The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fineartbuu, 2021-06-11 04:10:23

IADCE 2021 Exhibition Book22

IADCE 2021 Exhibition Book22

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 85

details to add value to the community’s lifestyle products, developing a collection in order
to build a good image for communication and creating an opportunity to reach the new
target audiences. The result is a collection design of fashion lifestyle products for market
testing. If the feedback is satisfactory, it will be a guideline to build a brand and generate
income back to the community for sustainable community development.

Keywords: Lifestyle Products, Hand Woven Loincloth, Collection, Had Seaw Hand Woven

1. ความสำคญั หรอื ความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

กลุ่มสินค้าไลฟ์สไตล์ รวมถึงสินค้าแฟชั่น ถือเป็นหน่ึงในสินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย โดยในปี 2561 ท่ีผ่านมา
มีมูลค่าการส่งออกถึงกว่า 12,300 เหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5 ของมูลค่าการส่งออกท้ังหมด
นอกจากนั้น ผู้ประกอบการสินคา้ กลุ่มนีก้ วา่ รอ้ ยละ 90 เป็นผู้ประกอบการ SME ซ่ึงถือเป็นผู้ทม่ี ีความสำคัญใน
อนั ทีจ่ ะผลกั ดนั ใหเ้ ศรษฐกิจของไทยเติบโตอย่างย่ังยืน

นายสมเด็จ สุสมบูรณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ได้ให้สัมภาษณ์ว่าแม้สถานการณ์โควิด-19
ส่งผลต่อเศรษฐกิจท่ัวโลก แต่ความต้องการสินค้าไลฟ์สไตล์ยังคงอยู่ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพ มีการออกแบบดี ไม่ว่าจะเป็นสินค้าไลฟ์สไตล์ ของประดับตกแต่งบ้าน เคร่ืองใช้ในครัวเรือน
เฟอร์นิเจอร์ แฟช่ัน เสื้อผ้า ส่ิงทอ เคร่ืองหนัง เป็นต้น จึงเป็นโอกาสของผู้ผลิต – ผู้ส่งออกไทยท่ีจะต้องเตรยี ม
ความพร้อมเพอื่ คว้าโอกาสสำหรบั การชว่ งชิงตลาดในภาวะการเปลย่ี นแปลงนี้ (สำนกั ขา่ วหนุ้ อนิ ไซด์, 2563)

แต่ท้ังน้ีในโลกธุรกิจปัจจุบันมีการแข่งขันกันสูงโดยเฉพาะสินค้าไลฟ์สไตล์ เพราะเป็นสินค้าที่อยู่ใน
ชีวิตประจำวันของทุกคน แม้ผู้ประกอบการจะมีโอกาสเข้าถึงตลาด แต่หากสินค้ายังไม่โดดเด่นหรือสามารถ
สร้างประสบการณ์ร่วมกับลูกค้าได้ โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าในต่างประเทศ ก็เป็นการยากสำหรับการแข่งขัน
(สยามรัฐออนไลน์, 2563) คณะ

ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้ดำเนินการเข้าไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับชุมชน
ผ้าขาวม้าตามจังหวัดต่าง ๆ ร่วมกับบริษัทประชารัฐ รักสามัคคี ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 4 พบว่าสินค้าในชุมชนทอ
ผ้าขาวม้าแต่ละชุมชนมีเอกลักษณ์ มีความน่าสนใจ แต่ปัญหาของชุมชนคือการยังไม่มีแนวทางการออกแบบ มาใช้ใน
การแปรรูปสินค้าแฟช่ันไลฟ์สไตล์ สินค้าโดยท่ัวไปเกิดจากการที่ชุมชนหาตัวอย่างสินค้าท่ีผลิตได้ไม่ยากมาเป็น
ตน้ แบบและทำแพทเทิรน์ ตาม และใช้ผ้าขาวม้าท้ังผืนมาตัดเย็บแพทเทิร์นให้เป็นรูปแบบตามผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
นั้น ๆ โดยไม่ได้ดัดแปลงต่อยอดมากนัก อีกทั้งยังไม่เคยมีการสร้างเป็นคอลเลคช่ันเพื่อนำเสนอให้เกิด
ภาพลักษณท์ ่ชี ดั เจนของชมุ ชน

บ้านหาดเส้ียว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย เป็นแหล่งผ้าทอไทยท่ีมีช่ือเสียงมากของจังหวัด คำว่า "หาดเส้ียว"
หมายถึง ท่าน้ำท่ีมีหาดเสี้ยว คือ แหว่งไป ประกอบกับหาดทรายมีต้นส้มเส้ียว (ต้นกาหลง) ใหญ่ เป็นเครื่องหมาย
และตรงกับชื่อในถ่ินฐานเดิม "บ้านหาดเส้ียว" แห่งนี้เป็นแหล่งจำหน่ายผ้าทอพ้ืนเมืองท่ีมีลวดลายสวยงาม เช่น
ซน่ิ ตนี จก ผ้าขาวมา้ ผ้าคลมุ ตา่ ง ๆ

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 86

เกือบทุกบ้านจะมีกี่ทอผ้าตัง้ อยู่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของ "ชาวไทยพวน" ตำบลหาดเสี้ยวท่ีสืบทอดมาจาก
บรรพบุรุษซ่ึงเป็นคนพวนท่ีอพยพมาจากเมืองเชียงขวาง ประเทศลาว เม่ือประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๐ ปัจจุบัน ไทยพวน
ยังดำรงวฒั นธรรมดังเดิมอยู่ ยามหมดหน้านามักทำอาชีพเสริมดังคำกล่าวว่า "หญิงทอผ้า ชายตีเหล็ก" แต่ที่โดดเด่น
คอื การทอผ้า ซึ่งมีลวดลายสวยงามเป็นเอกลักษณ์ คือ "ผ้าซิ่นตีนจก" โดยเฉพาะจก 9 ลายบ้านหาดเส้ียวเป็น
ภูมิปัญญาถ่ายทอดกันมาจากบรรพบุรุษท่ีมีช่ือเสียงและเป็นที่รู้จัก ซึ่งมีจุดโดดเด่นกว่าผ้าชนิดอ่ืน คือ ใช้มือจก
ผ้าเป็นลวดลายท้ังผืน ใช้ขนเม่นในการจก (ล้วง) ฝ้ายจากด้านล่างข้ึนด้านบน บนเส้นยืน โดยจะทอผ้าจาก
ด้านหน้าของผา้ จก (SACICTLIBRARY, 2018)

แม้กระทั่งผ้าขาวม้าทอมือของชุมชนกลุ่มทอผ้าบ้านหาดเส้ียว จ.สุโขทัย ก็มีการนำวิธีการจก มาจกเป็น
ลวดลายช้างท่ีเชิงผ้าเพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับผ้าทอของชุมชนซึ่งมีความแตกต่างจากผ้าขาวม้าทอมือท้องถิ่นอื่น
ลวดลายจกรูปช้าง แสดงถึงวิถีชีวิตของคนสุโขทัยท่ีมีมายาวนาน ที่ว่าจูงวัวไปค้า ข่ีม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้างค้า
ใครจักใครค่ ้าม้าค้า ของคนสุโขทัยที่ มีอสิ ระในการค้าขาย เม่อื นำมาทำเป็นลวดลายท่ีเชิงผ้าขาวม้า ก็เป็นส่ิงที่ลูกค้า
จดจำและรู้ว่าผ้าขาวม้าผืนนี้มาจากบ้านหาดเสี้ยว จังหวัดสุโขทัย กลุ่มลูกค้าประจำของชุมชนทอผ้าบ้านหาดเสี้ยว
มกั นยิ มซื้อผ้าจกลายช้างทแ่ี ปรรูปโดยชุมชนเป็นเส้ือ ชดุ กระโปรง และกระเป๋า ฯลฯ

การนำผ้าขาวม้าทอมือ ที่มีลายจกช้างท่ีเป็นเอกลักษณ์ของบ้านหาดเส้ียว มาออกแบบพัฒนาเป็นสินค้า
นอกเหนือจากสินค้าแฟชั่นเส้ือผ้าแล้ว สินค้าแฟช่ันไลฟ์สไตล์จำพวกกระเป๋า หมวก ผ้าพันคอ ปลอกหมอน
ของใช้ในบ้าน เป็นการเพ่ิมความหลากหลาย สร้างโอกาสในการซื้อสินค้าชนิดต่าง ๆ ที่แสดงความเป็นไลฟ์
สไตล์ของผ้บู ริโภคเอง และเป็นการสรา้ งรายได้ให้ชมุ ชนจากผลติ ภณั ฑ์ผ้าทอของชมุ ชนอกี ดว้ ย

ผู้วิจัยจึงดำเนินโครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาสินค้าแฟช่ันไลฟ์สไตล์ให้กับชุมชนบ้านหาดเสี้ยว โดย มองหา
แนวทางทจ่ี ะเหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมายกล่มุ ใหม่เพ่ิมข้ึน ปรับเปลี่ยนรูปแบบเพ่ิมลูกเล่น สรา้ งมูลค่าเพิ่ม สรา้ งความ
แปลกใหม่ ให้กลุ่มลูกค้ามากข้ึน เพิ่มโอกาสให้ชุมชนสามารถขายสินค้าได้ในราคาแพงข้ึน เพื่อสร้างรายได้ให้กับ
ชมุ ชนให้เติบโตอย่างย่ังยืน

ภาพท่ี 1 ผา้ ขาวมา้ และกระเป๋าผา้ ขาวมา้ ท่ชี มุ ชนผลติ ท่ีมา: เพจผ้าไทยหาดเสีย้ ว ซิน่ ตนี จกไทพวน สโุ ขทยั

2. แนวคิด / ทฤษฎีท่เี ก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)
2.1 สินคา้ ไลฟ์สไตล์ (Lifestyle Products)

สินค้าไลฟ์สไตล์ คือ กลมุ่ สินค้าที่ตอบสนองความต้องการและรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโภคที่มี
ภาพลักษณ์หรือบุคลิกภาพตราสินค้าในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ประเภทของกลุ่มสินค้าไลฟ์สไตล์จึงสามารถ

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 87

จำแนกได้ตามวิถีชีวิตของผู้บริโภค ในด้านท่ีอยู่อาศัย การคมนาคม การติดต่อสื่อสารและรูปแบบการดำเนินชีวิต
(ศิวรี อรัญนารถ, 2558 อ้างถึงในกมลศิริ วงศ์หมึก 2563) โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้จัดกลุ่มสินค้าได้เป็น 6
ประเภทคือเฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน ของขวัญของชำร่วยและเคร่ืองตกแต่งบ้าน เคร่ืองใช้บนโต๊ะอาหารและใน
ครวั เคหะสงิ่ ทอ ของเลน่ และเครื่องเขียนเครอื่ งใช้สำนักงาน

2.2 คอลเลคช่ัน (Collection)
คอลเลคชั่นคือ กลุ่มของสินคา้ และผลิตภัณฑ์ที่ถูกออกแบบมาเพื่อขายปลีกหรอื ผู้บริโภคโดยตรง กลุ่ม

ของผลิตภัณฑ์เหล่านี้อาจจะได้รับแรงบันดาลใจจากแนวโน้มการออกแบบ จากแนวทางการออกแบบท่ี
สะท้อนถึงสังคมและวฒั นธรรม (Elinor Renfrew, Colin Renfrew 2009)

การพัฒนาสินค้าของชุมชนหลายรายการให้เกิดเป็นคอลเลคชั่น จะมีแนวความคิดหลัก หรือแนวทาง
กลาง ที่เช่ือมต่อไปยังสินค้าผลิตภัณฑ์ช้ินอ่ืน ๆ ในคอลเลคช่ัน โดยแนวความคิดหลักจะมีอิทธิพล แรงบันดาลใจ
แนวคิดการออกแบบหรืออาจเป็นวัสดุที่เป็นตัวเช่ือมโยงการออกแบบผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ในคอลเลคช่ันด้วยกัน
(Dessy Tsolova,2016 อ้างถึงในกมลศริ ิ วงศ์หมึก 2563))

2.3 การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ (Art Composition)

เกิดจากการนำเอาองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของ ศิลปะ อันได้แก่ เส้น สี แสงและเงา รูปร่าง รปู ทรง พ้ืนผิว
ฯลฯ มาจัดเข้าด้วยกันเพ่ือให้เกิดความงาม มีหลักท่ีควรคำนึง อยู่ 5 ประการ คือ สัดส่วน (Proportion)
ความสมดุล (Balance) จังหวะ (Rhythm) การเน้น (Emphasis) เอกภาพ (Unity) (สุพัฒตรา หีบแก้ว)

การเน้น (Emphasis) หมายถึง การกระทำใหเ้ ดน่ เปน็ พเิ ศษกวา่ ธรรมดา ในงานศิลปะจะตอ้ งมี สว่ น
ใดสว่ นหนึ่ง หรือจุดใดจดุ หน่งึ ทม่ี คี วามสำคัญกว่าสว่ นอ่ืน ๆ การเน้นมรี ูปแบบดงั ตอ่ ไปน้ี

- การเนน้ ดว้ ยการใช้องคป์ ระกอบทตี่ ัดกัน (Emphasis by Contrast) การใชอ้ งค์ประกอบท่ีมี
ลกั ษณะ แตกต่าง หรอื ขัดแยง้ กับส่วนอนื่ ก็จะทำใหเ้ กิดจุดสนใจข้ึนในผลงานได้ แต่ต้องคำนงึ ถึงใหส้ ่วนรวมยงั
มีความกลมกลืนเป็นเอกภาพเดยี วกนั

- การเนน้ ด้วยการด้วยการอยโู่ ดดเดีย่ ว (Emphasis by Isolation) เม่ือส่งิ หนึ่งถูกแยก ออกไปจาก
ส่วนอื่น ๆ ของภาพ หรอื กลมุ่ ของมัน สง่ิ นน้ั ก็จะเป็นจดุ สนใจ

- การเน้นด้วยการจดั วางตำแหนง่ (Emphasis by Placement) เม่ือองคป์ ระกอบอ่ืน ๆ ชนี้ ำมายัง
จดุ ใด ๆ จุดน้นั กจ็ ะเป็นจุดสนใจที่ถกู เน้นข้นึ มา และการจดั วางตำแหนง่ ท่ี เหมาะสม กส็ ามารถทำใหจ้ ุดนั้นเปน็
จดุ สำคญั ข้ึนมาได้เชน่ กนั

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 88

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวขอ้ ง ผู้วิจัยมแี นวทางในการทีจ่ ะเน้นให้เกิดความน่าสนใจของ

ผ้าขาวม้าและลวดลายจกชา้ งอนั เปน็ เอกลกั ษณข์ องชุมชน โดยการทดลองออกแบบเทคนิคบนผา้ ขาวม้าใน
รูปแบบต่าง ๆ

