อยากเหน็ เกยี่ วกบั ชวี ิตประสบการณ์ใหม่และโอกาสใหม่ ๆ ของชีวิต
3.9 มเี จตคตทิ ี่ยดื หย่นุ ในการตอบสนองกบั เหตุการณ์และสิ่งท้าทายมวี ิญญาณของความเป็นคนช่างคดิ
และไมเ่ อาจรงิ เอาจงั กบั ชีวิตมากจนเกนิ ไป
3.10 มพี ฤติกรรมการแสดงออกในทางทีเ่ หมาะสมสามารถเปน็ ตวั ของตวั เองแม้วา่ ตกอยู่ภายใต้
สถานการณ์ทมี่ ีความเครยี ด
นอกจากนี้ การจัดกิจกรรมพัฒนาความสุข สามารถนำหลักการสร้างสุข 5 มิติ มาร่วมให้กับผู้สูงอายุ
เพ่ือให้เกิดความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ตามเทคโนโลยีการจัดกิจกรรมสร้างสุข 5 มิติ
ประกอบไปด้วย สุขสบาย (Happy Health), สุขสนุก (Recreation), สุขสง่า (Integrity) และ สุขสงบ
(Peacefulness) (สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามยั , 2563)
4. กิจกรรมยามว่างพิจารณาออกเป็นหลักใหญ่ ๆ 3 ประการคือ นันทนาการ การเรียนรู้ และการ
บริการผู้อื่น (Institute of Personnel Development for Physical Education and Sports, 2014) ซึ่งท่ี
เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์กับผู้สูงอายุคือ กิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อผู้อยู่ในวัยสูงอายุการเรียนรู้ยังมีอยู่อย่าง
ต่อเนื่องเพ่ือสนองความอยากรู้ อยากเห็น ความพึงพอใจหรือเพ่ือการดำเนินกิจกรรมบางอย่างให้ได้รับ
ความสำเร็จ ในแง่ของสขุ ภาพจิตการเรียนรจู้ ะเป็นการกระต้นุ จติ ใจและเป็นการแลกเปลี่ยนความสนใจกบั ผอู้ ่ืน

NANTIYA NA NOGKAI, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, CHARUWAN TADADEJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 144

เช่นการเรียนในระบบการศึกษาผู้ใหญ่หรือการศึกษานอกระบบ การเรียนในมหาวิทยาลัยเปิด และการอบรม
ระยะสน้ั ตา่ ง ๆ

ทฤษฏกี จิ กรรมของผู้สูงอายุ Moody (2010) อธิบายวา่ ทฤษฏกี จิ กรรมเปน็ ทฤษฏีทางสังคม โดยแนว
ทฤษฏตี งั้ อยบู่ นพืน้ ฐาน 3 ประการ คือ

4.1 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของผู้สูงอายุสืบเน่ืองมาจากผู้สูงอายุมีความสามารถใน การควบคุม
พฤติกรรมของตนและสามารถสร้างสถานการณ์ใหม่ขึ้นมาเป็นเคร่ืองทดแทนสิ่งท่ีเสียไป เช่น การสูญเสียบุคคลท่ีรัก
การมชี วี ิตอยา่ งโดดเดยี่ วผ้สู งู อายุจะพยายามหากจิ กรรมอื่น ๆ มากระทำเพื่อชดเชยสิ่งท่ีขาดหายไป

4.2 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตา่ ง ๆ ของผู้สงู อายุสบื เนื่องมาจากความต้องการทางด้านจิตใจและด้าน
การยอมรับทางสังคมที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ ดังนั้นเม่ือผู้สูงอายุขาดด้านใดด้านหน่ึงก็สามารถหาส่ิงทดแทนได้

4.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของผู้สูงอายุเนื่องจากผู้สูงอายุเช่ือว่ากิจกรรมต่าง ๆ สามารถ
นำมาชดเชยภาระหน้าท่ีการงานท่ีหมดความรับผิดชอบลงไป เหตุนี้การที่ผู้สูงอายุได้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ หรือ
การพบปะกับบุคคลอ่ืน ๆ จะทำให้สถานะทางสังคมประสบความสำเร็จและ ได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น
ทำให้ผูส้ งู อายรุ ้วู า่ ตนนน้ั ยังมีคุณค่าตอ่ สงั คมนัน้ ๆ

วิเชศ คำบุญรัตน์ และโศภนา พิชิตพรชัย (2556, หน้า 121) ได้กล่าวถึงระบบการเรียนรู้และพัฒนา
(Learning & Development system) เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนาอาชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ซึ่งมีความ
แตกต่างจากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในประเทศ โดยการพัฒนาผู้สูงอายุในประชาคมอาเซียนนั้น ควรให้
ความสำคญั ในด้านต่าง ๆ ได้แก่

- หลักสูตรและกจิ กรรม การพฒั นาทเ่ี น้นการเรียนรู้และความเข้าใจของความแตกต่างทางวฒั นธรรม
- การเรียนรู้เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มด้านพฤติกรรมการทำงานและการเข้าสังคมที่มีความแตกต่างไปจากเดิม
- การใหค้ วามรู้กับผ้สู ูงอายใุ นกลมุ่ เปา้ หมายอย่างอาเซยี น ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง เขา้ ใจถงึ
ประเดน็ ที่เป็นความอ่อนไหวต่าง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึ้น
- เตรยี มความพร้อมด้านภาษาและการปรบั ตวั
ดังผลงานวิจัยของ Lee Doric-Henry และ McCaffrey R และคณะ พบว่าการใช้ศิลปะบำบัดช่วย
เพ่ิมการเห็นคุณค่าในตนเอง ลดความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้ ดังนั้นการใช้ศิลปะบำบัดเพ่ือ
เป็นส่ือในการลดระดับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่ใช้ชีวิตอยู่ในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมท่ีมีภาวะ
ซมึ เศร้าระดับเลก็ นอ้ ยถงึ ปานกลาง
ผลดีจากการใช้ศิลปะบำบัดมีหลายประการ เน่ืองจากศิลปะเป็นงานท่ีเกี่ยวกับสุนทรียภาพ ทำให้
อารมณ์ของผู้รับการบำบัดเจ้าของงานดีข้ึน และก่อให้เกิดความตระหนักรู้ในตนเองและความภาคภูมิใจใน
ตนเอง ประการที่สองผลจากการศึกษาพบว่าขณะทำกิจกรรมระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย
เช่น การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และอัตราการหายใจลดลง ท้ังน้ีเนื่องจากการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ใน
กิจกรรมจะทำให้เกิดความผ่อนคลายและเป็นสุข นอกจากน้ี การสร้างงานศิลปะยังให้ประโยชน์แก่ผู้ท่ีต้อง
บริหารการทำงานด้วยตาและมือ เพราะทำให้การทำงานประสานกันระหว่างตากับมือดีข้ึนเน่ืองจากได้รับการ
กระตุ้นเสน้ ประสาทจากสมองสูม่ ือ

NANTIYA NA NOGKAI, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, CHARUWAN TADADEJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 145

3. ผลการศึกษา/ทดลอง (Results)
ผลการทดลองจากงานสร้างสรรค์ชุดน้ี พบว่า ในส่วนของกระบวนการผลิต ผู้ที่ผลิต (Producer)

สามารถผลติ ได้ทั้งผู้หญิงและผูช้ าย ในทุกชว่ งวัย ตามความตอ้ งการสมัครใจ และมสี มรรถภาพทางกายที่พร้อม
เช่น สายตา และน้ิวมือ เพราะการถักนั้นต้องอาศัยความสัมพันธ์กันของสายตาและมือ ข้อดีท่ีเกิดกับผู้ผลิตคือ
ทำให้เกิดสมาธิ เปน็ การบริหารกลา้ มเนอ้ื มือ ฝึกประสาทสัมผัส เกิดการกระตนุ้ ให้คิด และแกป้ ัญหาในระหวา่ ง
การผลิต เม่ือผลิตเสร็จแล้วก็ทำให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองอีกด้วย ในส่วนของผู้ใช้งาน (User)
ผู้ใช้งาน สามารถใช้งานได้โดยง่ายดาย เพียงแค่บีบ กำ ปล่อย โยน นวด คลึง โดยวัสดุหลักของลูกบอลข้างใน
คือยางพารา ที่มีความยืดหยุ่นเหมาะสมสำหรับใช้ออกกำลังการ หรือบริหารกล้ามเนื้อมือของผู้สูงอายุ
ลวดลายการถักแบบต่าง ๆ เป็นสร้างพ้ืนผิวสัมผัสท่ีหลากหลาย กระตุ้นการรับรู้ทางด้านประสาทสัมผัสให้
ตื่นตวั รับรู้ ถงึ การหยบิ จับ สัมผสั วัตถุทีพ่ นื้ ผิวตา่ ง ๆ รวมถึงสีสันที่ละมุน เหมาะสมสำหรบั ผู้สงู อายุ

ภาพที่ 1 ภาพผลงาน วัสดุ และ อปุ กรณ์

NANTIYA NA NOGKAI, SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, CHARUWAN TADADEJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 146

4. วิจารณ์และสรปุ ผล (Discussion and Conclusions)
งานหัตถกรรม และการออกแบบนั้นหากนำมาใช้รวมกัน โดยมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน สามารถ

รว่ มกันสรา้ งสรรคผ์ ลงานที่เปน็ ประโยชนไ์ ดห้ ลากหลายด้าน ไมใ่ ช่เพียงเพอื่ ความสวยงามอยา่ งเดียว โดยเฉพาะ
การให้ความสำคัญในเรื่องของการส่งเสริม สุขภาพท้ังกายและใจ ซ่ึงเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดสำหรับผู้ สูงอายุ
การออกแบบที่ดีต้องคำถึงการบวนการผลิตที่เหมาะสม วัสดุที่ปลอดภัยเหมาะกับผู้ใช้งาน จึงจะทำให้
ผลงานน้ันเกิดประโยชน์สูงสุด และมีคุณค่ารอบด้าน

เอกสารอ้างอิง (Reference)

เจษณี จนั ทวงศ์. (2561). การพฒั นาอาชีพผสู้ งู อายุของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดบั ชาติ อาเซยี น
บนเสน้ ทางของประชาชน (ASEAN on the Path of Community). (55-62). กรงุ เทพ:
มหาวิทยาลยั รามคำแหง.

ดวงกมล ทองอยู่. (2557). แนวทางการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรนุ่ ตามทฤษฏกี ารรับรู้
ความสามารถตน. วารสารวไลยอลงกรณป์ ริทัศน์. 4(2). (179-190).

นฤมล อินทหมืน่ . (2556). ผลของศิลปะบำบัดตอ่ การลดภาวะซมึ เศรา้ ในผู้สูงอายุทม่ี ีภาวะซมึ เศรา้ ระดับ
เลก็ นอ้ ยถึงปานกลาง. Chulalongkorn Medical Journal. 6(57). (751-763).

เมตตา เชยสมบัติ. (2560). กิจกรรมนนั ทนาการประเภทศิลปหัตถกรรมเพอ่ื เสริมสรา้ งการเห็นคุณคา่ ในตนเอง
ของผูส้ งอายุในชมุ ชนทัดชาวิลล่า กรุงเทพมหานคร. Dusit Thani College Journal. 3(11). (252-266).

ศิรยิ ุพา นันสนุ านนท์. (มปป). ศิลปะบำบัดในประเทศไทย. กลุ่มวิชาการพยาบาลอนามัยชมุ ชนและจติ เวช.
มหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลมิ พระเกียรติ.

สำนักอนามยั ผูส้ งู อายุ. (2563). คมู่ อื ดำเนินงาน ตวั ช้วี ัด: รอ้ ยละของประชากรสงู อายุท่มี ีพฤติกรรมสุขภาพท่ี
พึงประสงค.์ (12-13). กระทรวงสาธารณสุข.

