The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nalinee010409, 2021-03-22 19:22:56

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

ข้อมูล ศรร02-อู่ทอง

ข้อมลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ก

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการมอบ
นโยบายขับเคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศึกษา โดยให้สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา พัฒนา
สถานศึกษาพอเพียง ให้มีศักยภาพพร้อมรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงด้านการศึกษา ซึ่งโรงเรียนอู่ทอง ได้ขับเคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในและขยายผล
สู่ภายนอกสถานศึกษา เนื่องจากมีความพร้อมด้าน ผู้บริหาร ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา การจัดการ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่ประกอบด้วย อาคาร สถานที่และสิ่งแวดล้อม ฐานการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปสู่ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาอื่นในการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัด หน่วยงานภายนอก ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน
การดำเนินงานดังกล่าว เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปลูกฝังอุปนิสัยของบุคลากรให้ดำเนินชีวิตอยู่อย่างพอเพียง
พร้อมสร้างเครือข่ายและการจัดทำแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาอย่างมี
คุณภาพตลอดไป

ขอขอบคุณ คณะกรรมการฝ่ายบริหารโรงเรียนอู่ทอง ฝ่ายบริหารวิชาการ ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายบริหาร
ทั่วไปและฝ่ายกิจการนักเรียน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและการสอน คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชนและ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนบุคคลและหน่วยงานที่ให้ความร่วมมืออำนวยความสะดวก อันเป็นประโยชน์
ตอ่ การขบั เคลอ่ื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงครั้งน้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบบั น้ี จะเป็นประโยชน์
แก่ผู้รับผิดชอบการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน
ต่อไป

โรงเรียนอ่ทู อง จังหวัดสุพรรณบุรี
๒๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษา ข

สารบัญ

หนา้

คำนำ ก

สารบัญ ข

สารบัญตาราง ง

สารบัญแผนภาพ จ

แบบประเมินตนเองเพ่ือเปน็ ศูนย์การเรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ด้านการศึกษา ฉ

๑. เหตผุ ลทส่ี ถานศกึ ษาขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งดา้ นการศึกษา 1

๒. ข้อมูลทัว่ ไป 4

๒.๑ จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (รวมครูอตั ราจา้ ง) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ 4

๒.๒ จำนวนนักเรยี นจำแนกตามระดบั ช้นั ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ 4

๒.๓ บริบทของสถานศึกษา/ลักษณะชมุ ชน/ภมู สิ ังคม 5

๒.๔ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา/อตั ลักษณ์ของนกั เรยี น 6

๒.๕ แหลง่ เรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6

๓. แนวทางในการดำเนนิ การในดา้ นตา่ ง ๆ 8

๓.๑ การบริหารจดั การ 8

3.2 บคุ ลากร 9

๓.๓ งบประมาณ 10

๓.๔ แหลง่ เรยี นรู้ 11

๓.๕ วธิ กี ารพัฒนาสถานศึกษาพอเพยี ง 11

๔. ขอ้ มูลด้านบุคลากร 11

๔.๑ ผู้บรหิ าร 11

๔.๒ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 14

๔.๓ นักเรียน 15

๔.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา 16

๕. ข้อมูลดา้ นอาคารสถานที่ / แหลง่ เรียนรู้ / สงิ่ แวดล้อม 16
5.1 ความพร้อมของอาคารสถานที่ที่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
16

5.2 มแี หล่งเรยี นรหู้ ลากหลายเพือ่ สร้างเสรมิ อุปนสิ ัยอยอู่ ย่างพอเพยี งอย่างเหมาะสมและ

เพยี งพอกบั จำนวนนักเรยี น 17

๕.๓ สิ่งแวดลอ้ มทเ่ี อื้ออำนวยต่อการจดั การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 17

โรงเรียนอทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ค

สารบญั (ตอ่ )

หน้า

๖. ดา้ นความสมั พนั ธก์ ับชุมชนและหนว่ ยงานภายนอก 18
๖.๑ การวางแผนและดำเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของสถานศกึ ษา
18

๖.๒ ชมุ ชนใหค้ วามไวว้ างใจ ให้การสนับสนนุ ส่งเสริมและมีส่วนรว่ มในการขับเคล่ือน

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศึกษา 18

๖.๓ สถานศกึ ษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชมุ ชน และหน่วยงานอน่ื ในการขับเคลื่อน

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 19

๖.๔ สถานศกึ ษาบริหารจัดการศกึ ษา และจัดการเรียนการสอนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง จนสามารถเปน็ แบบอย่างแกส่ ถานศึกษาและหนว่ ยงานอ่ืนได้ 19

๖.๕ ผลความสำเรจ็ ทเี่ กิดจากความร่วมมือกนั ระหวา่ งสถานศึกษากับชุมชนหรอื หน่วยงานอนื่ 20