ภาพที่ 2 ตดั ตอ่ ผา้ ขาวม้าแบบอสิ ระทงั้ ทิศทางและตำแหน่ง ใช้แนวทางการเนน้ แบบองค์ประกอบที่ตดั กนั
และสกรีนทบั เพอ่ื ให้ส่วนรวมยงั มีความกลมกลนื เปน็ เอกภาพเดยี วกนั

ภาพท่ี 3 ตเี กลด็ ใหผ้ ้าขาวม้ามีการไลข่ นาดใหญไ่ ปเลก็ ใหด้ เู หมือนการไล่โทนสเี พือ่ สรา้ งแนวทางการมอง
ให้ช้ีนำมายังลวดลายจกช้าง เป็นการใช้แนวทางการเนน้ แบบการจดั วางตำแหนง่

ภาพท่ี 4 การนำผา้ ขาวมา้ มาตดั ตอ่ ลายตรงและลายเฉลียงจดั องค์ประกอบให้เกดิ จดุ สนใจเฉพาะจดุ
เนน้ เฉพาะลวดลายดา้ นล่างกระเปา๋ ใหน้ า่ สนใจ ตา่ งจากผลติ ภณั ฑเ์ ดมิ ของชมุ ชนทใี่ ช้ผา้ ขาวมา้ ท้งั ผนื

จากการไดพ้ ูดคุยกับคุณสจุ นิ ต์ โพธิว ผู้นำชมุ ชนและเป็นผู้นำในการขายผลติ ภัณฑจ์ ากผา้ ทอบา้ นหาด
เสี้ยว จ.สุโขทัย คุณสุจินต์สนใจท้ัง 3 แนวทาง แต่ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าแนวทางท่ี 3 เป็นไปได้มากที่สุดท่ีจะ
เริ่มต้น ชุมชนสามารถทำเองได้ด้วยตัวเอง ไม่ยากจนเกินไป มีความเรียบแต่มีดีเทลน่าสนใจมากกว่ารูป
แบบเดิม ๆ ทเ่ี คยผลติ มา และยังคงเนน้ ใหเ้ หน็ เอกลักษณล์ ายจกของชุมชน

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 89

ผู้วิจัยจึงนำแนวทางท่ี 3 มาพัฒนาการออกแบบให้มีความเป็นคอลเลคชั่น โดยมีการใช้สี วัสดุ และ
เทคนิคการตกแต่งที่เชื่อมโยงให้ผลิตภัณฑ์แต่ละตัวมีความสอดคล้องกัน ลงบนคอลเลคช่ันสินค้าแฟช่ันไลฟ์
สไตล์จำนวน 7 ช้ิน ประกอบไปด้วย กระเป๋าใส่เอกสาร กระเป๋าถือ หมวก ผ้าพันคอ หมอน ท่ีใส่ทิชชูและ
หนา้ กากอนามัย

การเลือกองคป์ ระกอบของการออกแบบ
องค์ประกอบของการออกแบบสินค้าในคอลเลคช่ันสินค้าไลฟ์สไตล์จากผ้าขาวม้าทอมือบ้านหาดเสี้ยว
อ.ศรีสัชนาลัย จ.สโุ ขทยั
สี ดำขาว จากการสมั ภาษณค์ ุณสจุ ินต์พบวา่ เดมิ ผา้ ขาวม้าด้งั เดมิ ตง้ั แต่โบราณจะเป็นสีน้ำเงินขาว แดง
ขาว เขียวขาว แต่ภายหลงั ชนุ ชนมกี ารปรับเป็นหลายสีเพ่ือความหลากหลาย รวมท้ังเริม่ มีการทดลองผลิตเปน็ สี
ดำขาว เพราะเป็นสีท่ีใส่งา่ ยสำหรับคนทำงาน หลังจากน้ันผ้าขาวม้าสีขาวดำก็จึงกลายเปน็ สีที่ขายดี และเป็นสี
หลักท่ีทำเป็นประจำต่อเน่ืองของชุมชน ผู้วิจัยจึงเลือกผ้าขาวม้าสีขาวดำท่ีจะนำมาออกแบบ แต่มีการ
ปรับเปลี่ยนลายจกให้เป็นดิ้นเงิน เน้นให้ลายจกดูน่าสนใจมากข้ึน ทำให้เกิดภาพลักษณ์ท่ีทันสมัยและเรียบหรู
มากขึน้ การใชส้ ีของวัสดใุ นการออกแบบผลติ ภัณฑ์ จึงคมุ สีอยู่ 3 สีคือ ขาว ดำ และเงนิ เมทัลลกิ

ภาพที่ 5 ลายจกด้ินสเี งิน

วัสดุ การเลือกใชผ้ ้าอน่ื เข้าไปเป็นสว่ นประกอบนอกเหนือจากการใช้ผ้าทอมือของชุมชนแตเ่ พียงอย่าง
เดียว เช่นในการทำกระเป๋าใส่เอกสาร หมวกหรือท่ีใส่ทิชชู ใช้ผ้าแคนวาสเน้ือหนาขนาด 18 ออนซ์เพื่อให้
ผลิตภัณฑ์อยู่ทรงโดยไม่ต้องอาศัยการรีดผ้ากาวเคมี ผ้าแคนวาสเป็นวัสดุที่ใช้ในการทำกระเป๋าเอกสารท่ัวไป
และเป็นวัสดุท่ีชุมชนสามารถเย็บด้วยจักรอุตสาหกรรมท่ีชุมชนมีอยู่แล้วได้ ดูมีราคา เป็นทรงที่ชัดเจน วัสดุ
ประกอบใช้เปน็ หนังแทต้ ัดเปน็ เสน้ ทีม่ ีขายสำเร็จ เพอ่ื ความทนทาน และอะไหลส่ ีเงนิ เพอ่ื คมุ สใี นคอลเลคช่ัน

รูปทรง ใช้รูปร่างของเขาคณติ เป็นแนวทาง เป็นรูปแบบท่ีเรียบง่ายไมซ่ ับซอ้ นเพื่อใหช้ มุ ชนสามารถทำ
ดว้ ยได้ตนเอง และรูปเรขาคณิตทำให้การวางแพทเทิรน์ ทีป่ ระหยัดผา้ มากกวา่ รปู ทรงอิสระ

ดีเทล (รายละเอียดการตกแต่ง) ใช้แนวทางการเล่นลายผ้าขาวม้าด้วยการตัดต่อลายตรงและลาย
เฉลียงที่จัดองค์ประกอบให้น่าสนใจ เปล่ียนรูปแบบจากการเป็นผ้าขาวม้าผืนเดียวท้ังผืน สร้างให้เกิดจุดสนใจ
ในการมอง ลักษณะการตัดต่อลายเป็นการตัดผ้ารูปเรขาคณิต เพื่อไม่ให้เหลือเศษ ชุมชนสามารถใช้วัสดุได้
อย่างไม่สิ้นเปลือง เพื่อควบคุมต้นทุน นอกจากนั้นยังมีการติดเทปตกแต่งท่ีเป็นวัสดุท่ีหลายพื้นผิวสัมผัส ทั้ง
หยาบ เรียบ ดา้ นและมนั เพ่ือสรา้ งใหเ้ กดิ มิติ และทำใหผ้ า้ ขาวมา้ ดูเขา้ ถงึ ง่ายสำหรับคนกล่มุ ใหม่มากข้ึน

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 90

จากการสรุปข้อมูลในการเลือกองค์ประกอบการออกแบบ ทำใหไ้ ด้ผลงานการออกแบบ และตน้ แบบที่
เปน็ คอลเลคช่ันผลิตภณั ฑ์แฟช่นั ไลฟ์สไตลจ์ ากผา้ ทอนำ้ บ้านหาดเสี้ยว จ.สโุ ขทยั ตามภาพ

ภาพที่ 6 ภาพร่างคอลเลคช่นั สินคา้ ไลฟส์ ไตลจ์ ากผา้ ขาวม้าบา้ นหาดเส้ียวและต้นแบบกระเป๋า

4. การวเิ คราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
ผลงานสรา้ งสรรค์ในครงั้ น้ีเปน็ การสร้างคอลเลคชั่นเพื่อพฒั นารูปแบบผลิตภัณฑ์แฟชนั่ ไลฟส์ ไตลท์ แ่ี ปร

รูปจากผืนผ้าขาวม้าทอมือลายจกช้างอันเป็นเสน่ห์และเอกลักษณ์ของผ้าทอบ้านหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
เพื่อนำเสนอสำหรับลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ ในวงกวา้ งข้ึน การสร้างสรรค์ดีเทลบนตัวสนิ ค้าจึงมีการตัดต่อลายผ้าขาวม้ามา
จัดวางองค์ประกอบและตกแต่งด้วยเทปท่ีมีผิวสัมผัสต่าง ๆ ให้มีความน่าสนใจมากข้ึน เพื่อสร้างสินค้าที่ดูแตกต่าง
และมีมูลค่าเพิ่ม เน้นการเชื่อมโยงสี วัสดุ และสไตล์การออกแบบลงบนผลิตภัณฑ์ชิ้นต่าง ๆ เป็นคอลเลคช่ัน
การผลิตท่ีไม่ซับซ้อนจนเกินไป ชุมชนสามารถผลิตเองได้ ในรูปแบบการตัดต่อท่ีไม่เสียเศษและเป็นแนวทางใน
การเขา้ หาตลาดกลุม่ ใหมเ่ พมิ่ ขึ้น

5. สรุป (Conclusion)
การสร้างสรรค์ผลงานสินค้าแฟชั่นไลฟ์สไตล์คอลเลคชั่นนี้ เป็นการนำเสนอแบบร่างเพื่อนำไปใช้

ทดสอบตลาด ให้ได้ผลมาพัฒนาต้นแบบสินค้าให้ชุมชนภายใต้ตราสินค้า ของชุมชนบ้านหาดเสี้ยว จังหวัด
สุโขทัย หากผลสำรวจเป็นที่น่าพอใจก็จะทำให้มีแนวทางในการสร้างแบรนด์ใหม่ให้กับชุมชนต่อไป การเพ่ิม
ความหลากหลายของสินค้า การสร้างให้เกิดการรับรู้ต่อลวดลายจกท่ีเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมในมุมมองใหม่ เพ่ือการ
ตอบรับของกลุ่มลูกค้าใหม่ ๆ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้กับชุมชน และเป็นการเปิดโอกาสให้ชุมชนได้นำเสนอ
ภูมิปัญญาและเรื่องราวของชุมชนในวงกว้างมากข้ึน อันจะเป็นการช่วยให้ชุมชนมีรายได้มากข้ึนและเติบโตอย่าง
ยง่ั ยนื

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 91

เอกสารอา้ งองิ (References)

กมลศริ ิ วงศห์ มึก (2563). การพฒั นาผลิตภัณฑ์สินคา้ แฟช่ันไลฟ์สไตล์ สไตล์มินมิ อลจากผา้ ทอนำ้ มอญ จังหวดั
ลำปาง. สบื ค้นจาก http://finearts.pn.psu.ac.th/4uplus/files/Creative%20Article2.pdf

พณ. กระตุ้นผูป้ ระกอบการสนิ คา้ ไลฟส์ ไตล์ ดงึ แบรนดต์ ่างกลุ่มธรุ กจิ จบั คู่เพิ่มมลู คา่ ส่งออก. สยามรฐั ออนไลน.์
สืบคน้ จาก https://siamrath.co.th/n/183293

ผ้าหาดเสีย้ ว ผ้าตีนจก ของดีศรีสชั นาลยั . SACCICT LIBRARY สบื ค้นจาก
https://www.facebook.com/1614635132133388/posts/2157905744472988/

สพุ ัฒตรา หบี แก้ว. หลักการจัดองค์ประกอบศลิ ป์. สบื ค้นจาก https://pickguitar.kut.ac.th/ศลปะ-ม-3/
หนวยการเรยนรท-1/หลกการจดองคประกอบศลป

DITP คอนเฟิร์ม ทัว่ โลกขานรับงาน STYLE Bangkok Telematching in LOVE 2020 แนะผู้ผลติ – ส่งออก
ไทยเตรียมพรอ้ มสรา้ งโอกาสการค้า ส่งสนิ ค้าแฟช่นั – ไลฟ์สไตล์บกุ ตลาดโลก. สำนกั ข่าวห้นุ อินไซด์.
สบื คน้ จาก https://www.hooninside.com/news-feed/175729/view/

Elinor R., Colin R. (2009). Basics Fashion Design 04 Developing A Collection. An AVA Book.
(p.10). Lausanne. AVA Publishing SA.

KAMONSIRI WONGMUEK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 92

KEETA ISRAN (THAI)
Body

Monoprint print and Drawing on Fabric , 82 x 53.5 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

BODY
เรอื นรา่ ง

คีตต์ า อิสรนั่ *

KEETA ISRAN**

สาขาออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี 94000***

[email protected]

บทคัดยอ่

ฝุ่นดำและเขม่าควันที่เกิดจากการลงน้ำหนักบนกระดาษขาว พ้ืนท่ีว่างและเส้นใยที่ต่อเนื่องเรียงราย
เป็นจังหวะด้วยวัสดุจากเทคนิคภาพพิมพ์ผสม ในชุดผลงาน “เรือนร่าง” ภาพสะท้อนของวัสดุผ้าตาข่าย แผ่น
ซับร่องรอยบาดแผลจากความงามและร่างกายอันงดงาม ท่ีก่อตัวข้ึนจากความรักความผูกพันระหว่างข้าพเจ้า
และลูกสาวคนที่สอง การนำวัสดุและเทคนคิ งานวาดเส้นมาผสมผสานกับงานภาพิมพ์ผสม การบันทกึ ช่วงเวลา
และความทรงจำ การสร้างพ้ืนผิวและร่องรอยของน้ำหนัก ขาวเทาดำ การแทนค่าเรื่องราวในสภาวะการ
กำหนดลมหายใจ การกำหนดร่างกายในสัดส่วนของโครงสร้างกายวิภาคหลังจากผ่านการผ่าตัดหน้าท้อง ทุกลม
หายใจเข้าออกความเจบ็ ปวดท่ีไม่อาจปิดก้ันความงามภายใต้รอยของบาดแผลท่ีถกู ซ่อนบนเรืองร่างของตนเอง

คำสำคญั : เรือนรา่ ง ความงามของร่างกายมนุษย์ ภาพภายนอกบนเรอื นรา่ งทีง่ ดงามของผ้หู ญงิ ในสัดสว่ นและกายวิภาคของ
โครงสร้างมนษุ ย์
บาดแผล รอ่ งรอยของความงาม รอยแผลการผ่าตดั หนา้ ท้อง ความเจ็บปวดจากสภาวะการใหก้ ำเนิดบตุ รสาว

Abstract

Black dust and soot produced by weighting on white paper, blank spaces and
continuous fibers lined in rhythm with mixed printmaking materials in the "Body" series,
reflections of mesh material. Absorbent pads trace the wounds of beauty and a beautiful
body. That was formed from a loving bond between me and the second daughter
Combining materials and line drawing techniques with mixed prints Recording moments and
memories Creating textures and traces of white, gray, black weight, story representation in
breath-defining conditions. Determination of the body in the proportions of anatomical

*ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์
**Assistant Professor
*** Faculty of Fine and Applied Arts, Prince of Songkla University, Pattani Campus, Pattani, Thailand.