NATHAKORN OURAIRAT (THAI)
Reflection of Colorful Ancient China
Collage Art, PhotoGraphic Scanning On Paper, 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

REFLECTION OF COLORFUL ANCIENT CHINA
สะทอ้ นสสี นั แห่งอารยธรรมจีนโบราณ

ณธกร อุไรรตั น*์

NATHAKORN OURAIRAT**

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบณั ฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชนื่ แขวงท่งุ สองหอ้ งเขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210***

[email protected]

บทคัดยอ่

ในงานสร้างสรรค์ท่ีเป็นงานออกแบบต่าง ๆ รวมถึงงานออกแบบกราฟิก ได้นำองค์ประกอบต่าง ๆ ในด้าน
ศลิ ปะ นำมาคิดสร้างสรรค์ผสมผสานกันเพื่อให้เกิดความเหมาะสมลงตัวสวยงาม และเกิดประโยชน์ ใช้สอยให้
ได้ตรงตามต้องการของผู่ใช้งาน งานออกแบบท่ีชื่อว่า “Reflection of Colorful Ancient China” น้ีน้ันเป็น
งานออกแบบกราฟิกภาพประกอบท่ีจะนำไปใช้กับองค์กร เช่นสถาบันขงจื่อเส้นทางสายไหม ทางทะเลเพื่อทำ
หนงั สือภาพประกอบสำหรับใช้เปน็ ส่ือการเรียนการสอนต่อไป ภาพประกอบชิน้ น้ี ได้นำ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ท่ี
ใช้สำหรับงานออกแบบภาพประกอบ ไม่ว่าจะเป็น เส้น สี รูปทรง Texture มาจัดเป็นผลงานสร้างสรรค์ขึ้น
โดยใช้เทคนิค Collage Art และ PhotoGraphic Scanning โดยได้ทำข้ึน ท้ังในโปรแกรม PhotoShop บน
คอมพิวเตอร์และ Application ProCreate บน IPad การนำเอารูปทรง และวัสดุตามธรรมชาติมาใช้สแกน
และใช้ภาพถ่ายมาไดคัทตัดต่อในรูปแบบ Collage Art ซ่ึงเป็นเทคนิค เก่าแก่นับร้อยปี นำมาใช้ร่วมกับ
เทคนิค Photographic Scanning ซ่ึงใหมก่ ว่าทำให้ได้ขั้นตอนการทำงาน และผลลัพธ์งานสรา้ งสรรค์แตกต่าง
จากงานเดมิ ทเ่ี คยสรา้ ง และนำเสนอมา การผสมผสานทงั้ องค์ประกอบ ต่าง ๆ เหลา่ นี้รวมถึงเทคนิคที่มาใช้เพื่อ
นำเสนอให้เกิดเป็นรูปภาพท่ีมีความน่าสนใจ สวยงามลงตัว และสามารถ ต่อยอดไปสู่การออกแบบกราฟิก
ภาพประกอบในอนาคตได้ดีขึ้น ยิ่งไปกว่าน้ันงานช้ินนี้ยังช่วยส่งเสริมความ สวยงามมีคุณค่ามากย่ิงข้ึนโดยใช้
เส้นสี และ พื้นผิว ที่เป็นพ้ืนฐานของงานทางศิลปะมานำเสนอโดยสะท้อน ให้เห็นถึงแนวความคิดด้านความ
สวยงามของวัฒนธรรมตะวันออกในรูปแบบของประเทศจีนซึ่งมีประวัติศาสตร์ ทางด้านภาษาและวัฒนธรรม
ยาวนานเป็นอันดับต้น ๆ ของโลกก่อร่างสร้างงานสร้างสรรค์ท่ีสัมพันธ์กัน อย่างสวยงามลงตัวดูใหม่ และน่า
ศึกษาค้นควา้ เพือ่ นำทางสกู่ ารสรา้ งผลงานแปลก ๆ ใหม่ ๆ ตอ่ ไปไม่มีทสี่ ้นิ สดุ

คำสำคญั : งานประยุกตศ์ ลิ ป์, กราฟกิ ดีไซน์, ภาพประกอบ, ศลิ ปะภาพตดั ปะ, การสแกนภาพถ่าย

*ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์
**Assistant Professor
***Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

NATHAKORN OURAIRAT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 149

Abstract

In various creative works of design Including graphic design, there work has brought
various elements in art bring together creativity In order to be appropriate, perfect, beautiful
and useful to meet the needs of the user. This artwork of design " Reflection of Colorful
Ancient China " is a graphic design illustration that will be applied to organizations such as
Maritime Silk Road Confucius Institute for use to prepare illustrated books for further
teaching and learning task. This illustration brings together various elements used in
illustration design. The lines, colors, shapes and textures were created using Collage Art and
PhotoGraphic Scanning techniques, which were created in both the PhotoShop program and
on IPad ProCreate Application. Using natural shapes and materials to scan and use a photo
dicut and edited in the form of Collage Art, which is a hundred years old technique It is used
in conjunction with the newer Photographic Scanning technique to achieve a workflow. The
creative output is different from the original work that has been created and presented.
Combining both those elements and techniques used to present into a picture that is
interesting, beautiful, perfect and can be further developed into illustration design better in
the future. Moreover, this art piece also promotes beautyly, more valuable by using lines,
colors and textures that form the basis of art. Reflecting the concept of beauty of Eastern
culture in the form of China, which has a long history of language and culture in the world.
They are closely related to each other, looking new and interesting to guide creating the
new works continue without end.

Keywords: Deccorative Art, Graphic Design, Illustration, Collage Art, PhotoGraphic Scanning

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

การวาดภาพประกอบด้วยองค์ประกอบและเทคนิคท่ีหลากหลายนั้นได้แสดงออกด้านอารมณ์
ความรู้สกึ โดยการสอื่ ความหมาย ดว้ ยการสร้างสรรค์เน้ือหา รูปแบบ และวิธตี ่าง ๆ เพ่ือใหผ้ ลทเ่ี กิดขนึ้ มีความ
แปลกใหม่ น่าสนใจ การทำงานสร้างสรรค์นั้นปัญหาหลัก ๆ ก็คือ เราจะสร้างความแปลกใหม่ เพื่อเพิ่มความ
น่าสนใจเขา้ ไปในงานสร้างสรรค์ได้อย่างไร ในปัจจุบันความคิดสร้างสรรค์สามารถทำได้ หลากหลายเทคนิคจน
มคี วามนา่ สนใจมากขึ้นได้เพราะเทคโนโลยีในปัจจุบันสามารถพลิกแพลงมาชว่ ย งานออกแบบได้ในหลาย ๆ ด้าน

จดุ เรมิ่ ตน้ ของการสรา้ งสรรค์สิ่งตา่ ง ๆ บนโลกใบนี้กเ็ กิดจากสมองท่ีผลติ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ซึง่ เปน็
คณุ สมบัติพิเศษของมนุษย์ มนุษย์ได้มีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยมี าสรา้ งงานสร้างสรรค์ ในรปู แบบต่าง ๆ
ได้อยา่ งหลากหลาย เพื่อนำไปส่คู วามเจริญกา้ วหนา้ ของโลกเรา แต่อยา่ งไรก็ตาม ถึงแมเ้ ทคโนโลยใี นปจั จุบันจะ
มาชว่ ยได้อยา่ งมากมาย แต่ส่ิงทขี่ าดไม่ได้คือความคิดสร้างสรรค์หลักของมนุษย์ ที่เองยังคงเปน็ ตัวเอกในการ
สร้างสรรคผ์ ลงานทางการออกแบบ และศิลปะต่อไป

2. แนวคิด / ทฤษฎีทีเ่ ก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)

องค์ประกอบที่สำคัญในการออกแบบ ส่ิงท่ีจะทำงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะได้ดีน้ันจำเป็นต้อง
คำนึงถึงเหล่าองค์ประกอบในการออกแบบต่าง ๆ ด้วย โดยมีองค์ประกอบดังนี้ เส้น (Line) รูปร่าง (Shape )

NATHAKORN OURAIRAT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 150

รูปทรง (Form) ขนาด (Size) ทิศทาง (Direction) พื้นที่ว่าง (Space) ลักษณะพื้นผิว (Texture) สี (Color)
จริง ๆ แล้ว การทำงานสร้างสรรค์ไม่ว่าจะเป็นงานออกแบบหรืองานศิลปะประเภทต่าง ๆ จำเป็นต้องใช้
องค์ประกอบเหล่านี้เกือบทุกประเภทท่ีกล่าวมา มาใช้ผสมผสานกันเพ่ือให้เกิดความน่าสนใจที่สุด แต่สำหรับงาน
ของข้าพเจ้าจะกล่าวถึงเฉพาะเร่ืองของเส้น สี และ ลักษณะพ้ืนผิวเป็นหลักท่ีนำมาเป็น องค์ประกอบหลักของ
ผลงานชดุ น้ี

เส้น (Line) เส้นคือองค์ประกอบพ้ืนฐานอย่างหนึ่งท่ีเกิดมาจากการเรียงตัวกันของจุด จนสามารถ
แสดง ออกมาเป็นเส้นแนวตั้งแนวนอนก็ตาม แต่การวาดใช้เส้นนั้นเป็นองค์ประกอบท่ีจะรวมกันจนเกิดเป็น
รูปรา่ ง เส้นกย็ ังสามารถแสดงความเร็ว ความเคล่ือนไหวได้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลายอย่าง เช่นการใช้
เสน้ นำ สายตาของผชู้ ม โดยในภาพนใี้ ชเ้ สน้ Perspective เปน็ จดุ นำสายตาไปสู่ประตูโบราณท่ีเปน็ จุดเด่นของภาพ

สี (Color) สีแดงที่นำมาใช้น้ีเพราะสีแดงเป็นสียอดนิยมในวัฒนธรรมจีนซ่ึงเป็นสัญลักษณ์ของความ
โชคดี มคี วามสุข และมคี วามสุขใจสขุ กาย นอกจากนีย้ ังแสดงถึงการเฉลิมฉลอง ความมีชีวิตชวี า ความรัก และ
แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ในสัญลักษณส์ ดี ้งั เดมิ ตามความเชื่อของคนจนี

ลักษณะพ้ืนผิว (Texture) การออกแบบต้องให้มีการผสมผสานของรูปทรง และลักษณะพ้ืนผิวให้มี
ความสัมพนั ธก์ นั ดว้ ยสดั ส่วนทพี่ อดี หรอื อาจจะพิจารณาความสมั พนั ธข์ องรปู รา่ ง และประโยชน์ใชส้ อยก็ได้

ในผลงานชิ้นนใี้ ช้แสดงผิวสัมผสั ท่ีรบั รู้ได้ด้วยตา เปน็ งาน 2 มติ ิ ท่ีรู้สึกไดจ้ ากการมองเห็นด้วยตา แสดง
ให้เห็น ความแตกต่างของผิวสัมผัส ก่อให้เกิดความรู้สึกเก่าจากส่ิงปลูกสร้างโบราณของคนจีน รวมถึงแสดง
พน้ื ผวิ ของกระดาษทข่ี รขุ ระ ซงึ่ กระดาษเองก็เปน็ ส่งิ ประดษิ ฐ์หน่ึงของคนจีนที่มีมาแต่สมัยโบราณอกี ด้วย

3. กระบวนการในการสร้างสรรค์ (Creative Process)
ในรูปภาพที่ท่านเห็นน้ีจะประกอบด้วยรูปภาพที่เป็นรูปถ่ายจำนวน 8 ภาพด้วยกัน ซ่ึงนำมาจากรูปถ่าย

ท่ไี ด้ถ่ายตอนไปท่องเทยี่ วที่ประเทศจีนและรูปภาพอีกส่วนหน่ึงก็มาจากการสแกนภาพโดยใช้เครอื่ งสแกนเนอร์
มาถ่าย ซง่ึ ก็จะมีความแตกตา่ งจากการถา่ ยรปู ดว้ ยกล้องถ่ายรปู ปกติ หรือถ่ายจากโทรศัพท์มือถือเป็นอย่างมาก
โดยการผสมผสานของรูปภาพทั้งสองลักษณะนั้นจะต้องมีตกแต่งจัดวางให้สวยงามและสามารถไปด้วยกันได้
โดยองคป์ ระกอบภาพหลักกค็ อื การใชก้ ฎ Rule Of Third มาชว่ ยทำใหจ้ ุดสนใจของภาพท่ีโดดเดน่ และสวยงาม

การใช้เทคนิคการสแกนรูปโดยใช้เคร่ืองถ่ายเอกสาร (PhotoGraphic Scanning) เทคนิคนี้ได้ถูก
นำมาใช้กับงานช้ินน้ีเพื่อทำให้มีความน่าสนใจในเรื่องของการสร้าง Texture รูปภาพทำให้ภาพ ดูมีมิติ และ
เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับคอนเซ็ปต์ของงานศิลปะการใช้สแกนเนอร์ โดยไม่ต้องใช้กล้องถ่ายรูป หรือ
โทรศัพท์มือถือถ่ายนี้เป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ และสนุกสนานแต่ก็ต้องใช้ความอดทน และมีพิถีพิถันเล็ก ๆ น้อย ใน
ขนั้ ตอนต่าง ๆ แต่เม่อื สิ่งเหล่านี้เข้าทแี่ ลว้ กจ็ ะพบงานสรา้ งสรรคท์ ีแ่ ตกต่างออกไป

การใช้เทคนิคตดั ปะแบบคอลลาจ (Collage Art) เป็นศิลปะของการตัดแปะโดยการใช้เทคนคิ การตัด
แปะ ซึง่ ปกตทิ ัว่ ไปจะใช้บางสว่ นของหนังสอื พิมพ์ นิตยสาร หรอื เศษผ้า กระดาษ รูปภาพ สารพัดสิ่งที่หาได้ ติด
ท้ังหมดลงไปบนกระดาษหรือผ้าใบ และยังอาจ ผสมได้กับเทคนิคอ่ืน ๆ ของการเขียนภาพเช่น sketch หรือ
paintingได้ ตลอดช่วงศตวรรษท่ี ผ่านมาศิลปิน และนักออกแบบ ได้เริ่มการฝึกฝนศิลปะแบบคอลลาจ หรือ