ภาคผนวก ช
ภาคผนวก ก วธิ กี ารพัฒนาสถานศกึ ษาพอเพยี งใหเ้ ป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา ช-1
ภาคผนวก ข เร่ืองเลา่ ของครูในการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในชีวติ ประจำวนั
ตัวอย่างการออกแบบการเรยี นรู้เพือ่ เสริมสรา้ งอปุ นสิ ัยพอเพียง และเผยแพร่ ช-2
ขยายผล ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ช-3
ภาคผนวก ค เรื่องเลา่ ของนักเรียนแกนนำ ช-4
ภาคผนวก ง ภาพถา่ ยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ช-4
ความสำเร็จของสถานศึกษา ช-4
ความสำเร็จของผู้บรหิ าร ช-4
ความสำเรจ็ ของบคุ ลากรครู ช-4
ความสำเร็จของนกั เรยี น ช-4
ความสำเรจ็ ของกรรมการสถานศกึ ษา

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา ง

สารบญั ตาราง หนา้
4
ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา (รวมครอู ัตราจ้าง) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ 4
ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนนักเรียนทมี่ ีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงและนักเรยี นแกนนำ 6

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
ตารางที่ 3 แสดงฐานการเรยี นรู้ แหลง่ เรียนรู้ และการใชป้ ระโยชน์

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา จ

สารบญั แผนภาพ

หนา้

แผนภาพที่ 1 แสดงแผนผังฐานการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรียนอ่ทู อง 6

แผนภาพท่ี 2 แสดงรปู แบบการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง SMILE Model 8

แผนภาพท่ี 3 แสดงแผนผงั อาคารเรียน และอาคารประกอบภายในโรงเรียนอทู่ อง 17

แผนภาพท่ี 4 แสดงโครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นอู่ทอง ช-1

แผนภาพที่ 5 แสดงรปู แบบการบรหิ ารโรงเรยี นอทู่ อง UT-SMILE Model ช-1

แผนภาพท่ี 6 แสดงขัน้ ตอนการบริหารสถานศกึ ษาพอเพยี งตามหลักของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ช-1

แผนภาพที่ 7 แสดงแผนผังฐานการเรียนรู้ “ศูนยศ์ าสตรพ์ ระราชา” ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง ช-1

แผนภาพที่ 8 แสดงการถอดบทเรยี นฐานการเรยี นรู้ “ศูนย์ศาสตรพ์ ระราชา : ศาสตรร์ าชา

ปรัชญา สรา้ งชวี ติ ” ช-1

แผนภาพท่ี 9 แสดงการถอดบทเรยี นฐานการเรียนรู้ “ลานธรรม : ศาสตร์สรา้ งจติ ลานธรรม

หมน่ั ฝกึ ฝน” ช-1

แผนภาพที่ 10 แสดงการถอดบทเรียนฐานการเรยี นรู้ “อู่ทอง อู่อารยธรรม : ศาสตร์ท้องถ่นิ

ภมู ปิ ญั ญา ภมู ิสงั คม” ช-1

แผนภาพท่ี 11 แสดงการถอดบทเรียนฐานการเรียนรู้ “โรงเรยี นธนาคารอทู่ อง : ศาสตร์สร้างตน

ออมไวใ้ ช้ ในธนาคาร” ช-1

แผนภาพที่ 12 แสดงการถอดบทเรยี นฐานการเรยี นรู้ “ศูนยส์ ง่ เสรมิ อาชีพ : ศาสตรอ์ าชพี

สรา้ งภูมิรู้ ส่ธู ุรกจิ ศาสตรช์ วี ติ ความพอเพียง เปน็ พ้นื ฐาน ช-1

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา ฉ

แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาพอเพยี ง (ศรร.01)
เพือ่ เป็นศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด้านการศึกษา

ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรียนอู่ทอง สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี

สถานทีต่ ้ัง เลขท่ี ๙ หมู่ ๙ ถนนวนิ ยานุโยค ตำบลอทู่ อง อำเภออูท่ อง จงั หวัดสุพรรณบุรี

รหสั ไปรษณยี ์ ๗๒๑๖๐ โทรศพั ท์ ๐๓๕-๕๕๑๐๔๖ โทรสาร ๐๓๕-๕๖๕๖๐๑

Website www.u-thong.ac.th

ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา นางสาวพิกลุ เฉดิ ฉววี รรณ โทรศพั ท์ ๐๘๙-๘๐๕๘๘๗๙

E-mail : [email protected]