KEETA ISRAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 95

structures after abdominal surgery. With every breath in and out, the pain that cannot be
blocked from the beauty that lies beneath the scars of the wounds hidden on his own body

Keywords: Body beauty of human body Outside image on the beautiful body of a woman. In the
proportions and anatomy of human structures.

Wounds, traces of beauty Abdominal surgery incision. The pain of the state of giving birth to a
daughter.

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)

ผลงานการสร้างสรรค์ ชุด “เรือนรา่ ง” ความสัมผัสแห่งสัญญะการให้กำเนิด ของมนษุ ย์ ความงามใน
อุดมคติภายในจิตใจ และประสบการณ์รบั รู้ การตระหนักถงึ คุณค่าความงามและความกลมกลืนของสิ่งมีชวี ิตท่ี
และธรรมชาติ แท้จริงเสมือนความงามที่บริสุทธิ์ การสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบงานงานภาพพิมพ์วัสดุผสม
การนำสัญลกั ษณ์ร่องรอยทป่ี รากฏหลังร่องรอยของบาดแผล การกดทบั ของร่างกายจากสภาวะภายในเรือนรา่ ง
และความงามของสตรีเพศ

การก่อร่างสร้างชีวิตมนุษย์การให้กำเนิด “เธอให้มีความเท่าเทียมกับบุรุษเพศในความเป็นมนุษย์
เช่นเดียวกับที่เธอมีความเท่าเทียมกันในการได้รับภาคผลบุญหรือบทลงโทษต่อการประพฤติปฏิบัติ ผู้ใด
ปฏิบัติความดี ไม่ว่าจะเป็นผู้ชายหรือผู้หญิงก็ตาม ในขณะที่เขาเป็นผู้ศรัทธา ดังนั้นเราจะให้เขามีชีวิตที่ดี
และแน่นอนเราจะตอบแทนพวกเขาด้วยรางวัลที่ดียิ่งสำหรับภาคผลของการท่ีพวกเขาได้เคยปฏิบัติไว้”

จากเอกภาพในรูปธรรมสู่นามธรรมจากตัวตนของข้าพเจ้า สู่กระบวนการการสร้างสรรค์ผลงานใน
รูปแบบงานภาพพิมพ์วัสดุผสม เทคนิคโมโนปริ้น ภาพพิมพ์วัสดุจากรอยผืนผ้าแห่งความงามบนเรือนร่างที่
ปรากฏลงบนพ้ืนขาวบรสิ ทุ ธ์ิ ที่เช่อื มโยงถึงความรักและความผูกพันอันเปน็ สาระทางความงามสู่ความรู้สึก จาก
ความประสานกลมกลืนในชดุ ผลงาน

2. แนวคิด / ทฤษฎที ่ีเก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)
การเปลี่ยนแปลง คือ การก้าวสู่จุดหมายปลายทาง จากแนวคิดนี้มีพ้ืนฐานจากแนวคิดที่อธิบายความ

เป็นจริง ว่าเป็นจิต/อุดมคติ (จิตนิยม/อุดมการณ์นิยม) มีหลักการพ้ืนฐานว่าทุกส่ิงมีจุดหมายปลายทาง การ
เปล่ียนแปลง เป็นปรากฏการณ์ที่พัฒนาสู่จุดหมายปลายทาง ทุกส่ิงมีจุดหมายปลายทาง ไม่มีอะไรเกิดขึ้นมา
ลอย ๆ หรือเกิดโดยบังเอิญ แต่มีจุดเร่ิมต้นและจุดหมายปลายทาง เช่น พระเจ้า หรือ ความเป็นจริงสูงสุด
ศาสนาของการกระทำที่ถูกต้อง ความคิดที่ถูกต้องและการพูดจาที่ถูกต้อง ซ่ึงเกิดขึ้นจากความรักและความ
ศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า ดังน้ันการศรัทธา คือ การยอมรับหรือการเช่ือม่ันด้วยจิตใจ กล่าวด้วยวาจาพร้อม
ปฏิบัติ การศรทั ธาของมนษุ ย์

สวรรค์อยู่ใต้ฝ่าเท้ามารดา คือ ผลตอบแทนท่ีเป็นสวรรค์นนั้ เกี่ยวข้องกับการทำดีตอ่ ผู้เป็นแม่ ด้วยการ
ทำให้แม่พอใจ เสมือนกับว่าแม่น้ันเป็นเจ้าของสวรรค์ การทำดีกับพ่อแม่ เป็นภาระหน้าที่สำคัญรองลงมาจาก
การศรัทธาและอิบาดะฮฺ ในขณะที่ความสำคัญของแม่เพียงผู้เดียวก็เป็นที่เด่นชัดและถูกกำชับมากขึ้นอีก
เพราะอัลลอฮฺได้สั่งให้ทำดีกับพ่อแม่ และได้เจาะจงพูดถึงแม่ด้วยการอธิบายถึงความยากลำบาก และความ
เหนื่อยยากในการอุ้มทอ้ ง "และเราได้ส่ังมนุษยใ์ ห้ทำดีกับพ่อแม่ของเขา มารดาของเขาได้อุ้มท้องเขาด้วยความ
เหน่ือยยาก และได้คลอดเขาด้วยความเจ็บปวด ทั้งอุ้มครรภ์และให้นมในเวลาสามสิบเดือน" อิสลามได้ให้

KEETA ISRAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 96

ความหมายกับสถานะผู้เป็นแม่ไว้สูงเพียงใด อัลลอฮฺเท่าน้ัน ท่ีทรงสร้างทุกสรรพส่ิงด้วยความลำเลิศ และอัลลอฮฺ
เท่านัน้ ที่ทรงกำหนดทุกสิ่งทุกอย่างด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง ในความศรัทธาท่ีแทจ้ ริง

การสร้างสรรค์ท่ีผ่านกระบวนการทางความคิด และดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอน สามารถ
วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อให้สามารถมองเห็นพัฒนาการด้านต่าง ๆ ท้ังในด้านแนวความคิด กระบวนการ
สร้างสรรค์ และการใช้สัญลักษณ์ผ่านรูปทรง จุด เส้น สี น้ำหนัก ในลักษณะของวัสดุที่เป็นนามธรรม ที่
ประกอบกันอย่างสมบูรณ์ลงตัว การทุ่มเทแรงกายแรงใจในการสร้างสรรค์เพ่ือให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตรงตาม
วตั ถปุ ระสงคท์ ่ตี ั้งใจไวอ้ ยา่ งบริสุทธ์ิ

ขา้ พเจ้าสร้างขึ้นเพื่อความเช่ือและความศรัทธา ในหลักปฏิบัติและหลักคำสอนในศาสนาอิสลาม ว่าผลงาน
ศิลปะที่ได้สร้างสรรค์ข้ึนด้วยพ้ืนฐานของความจริง จะเป็นหน่ึงในการกระตุ้นกระบวนการรับรู้ทางสุนทรียะ ความ
งาม ความทีแ่ ท้จริง ที่มนุษย์ควรสำนึกและตระหนักรู้อย่างถ่องแท้

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
การเปล่ียนแปลงรูปแบบของรูปทรงนามธรรม โครงสร้างองค์ประกอบการวางตำแหน่งสัดส่วน

การศกึ ษา ความสมดุล เอกภาพทางศิลปะและความกลมกลนื ของกระบวนการสรา้ งสรรค์ท่ีเช่อื มโยงกับเทคนิค
วิธีการ ในกระบวนการทำงาน ประกอบกับในหลักการทางศิลปะ การจัดวางองค์ประกอบระหว่างรูปทรง
เน้ือหา กระบวนการในการถ่ายทอดให้เกิดความสัมพันธ์ ของรูปทรงกับพ้ืนท่ีวา่ ง ทั้งเน้ือหา, กระบวนการวาด
เส้น ผสมภาพพมิ พ์ พืน้ ฐานของรูปแบบเทคนคิ ในการสร้างสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมวสั ดผุ สม

1. จัดทำแบบร่าง ภาพบันทึก รูปทรงหลักในการสร้างสรรค์ ชุด เรือนร่าง ซึ่งในส่วนของแต่ละ
กระบวนการข้นั ตอนของการวาดเส้นและภาพพิมพผ์ สม เพือ่ นำเสนอผลงานในรูปแบบงานจิตรกรรมผสม ภาพ
พิมพ์ (MONOPRINT) เพ่ือนำกระบวนการสร้างสรรค์ในขั้นต้น สู่การแนะนำ และกระบวนการวิเคราะห์ เพ่ือ
แกไ้ ขปัญหาพร้อมทั้งการพัฒนาแบบร่างตามลำดับจนสมบูรณ์

2. รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าวัสดุและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ในแต่ละกระบวนการ เพื่อจัดเตรียมในการ
สรา้ งสรรค์ผลงาน ตามความถนดั และเทคนิควธิ ีการในงานสรา้ งสรรค์

3. จัดการแบบแผนและประมวลความคิด การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมา เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ปฏิบตั งิ านจริง ตามลำดบั ขั้นตอน

4. คัดสรรวัสดุอุปกรณ์ท่ีตรงตามกับอารมณ์ความรู้สึก ที่ต้องการถ่ายทอดแทนความหมาย และ
สัญลักษณ์ในการแทนค่าของวัสดุ ตามรูปแบบของหลักการจัดวางองค์ประกอบศิลป์ ให้มีความสัมพันธ์กัน
ระหวา่ งกระบวนการและเนือ้ หา

5. คัดเลือกแบบภาพร่างของผลงาน จิตรกรรมวัสดผุ สมภาพพิมพ์(MONOPRINT) และลงมือปฏิบัตทิ ำ
การสร้างสรรค์ผลงานและขยายผลงานจริง ในรูปแบบของการจัดวางรูปทรง ตำแหน่งและสัดส่วนของ
โครงสร้างตามท่ไี ด้กำหนดไว้ ในผลงานชุด เรอื นร่าง

6. นำรูปแบบกระบวนการ กรรมวิธี ในการทดลองผลงานสร้างสรรค์ และเริ่มขั้นตอนการสร้างสรรค์
ผลงานจริง ทั้งเทคนิคและรูปแบบงานศิลปะนามธรรม ผสมผสานวัสดุงานภาพพิมพ์ อันเป็นแนวทาง
ลักษณะเฉพาะตน

7. วิเคราะห์ผลงาน พร้อมท้ังแก้ไขปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์และลงตัวมากย่ิงขึ้น และนำมาพัฒนา
ผลงานในกระบวนการขนั้ ตอนต่อไป เพ่อื นำเสนอและติดต้งั ผลงาน ตามรูปแบบของการจัดวางในนทิ รรศการ

KEETA ISRAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 97

ผลงานสร้างสรรค์

ภาพที่ 1 ผสู้ รา้ งสรรค์ คตี ต์ า อิสรนั่ ช่อื ผลงาน เรอื นรา่ ง 1“Body”เทคนคิ จติ รกรรมวสั ดุผสมภาพพมิ พ์ (MONOPRINT)
ขนาด 82x53.5 Cm. ปีทีผ่ ลติ 2564

ภาพท่ี 2 ผ้สู ร้างสรรค์ คตี ต์ า อิสรน่ั ชือ่ ผลงาน เรือนร่าง 2 “Body”เทคนคิ จติ รกรรมวสั ดผุ สมภาพพมิ พ์ (MONOPRINT)
ขนาด 82x53.5 Cm. ปีที่ผลิต 2564

KEETA ISRAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 98

4. การวิเคราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
ทศั นธาตทุ ใ่ี ช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน
1.รปู ทรง เป็นส่วนประกอบสำคัญท่ีสุดอย่างหนง่ึ ซ่งึ มาจากภาพ สัญลักษณใ์ นรูปแบบนามธรรม การ

ใชล้ ักษณะรูปทรงอิสระ ในการประกอบรูปทรง โดยกำหนดขนาดสัดส่วนในตำแหน่ง ตามความสำคัญของสิง่ ท่ี
ต้องการสื่อความหมาย รปู ทรงขนาดใหญ่จะมีความสำคญั มากที่สุด และมักวางอยู่ตรงกลางภาพ เกดิ พ้ืนท่ีว่าง
สองนัยโดยรอบ มกี ารประกอบเปน็ เรอื่ งราวท่สี มั พนั ธก์ ันอยา่ งกลมกลืน

ภาพท่ี 2 การวเิ คราะห์ ภาพร่างรปู ทรงของผลงาน และลงมือปฏบิ ตั ทิ ำการสรา้ งสรรคผ์ ลงานจรงิ
ในการขยายโครงสรา้ งตามสดั สว่ นทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ ระหว่างน้ำหนัก พ้ืนทวี่ ่างและพ้นื ผิวจากวสั ดุ

2. เส้น เป็นทัศนธาตุสำคัญที่สร้างความกลมกลืน ให้ตัวรูปทรงมีความเด่นชัดมากข้ึน และเป็น
ตัวกำหนดเนื้อหาของงานให้มีเอกภาพ การใช้เส้นโดยวิธีการของเทคนิคภาพพิมพ์ Monoprint การแทนด้วย
วสั ดุ ผ้า เกิดการเคล่อื นตวั ของเสน้ ในระนาบและแนวนอน ใหค้ วามรสู้ กึ ที่น่งิ สงบและลืน่ ไหลไปตามความรู้สกึ

ภาพที่ 4 การวิเคราะห์ ลักษณะของเสน้ แนวราบ แนวดิ่ง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรปู ทรง เส้น และพ้นื ทีว่ ่าง
ก่อนขยายโครงสร้างตามสดั ส่วนทไี่ ด้กำหนดไว้

3. ท่ีว่าง พื้นที่ว่างท่ีมีอยู่ในชิ้นผลงาน ทำให้เกิดพลังความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องกับรูปทรงของแต่
ละรูปทรง และสร้างความประสานกลมกลืนของตัวผลงาน ส่วนพื้นที่ว่างสำหรับการนำชิ้นผลงานมานำเสนอ
อย่างเรียบง่าย เข้าถึงในความรู้สึกของตัวตน เพราะพื้นท่ีเป็นตัวกำหนดตำแหน่งของตัวผลงาน โดยอาศัยการ

