The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fineartbuu, 2021-06-11 04:10:23

IADCE 2021 Exhibition Book22

IADCE 2021 Exhibition Book22

SHU FEN CHOU (CHINA)
Green Interior Design During and Post-COVID-19 Pandemic: Design Innovations and Strategies

AutoCad & Sketch-Up, 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

GREEN INTERIOR DESIGN DURING AND POST-COVID-19 PANDEMIC:
DESIGN INNOVATIONS AND STRATEGIES

SHU-FEN CHOU*

Art & Design at China-ASEAN International College มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ แขวงท่งุ สองห้องเขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210**

E-mail [email protected]

ABSTRACT

COVID-19 Pandemic has rapidly changed our lifestyles due to the fear of infection
since late 2019. For reducing and controlling the risk of infection, lockdown, curfew,
quarantine (self-isolation), and stay-at-home restrictions have been implemented in
numerous countries around the world. In some of the more common approaches,
governments issued an order on social distancing to restrict all unnecessary gatherings and
events. Since people spend more and more time staying at home, suitable design concepts,
trends, and layout theories are very important to provide people a healthy and safe living
environment (Megahed & Ghoneim, 2020). Through a simple project design, the purpose of
this research is to integrate and implement the design innovations and strategies of the
green interior space based on the coronavirus prevention guideline of the World Health
Organization (WHO, 2021) and the LEED green building rating system (USGBC, 2020) during
and post-COVID-19 pandemic. Moreover, the result of the design project is not only to
create a sustainable and virus-free space but to provide clients a delightful, healthy,
comfortable home environment during the epidemic period.

Keywords: COVID-19 pandemic; green-antivirus interior design; design innovations and strategies

1. Introduction

COVID-19 Pandemic has entirely transformed our daily lives since Dec. 2019. In order
to decrease the risk of infection, the stay-at-home policy is one of the most effective ways
to prevent and control the spread of coronavirus. Therefore, it is crucial to create a healthy,
comfortable, sustainable, and virus-free indoor environment during the epidemic period.

*Lecture
**Art & Design at China-ASEAN International College, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.

SHU-FEN CHOU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 237

2. Concepts and Theories
The concept of this design project is to integrate and implement the design

innovations and strategies of the green interior space based on the coronavirus prevention
guideline of WHO and the LEED green building rating system (USGBC, 2020) during and post-
COVID-19 pandemic period. Additionally, the target of the design project is not only to
create a sustainable and virus-free space but to provide clients a delightful, healthy,
comfortable home environment during the epidemic period.

2.1 Design Innovation
Design innovation is one of the crucial elements of design products. Mutlu & Er
(2003) defined design innovation as two parts: (1) innovation in design-novelties introduced
in the design of a particular product or artifact, and (2) innovation by design-a new product
or artifact or a novelty in a product or artifact acquired by design functions.
Interior design is a creative and strategic process which combines the theories of
aesthetics, mental, physical, and the knowledge of technology and material to achieve the
requirements of different clients. Therefore, the design innovation concept of this project focuses
on the combination of innovation by design and the theories of interior design and strategy.
2.2 Design Strategy
In this project, the design strategies (Table 1) are based on the infection prevention
and control principle of WHO and the LEED green building-residential single-family homes
rating system (USGBC, 2020). The project aims to create a green-antivirus interior space for
preventing and controlling the risk of infection and cross-infection. Thus, the project focuses
on two credit categories-materials and resources (MR) and indoor environmental quality (EQ)
of the LEED Rating system (USGBC, 2020).

The strategies of COVID-19 infection prevention and control

WHO-the guideline of antivirus at LEED v.4.1 -green building residential:
home, 2021 single-family homes rating system, 2020

a. Wash your hands The credit categories of green home for antivirus:
b. Wear masks (if has visitors) Material & Resource (MR) &
c. Keep social distancing Indoor environmental quality (EQ)
d. Good natural ventilation system
e. Enhanced mechanical ventilation System
f. Clean and disinfect surfaces of furniture and
objects at home

Table 1: Design Strategies
Source: WHO, 2021; USGBC, 2020

3. Process of Working

3.1 Existing Layout Analysis
The project is located in the center of Taipei city. The existing layout illustrated the
actual situation on site (Fig. 1):
• Some rooms are without any window and need to consider ventilation.
• Clients only need one room; the living room can be enlarged. Therefore, the

existing walls need to be demolished and recycled.

SHU-FEN CHOU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 238

Fig. 1: Existing Layout
Source: Author, 2021

3.2 Spatial Function Analysis
The main idea of layout design is to separate public and private areas clearly for reducing
the risk of infection (Fig. 2). The entry door should be the first layer of the defense system of virus-
free. The entrance is the second layer to enhance and ensure these antivirus systems.
Additionally, the entrance, living room, and bedroom could be located near the garden to get
natural ventilation, daylight, and a nature view. All spaces have to install mechanical ventilation.

Fig. 2: Spatial Function Analysis
Source: Author, 2021

4. Results
4.1 Final Design Layout: Design Innovation and Strategies
The final design layout (Fig. 3) presents a functional and aesthetics indoor space:
• entrance and living room can be separated by a sliding door when needed.
• entrance, living room, and bedroom have windows to bring daylight, natural
ventilation, and a view of the green garden.
• Table 2 is the list of layout design strategies for this project.
• Table 3 is shown that the green strategies focus on the two credit categories-
materials and resources (MR) and indoor environmental quality (EQ) of the LEED
Rating system (USGBC, 2020) based on the infection-prevention and control
principle of WHO (Fig. 1).

SHU-FEN CHOU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 239

Fig. 3: Final Layout Design
Source: Author, 2021

The Layout Design Strategies for Home Space During & Post-COVID-19 Pandemic

Location Quarantines Period Daily

Public Area Entry Door The first layer of antivirus system: Install UV-C LED Lighting
Private Area Entrance
When entering the entrance area,
Living Room visitors should wash their hands
Open Kitchen first at Bar.

Not allow others entry
these areas

Toilet

Outdoor Garden Only for personal using
Bedroom & Dressing
Room

Bathroom

Outdoor Laundry

Table 2: The Layout Design Strategies
Source: Author, 2021

SHU-FEN CHOU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 240

The Green Strategies of Using Material and Equipment for Green Home Design
During & Post-COVID-19 Pandemic

Location Material & Resource (MR) & INDOOR
ENVIRONMENTAL QUALITY (EQ), LEED v 4.1, 2020

Public Area Entry Door Green Material + Indoor Ventilation
Entrance Antivirus
1. Enhanced ventilation: install a
Living Room 1. 100% Green Material Usage of whole-house ventilation system.
Open Kitchen Ceiling, Full height Partitions, and 2. Install the air filter.
Toilet Floor.
2. Using photocatalytic paint and 3. Natural ventilation: Garden
coating for antivirus. Paint and
coating should meet the VOC
emissions evaluation the VOC
content evaluation.

Private Area Bedroom &
Dressing Room

Bathroom

Table 3: The Strategies of Using Material and Equipment
Source: WHO, 2021; USGBC, 2021; Author, 2021

4.2 Final Perspective Drawings
The final perspective drawings (Fig. 4) are shown the results of the suitable design
concepts, trends, and layout theories (Megahed & Ghoneim, 2020) according to the theories
of design innovations and strategies. It is crucial to create a healthy, comfortable, and
sustainable indoor environment during and post-COVID-19.

Fig. 4: Perspective Drawing (Entrance, Open Kitchen, Living room & Bedroom)
Source: Author, 2021

5. Conclusions
COVID-19 has raised people’s attention to the issue of public health, sustainable

development, and the indoor environment. This project design focuses on integrating and
implementing design innovations and strategies for a green-antivirus interior design based on

SHU-FEN CHOU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 241

the coronavirus prevention guideline of WHO and the LEED green building rating system.
Thus, the result of the design project is not only to create a sustainable and virus-free space
but to provide clients a delightful, healthy, comfortable home environment during the
epidemic period.

Since the current interior design and theory on the correlation of the COVID-19 is
limited, the contribution of this research is trying to build the background of green-antivirus
interior design via a design project. For future research, there are some gaps that need to
explore such as quantitative research on material resources, energy-saving, or air quality for
interior design during and post-COVID-19 period.

References

Megahed, N. A. & Ghoneim, E. M. (2020). Antivirus-built environment: lessons learned from
Covid-19 pandemic. Sustainable Cities and Society. 61 (2020) 102350.

Mutlu, B. & Er, A. (2003). Design innovation: historical and theoretical perspectives on
product innovation by design. The 5th European Academy of Design Conference,
Barcelona, Spain. Retrieved from https://api.semanticscholar.org/CorpusID:1339638

U.S. Green Building Council, USGBC. (2020). The LEED reference guide for LEED v.4.1
residential: single-family homes ranking system. [e-book]. pp.42-63. Retrieved from
https://www.usgbc.org/leed/v41

World Health Organization. (2021). Coronavirus. Retrieved from
https://www.who.int/health-topics/coronavirus#tab=tab_2

SHU-FEN CHOU / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 242

SITAPAT THORNWATTANAPARK (THAI)
I’m not your forefather

Created 3D model by Nomad Sculpt application
and used Procreate application to draw 2D part, 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

I’M NOT YOUR FOREFATHER
ฉนั ไม่ใช่บรรพบรุ ษุ ของมนษุ ย์

ศติ าพัทธ์ ธรณว์ ัฒนภาคย*์
SITAPAT THORNWATTANAPARK**

สาขาคอมพวิ เตอร์แอนเิ มชันและวิชอลเอฟเฟกต์ คณะดจิ ิตอลมเี ดยี มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ ***
[email protected]

1. แนวความคดิ
นาเอาความเชอ่ื ทีว่ า่ มนษุ ยไ์ ม่ไดพ้ ฒั นามาจากลิงมาสร้างเป็นผลงานทต่ี อ้ งการจะประกาศให้โลกรู้ว่าลิง

น้ันไม่ใช่บรรพบุรุษของมนุษย์ และได้นาเอาอารมณ์โกรธเวลาคนถูกเข้าใจผิดมาใส่อยู่ในงานเผ่ือส่ือถึงการถูก
เข้าใจผิด และนาไฟมาใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของความโกรธ เกิดเป็นผลงานลิงท่ีโกรธมากจนไฟลุก ส่ือถึงการ
เขา้ ใจผดิ ทมี่ ีมากเกินไป

1. Concept
From the belief that human are not developed from monkey species, the creative

work was created to declare the world that belief. The work brought up the feeling of angry
when there are misunderstanding in the form of fire as a symbol. The fire is burning on a
monkey to communicate that there are too much misunderstanding

*อาจารย์
**Lecturer
***Program in Computer Animation and Visual Effects, School of Digital Media, Sripatum University, Bangkok, Thailand.