NATHAKORN OURAIRAT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 151

บางคนเรียกว่าแบบการจับแพะชนแกะ ให้เป็นแนวทางที่สร้างสรรค์งานศิลปะท่ีมีความสวยงาม ที่ไม่เหมือน
ใคร และมีเอกลักษณ์เฉพาะท่ีน่าสนใจ และยังมีประโยชน์หลากหลาย แต่ในผลงานช้ินน้ีจะใช้การตัดปะโดยใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ช่นโปรแกรม PhotoShop เป็นหลัก

ภาพท่ี 1 รปู ภาพขน้ั ตอนการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน

กระบวนการในการสรา้ งสรรค์งานสามารถนำมาเรยี บเรียงไดด้ งั นี้

1. คดั รูปทน่ี ำมาใชใ้ นงานออกแบบ 6. คดั เลือกรูปจากการสแกน

2. ร่างแบบครา่ ว ๆ ใน ไอแพด 7. นำภาพสแกนมารีทชั

3. นำวสั ดธุ รรมชาติมาเป็นต้นแบบ 8. จดั องคป์ ระกอบแบ่งเลเยอร์ใน Photoshop

4. สแกนจัดองค์ประกอบและแสง 9. คดั เลือก Texture brush

5. จดั แสงไฟในตำแหนง่ ท่ีตอ้ งการ 10. ตกแตง่ ภาพด้วยเมาสป์ ากกาก่อนเสรจ็ งาน

เรม่ิ ต้นด้วยขั้นตอนแรกในการเลือกรูปภาพ โดยได้เลือกผลงานจากรูปถา่ ยท่ีได้ไปถ่ายมาตอนไปเท่ียว ท่ี
ประเทศจีนทั้งท่ีกรุงปักก่ิง คุณหมิง และกวางโจว โดยจะเลือกรูปที่สะท้อนให้เห็นกลิ่นอายของความเป็นจีน
และวัฒนธรรมตะวันออก ขั้นตอนต่อไปเมื่อได้ภาพที่เราต้องการแล้ว ก็นำภาพเหล่านี้มาจัดเรียงองค์ประกอบ
โดยใช้โปรแกรม Procreate ใน IPad ในการสเก็ตซ์ และใส่บางพืน้ ผิวเพื่อให้ได้ภาพโครงรา่ งแบบครา่ ว ๆ ก่อน
โดยจะใช้รูปแบบการจัดองค์ประกอบในลักษณะ Rule Of Third สร้างจุดเด่นเพื่อเป็นจุดสนใจในภาพ ซึ่งจะมี
ผลต่อการดึงดูดความสนใจของผู้ชม ซึ่งผู้ชมภาพก็จะได้มองเห็นจุดสำคัญท่ีตั้งใจแสดงได้อย่างชัดเจน ซึ่งใน
ภาพน้ีก็จะเป็นประตโู บราณสีแดง ซ่งึ ในความหมายของวฒั นธรรมจีนประตูคือด่านหน้าทีใ่ ห้การต้อนรบั แขกผู้

NATHAKORN OURAIRAT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 152

มาเยือน จากน้ันก็ได้นำเอาวัสดุธรรมชาติเช่นพวกใบไมก้ ิ่งไม้แหง้ มาสแกนโดยใช้เทคนิคถา่ ยเอกสาร ซึ่งผลลพั ธ์
จากการสแกนก็จะส่งผลให้มีความน่าสนใจเพิ่มแรงดึงดูด และเสน่ห์ของรูปภาพ ๆ นี้ไปด้วย อีกท้ังใช้เทคนิค
การจัดแสงโดยใช้ไฟฉายส่องผ่านกระดาษฉากหลังของภาพเพ่ือเพ่ิมจุดเด่น และเกิดเป็น Effect ที่น่าสนใจอีก
ด้วย ต่อจากน้ันก็คัดรูปภาพเพ่ือไปทำการรีทัช เพ่ือให้ได้ภาพที่สมบูรณ์ท่ีสุดเพื่อนำมาใช้งานต่อ หลังจากนั้นก็
ได้นำภาพท้ังหมดมาเรียงจัดองค์ประกอบการในโปรแกรม Photoshop โดยได้สร้างเลเยอร์ รูปละหนึ่งเลเยอร์ซ้อนกัน
จากน้ันในแต่ละเลเยอร์ เราก็สามารถลด Opacity หรือความทึบแสงลงเพ่ือทำให้ ภาพแต่ละภาพน้ันมีความ
เขม้ ที่แตกตา่ งกันทำให้ดูมีมติ ิมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนต่อมาเมือ่ เราไดจ้ ัดองค์ประกอบภาพ และลด Opacity ของแต่
ละภาพแล้ว เราก็จะได้ภาพขาวดำ รวมถึงภาพสบี างภาพที่เหมาะสมในการทำงาน ขั้นตอนถัดมาต่อจากน้นั คือ
การลงสีภาพ โดยข้าพเจ้าได้ยึดหลัก สัดส่วนของสีคือ 60 30 แล้วก็ 10 โดยอยากให้ภาพน้ีออกโทนสีมาใน
โทนร้อน อบอุ่นซึ่งเป็นสีบรรยากาศ และวัฒนธรรมของชนชาติจีน เพื่ออยากให้ดึงอารมณ์ความรู้สึกภาพที่
ตื่นเต้นร่าเริงและมีการเฉลิมฉลอง และเพ่ือท่ีจะให้มีมูฟเม้นในภาพ ก็ได้อาศัยลายเส้น และแถบกราฟิกต่าง ๆ
มาช่วยซ่ึงก็จะทำให้ภาพนี้แลดู มีความเคลื่อนไหว ส่วนเวลาลงสี ก็แยกเลเยอรอ์ อกมาอีก เพราะจะได้แก้ไขได้
โดยง่ายเวลาทำผิดพลาด และจะได้สามารถทดลองเปลย่ี น Filter ไปเรื่อยได้จนกว่าจะพอใจ และในเลเยอร์สีน้เี ราจะ
ใช้โหมดมัลติพลาย เพื่อทำให้สีนั้นดูใสเหมือนกับลงสีน้ำ และพอสีท่ีใส่ ทับกันก็จะเกิดเป็นสีอีกสีหน่ึงซ่ึงทำให้
ภาพดูมีมติ ิ เพมิ่ มากขนึ้ พอลงสีภาพเป็นที่พอใจแลว้ กท็ ำการปริ้นทดสอบออกมาเป็นหลายขนาด และทดสอบ
ดใู นระยะ ที่แตกต่างกันวา่ จะมีผลต่อการมองเห็น อย่างไรบา้ ง เมื่อเสร็จเป็นที่พอใจแล้วก็เซฟเป็นไฟล์เพอ่ื ท่ีจะ
นำมาผลิต หรอื นำไปทำการพมิ พจ์ ริงตอ่ ไป

NATHAKORN OURAIRAT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 153

ภาพที่ 2 รปู ภาพท่ีสรา้ งสรรคเ์ สรจ็ แล้วชื่อว่า Reflection of Colorful Anchient China

4. การวิเคราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
เม่ือเวลาที่สร้างผลงานนี้เสร็จเรียบร้อยแล้วก็ได้วิเคราะห์ผลงานนี้ไว้ดังนี้ ส่วนประกอบของการ

สร้างสรรค์ ซึ่งมีอยู่ในภาพน้ีมีอยู่มากมายด้วยกัน ท้ัง เส้น สี รูปทรง พ้ืนผิว ขนาด ทิศทาง พื้นท่ีว่าง ได้ถูก
นำมาใช้ท้ังหมด แต่ที่ใช้มากที่สุดก็คือเร่ืองเส้น สี รูปทรง พื้นผิว และโดดเด่นท่ีสุดคือ เร่ืองของเทคนิคการใช้
Scanner มาสแกนรูปภาพบางรปู เพื่อนำมาใช้ โดยทำให้เกดิ ภาพทม่ี ีผลลัพธ์ท่ีน่าสนใจ และการท่ีได้ผสมผสาน
เทคนิค Scanner สแกนรูปภาพ กับเทคนิค คอลลาจทำให้ได้ภาพงานสร้างสรรค์ ท่ีแปลกใหม่ให้ความรู้สึก
ต่ืนเต้นแต่ก็ยังคงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมจีน เพราะการใช้สีแดงและสีชมพูอมแดง ท่ีนำมาใช้ในงาน ก็ให้
ความรู้สึกทั้งต่ืนเต้น โชคดี มีความสุข รื่นเริง เฉลิมฉลอง มีเคล่ือนไหว หรือการไม่อยู่นิ่ง แต่ก็ให้ความรู้สึก น่ิง
สงบ อ่อนชอ้ ย นมิ่ นวล ไปดว้ ยในคราวเดียวกนั ซงึ่ การเคลื่อนไหว และการน่ิงสงบเวลา อยู่ด้วยกันในภาพเดยี ว
ก็ทำให้ภาพน้ีเกดิ ส่ิงท่ีเรียกได้ว่ามี Dynamic เกิดขึ้น และก่อให้เกิดการรับร้ทู ี่ดี ซ่ึงเป็นสว่ นประกอบสำคัญของ
มนุษย์ ทำให้เกิดความคิด อยากค้นควา้ และมีจินตนาการตอ่ ไป ซึ่งการใช้เทคนิคพิเศษต่าง ๆ ในการสร้างสรรค์
งานชุดน้ีอาจจะช่วยด้านประสาทสัมผัสต่าง ๆ ของมนุษย์ด้วย ทำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า ประสบการณ์ (Experience)
ตามมา ซึ่งประสบการณ์ท่ีเป็นผลจากการรับรู้นั้น ถ้าเก็บสั่งสมไว้ ประสบการณ์น้ันก็จะทำให้เกิดการเรียนรู้
และการแก้ปัญหา ประสบการณ์จึงเป็นปัจจัยสำคัญ ท่ีทำให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ต่อยอดต่อไปสู่การ
สรา้ งสรรคส์ ิ่งอืน่ ๆ ตามมาอีกด้วย

NATHAKORN OURAIRAT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 154

5.สรปุ (Conclusion)

การสร้างสรรค์ผลงานในชุดน้ี ได้ยึดหลักการทำงานในรูปแบบของการออกแบบภาพประกอบ ท่ีใช้
หลักการของเทคนิคแปลกใหม่มาสร้างจินตนาการ และใช้ลายเส้น สี และ texture ซ่ึงเป็นองค์ประกอบหลัก
ใน Design Elements มาใช้ในการสร้างรูปภาพซึ่งอาจจะพัฒนาไปเป็นภาพประกอบ หรือจะเรียกว่าเป็น
ดิจิตัลอารต์ประเภทหน่ึงก็ได้ การนำรูปภาพมาจัดองค์ประกอบโดยใช้การตัดแปะแล้วลงสี ในโปรแกรม
Photoshop ดูเผินเผินแล้วอาจจะคิดว่าง่าย แต่จริง ๆ แล้วเวลาทำไม่ง่ายเลย ต้องใช้เวลาคิด และแก้ไขอยู่
ตลอดเวลาทุกข้ันตอน ต้ังแต่ขั้นตอนการหารูป เลือกรูปท่ีเหมาะสมที่มีลักษณะท่ีไม่แตกต่าง หรือขัดแย้งกัน
จนเกินไป หรือไมน่ ิ่งเปน็ ในทศิ ทางเดียวกันเกินไปจนน่าเบื่อ การเลือก Resolution หรือรายละเอียดของรูป ท่ี
ต้องไม่แตกต่างกันมากนัก มิเช่นนั้นแล้วจะดูขัดแย้งไม่กลมกลืนกันเป็นภาพเดียว นอกจากนี้การเลือกโทนสีก็
ต้องบังคับให้อยู่ในปริมาณท่ีเหมาะสมซึ่งข้าพเจ้าได้เลือกใช้เปอร์เซ็นต์สีที่ 60 30 20 ซ่ึงเป็นเปอร์เซ็นต์สีท่ีคิด
มาแล้ววา่ เหมาะสมทำใหภ้ าพออกมาดเู ป็นหน่ึงเดียวและมีความเป็นเอกภาพ

การสรา้ งสรรค์ผลงานในรูปแบบน้ีอาจจะต้องอาศัยการวางแผนและการสเก็ตที่มีหลากหลายเพ่ือท่ีจะ
ได้ผลงานที่ออกมาให้ดูดีท่ีสุด สรุปตอนท้ายว่าไม่ว่าจะเป็นงานออกแบบหรืองานสร้างสรรค์ในรูปของงาน
จติ รกรรมหรอื งานประยกุ ตศ์ ิลป์ ก็ลว้ นตอ้ งมีการวางแผนทดี่ เี ป็นขั้นเป็นตอน ต้งั แต่ตน้ กอ่ นลงมือทำ จนกระท่ัง
แล้วเสร็จ นอกจากน้ันแล้วการท่ีเราต้องพยายามคิดค้นเทคนิคใหม่ ๆ มาใช้โดยอาศัยเทคโนโลยีต่าง ๆ ก็สำคัญ
ทั้งน้ีก็เพ่ือสร้างทำให้เกิดความต่ืนเต้นแปลกใหม่ ซ่ึงก็เป็นจุดประสงค์ของงานช้ินนี้ แต่ถึงแม้เทคโนโลยีใน
ปจั จุบันมาชว่ ยได้มากกต็ ามที แตก่ ็อย่าลมื ความคดิ สรา้ งสรรค์ ซ่ึงเป็นหลักทส่ี ำคญั ที่สุด ของมนุษย์ ในการสร้าง
ผลงานทางศิลปะและการออกแบบ สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าอยากจะให้งานชุดน้ีได้เป็นแนวทางและแรงบันดาลใจการ
สร้างผลงานศิลปะและออกแบบ เพื่อนักออกแบบภาพประกอบรุ่นใหม่จะได้ใช้เป็นแนวทางเพื่อศึกษาและ
ทดลองปฏบิ ัติปรบั ปรงุ เพ่อื นำมาใช้กับผลงานตนเองต่อไปในอนาคตได้

เอกสารอา้ งอิง (References)

เกริกบรุ ะ ยมนาค. (2530). ภาพประกอบคนโฆษณา. เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่.