ตัวช้ีวัด คะแนนประเมนิ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

๑. บุคลากร คะแนนรวม (เฉลย่ี รายด้าน) ๓๕ (๕) ๔.๗๑

๑.๑ ผ้บู ริหาร ๑๐ ๑๐

๑.๒ ครู ๑๐ ๙

๑.๓ นกั เรียน ๑๐ ๙

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ๕๕

๒. การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ คะแนนรวม (เฉลยี่ รายดา้ น) ๑๐ (๕) ๕

๒.๑ อาคาร สถานทแี่ ละสิ่งแวดลอ้ ม ๕๕

๒.๒ ฐานการเรยี นรู้ ปศพพ. และ/หรอื กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปศพพ. ๕๕

๓. ความสัมพนั ธ์กบั หนว่ ยงานภายนอก คะแนนรวม (เฉลี่ยรายด้าน) ๑๐ (๕) ๔

๓.๑ ความสัมพนั ธก์ บั สถานศกึ ษาอืน่ ในการขยายผลการขับเคล่ือน ๕๔

ปศพพ.

๓.๒ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานทสี่ งั กัด และ/หรอื หนว่ ยงานภายนอก ๕๔

(ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน)

รวม ๑๕ ๑๓.๗๑

(ลงชือ่ ).................................................................ผ้ปู ระเมินตนเอง
(นางสาวพิกุล เฉิดฉววี รรณ)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนอทู่ อง
วนั ที่ ๒๕ เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 1

ขอ้ มลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.02)

ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรยี นอทู่ อง สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี
สถานที่ตัง้ เลขที่ ๙ หมู่ ๙ ถนนวินยานโุ ยค ตำบลอูท่ อง อำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี
รหัสไปรษณยี ์ ๗๒๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๓๕-๕๕๑๐๔๖ โทรสาร ๐๓๕-๕๖๕๖๐๑
Website www.u-thong.ac.th
ชื่อ-สกลุ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น นางสาวพิกุล เฉิดฉวีวรรณ ๐๘๙-๘๐๕๘๘๗๙
ชอ่ื -สกุล รองผูอ้ ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ นางแกว้ ตา ไชยภักดี ๐๘๑-๗๔๔๗๗๖๐
ชอ่ื -สกุล รองผอู้ ำนวยการฝ่ายอำนวยการ นางสาวขวัญนภา อณุ หกานต์ ๐๘๙-๒๑๐๔๓๓๘
ชอ่ื -สกลุ รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไปและฝ่ายกจิ การนกั เรยี น นายไพโรจน์ ออระเอยี่ ม ๐๙๒-๙๖๒๒๗๕๓
ช่ือ-สกุล ครูแกนนำ นางอญั ชเกศ บญุ ศรี ๐๖๕-๕๙๓๖๓๕๐
ชอ่ื -สกุล ครแู กนนำ นางสาวจารุวรรณ มนูญโย ๐๘๕-๗๐๓๐๒๑๒

๑. เหตผุ ลทส่ี ถานศกึ ษาขอรับการประเมินเปน็ ศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดา้ นการศกึ ษา

๑.๑ การเห็นคุณค่า และความสำคัญของการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา

โรงเรยี นอู่ทอง เปน็ สถาบันการศึกษาท่ีน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ภายใต้เง่ือนไข
ความรู้คู่คุณธรรม ตามหลักการ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ลและมีภูมิคุ้มกนั ที่ดี เพื่อสร้างคนที่มีคณุ ภาพ
นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมให้ก้าวหน้าไปอย่างสมดุลและพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำรัสเพื่อเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย นำมาประยุกต์ใช้
ในการจัดสภาพแวดล้อมทเี่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้ ปลูกฝงั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งให้เป็นวฒั นธรรมองค์กร
และวิถีชีวิตพอเพียง สร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและบริหารจัดการสถานศึกษาอย่างมีส่วนร่วม ภายใต้
หลักธรรมาภิบาล โดยจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอน กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ จัดทำหน่วยการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดทำสื่อ แหล่งเรียนรู้ เครื่องมือ
วัดประเมินผล ท่ีเน้นการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้
นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ รวมทั้งนำมาเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงานและการดำเนินชีวิตของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา รวมถึงการดำเนินงานร่วมกับชุมชน
เพ่อื เป้าหมายในการพฒั นานักเรยี นใหเ้ ปน็ คนดีและมวี ถิ ชี วี ติ อยอู่ ย่างพอเพียง