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN (THAI)
The floating flowers pattern decorate ceiling
Graphic Design, 420 x 594 mm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

LOCAL IDENTITY FROM MURALS TO CONTEMPORARY BAR FURNITURE
DESIGN, CASE STUDY IN LAOS, WAT MAHATHAT (VIENTIANE)

เอกลักษณพ์ น้ื ถ่นิ ในงานจติ รกรรมฝาผนงั สู่การออกแบบเฟอรน์ เิ จอรบ์ ารร์ ่วมสมยั
กรณศี ึกษาประเทศลาว วัดมะหาทาด (เวยี งจันทน)์

สิทธศิ ักดิ์ รตั นประภาวรรณ1, สุวฒั นช์ ัย ไชยพันธ์2, นนั ทยิ า ณ หนองคาย3*
SITTISAK RATTANAPRAPAWAN1, SUWATCHAI CHAIYAPHAN2, NANTIYA NA NOGKAI3**

คณะศลิ ปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 300001***
E-mail [email protected], [email protected]

บทคดั ย่อ

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยผสมผสานเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและอธิบายสัญลักษณ์ศิลป์เกี่ยวกับ
จิตรกรรมฝาผนังสู่การออกแบบเฟอร์นิเจอร์บาร์ร่วมสมัย กรณีศึกษาประเทศลาว วัดมะหาทาด (เวียงจันทร์) เป็น
การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยลงสำรวจพื้นท่ีเพื่อเก็บข้อมูลจิตรกรรมฝาผนังในวัดพระอารามหลวงชั้นพิเศษในประเทศ
ดังกล่าว แล้วทำการวิเคราะห์ในประเด็นดังต่อไปน้ี 1) สัญลักษณ์ศิลป์ของจิตรกรรมฝาผนังในประเทศลาว
2) รูปแบบของจิตรกรรมฝาผนัง เคร่ืองมือวจิ ัยได้แก่ แบบสังเกตลวดลายความเหมือนและความต่างสัญลักษณ์ศิลป์
ในจิตรกรรมฝาผนัง

ผลการสำรวจพบว่าสามารถจำแนกจิตรกรรมฝาผนัง ใน 3 ประเภทประกอบด้วย ลายดอกลอยแบบต่าง ๆ ,
ลายประดับเพดาม, และลายดอกลอยประดับเพดามแบบต่าง ๆ

สรุปผลการวิจัยได้ว่าสัญลักษณ์ศิลป์ของจิตรกรรมฝาผนัง ในประเทศลาวมีความแตกต่างมีเอกลักษณ์
สามารถอธบิ ายไดด้ ังต่อไปน้ี 1) มนี ้ำหนักของเสน้ มีเข็มมีเบาสลับกัน 2) ลวดลายมคี วามพล้วิ ไหวยอดปลายเรียวแหลม
3) จังหวะของลวดลายจะมีช่องไฟชิดติดกันอย่างละเอียด 4) ลวดลายประดับจะตรงไปตรงมา นอกจากน้ียังพบ
ความแตกต่างของโทนสีท่ีใช้ในงานจิตรกรรมฝาผนัง ในประเทศลาวเลือกใช้โทนสีพาสเทล และสีสะท้อนแสง
ทำใหผ้ ลงานมคี วามโดดเด่นแปลกตานา่ สนใจ

คำสำคัญ: เอกลกั ษณพ์ นื้ ถน่ิ , จิตรกรรมฝาผนัง, ออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์บารร์ ว่ มสมยั

*อาจารย์ ดร., ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์, อาจารย์ ดร.
**Lecturer Dr., Assistant Professor, Lecturer.
*** Faculty of Art and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima, Thailand.

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, SUWATCHAI CHAIYAPHAN, NANTIYA NA NOGKAI / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 247

Abstract

This research is a survey mixed research. The objective is to study and explain the
symbolism of mural art into contemporary bar furniture design case study in Laos, Wat
Mahathat (Vientiane) is a qualitative research. By exploring the area to collect information
about the murals in the special class at the Wat Phra Aram Luang the then analyzed on the
following points: 1) Symbolism of mural painting in Laos. 2) Pattern of mural, research tools
include for observing patterns, similarities and differences, symbols of art in frescoes.

The results of the survey showed that the murals could be classified into 3
categories as follows: Various floating flower patterns, Ceiling decorations, and various
floating flowers at ceiling decorated.

Concluding the research results that the symbolism of mural painting. In Laos, there
are differences and uniqueness. Can be described as follows. 1) The weight of the line. The
intensive and alternately light. 2) The patterns are fluttering, and the tip is tapered. 3) The
strokes of the pattern are closely adjacent to each other. In addition, the color tones used
in the murals were used in Lao is pastel tone and reflective color which makes the work
outstanding, unusual and interesting.

Keywords: Local identity, mural painting, contemporary bar furniture design

1. ความสำคัญหรือความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)

ศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่มีความสำคัญเผยแผ่ไปทั่วโลก มีจำนวนผู้นับถือส่วนใหญ่ในทวีปเอเชีย และ
พุทธศาสนาเป็นกลไกเช่ือมโยงทางพหุวัฒนธรรม ศาสนาพุทธเป็นศาสนาท่ีศักดิ์สิทธิ์ พุทธศาสนิกชนมีศรัทธา
แรงกล้า ยึดหลักธรรมคำสอนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และเรียนรู้หลักธรรม รวมทั้งพุทธวรรณกรรม
ซ่ึงพุทธศาสนกิ ชน พบมากในประเทศลาว, พมา่ , ไทย โดยนอกจากจะเป็นกลุม่ ประเทศที่มชี ายแดนติดกันแล้ว
ทง้ั 3 ประเทศยังมีประเพณีวัฒนธรรมท่ีใกล้เคียงกันดว้ ย (นันทิตา วนาพทิ กั ษก์ ุล, 2558)

กล่าวถึงจิตรกรรมฝาผนัง ศิลปะอันเป็นจุดร่วมของสองฝั่งโขง ระหว่างฝ่ังลาวและภาคอีสานของไทย
ได้ปรากฏโฉมในเทศกาลศิลปะร่วมสมยั นานาชาติ บางกอก อาร์ต เบยี นนาเล่ 2018 ซ่ึงมีเสน่ห์ท่ีแตกต่างจาก
งานจิตรกรรมโดยช่างหลวงในภาคกลางของลาวสามารถสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา และ วิถีชีวิตของชุมชน
ทอ้ งถิน่ ได้อยา่ งดี (ทวิ าพร เทศทศิ , 2561)

จิตรกรรมฝาผนัง ในด้านงานจิตรกรรมของลาวนั้นส่วนใหญ่ถูกสร้างข้ึนเพื่อความศรัทธาในทาง
พระพุทธศาสนาซ่ึง สงวน รอดบุญ (2545) กลา่ วไวว้ ่า ชนชาวลาวเคารพนับถือพุทธศาสนา จึงนิยมสร้างวัดไว้
ตามคุ้มต่าง ๆ เช่นเดียวกับไทย เช่ือว่างานจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์วิหารคงจะนิยมเขียนทั่วไปเพื่อความ
สวยงาม ความศักดิส์ ิทธ์ิ และเป็นเครื่องมือสื่อความหมายความเข้าใจในเรือ่ งราวของพระพุทธศาสนา โดยนิยม
เขียนเรื่องราวพุทธประวัติ ดังน้ันจากความเคล่ือนไหวและการเปล่ียนแปลงของจิตรกรรมร่วมสมัยของลาว
ต้ังแต่ยุคสมัยอาณานิคมฝรั่งเศสถึงปัจจุบันความเปล่ียนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง ได้ส่งผล
ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงในศลิ ปะและวฒั นธรรมอยา่ งหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นเดยี วกับผลงานจิตรกรรมร่วมสมัยของ
ลาวท่ีมีการพัฒนา เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการรับอิทธิพลตามแบบอย่างศิลปะตะวันตก จนทำให้ศิลปินลาว
หลายท่านเปน็ ทร่ี ้จู ักในวงการศลิ ปกรรม (บุรนิ ทร์ เปล่งดสี กลุ , 2555)

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, SUWATCHAI CHAIYAPHAN, NANTIYA NA NOGKAI / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 248

จากสภาวะท่ีพุทธศิลป์ และพุทธวรรณกรรมในด้านงานจิตรกรรม ท่ีกำลังจะกลายเป็นมรดกท่ีถูกแช่
แข็ง เพราะผู้คนมุ่งสนใจกระแสหลักซึ่งกำลังจะเข้ามาทดแทนวฒั นธรรมชาตินัน้ (ธานี สังข์เอย้ี ว, 2558) จงึ ทำ
ใหผ้ ูว้ จิ ยั มีความสนในการศกึ ษาสญั ลกั ษณศ์ ลิ ปะ จิตรกรรมฝาผนัง ซงึ่ เป็นสญั ลักษณ์ท่ีใชแ้ ทนความหมายต่าง ๆ
ในพุทธวรรณกรรม หรือพุทธศิลป์ (Thummachuk Prompuay, 2550) และประดับตกแต่งลวดลายบนงาน
สถาปัตยกรรม เพ่ืออธิบายในเชิงลึกให้เห็นถึงรายละเอียดท่ีมีคุณค่า เป็นส่ิงล้ำค่าทางของประเทศลาวให้
เผยแพรเ่ ปน็ ทรี่ จู้ ักกันอยา่ งแพรห่ ลายตอ่ ไป

2. แนวคดิ / ทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)
2.1 คำสขุ แกว้ ม่ิงเมอื ง เป็นกรณศี ึกษา อธิบายไว้วา่ (บุรินทร์ เปลง่ ดสี กุล, 2555)
กำหนดทฤษฎี “จินตนาการใหม่”(New Thinking) ซ่ึงเปน็ นโยบายของประเทศลาวที่มกี ารเปดิ มมุ มอง

ความรแู้ ละความสนใจใหม่ ๆ สามารถอธิบายไดด้ งั ต่อไปนี้
1. งานศลิ ปะด้ังเดิมของลาว
2. การนบั ถือศาสนา ขนบประเพณี วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม
3. ปรากฏการณ์ในดา้ นจิตรกรรมแนวใหม่
สรุปได้ว่าในสญั ลักษณ์ศิลปข์ องจิตรกรรมฝาผนัง ในประเทศลาวสามารถใช้แนวคดิ เชิงวฒั นธรรม

โดยดงึ เอาตน้ ทุนทางศลิ ปวฒั นธรรมสะท้อนอัตลักษณ์

2.2 Elle Decoration (2545) (อ้างใน ธรณี สหสมโชค, 2549) นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์ เป็นกรณศี ึกษา
อธบิ ายไว้ว่า

นกั ออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์สามารถออกแบบใหผ้ ู้ผลติ ทำเฉพาะขึน้ มาเฉพาะเลย เพ่ือให้ไดร้ ูปแบบทม่ี ี
ลักษณะพิเศษและมีเอกลักษณ์ตรงกบั ผ้ใู ชง้ านแต่ละกลมุ่ ลกั ษณะของเฟอร์นิเจอร์แบบบาร์ ลอยตวั จะสามารถ
เคล่อื นย้ายไดง้ ่าย มีการออกแบบโครงสรา้ งให้ เหมาะสมกบั การใชง้ านและมีความแขง็ แรงในตวั ของ
เฟอรน์ เิ จอร์สามารถอธิบายได้ดงั ต่อไปนี้

1. ด้านประโยชนใ์ ช้สอยและรูปแบบท่มี ลี ักษณะเฉพาะ
2. การสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่หรือผสมผสานกบั ต้นทนุ วฒั นธรรม
3. ดึงหรือหยิบยกเอาลักษณะเด่นที่น่ารัก มีเสนห่ ์ มเี หตุผล และมีความบรสิ ุทธ์ิมาออกแบบพฒั นาเสียใหม่

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
1. กำหนดคณุ สมบัติของเฟอร์นเิ จอร์เชิงวัฒนธรรมรว่ มสมัย
2. การคัดสรรสญั ลกั ษณศ์ ิลป์ของจิตรกรรมฝาผนังผสมผสานเปน็ แนวทางสูก่ ารออกแบบ
3. นำลวดลายจิตรกรรมฝาผนังทผ่ี ่านกระบวนการทางการออกแบบกราฟฟิกมาประกอบใช้ในการออกแบบ

4. การวเิ คราะห์ผลงาน (Results Analysis)
ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยกระทำควบคู่ไปกับการดำเนินงาน

ด้วยวิธีการวเิ คราะห์สรุปแบบนิรนัย (Analytic deduction) โดยการวเิ คราะห์นั้นผู้วจิ ัยดำเนินการให้สอดคล้องและ
สัมพันธ์กับคำถามงานวิจัย คือ จิตรกรรมฝาผนังที่ใช้ประดับตกแต่งลวดลายบนเพดานวัดท่ีมีความแตกต่างกัน
อย่างไร ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง และเพื่อให้การวิเคราะห์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพ ในการ
ดำเนินการวิจัยผู้วิจัยเลือกใช้ตามข้ันตอน 4 ข้ัน คือ PDCA (Plan: วางแผน, Do: ปฏิบัติ, Check: ตรวจสอบ, Act:
ปรบั ปรงุ ) (สุธาสินี โพธจิ นั ทร์, 2015) ประกอบดว้ ย

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, SUWATCHAI CHAIYAPHAN, NANTIYA NA NOGKAI / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 249

1. Plan: วางแผนในการเก็บข้อมูลจิตรกรรมฝาผนังในวัดพระอารามหลวงชั้นพิเศษในประเทศลาว
ประเด็นข้อมูลที่จำเป็นมีดังนี้ 1) สัญลักษณ์ศิลป์ของจิตรกรรมฝาผนัง ประกอบด้วย ลวดลาย, สกุลช่าง 2) รูปแบบ
ของจิตรกรรมฝาผนงั