กำจร สนุ พงษ์ศรี. (2555). สุนทรยี ศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

จริ ะพัฒน์ พิตรปรชี า. (2545). โลกศลิ ปะศตวรรษท่ี 20. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

บัณฑิต จลุ าสัย (2543). จดุ เสน้ ระนาบ ในงานออกแบบสถาปตั ยฯ ล.1. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ประเสริฐ พชิ ยะสุนทร. (2555). ศลิ ปะและการออกแบบเบ้ืองตน้ . กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

Bossert, J .(1998). Illustration Step by Step Techniques. USA: ROTO VISION

ORATHAYA SARAMART (THAI)
Social Distance Relationship

Illustrator Program , 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

SOCIAL DISTANCE RELATIONSHIP

ความสัมพนั ธ์จากระยะหา่ งทางสังคม

อรทยา สารมาศ*
ORATHAYA SARAMART**

ภาควชิ าออกแบบนเิ ทศศิลป์ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อัสสัมชญั จงั หวัดสมทุ รปราการ***
[email protected]

บทคดั ยอ่

ผลงานชิ้นนี้ได้ถูกสร้างข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ต้องการสื่อให้เห็นถึงวิธีการส่ือสารระหว่างผู้คนท่ี
เหมาะสมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 2) ตอ้ งการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้คนที่ท้อแท้และ
สิ้นหวังในการใช้ชีวิตในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จากสภาวะต่าง ๆ เช่นการขาดรายได้จากการ
ตกงาน ขายของไม่ได้เนื่องจากร้านค้าเลิกกิจการหรือถูกปิด จึงต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจำหน่ายสินค้าในรูปแบบ
ออนไลน์ท้ังบนเว็บไซต์และโซเชียลมีเดีย เพราะประชาชนส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์เคล่ือนท่ีในชีวิตประจำวัน ทั้งเพ่ือการ
สอื่ สาร การทำงาน การศกึ ษา และความบนั เทงิ เพราะมีนำ้ หนกั เบา พกพาสะดวก จึงเป็นท่นี ิยมใช้งานอย่างแพรห่ ลาย
ในยุคนิวนอรม์ อล ซึ่งนบั ได้ว่าเปน็ ความสมั พันธร์ ะยะห่างทางสังคม

ผูว้ ิจัยจึงได้นำเสนอแนวคิดผ่านทางผลงานศลิ ปะท่ีประกอบด้วยไอคอนกราฟิกซิลูเอ็ดท่ีเป็นสัญลกั ษณ์แสดง
ความหมายในรูปแบบไทยร่วมสมัย คือเป็นการบูรณาการระหว่างสถาปัตยกรรมแบบไทยและสมัยใหม่ ผสมผสานกับ
สัญลักษณ์วายฟายและเสาอากาศของงอุปกรณ์เคล่ือนท่ีท่ีสื่อถึงการติดต่อส่ือสารในรูปแบบออนไลน์ ตลอดจนภาพ
หน้าคนใส่หน้ากากอนามัยท่แี สดงถึงระยะห่างทางสังคม ภายใต้กรอบรูปคนใสห่ น้ากากหร้อมรอยยม้ิ ด้านล่างที่แสดง
ถึงความหวังในการใชช้ ีวิตในสถานการณ์ปัจจุบนั

คำสำคญั : ความสัมพนั ธร์ ะยะห่าง โควดิ 19 นวิ นอร์มอล

Abstract

This creative artwork was created with the aim 1) to convey the appropriate means
of communication between people in the COVID 19 epidemic situation, and 2) to raise
morale to the discouraged people and despair in the situation of the COVID-19 epidemic

*อาจารย์
**Lecturer

***Faculty of Communication Arts, Assumption University, Samut Prakan, Thailand.

ORATHAYA SARAMART / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 157

due to conditions such as lack of income from unemployment, not able to sell products
because the store is closed or out of business. Therefore, it was necessary to adjust the way
selling products online on the website and social media, for most people used mobile
devices on a daily basis for communication, work, education and entertainment because
they were lightweight and easy to carry and was widely used in the New Normal era that
can be counted as the social relationship distance.

The researcher presented the concept through the artwork that consisted of
sihouette graphic icons in order to symbolize the meaning in contemporary Thai style by
integrating between Thai and modern architecture with the Wi-Fi symbol and antenna of the
mobile device to convey online communication as well as a picture of a face wearing a
mask showing the social distance within the frame that had the face of a masked person
with a smile below to represent the hope of living in the present situation.

Keywords: Social Distance, COVID19, New Normal

1. The Importance or Problem’s Background

The COVID 19 or Coronavirus outbreak began to spread in December 2019 around
China, and continued to outbreak there since March 2020. This has changed the way of life
for people of the world and has become a major obstacle to life in both communication
and transportation. It is a large family of viruses, which has many strains and can infect both
people and animals. It is a type of common cold virus similar to influenza and bronchitis. It
can affect the respiratory system, such as Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus
(MERS) (Unjangharn, 2014) and Serious Acute Respiratory Syndrome or SARS-COV-2 (Severe
Acute Respiratory Syndrome-Coronavirus-2; SARS-CoV-2) (Suaritrak, 2020). The current
outbreak of the coronavirus is called the Coronavirus 2019 or COVID-19, started in Wuhan
China during December 2019 and spreaded to many countries around the world. It first
spreaded to Thailand on January 12, 2020 from an 81-year-old female Chinese tourist from
Wuhan, China. Thai government has had to put in place measures to treat and prevent the
COVID virus since March 2020.

Symptoms of COVID-19 are similar to the influenza; fever, cough, fatigue, lack of
energy, aches, colds, stuffy nose, runny nose, sore throat, hoarseness, chest pain, diarrhea,
tongue, loss of smell, odor, itchy rash, or changes in skin color on fingers and toes. The
infected person can be either asymptom or little symptom. COVID 19 can be spread in

ORATHAYA SARAMART / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 158

droplets through mucus and saliva from coughing, sneezing, or speaking from their mouths
and noses. These aerosols can also infect objects, such as handrails, stairs, chairs, tables,
doorknobs, etc., so it is possible that the infection is caused by touching the object and
coming into contact with the eyes, nose and mouth.

For this reason, a new lifestyle change called New Normal is by wearing a face mask
or cloth mask all the time in public. Then people need to leave space 1 meter to prevent
the spread of COVID 19 outside the area or in a public place and communicate with others.
It is also necessary to wash hands with sanitizing gel or alcohol every time before entering or
leaving any area, and before or after eating or contact with public appliances. Although the
coronavirus vaccine is available, viruses can mutate into many different types from different
environments, making the effective treatment and vaccination potentially ineffective. The
current situation of the epidemic of COVID 19 also has not faded, but it will become more
violent and have a long-term effect. Thus, life needs to be cautious and clean. There must
still be social distancing between people (World Health Organization, 2020).

Living in the present must rely on Information and Communication Technology (ICT),
a technology used for information and communication via electronic devices that are
computers as well as mobile devices, smartphones and tablets, which are small computers
through searching for information in the online world. The use of social media can be a
conversation through chat, phone or video calls as well as devices for entertainment
including watching movies, listening, playing games, taking photos, taking videos, etc., and
working or studying online through programs or applications used for meetings such as
Microsoft Teams, Zoom, Google Meet, etc. with on the program of each branch, the whole
program is calculated the drawing program, video editing, scientific tool, creation program for
engineering etc. It is a way of living in line with the globalization or digital age in the 21st
century (Unesco Education Strategy 2014-2021, 2014, p.14-15).

Therefore, A work of art entitled “Social Distance Relationship” has been created in
order to show the way how to live in new normal around the vibration of COVID19 virus by
using digital medias as the tools of ICT for communications between each other, works,
education and entertainment. These can reflect the problem solving and show the way to
adapt themselves within the frustrating situation in everyday life between now and future.

ORATHAYA SARAMART / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 159

2. Concept / Related Theories

The inspiration for the creation of this work is as follows:

1) To communicate the appropriate means of communication between people in
the COVID 19 epidemic situation.

2) To encourage the morale of the people who are affected by the COVID-19
epidemic.

Based on the concept of “Social Distance Relationship”, the design is focused on the
information technology devices, an important medium and tool for communicating and
conducting business, work and education as well as in everyday life where people now have
access to the online world and virtual features. It also features the 24/7 global
communication and accessibility, facilitating and shortening communication time, access
information and as a tool as a companion in order to help them entertain to have fun, stress
relief and many different conveniences. Currently there is also a wireless connection, known
as Wifi and 3-5G cellular system, to communicate and access information anywhere and
anytime.

Creating Art of “Social Distance Relationship” is valuable because it makes people
happy and enjoy. It also conveys the meaning easy to understand because it is a symbolic
image, icon or pictogram. This is different from reading a text full of letters, which takes time
to read and understand. Art is also beauty in itself. When people see art, they will feel joyful
and pleased and understand the meaning of the image at the same time. If the image seen
has both beauty and good meaning, it will make the viewer happier (Jitpakdee & Phra Kru
Phavana Bodhikun, 2020, p.64-65).

3. Creative Process
1. Search for information about “Word Collaborative and the Plurality of Arts,

Distance and Together”, which are related to current conditions in the spread of the
coronavirus that have transformed people's lives into online communication so they can
maintain the distance between each other in order to prevent the spread of the virus.

2. Search for images related to creative works, such as images of the large city with
skyscrapers symbolizing the prosperity and civilization like Thai archaeological sites, images
of men and women’s faces, protective masks, Wi-Fi signal, etc.

ORATHAYA SARAMART / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 160

3. Refine images from the realistic photos to silhouette forms by drawing vector
images from photos by using pen tools in Illustrator programs and pick up all solid colors.
Then, compose all images together as the layers between the front and back with different
solid colors in order to be easier to show and communicate the idea for audiences. I used
light colors as the far distances and used dark ones for the closer distances.

Figure 1 Social Distance Relationship

4. การวิเคราะห์ผลงาน (Results Analysis)
Concept
The illustration is a frame of a mask that depicts the Altar, the most important

archaeological sites in Thailand such as Wat Phra Kaeo, Chedi Phra Prang, Wat Arun
Ratchawararam, Wat Pho and Giant Swing. All show the identity of Thailand. The back is
consisted of skyscrapers in the heart of Bangkok, consisting of Charn Issara Tower 2, Indra
hotel, Oriental hotel, Shangalila hotel and Empire Tower including the installation of mobile
antennas to link with the communication network. There is also the fence in Thai traditional
style used for temples and ancient buildings in the front to emphasize Thai identity. Both
left and right sides are the faces of a man and woman wearing masks facing each other.
Below the faces have Wi-Fi signals come out of their mouths to indicate the social distance
communication. There is also a red-orange curve behind the smile. It shows hope and
encouragement to live in the midst of the COVID-2019 epidemic.

ORATHAYA SARAMART / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 161

Style

The style of the illustration has been created cut down from the realistic image to
the opaque silhouette graphics in order to be visible and easy to understand. Then
compose all objects together into an overlapping image to reveal the front and back
dimensions This shows the virtual reality of the image, but maintains the smoothness so that
the audience can see and understand the meaning of the image to be conveyed clearly.

Colors

For colors in this artwork, cool tones are used primarily for visual comfort. The
selected colors have positive connotations that are gentleness, serenity and relaxation in
order to help reduce the anxiety of viewer's discouragement during the COVID-2019
epidemic. The yellow background represents hope and encouragement in life, and stresses
the image to tell people how to solve the problem of the rapidly spreading COVID that
hinders life and work by wearing a face mask or cloth mask all the time. These suggest
people to live in new normal by communicating online and social media primarily with
computers and mobile devices to keep the distance. The green color means abundance,
peace and creativity. Blue means stability, solidarity and dignity. Moreover, the warm color
has been used for a little bit as orange, which means the enthusiasm, radiance and hope for
a better life in the future even though the situation will be changed all the time.