โรงเรยี นจดั กจิ กรรมส่งเสริมการดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ผู้บริหาร
ครู บคุ ลากรทางการศึกษา เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถถ่ายทอดความรู้ พฒั นาการปฏิบัติงาน และ
นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการองค์ความรู้เข้ากับเนื้อหาสาระของกลุ่มสาระ
การเรียนรตู้ า่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม ถ่ายทอดและปลกู ฝงั คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงแกน่ ักเรียน จัดแหลง่ เรยี นรู้
จัดทำโครงการ โครงงาน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมจิตอาสาเพื่อสาธารณประโยชน์ที่หลากหลายและ
มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงธรรมชาติและความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน เห็นคุณคา่ เกดิ ความศรทั ธา เกิดความตอ้ งการที่จะเข้ามามสี ่วนร่วมใน
การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่เพื่อนนักเรียนในสถานศึกษา โดยมีนักเรียนแกนนำที่มี
ความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง สามารถถา่ ยทอดประสบการณ์การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ในสถานศกึ ษาและม่งุ มัน่ ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขยายผลสู่สถานศึกษาอื่น ร่วมกับ
กลมุ่ ผู้ปกครอง ชุมชน หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน

โรงเรียนอ่ทู อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 2

๑.๒ การได้รับคัดเลือก โรงเรียนอู่ทองได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็น “สถานศึกษา
พอเพียง ๒๕๕2” เป็นสถานศึกษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปี ๒๕๕2 จึงมีความมุ่งมั่นพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๑.๓ ความพร้อมด้านบุคลากร โรงเรียนอู่ทอง มีความพร้อมด้านบุคลากร ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน
และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ดงั น้ี

ผู้บริหาร มีความรคู้ วามเข้าใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้องชัดเจน นำไปใช้ใน
การปฏิบัติตนและดำเนินการขับเคลื่อนด้วยรูปแบบ SMILE Model ภายใต้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle)
ถ่ายทอดประสบการณ์และขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษา ไดแ้ ก่ สถานศึกษาอื่น ชุมชน หนว่ ยงานภาครัฐและ
เอกชน สง่ ผลให้เห็นคณุ ค่า ยอมรับและให้ความรว่ มมือในการจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ เพอื่ ขบั เคลือ่ นให้เป็นศูนย์การ
เรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาอยา่ งมีคุณภาพตลอดไป (เอกสารแนบในภาคผนวก ก)

ครู มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและอธิบายได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในการดำรงชีวิตประจำวันจนเห็นผล มีครูแกนนำถ่ายทอดประสบการณ์ให้เพื่อนครูในสถานศึกษา
ครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สามารถถอดบทเรียนของตนเองมาจัดทำเป็นสื่อ นวัตกรรม ขยายผล
สภู่ ายนอกสถานศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพตามบรบิ ทนนั้ ๆ (เอกสารแนบในภาคผนวก ก)

นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเหมาะสมกับวัย
ในแต่ละระดับชั้น ส่งผลให้มีนักเรียนแกนนำ ได้แก่ หัวหน้าห้อง รองหัวหน้าห้อง สภานักเรียน ชมรม TO BE
NUMBER ONE ชมรมกล้าตะวัน แกนนำโรงเรียนธนาคาร มัคคุเทศก์น้อย แกนนำโรงเรยี นปลอดขยะ แกนนำ
“การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลิตสู่นวัตกรรมเห็ดมือถือ” เป็นต้น สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ
มาอธิบายถ่ายทอดและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเห็นผล เห็นคุณค่าและเกิดศรัทธา
สามารถถอดบทเรยี นของตนเองและนำไปใชใ้ นการมสี ว่ นรว่ มเพ่ือขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา ส่งผลให้มีนักเรียนที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงคิดเป็นร้อยละ
98.77 ของนักเรียนทั้งหมด (เอกสารแนบในภาคผนวก ก)

คณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีส่วนร่วม
ในกิจกรรมที่ส่งเสริมคณุ ลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียง ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในกิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ เห็นความสำคัญของการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ในการดำเนินชีวิตและถ่ายทอดประสบการณ์สู่สถานศึกษา มีความศรัทธาและมีส่วนร่วมในการพัฒนา
สถานศึกษาให้มีความพร้อมในการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ เช่น การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้
ปรับปรุงอาคารสถานที่ให้เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน พัฒนาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน เพื่อ
ส่งเสริมให้นักเรียนมีอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง ส่งผลให้โรงเรียนอู่ทองเป็นแบบอย่างที่ดีแก่สถานศึกษาอ่ืน
ผปู้ กครอง ชมุ ชน หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน (เอกสารแนบในภาคผนวก ก)

๑.๔ มีความพร้อมทางด้านอาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดลอ้ มและแหลง่ เรียนรู้
โรงเรียนอู่ทอง มีอาคารเรียน 7 หลัง อาคารประกอบ 20 หลัง มีห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ มีสภาพแวดล้อม อาคาร สถานที่ สะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น ปลอดภัย มีแหล่งเรียนรู้
บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่หลากหลายและสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
สภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง 5 ฐานการเรียนรู้ ประกอบด้วย
ศูนย์ศาสตร์พระราชา, ลานธรรม, อู่ทอง อู่อารยธรรม, โรงเรียนธนาคารอู่ทอง, ศูนย์ส่งเสริมอาชีพ (เอกสารแนบ