2. Do: ผวู้ ิจยั ดำเนนิ ลงสำรวจพ้นื ท่ี รวบรวมข้อมูลและคดั แยกข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ
3. Check: ประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามแผนวา่ เป็นไปตามแผนทีว่ างไว้หรือไม่
4. Act: อธิบายสัญลักษณ์ศิลป์เกี่ยวกับจิตรกรรมฝาผนังในพุทธวรรณกรรมเชิงพหุวัฒนธรรม
กรณีศกึ ษาประเทศลาว
ผลการออกแบบ : การสังเคราะห์เชิงคุณภาพของสัญลักษณ์ศิลป์เก่ียวกับจิตรกรรมฝาผนังในพุทธ
วรรณกรรมเชิงพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาประเทศลาว ตามหลักฐานของรูปแบบสัญลักษณ์ศิลป์เกี่ยวกับ
จิตรกรรมฝาผนังที่คน้ พบในประเทศลาว สามารถสรุปไดด้ ังน้ี

ตารางที่ 1 ลวดลายสิละปะลายลาว (สงวน รอดบุญ, 2545)

ลายดอกลอยแบบต่าง ๆ สลิ ะปะลายลาว ลายดอกลอยประดบั เพดามแบบตา่ ง ๆ

ลายประดบั เพดาม

1) ลวดลายมีความพล้ิวไหวยอดปลายเรยี ว 1) มนี ำ้ หนกั ของเส้น มีเขม็ มเี บาสลับกนั 1) จงั หวะของลวดลายจะมชี ่องไฟชิดติดกนั
อย่างละเอยี ด
2) ลวดลายประดับจะตรงไปตรงมา 2) ลวดลายประดบั จะตรงไปตรงมาลวดลาย
ประดับจะตรงไปตรงมา 2) มีน้ำหนกั ของเส้น มีเขม็ มีเบาสลับกัน

จากตารางข้างต้นสามารถอธิบายได้ว่าสัญลักษณ์ศิลป์เกี่ยวกับจิตรกรรมฝาผนังประเทศลาว สามารถ
สรุปได้ใน 5 ประเด็นประกอบด้วย 1) มีน้ำหนักของเส้น มีเข็มมีเบาสลับกัน 2) ลวดลายมีความพล้ิวไหวยอด
ปลายเรียวโค้งมน 3) จังหวะของลวดลายจะมีช่องไฟชิดติดกันอย่างละเอียด 4) ลวดลายประดับจะ
ตรงไปตรงมา

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, SUWATCHAI CHAIYAPHAN, NANTIYA NA NOGKAI / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 250

ภาพที่ 1 ภาพกราฟฟิก ลอยดอกลอยประดบั เพดามแบบต่าง ๆ

ภาพที่ 2 ภาพเฟอร์นิเจอรบ์ ารร์ ว่ มสมัย

5. สรปุ (Conclusion)
จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การนำเอาเอกลักษณ์พ้ืนถ่ินในงานจิตรกรรมฝาผนังสู่การออกแบบ

เฟอรน์ ิเจอร์บาร์ร่วมสมัย กรณีศึกษาประเทศลาว วัดมะหาทาด (เวยี งจันทน์) สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการ
ออกแบบเฟอร์นิเจอร์บาร์ ตามกรอบแนวความคิดสำหรับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์บาร์ โดยดึงเอาต้นทุนทาง
ศิลปวัฒนธรรมสะท้อนอัตลักษณ์จติ รกรรมฝาผนัง อีกท้ังสามารถใชใ้ นการส่ือสารเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้
เกี่ยวกับสัญลักษณ์ศิลป์เก่ียวกับจิตรกรรมฝาผนังในประเทศลาว (เวยี งจันทน์) ที่สามารถจับต้องและเข้าถึงได้
งา่ ยขึน้ เพื่อเปน็ การวางพื้นฐานความรใู้ นเชิงวฒั นธรรมอีกท้งั ในเรือ่ งของการทอ่ งเท่ียวต่อไป

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, SUWATCHAI CHAIYAPHAN, NANTIYA NA NOGKAI / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 251

เอกสารอ้างองิ (References)

ทิวาพร เทศทิศ. (2561). “ฮูปแตม้ ลาว-ไทย” จติ รกรรมฝาผนังรว่ มสมยั เช่อื มใจสองฝงั่ โขง : [ออนไลน]์
HTTPS://WWW.BANGKOKBIZNEWS.COM/NEWS/DETAIL/671 (วนั ที่เขา้ ถงึ 1 มกราคม 2564).

ธานี สงั ขเ์ อ้ยี ว. (2558). สตั วห์ ิมพานต.์ กรุงเทพฯ: สำนักพิมพม์ ิตรสัมพันธ์กราฟฟิค. ฉบับที่ 2.
นนั ทิตา วนาพิทักษ์กลุ . (2558). การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประชาคมอาเซยี น. ปทุมธาน:ี วารสารครศุ าสตร์

ปริทรรศนฯ์ . ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2

บรุ ินทร์ เปล่งดสี กลุ . (2555). พลวัตของจิตรกรรมร่วมสมยั ลาวจากยคุ อาณานิคมถงึ ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ :
วารสารศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555.

ศรษฐวัฒน์ อทุ ธา. (2557). ไตรภูมิ พิพธิ ทศั นาพุทธจักรวาลทศั น.์ กรุงเทพฯ: เอเธนส์ พับลิชช่งิ .
สงวน รอดบุญ. (2545). พุทธศลิ ปะลาว. พิมพ์ครั้งท่ี 2 . กรุงเทพฯ: สายธาร.
สุธาสนิ ี โพธจิ นั ทร์. (2015, มนี าคม 27). PDCA หัวใจสำคัญของการปรบั ปรงุ อย่างต่อเนื่อง. กรุงเทพฯ:

[ออนไลน]์ HTTP://WWW.FTPI.OR.TH
THUMMACHUK PROMPUAY. (2550). ทฤษฏีศลิ ปะ. กรุงเทพฯ: [ออนไลน์]

HTTP://WWW.BLOGGANG.COM (วันทเ่ี ข้าถึง 1 มกราคม 2564).

SITTISAK RATTANAPRAPAWAN, SUWATCHAI CHAIYAPHAN, NANTIYA NA NOGKAI / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 252

SUMATE SUWANNETH (THAI)
Cultural frame
Night shot and golden ratio rule, 38.293 x 20.16 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

CULTURAL FRAME
กรอบวัฒนธรรม

สุเมธ สวุ รรณเนตร*
SUMETH SUWANNETH**

สาขาภาพยนตรแ์ ละสือ่ ดจิ ิทัล คณะดิจิตอลมเี ดยี มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ ***
[email protected]

บทคดั ย่อ

งานสร้างสรรค์ช้ินนี้ผลิตขึ้นเพ่ือถ่ายทอด การผสมผสานของวัฒนธรรมไทยจีน โดยสื่อสารผ่านภาพ
ร้านอาหารข้างถนน ซ่ึงเป็นร้านที่มีการผสมผสานระหว่างสองวัฒนธรรม ภาพถ่ายเป็นเครื่องมือชนิดหน่ึงท่ี
สามารถส่ือสาร และถ่ายทอดความคิดวิถีชีวิต วัฒนธรรม และรวมถึงความเป็นอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี ด้วย
การจัดองค์ประกอบภาพ การใช้แสงในภาพ การสร้างสีสันของภาพ รวมถึงการถ่ายทอดอารมณ์ของตัวแบบ
ทั้งนี้ยังมีการจัดองค์ประกอบภาพโดยใช้แนวคิด อัตราส่วนทองคำ และการใช้สัญญะ หรือการใส่รหัสของ
ความหมายในภาพ ทำให้ภาพที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นมานั้นสามารถท่ีจะช่วยสื่อสาร เกิดความมีชีวิตชีวา หรือ
ความรสู้ ึกทีเ่ กดิ ขนึ้ ในชว่ งเวลาขณะนนั้ ไดเ้ ปน็ อย่างดี

คำสำคัญ: อตั ราส่วนทองคำ, สญั ญะ, วัฒนธรรม

Abstract

This creation was created to convey A blend of Thai-Chinese culture by
communicating through the image of the street food restaurant Which is a shop that is a
blend of two cultures Photographs are one of the tools to communicate. And convey their
thoughts, ways of life, culture, and society as well with composition the use of light in the
picture Including creating a colorful picture and the expression of the subject There is also a
composition using the concept. Golden ratio and the use of signs or the code of the
meaning in the picture the images that were created can help communicate. come alive or
the feelings that arise during that time as well.

Keywords: Golden ratio, Sign, Culture

*อาจารย์
**Lecturer
*** Film and Digital Media, School of Digital Media, Sripatum University, Bangkok, Thailand.

SUMETH SUWANNETH / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 255

1. ความสำคัญหรอื ความเป็นมาของปัญหา (The Importance or Problem’s Background)
งานสร้างสรรค์ช้ินนี้สร้างขึ้นเพื่อถ่ายทอด การผสมผสานของวัฒนธรรมทั้ง 2 ชนิดนั่นคือวัฒนธรรม

ไทยจีน การเปิดร้านอาหารข้างทางเราสามารถพบได้บ่อยสำหรับอาหารไทยท่ีเป็นร้านอาหารตามสั่ง หมายถึง
การส่ังตามใบรายการที่ลูกค้าต้องการได้อย่างอิสระ น้อยคร้ังที่เราจะสามารถพบเห็นร้านอาหารที่มีการ
ผสมผสานระหว่างสองวฒั นธรรมที่สามารถอยรู่ ่วมกันไดอ้ ยา่ งลงตัว ดัง้ น้นั ภาพถ่ายจึงเป็นหลกั ฐานช้ินหน่ึงท่จี ะ
สามารถสื่อสาร และถ่ายทอดวัฒนธรรม วิถีชีวิต และสังคมไดเ้ ป็นอย่างดี ด้วยการจัดองค์ประกอบ การใช้แสง
สีของภาพ และอารมณข์ องตวั แบบท้ังหมดนั้นสามารถทจ่ี ะช่วยสอ่ื สารใหภ้ าพเหล่านัน้ มีชีวติ ชวี า และหยุดเวลา
หรอื ความร้สู ึกท่ีเกดิ ขน้ึ เฉพาะหน้าน้นั ไดเ้ ป็นอย่างดี

2. แนวคดิ / ทฤษฎที ีเ่ กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)
ผลงานสร้างสรรค์ช้ินนี้ใช้แนวคิดในการสรา้ งสรรคโ์ ดยแบง่ เปน็ 3 แนวคิดหลกั เพือ่ ใช้ในการสร้างสรรค์

และอธิบายภาพคือแนวคิดการจัดองค์ประกอบภาพโดยใช้สัดส่วนทองคำ (golden ratio) แนวคิด
เก่ยี วกบั สญั ญะ (sign) และแนวคิดเกย่ี วกบั วฒั นธรรม

3. กระบวนการในการสร้างสรรค์ (Creative Process)
แนวคิดเกี่ยวกับ การจัดองค์ประกอบภาพโดยใช้สัดส่วนทองคำ คือ การวางสัดส่วนของภาพโดย

ใช้ทฤษฎีทางคณติ ศาสตรเ์ พ่ือหาสดั สว่ นทง่ี ดงามท่สี ุด ซงึ่ หลักการของสัดส่วนทองคำ คือนำอตั ราส่วนของความ
ยาวรวม a + b ตอความยาวสว่ นท่ียาว a มีค่าเท่ากับความยาวส่วนท่ียาว a ตอ่ ความยาวของส่วนท่ีสน้ั b โดย
ผลลัพธ์จะเท่ากับ 1 : 1.618 เม่ือเอาผลลัพธ์ของพื้นที่มาคำนวณใหม่ จะสามารถคำนวณได้เร่ือย ๆ โดยไม่มีที่
ส้ินสุด (TonyWins, 2009) ซึ่งสัดส่วนทองคำสามารถพิจารณาสร้างได้หลายรูปแบบ เช่น สามเหล่ียมหน้าจ่ัว
หรือส่ีเหล่ยี มผนื ผ้า