KEETA ISRAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 99

ทำงานของพื้นท่ีว่าง ซ่ึงมีผลต่อการรับรู้ การมองเห็น การสัมผัสอย่างลึกซึ้งกับตัวผลงาน เม่ือมีความ
เคล่ือนไหวเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเคล่ือนไหวของวัตถุ ร่างกาย จิตใจ หรือสายตาก็ตาม จะมีเร่ืองของ
กาลเวลาเข้ามาเกย่ี วข้องด้วยทันที

ภาพท่ี 5 พน้ื ทีว่ า่ งและความเคลอ่ื นไหว ที่ตอ้ งอาศยั ความสมั พันธ์ท้ังพนื้ ทีว่ ่าง (space) และทวี่ า่ ง (Time)
ความเคลื่อนไหวหรือเวลา

5. สรุป (Conclusion)
เรือนร่างและร่องรอยในห้วงแห่งกาลเวลา และสังขารของมนุษย์คือความงาม ท่ีซ่อนอยู่ภายใต้

บาดแผลและปมของความรู้สึก ส่ิงท่ีเปราะบางภายใต้สภาวะความเจ็บปวดจากเปลือกนอก เส้นบางที่ขีดกั้น
พื้นที่ และความว่างเปล่า เชื่อมความรักและความผูกพันก่อร่างสร้าง ความสัมพันธ์ของมนุษย์ ระหว่างแม่และ
ลกู สาวของขา้ พเจา้ เป็นการสร้างสรรคท์ ี่ผ่านกระบวนการทางความคิด และดำเนินการอย่างเปน็ ลำดับข้นั ตอน
สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อให้สามารถมองเห็นพัฒนาการด้านต่าง ๆ ท้ังในด้านแนวความคิด
กระบวนการสร้างสรรค์ และการใชส้ ัญลกั ษณ์ผ่านรูปทรง เส้น สี พื้นทว่ี ่าง ในลักษณะของวัสดุทเี่ ป็นนามธรรม
ทปี่ ระกอบกันอย่างสมบรู ณ์

6. เอกสารอา้ งองิ (References)
ชลูด นม่ิ เสมอ. (2531). องค์ประกอบของศิลปะ. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ .
อิทธพิ ล ตั้งโฉลก. (2550). แนวทางการสอนและการสร้างสรรค์จติ รกรรมขั้นสงู . กรุงเทพฯ: อัมรินทรพ์ รน้ิ ติ้ง

แอนด์พับลิชชง่ิ .

KEETA ISRAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 100

KETHATHAI SINGIN (THAI)
PPE RED CROSS youth unifrom
Digital Printing and Sewing techniques, 150 x 150 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

PPE SCHOOL UNIFORM AND PPE RED CROSS YOUTH UNIFORM
ชุดนักเรยี น PPE และชดุ ยุวกาชาด PPE

เกษหทัย สิงห์อนิ ทร์*
KETHATHAI SINGIN**

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน อ.คลองหลวง ปทมุ ธานี 12120***
[email protected]

บทคัดยอ่

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ทุกคนจำเป็นต้องรักษาระยะห่าง
ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน โรงเรียนเป็นสถานท่ีเสี่ยงสูงเนื่องจากเด็ก ๆ ไม่สามารถดูแลตัวเองหรือ
รักษาระยะห่างได้เท่ากับผู้ใหญ่ การเรียนออนไลน์โดยเฉพาะอย่างย่ิงในวิชาท่ีต้องฝึกทักษะหรือทำกิจกรรม
รว่ มกนั อยา่ งเช่นลกู เสือหรอื ยุวกาชาด คงไมส่ นุกเท่าการได้เรยี นกบั เพือ่ น ๆ ชดุ นักเรียน PPE และชุดยวุ กาชาด
PPE สอื่ ถึงความห่วงใยป้องกันให้ทกุ คนใกล้กนั ได้มากขึ้นอย่างปลอดภยั มากท่ีสุด

คำสำคัญ: ชุดPPE / ชุดนักเรยี น / ชุดยวุ กาชาด / โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา / โควิด 19

Abstract

The outbreak of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) has caused everyone to keep their distance and
affected their daily living. Schools are at high risk as children are unable to take care of themselves or keep a
distance as adults. For children, online learning would not be as fun as learning with friends although they cannot
play or are in close contact they can meet together. PPE school uniform and PPE Red Cross Youth uniform
represents concern and protects everyone so they can get closer most safely.

Keywords: PPE / school uniform / Red Cross Youth uniform / Coronavirus Disease / COVID-19

*ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.
**Assistant Professor Ph.D.
*** Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University, Pathumthani, Thailand.

KETHATHAI SINGIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 103

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)
การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง โรงเรียนต้องปิด

ชั่วคราว ปรับการเรียนการสอนทางออนไลน์แทน ซ่ึงประสิทธิภาพอาจไม่เทียบเท่ากับการสอนในห้องเรียน ทำให้
การเรยี นรู้ของเด็กอาจดอ้ ยไปจากหลาย ๆ ปัจจยั การจดั การเรียน ต้องทำแบบยดื หยุ่น มีทกั ษะความร้ใู หม่ ๆ
จัดการศึกษาภายใต้สถานการณ์การศึกษาใหม่ ควรให้ความสำคัญกับการลดช่องว่างการเรียนรู้ (ไทยรัฐออนไลน์,
2563)

อยา่ งไรก็ตามโรงเรยี นเป็นสถานท่ีเสย่ี งสูง กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ มคี ำแนะนำเมื่อยังไม่
มีการระบาดในสถานศึกษา คือการให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ สอนอบรมการล้างมือท่ีถูกวิธีและการสวม
หน้ากากอนามัย ส่งเสริมให้นักเรียนมีของใช้ส่วนตัวท่ีจำเป็น จดั ให้มีอุปกรณ์สำหรับการล้างมือหรอื จัดเตรียม
แอลกอฮอล์เจลอย่างเพียงพอ จัดสถานท่ีและทำสัญลักษณ์เพ่ือเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เช่น การเข้าแถว
การจัดที่นั่งเรียน การจัดที่น่ังรับประทานอาหาร ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางกายภาพ (Physical
Distancing) (กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ , 2563)

2. แนวคดิ / ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)
ถึงแม้มีมาตรการเว้นระยะห่างทางกายภาพ (Physical Distancing) แต่แท้จริงแล้วเด็ก ๆ ไม่สามารถ

ดูแลตัวเองหรือรักษาระยะห่างได้เท่ากับผู้ใหญ่ แนวคิดหลักการออกแบบโครงสร้างพื้นฐาน (Structure
design )จึงอ้างอิงจากชุด PPE สำหรับสวมใส่ป้องกันตนเองจากการติดเชอ้ื จากฝอยละอองและการสัมผัส โดย
มีต้นแบบจากชุดนักเรียนหญิงและชุดยุวกาชาดเพื่อการส่ือสาร (Art as Communication) ถึงการปกป้อง
ความหว่ งใย ความสำคญั ในการดแู ลป้องกัน ให้มคี วามปลอดภยั มากทส่ี ุด

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
ศึกษาชุด PPE ประเภทต่าง ๆ คัดเลือกแบบแพทเทิร์น เนื่องจากต้นแบบเป็นชุดนักเรียนหญิงจึงทำการ

ปรับแพทเทิร์นจากชุดกางเกงเปน็ ชดุ กระโปรงยาว มีฮูด้ สวมศีรษะตามแบบชุด PPE

ภาพที่ 1 เลือกแบบแพทเทริ ์นชุด PPE ปรับแพทเทิร์นจากชดุ กางเกงเปน็ ชดุ กระโปรงติดกนั

KETHATHAI SINGIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 104

ถ่ายภาพชุดนักเรียนหญิงและชุดยุวกาชาดนักเรียนช้ันประถมปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลราชบุรี
ประกอบดว้ ย เส้อื กระโปรง ทัง้ ดา้ นหน้า ดา้ นหลงั วัดและบนั ทกึ ขนาด

ภาพท่ี 2 ชดุ นักเรยี นหญงิ และชดุ ยวุ กาชาด ประกอบดว้ ย เส้ือ กระโปรง ท้ังด้านหนา้ ดา้ นหลงั

ภาพที่ 3 ทำการถา่ ยภาพรายละเอียดตา่ ง ๆ เช่น ชือ่ นามสกลุ หรือปา้ ยสญั ลกั ษณ์

จัดวางรูปด้านและส่วนประกอบต่าง ๆ ของชุดนักเรียนหญิงและชุดยุวกาชาดลงบนแพทเทิร์น จัดวาง
เสอ้ื ให้ทบั ซ้อนบนกระโปรงแบบเดยี วกบั การสวมใสจ่ รงิ ดว้ ยโปรแกรม Photoshop

KETHATHAI SINGIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 105

ภาพที่ 4 วางรปู ดา้ นของชุดนกั เรยี นหญิงและชดุ ยวุ กาชาดลงบนแพทเทิร์น ด้วยโปรแกรม Photoshop

ภาพที่ 5 พิมพ์ช้นิ งานด้วยเทคนคิ ดจิ ติ อล

KETHATHAI SINGIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 106

ภาพท่ี 6 ตดั เยบ็ ประกอบเป็นชดุ ยาว

KETHATHAI SINGIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 107

4. การวเิ คราะห์ผลงาน (Results Analysis)

ภาพท่ี 7 ผลงานสรา้ งสรรค์ชิ้นที่ 1 ชดุ นักเรยี น PPE ท่ีมา: ญาณวทิ ย์ วฒั นสิน

ภาพท่ี 8 ผลงานสร้างสรรค์ชน้ิ ท่ี 2 ชุดยวุ กาชาด PPE ท่มี า: ญาณวทิ ย์ วฒั นสนิ

การออกแบบเส้นกรอบนอกและโครงสร้างพ้ืนฐานของผลงานอ้างอิงจากชุด PPE การวัดตัวของ
ต้นแบบจะมีความแตกต่างจากการวัดตัวเพ่ือทำแพทเทิร์นสำหรับตัดเย็บเส้ือผ้าตามปกติ โดยจะต้องวัดขณะ
สวมชุดนักเรียนและชุดยุวกาชาดเพ่ือหาระยะสำหรับจัดวางรูปด้านและการทับซ้อนกันของเสื้อและกระโปรง

KETHATHAI SINGIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 108

เพ่ือความสมจริงลงบนแพทเทิร์นชุด PPE ด้วยโปรแกรม Photoshop รูปทรงช้ินงานเป็นทรงตรงยาว การจัดวาง
รูปด้านและส่วนประกอบต่าง ๆ ของชุดนักเรียนหญิงและชุดยุวกาชาดลงบนแพทเทิร์นต้องปรับแต่งขนาด
สัดส่วนตา่ ง ๆ ให้สมั พนั ธก์ ัน การพิมพ์ดว้ ยระบบดจิ ิตอล CMYK พบว่าช้ินงานมีคา่ สีเข้มกว่างานออกแบบและ
แพทเทิร์นของส่วนแขนเมื่อพิมพ์แล้วมีขนาดเล็ก จึงขยายขนาดและแก้ไขงานพิมพ์ ประเภทของผ้าท่ีเลือก
พิมพ์เป็นผ้าร่ม มีผิวสัมผัสแข็งและหนากว่าชุด PPE เล็กน้อย แต่มีน้ำหนักเบาและสามารถกันละอองน้ำหรือ
ของเหลวไดใ้ กล้เคยี งกับชุด PPE

5. สรปุ (Conclusion)
ผลงานสร้างสรรค์ช้ินที่ 1 ชุดนักเรียน PPE และผลงานสร้างสรรคช์ ้ินท่ี 2 ชุดยุวกาชาด PPE สามารถ

ส่ือสารถึงความสำคัญในการดูแลป้องกันและการเว้นระยะห่างทางกายภาพท่ามกลางการระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั้งยังสามารถเป็นต้นแบบในการพัฒนาเพ่ือออกแบบชุดป้องกันจริง ๆ
สำหรับเด็กได้ในหลายระดับตั้งแต่ชุดกันฝนจนถึงชุด PPE โดยการเลือกวัสดุท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม การตัดเย็บ
ประกอบชิ้นงานทีม่ ีคณุ ภาพและรปู แบบสีสันท่ดี ึงดูดใจเดก็ แตล่ ะชว่ งวยั

เอกสารอา้ งองิ (References)

โควิด รุกรานการศึกษา ปิดโรงเรียน 2 รอบ 90 วัน ฉุดการเรียนรู้เด็ก ถดถอยหนัก. (2021, January 29).
www.thairath.co.th. https://www.thairath.co.th/scoop/theissue/2022537

ระบบสารสนเทศทางแฟช่ัน: การออกแบบแฟชั่น. (n.d.). ระบบสารสนเทศทางแฟช่ัน. Retrieved May 25,
2021, from http://gingkoy.blogspot.com/p/blog-page_12.html

โร ค ติ ด เช้ื อ ไว รั ส โค โร น า ส า ย พั น ธ์ุ ให ม่ 2019. (n.d.). Retrieved May 25, 2021, from https://
ddc.moph.go.th/viralpneumonia/int_academy.php

Gowns and Protective Suits. (n.d.). Get Us PPE. Retrieved May 25, 2021, from https://
getusppe.org/makers/gowns/

LIN ZHU (CHINA)
Globalization or deglobalization: Innovative poster design under

the background of multicultural integration
Brushes, rice paper, Chinese ink paints, electronic software

IIustrator and photoshop, 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

GLOBALIZATION OR DEGLOBALIZATION: INNOVATIVE POSTER DESIGN
UNDER THE BACKGROUND OF MULTICULTURAL INTEGRATION

LIN ZHU*

CIBA มหาวิทยาลัยธรุ กิจบณั ฑติ ย์ 110/1-4 ถนนประชาชน่ื แขวงท่งุ สองหอ้ งเขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210**
[email protected]

Abstract

At present, the global shutdown caused by the covid-19 epidemic has caused some
countries and populations to reverse the process of globalization. That is, the
deglobalization of the economy, the uni-polarization of culture are always occurred.
However, according to the author’s thinking, globalization and multi-polarization are
irreversible trends and illustrate through actual innovative design cases. Hope to provide
references for everyone through this kind of works and prove that globalization and multi-
polarization are the correct development direction. Since posters are an art of information
transmission and a popular propaganda tools, the author wants to use poster design to
express my creative theme. In the process of creating this work, the author first considered
the design elements of the poster and used the principles of plane composition in Western
design theory. To design the concept of "harmony with difference" by use the composition
of lines. The design of traditional Chinese New Year paintings with Western lines is used to
express the integration and exchange of Chinese and Western culture. In the end, the author
hopes this poster design can express an idea: It is an inevitable demand for the
development of the world's multiculturalism to adopt a fusionist attitude towards the study
and application of culture. Confucius in the East has a view of "moderation", and Aristotle in
the West also has a view of "the golden mean", and even the content is the same, so the
national is the world.