5. Conclusion

The benefits that are expected to be obtained are communicating the concept of
solving problems of living in the digital age faced with the problems and obstacles of the
COVID 2019 epidemic through the use of digital media and tools that are widely used for
information and communication technology tools. They are to help facilitate the way of life,
as well as work and study to go smoothly, for the world population needs to adjust
themselves a lot. It is important to always monitor themselves against infection by wearing a
surgical mask at all times, wash your hands thoroughly with alcohol, soap and water to
prevent COVID-2019 infection. Moreover, spaces must also be at least 1 meter between
each other to prevent coughing, sneezing, eating or even conversation. Aerosols carrying the
coronavirus can come into contact with the eyes, nose and mouth. In addition, the artwork
depicts the current situation of life in the midst of the coronavirus epidemic. Let the
audience see what the way of life is now. In addition, it also wants media for both Thai and
foreign audiences to see the way of life and quality of life of Thai society in the digital age
where the COVID 2019 virus is spread at now, how the problems are resolved, and how
people feel about living in the present.

ORATHAYA SARAMART / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 162

References
AunJanghan, W. (2014). Coronavirus Disease New Species 2012 (MERS-CoV). Retrieved April 7,

2021, from: https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/knowledge_full.php?id=10

Jitpakdee, N., & Phrakhrubhavanabodhiguna (2020). Answer Seeking on the Arts and
Aesthetics: Western Aesthetics. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 7(4),
58-67.

Srijam, J. (2020). The day Thai knows COVID-19. Retrieved April 7, 2021, from:
https://news.thaipbs.or.th/content/290347

Suraritrak, T. (2020). Interesting Facts about SARS-CoV-2 Virus: The Virus Causing COVID-19.
Retrieved April 7, 2021, from: https://pidst.or.th/A966.html

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (2014). Unesco Education
Strategy 2014-2021. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural
Organization.

World Health Organization. (2020) Coronavirus disease (COVID-19) questions and answers.
Retrieved April 7, 2021, from: https://www.who.int/news-room/q-a-detail.

PANAS CHANPUM (THAI)
Mind and Body

3D Computer Graphic Images, 59.4 x 42 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

MIND AND BODY
จติ และกาย

ปาณสั ม์ จนั ทนปุ่ม*
PANAS CHANPUM**

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร กรุงเทพมหานคร***
[email protected]

บทคัดย่อ

ผลงานศิลปะในรูปแบบสามมิติภายใต้แนวความคิด จิตและกาย ซ่ึงส่ือถึงความสัมพันธ์ที่มีความ
เช่ือมโยงกนั ไม่มีการแยกออกจากกัน แต่ในขณะเดียวกันก็มีก็มีความแตกต่างกันกันอย่างสิ้นเชิง แต่ท้ังสองสิ่ง
ก็อยู่ควบคู่กันเพ่ือให้มีชีวิตที่สมบูรณ์ โดยผู้ค้นคว้าได้นำเสนอผลงานศิลปะผ่านเทคนิคการนำเสนอภาพแบบ
สามมิติของรูปสลักสองรูปท่ีมีความแตกต่างกนั เชิงกายภาพอย่างเหน็ ได้ชัด โดยการสรา้ งสรรคผ์ ลงานนั้นอาศัย
เทคนิคทางคอมพิวเตอร์กราฟิกที่มีความทันสมัยอย่างเช่นเทคนิคการขึ้นรูปสามมิติแบบ Photogrammetry
และการประมวลผลภาพแบบ Real-time Rendering

คำสำคญั : Computer Graphic, Real-Time Rendering, 3D, Photogrammetry

Abstract

A three-dimensional work of art that depicts a related relationship under the concept
of mind and body. There isn't any distinction. At the same time, they are diametrically
opposed to one another. However, for life to be whole, both things must be present. The
artworks were exhibited in this study using a three-dimensional visualization methodology
through two different physical sculptures. Using computer graphics techniques such as
Photogrammetry and Real-time Rendering to create works.

Keywords: Computer Graphic, Real-Time Rendering, 3D, Photogrammetry

*อาจารย์
**Lecturer
*** Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University, Bangkok, Thailand.

PANAS CHANPUM / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021/ 165

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานช้ินน้ีน้ันเร่ิมมาจากท่ีผู้จัดทำต้องการนำเสนอการเปรียบเทียบ
สญั ลักษณ์สองอยา่ ง ทอี่ ย่คู กู่ ันแตม่ ีความแตกต่างกัน โดยผ้จู ัดทำไดห้ ยบิ ยก จติ และกาย มาเป็นแนวคิดตั้งตน้ ใน
การเปรียบเทียบ ซ่ึงจิตและกายเปรียบเสมือนท้องฟ้าและผืนดินที่อยู่เคียงคู่กัน ขาดซ่ึงกันและกันมิได้ แม้ห่างแต่ก็
คงอยู่คู่กัน หากเปรียบกับร่างกายของคนเรา จิตใจและร่างกายน้ันอยู่ร่วมกันและร่วมกันทำงานเพ่ือให้มีชีวิตท่ี
สมบรู ณ์ แม้จิตและกายจะเป็นส่วนท่แี ยกจากกันดว้ ยลักษณะกต็ ามที

2. แนวคดิ / ทฤษฎที ีเ่ ก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)

2.1 การขึ้นรูปทรงสามมิตแิ ละพน้ื ผวิ โดยใชเ้ ทคนคิ Photogrammetry
ปัจจุบันนี้มีเทคนิคการข้ึนรูปท่ียังสามารถคงความละเอียดของวัตถุได้อย่างดีเย่ียมหลากหลายเทคนิค

แต่เทคนิคที่นิยมใช้เป็นอย่างสูงในงานดิจิทัลคือเทคนิคการข้ึนรูปสามมิติที่เรียกว่า Photogrammetry โดย
เทคนิคนี้น้ันช่วยในการข้ึนรูปสามมิติโดยอ้างอิงจากค่าตำแหน่งของรูปภาพสองมิติจำนวนมาก โดยจาก
การศึกษาของ Pavlidis (2007) น้ันพบวา่ เทคนิค Photogrammetry นนั้ มีความเรียบง่ายและประหยัดต้นทุน
ในการเก็บข้อมูลในการข้ึนรูปสามมิติที่มีความละเอียดสูง อีกทั้งยังสามารถท่ีจะระบุความถูกต้องในส่วนของ
พื้นผิววัตถุได้อย่างดีเย่ียม อีกทั้งยังสามารถท่ีจะใช้วัดค่าท่ีมีความแม่นยำได้หากใช้ร่วมกับการข้ึนรูปด้วย
โปรแกรม CAD เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่ีมีความถูกต้องมากยิ่งข้ึน แต่ถึงอย่างนั้นจากผลการศึกษาของ Balletti
(2020) ระบไุ ว้ว่าหากต้องการถกู ต้องของสสี ันและพืน้ ผิวของวัตถุกม็ ีความจำเปน็ ท่ีจะต้องใชร้ ูปถ่ายจำนวนมาก
ในการหาค่าตำแหน่งที่มีความแม่นยำสูง โดยเม่ือเสร็จส้ินจากข้ันตอนการข้ึนรูปทรงและการสร้างพ้ืนผิวแล้ว
ผลงานสามมิติจะถูกสง่ ต่อไปยังข้นั ตอนการการประมวลผลภาพสามมิติ (3D Rendering) เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ท่ีมี
ความสวยงามและสมจริง

2.2 การประมวลผลภาพแบบ Real-Time Rendering
การประมวลผลแบบ Real-Time Rendering ผ่านการระบบเกมเอนจิน (Game Engine) ซึ่งส่วนมากน้ันใช้

การประมวลผลจากการด์ ช่วยประมวลผลด้านภาพ (GPU) ในเครอื่ งคอมพวิ เตอรใ์ ห้ผลลพั ธข์ องการประมวลผล
ภาพกราฟิกที่มีความรวดเร็วกว่าการประมวลผลภาพในรูปแบบเดิมเป็นอย่างมาก โดย Briand (2014)
ได้อธิบายไว้ในผลการศึกษาว่า Real-Time Rendering สามารถท่ีจะประมวลผลภาพท่ีมีความละเอียดสูงได้
อยา่ งรวดเรว็

PANAS CHANPUM / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021/ 166

3. กระบวนการในการสร้างสรรค์ (Creative Process)
ในผลงานสรา้ งสรรค์นีน้ ้นั ทางผู้จัดทำได้ออกแบบผลงานภายใต้แนวความคดิ ทีเ่ น้นการเปรยี บเปรยของ

สิ่งของสองสิ่งท่ีมลี ักษณะท่ีแตกต่างกันแต่ก็คงอยู่ด้วยกันได้ โดยผูจ้ ัดทำได้เลือกรูปแกะสลักหินสองรูปทม่ี ีความ
แตกต่างกัน โดยได้เลอื กรปู แกะสลกั ต้นแบบ ซงึ่ ตง้ั อย่ภู ายในวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร

ภาพท่ี 1 รปู แกะสลกั จีนในวดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร

โ ด ย ใน ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ตั ว ชิ้ น ง า น ส า ม มิ ติ น้ั น ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ขึ้ น รู ป แ บ บ ส า ม มิ ติ ที่ เรี ย ก ว่ า
Photogrammetry ซึ่งเป็นเทคนิคที่แพร่หลายในการสร้างผลงานสามมิติที่มีความสมจริงสูง ในขั้นตอนแรกน้ี
น้ันผู้ถ่ายภาพจะต้องทำการถ่ายภาพรอบตัวของต้นแบบท่ีต้องการจะบันทึก โดยทำการบันทึกภาพประมาณ
50-65 ภาพ ในมุมและองศาของภาพท่ีแตกต่างกัน โดยเม่ือทำการบันทึกภาพได้เป็นท่ีเรียบร้อยแล้วน้ัน ทาง
ผจู้ ัดทำก็ได้นำภาพท่ีได้มาประมวลผลเพ่ือหาค่าตำแหน่งของกลุ่มจุดสี(Point cloud) จากภาพท่ีเก็บบันทึกมา
ได้ทั้งหมด จากนั้นจึงผลท่ีประมวลได้มาสร้างเป็นโมเดลสามมิติที่มีความละเอียดสูงทั้งรูปทรงและพ้ืนผิวต่อไป
โดยเมือ่ เสรจ็ ขั้นตอนนี้โมเดลสามมิตทิ ่ไี ด้จะถกู นำไปตกแต่งพนื้ ผิวต่อไป

PANAS CHANPUM / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021/ 167

ภาพท่ี 2 ภาพโมเดลสามมติ ิที่ไดจ้ ากเทคนคิ การขนึ้ รูปแบบ Photogrammetry

ขั้นตอนการสร้างสีสันและลักษณะของพื้นผิว (Texture) การจัดแสง (Lighting) และประมวลผลภาพ
(Rendering) นั้นนับได้ว่าเป็นส่วนท่ีมีความสำคัญมากเนื่องจากเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้เกิดความสมจริงของ
โมเดลสามมิติได้ โดยทางผู้จัดทำได้ได้ตัดสินใจเลือกใช้การประมวลผลภาพแบบ Real-Time Rendering ผ่านเกม
เอนจิน (Game Engine) ซ่ึงช่วยลดระยะเวลาในการทำประมวลผลภาพไปได้เป็นอย่างมากเมื่อเทียบกับการ
ประมวลผลภาพชิ้นงานด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพแบบปกติ และเพ่ือเพ่ิมความสมจริงให้กับผลงานมากยิ่งขึ้น
ทางผู้จัดทำได้ทำการจำลองลักษณะเลนส์กล้องสมัยเก่าให้กับผลงาน เพื่อสร้างความไม่สมบูรณ์ให้กับผลงานแบบ
ดจิ ิทลั ใหด้ มู คี วามเป็นธรรมชาติและสมจริงมากยิ่งขึ้น

PANAS CHANPUM / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021/ 168

ภาพที่ 3 ภาพผลลพั ธ์ของผลงานทีม่ กี ารใส่พืน้ ผวิ และจดั แสงเงาทสี่ มจรงิ

4. การวเิ คราะห์ผลงาน (Results Analysis)
การสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้น้ันผู้จัดทำได้ทำการวิเคราะห์แนวคิดต้ังต้นของผลงานและได้ทำการ

ออกแบบกระบวนทำงานดิจิทัล โดยในขั้นแรกนั้นทางผู้ค้นคว้าได้วิเคราะห์ความสำคัญของสัญลักษณ์หลักที่
ต้องการจะนำเสนอ ซ่ึงคือจิตและกาย ผ่านรูปแกะสลักหินสองรูปแตกต่างกันอย่างชัดเจนด้วยรูปลักษณ์
ภายนอก โดยรูปแกะสลักท้ังสองนั้นทางผู้จัดทำได้หยิบยกและเลือกต้นแบบในการขึ้นรูปแบบสามมิติจากรูป
แกะสลักหินทต่ี ั้งอยูภ่ ายในวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร สืบเนื่องมาจากท่ีผู้จดั ทำตอ้ งการจะ
หยิบยกส่ิงที่ชาวไทยและชาวต่างชาติรู้จัก มานำเสนอในรูปแบบใหม่ ผ่านการตีความใหม่ท่ีต่างออกไป โดยได้
เลือกรูปแกะสลักหินชิ้นแรกเป็นสีของวัสดุภายนอกน้ันดูสว่าง ลักษณะทางกายภาพมีลักษณะท่ีอ่อนช้อยดู
เหมือนขุนนางจีน เป็นเสมือนนักปราชญ์ นักคิด แทนความหมายของจิตใจและรูปแกะสลักหินอีกรูปหน่ึงนั้น
ผู้จัดทำได้เลือกรูปแกะสลักหินท่ีมีสีของวัสดุเข้มว่ารูปแกะสลักแรกและมีลักษณะภายนอกที่ดูคล้ายนักรบ มี
ความแข็งแกรง่ ดดุ ัน น่าเกรงขาม แทนความหมายของรา่ งกาย
5. สรปุ (Conclusion)

ผลการศึกษาของการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้นับได้ว่าจะเป็นประโยชน์ทางตรงแก่ผู้ท่ีสนใจศึกษา
เทคนิคการสร้างผลงานศิลปะในรูปแบบสามมิติที่มีความทันสมัย โดยการศึกษานี้ได้อธิบายถึงเทคนิคในการ
สร้างสรรค์ผลงานศิลปะสามมิติท่ีมีความละเอียดสูงผ่านเทคนิค Photogrammetry และ Real-Time
Rendering

PANAS CHANPUM / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021/ 169

เอกสารอ้างอิง (References)

Caterina Balletti, Marcin Dabrowski, Francesco Guerra, Paolo Vernier. (2020). Digital
reconstruction of a lost heritage: The San Geminiano’s church in San Marco’s
Square in Venice. 2020 IMEKO TC-4 International Conference on Metrology for
Archaeology and Cultural Heritage Trento, Italy, October 22-24

G. Briand, F. Bidgolirad, J. Szlapka, J. M. Lavalou, M. Lanouiller, M. Christie, J. Lvoff, P.
Bertolino, E. Guillou. (2014). On-set previsualization for VFX film production.
International Broadcasting Convention, Amsterdam.