ภาพท่ี 1 สตู รการคำนวณ
ท่ีมา : https://ichi.pro/th/xatraswn-thxngkha-xyangri-laea-thami-thung-chi-ni-kar-xxkbaeb-68886867474607

สืบค้นเมอ่ื 1 มีนาคม 2564

SUMETH SUWANNETH / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 256

ภาพท่ี 2 เส้นแบง่ การจัดองค์ประกอบของอตั ราส่วนทองคำ

เม่อื นำมาวเิ คราะห์หรือนำมาผสมกับภาพถา่ ยจะเปน็ ลกั ษณะ ดงั น้ี

ภาพที่ 3 รูปแบบการจัดวางองค์ประกอบโดยใช้ กฎสดั ส่วนทองคำ (golden ratio rule)

แนวคิดเกี่ยวกับ สัญญะ (sign) มีรากฐานจากนักภาษาศาสตร์ชาวสวิส เฟอร์ดิน๊อง เดอร์ โซซูร์
(F. de Saussure) ที่ศึกษาค้นคว้าเกย่ี วกับสญั ญะต่าง ๆ นนั้ ถกู สร้างขนึ้ มาได้อย่างไร และมีกฎใดบ้างที่ควบคุม
สัญญะ (sign) เหล่านั้น (Nattawutsingh, 2555) ซ่งึ กาญจนา แก้วเทพ ได้สรุปคุณสมบัติของสัญญะ (sign) ไว้
ดังนี้ คอื

1) สัญญะ (sign) มีลกั ษณะทางกายภาพ
2) สัญญะต้องเกิดจากความต้ังใจของผ้สู ง่ สารทจ่ี ะสื่อความหมายบางอย่างออกไป และ
3) สญั ญะต้องมีความหมายท่ีมากกว่าตัวของมนั เอง โดยสัญญะ (sign) นั้น
เม่ือกล่าวถึงผลงานสร้างสรรค์ชิ้นนี้ มีมุมมองในการใช้สัญญะวิทยา (semiology) เข้ามาพิจารณา ใน
มุมมองของ การเข้ารหัสหรือระบบ (code / system) โดยมองว่า รหัสคือรูปแบบที่ซับซ้อน และซ้ำ ๆ กัน
ประกอบข้ึนเป็นสัญญะ (sign) (กาญจนา แกว้ เทพ & สมสุข หินวิมาน, 2551) หรือหมายถงึ ถา้ ผู้ส่งสารใชร้ หัส

SUMETH SUWANNETH / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 257

เดียวกันกับผู้รับสารแล้ว ทั้งสองฝ่ายก็มีแนวโน้มจะสื่อสารความหมายชุดเดียวกันได้ รวมถึงการพิจารณา
มุมมองในการสร้างความหมายหรือความสัมพันธ์ ของสัญญะ (sign) โดยมีมุมมองว่า ความหมายท่ีเกิดข้ึนได้
ตอ้ งประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 2 สว่ น คือ

1) สว่ นทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบ (element)

2) สว่ นที่เป็นความสมั พนั ธ์

ภาษาภาพก็คือ สัญญะ (sign) อย่างหน่ึงที่ใช้ภาพ หรือใช้สิ่งที่มองเห็นแทนความหมายที่ต้องการจะ
สื่อสาร ซ่ึงภาษาภาพน้ันมีความแตกต่างจากภาษาของมนุษย์ที่ใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนในการส่ือสาร แต่ภาษา
ภาพน้ันใช้ส่ิงท่ีมองเห็นแทนความหมาย ซ่ึงอาจหมายถึงอวัจนสัญลักษณ์ (non-verbal symbol) ภาษาภาพ
จงึ เป็นส่วนสำคัญท่ีได้จากภาพลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดจากความชำนาญและการใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการถ่ายภาพ
โดยท้งั หมดนนั้ มีจุดมุ่งหมายสำคญั คือ เพือ่ ตอ้ งการสอ่ื สารไปยงั กลมุ่ เป้าหมายต่าง ๆ

แนวคิดเก่ียวกับ วัฒนธรรม คือระบบสัญลักษณ์ท่ีมนุษย์สร้างขึ้นและมิใช่ระบบท่ีเกิดข้ึนโดย
สัญชาตญาณก็ย่อมจะหมายความว่า วัฒนธรรมคือส่ิงที่มนุษย์จะต้องเรียนรู้ และจะต้องมีการถ่ายทอด
วฒั นธรรม

การถ่ายทอดวัฒนธรรมระยะแรกมนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ มีลักษณะคล้ายครอบครัวขนาดใหญ่
เม่ือคนกลุ่มเล็กอาศัยอยู่ด้วยกัน ก็สามารถเข้าใจกัน และประพฤติปฏิบัติต่อกันได้ โดยไม่มีความขัดแย้ง
เทา่ ใดนกั เม่ือสงั คมมีขนาดใหญ่ขน้ึ

การเกดิ วัฒนธรรมยังอาจอธบิ ายได้ทางดา้ นความต้องการของมนษุ ย์และสัตว์ ความตอ้ งการของมนษุ ย์
มีอยู่หลายระดับ ต้นเหตุของการเกิดวัฒนธรรมและเม่ือเกิดวัฒนธรรมแล้ว ความต้องการอ่ืน ๆ ก็อาจเกิดข้ึน
ตามมาอีกวิธีการทำมาหาเลยี้ งชีพ ถอื เป็นการตอบสนองความต้องการท่ีอยู่เหนือความอยู่รอดและวิถีการผลิต
เพ่อื ยังชพี ก็นบั เป็นรปู แบบหนึ่งของวฒั นธรรม

วัฒนธรรมในสงั คมเราอาจจะแบ่งออกได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือ วัฒนธรรมในลักษณะท่ีเป็นสัญลักษณ์
และจับต้องไม่ได้ เป็นต้นว่า ภาษาพูด ระบบ ความเช่ือ กิริยามารยาท ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมทางด้านวัตถุเป็นต้นว่า อาคารบ้านเรือน วัด และศิลปกรรม ประติมากรรมต่าง ๆ วัฒนธรรม
ท้ังหมดก็คือส่ิงที่ครอบงำชีวิตมนุษย์ ทั้งในชีวิตประจำวันและท้ังในโอกาสพิเศษท่ีมนุษย์เราจำเป็นจะต้องใช้
ชีวิตผดิ แปลกไปจากวันธรรมดา

4. การวเิ คราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
จากภาพถ่ายที่นำเสนอผู้ผลติ ผลงานมีความสนใจในศิลปะของชาวจีน ประกอบกับผู้สรา้ งสรรค์เคยได้

มีโอกาสท่องเที่ยวในสาธารณรัฐประชาชนจีน จึงได้รับเอาความรู้สึกนึกคิดของวัฒนธรรมชาวจีนเข้ามา
ผสมผสานซ่ึงในภาพถ่ายใช้การถ่ายทอดโดยจัดองค์ประกอบภาพแบบสัดส่วนทองคำเพ่ือท่ีจะ จัดวางจุดสนใจ
ของภาพใหอ้ ยทู่ ี่ตวั แบบทั้ง 2 คน

SUMETH SUWANNETH / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 258

ท้ังนี้ยังใช้การนำเสนอเกี่ยวกับการแบ่งเฟรมของภาพ หรือกรอบของหน้าต่าง และประตูเพื่อใช้เว้น
ระยะห่างของความรู้สึกของทั้ง 2 โดยท่ีใช้สีหน้าของตัวแบบ 1 คนในการแสดงความรู้สึก เมื่อเราดู
องค์ประกอบภาพโดยรวมจะเห็นตัวอักษรจีนที่เป็นป้ายไฟ ถูกติดต้ังอยู่ตรงกลางรวมถึงตัวหนังสือภาษาไทย
เป็นการแสดงความเช่ือมโยงระหว่างวฒั นธรรมไทยและจีนที่อยู่คู่กนั มาช้านาน ตั้งแต่ในสมัยโบราณ ทั้งการอยู่
ร่วมกันของวัฒนธรรมต่างมีการหยิบยืมเอาเอกลักษณ์ของแต่ละวัฒนธรรมมาใช้ หรือการแค่เพียงนำมาผสมผสาน
ดังจะเห็นได้ในรูปท่ีตัวหนังสือภาษาไทย แต่มีการหยิบยืมรูปแบบเอกลักษณ์ของการเขียนแบบจีนมาใช้ ทำให้เกิด
การผสมผสานระหว่างวฒั นธรรมทั้ง 2 ซึ่งทำให้เกดิ เป็นอัตลักษณ์ใหม่

5. สรปุ (Conclusion)
กล่าวโดยสรุป ผลงานช้ินนี้ต้องการส่ือเพื่อแสดงถึงวัฒนธรรมศิลปะของท้ัง 2 ประเทศอันได้แก่

ประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีน จึงต้องการใช้สัญลักษณ์ในภาพเพื่อส่ือสารแทนความหมาย เช่น
ตัวอักษรจีน และตวั อักษรไทย ที่อยู่ในภาพ และเพ่ือแสดงถงึ วฒั นธรรมท้ัง 2 ซึ่งต่างก็พ่ึงพาอาศัยซง่ึ กันและกัน
ในสงั คม

เอกสารอา้ งองิ (References)

กาญจนา แก้วเทพ. (2554). ส่อื สารมวลชน: ทฤษฎแี ละแนวทางการศึกษา (Vol. พมิ พครั้งที่ 3). กรุงเทพ: ภาพพิมพ.์
กาญจนา แก้วเทพ และ สมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนกั คิด เศรษศาสตร์การเมืองกับสอ่ื สารศึกษา.

กรุงเทพฯ: ภาพพมิ พ.์
Nattawutsingh. (2555). 26 กมุ ภาพันธ์ 2555. Public Anthropology. Retrieved from

http://nattawutsingh.blogspot.com/
TonyWins. (2009). Golden Section. Retrieved from

https://tonythesketchup.blogspot.com/2009/11/golden-section.html

SUPAPORN NHOOKAN (THAI)
Color Outside

Digital Art, 42 x 59.4 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

COLOR OUTSIDE
ต้องการ...เรยี กหา

สุภาพร หนกู า้ น*
SUPAPORN NHOOKAN**

คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี จังหวดั เพชรบรุ ี***
[email protected]

บทคดั ยอ่

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า Covid-19 ส่งผลโดยตรงกับวิถีชีวิต การระบาดของ
ช่ือเชื้อโรคท่ีเราเร่ิมคุ้นหู ดูท่าจะยาวนาน จนมองไม่เห็นปลายทางว่าเราจะกลับมาใช้ชีวิตแบบไม่ต้องระแวงใด ๆ
ได้อีกเม่ือใด ซ่ึงช่วงแรกของการปรับตัว ผู้คนส่วนใหญ่มีการต่อต้านทางความคิดและการกระทำให้พบเห็นอยู่
จนขณะนี้เราเริ่มชินกับการใช้ชีวิตต้องแสดงความรับผิดชอบต่อตัวเองและผู้อื่น ต้องสวมหน้ากากอนามัย
แทบจะทุกช่ัวขณะ แต่ในความคุ้นชินน้ี เราเร่ิมอยากได้วิถีชีวิตที่มีความอิสระแบบเดิม จึงออกมาเป็นผลงาน ท่ีช่ือ
“Color Outside” ต้องการ...เรียกหา

คำสำคัญ: อิสระ, หน้ากากอนามยั

Abstract

With the coronavirus outbreak, Covid-19 directly affects lifestyle. I can not see the
destination that we will return to life without any suspicion. When can you again Which
during the first period of adaptation. Most people are exposed to thought and action. Until
now, we have become accustomed to living with a face mask almost every moment.
Therefore, came out as a work "Color Outside" ต้องการ...เรียกหา

Keywords: Accustomed, Face mask

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University, Phetchaburi Campus, Phetchaburi, Thailand.