Keywords: Poster design, Cultural diversity, Chinese and Western cultures, Harmonious with different

*Lecture Dr.
**CIBA, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

LIN ZHU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 111

1. The Importance or Problem’s Background

The importance of this creative work comes from the background of the covid-19
epidemic. Because of the covid-19 epidemic, various countries and individuals have seen new
situations such as "distance", "exclusion","uni-polarization", and "deglobalization" that are
different from the previous ones. But from the perspective of previous history:
"Globalization", "Integration", and diversification are the major trends in human development.
It can be said that it is not globalization that caused the covid-19 epidemic. On the contrary,
it is because human society and economy are not connected enough, and culture and
customs are not integrated enough that the covid-19 epidemic is raging. The author just
wants to use the design description and display of this creative work. Only by making full
use of the respective advantages of Chinese and Western cultures and integrating them can
we create better works. The design works that are both beautiful and integrated are finally
obtained. The author wants to use the poster design to express the beauty of the
integration of Chinese and Western cultural design. For other aspects, which including but
not limited like technology, economy, and culture, have similar situation.

2. Concepts/ Related Theories

Posters are an art of information transmission, and posters are also called posters. It
is a large painting posted on a street wall and hung in a shop window, attracting the
attention of passersby with its eye-catching pictures. As the basis of design, plane
composition has been widely used in industrial design, architectural design, graphic design,
fashion design, stage art, visual transmission, and other fields. The composition of points,
lines, and surfaces are the design rules and methods of plane composition theory, which is a
Western design form. Overall, western lines composed of geometric figures eventually
formed graphic designs and posters. Correspondingly, Oriental New Year pictures are one of
the most representative forms of artistic expression in China. Therefore, both the Western
line constructivism and the Eastern line drawing are using the minimalist design element
language of "line" to describe the characteristics of things and scenery and reflect the
designer's emotions. This is the common ground, cultural blending, and commonality.

Comparison Superior Perform Composing form Type Tools Suit for

Western Lines Plane Combination Straight Pencil with ruler Frame
Eastern Lines Contents
form Individual play Curve Brush pen

Table 1 Comparison between western and eastern line

(Source: The author's own analysis, 2021)

LIN ZHU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 112

3. Creative Process
In the process of creating this poster design, the author first conducted an in-depth

study of Chinese and Western line design and found out their commonalities and
differences. Starting from the common point (both using lines), analyze the differences
between the two at the same time and use them. In the West, the lines used in the plane
composition are all composed of geometric figures, but the Eastern lines are more
composed by the technique of line drawing. Therefore, the work presents a form of
expression with Western lines as the framework and Eastern lines as the content. When
designing western lines, I chose the main elements of the line composition design of the
plane composition theory in the Western design theory, and first used the Illustrator
software to draw the repetitive line composition in the western plane composition. Then
choose the white-drawing technique of Chinese New Year pictures in Eastern painting as the
content design. First, outline the outline of the door god through the traditional Chinese
painting technique of line drawing, optimize the proportion according to the external
structure, then use the traditional Chinese watercolor technique for coloring, and finally
digitally scan the finished product.

Figure 1 harmony in diversity- Innovative poster design
(Source: The author's own creative work, 2021)

LIN ZHU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 113

4. Results Analysis

In order to better carry out innovative designs, the author especially analyzed the
composition of Chinese and Western lines: The use of lines in the composition of the
Western plane is to express the block surface of the object, to achieve the sense of space
and three-dimensional modeling pursued by Western paintings, and the purpose of faithful
objective objects. Bound by objective images, this line is rigid, rigid, and lacks change. Lines
are used in Chinese painting to shape the shape, expressing structure, texture, and three-
dimensionality. In terms of overall analysis, the author designed this creative work to
combine the drawing methods of the Chinese and Western lines and analyze it by color: the
main color of the line is black and white, which highlights the minimalist color black and
white in the Western plane composition theory. The background color yellow represents
Western culture, and red represents Chinese Eastern culture. The auxiliary color adopts
bright yellow, mainly used to highlight key words. And about graphics design using the
composition of lines to repeat the design, design a square, and then the graphic in the
middle of the square is designed as a scroll New Year picture, which together form a large

font "中", and four small fonts "harmony with different". In addition, in terms of text, we are
adhering to the design concept of not as shown in the figure and try to minimize the text. At
the same time, the style content of short Chinese idioms is used to highlight the meaning of
the entire poster. The fully expressed poster wants to tell the meaning: the central idea of
harmonious world, common beauty, harmony with difference, pluralism, and cross-cultural
communication.

Western Repetition Similar Gradual Variation Contrast Buildup Emission Division Texture Parablepsia
line String change Leech Nail head Mouse tail Olive Earthworm
Ancient Mixed trade Wooden
Eastern hairspring Floating Peg head
line Cloud

Table 2 Comparison between western and eastern line in techniques view
(Source: The author search from website, 2021)

5. Conclusion

The author analyzes and compares the western composition lines with the eastern
outline lines and finds specific practice then find out: Western lines emphasize appearance,
reproduction, and rationality. But eastern lines are emphasizing emotion, spirituality, and
artistic conception. Western lines show a variety of effects through a single line through a
variety of changes. Eastern lines directly show an ever-changing and endless posture using a
single line. The most important thing is that the western lines play the role of the boundary
shape, which is a kind of auxiliary and foil to the subject; while the eastern lines not only

LIN ZHU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 114

use lines to define the shape, but also express different feelings, subjective thoughts,
interest, and charm in different painting forms. n this special period, the importance of this
article is highlighted: For human society to continue to develop sustainably and healthily, it
is necessary for each region and culture to learn from each other's strengths and reduce
their weakness. The future will be better if western and eastern can be harmony with
difference.

References

Dong, Lei Z. (2013). On the Application of Traditional Elements in Modern Environmental Art
Design. pp.375-363. Applied Mechanics and Materials.

Guan,Nan W. (2016). Analysis of the Influence of Chinese Traditional Culture on the Design.
Basis of Chinese and Western Combination. pp.53-54. Artwork Kam.

Jin, Zhuo L. (2016). Analysis of the Application of Chinese Traditional Culture and Art
Elements in Modern Graphic Design. pp.279-280. Art Magazine.

Minda, Z. (2014). Ink of the New Melody - A Brief Discussion on the Traditional Aesthetic
Appreciation of Ink Painting Applied in Graphic Design. pp.31-33. Art and Design.

Ming, Z. (2014).The application of traditional cultural elements in indoor and outdoor design.
pp.206-207. Art Fashion Weekly.

Sakkalis V., Oikonomou T., &Tsiaras V. (2011). Graph-theoretic Indices of Evaluating Brain
Network Synchronization. pp.210-212. Application in an Alcoholism Paradigm.

Yan, W. (2014) Research on the Application of Chinese Traditional Painting Elements in
Modern Print Design. pp.321-322. Journal of Northwest Normal University.

Zao, Zao J. (2014) The Reference and Inheritance of the Traditional Culture of Graphic Art
Design in the New Era. pp.89-90. Art Fashion Weekly.

Zeng, Long L.(2015) Analysis of the Influence of Chinese Traditional Culture on Graphic
Design. pp.58-59. Studies of Fine Arts Education.

LUNG-CHI LIN (TAIWAN)
Creating the Happiness and Harmoniousness of Everyday Life in the Time of COVID-19: Raison D'être
Procreate App, Adobe Illustrator, Adobe Photoshop, Epson printer, Heat pressing Machine,
Image Manipulation, Color Mixing, 3 pieces of A2 sized poster format (42x59.4 cm.)
2 artworks are vertical layouts and 1 artwork horizontal layout.

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

CREATING THE HAPPINESS AND HARMONIOUSNESS OF EVERYDAY LIFE
IN THE TIME OF COVID-19: RAISON D'ÊTRE

LUNG-CHI LIN*

Art & Design at China-ASEAN International College มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ แขวงทุ่งสองห้องเขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ 10210**
[email protected]

Abstract

The COVID-19 pandemic has rapidly affected our day-to-day life. It has impacted not
only the lives but also the mental health of thousands of individuals. People worldwide are
suffering tremendously from this unprecedented crisis. In particular, people with poor
mental health are more prone to develop stress disorders, anxiety and depression. The
experience of traumatic events, such as widespread lockdowns, and the uncertainty of the
pandemic and other problems can typically lead to self-isolation and even suicides. In
recent years, within the research on people’s happiness and harmoniousness during the
time of COVID-19, the significance of artists, illustrators, and graphic designers in this
important issue has not been as fully elaborated on as it should have been. Designers have
an important and quite daunting role. This paper aims to illustrate the process of creating an
illustration design to facilitate a better understanding of the significance of people’s feelings
of happiness and harmoniousness during the COVID-19 pandemic. The proposed design
method adopts a visual research approach that utilizes creative thinking, visual language,
conceptual processing, photography, and illustration. The purpose of this paper is to
combine illustration design research and creative thinking to people’s awareness of the
value of mental health in the time of COVID-19. This research also delivers practical insights
into illustration design creation.

Keywords: Illustration Design, Design Concept, Creative Process, COVID-19

* Lecture
** Art & Design at China-ASEAN International College, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

LUNG-CHI LIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 117

1. Introduction

Doyle, Grove, and Sherman (2018) explained that illustrations are usually expressive,
personally inspired, and exquisitely crafted works; however, unlike art for artistic purposes,
illustrations serve an idea and seek to convey a special meaning to a specific audience. In
other words, no matter how beautiful, provoking, or captivating the artwork is, it is only
illustrative because it aims to convey a specific message or certain information. The
illustrations may be clear, stylized, or naturalistic in their thematic presentation or have an
abstract form. Illustration, as part of visual communication design, has its own visual
explicitness. As a realistic and artistic form of expression that can be disseminated rapidly
and wildly, illustration is everywhere and can influence millions. To Male (2017), the word
illustration also refers to the communication of specific contextual information to the
audience. It is rooted in an objective need, and it is generated by an illustrator or a business-
based client to complete a specific task. It is the navigation and diversity of these different
tasks that make illustration an influential visual language. The creative possibilities of
illustration are limitless. In addition, illustration is unfettered by reality, and one’s
imagination is free to create images and conjure up fascinating landscapes. when print
illustration was first developed, illustrations have served as a tool of visual communication,
integrating visual interpretations into various media, such as print media, moving images,
and, more recently, numerous digital forms, including animation, internet memes, and e-
books. A captivating illustration is one that is able to tell a story that people will remember.
Illustrations have always had the tremendous power of delivering a profoundly significant
message to people. According to Viction Workshop’s Illustrative Branding (2014), illustrations
have the ability to transport people’s minds. Illustrations can allow people to connect with
one another. They can facilitate memorable and meaningful connections among people,
which is a great asset. As illustration can allow people to connect in an intellectual, spiritual,
and meaningful way, it can give people their raison d'être, which means “reason to be” in
French. Male (2017) defined raison d'être as a distinct core, referring to the things that give
meaning to a person’s life. During the pandemic, people have had to deal with both
physical and mental problems. Designers, too, are struggling under the threat of the virus.
Nevertheless, they are also finding creative ways to deal with their individual situations and
trying to make full use of them to create soothing, inspiring, and influential artworks that can
appeal to people’s inner feelings and bring joy, happiness, and harmoniousness to their
everyday life. In the COVID-19 era, designers have the strength and power to deflate fear,
anxiety, and worry. Illustration design is both influential and aesthetic; however, its
importance and impact are not always appreciated. Specifically, this is true in relation to the
topic of the happiness and harmoniousness of everyday life, which most people take for

LUNG-CHI LIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 118

granted. As acknowledgement of the impact of illustration design on both physical and
spiritual elements is very rare, people do not always consciously recognize that the creation
of inspiring and effective illustration designs can help people to understand the importance
of the happiness and harmoniousness of everyday life. This study provides a conceptual
framework for the design process, which illustrates how illustration design can play an
important role in this specific topic, by complementing and being mutually beneficial to the
inspiration-gathering effort during the creative process.

2. Concepts

This paper aims to study the significance of the use of illustration design to evoke
happiness and harmoniousness in people’s everyday life in the time of COVID-19. Lauer and
Pentak (2008) claimed that knowing what one is doing must precede one’s actions. To
accomplish this, the present author developed a conceptual framework (see Figure 1)
known as “the creative process” that is geared towards a design process that aims to solve a
problem. The design concept was discovered when the author embarked on an
inspirational, creative journey to Si Nan National Park in Nan Province during the pandemic.
Nan Province is located in northeast Thailand. Werly (2013) mentioned that the northeastern
region has luscious, vibrant forests and towering mountains that are inhabited by hilltribes
and Thai families with friendly smiles and a strong sense of culture and heritage. Northeast
Thailand is about as anti-urban as it gets. Since the development of the urban areas of
Thailand, Thai people have come to Nan Province to escape from the city to feel the ease
of a slow-paced lifestyle and recover from the stresses brought about by the busy lifestyles
in the city. Nan Province offers the charm of authenticity and sincere hearts and minds of its
residents to Thai people and foreigners as well. The beautiful natural scenery, the green
mountains, and the murals in Nan Province inspired the author to travel there during the
time of COVID-19. According to the Toledo of Art Museum (2021), people nowadays
communicate increasingly through images and rarely through words. Images have replaced
text and become the main method through which we communicate. Designers and
illustrators who use images as a language to visualize and communicate an idea in fact use
images themselves to develop and improve their personal creativity and creative thinking.
While traveling to Nan Province, the author took photographs that inspired the author's
creativity.

During the pandemic, people worldwide have been encountering such difficulties as
physical and psychological problems. Examples of the latter include daily stress, frustration,
and fear, anxiety, and worry, which may be most pressing, and the relief of which may
appear impossible. According to Thorpe (2021), as researchers have determined the COVID-

LUNG-CHI LIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 119

19 situation to be a pandemic, some people who are overly worried about it have been
wearing masks in public places and avoiding public places and activities, among other things.
Caused by excessive worry, this phenomenon, now called “coronaphobia,” can significantly
impair people's daily life functions. During the COVID-19 pandemic, a large number of
people with coronaphobia are letting their fear of COVID-19 get in the way of their everyday
lives. Designers can use illustration design as a medium to address people's protracted
isolation and look for ways to alleviate mental stress. Most people may not think that
illustration design can help them to obtain physical and mental relief due to their
unfamiliarity with different social values or understandings of artistic creation. It is an
indisputable fact that having a great design concept enables the creation of a significantly
enhanced design that takes context into account. As previously mentioned, the author
developed a design concept through creative thinking. By traveling to Nan Province for
inspiration and taking inspiring photographs, the author sought to develop a creative solution
that would raise people's awareness of the value of happiness and harmoniousness in their
everyday life while facing the pandemic.