George Pavlidis, Anestis Koutsoudis, Fotis Arnaoutoglou, Vassilios Tsioukas, Christodoulos
Chamzas. (2007). Methods for 3D digitization of Cultural Heritage. Journal of Cultural
Heritage. Volume 8. Issue 1. Pp. 93-98

Tucci, G., Bonora, V., Conti, A., & Fiorini, L. (2017). HIGH-QUALITY 3D MODELS AND THEIR
USEIN A CULTURAL HERITAGE CONSERVATION PROJECT. ISPRS - International Archives
of the Photogrammetry, Remote Sensing and Spatial Information Sciences.

PANAS CHANPUM / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021/ 170

PATTARAWUT SUBYEN (THAI)
Digital Image Generation with AI (Flowers, Textures and Scenery)

(AI-generated Digital Imagery) / Digital Print, 42.0 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

DIGITAL IMAGE GENERATION WITH AI: FLOWERS, TEXTURES AND SCENERY
การสร้างภาพดจิ ิทลั ดว้ ยปญั ญาประดษิ ฐ:์ ดอกไม้ พ้ืนผิว และทวิ ทัศน์

ภัทรวฒุ ิ ทรัพย์เยน็ *
PATTARAWUT SUBYEN**

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธนิ อำเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120***
[email protected]

บทคัดยอ่

งานสรา้ งสรรค์ชดุ นีม้ วี ัตถุประสงคเ์ พ่ือศึกษากระบวนการการนำปัญญาประดิษฐ์และการสอนให้ระบบ
คอมพิวเตอร์ทำการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการออกแบบและสร้างสรรค์งานภาพวาด
ดิจิทัลโดยส่ิงท่ีนำเสนอคือ ข้ันตอนการรวบรวมชุดข้อมูลการนำชุดข้อมูลไปสอนให้ระบบคอมพิวเตอร์เรียนรู้
และการนำภาพท่ีถูกสร้างขึ้นใหม่ด้วยมาผ่านกระบวนการพัฒนาการออกแบบให้เป็นผลงานในข้ันสุดท้าย โดย
ผลลัพธ์ท่ีได้คือ ภาพดอกไม้ พื้นผิวและทิวทัศน์ ที่สร้างขึ้นจากการทำงานร่วมกันของผู้สร้างสรรค์กับ
ปัญญาประดิษฐ์ และกระบวนการสร้างงานภาพวาดดิจิทัลโดยใช้ที่สามารถนำไปปรับใช้กับงานออกแบบ
ภาพประกอบดจิ ิทลั ภาพสามมิติ หรือการสรา้ งภาพดว้ ยวธิ คี อลลาจในงานออกแบบกราฟิกตอ่ ไป

คำสำคญั : ปัญญาประดิษฐ์, กระบวนการออกแบบ, การสร้างภาพดจิ ิทลั

Abstract

This creative work aims to study how to incorporate artificial intelligence (AI) and
machine learning (ML) into the design process of digital image creation. This work presents
the method for collecting image data from the internet, training image dataset and selecting
output images to design and develop the final image. The outcomes of this work are three
new images (i.e., Flowers, Textures and Scenery) generated from the creator incorporation
with AI and the design process adapted for digital illustration, three-dimensional design or
collage graphic design creation.

Keywords: Artificial Intelligence, Design Process, Digital Image Creation

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Fine and Applied Arts, Bangkok University, 9/1 Moo 5 Klong Nueng, Klong Luang, Pathumthani, Thailand.

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 173

1. ความสำคญั หรอื ความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

ในปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์ (AI) มีความก้าวหน้าเพิ่มข้ึนในระหว่างปี ค.ศ. 2014 – 2018 โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการสอนให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้และจำแนกข้อมูลได้ด้วยตัวเอง และสร้างข้อมูลท่ีได้
เรียนรู้ไปขึ้นมาใหม่ (Machine Learning หรือ ML) (Brundage et al., 2018) โดย AI ได้เข้ามามีบทบาทใน
สาขาวชิ าที่เกย่ี วข้องกบั ศิลปะและออกแบบ เช่น สาขาการออกแบบกราฟิกใช้ AI กับการสร้างภาพ การจัดวาง
องค์ประกอบภาพและตัวอักษร สาขาสถาปัตยกรรมใช้ AI กับการออกแบบโครงสร้างของอาคารท่ีมีความ
ซับซ้อน สาขาจติ รกรรมใช้ AI กบั การสรา้ งภาพวาดใหม่จากภาพต้นฉบบั ของศลิ ปนิ ระดบั โลก สาขาดนตรใี ช้ AI
กับการสร้างทำนองเพลงท่ีมีความหลากหลายข้ึนมาใหม่ อย่างไรก็ตามกระบวนการประยุกต์ใช้ AI ในงาน
ออกแบบต่าง ๆท่ีอธบิ ายข้นั ตอนการประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานออกแบบยงั มจี ำกดั

งานสร้างสรรค์ชุดน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาขั้นตอนการนำปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาประยุกต์ใช้ใน
กระบวนการสร้างงานภาพวาดดิจิทัล โดยนำข้อมูลภาพ (Image Dataset) จากอินเทอร์เน็ตมาสอนให้ระบบ
คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้และจำแนกวัตถุต่าง ๆ และสร้างข้อมูลภาพที่ได้เรียนรู้ไปขึ้นมาใหม่ได้ด้วยตนเอง
(ML) โดยที่นกั ออกแบบสามารถนำภาพเหลา่ นั้นไปพฒั นาและใชใ้ นงานออกแบบของตนเองได้ โดยผลลพั ธ์ที่ได้
คือภาพผลงานสร้างสรรค์จำนวน 3 ช้ิน ได้แก่ 1) ดอกไม้ (Flowers) 2) พื้นผิว (Textures) และ 3) ทิวทัศน์
(Scenery) และกระบวนการสร้างงานภาพวาดดิจิทัลโดยใช้ AI และ ML ท่ีสามารถนำไปปรับใช้กับงานออกแบบ
คาแรคเตอร์ งานภาพประกอบ งานออกแบบสามมิติ หรือการสร้างภาพสำหรับงานออกแบบกราฟิกต่อไป

2. แนวคิด / ทฤษฎที เี่ กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)

ในปี ค.ศ. 2014 นักวิจัยได้ทำการสร้างภาพตัวอักษร ใบหน้าของมนุษย์ รวมถึงวัตถุอ่ืน ๆ จากชุด
ข้อมูลตัวอย่างท่ีให้คอมพิวเตอร์ได้เรียนรู้ (Goodfellow et al., 2014) จากนั้นจึงมีการพัฒนาเร่ือยมา เช่น
การให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้ชุดข้อมูลห้องนอน (Bedrooms) และให้คอมพิวเตอร์สร้างภาพขึ้นมาใหม่ รวมถึง
การทดลองสร้างภาพใบหน้าของมนุษย์ขึ้นใหม่ (Radford et al., 2016) การสร้างภาพใบหน้าของมนุษย์แบบ
สมจริง (Realistic) โดยใช้ชุดข้อมูลใบหน้าของคนท่ีมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จัก หรือดารา เพ่ือสร้างภาพใบหน้าที่มี
ความคล้ายคลึง หรือมีลักษณะสำคัญที่ทำให้ทราบได้ว่าภาพที่ถูกสร้างขึ้นมีความคล้ายคลึงกับใบหน้าของใคร
(Karras et al., 2018) สำหรับส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการออกแบบ เช่น มีการทดลองใช้ AI ในการสร้างบุคลิกตัว
ละครการ์ตูน (Cartoon Characters) (Jin et al., 2017) และการใช้เปล่ียนภาพวาดคนเป็นภาพอิโมจิ
(Emoji) (Taigman, et al., 2016) โดยงานวิจัยท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ีเก่ียวข้องกับการออกแบบคอมพิวเตอร์
โมเดลท่ีสามารถเรียนรู้จำแนกวัตถุได้ด้วยตนเองและสร้างภาพข้ึนใหม่ งานสร้างสรรค์ชุดน้ีจึงมีวัตถุประสงค์
เพือ่ ศึกษาการนำคอมพิวเตอร์โมเดลดังกลา่ วสำหรบั มาประยกุ ต์ใชใ้ นกระบวนการสร้างงานภาพดิจทิ ลั

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
กำหนดโจทย์ในการออกแบบท่ีต้องการจะศึกษาค้นคว้า คือ “นักออกแบบจะสามารถนำ

ปัญญาประดิษฐ์ท่ีสร้างภาพท่ีมีความหลากหลายจากชุดข้อมูลภาพที่ได้เรียนรู้ และนำภาพเหล่านั้นมา
ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการสร้างภาพดิจิทัลได้อย่างไร” จากโจทย์ที่ตั้งไว้กระบวนการทำงานแบ่งออกเป็น 4
ข้ันตอน (ภาพท่ี 1) ดงั น้ี

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 174

1. ศึกษาคอมพิวเตอร์โมเดลที่สามารถเรียนรู้และจำแนกวัตถุได้ด้วยตนเอง คือ Generative
Adversarial Network หรอื GAN

2. ศึกษาเครอ่ื งมือและวิธกี ารสร้างภาพดิจทิ ลั ดว้ ย AI และ ML
3. ศึกษาวิธีการสร้างฐานข้อมูลภาพสำหรับสอนคอมพิวเตอร์ให้เรียนรู้และจำแนกวัตถุได้ด้วยตนเอง
จากฐานขอ้ มูลภาพที่มีอยู่ โดยใช้คอมพิวเตอร์โมเดล GAN
4. เม่ือได้คลังภาพที่คอมพิวเตอร์สร้างขึ้นมาใหม่ นักออกแบบจึงเลือกภาพท่ีน่าสนใจไปพัฒนาในงาน
ออกแบบอน่ื ๆ ต่อไป เช่น นำไปทำแบบร่างสำหรับงานภาพประกอบ หรือหรอื นำไปสรา้ งภาพใหม่สำหรบั งาน
ออกแบบกราฟิก

ภาพท่ี 1 ภาพรวมของขน้ั ตอนกระบวนการสรา้ งสรรค์

กระบวนการสร้างสรรค์ภาพดิจิทลั ภาพดอกไม้ พนื้ ผวิ และทิวทัศน์แบ่งออกเป็น 3 ขัน้ ตอนดงั ต่อไปน้ี (ภาพที่ 2)

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 175

ภาพท่ี 2 ตัวอยา่ งกระบวนการสรา้ งสรรคภ์ าพวาดดจิ ทิ ัลทสี่ รา้ งจากปญั ญาประดษิ ฐ์

ขั้นตอนที่ 1 การสรา้ งฐานข้อมลู ภาพ (Image Dataset) ตามโจทยก์ ารออกแบบทต่ี ั้งไว้ โดยอธิบายไดด้ ังนี้
1.1 ใช้คำสำคญั ในคน้ หาใน Google Image ในกรณนี ี้หาคำวา่ “Flowers” ด้วย เบราวเ์ ซอร์ Chrome
1.2 เลือก Developer Mode และ Java Script Console ใน Chrome เพอื่ เขยี นรหสั สำหรบั ดาวน์

โหลดแหล่งท่ีมาของภาพท่ีคน้ หาท้งั หมดใหอ้ ยใู่ นรปู แบบตัวหนงั สือ เชน่ URL ของภาพทงั้ หมดที่