SUPAPORN NHOOKAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 261

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)
Covid-19 ปัญหาระดับโลก จากตอนแรกที่รับรู้ถึงชื่อเรียกของเชื้อโรคนี้ ยังน่ิงนอนใจเพราะยังรู้สึก

ไกลตัว แต่ในเวลาอันรวดเร็วโคโรนาใกล้ตัวแบบตามติด ส่งผลถึงชีวิตประจำวัน เกิดการรณรงค์ให้เกิดความ
รว่ มมอื ต่าง ๆ เพ่ือเป็นการรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ระยะเวลาผา่ นไป...ไดร้ ับสื่อและข่าวสารต่าง ๆ มากยิ่งข้ึน
ขอ้ เสยี ที่รับรู้มากมาย แต่ยังมีข้อดีในภาพรวมท่ีเห็นบ้านเราให้ความร่วมมือ ใส่หน้ากากอนามัย วัดอุณหภูมิ ล้างมือ
กันจนเกิดความเคยชิน

แต่นานวันเข้า Covid-19 ยังไม่หายไปจากเราแบบถาวรสักที ชีวิตมนุษย์ขาดอิสระและสีสันนาน ๆ เข้า
ความหวงั และความตอ้ งการที่จะกลบั ไปใชช้ ีวิตแบบปกตยิ ิ่งทำให้เกิดการเรียกร้องมากข้ึนเป็นธรรมดา จากปัญหาจึง
ออกแบบช้ินงานเพอ่ื สื่อสารแทนความต้องการภายในจิตใจ ส่อื ให้รับรู้ถงึ สิ่งท่ีจำเป็นตอ้ งอยูแ่ ละปฏบิ ัติ ท่ขี ัดกับ
ความจริงทเ่ี ราต้องการ งานชิน้ นนี้ ่าจะแทนความรู้สึกของคนสว่ นใหญ่ในปัจจุบันนไ้ี ด้

2. แนวคิด / ทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)
ในการออกแบบเน้นการใช้ทฤษฎีเรื่องท่ีว่างหรือ Space ซึ่งเปรียบเหมือนสนามท่ีทัศนาตุให้

องค์ประกอบได้ลงไปแสดงบทบาทและปฏิกิริยาระหว่างน้ำหนัก สี และรูปทรง ที่มีผลต่อความรู้สึกให้เกิด
Positive Space และ Negative Space มีความเคลื่อนไหวอยู่ในองค์ประกอบต่าง ๆ คาดหวังให้ชิ้นงาน
สะท้อนความหมายไดม้ ากยง่ิ ข้ึน

ผนวกเข้ากับทฤษฎีการจัดวางแบบการเน้น Emphasis by Isolation คือการแยกอยู่ขององค์ประกอบ
อย่างโดดเด่ียว แสดงให้เห็นว่าเมื่อสิ่งหน่งึ ถูกแยกออกมาจากกลุ่ม จะเกิดเปน็ จุดสนใจและดูสำคัญขึ้นมา

3. กระบวนการในการสรา้ งสรรค์ (Creative Process)
ผลงาน “Color Outside” ต้องการ...เรียกหา ศิลปินใช้เทคนิค Digital Art โดยใช้วิธีการ Digital

Collage ซึ่งเป็นการสร้างงานศิลปะโดยการใช้เทคนิคการตัดแปะ ผสมผสานกับการเขียนภาพแบบ Contour
Line โดยตัวศิลปินต้องการส่ือถึงความขัดแย้งของความเป็นจริงกับความต้องการภายในจิตใจของผู้คน
ณ ปจั จบุ ัน โดยมี “แมส” หรือหน้ากากอนามัยเป็นจุดดกั ท่ที ำให้เกิดความขัดแย้งนี้

SUPAPORN NHOOKAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 262

ภาพที่ 1 ผลงาน “Color Outside” ต้องการ...เรยี กหา

“แมส” หรือหนา้ กากอนามยั จากเกราะป้องกัน นานวนั เข้าตวั เกราะปอ้ งกนั ทว่ี ่านี้ ทำให้รู้สกึ ไดถ้ งึ การ
ขาดความอิสระในการใช้ชีวิต ผู้คนรวมตัวศิลปินเองต่างพูดเป็นเสียงเดียวกัน จึงได้แรงบันดาลใจมาสร้าง
ผลงาน โดยองคป์ ระกอบสว่ นแรกคอื Digital Collage เพือ่ ส่ือสารถงึ ความขาดอิสระ

ภาพที่ 2 เทคนคิ Digital Art โดยใชว้ ธิ กี าร Digital Collage

SUPAPORN NHOOKAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 263

เทคนิค Contour Line แทนถึงความอสิ ระ ใช้เฉดสสี ดใส ใหเ้ ห็นถึงความสนุกสนาน ความสุข ความเต็มที่

ภาพที่ 3 การเขียนภาพแบบ Contour Line

Space ใช้ทฤษฎเี ร่อื งทีว่ า่ ง เพอื่ เป็นการสอ่ื สารความหมายของผลงานออกไป

ภาพที่ 4 ใช้ทฤษฎีเรือ่ ง Space และ Emphasis by Isolation

SUPAPORN NHOOKAN / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 264

4. การวเิ คราะห์ผลงาน (Results Analysis)
การรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของตัวศิลปินในออกสร้างผลงานช้ินน้ีไม่ได้เลือกใช้องค์ความรู้ทางวิชาการ

มาประกอบเท่าใดนัก อันท่ีจริงเน้นการเก็บข้อมูลจากการเฝ้าสังเกตผู้คนรอบตัว การติดตามโซเซยี ลมีเดียต่าง ๆ
ท่ีเปรยี บเสมือนบันทกึ สว่ นตัวของคนในปัจจบุ ัน การได้พูดคยุ กับคนรอบตัว

ในสภาวะที่เราต้องประสบปัญหาอย่างเท่าเทียมกันนี้ เป็นไปได้ง่ายที่เราจะเกิดอารมณ์ร่วมและมี
ความรู้สึกไปในทศิ ทางเดียวกัน เม่อื ได้เราตีโจทย์และสรา้ งสรรค์ผลงานช้ินน้ี อารมณ์ความรู้สึกได้ตกตะกอนใน
เวลาอนั รวดเร็ว

5. สรุป (Conclusion)
การนำผลงานสร้างสรรค์ไปใช้ สำหรับตัวศิลปินเอง เม่ือได้สร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้ออกมา เหมือนได้

ระบายความตอ้ งการท่ีอย่ใู นใจออกมาหมดแล้ว หวังว่าผูท้ ีม่ ีความตอ้ งการหรือรู้สกึ เช่นเดียวกัน จะสามารถรับรู้
ไดใ้ นจดุ ประสงค์ผา่ นผลงาน Color Outside ตอ้ งการ...เรยี กหา นี้

ท้ายท่ีสุดหวังให้ผลงานน้ีเปรียบเสมือนตัวแทนความรู้สึกของผู้คนท่ียังต้องใช้ชีวิตแบบปรับตัวใน
สถานการณ์ covid-19 เชน่ น้ี

THANAPAT HIRUNPATTANAPOKIN
Bad pack Good Trip : Khlong Bueng Reservoir
Digital Print, 52.5 x 33.5 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

BAD PACK GOOD TRIP : KHLONG BUENG RESERVOIR
ลมื อะไรกไ็ ด้...แตไ่ มล่ มื คลองบงึ

ธนพัชญ์ หริ ัญพัฒนโภคิน1, ทพิ ย์ลกั ษณ์ โกมลวณิช2*
THANAPAT HIRUNPATTANAPOKIN1, TIPPALUK KOMOLVANIJ2**

มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชนื่ เขตหลกั สี่ กรุงเทพมหานคร 10210 ประเทศไทย1, 2***
E-mail [email protected], [email protected]

บทคดั ยอ่

บอร์ดเกมส์ Bad pack Good trip ชุดน้ี ได้รับการพัฒนางานออกแบบเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของการ
เรียนการสอนในรายวิชา GD 370 การออกแบบกราฟิกส่ือผสม โดยจุดเร่ิมต้นของแนวคิดคือการออกแบบ
บอรด์ เกมสท์ ี่เกี่ยวข้องกับสถานท่ีท่องเที่ยว “โครงการอ่างเก็บน้าคลองบึง” จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพ่ือพัฒนาการ
ท่องเที่ยวของอ่างเก็บน้าคลองบึง หลังจากได้ค้นคว้าเกี่ยวกับสถานท่ีแล้ว พบว่า อ่างเก็บน้าคลองบึงนั้น มีจุด
ท่องเที่ยวหลายจุดในที่ที่เดียว แต่เนื่องจากเพ่ิงเปิดเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวได้ไม่นาน นักท่องเที่ยวอาจจะยังไม่คุ้นเคย
มากนัก จึงสร้างสรรค์เกมส์ให้เหมือนเป็นแผนท่ีของอ่างเก็บน้าคลองบึง โดยตัวเกมส์จะบอกจุดท่องเท่ียว และ
จุดเด่นของสถานท่ีน้ันๆ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รู้จักและเกิดความสนใจจุดท่องเท่ียวต่าง ๆ ในอ่างเก็บน้าคลองบึง
จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์

คาสาคญั : บอร์ดเกม, ทอ่ งเท่ียว, อ่างเก็บน้าคลองบงึ , ประจวบครี ีขนั ธ์

Abstract

This Bad pack Good trip board game was designed as part of the course teaching GE
171, Creative Thinking and Innovation. The starting point of the concept was to design a
board game related to the attractions. "Khlong Bueng Reservoir Project", Prachuap Khiri Khan
Province To develop tourism of Klong Bueng Reservoir After researching the location, it was
found that the Khlong Bueng Reservoir There are many tourist spots in one place But since it
has recently opened as a tourist destination Visitors may not be very familiar. Therefore
creating a game like a map of the Klong Bueng Reservoir In which the game will tell you the
tourist spots And the strengths of that place In order for tourists to get to know and become
interested in various tourist spots In Klong Bueng Reservoir Prachuap Khiri Khan Province.

Keywords: Board game, Tourism, Khlong Bueng Reservoir, Prachuap Khiri Khan

*นาย, ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
**Mr., Assistant Professor
*** Dhurakit Pundit University 110/1-4 Prachachuen Road, Laksi District, Bangkok, Thailand.

THANAPAT HIRUNPATTANAPOKIN, TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 267

1. The Importance or Problems’ background

The main story of the board game Bad pack Good trip is going to the Khlong Bueng
Reservoir of the tourists Who want to go camping to see the beauty of nature and the way
of the villagers in the Khlong Bueng Reservoir Project But when it arrived, there was an
unexpected problem. They forgot to bring their wallet. And have money with you But they
were also fortunate to receive help from the villagers. After being rescued What do they
want to do? In order to repay the villagers How do they have to repay the villagers? And
what obstacles will they encounter? Because of that good deed It has never been easy.

Equipment - information before starting the game

Games for 2 - 4 people

1) Tent (hold the cards, you can store 4 cards in the tent)

2) There are 3 types of cards: 1. Target card (used to win in the same lane as the
other party) 2. Object card (we have to find things According to the mission that we have at
the beginning of the game) 3. Equipment cards (for use in storing items cards And various
traps)

3) BACKPACK bag (to store various cards But only 4 cards can be stored in the bag)

4) Each mission sheet must be randomly assigned. Who will need to find the card,
what items as required by the mission (e.g. 1 lighter card, 1 towel, 1 mango compote, 1 sun
freshwater fish).

How to play

Starting the game, players will get (1 tent, 1 mission sheet, 1 luggage card, 2
firefighting cards, 1 equipment card).

1. Players will be able to choose to place a tent anywhere on the map (except
LANDMARK).

2. Players can walk 3 blocks at a time, taking turns with other players.

3. Players must find mission item cards obtained in the bag icon, in other players'
tents, various LANDMARKs, and in the suitcase.

4. Card storage in different places. Players will randomly draw 1 card / turn, in case
the wallet is full, the player can discard the card.