Figure 1 The Creative Process

3. Work Process
The present project is based on the author’s travel experiences in Nan Province,

Thailand, in December 2020. Traveling to Nan, the author felt connected to silence, his
breathing, and his true inner feelings. Although the pandemic has produced stress and worry,
growth, peace, contentment, and belief in the eternal existence of life can alleviate fear. In
the end, they surmount all worries. Most designers, artists, illustrators embrace their travel
experiences as sources of inspiration and creativity. This study utilized personal experiences
to create a soothing, warm, inspiring, memorable, and even purposeful illustration design to
evoke people's awareness of the importance of happiness and harmoniousness in their
everyday life during the COVID-19 pandemic. First, the author focused on creative thinking to
capture the essence of humans’ inner feelings by going to Nan Province, Thailand, which
was where the author was traveling to during the time of COVID-19. The author adopted
natural objects, such as the mountains, the sky, and a field of dusty straw, as the visual
contents that indicate the lifestyle and natural emotions of the area (see Figure 2). Second,
using these visual contents, the author illustrated the scenery of Nan Province by using the

LUNG-CHI LIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 120

computer app software, Procreate (see Figure 3). Third, the author created illustrations by
manipulating the textures and setting up the color tones to convey a warm feeling and
sense of freedom (see Figure 4). Fourth, the author applied computer graphics technology,
such as Adobe Photoshop, to manipulate the images to render them emotionally and
visually attractive to the viewers (see Figure 5). Fifth, the author experimented with hand-
written and digital type settings in Thai to explore different impressions for the typography
(see Figure 6). Sixth, the author used an Epson printer and heat pressing machine to test-
print the illustration design and make final adjustments and changes before finishing the
design (see Figures 7, 8, and 9). Last, the author finished the illustration design and applied
the design to real products, such as a scarf, tote bag, hat, mug, mask, and other applications.
The final resulting artworks are shown in Figures 10, 11, 12, and 13.

FigNuarne 2 PFriogcurreeat3e FTieguxtruere4 Figure 5 Figure 6
Image Manipulation Typography

ExFpiegruimree7nt1 ExFpiegruimree8nt2 ExFpiegruimree9nt3

Figure 10 Figure 11
Scarf Design Packaging Design

Figure 12 LifestyleFigPuroredu1c3t Design
Stationery Design

LUNG-CHI LIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 121

4. Analysis
The successful creation of a meaningful design requires a design method that has

been carefully considered and planned. In this project, the design approach was one of
visual research. Noble and Bestley (2005) asserted that visual research is primarily concerned
with the composition of visual elements. Visual research follows similar investigations of the
visual contents of the designed object. In this project, the process of visual research entailed
looking at the intriguing visual data captured in the various photographs that the author took
of Si Nan National Park when traveling to Nan Province (see Figure 14). The inspiring, striking,
memorable, and beautiful photographs were great visual data that the author collected and
used for reference to create the artworks. By collecting photos related to the subject and
applying photo elicitation, the scope of visual methods or visual research is broadened. A
powerful photo not only provides a great visual reference but also offers a powerful and
effective message. Exploring an original and innovative mix of photographs can make a
design more captivating and vivid. Therefore, visual research is an effective method for
facilitating the comprehension and recognition of the entire design process.

Figure 14 Visual Research

5. Conclusions
This study examined the use of illustration design to demonstrate to people the

importance of happiness and harmoniousness in their everyday life during the COVID-19
pandemic. Happiness and harmoniousness are essential for human beings; the author sought
to highlight their significance in the time of COVID-19 by creating a meaningful and
purposeful illustration design entitled “Raison d'être,” hoping to remind people of the things
that give their life meaning and to raise people's awareness of the importance of their well-
being. During this uncertain period of time, fears and worries may threaten people’s
everyday life, but a great illustration design inspired by traveling experiences can help
people to navigate the world with less fear and worry. People worldwide need some
creative and inspiring artworks so that they can feel supported, recover some happiness, and
be free from worry. The focus of this study was to explore the development of a design
process using visual research. By discussing the design concept and revealing a broad
spectrum of connections between the author’s travel experiences in Nan Province, Thailand,

LUNG-CHI LIN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 122

and the creation of the illustration design, this project demonstrated how a design concept
could have a significant impact on the creation of an inspiring and memorable artwork. The
results of this study offer a new way of alleviating people’s worries and fears concerning
COVID-19 through illustration design: as the illustration design is applied to daily products
that people will use during the pandemic, it will evoke a peaceful, calm, happy, and
harmonious feeling in people when they use the products. All designers should take a stand
to create inspiring, powerful, meaningful, and remarkable designs that help people to
recover from this global pandemic and make significant improvements to people’s well-
being. As the rapid spread of the coronavirus affects our everyday life, designers can
responsibly anticipate the negative consequences and seek to bring life back to normal by
evoking joy, happiness, and harmoniousness in their work.

References
Doyle, Susan, & Grove, Jaleen, & Sherman, Whitney. (2018). History of Illustration. pp.11. New

York, New York: Bloomsbury Publishing Plc.
Lauer, David A., & Pentak, Stephen. (2008). Design Basic. pp.8. Boston, MA: Thomson Higher

Education.
Male, Alan. (2017). Illustration: A Theoretical & Contextual Perspective. pp.7. New York, New

York: Bloomsbury Visual Arts.
Noble, Lav, & Bestley, Russell. (2005). Visual Research. pp.149. Lausanne, Switzerland: AVA

Publishing SA.
The Toledo of the Art Museum. (2021). What is Visual Language?

https://www.toledomuseum.org/node/172
Thorpe, Jr. (2021, February 23). Serious Coronavirus Anxiety Now Has A Name. Bustle.

https://www.bustle.com/wellness/coronaphobia-coronavirus-anxiety-symptoms-treatment
Viction Workshop. (2014). Illustrative branding. pp.7. Visionary: Gingko Press

NALINA ANGASINHA (THAI)
Website Design for Council of Deans of Architecture Schools of Thailand 2004

Illustrator, Photoshop, Dreamweaver , 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

WEBSITE DESIGN FOR COUNCIL OF DEANS OF ARCHITECTURE SCHOOLS
OF THAILAND 2004

การออกแบบเวบ็ ไซท์สภาคณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย 2004

นลนิ า องคสิงห*

NALINA ANGASINHA**

คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชนื่ แขวงทงุ่ สองห้องเขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ 10210***

[email protected]

บทคัดย่อ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบเว็บไซท์สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมแห่งประเทศไทย เนื่องด้วยปี
2004 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับมอบตำแหน่งประธานสภาคณบดีคณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ ฯ ตามวาระ และต้องการปรับแก้เว็บไชท์ให้มีความน่าสนใจเพื่อเป็นช่องทางการสื่อสาร
สำหรบั สมาชิก

จากการศกึ ษาเวบ็ ไซท์เดิม พบว่ามีโครงสร้างการนำเสนอในลกั ษณะใชก้ ารบรรยายเนอ้ื หาเต็มหนา้ เว็บ
ไซท์ทำให้อ่านยาก ขาดการจัดหมวดหมู่ข้อมูล ทางผู้บริหารต้องการให้ออกแบบเว็บไซท์ใหม่เพื่อสื่อถึงความ
เป็นสถาบันการศึกษาด้านการออกแบบท่ีมีความทันสมัย เม่ือได้รับมอบหมายงานดังกล่าว ผู้วิจัยศึกษาข้อมูล
วิเคราะห์แนวทางการออกแบบจากเว็บไซท์ต่าง ๆ ที่เก่ียวเนื่องด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ของต่างประเทศ
วางแผนการออกแบบ เริม่ ด้วยการศึกษาโครงสร้างเวบ็ ไซท์เดิม ทั้งแง่มุมด้านเนื้อหาและการออกแบบ 1) ด้าน
เน้ือหาได้เริ่มจัดหมวดหมู่เน้ือหาใหม่ ลำดับหน้าเว็บไซท์แยกตามหมวดข้อมูลให้ชัดเจน แก้ไขคำสั่งเบื้องหลัง
ของโปรแกรมเพ่ือให้ทำงานได้ตรงตามท่ีวางโครงสร้างไว้ 2) ด้านการออกแบบหน้าเว็บไซท์ (User Interface)
ออกแบบกราฟิก เลือกโทนสี (Color Scheme) ท่ีเรียบง่าย สะอาดตา และส่ือถึงสถาบันท่ีสอนด้านการ
ออกแบบ เปลี่ยนรูปแบบการเข้าถึงหน้าเว็บไซท์ย่อย ด้วยการออกแบบปุ่มกด (Button) ส่ีเหลี่ยมบนพื้นสีส้ม
เพ่ือให้เด่นสะดุดตา เลือกสีเทาอ่อนและสีขาวเป็นสีพื้นหลัง (Background) ของหน้าเว็บไซท์ เลือกฟ้อนท์
(Font) ที่เรียบง่าย ทันสมัย จัดวางองค์ประกอบและทำแบบร่างผลงานนำเสนอกับทีมผู้บริหาร เมื่อผ่านการ
อนุมัติ ผู้วิจัยจึงสร้างงานจริงตามลำดับข้ันตอนและอัพโหลดข้ึนระบบ และได้มีการดูแลและปรับปรุงข้อมูล
อย่างสม่ำเสมอ ผลงานออกแบบเว็บไซท์ดังกล่าวมีความเรียบง่าย ทันสมัย แสดงถึงอัตลักษณ์ของสถาบันด้าน
การออกแบบตามวตั ถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้

คำสำคัญ: การออกแบบ, การออกแบบเวบ็ ไซท์, สถาปตั ยกรรม, การออกแบบกราฟกิ , สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
แหง่ ประเทศไทย

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

NALINA ANGASINHA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 125

Abstract

This research aims to design website of Council of Deans of Architecture Schools of
Thailand (CDAST). Thammasat University’s Faculty of Architecture was designated to chair
the council in 2004 and its website was created to be one of communication channels with
members.

According to study through current website, it has been found that it is illegible
because the presentation through content description on full webpage and not been
orderly categorized. Executives therefore intend to redesign website to represent modern
architecture schools. Upon designation, the author has conducted analysis on design
guidelines from international architecture related websites. Subsequently, the author plans
the design as well as study current website structure in term of contents and design as
follows: 1) Content: reorganize categories and pages, and amend program instruction to
properly function it in accordance with designed structure; 2) User interface: design graphic
and color scheme which simple and clean to represent design institute. Change subpage
access mode by designing button on orange background to make it attractive. Also, use light
grey and white as website background and simple and modern font. Put layout and propose
draft to executives. Upon approval, author makes it through orders and then uploads to
system. The website has been regularly maintained and updated.

The website design reflects simplicity, modern and identity of design institute in line
with purposes.

Keywords: Design, Website Design, Architecture, Graphic Design, Council of Deans of Architecture Schools
of Thailand

NALINA ANGASINHA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 126

1. ความสำคัญหรอื ความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)

เนื่องด้วยช่วง พ.ศ.2547-2550 น้ัน ผู้วิจัยได้เริ่มเป็นอาจารย์ประจำท่ีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตเป็นท่ีแรก และได้รับมอบหมายให้สอนด้านสถาปัตยกรรมและดูแลงาน
การออกแบบกราฟิกของคณะ ได้รับมอบหมายให้ออกแบบหน้าเว็บไซท์ให้มีความทันสมัย เรียบง่าย ใช้งาน
สะดวก จงึ ทำการจัดหมวดหมู่เนื้อหาใหเ้ ปน็ ระบบและให้เข้าถึงไดง้ ่าย เน่ืองดว้ ยท่านคณบดีได้รับมอบตำแหน่ง
ประธานสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทยในระยะเวลาดังกล่าว ทางคณะจึงรับมอบเว็บ
ไซท์มาดูแลตามวาระได้รับการส่งมอบเว็บไซท์ต่อจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซ่ึงมี
ลักษณะการใช้ตัวอักษรเน้นการบรรยายเน้ือหาเป็นส่วนใหญ่ เม่ือรับมอบตำแหน่งจึงมีดำริจากท่านคณบดีให้
ข้าพเจ้าออกแบบหน้าเว็บไซท์ดังกล่าว โดยต้องการให้ส่ือถึงความเป็นสถาบันการออกแบบ จึงมีการออกแบบ
กราฟิกใหม่ รวมท้ังจัดลำดับโครงสร้างเว็บไซท์ใหม่ และมีการออกแบบจัดทำจดหมายข่าวสภาคณบดีฉบับแรก
เป็นฉบับปฐมฤกษ์เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547 อีกด้วย เพ่ือประกอบให้ครบวงจรการประชาสัมพันธ์ข่าวสารทั้ง
จากระบบ และจากส่ือส่งิ พิมพ์

วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย

1. ศกึ ษา วิเคราะห์ข้อมลู องค์กร หมวดหมเู่ นือ้ หาและโครงสร้างของเวบ็ ไซท์ เทรนด์การออกแบบและ
หลกั การออกแบบเวบ็ ไซท์

2. ออกแบบหน้าเว็บไซท์สภาคณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย พ.ศ. 2547-2549

2. แนวคดิ / ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง (Concept / Related Theories)

ประวตั ิสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย
สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย เร่ิมขึ้นปี พ.ศ. 2537 จากการที่คณบดีคณะ

สถาปตั ยกรรมศาสตรข์ องทบวงมหาวทิ ยาลัย มีโอกาสประชุมปรกึ ษาหารอื เก่ียวกับกิจกรรมต่าง ๆ ทางวิชาการ
ด้านสถาปัตยกรรม และได้มีการก่อต้ังสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทยข้ึน โดยเริ่มจาก
ศาสตราจารย์ต่อพงศ์ ยมนาค เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการจัดตั้งร่วมกับอีก 6 สถาบันที่มีการเรียนการสอน
สถาปัตยกรรมในขณะนั้น และรองศาสตราจารย์เดชา บุญค้ำเป็นประธานสภาคณบดีคนแรก ต่อมาเม่ือวันท่ี
27 มกราคม 2540 จึงได้มีการประชุมคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย/ สถาบันต่าง ๆ ขึ้นอีก
ครัง้ หนง่ึ และตกลงให้มีการร่างระเบยี บ “สภาคณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย” ขน้ึ โดยมกี าร
ปรับแก้ระเบียบให้เหมาะสมข้ึนในปี พ.ศ. 2546 ซ่ึงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพและเป็นประธานฯ
มีสถาบันการศึกษาท้ังของรัฐและเอกชนเข้าเป็นสมาชิกเพ่ิมจำนวนข้ึนอย่างรวดเร็วจาก 9 แห่งเป็น 22 แห่งในปี
พ.ศ. 2552 เว็บไซท์ของสภาคณบดีได้รับการพัฒนาเร่ิมต้นท่ีมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพคร้ังที่ 3 (ต่อจาก
มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง) และพัฒนาต่อจนกระท่ังถึง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพตามลำดับโดยได้ทำการจดทะเบียนเว็บไซท์ "www.cdast.com" ต้ังแต่ พ.ศ.
2546