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 176

คน้ หาเจอ https://abc.abc.com/123
1.3 ใชภ้ าษาโปรแกรมไพทอน (Python) ผ่านทาง Terminal (Mac) เพื่ออ่าน URL ของภาพท้งั หมด

ท่อี ยูใ่ นรูปแบบ Text File เพอื่ ทำการดาวน์โหลดรปู ภาพแบบอตั โนมตั ิ เม่ือเสรจ็ สิ้นข้นั ตอนที่ 1.1
– 1.3 สิ่งที่ได้ คือ ฐานขอ้ มลู ภาพดอกไม้ (Flowers Image Dataset) จำนวน 3,000 ภาพ

ขั้นตอนท่ี 2 สอนให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้และจำแนกวัตถุต่าง ๆ (Dataset Training) ได้
ด้วยตนเอง โดยอธิบายไดด้ ังนี้

2.1 นำฐานข้อมลู ภาพดอกไม้ที่เตรยี มไว้ดว้ ยบนแพลตฟอร์มซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สรนั เวย (Open
Source/Runway) โดยใช้คอมพิวเตอร์โมเดล GAN เพือ่ เรียนรู้และจำแนกวัตถไุ ดด้ ว้ ยตนเอง

2.2 คอมพิวเตอร์หารปู แบบหรือลกั ษณะพิเศษทเ่ี หมือนหรือตา่ งในข้อมูลภาพดอกไมโ้ ดยแสดง
ตัวอย่างของภาพในรปู แบบตาราง ในขัน้ ตอนนรี้ ะบบจะสรา้ งภาพท่ีมีความเหมอื นหรือภาพที่มี
ความแตกตา่ งจากภาพตน้ ฉบับขึน้ มาอกี จำนวนแบบไมส่ ้นิ สดุ

2.3 นักออกแบบเลือกบันทกึ ภาพเหล่าน้ันออกมาเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบต่อไป เม่อื เสรจ็
ส้ินข้ันตอนที่ 2.1 – 2.3 ส่ิงทีไ่ ด้ คือ ฐานข้อมลู ภาพดอกไม้ใหม่ท่ถี ูกสร้างขน้ึ ดว้ ยคอมพวิ เตอรท์ ่ี
พร้อมนำไปใชใ้ นงานออกแบบตอ่ ไป

ขัน้ ตอนท่ี 3 การประยุกต์ใชภ้ าพใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพวิ เตอร์ในงานออกแบบ โดยอธิบายไดด้ ังนี้
3.1 นกั ออกแบบคดั เลือกภาพโดยดูจากลกั ษณะพิเศษต่าง ๆ ของภาพทถี่ ูกสรา้ งขึ้นใหม่ จากนนั้

บันทึกภาพไว้ และคัดเลือกภาพทีน่ ่าสนใจโดยดจู ากองคป์ ระกอบของภาพท่ีถกู สรา้ งขึน้ ใหม่ โดย
ในการทำงานสรา้ งสรรคช์ ้นิ นไี้ ดบ้ ันทกึ ภาพไว้จำนวน 1,000 ภาพ และคดั เลือกภาพที่นา่ สนใจ
ออกมาจำนวน 100 ภาพ และจาก 100 ภาพ คัดเหลอื 10 ภาพ
3.2 นำภาพท่คี ดั เลอื กไวไ้ ปพัฒนาตอ่ ด้วยการตกแต่งภาพ จากตวั อยา่ งน้ไี ด้ทดลองนำเอาภาพวาดของ
วาซีลี คนั ดินสกี จำนวน 2 ภาพ คือ Yellow, Red, Blue และ Composition 8 มารวมกบั ภาพ
ทมี่ ีอยเู่ พ่อื ใหไ้ ด้ภาพที่มีสไตลส์ ีใหม่

ผลสรปุ จาก ข้นั ตอนท่ี 1 -3 คือ ผลงานสร้างสรรคจ์ ากภาพวาดดิจทิ ลั ท่สี ร้างจากปญั ญาประดิษฐ์ท่ี
ผา่ นกระบวนการออกแบบการตกแตง่ ภาพและการทำสไตล์สีใหม่ ช่อื “Flowers” (ภาพท่ี 3) ดังน้ี

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 177

ภาพที่ 3 ผลงานสรา้ งสรรค์ชิน้ ที่ 1 ชอื่ “Flowers” (a.) ภาพวาดดจิ ิทลั ที่สรา้ งจากปญั ญาประดษิ ฐ์ที่ผา่ นการตกแต่งภาพ (b.)
ภาพวาดดจิ ิทลั ทส่ี รา้ งจากปญั ญาประดษิ ฐท์ ผี่ า่ นการตกแตง่ ภาพและทำสไตลส์ ีใหม่

หลงั จากทไ่ี ดท้ ดลองกระบวนการทงั้ หมดแล้วจงึ นำวิธีการเดียวกนั มาทดลองสร้างภาพอนื่ ๆ ดงั น้ี
1. สร้างฐานข้อมูลภาพพ้ืนผิวจำนวน 3,000 ภาพ จากน้ันสอนให้คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้และ
จำแนกลักษณะของพื้นผิวรูปแบบต่าง และทำการสร้างภาพพื้นผิวรูปแบบใหม่ และเลือกลักษณะพิเศษของ
พื้นผิวต่าง ๆ ของภาพท่ีถูกสร้างขึ้นใหม่ และบันทึกภาพไว้จำนวน 1,000 ภาพ และจาก 100 ภาพ คัดเหลือ
10 ภาพ และทดลองนำไปลงลายพื้นผิวในวัตถุท่ีออกแบบในโปรแกรมออกแบบสามมิติ โดยในงานสร้างสรรค์
ชนิ้ นี้ไดท้ ดลองสร้างโมเดลสามมติ ิรปู รา่ งนามอธรรมอิสระ และลงลายพืน้ ผิวในวัตถทุ ีอ่ อกแบบ (ภาพท่ี 4)
2. สร้างฐานข้อมูลภาพทิวทัศน์จำนวน 3,000 ภาพ จากน้ันสอนให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้
และแยกแยะภาพทวิ ทัศนแ์ บบวาดดิจิทัลแบบตา่ ง ๆ จากน้ันทำการสร้างภาพทิวทศั น์แบบดิจิทัลแบบใหม่ และ
เลือกลักษณะพิเศษของภาพทิวทัศน์ที่ถูกสร้างข้ึนใหม่ และบันทึกภาพไว้จำนวน 1,000 ภาพ และจาก 100
ภาพ คัดเหลือ 10 ภาพ โดยในงานสร้างสรรค์ช้ินนี้ได้ทดลองสร้างภาพทิวทัศน์ที่เกิดจากการรวมภาพและการ
ตกแต่งภาพและการนำภาพทไ่ี ดไ้ ปออกแบบองคป์ ระกอบศลิ ป์ใหมใ่ นโปรแกรมออกแบบสามมิติ (ภาพที่ 5)

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 178

ภาพท่ี 4 ผลงานสรา้ งสรรคช์ ้ินที่ 2 ช่อื “Textures”

ภาพที่ 5 ผลงานสรา้ งสรรคช์ นิ้ ที่ 3 ชอื่ “Scenery” (a.) ภาพวาดดิจิทลั ที่สรา้ งจากปญั ญาประดษิ ฐท์ ี่ผ่านการตกแต่งภาพ (b.)
ภาพวาดดจิ ิทลั ท่สี รา้ งจากปญั ญาประดิษฐ์ทเ่ี กดิ จาการนำภาพท่ไี ด้ไปออกแบบองค์ประกอบใหมใ่ นโปรแกรมออกแบบสามมติ ิ

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 179

4. การวิเคราะห์ผลงาน (Results Analysis)
ผลงานสร้างสรรค์ช้ินนี้นำปัญญาประดิษฐ์มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการสร้างภาพดิจิทัล โดยเริ่ม

ทดลองจากการนำข้อมูลภาพจากอินเทอร์เน็ตมาสอนให้ระบบคอมพิวเตอร์เรียนรู้ภาพ ดอกไม้ พื้นผิว และ
ทิวทัศน์ เพื่อสร้างภาพใหม่ท่ีมีความหลากหลายและนำภาพเหล่าน้ันไปพัฒนาและใช้ในงานออกแบบ จากการ
ทดลองพบว่ายังมีข้อจำกัด 3 ประการ ดังน้ี 1.การสอนให้ระบบคอมพิวเตอร์เรียนรู้ภาพจำเป็นต้องใช้ข้อมูล
เป็นจำนวนมากในการประมวลผลท่ีมีประสิทธิภาพ เช่น ต้องใช้ชุดข้อมูลภาพจำนวน 3,000 ภาพข้ึนไป
คอมพิวเตอร์ถงึ จะเรียนรูภ้ าพเหลา่ นั้น และสามารถสรา้ งภาพท่ีมคี วามหลากหลายได้ดีขึน้ 2.การใชจ้ ำนวนภาพ
ในการสอนให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้และจำแนกวัตถุต่าง ๆ จำนวนมาก เช่น ภาพจำนวน 3,000
ภาพข้ึนไปจำเป็นต้องใช้ฮาร์ดแวร์ และทรัพยากรของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีกำลังสูง และ 3. ภาพที่
คอมพิวเตอร์สร้างขึ้นมาใหม่เป็นเพียงการสร้างภาพท่ีความหลากหลายในงานออกแบบจากชุดข้อมูลภาพที่ให้
ระบบคอมพิวเตอรป์ ระมวลผลทำใหไ้ มส่ ามารถนำมาใช้ได้ในทนั ทเี น่ืองจากนักออกแบบต้องนำไปพฒั นาตอ่

ในส่วนของงานออกแบบภาพดิจิทัลชุดดอกไม้ พื้นผิวและทิวทัศน์ มีแนวทางในการวิเคราะห์แบ่ง
ออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ 1. เน้ือหาของงานนำเสนอเร่ืองราวส่ิงรอบตวั ที่พบเห็น คือ 1.1) ดอกไม้พนั ธ์ุต่าง ๆ ที่พบ
เห็นท่ัวไป เช่น ดอกกุหลาบ ชบา บัว บานชื่น 1.2) พื้นผิวต่าง ๆ เช่น ดิน ไม้ หิน ส่ิงทอ 1.3) ทิวทัศน์ตาม
สถานท่ีต่าง ๆ เช่น ภูเขา ทุ่งหญ้า ทะเลสาบ ทะเล โดยในการเลือกเน้ือหาเป็นการเลือกเพื่อเป็นกรณีศึกษา
สำหรับศึกษาข้ันตอนการใช้ AI และ ML ในการออกแบบภาพดิจิทัล จึงทำให้ผลงานชุดนี้มีข้อจำกัดเร่ือง
แนวคิด เช่น แนวคิดของงานไม่ได้นำเสนอแรงบันดาลใจ หรือเรื่องราวต่าง ๆของนักออกแบบ อย่างไรก็ตาม
กระบวนการออกแบบ หรือขั้นตอนที่ได้สามารถนำไปใช้ในการนำเสนอเร่ืองราวและแนวคิดในงานอื่น ๆ ได้
ต่อไป และ 2. ผลงานชุดนค้ี ัดเลือกภาพท่ีคอมพิวเตอร์สรา้ งขึ้นโดยดูจากทัศนธาตุ เช่น รปู ทรง สี องคป์ ระกอบ
ภาพ และพ้ืนผิว เพ่ือนำมาพัฒนาต่อให้เป็นผลงานในขั้นสุดท้าย สำหรับภาพดอกไม้ คัดเลือกจากรูปทรงที่มี
ความน่าสนใจเนื่องจากมีความคล้ายคลึงกับภาพหน้า และลักษณะใบไม้มีลักษณ์เหมือนแผงคอของสิงห์โต จึง
นำมาปรบั แต่งให้สี สไตล์ และองค์ประกอบของภาพให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น ภาพพื้นผวิ คัดเลือกจากรปู ทรงบนพ้นื ผิว
ท่ีความน่าสนใจ จากนั้นจึงทดลองทำการลงลายผิวภาพบนวัตถุนามธรรมสามมิติ ภาพทิวทัศน์คัดเลือกจาก
ภาพที่มีองค์ประกอบภาพที่ดี และมีโทนสีคล้ายกันจำนวนหลายภาพ และนำมาตกแต่งประกอบรวมกันเป็น
ภาพเดยี วเพื่อเป็นแบบร่างเบื้องตน้ ในการนำไปออกแบบภาพในโปรแกรมสามมิติ จากการทดลองพบว่าวิธกี าร
คัดเลือกภาพเพือ่ นำไปพฒั นาตอ่ ให้เป็นผลงานขั้นสุดท้ายสามารถทำได้หลากหลายวิธีขึ้นอยู่กับนักออกแบบจะ
นำไปใช้งาน สำหรับการนำข้ันตอนการใช้ AI และ ML ในการออกแบบภาพดิจิทัล ไปปรับใช้ในงานออกแบบ
นักออกแบบควรเร่ิมจากแนวคิดในการทำงานจากนั้นจึงเลือกชุดข้อมูลภาพที่จะนำไปใช้เพื่อกำหนดทิศทางใน
การทำงานต่อไป