5. In the event that a random player receives a trap card This must be done as
directed by the trap card.

6. When in the same field as other players must fight, players must choose a card,
blow, hit 1 card and open the fight, the loser must stop for 1 turn and the winner can draw

THANAPAT HIRUNPATTANAPOKIN, TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 268

a card. Can be 1 card in the loser's bag (a card can only be used once, then the card must
be discarded In the event that the player The cards blow off the shot. Will be the loser
immediately)

7. Bike Icon When entering the icon, players can go to another bike icon.
8. The end of the game, the player must find the card according to the mission. And
put them in the tent completely Players who can Collect all the first one will be the winner.
Character of Walkers and tents

THANAPAT HIRUNPATTANAPOKIN, TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 269

Cards

Character Cards

THANAPAT HIRUNPATTANAPOKIN, TIPPALUK KOMOLVANIJ / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 270

Map

Logo Game

THANAWAT PROMSUK (THAI)
Print of Natural Dyes from Local Plant
Print of Woodcut from Natural Dyes, 40 x 60 cm

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

PRINT OF NATURAL DYES FROM LOCAL PLANT
พมิ พ์-สีธรรมชาตจิ ากพืชพ้นื ถิ่น

ธนวฒั น์ พรหมสุข*
THANAWAT PROMSUK**

คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ตำบลสะเตง อำเภอเมอื งยะลา จังหวัดยะลา 95000***
[email protected]

บทคัดย่อ

“พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชในพ้ืนถิ่น” (Print of Natural Dyes from Local Plant) เป็นผลงานการ
สร้างสรรค์ ท่ีมุ่งเน้นนำเสนอความงามของพืชพรรณธรรมชาติอันรายล้อมอยู่ในพ้ืนท่ีตำบลทรายขาว อำเภอ
โคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ทัง้ โครงสรา้ ง รูปทรง และสีสนั ท่ีไดจ้ ากกการสกดั พืชพรรณธรรมชาติจนกลายเปน็ หมึก
พิมพ์สีธรรมชาติที่สามารถใช้งานได้จริง และมีความปลอดภัยต่อผู้สร้างสรรค์ รวมถึงระบบนิเวศ ผ่านผลงาน
ศลิ ปะภาพพมิ พ์แกะไมใ้ นรปู แบบ 2 มิติ

คำสำคัญ: สธี รรมชาติ, พืชในพืน้ ถิน่

Abstract

“Print of Natural Dyes from Local Plant “ to present the beauty and charm of natural
materials from Saikhao Sub-district, Khok Pho District, Pattani Province, such as Structure,
Form and Natural color extraction. The natural printing colors are extracted and mixed with
natural gum arabic to support color adhesion, and also make the color proper for creating
this natural-dyed print.

Keywords: Natural Dyes, Local Plant

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Humanities and Social Sciences, Yala Rajabhat University, Yala, Thailand.

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 273

1. ความสำคญั หรือความเป็นมาของปญั หา (The Importance or Problem’s Background)

สธี รรมชาติ มีความสัมพันธก์ ับวถิ ีชีวิตของมนุษย์เรามาอย่างชา้ นาน ต้ังแต่สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ โดย
ใชใ้ นการสรรคส์ ร้างความงาม หรอื สื่อสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพเขียนสีบนผนังหนิ ผนังถ้ำ รวมไปถงึ การเขยี น
ลงบนพนื้ ผิวเคร่ืองป้ันดนิ เผา (ชาตชิ าย อนุกูล, ๒๕๕๒) สีธรรมชาติเหล่านี้ได้มาจากสิ่งแวดลอ้ มรอบ ๆ ตัว เช่น
พืชพรรณตามธรรมชาติ สัตว์ ดินแดง ดินขาว ดินเหลือง หิน แร่ธาตุ ยางรง รวมถึงไปถึงข้ีเถ้า เขม่าควันหรือ
เขม่าก้นภาชนะและไขมันต่าง ๆ อาทิ ไขมันจากเนื้อสัตว์ท่ีผ่านกรรมวิธีการย่างได้เกิดเป็นน้ำมันที่สามารถ
นำมาระบายลงบนวัตถุได้ติดแน่นทนเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังมีขี้ผ้ึง ยางไม้ชนิดต่าง ๆ เช่น ยางกระถิน
ณรงค์ ยางมะขวิด ซ่ึงนิยมใช้เป็นส่วนผสมในสฝี ุ่นธรรมชาติสำหรบั เขยี นรปู ระบายสแี ละมีคณุ สมบัตชิ ว่ ยในการ
ยึดเกาะสี ทำใหส้ ตี ิดทนนาน (พรวไิ ล คารร์, 2558)

ต่อมา เมือ่ มนุษยม์ ีพัฒนาการและการเปล่ยี นแปลง สีได้ถูกนำมาใช้อยา่ งกว้างขวาง และมคี วามแปลก
ใหม่จากเดิมทีเ่ คยใชส้ ีเพียงไม่ก่สี ี ซึ่งเป็นสีตามธรรมชาติ ได้มีการคิดคน้ สเี คมีท่มี ีสีสันหลากหลาย ใช้ง่าย และมี
ความคงทน อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันสีธรรมชาติกำลังเป็นกระแสนิยมอีกครั้ง เน่ืองด้วยความใส่ใจในเร่ืองของ
สุขภาพและสิ่งแวดล้อม สังเกตได้จากผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ถูกออกแบบมา โดยอิงธรรมชาติ ท้ังการนำวัตถุดิบ
และสีสันจากธรรมชาติเข้ามาใช้สร้างสรรค์เป็นชิ้นงาน ซ่ึงสามารถหาได้จากพืชพรรณชนิดต่าง ๆ ท่ีสามารถ
นำมาใช้งานได้ตั้งแต่เหง้า แก่น เปลือก ใบ ดอกและผล ซ่ึงนอกเหนือจากการใช้ประโยชน์ในการประดิษฐ์/
สรา้ งสรรคเ์ ป็นผลิตภัณฑ์แลว้ ยงั นิยมใช้อย่างแพร่หลายในวงการผ้าย้อมสีธรรมชาติ งานจติ รกรรมไทย และงาน
เขียนสนี ้ำตา่ ง ๆ

ดังนั้น ผู้สร้างสรรค์จึงมองว่าสีธรรมชาติสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานภาพพิมพ์ได้ดีเช่นกันโดย
อาศัยการศึกษาข้อมูล ทดลองและนำไปสู่กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์แกะไม้สีธรรมชาติ นำมาสู่
ผลงานสรา้ งสรรค์ “พมิ พ-์ สธี รรมชาตจิ ากพชื พนื้ ถ่ิน (Print of Natural Dyes from Local Plant)”ในชดุ นี้

2. แนวคดิ / ทฤษฎที เี่ กี่ยวข้อง (Concept / Related Theories)

การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพ่ือนำไปสู่ผลงานสร้างสรรค์ในชุด “พิมพ์-สธี รรมชาตจิ ากพืชพ้ืนถ่ิน (Print of
Natural Dyes from Local Plant)” น้นั ได้เริ่มตน้ จากการศึกษาคน้ คว้า วเิ คราะหเ์ กี่ยวกับวสั ดุธรรมชาตทิ ่ีให้
สีได้ที่มีอยู่ในพ้ืนที่ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี โดยได้หยิบยกเอาใบหลังขาว เหง้ากล้วย
เถื่อน ฝักราชพฤกษ์ ใบละหุ่ง ซึ่งวัสดุธรรมชาติเหล่าน้ีแต่เดิมผู้สร้างสรรค์เคยนำมาสกัดเพื่อทำสีย้อมผ้าซึ่งให้
สีสันท่ีสวยงามและมีความคงทน วัสดุธรรมชาติในหน่ึงชนิดสามารถให้สีสันได้หลายเฉดสี ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับสาร
ชว่ ยย้อม สารกระตนุ้ สีหรือสารชว่ ยติดสีประเภทต่าง ๆ ที่เราเลือกใช้ เชน่ เมื่อนำสีสกัดจากเหง้ากล้วยเถ่ือนไป
ผสมกับน้ำปูนใส ซึ่งเป็นสารช่วยติดสีประเภทด่าง จะให้สีชมพูอมส้ม และเมื่อนำไปผสมกับผงสนิมเหล็ก ซ่ึง
จัดเป็นสารช่วยติดสีประเภทกรด จะให้สีเทาควันบุหรี่ เป็นต้น ฉะน้นั จะเห็นไดว้ ่าสที ี่ได้จากธรรมชาติ จงึ เป็นสี
ทไี่ ม่ตายตัว ผู้สร้างสรรค์สามารถคดิ ค้นสูตร เทคนิควิธีการได้มาของสี รวมไปถึงการใช้สัดส่วนผสมของสารช่วย
ติดสีชนิดต่าง ๆ เพอื่ สรา้ งสรรคใ์ ห้เกิดเฉดสีใหม่ ๆ ไดอ้ ย่างหลากหลายและไม่มีทส่ี ิ้นสุด

สำหรับผลงานสร้างสรรค์ในชุด “พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชพื้นถ่ิน (Print of Natural Dyes from
Local Plant)” น้ัน ผู้สร้างสรรค์ต้องการนำเสนอความงามของพืชพรรณธรรมชาติท่ีรายล้อมอยู่ในพ้ืนที่ตำบล
ทรายขาวอำเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานี ทั้งโครงสร้าง รูปทรง และสีสันของพืชพรรณธรรมชาติเหล่านั้นผ่าน

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 274

ผลงานศิลปะ ภาพพิมพ์แกะไม้ ทั้งนี้ ได้ประยุกต์ใช้สีสกัดจากธรรมชาติในพื้นถ่ิน มาทดแทนหมึกพิมพ์เคมีท่ีใช้
อยู่ในปัจจุบัน โดยทำการสกัดสีจากพืชพรรณชนิดต่าง ๆ ทั้งในส่วนของเหง้าและใบ และผ่านกรรมวิธีการต้ม
ใส่ส่วนผสมของกาวกระถินที่ได้มาจากธรรมชาติลงไป เพื่อช่วยในการยึดเกาะสี รวมถึงการจัดวางพืชพรรณลง
บนแม่พิมพ์ โดยใชเ้ ทคนิค Collagraph แล้วเข้าสู่กระบวนการพิมพ์ด้วยแทน่ พิมพ์ เพื่อเป็นการสร้างมิติให้กับพ้ืนผิว
(Texture) ช้ินงานก่อนทำการพิมพ์ทับซ้อนอีกคร้งั ดว้ ยแม่พมิ พ์แกะไม้ซ่ึงถือเป็นกระบวนการหลักของผลงานชดุ น้ี

3. กระบวนการในการสร้างสรรค์ (Creative Process)

ภาพพิมพ์แกะไม้ เป็นการสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์ด้วยกรรมวิธีพิมพ์จากส่วนนูนของแม่พิมพ์(Relief
Process) โดยการพิมพ์ภาพพิมพ์แกะไม้สามารถพิมพ์ได้โดยการใช้แท่นพิมพ์และการพิมพ์ด้วยมือ ซึ่งกรรมวิธี
การพิมพ์มือ เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องด้วยสามารถควบคุมการพิมพ์ได้ง่าย อุปกรณ์มีราคา
ถูกน้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก และมีคุณภาพการพิมพ์ไม่แตกต่างไปจากการพิมพ์ด้วยแท่นพิมพ์ (ปัทมพร
ทนันชัยบุตร, 2548)

สำหรับงานสร้างสรรค์ในชุด “พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชพ้ืนถิ่น (Print of Natural Dyes from Local
Plant)” นั้นผู้สร้างสรรค์ใช้กรรมวิธีการพิมพ์ด้วยมือ ผ่านการใช้บาเร็งในการประคบถู และมีการใช้แท่นพิมพ์
ในส่วนของการสรา้ งพืน้ ผวิ ดว้ ยเทคนคิ Collagraph เพ่ือต้องการสร้างมติ ิใหก้ ับงานภาพพมิ พ์

ขั้นตอนการเตรยี มสีพมิ พ์
การเตรียมสีพิมพ์จากธรรมชาติผู้วิจัยได้มีการทดลองสกัดสีด้วยกรรมวิธีการเดียวกันกับการสกัดสีใน