ในภาคผนวก ก)

โรงเรียนอทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.02) 3

๑.๕ มคี วามพร้อมทางดา้ นการสร้างความสมั พนั ธก์ บั หน่วยงานภายนอก
โรงเรียนอู่ทองร่วมกับชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิด

ประโยชน์ต่อนักเรียน ปลูกฝังค่านิยม จิตอาสาพัฒนาสังคม สาธารณประโยชน์และประพฤติปฏิบัติตน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือ
แรงงาน 2 สุพรรณบุรี โครงการพัฒนา“หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและ
อุดมศึกษา (Advance placement Curriculum on Aptitude)” ร่วมกับสถาบันอาชีวศึกษาและ 9 สถาบัน
อุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี โครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นและโครงการมัคคุเทศก์น้อย ร่วมกับองค์การ
บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.7) โครงการโรงเรียนธนาคารร่วมกับธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาอู่ทอง โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โครงการต้นกล้าคุณธรรม
รว่ มกบั วดั ในเขตพื้นท่ี โครงการสานฝันปนั สุขใหน้ ้องร่วมกับโรงเรียนเครือข่าย ไดแ้ ก่ โรงเรียนวดั กลางบ้านดอน
โรงเรียนบ่อสุพรรณวิทยา โรงเรียนบ้านจรเข้สามพัน (ติณภาคพิทยา) โรงเรียนบ้านไผ่แปลกแม่ โรงเรียนวัดใหม่
รัตนเจดีย์ โครงการศึกษาธรณีวิทยาร่วมกับบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียมอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
โครงการสุพรรณบุรี และมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โครงการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับ
ศูนย์พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง สุพรรณบุรี เป็นต้น อีกทั้งโรงเรียนมีฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงที่สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ มีแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม สู่ชุมชน สถานศึกษาที่มาศึกษาดูงาน
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ส่งผลให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชนและหน่วยงานภายนอก (รายละเอียด

ตามข้อ ๖.๔)

จากนโยบายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาและเหตุผลดังกล่าว
ข้างต้น แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนอู่ทองมีความพร้อมทั้งด้านผู้บริหาร ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา
การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ประกอบด้วย อาคาร สถานที่และสิ่งแวดล้อม ฐานการเรียนรู้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ๕ ฐาน ที่นำไปสู่ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาอื่นในการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมท้งั ความสมั พันธก์ ับหนว่ ยงานทสี่ ังกัด และหนว่ ยงานภายนอก

นอกจากนี้ จากการรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ผลการประเมินได้ระดับคุณภาพดีเยี่ยม
ทั้งสามด้าน ซึ่งคณะกรรมการได้ให้ข้อเสนอแนะว่า สถานศึกษามีศูนย์ศาสตร์พระราชาเป็นแบบอย่างที่ดีแล้ว
ควรรักษาไวใ้ หอ้ ยคู่ ูส่ ถานศกึ ษา เป็นการเผยแพร่แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทีเ่ ปน็ ประโยชน์
ต่อผู้เรียนและผู้ที่สนใจ อย่างไรก็ตามเพื่อให้เป็นแบบอย่างที่ดีมีความคงทนยั่งยืน สถานศึกษาได้ดำเนินการ
ตามข้อเสนอแนะ โดยปรับปรุงเส้นทางการเข้าถึงฐานการเรียนรู้ต่างๆ จัดภูมิทัศน์ เพิ่มสวนหย่อมที่จำลอง
ศิลปะอู่ทอง เพิ่มชื่อต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชสวน พืชไร่ พืชผักทุกชนิด โรงเพาะเห็ด โรงบ่มเห็ดและท่ผี ลิต
ก้อนเชื้อให้เหมาะสม เชื่อมโยงการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ STEM และ Coding ฝึกมัคคุเทศก์ให้ผู้เรียน
นำเสนอผลงานในแต่ละฐานการเรียนรู้ บรู ณาการลานธรรมให้เป็นศูนย์การเรียนรู้พระพุทธศาสนาและปลูกฝัง
คุณธรรมที่สอดคล้องกับเงื่อนไข “ความรู้” และ “คุณธรรม” ซึ่งเป็นหัวใจแห่งศาสตร์พระราชา อย่างแท้จริง
เพ่ือพฒั นาการศึกษา พัฒนาประเทศแบบยั่งยืน อยา่ งเป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน สถานศกึ ษาจึงสมควรไดร้ ับการประเมิน
เป็นศูนย์การเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา

โรงเรียนอู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.02) 4

๒. ขอ้ มูลทว่ั ไป ประกอบด้วย
๒.๑ จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (รวมครูอัตราจา้ ง) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา (รวมครอู ัตราจ้าง) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จำนวนจำแนกตามระดับการศกึ ษา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวม
ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท สูงกวา่ ปริญญาโท
-๗๗- ๑๔
ภาษาไทย - - ๒๑

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย(ี วทิ ยาศาสตร์) ๑๐ ๑๑ ๒๐
- ๑๐ ๑๐ - ๑๖
คณติ ศาสตร์ -

สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๙ ๖ ๑ ๗
-๖๑-
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๙
ศิลปะ - ๕ ๒ - ๑๑
การงานอาชพี (งานอาชีพ) - ๔ ๕ -
การงานอาชพี (พาณชิ ยกรรม) - ๒ ๙ - ๑๑
- -วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ๒๐
๕๖
- ๑๓ ๗ - ๔
ภาษาตา่ งประเทศ -๔- - ๔

แนะแนว ๒๒- - ๑๔๔
100
สนับสนนุ การสอน

รวม ๒ ๗7 ๖4 ๑

รอ้ ยละ ๑.๓๙ 53.48 44.44 ๐.๖๙

จากตารางท่ี ๑ พบวา่ ครูและบุคลากรของโรงเรียนอู่ทอง ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็น

ร้อยละ ๕3.48 จบการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ ๔4.44 จบการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี

คิดเป็นรอ้ ยละ ๑.๓๙ จบการศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก คดิ เปน็ ร้อยละ ๐.๖๙ จากข้อมูลดงั กล่าว แสดงใหเ้ ห็นว่า

โรงเรียนอู่ทอง มีความพร้อมทางด้านครูและบุคลากรในการน้อมนำและขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงสูภ่ ายในและขยายผลสภู่ ายนอกสถานศกึ ษา

๒.๒ จำนวนนกั เรียนจำแนกตามระดับช้ัน ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนนกั เรียนทมี่ คี ณุ ลักษณะอยู่อย่างพอเพียงและนักเรียนแกนนำ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

จำนวนนกั เรยี น (คน)

ระดับชั้น ทงั้ หมด ดีเยย่ี ม ประเมนิ คุณลักษณะอยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง นกั เรียน

ดี ผ่าน รวม รอ้ ยละ ไม่ผา่ น ร้อยละ แกนนำ

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 523 434 88 1 523 100.00 - - 36

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 503 457 40 4 501 99.60 2 0.40 29

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 468 403 50 - 453 96.76 15 3.21 24

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 345 318 20 - 338 97.97 7 2.03 34

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 341 285 50 3 338 99.12 3 0.88 77

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 358 323 29 3 355 99.16 3 0.84 41

ชัน้ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ปีท่ี 1 136 115 19 - 134 98.52 2 1.47 6

ชนั้ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพปีท่ี 2 84 74 8 - 82 97.62 2 2.38 14

ชน้ั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ปที ี่ 3 86 85 - - 85 98.83 1 1.16 11

รวม 2,844 2,495 304 11 2,809 98.77 35 1.23 272

รอ้ ยละ 100.00 87.72 10.69 0.38 98.77 98.77 1.23 1.23 9.56

ขอ้ มูล 10 พฤศจกิ ายน 2563
จากตารางที่ ๒ พบว่านักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ระดับผ่านขึ้นไป จำนวน 2,809 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 98.77 และไมผ่ ่านคุณลกั ษณะอยู่อย่างพอเพยี ง จำนวน 35 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.23 ซงึ่ เปน็ นักเรียน
ขาดนานหรือพักการเรียน (ประเมินโดยครูประจำวิชา ประเมินคุณลักษณะด้านความรู้ คุณธรรม ความพอประมาณ

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.02) 5

มีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกัน โดยใช้เกณฑ์การประเมิน ๔ ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน) และมีนักเรียนแกนนำ
ขบั เคลื่อนหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จำนวน 272 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.56 ของนักเรยี นท้ังหมด

จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง และมีนักเรียนที่เป็นแกนนำ
ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมในทุกระดับช้ัน มคี วามพร้อมรบั การประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา

๒.๓ บรบิ ทของสถานศกึ ษา/ลกั ษณะชุมชน/ภูมสิ ังคม
บริบทของสถานศึกษา โรงเรียนอู่ทองได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการให้ก่อตั้ง เมื่อวันที่