อตั ลักษณ์องค์กร เน้นความภูมิฐาน ส่ือถึงความเป็นวิชาการแต่ไม่เคร่งเครียดจนเกินไป ใช้สัญลักษณ์
ท่ีดูเรียบง่ายเป็นลายเสน้ กรดิ ขาวดำ จำนวน 25 ช่อง บรรจุตัวอักษรย่อในแนวทแยงมุมจากซ้ายบนแทยงลงมุม
ขวาล่าง ซึ่งสีหลักของคณะใช้สีส้มอมแดง ประกอบกับในช่วงระยะเวลาน้ันเทรนด์สีที่นิยมใช้มักใช้สีส้ม สีเทา
เข้มในการออกแบบผลงานกราฟกิ ต่าง ๆ

NALINA ANGASINHA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 127

รูปแบบโครงสรา้ งของเว็บไซท์ การออกแบบโครงสร้างของเว็บไซต์สามารถทำไดห้ ลายรูปแบบ ซ่ึงกข็ ้ึนอยู่
กับความชอบและความถนัดของแต่ละบุคคล นอกจากน้ียังขึ้นอยู่กับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนำเสนอ เพราะ
ต้องการออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งานของกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด โดยโครงสร้างของเว็บไซต์ส่วนใหญ่มี 4
รูปแบบ ดงั นี้

1. โครงสร้างแบบเรียงลำดับ นิยมใช้งานกันมากที่สุด เน่ืองจากมีความง่ายต่อการจัดระบบข้อมูลและ
สามารถนำเสนอเร่ืองราวตามลำดับได้เป็นอย่างดี เหมาะกับเว็บไซต์ท่ีมีขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ก็จะเป็นพวก
เว็บไซต์ที่ให้ความรู้ โดยลักษณะการล้ิงค์เนื้อหาก็จะล้ิงค์ไปทีละหน้า มีทิศทางการเข้าสู่เนื้อหาต่าง ๆ ในแบบ
เสน้ ตรง ใช้ปมุ่ เดินหน้า-ถอยหลงั ในการกำหนดทิศทาง จึงทำใหก้ ารใช้งานเป็นไปอย่างง่าย มีข้อเสียคือจะทำให้
ผู้ใช้งานต้องเสียเวลาในการเข้าสู่เนือ้ หา เพราะไมส่ ามารถเข้าสู่เนื้อหาอ่นื ไดโ้ ดยตรง ต้องเข้าสู่เน้ือหาตามลำดับ
หนา้ ที่กำหนดไว้เท่านนั้

2. โครงสรา้ งแบบลำดับขั้น นิยมใช้กับเว็บไซท์ท่ีมีความซบั ซ้อนของขอ้ มูล เพือ่ ให้สามารถเขา้ ถงึ ข้อมูล
ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น โดยจะมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน ๆ และมีการนำเสนอรายละเอียดย่อย ๆ ลดหลั่นกัน
เปน็ ลำดับ สามารถทำความข้าใจกับโครงสร้างเน้ือหาได้ง่าย โดยจะมโี ฮมเพจเป็นจุดเรม่ิ ตน้ และจุดร่วมจดุ เดยี ว
ท่จี ะนำไปสู่การเช่ือมโยงเนื้อหาเปน็ ลำดับจากบนลงลา่ ง

3. โครงสร้างแบบตาราง เป็นโครงสร้างการออกแบบเว็บไซต์ที่มีความซับซ้อน แต่ก็มีความยืดหยุ่นใน
ระดับหน่ึง เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่เน้ือหาต่าง ๆ ได้ง่ายข้ึน การออกแบบในลักษณะนี้จะมีการเชื่อมโยง
เนื้อหาในแต่ละส่วนซึ่งกันและกัน ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเปล่ียนทิศทางหรือกำหนดทิศทางในการเข้าสู่เนื้อหา
ดว้ ยตัวเองได้ จงึ ไม่ทำใหเ้ สียเวลา และยงั ทำใหเ้ วบ็ ไซตม์ ีความทันสมัยมากยิ่งขน้ึ

4. โครงสร้างแบบใยแมงมุม เปน็ โครงสร้างที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะมคี วามยืดหยุ่นมาก
ที่สุด โดยทุกหน้าเว็บไซท์จะมีการเช่ือมโยงถึงกันทั้งหมด ทำให้สามารถเข้าถึงหน้าเว็บเพจต่าง ๆ ที่ต้องการได้
ง่ายและมคี วามอสิ ระมากข้นึ นอกจากนกี้ ็สามารถเชอื่ มโยงไปสู่เวบ็ ไซตภ์ ายนอกได้ดี

ผู้ออกแบบได้เลือกใช้โครงสร้างแบบใยแมงมุมในการจัดลำดับการเข้าถึง และย่อยเนื้อหาข้อมูลเป็น
หมวดหมู่ แลว้ จึงกำหนดปมุ่ และจำนวนหน้าเวบ็ เพจตามเนอ้ื หาท่ไี ดว้ างแผนไว้

ส่วนประกอบสำคัญบนหน้าเว็บเพจ มีส่วนประกอบหลักสำคัญ 3 ส่วน คือ 1) ส่วนหัวของหน้า
(Header) อยู่ตอนบนสดุ ของหน้า เป็นสว่ นสำคัญท่ีสุดต้องออกแบบให้ดึงดูดผู้ชมให้รสู้ ึกอยากติดตามเน้ือหาใน
เว็บไซท์ต่อไป จึงมักมีการใส่ภาพกราฟิกให้ดูสวยงาม มีสัญลักษณ์ (Logo) ช่ือเว็บไซท์ ท่ีอยู่และช่องทางการ
ติดต่อ รวมถึงมีเมนูหลักเพื่อลิงค์เข้าสู่เนื้อหาในหน้าต่อไปได้ 2) ส่วนเนื้อหา (Body) อยู่บริเวณตอนกลางหน้า
เว็บไซท์แสดงขอ้ มูลเกยี่ วกบั เนื้อหาของเวบ็ ไซท์ตามหมวดหมู่ที่จดั ลำดบั ไวใ้ นแต่ละหนา้ ทีส่ ำคัญคือควรมีเน้ือหา
ท่มี คี วามกระชับ เข้าใจง่าย มีการใชร้ ูปแบบตัว อกั ษรเรยี บงา่ ยและเป็นระเบียบ 3) ส่วนทา้ ยของหนา้ (Footer)
อยู่ส่วนล่างสุดของหน้าเว็บไซท์ จะมีหรือไม่มีก็ได้ ในส่วนนี้จะแสดงข้อมูลเพ่ิมเติม เช่น ข้อความที่แสดงถึง
ลิขสิทธิ์ ข้อมูลเจ้าของเว็บไซท์ สำหรับเว็บไซท์สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ฯ มีเน้ือหาท่ียาวในหลายหน้า
แม้ว่าจะมีการตัดคำเอาแต่เนอ้ื หาท่สี ำคญั แล้วกต็ าม โดยการสร้างแถบเล่อื น Slidebar เพ่ือให้เลือ่ นอ่านเนื้อหา
ได้จนครบถ้อยความและรสู้ กึ สบายตา

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)

ขั้นตอนการดำเนินการออกแบบเว็บไซท์ ดังนี้ 1) การรับงาน ประชุม ปรึกษาผู้บริหารเพื่อรับทราบ
ความตอ้ งการ และวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดแนวทางในการออกแบบ 2) การเลือกโครงสี เลือกฟ้อนท์ตัวอักษร
เพ่ือจัดวางองค์ประกอบหน้าเว็บไซท์ 3) การศึกษา วิเคราะห์จัดหมวดหมู่ข้อมูล 4) วางแผนงาน สเก็ตซ์แบบ

NALINA ANGASINHA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 128

ร่างงานออกแบบ จัดวางองค์ประกอบ 5) ทำแบบนำเสนอผลงานกราฟิกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 6) นำ
เสนอผู้บริหาร รับฟังคำแนะนำมาปรับปรุงแบบ 7) พัฒนาผลงานออกแบบ 8) ออกแบบและจัดระบบ
โครงสร้างเว็บไซท์ แก้ไข Programming Code เบ้ืองต้น เพ่ือให้เว็บไซท์ทำงานได้ตามความต้องการ และการ
Upload File ต่าง ๆ 9) บันทึกหน้าจอ ทำรายงานนำเสนอการเปล่ียนแปลงต่อผู้บริหาร อัพเดทท้ังข้อมูลและ
เนื้อหาอย่างสมำ่ เสมอ 10) เขยี นบทความและเผยแพร่ผลงานออกแบบ

4. การวเิ คราะห์ผลงาน (Results Analysis)

จากการศึกษาและใช้ความรู้ด้านการออกแบบนำมาวิเคราะห์ ทำการออกแบบจัดองค์ประกอบศิลป์
หน้าเว็บไซท์ให้เกิดความรู้สึกถึงความเรียบง่าย ทันสมัย และใช้งานได้อย่างสะดวก โดยวิเคราะห์แบ่งหมวดหมู่
เนื้อหาท่ีจะแสดงในหน้าเว็บไซท์แต่ละหน้า ด้วยการใช้โครงสร้างแบบใยแมงมุมให้เกิดความยืดหยุ่นมากที่สุด
ทุกหน้าเว็บไซท์จะมีการเชื่อมโยงถึงกันได้โดยตรงผ่านปุ่มเมนูหลัก ทำให้สามารถเข้าถึงหน้าเว็บท่ีต้องการได้
ง่ายและมีความอิสระในการใช้งานมากขึ้น ทั้งยังมีการเช่ือมโยงสู่เว็บไซท์สถาบันอ่ืน ๆ ได้โดยการกดข้อความ
ช่ือสถาบันเพื่อเข้าสู่ URL ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่เป็นสมาชิกในช่วงเวลาน้ันได้โดยตรงทันที โดยใช้
หลักการออกแบบ ดังนี้

รูปร่างและรปู ทรง (Shape and Form) รปู ร่างของปุ่มกดใช้รูปสเ่ี หล่ียมสองมติ ิ ไม่มีการใส่เงาให้แก่
ปุ่ม และกำหนดขนาดปุ่มทุกปุ่มใหเ้ ท่ากัน วางไว้ตำแหน่งเดียวกันทางด้านซ้ายของหน้าเวบ็ ไซท์ทุกหน้า เพ่ือให้
จดจำไดง้ ่ายและใชง้ านไดอ้ ย่างอตั โนมตั ิ

ตัวอักษร (Font) ใช้ฟอนท์ TrueType เป็นเวกเตอร์มีเส้นคมชัด ใช้ฟ้อนท์ Angsana New มีความ
เป็นทางการและนิยมในช่วงเวลาน้ันในส่วน Header, ใช้ฟ้อนท์ Ladawan สำหรับส่วนข้อมูลย่อยส่วน Body,
สว่ นล้ิงค์ URL ใช้ฟ้อนท์ Tahoma ตัวอักษรปกติมีความหนาพอดีทำให้เกิดความชัดเจนและไม่จมกับฉากหลัง
สีขาว

สี (Color) การวางตรีมสีชว่ ยจัดระเบียบขอ้ ความ แบ่งพื้นท่ีให้เป็นสัดสว่ นมากขนึ้ ผู้ออกแบบใช้สีโทน
ร้อนเพ่ือเน้นสร้างความเด่นให้กับปุ่มเมนูหลักด้วยสีส้มและใช้ตัวอักษรสีขาว พื้นท่ีส่วนใหญ่ใช้สีขาวเป็นฉาก
หลังของหน้าเว็บไซท์เพ่ือให้ดูสบายตา กรณีที่เมนูหลัก มีเมนูหมวดหมู่เน้ือหาย่อย จะสามารถเข้าถึงหน้าเว็บ
ยอ่ ยได้ด้วยการกดเมนูย่อยท่ีแสดงด้วยตัวอักษรสีเทา ซงึ่ จะปรากฎเม่ือมีการแตะถูกปุ่มเมนูหลัก, ส่วนเนื้อหาที่
ให้อ่านใชต้ วั อกั ษรสีเทาเข้มบนพ้ืนสีขาว, ประโยคสำหรบั การเข้าถึงลิงค์ตา่ ง ๆ ในหนา้ เว็บยอ่ ยใช้ตัว อักษรสสี ้ม
เพอ่ื สร้างการจดจำวา่ ตวั อักษรสสี ม้ หมายถงึ มีการเชอ่ื มโยงสู่ URLภายนอก

พ้ืนผิว (Texture) ของปุ่มและเนื้อความใช้ฉากหลังสีขาวให้ดูเรียบง่าย ไม่มีการใช้เอฟเฟ็คให้กับปุ่ม
ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ทันสมัย แตกต่างจากความนิยมในการออกแบบเว็บไซท์ในช่วงเวลาดังกล่าว ตาม
แนวทางที่ศึกษารูปแบบจากเว็บไซท์สถาบันการศึกษาของต่างประเทศและยังคงทันสมัยจนถึงปัจจุบัน เห็นได้
จากแนวทางการออกแบบปุ่มการเข้า Application ตา่ ง ๆ ของ Smartphone ทีเ่ น้นป่มุ กดทเี่ รยี บแบน

พ้ืนที่ว่าง (Space) การจัดช่องไฟและหมวดหมู่ของปุ่มและข้อความ ออกแบบและพัฒนาแบบร่าง
นำเสนอผู้บริหาร ทั้งในเรื่องลำดับการจัดวางเน้ือหา สัญลักษณ์ เน้นให้เกิดความรู้สึกเรียบง่าย สบายตา และ
เกดิ ความสมดลุ ของการจดั วางในหน้าเพจ กำหนดระยะขอบ ตัดทอนเนอ้ื หาให้กระชับได้ใจความครบถว้ น

ความสมดลุ (Balance) จัดสัดส่วนและองคป์ ระกอบหน้าเว็บด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กำหนดคา่ สี
ขนาดการแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ กำหนดพิกัด การจัดวางองค์ประกอบวัตถุต่าง ๆ ให้ตรงกันทุกหน้า
โดยใช้สมดุลแบบแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance) ทำให้รู้สึกมั่นคงและสะท้อนภาพลักษณ์ของ
สถาบนั ทใ่ี หค้ วามรู้ดา้ นการออกแบบไดเ้ ปน็ อย่างดี

NALINA ANGASINHA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 129

สัดส่วน (Proportion) สัดส่วนที่สวยงามมีผลกับความรู้สึกของผู้ใช้งาน สัดส่วนองค์ประกอบต่าง ๆ
ในหนา้ เว็บไชทท์ ี่มีความพอดี ทำใหผ้ ใู้ ชร้ ู้สกึ สบายตา ทำให้อ่านข้อมูลได้นานข้ึน