งานย้อมผ้าด้วยกรรมวิธีการต้ม โดยพืชพรรณท่ีนำมาใช้ สามารถหาได้ง่ายในท้องถ่ินตำบลทรายขาว อำเภอ
โคกโพธ์ิ จงั หวัดปตั ตานี เช่น ใบหลังขาวหรอื ใบเม็ก เหงา้ กลว้ ยเถอ่ื น ใบละหุ่งแดง ฝกั ราชพฤกษ์ ขมน้ิ ใบมงั คุด
และใบทังเมื่อไดม้ าซึ่งสสี กดั จากวัสดุธรรมชาตทิ ัง้ 8 ชนดิ แล้ว ลำดับต่อไปจะทำการผสมมอรแ์ ดนท์(สารชว่ ยติด
ส)ี ท่ีจะทำปฏิกิริยาให้สีสกัดจากพชื พรรณ มีหลากหลายเฉดสี ซ่งึ พชื ชนิดเดยี วกันน้ันหากใช้สารช่วยติดสีต่างกัน
ทำให้สีสกัดมีสีต่างกันคือ 1.ใบหลังขาว+สนิมเหล็ก= สีเทา-ดำ 2.เหง้ากล้วยเถ่ือน+ปูนแดง= สีชมพูอมส้ม
3.เหง้ากล้วยเถ่ือน+สนิมเหล็ก= สีเทาควันบุหร่ี 4.ฝักราชพฤกษ์+จุนสี= สีเขียวขี้ม้า 5.ฝักราชพฤกษ์+สนิมเหล็ก=
สนี ้ำตาลเข้ม 6.ใบละหุ่งแดง+จนุ สี= สีเขียวสด 7.ใบละหุ่งแดง+สนิมเหล็ก= สีเขียวข้ีม้า 8.ขมิ้น+เกลือ= สีเหลืองสด
9.ขมิ้น+ปนู = สีสม้ อฐิ 10.ใบมังคุด+สนิมเหลก็ = สีน้ำตาลหมน่ 11.ใบมังคดุ +จนุ ส=ี สนี ำ้ ตาล 12.ใบทัง+เกลือ=
สนี ำ้ ตาล 13.คราม+นำ้ สะอาด= สีฟ้า-นำ้ เงนิ

ทั้งน้ี มอร์แดนท์ที่ใช้ในการผสมกับสสี กัดคือ ปรมิ าณ 1 ช้อนชาต่อน้ำสกัดสี 1 ถ้วยเล็ก จากน้ันใสก่ าว
กระถินท่ีผ่านการละลายด้วยความร้อนปริมาณ 1 ช้อนโต๊ะคนให้ส่วนผสมทุกอย่างเข้ากันก็จะได้เป็นสีภาพ
พมิ พท์ พ่ี รอ้ มใช้ในงานภาพพมิ พแ์ กะไม้

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 275

ตัวอย่างสีพิมพธ์ รรมชาติ

ภาพท่ี 1 สพี ิมพจ์ ากวัสดธุ รรมชาติท้งั 8 ชนิด

ภาพที่ 2 การจัดชารจ์ สเี พอ่ื บนั ทกึ เฉดสที ไ่ี ดจ้ ากธรรมชาติ
ที่มา: ถา่ ยภาพโดย ลภัสรดา พรหมสุข

ขั้นตอนการพมิ พ์
สำหรับขั้นตอนการพิมพ์ภาพพิมพ์แกะไม้ในชุด“พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชพ้ืนถ่ิน (Print of Natural

Dyes from Local Plant)” นั้น มีข้ันตอนการพิมพ์ไม่ซับซ้อนมาก แต่ต้องอาศัยความละเอียดและน้ำหนักมือ
ในการแกะแม่พิมพ์ รวมถึงการให้สีเพ่ือให้สามารถสื่ออารมณ์ความรู้สึกของผู้สร้างสรรค์ผ่านผลงานออกมาได้
อย่างชัดเจนโดยมขี นั้ ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. จัดทำ Margin เพื่อล็อกกระดาษกันการเล่ือนขณะพิมพ์ภาพประกอบกับใช้เป็นมาร์กในการพิมพ์สี
ตอ่ ๆ ไป

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 276

ภาพท่ี 3 ขนั้ ตอนการพิมพ์
ทม่ี า: ถา่ ยภาพโดย ลภสั รดา พรหมสุข

2. จัดวางวัสดุธรรมชาติลงบนแม่พิมพ์ (ไม้กระดานอัด) โดยใช้เทคนิค Collagraph แล้วเข้าสู่
กระบวนการพิมพ์ด้วยแท่นพิมพ์เพื่อเป็นการสร้างมิติให้กับพ้ืนผิว (Texture)ของช้ินงานก่อนทำการพิมพ์ทับ
ซ้อนอกี ครง้ั ด้วยแมพ่ ิมพแ์ กะไม้

ภาพที่ 4 ข้ันตอนการนำใบไมท้ ี่ใหส้ ีมาจดั วางบนไมก้ ระดานกอ่ นเขา้ แทน่ พมิ พ์
ทีม่ า: ถา่ ยภาพโดย ลภัสรดา พรหมสขุ

3. ใชพ้ ู่กนั ทาวานิชขาวผสมกับทินเนอร์ลงบนแมพ่ ิมพเ์ พื่อกน้ั สีในส่วนทีไ่ ม่ต้องการพิมพห์ รอื ติดสี

ภาพที่ 5 ขน้ั ตอนการปิดกน้ั แมพ่ ิมพ์ดว้ ยวานชิ
ทีม่ า: ถา่ ยภาพโดย ลภัสรดา พรหมสุข

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 277

4. หลังจากวานิชขาวผสมทินเนอร์เซ็ตตัวลง นำแม่พิมพ์แกะไม้ มาระบายสีพิมพ์ สีธรรมชาติตาม
บรเิ วณท่ีตอ้ งการจากนน้ั รอสเี ซ็ตตัวแล้วถึงขนึ้ ตอนนำแม่พิมพท์ ี่ได้ไปผ่านกระบวนการพิมพ์

ภาพท่ี 6 แสดงภาพการระบายสพี ิมพจ์ ากสีสกดั ฝกั ราชพฤกษ์ลงบนแมพ่ มิ พ์
ที่มา:ถา่ ยภาพโดย ลภัสรดา พรหมสขุ

5. เม่ือแล้วเสร็จจากการสร้างพ้ืนผิว (Texture) ก็นำมาพิมพท์ ับด้วยแม่พมิ พ์ Woodcut ทท่ี ำการแกะ
ไว้เรียบร้อยแล้ว โดยการวางคว่ำหน้ากระดาษพิมพ์ ซึ่งต้องให้ตรงจุดที่ทำ Margin ไว้ และใช้บาเร็งถูให้ทั่ว
บรเิ วณหลังกระดาษ เพอ่ื ใหส้ ีพมิ พต์ ิดสมำ่ เสมอกนั ทง้ั ช้ินงาน

ภาพท่ี 7 ขนั้ ตอนการวางกระดาษลงบนแม่พมิ พต์ รงจดุ ที่ Margin ไวแ้ ละใชบ้ าเร็งในการถู
ทม่ี า: ถา่ ยภาพโดย ลภัสรดา พรหมสุข

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 278

ภาพที่ 8 แสดงภาพการเปดิ ผลงาน ออกจากแมพ่ ิมพ์
ทม่ี า: ถ่ายภาพโดย ลภัสรดา พรหมสุข

4. การวเิ คราะหผ์ ลงาน (Results Analysis)
ผลงานการสร้างสรรค์ ในชุด“พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชพ้ืนถ่ิน (Print of Natural Dyes from Local

Plant)” ประกอบไปด้วยผลงานสร้างสรรค์ จำนวน 3 ผลงาน ซง่ึ แตล่ ะผลงานผสู้ ร้างสรรค์ได้นำเสนอความงาม
ของพืชพรรณธรรมชาติในท้องถิ่นชนิดต่าง ๆ ผ่านกรรมวิธีการแกะไม้และเสริมเทคนิคพิเศษลงไป
(Collagraph) เพ่ือเพมิ่ มิตใิ หก้ บั ชนิ้ งาน

ผลงานชิน้ ที่ 1 ผลงานการสรา้ งสรรค์ภาพพมิ พ์ โดยใช้สสี กดั จากฝักราชพฤกษ์+สนมิ เหล็ก = สนี ้ำตาลเขม้ ,
เหงา้ กล้วยเถอ่ื น+สนมิ เหล็ก = สีเทาควันบุหรี่ และใบมงั คุด+สนมิ เหล็ก= สีนำ้ ตาลหมน่

ภาพที่ 9 ผลงานสร้างสรรค์ พมิ พ-์ สีธรรมชาติจากพืชพน้ื ถน่ิ ชิ้นที่ 1

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 279

ผลงานชิ้นที่ 2 ผลงานการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ โดยใช้สีสกัดจากฝักราชพฤกษ์+สนิมเหล็ก = สีน้ำตาลเข้ม,
ใบทงั +เกลือ=นำ้ ตาล และใบละหุ่งแดง+จนุ สี = สีเขยี วสด

ภาพท่ี 10 ผลงานสร้างสรรค์ พมิ พ์-สีธรรมชาตจิ ากพืชพนื้ ถน่ิ ช้นิ ท่ี 2

ผลงานช้ินที่ 3 ผลงานการสรา้ งสรรค์ภาพพิมพ์ โดยใช้สีสกัดจากใบหลังขาว+สนิมเหล็ก = สีเทา-ดำ,
ฝักราชพฤกษ์+สนิมเหล็ก = สีน้ำตาลเข้ม, ขมิ้น+เกลือ = สีเหลืองสด, ใบมังคุด + จุนสี = สีน้ำตาลอมเหลือง,
ใบละหุ่งแดง + จุนสี = สีเขียวสด, ใบละหุ่งแดง+สนิมเหล็ก = สีเขียวขมี้ ้า และเหง้ากล้วยเถื่อน + ปูนแดง =
สีชมพูอมส้ม

ภาพที่ 11 ผลงานสรา้ งสรรค์ พมิ พ์-สธี รรมชาตจิ ากพชื พน้ื ถิ่น ชน้ิ ท่ี 3

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 280

5. สรปุ (Conclusion)
ผลงานการสร้างสรรค์ “พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชพ้ืนถิ่น (Print of Natural Dyes from Local Plant)”

เป็นผลงานการสร้างสรรค์ท่ีได้นำเอาเทคนิค Woodcut ซึ่งเป็นรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์เทคนิค
โบราณ จากประเทศญ่ีปุ่นในสมัยเอโดะ (ค.ศ. 1603-ค.ศ. 1867) เป็นหนึ่งในเทคนิคภาพพิมพ์ที่มีความโดดเด่น และ
ส่ืออารมณ์ของศิลปินได้ดี เทคนิคการแกะไม้ต้องใช้สมาธิ การรับรู้ถึงน้ำหนักมือการกำหนดค่าน้ำหนักอ่อน-แก่ได้
ดว้ ยการทำพ้นื ผวิ ใหม้ ลี ักษณะขรุขระ ลึก-ตื้น รวมถึงการใหค้ ่าน้ำหนักสใี นแต่ละช่วงจงั หวะของภาพ

ดังนั้น ด้วยปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ จึงส่งผลให้งานภาพพิมพ์แกะไม้ท่ีสร้างสรรค์ออกมามีความแตกต่าง
และเป็นหนึ่งเดียว โดยเฉพาะเมื่อมีการเสริมเทคนิคพิเศษลงไปร่วมด้วย เฉกเช่นผลงานในชุดน้ีท่ีผู้สร้างสรรค์
ได้นำเอาเทคนิค Collagraph มาประยุกต์ใช้ โดยหยิบยกเอาพืชพรรณธรรมชาติมาจัดวางลงบนแม่พิมพ์ แล้ว
พิมพ์ด้วยแท่นพิมพ์ ก่อเกิดเป็นร่องรอยรูปทรงและโครงสร้างที่แท้จริงของพืชพรรณท่ีนำมาใช้ ผสมผสานกับ
ศิลปะการแกะไม้ท่ีผู้สร้างสรรค์ ได้ลดทอนและคล่ีคลายโครงสร้างความเสมือนจริงบางอย่างของพืชพรรณนั้น ๆ
ออกไป จงึ กลายเป็นผลงานภาพพิมพ์ในอีกมติ ิหน่ึงทีน่ ่าสนใจ