23 มนี าคม พ.ศ.2497 เปน็ โรงเรยี นมธั ยมศึกษาขนาดใหญพ่ ิเศษ มีเนอื้ ที่ 45 ไร่เศษ ปจั จบุ ันมจี ำนวนขา้ ราชการ
ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 144 คน นักเรียน 2,820 คน (ข้อมูล 9 ธันวาคม 2563) มีห้องเรียน ๗๐ ห้อง
อาคารเรียน 7 หลัง อาคารประกอบ 20 หลัง มีห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระและศูนย์การ
เรียนรู้ศาสตร์พระราชา บนพื้นที่ 5 ไร่เศษ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 โดยใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พุทธศักราช 2562 พัฒนาเป็นหลักสูตรสถานศึกษา“หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ
อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา (Advance placement Curriculum on Aptitude)” ร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือ
สถาบันอาชีวศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อจัดการศึกษามุ่งเน้นให้ “ผู้เรียนมี
ความรู้ ส่คู วามเป็นเลศิ กอ่ เกิดคณุ ธรรม ใชเ้ หตผุ ลหนุนนำ มภี ูมคิ ุ้มกนั เรยี นรู้ ส้กู ารเปลยี่ นแปลง สร้างอาชีพ
รู้จักใช้อย่างพอประมาณ” มองเห็นเส้นทางชีวิตในอนาคต วางแผนการศึกษาต่อหรือเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัด
ไมต่ งั้ เป้าหมายในชวี ติ ท่สี ูงจนเกินไป หรือต่ำจนเกินไป โดยผู้เรียนสามารถเลอื กเรียนวชิ าเพมิ่ เติมตามความถนัด
สะสมหนว่ ยกติ (Credit Bank) เตรยี มศึกษาตอ่ สถาบนั อาชีวศึกษาหรืออดุ มศึกษา เพื่อเทยี บโอนหนว่ ยกิต (Pre-VEd./
Pre-Ent./Pre-Degree) ช่วยลดเวลาเรียน ประหยัดค่าใช้จ่าย หรือเลือกเรียนวิชาตามความถนัดและความสนใจ
เพอ่ื เป็นพนื้ ฐานไปสู่สาขาอาชพี ทเ่ี หมาะสมกับตนเอง สามารถดำรงชวี ิตอยู่อย่างพอเพียงในสงั คมตอ่ ไป

ลักษณะชุมชน เดิมอำเภออู่ทองมีชื่อว่า อำเภอจรเข้สามพัน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ
จังหวดั สุพรรณบุรี เริ่มกอ่ ตั้งเม่ือพุทธศักราช 2445 แบ่งเขตการปกครองออกเปน็ 13 ตำบล 154 หมู่บ้าน มีการ
บริหารท้องถิ่นเป็น 8 เทศบาลตำบล และ 7 องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภออู่ทอง ได้ชื่อว่า "อู่อารยธรรม
สุวรรณภูมิ" มีชาติพันธ์ุ 5 ชนเผ่า ได้แก่ ไทยพื้นถิ่น ไทยจีน ลาวเวียง ลาวครั่ง และไทยทรงดำ กระจายไปตาม
ตำบลตา่ ง ๆ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ทำนา ทำไร่ รองลงมาค้าขาย รบั จา้ งและการหัตถกรรม
ตามลำดับ สภาพเศรษฐกจิ ของชมุ ชนอยู่ในระดบั ปานกลาง

โรงเรียนตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภออู่ทอง ประมาณ 1 กิโลเมตร ผู้ปกครองมีความนิยมและศรัทธา
ต่อโรงเรยี น มีองค์กรในชมุ ชน ผนู้ ำท้องถ่ิน นกั การเมือง ภาคเี ครอื ข่ายความร่วมมือ ใหก้ ารส่งเสริมสนับสนุนการจัด
การศึกษาของโรงเรียน อีกทั้งมีสภาพแวดล้อม อาคาร สถานที่ สะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น ปลอดภัย
มีแหล่งเรียนรู้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมผู้เรียนสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั เปน็ คนที่มีคณุ ภาพของสงั คมและพร้อมรับกับการเปลีย่ นแปลง

ภูมิสังคม ภูมิประเทศโดยรอบเป็นที่ราบเชิงเขา ทางทิศตะวันตกเป็นเทือกเขา ทิศตะวันออกเป็น
ที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำจรเข้สามพันไหลผ่าน สามารถทำการเพาะปลูกได้ดี ในอดีตได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรม
จากอินเดีย ในราวพุทธศตวรรษที่ 11-12 เรียกว่า“วัฒนธรรมทวารวด”ี ปัจจุบันชุมชนต้ังหลักแหล่งได้ถาวร
สามารถพัฒนาสภาพสังคมและเศรษฐกิจจนขยายเข้าสู่สังคมเมือง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
มีวิถีชีวิตที่สงบสุข เรียบง่าย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่น ยึดมั่นในศาสนา เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทย
ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ประวัติศาสตร์และความเป็นมาของท้องถิ่น “เมืองโบราณอู่ทอง” และ
มีวิถีพอเพียง ใชช้ ีวติ ได้อย่างสมดุลกับธรรมชาติ