5.สรุป (Conclusion)

งานสร้างสรรค์ภาพดิจิทัลชุด ภาพดอกไม้ พื้นผิวและทิวทัศน์ใช้การปฏิบัติเป็นเครื่องมือเพ่ือนำไปสู่
ความรใู้ หม่โดยมงุ่ เน้นท่ีการศึกษาขั้นตอนการใช้ AI และ ML ในการออกแบบภาพดิจทิ ัล การประยุกต์ใช้ภาพที่
คอมพิวเตอร์สร้างขึ้น และการเลือกภาพที่มีองค์ประกอบศิลป์ที่ดี เช่น รูปทรง สี และการจัดวาง มาทำแบบร่าง
ออกแบบและพัฒนาต่อให้เป็นผลงานในข้ันสุดท้าย โดยใช้เทคนิคการตกแต่งภาพทั้ง 2 มิติและ 3 มิติด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลงานชุดนี้จึงเป็นกรณีศึกษาเบ้ืองต้นที่สามารถนำข้ันตอน และวิธีการไปประยุกต์ใช้
กับงานออกแบบอ่ืน ๆ ต่อไป เช่น การออกแบบคาแรคเตอร์ การออกแบบภาพประกอบ การออกแบบสามมิติ
การสร้างภาพด้วยวธิ ีคอลลาจ หรอื การออกแบบกราฟกิ

PATTARAWUT SUBYEN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 180

เอกสารอา้ งอิง (References)
Brundage, M., Avin, S., Clark, J., Toner, H., Eckersley, P., Garfinkel, B., Dafoe, A., Scharre, P.,

Zeitzoff, T., Filar, B., Anderson, H., Roff, H., Allen, G. C., Steinhardt, J., Flynn, C.,
hÉigeartaigh, S. Ó., Beard, S., Belfield, H., Farquhar, S., … Amodei, D. (2018). The
Malicious Use of Artificial Intelligence: Forecasting, Prevention, and Mitigation.
ArXiv:1802.07228 [Cs].

Goodfellow, I. J., Pouget-Abadie, J., Mirza, M., Xu, B., Warde-Farley, D., Ozair, S., Courville,
A., & Bengio, Y. (2014). Generative Adversarial Networks. ArXiv:1406.2661 [Cs, Stat].

Jin, Y., Zhang, J., Li, M., Tian, Y., Zhu, H., & Fang, Z. (2017). Towards the Automatic Anime
Characters Creation with Generative Adversarial Networks. ArXiv:1708.05509 [Cs].

Karras, T., Aila, T., Laine, S., & Lehtinen, J. (2018). Progressive Growing of GANs for
Improved Quality, Stability, and Variation. ArXiv:1710.10196 [Cs, Stat].

Radford, A., Metz, L., & Chintala, S. (2016). Unsupervised Representation Learning with
Deep Convolutional Generative Adversarial Networks. ArXiv:1511.06434 [Cs].

Taigman, Y., Polyak, A., & Wolf, L. (2016). Unsupervised Cross-Domain Image Generation.
ArXiv:1611.02200 [Cs].

PHATTARAPORN LEANPANIT (THAI)
Under the moon light 2021
Water media, 56 x 76 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

CREATION OF WATERCOLOR PAINTING

ผลงานสรา้ งสรรค์เทคนคิ สนี ำ้

ภทั รพร เลยี่ นพานชิ *

PHATTARAPORN LEANPANIT**

คณะศลิ ปวิจติ ร สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป์ ตำบลศาลายา อำเภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170***

[email protected]

บทคดั ย่อ

จากประสบการณ์ในการศึกษาทดลองสีน้ำและศึกษาประวัติสีน้ำท้ังในและต่างประเทศน้ันทำให้เกิด
แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคสีน้ำ ท่ีเร่ิมต้นจาการศึกษาหุ่นนิ่ง ภาพทิวทัศน์ และภาพคน
รวมท้ังทดลองเทคนิคต่าง ๆ ในการใช้สีน้ำทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ต่อยอดในการสร้างงานโดยใช้ความ
พิเศษของสนี ้ำในความโปรง่ แสงและความบางเบา

ในการสร้างสรรคป์ ระสานกับแนวความคิดและประสบการณ์จากความร้สู ึกในการได้สัมผสั รับรู้กับการ
แสดงและวรรณคดีไทยรวมถึงเร่ืองราวประสบการณ์ชีวิตท่ีสั่งสมมา นำมาวิเคราะห์เพ่ือให้เกิดความเข้าใจใน
การทดลองสร้างสรรค์ เทคนคิ ในการตอบโจทย์ทางอารมณข์ องตัวเองออกมาเป็นรูปธรรม

ศลิ ปกรรมร่วมสมัยโดยเทคนิคสนี ้ำกับการผสานความเหมอื นจริง อารมณ์ความรู้สึกทีอ่ อกมาในท่าทาง
ของตัวละครและอารมณ์ของสีผา่ นชว่ งเวลาความรู้สึก ในรูปแบบการแสดงออกแบบนามธรรม ผ่านลวดลายกล่ิน
อายความเป็นรากเหง้าของความเป็นไทย

ในการใช้ความสามารถของตวั เทคนคิ การทับซ้อนใหเ้ กดิ สแี ละรูปทรงใหม่ รวมท้ังการประสารของรูปทรง
ของเส้นที่ใช้การถอดรูปแบบจากลายไทย ออกมาเป็นบทกวีภาพเฉพาะตัว ให้ผู้คนได้สัมผัสถึงความงาม ความ
ออ้ นช้อยรวมทัง้ อารมณ์ ความเคลื่อนไวในการแสดงออกของภาพ

คำสำคญั : สีนำ้ รว่ มสมัย

Abstract

Experience in watercolor studies and the rich history of watercolor as it gained
popularity abroad and also here in Thailand provided for a strong impetus for the creation
of art works based on watercolor techniques starting from the study of still-life, landscape,

*อาจารย์
**Lecturer
*** Faculty of Fine Arts, Bunditpanasilpa Institute, Nakhon Pathom, Thailand.

PHATTARAPORN LEANPANIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 183

and human images, and progressing to experimentations with different techniques. Using
watercolor enables artists to bring more creativity in their works because watercolor has
certain special properties such as transparency and lightness which is particularly important
in achieving harmony between concepts and experiences that appeal to the senses.

This technique is also analyzed in order to understand the creative experimentation
used in the presentation of Thai drama and literature, especially in stories in my life and
similar emotions.

Contemporary art by watercolor techniques combines “reality” as seen in the
emotions that come out in the posture of the characters and the emotions of color through
time, and “imagination” as seen in the form of an abstract design. It uses the capabilities of
the overlapping techniques to create new colors and shapes. Through the pattern of the
roots of Thai ness.

Merge the above techniques with the techniques of Thai Style forms , Line Thai and
the artist is able to bring about a unique image that allows audience to experience beauty
and individuality, as well as awe-inspiring emotions through images.

Keywords: watercolor contemporary

1. ความสำคัญหรือความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)

ในปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีรวมท้ังส่ิงต่าง ๆ ท่ีหมุนเวียนไปด้วยวัตถุนิยม
วาทกรรมต่าง ๆ จนหลงลืมเรื่องราวต่าง ๆ อารมณ์ความรู้สึก วรรณกรรม วรรณคดีต่าง ๆ เพราะเรื่องราวต่าง ๆ
ที่ผ่านมาคือพื้นฐานของส่ิงท่ีมีในปัจจุบัน สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีอยู่ในความรู้สึกอารมณ์ของข้าพเจ้าเมื่อนึกถึง
เร่ืองราวต่าง ๆ ในอดีต ผสานกับเรื่องราวที่ผ่านประสบการณ์จากการอ่าน การพบเจอสิ่งต่างเข้าด้วยกันจาก
รากวัฒนธรรม การแสดงของไทยผ่านทางนาฏศิลปช้ันสูง จึงถือว่าเป็นศิลปวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมานาน บ่งบอก
ถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทยสู่สากล ซึ่งข้าพเจ้าเป็นคนไทยได้รับซึมซับวิถีต่าง ๆ มาตั้งแต่สมัยวัยเยาว์ และ
ปัจจุบนั หาดูได้ยาก จะพบในงานสมโภชน์ การแสดงตามงานสำคญั ตา่ ง ๆ หรอื ในงานเชงิ อนุรักษ์ ยากทจ่ี ะลงสู่
ชุมชนช้ันลา่ ง ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงนำลีลาท่าทาง ชุดตา่ ง ๆ ข้างต้นมาผสานรวมกบั ลายไทย ลายประดับตาม
ชุดโขนของตัวละคร ดอกไม้ และสถาปัตยกรรมของไทยออกมาในรูปแบบงานทัศนศิลป์ 2 มิติ ในเทคนิคสีน้ำที่
นำเอาความพเิ ศษ ของสีน้ำทผ่ี ่านการทดลองการใชอ้ งคป์ ระกอบต่าง ๆ ของเทคนิคมาสรา้ งสรรคง์ านชุดนี้

2. แนวคิด / ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)
การสร้างสรรค์ผลงานชุดน้ีด้วยเทคนิคสีน้ำนั้น ด้วยความต้องการทางอารมณ์ความรู้สึกท่ีเป็นรูปแบบ

นามธรรม ผ่านการกล่ันกรองวิเคราะห์ โดนเน้นเร่ืองเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมไทย ผสมผสาน
กับสถาปัตยกรรมและรูปทรงธรรมชาติ ก่อให้เกิดภาพรวมทางความคิด ตัวหนังสือผ่านภาพเขียนท่ีผสมทั้ง

PHATTARAPORN LEANPANIT / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 184

ความเหมือนจริงและนามธรรม ผ่านท่าทางของตัวละครทางวรรณคดี และการผสานสีสัน ที่เกิดจากการเหนือ
ความควบคุม ใหเ้ กิดภาพใหม่โดยใช้ความพิเศษของสีนำ้ ทงั้ ความบางเบา การทับซอ้ นจนเกิดสีใหม่ การผสาน
แบบเปียกบนเปียกจนเกิดสใี หม่ ผ่านอารมณ์ฝีแปรง โดยภาพรวมตา่ ง ๆ ผ่านความคิดประสบการณ์แบบบทกวี
ในภาษาภาพ

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
1. เกบ็ ขอ้ มูล หารเรอื่ งราวทา่ ทางและเอกลักษณ์ท่ตี ้องการ
2. วิเคราะหข์ ้อมูล ก่อนนำมาสรา้ งภาพรา่ งของผลงาน ทต่ี รงตามความคดิ วัตถุประสงคใ์ นการสร้างสรรค์
3. ทดลองการผสานสขี องเทคนิคท่สี ามารถควบคุมได้
4. สร้างสรรคผ์ ลงานโดยเทคนิคสนี ้ำ และสอื่ ทใี่ ช้น้ำในการเขียน
5. นำเสนอและวเิ คราะห์ผลงานออกมาในรูปแบบที่สามารถอธบิ ายไดท้ ั้งกระบวนการเขียนและเรื่องราว

ภาพท่ี 1 Poetry from Sound of Rainy 2020 เทคนิค สีนำ้ Watercolor ขนาด 56 x 76 cm.

4. การวเิ คราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
การสร้างสรรค์ผลงานสีน้ำ โดยศึกษาทดลองเทคนิคในความพิเศษของสีน้ำ และเรื่องราวที่ผ่านตัว

ละครที่มีอารมณ์ความรู้สึกท่ีคล้ายกับตนเอง ท่าทาง อากัปกริยาที่บอกเล่าผ่านตัวละครจากวรรณกรรมของไทย
และบรรยากาศอารมณ์ในช่วงขณะหน่ึงออกมาเป็นตัวงาน โดยเน้นเทคนิคการเขียนและการควบคุมความ
พิเศษของสีน้ำ คือความใส บาง และการทับซ้อนหลายช้ันจนเกิด สภาวะเหนือการควบคุมของสีที่ออกมาไม่ว่า
จะเป็นการไหลเข้าหาผสมกันจนเกิดสีใหม่ที่ไม่สามารถควบคุมได้ หรือการทับซ้อนโดยใช้ความบางใสจนเกิดสี
ขน้ั ที่ 4 และขนั้ ท่ี 5 เปน็ ลำดับ และการหาองค์ประกอบในการท้ิงพน้ื ท่ีว่างในการเล่าอารมณ์ความรูส้ ึก ลน่ื ไหล
ของสีและน้ำหนัก รวมทั้งการเขียนรูปทรงทับเข้าไปในสีช้ันที่ 4 และ 5 ที่ต้องทำให้ยังมีความบางใสของสีน้ำ
เหมือนเดิมได้ ซ่ึงการผสานของรูปทรงเหมือนจริง (Realistic form ) และรูปทรงนามธรรม (Abstract form)
กเ็ ปน็ จดุ สำคญั ในการนำมาใชใ้ ห้เกิดอารมณ์รว่ มกันได้โดยใช้ในเรื่องของสีและบรรยากาศผสมผสานใน 2 รปู ทรง


Click to View FlipBook Version