จุดเด่น (Emphasis) การสร้างความสนใจให้กับผู้ใช้งานด้วยการใช้สีท่ีขัดแย้งกัน การกำหนดขนาด
ตำแหน่งการวางองค์ประกอบต่าง ๆ ในตำแหน่งเดิม ทำให้เกิดการจดจำและคุ้นชินกับการใช้งาน ไม่ต้อง
เสียเวลาในการกวาดตามอง

เครอื่ งมือที่ใช้การนำเสนอการออกแบบหน้าเวบ็ ไซท์ สรา้ งปุ่ม สีพ้ืนหลัง และตวั อักษรโดยการใช้เส้น
เว็กเตอร์จากโปรแกรม Illustrator, ปรับภาพผลงานหรือแบนเนอร์ด้วยโปรแกรมแต่งภาพ, ปรับคำสั่งใช้งาน
ด้วยภาษา html
5. สรปุ (Conclusion)

ผลงานการออกแบบเว็บไซท์ ผู้ออกแบบได้ทำการศึกษา กำหนดแนวความคดิ ทั้งด้านเบอื้ งหน้าและจัด
ระเบียบข้อมูลเบื้องหลัง เพื่อให้ได้ผลงานออกแบบท่ีเรียบง่าย แสดงภาพลักษณ์ของงานด้านวิชาการ ให้ใช้งาน
และจดจำไดง้ ่าย ด้วยการวิเคราะห์ข้อมลู องค์กร หลักการออกแบบ นำมาประยกุ ต์ใช้ในการออกแบบ ดังแสดง
ในภาพที่ 1 ถงึ แม้จะผ่านกาลเวลามานานพอสมควร แตย่ งั ดทู นั สมัย เนอื่ งดว้ ยการออกแบบเน้นความเรียบง่าย
ไม่หวือหวา ทำให้เข้าได้กับทุกยุคสมัย ท้ังนี้จากแนวโน้มการออกแบบท่ีเปลี่ยนแปลงไปบ้างเล็กน้อย เพ่ือให้
เหมาะสมกับเทรนด์การออกแบบในปัจจุบัน เช่น ใช้รูปภาพที่สวยงามคมชัดเพื่อดึงดูดผู้ใช้งาน จัดระบบ
โครงสร้างและกำหนดปุ่มเมนูใหม่ เป็นต้น งานด้านการออกแบบทางกราฟิกจำเป็นต้องใช้ผ้ทู ่ีมีความรู้ด้านการ
ออกแบบ มีความรู้ภาษา Coding พอสมควร ทั้งยังต้องคอยอัพเดทเน้ือหา ต้องมีความเข้าใจและมีเวลามาก
พอสมควร ดังน้ันทางองค์กรควรจัดหาผูด้ ูแลเฉพาะดา้ น ทง้ั นขี้ นึ้ กบั นโยบายและการบรหิ ารจัดการด้วย

ภาพที่ 1 แสดงภาพผลงานการออกแบบเวบ็ ไซทส์ ภาคณบดคี ณะสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย 2004
ที่มา: สญั ลักษณ์ CDAST จาก https://sites.google.com/site/cdastthai/

NALINA ANGASINHA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 130

เอกสารอ้างอิง (References)
การจัดองคป์ ระกอบของงานกราฟกิ . สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 3 กุมภาพนั ธ์ 2564, เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/pmtech23013108/pmtech23013108-1
ประวัตสิ ภาคณบด.ี สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/cdastthai/home/prawati-spha-khnbdi
พ้นื ฐานง่าย ๆ ของการออกแบบกราฟิก (ตอนท่ี 2 การจดั องคป์ ระกอบ). สบื คน้ เมื่อวันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2564,

เข้าถงึ ได้จาก http://photoloose.com
ฟรอ้ นทภ์ าษาไทย Angsana New กับ Angsana UPC ต่างกันอยา่ งไรมาดูกัน. สืบคน้ เมื่อวันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์

2564, เขา้ ถึงไดจ้ ากhttps://talk.mthai.com/inbox/346708.html
หลักการออกแบบเวบ็ ข้ันพื้นฐาน พรอ้ มองคป์ ระกอบและรูปแบบโครงสรา้ ง. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กมุ ภาพันธ์

2564, เข้าถึงไดจ้ าก https://www.1belief.com/article/website-design/
PSYCHOLOGY OF COLOUR. สืบคน้ เมอื่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564, เขา้ ถงึ ไดจ้ าก

http://www.ftbsoap.com/psychology-of-colour/

NAMON KHANTACHAWANA (THAI)
Ban Hat Siew Flower Vase
Patchwork with loincloth, 60 x 50 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

GUIDELINE TO CREATE HOME DECOR ARTWORK FROM THE REMNANTS
OF THE LOINCLOTH OF BAN HAT SIEW

แนวทางการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะจากเศษผา้ ขาวม้าบา้ นหาดเสี้ยว
เพ่อื ใชใ้ นการตกแต่งบา้ น

ณมณ ขนั ธชวะนะ*

NAMON KHANTACHAWANA**

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชน่ื แขวงทงุ่ สองหอ้ งเขตหลักส่ี กรุงเทพฯ 10210***

[email protected]

บทคัดย่อ

แนวทางการสร้างสรรค์งานศิลปะจากเศษผ้าขาวม้าบ้านหาดเสี้ยว มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างต้นแบบ
ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่เดิมให้แก่กลุ่มทอผ้าและตัดเย็บบ้านหาดเส้ียว ตำบลหาดเสี้ยว
อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เพ่ือใช้เป็นต้นแบบในการผลิตซ้ำและต่อยอดไปสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยนำเศษ
ผ้าทอเหลือใช้มาสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยนำต้นแบบจากธรรมชาติและเครื่องถ้วยสุโขทัยมาเป็นแรงบันดาลใจใน
การสร้างผลงาน ผู้สร้างสรรค์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานช้ินนี้จะสามารถสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน เพิ่มยอด
ทางการขายและเปน็ ตัวเลือกใหมส่ ำหรบั ผซู้ อื้

คำสำคัญ: ผ้าขาวม้าบ้านหาดเส้ยี ว, ศลิ ปะจากเศษผา้ , ประยุกต์ศิลป์

Abstract

The study of the Guideline to create home decor artwork from the remnants of the
loincloth of Ban Hat Siew has the objective to create a prototype of a home decor product
which is different from the existing product for the loincloth of Ban Hat Siew, Si Satchanalai
District, Sukhothai Province. This artwork was inspired by the nature of the local community
and Sukhothai Wares. In order to use as a prototype to reproduce and develop new value
added products which will be new options to attract buyers, generate sales and benefit the
community.

Keywords: the loincloth of Ban Hat Siew, Art by rag, Applied Arts

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

NAMON KHANTACHAWANA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 133

1. ความสำคญั หรอื ความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)

ผ้าทอบ้านหาดเสี้ยว ตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดจาก
ประเพณดี ้ังเดมิ ทม่ี ีการสืบทอดตอ่ กันมาของชาวไทยพวนทถี่ ูกกวาดตอ้ นมาจากเมืองพวนตอนใต้ของเมืองหลวง
พระบางในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผู้หญิงชาวไทยพวนจะต้องหัดทอผ้าให้เป็นก่อนอายุ 16 ปี หญิงสาวแทบทุกคนจึงมีทักษะด้านการทอผ้าเป็น
ทักษะเฉพาะตัว ในปัจจุบันชาวหาดเส้ียวจำนวนไม่น้อยท่ียึดการทอผ้าเป็นอาชีพหลัก ผ้าทอพ้ืนบ้านท่ีทอ
จำหน่ายท่ัวไปของชาวหาดเสี้ยวได้แก่ ผา้ หม่ นอน หมอนผาหรือหมอนขวาน ผ้าเช็ดหนา้ ผ้าห่ม ย่าม ซิ่นตีนจก
และผ้าขาวม้า ซ่ึงผ้าขาวม้าของบ้านหาดเสี้ยวจะเป็นผ้าขาวม้าผ้าฝ้ายทอเป็นตาส่ีเหลี่ยมสลับสี แต่ถ้าเป็นผ้า
กราบพระจะมลี วดลายเป็นรูปสัตว์ที่เชิงผา้ เปน็ รูปม้า ช้าง คนข่มี ้า และลายเรขาคณิต เป็นต้น (ผา้ ทอบา้ นหาดเสี้ยว,
ออนไลน)์

จากการลงพ้ืนที่สำรวจกลุ่มทอผ้าและตัดเย็บบ้านหาดเสี้ยว พบว่ากลุ่มแม่บ้านจะใช้เวลาว่างหลังจาก
การทำนามาทอผ้า และนำผ้ามาแปรรูปตัดเย็บเป็นเครื่องแต่งกาย เช่น เสื้อสตรีสำเร็จรูป เส้ือบุรุษสำเร็จรูป
ยา่ ม และกระเปา๋ เปน็ ต้น ทำให้เหลือเศษผา้ ทอเหลอื ใชจ้ ำนวนมาก ผสู้ ร้างสรรคจ์ ึงได้ประยุกตแ์ นวคดิ หลักการ
ใช้ซ้ำ (Reuse) กับการสรา้ งต้นแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ให้แก่ชมุ ชน เพื่อให้สามารถนำเศษผ้าไปสร้างมูลค่าเพ่ิมโดย
การนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะท่ีทำมาจากเศษผ้าทอ เพ่ือใช้ในการตกแต่งบ้าน โดยมีธรรมชาติเป็น
ต้นแบบในการสรา้ งสรรค์ และนำเครื่องถว้ ยสุโขทัยมาสรา้ งสัญลกั ษณ์เพือ่ เชื่อมโยงสู่ท้องถน่ิ

2. แนวคิด / ทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)
แนวคิดเก่ียวกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ การสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์เป็น

การดำเนินการในลักษณะต่างๆเพ่ือให้เกิดสิ่งแปลกใหม่ที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ความคิดสร้างสรรค์เป็น
ความคิดระดับสูง เป็นความสามารถทางสติปัญญาแบบหนึง่ ท่ีจะคดิ ไดห้ ลายทศิ ทาง หลากหลายรปู แบบ โดยไม่
มีขอบเขตนำไปสู่กระบวนการคิดเพื่อสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่หรือเพื่อการพัฒนาของเดิมให้ดีขึ้นทำให้เกิดผล
งานท่มี ลี กั ษณะเฉพาะตน (ศุภกรณ์ ดษิ ฐพนั ธุ์ และคณะ, 2555)

การสร้างสรรค์ศิลปะ หมายถึง การสรรหาหรือคิดค้นรูปทรง หรอื หน่วย (unit) ท่ีมีสาระต่อจุดหมาย
ของการสรา้ งสรรค์ และจดั ระเบยี บหนว่ ยนัน้ หรือหนว่ ยเหล่านน้ั ให้เกิดเป็นรปู ทรงใหม่ เปน็ รปู ทรงที่มีเอกัตภาพ
หรือลักษณะเฉพาะตัวของศิลปิน(Individual) เป็นต้นแบบ(Originality) และมีเอกภาพ การสร้างสรรค์ตรงข้ามกับ
การลอกเลียนแบบ (Imitation) ไม่ว่าจะเป็นการลอกเลียนแบบจากธรรมชาติหรือจากสิ่งที่มนุษย์สร้างข้ึน
(ชลูด นม่ิ เสมอ, 2559)

ทศั นศิลปธาตแุ ละหลกั สำคัญของการออกแบบ
ทัศนศิลปธาตุ คือ มลู ฐานหรือส่งิ สำคญั ท่ีงานทัศนศลิ ป์ต้องนำมาใช้สรา้ งงาน ได้แก่ เส้น (line) สี
(color) รูปร่างและรูปทรง (shape & form) แสงและเงา (light & shade) พ้นื ผิว (texture) ทว่ี า่ ง (space)
ซึ่งท้ังหมดลว้ นเป็นปจั จัยสำคัญทางทัศนศิลปธาตุสำหรบั การสร้างงาน (กำจร สุนพงษศ์ รี, 2555, 207-208)
หลกั สำคญั ของการออกแบบ หมายถงึ กฎเกณฑห์ รอื เทคนคิ ทจี่ ะนำองค์ประกอบศิลป์มาจัดวางเพ่ือ
สร้างงานศิลปะใหเ้ กิดความงดงามน่าสนใจ ไดอ้ ารมณ์ ตามท่ีศิลปินต้องการ 9 ประการ คือ เอกภาพ ดุลยภาพ
สดั สว่ น ความกลมกลนื ความขดั แยง้ จังหวะ การทำซ้ำ การลดหลัน่ และทิศทาง
3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)

NAMON KHANTACHAWANA / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 134

ผู้สร้างสรรค์ได้นำผ้าขาวม้ามาจากชุมชนบ้านหาดเส้ียว โดยผ้าขาวม้าจะเป็นผ้าฝ้ายท่ีทอลายตาราง
หมากรุกสีขาวดำ ซ่ึงกระบวนการสร้างสรรค์น้ีตอ้ งคำนึงถึงความเป็นต้นแบบท่ีชาวบ้านจะสามารถนำไปผลติ ซ้ำ
หรือต่อยอดความคิดได้ ผู้สร้างสรรค์จึงเลือกใช้รูปทรงธรรมชาติและวิธีการปักเย็บขั้นพ้ืนฐานมาใช้ในการ
สร้างสรรค์ผลงาน

ลักษณะผลงานเป็นรปู แบบ 2 มิติ โดยการนำเศษผา้ ขาวม้ามาสร้างรูปทรงเลียนแบบวัตถุในธรรมชาติ
ได้แก่ ดอกไม้ ใบไม้ กิง่ กา้ น ท่พี บไดโ้ ดยท่วั ไปในท้องถน่ิ และนำรปู ทรงของเครื่องถ้วยทม่ี ีชือ่ เสียงของสุโขทัยมา
ใช้เพอ่ื สื่อถึงความเปน็ ทอ้ งถ่นิ

ข้นั ตอนในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ประกอบดว้ ย
1. นำผ้าทอสีดำมาขึงกบั โครงเฟรมขนาด 60x50 เซนติเมตร เพอ่ื ทำเป็นพ้ืนงาน
2. ทำสว่ นประกอบต่างๆ ได้แก่ กลบี ดอกรูปแบบต่างๆ ใบไม้ ก้าน โดยสร้างต้นแบบในกระดาษและ

นำมาทาบกบั ผา้ ตัดรูปทรงตามแบบ และนำมาเย็บประกอบเป็นรปู ทรงตา่ งๆ

ภาพท่ี 1 การทำส่วนประกอบตา่ งๆ

ภาพท่ี 2 การทำรูปทรงดอกไม้
ท่ีมา: ออนไลน์, http://nongpinflower.blogspot.com/2013/08/blog-post_29.html และผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงาน


Click to View FlipBook Version