ทั้งน้ีทั้งน้ัน สำหรบั ในการสร้างสรรคง์ านภาพพมิ พ์ Woodcut ในชุดนี้ ผสู้ รา้ งสรรค์ได้ปรับเปลีย่ นการ
ใชห้ มึกพมิ พ์เคมีในการพิมพ์ มาเปน็ สีที่ได้จากธรรมชาติท่คี ้นพบในพื้นท่ีตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ จังหวัด
ปตั ตานี ซึ่งพบว่าพืชพรรณที่ให้สีท่ีมมี ากในท้องถิ่น ได้แก่ หลังขาว (เม็ก) กล้วยเถ่ือน ฝักราชพฤกษ์ ละหุ่งแดง
มังคุด ทัง ขมิ้นชันและคราม โดยข้อมูลพืชพรรณธรรมชาติที่ให้สีนั้น ผู้สร้างสรรค์ ได้ทำการศึกษาจากตำรา
เอกสารงานวิจัย รวมถึงจากประสบการณ์ส่วนตวั จากการนำพืชพรรณธรรมชาติเหล่าน้ีมาทำการย้อมเส้นใยและจาก
การค้นพบใหม่ ลองผิดลองถูกด้วยการทดลองนำมาสกัดด้วยกรรมวิธีการต้ม และทดลองย้อมและเพ้นท์ ปรากฏว่า
ให้สารติดสใี นระดบั ท่นี ่าพึงพอใจ จึงหยิบยกมาประยกุ ต์ใช้ในการสร้างสรรคง์ านภาพพิมพ์ในครั้งน้ี

อย่างไรก็ตาม เมื่อผ่านกรรมวิธีการสกัดสีด้วยการต้ม ขั้นตอนสำคัญอีกข้ันตอนหน่ึง คือ การนำสีท่ี
ได้มาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยอาศัยตวั ชว่ ยในการปรบั เปล่ยี นเฉดสีท่ีมีอยูเ่ ดิม ใหม้ ีความหลากหลายมาก
ข้ึน กล่าวคือ ผู้สร้างสรรค์ ได้นำสารช่วยติดสี อาทิ เกลือ ปูนแดง สนิมเหล็กและจุนสี มาเป็นส่วนผสมในการ
เปล่ียนสีสารสกัดให้มีเฉดสีตา่ ง ๆ ซ่งึ พืชชนิดเดียวกันนั้น หากใช้สารช่วยติดสีตา่ งกันมีผลทำใหส้ ีสกัดมีสตี า่ งกัน
คอื 1.ใบหลังขาว+สนิมเหล็ก = สีเทา-ดำ 2.เหง้ากล้วยเถ่ือน+ปูนแดง = สีชมพูอมส้ม 3.เหง้ากล้วยเถ่ือน+สนิมเหล็ก
= สีเทาควันบหุ ร่ี 4. ฝกั ราชพฤกษ์+จนุ สี = สเี ขียวขม้ี ้า 5.ฝกั ราชพฤกษ์+สนิมเหล็ก = สนี ้ำตาลเข้ม 6.ใบละหุ่ง
แดง+จนุ สี = สเี ขียวสด 7.ใบละหุ่งแดง+สนิมเหลก็ = สีเขียวข้มี ้า 8.ขม้ิน+เกลือ = สเี หลืองสด 9.ขมิ้น+ปนู =
สีส้มอิฐ 10.ใบมังคุด+สนิมเหล็ก= สีน้ำตาลหม่น 11.ใบมังคุด + จุนสี= สีน้ำตาล 12.ใบทัง+เกลือ=
น้ำตาล 13.คราม+น้ำสะอาด=สีฟ้า-น้ำเงิน ซึ่งถือเป็นการทำปฏิกิริยากันระหว่างสารสกัดในพืชกับตัวสาร
ช่วยติดสี (มอรแ์ ดนท์) เกดิ เปน็ โทนสใี หม่ ๆ ไมร่ ู้จบ

ทั้งนี้ ผู้สร้างสรรค์ ยังได้ประยุกต์ใช้กาวกระถิน ซ่ึงเป็นกาวที่ได้จากยางไม้กระถินณรงค์ มักนิยมใช้ใน
งานจิตรกรรม ซ่ึงมีคุณสมบัติชว่ ยยึดเกาะสีให้มีความคงทนมาผสมเข้าด้วยกันกับสีสกัดในปริมาณท่ีพอเหมาะก็
จะไดเ้ ป็นสีภาพพมิ พจ์ ากธรรมชาตทิ ่ีพร้อมใชง้ าน

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 281

การสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ในชุด“พิมพ์-สีธรรมชาติจากพืชพื้นถิ่น (Print of Natural Dyes
from Local Plant)” น้ัน สีธรรมชาติท้ัง 8 ชนิด ได้แก่ ใบหลังขาว เหง้ากล้วยเถื่อน ฝักราชพฤกษ์ ขม้ิน
ใบมังคุด ใบละหุ่งแดง ใบทงั และคราม ไดถ้ กู นำมาใช้พมิ พ์ลงบนผลงานสร้างสรรค์ จำนวน 3 ผลงานด้วยกนั

ผลงานชิ้นที่ 1 ผลงานการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ โดยใช้สีสกัดจากฝักราชพฤกษ์+สนิมเหล็ก = สนี ้ำตาลเข้ม,
เหง้ากลว้ ยเถอื่ น+สนิมเหลก็ = สีเทาควนั บหุ ร่ี และใบมงั คุด+สนมิ เหลก็ = สีน้ำตาลหม่น

ผลงานชน้ิ ที่ 2 ผลงานการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ โดยใช้สีสกัดจากฝักราชพฤกษ์+สนิมเหลก็ = สีน้ำตาลเข้ม,
ใบทัง+เกลอื =น้ำตาล และใบละหงุ่ แดง+จุนสี = สีเขยี วสด

ผลงานชิ้นที่ 3 ผลงานการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ โดยใช้สีสกัดจากใบหลังขาว+สนิมเหล็ก = สีเทา-ดำ,
ฝักราชพฤกษ์+สนิมเหล็ก = สีน้ำตาลเข้ม, ขมิ้น+เกลือ = สีเหลืองสด, ใบมังคุด + จุนสี = สีน้ำตาลอมเหลือง,
ใบละหุ่งแดง + จุนสี = สีเขียวสด, ใบละหุ่งแดง+สนิมเหล็ก = สีเขียวขมี้ ้า และเหง้ากล้วยเถื่อน + ปูนแดง =
สชี มพอู มส้ม

ทงั้ นี้ ผลงานการสรา้ งสรรคท์ ั้ง 3 ชิ้น ผูส้ ร้างสรรคต์ อ้ งการนำเสนอผลงานความมหัศจรรย์ของสสี นั จาก
ธรรมชาติผ่านการให้สีในผลงานแต่ละช้ิน เพ่ือบ่งบอกความเป็นเสน่ห์ของสีท่ีได้จากธรรมชาติและสอดแทรก
ความงามของรูปทรงของพืชพรรณธรรมชาติลงไป เพ่ือสร้างพ้ืนผิวให้ผลงานดูมีมิติและยังสามารถบ่งบอกถึง
ชนิดของพืชพรรณที่มีอยู่ในท้องถ่ินผ่านผลงานได้ นอกจากน้ี ยังส่ือให้เห็นถึงความเกี่ยวพันของสีธรรมชาติกับ
วิถีชีวิตของผู้คนมายาวนาน โดยเฉพาะในวงการงานศิลปะ ที่ใช้ในการเขียนภาพจิตรกรรม การย้อมเส้นใยผ้า
และการประยุกต์ใช้ในงานภาพพิมพ์ที่ผู้วิจัยได้ทำการสร้างสรรค์ นับว่าเป็นการใช้ประโยชน์จากวสั ดุธรรมชาติ
ได้อย่างคุ้มค่า ช่วยลดต้นทุนในการหมึกพิมพ์เคมี และยังเป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้ในงานภาพพิมพ์
เทคนิคอื่น ๆ ได้อีก รวมถึงเป็นแนวทางในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ย้อมหรือสร้างสรรค์ด้วยสี
ธรรมชาติ ซ่ึงสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าได้ และยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้คนมีความตระหนัก และเล็งเห็นคุณค่าของ
พชื พรรณธรรมชาติทม่ี ีอยู่ในท้องถิ่นเพื่อที่จะไดน้ ำพืชพรรณเหล่านนั้ มาใชป้ ระโยชน์ในลำดับต่อไปได้อย่างคุ้มค่า

เอกสารอา้ งอิง (References)

ชาติชาย อนกุ ลู . (2552). วัฒนธรรมการใชส้ ใี นสังคมไทย. วารสารวิชาการวไลยอลงกรณ์ 4, 2 (กรกฎาคม-
ธนั วาคม): 20-34.

ปัทมพร ทนนั ชัยบตุ ร. (2548). ทำความรู้จักภาพพมิ พ์แกะไม้. วารสารศนู ย์บริการวิชาการ 13, 3 (กรกฎาคม-
กันยายน): 32-38.

พรวิไล คารร์, บรรณาธกิ าร. (2558). สีไทยโทน : เสน่หไ์ ทยเพิ่มมูลคา่ ธรุ กจิ . กรงุ เทพฯ: กระทรวงวฒั นธรรม.

THANAWAT PROMSUK / The 3rd IADCE 2021, 21-28 May 2021 / 282

THANIT JUNGDAMRONGKIT (THAI)
Sand covered arch
Sketch up plung in Enscape 3.0, A2

IADCE2021
http://www.fineartbuu.org

The 3rd International Art & Design Collaborative Exhibition 2021
Arts Gallery, Faculty of Fine and Applied Arts, Burapha University, Chonburi, Thailand

21-28 May 2021

SAND COVERED ARCH

ซุ้มหม่ ทราย

ธนติ จึงดำรงกิจ*

THANIT JUNGDAMRONGKIT**

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชนื่ แขวงทุ่งสองหอ้ งเขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210***

[email protected]

บทคดั ยอ่

การออกแบบซุ้มสำหรับให้บริการห่มทราย หรือสปาทราย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อำเภอทับสะแก
ซ่ึงมีพ้ืนที่ในการทำสปาทราย หรือการ ห่มทราย ซ่ึงเกิดจากทรายธรรมชาติที่เป็นทรายหยาบและมีแร่ธาตุที่มี
ผลต่อรา่ งกายช่วยในการผ่อนคลายและบำบัดอาการต่าง ๆ ได้ แต่เนื่องจากพ้ืนท่ีในการทำสปาทราย หรอื การ
ห่มทรายนั้นยังไม่มีรูปแบบที่เป็นมาตรฐานสากลหรือความเป็นสัดส่วนที่เหมาะสมกับการให้บริการในรูปแบบ
มาตรฐานของ สปา วัตถุประสงค์ในการออกแบบซุ้มสำหรับให้บริการห่มทรายหรือการทำสปาทราย เป็นการ
ออกแบบเพื่อสร้างพ้ืนที่ความเป็นส่วนตัว ในการใช้บริการ จึงได้มีการศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับอ่างแช่น้ำ
แบบญ่ีปุ่น และการศึกษา พฤติกรรมการใช้บริการสปาทราย หรือห่มทราย ว่ามีการใช้งานอย่างไร เพ่ือนำ
ขอ้ มูลมาเปรียบเที่ยบกับ มาตรฐานของสัดส่วนมนุษย์ที่มีผลต่อการใช้งาน ไมว่ ่าจะเป็นทา่ ทางการนงั่ การนอน
รวมถึงวัสดุ ท่ีสามารถนำมาออกแบบเป็น ซุ้ม ห่มทราย ที่สามารถหาได้ในท่องถิ่นและระบบการก่อที่ไม่
ซับซ้อน สร้างให้เกิดความเป็นสัดส่วนและยังเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมของพื้นที่ให้มีมาตรฐานในการเปิด
ใหบ้ ริการ เทียบเท่ากับ มาตรฐานการบริการด้านสปาอ่ืน ๆ ดา้ นงานออกแบบไดน้ ำเสนอ รปู แบบโครงสร้างซุ้ม
ในมุมมอง TOP VIEW,FRONT VIEW,SIDE VIEW รวมถึงภาพ 3 มิติ โดยนำเสนอเป็นภาพน่ิงที่สร้างด้วย
โปรแกรม 3D Sketchup ปลก๊ั อิน Enscape 3.0 เปน็ โปรแกรมสำหรบั นำเสนอผลงาน

คำสำคญั : ออกแบบ, ซุ้ม, ห่มทราย, สปาทราย

Abstract

Design of kiosks for providing sandy clad services or sand spas in Prachuap Khiri Khan
Province, Thap Sakae District, which has sand spas or cladding areas which are made from
natural sand, which is coarse sand and contains minerals that affect the body It helps in
relaxation and treatment of various symptoms. But because of the sand spa area Or the

*อาจารย์
**Lecturer
***Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.


Click to View FlipBook Version