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 6

๒.๔ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา/อตั ลกั ษณข์ องนกั เรยี น
วิสยั ทัศน์ : โรงเรียนอ่ทู องเปน็ โรงเรียนมาตรฐานสากล บนพ้นื ฐานความเป็นไทย
ยึดมน่ั คุณธรรม โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เอกลกั ษณ์ : สถาบันสง่ เสริมวิชาการ สรา้ งสรรคว์ ชิ าชพี
อัตลกั ษณ์ : วชิ าการดี มีคุณธรรม นำสังคม
๒.๕ แหล่งเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

โรงเรียนอู่ทองมีแหล่งเรียนรู้ เพื่อรองรับการจัดโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งการจัดการ

เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน

เรียนรู้ สู้การเปล่ียนแปลง สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ สู่ทุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง ประกอบด้วย

ฐานการเรียนรู้ ๕ ฐาน คือ “ศูนย์ศาสตร์พระราชา” “ลานธรรม” “อู่ทอง อู่อารยธรรม” “โรงเรียนธนาคารอู่ทอง”

และ “ศูนย์ส่งเสริมอาชีพ” ดงั แผนภาพ

แผนภาพท่ี 1 แสดงแผนผงั ฐานการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรยี นอูท่ อง
ตารางที่ 3 แสดงฐานการเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ และการใชป้ ระโยชน์

ท่ี ฐานการเรยี นร/ู้ แหล่งเรียนรู้ การใช้ประโยชน์

๑ ศูนย์ศาสตร์พระราชา เป็นฐานการเรียนรู้ที่รองรับการฝึกปฏิบัติในภาคเกษตร คหกรรม งานช่างอุตสาหกรรม
: ศาสตร์ราชา ภายใต้โครงการศาสตร์พระราชา ด้วยการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรชั ญา จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนในรายวชิ าเพิ่มเติมตามความถนดั อาทิ ธรุ กจิ อาหาร การถนอม
สรา้ งชวี ิต อาหารเบื้องต้น หลักการเกษตร การปลูกผักทั่วไป หลักพืชกรรม การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ
การเพาะเลี้ยงแคคตัส การผลิตพันธุ์ไม้น้ำ การปลูกพืชสมุนไพร โรคพืช การขยายพันธุ์พืช
การผลิตเชื้อเห็ด การเพาะเห็ด การผสมดินปลูก การเลี้ยงไส้เดือน หลักการเลี้ยงสัตว์
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเบื้องต้น งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ช่างอ๊อก-เชื่อมไฟฟ้า งานเชื่อม
ซ่อมบำรุง โครงสรา้ งอาคาร พน้ื ฐานงานปนู ความรู้เบือ้ งต้นทางวศิ วกรรมศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
ในชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพทางการหมัก
เป็นตน้ รวมทั้งรายวิชาอ่ืน ๆ ใน 8 กล่มุ สาระ บางรายวชิ าผ้เู รียนสามารถเรียนสะสมหน่วยกิต
(Credit Bank) เป็นการพัฒนาผู้เรยี นให้มีคณุ ลักษณะ มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม
ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ
สู่ทุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง ผู้เรียนมีความรู้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ประยุกตใ์ ช้
กบั ครอบครัว ชมุ ชน และดำรงชวี ติ อย่างสมดลุ กบั ธรรมชาติ

โรงเรียนอู่ทอง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา (ศรร.02) 7

ท่ี ฐานการเรยี นร/ู้ แหล่งเรียนรู้ การใชป้ ระโยชน์

๒ ลานธรรม เป็นฐานการเรียนรู้เพื่อใช้ในการจัดโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมปลูกจิตรวมใจ

: ศาสตร์สรา้ งจิต น้องใหม่อู่ทอง กิจกรรมปลูกระเบียบ สร้างวินัย กิจกรรมปลูกน้ำใจ ใส่ความดี กิจกรรม

ลานธรรม ปลูกปัญญาพัฒนาจิต กิจกรรมปลูกจิตศีลธรรมสัญจร กิจกรรมปลูกสำนึกฝึกจิต กิจกรรม
หมั่นฝกึ ฝน ตน้ กลา้ คุณธรรม เป็นตน้ และเปน็ แหลง่ เรียนรบู้ รู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการ
จัดการเรียนการสอน อาทิ วิชาพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีในพุทธศาสนา พุทธประวัติ และ

รายวิชาบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ เพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจหลักการทางพระพุทธศาสนา

พัฒนาตนเอง ใหเ้ ปน็ ผู้มีคณุ ธรรมจริยธรรม เปน็ พุทธศาสนกิ ชนที่ดี มจี ิตอาสา มีความกตัญญู

กตเวที และสามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีสติ

เห็นคุณค่าของการทำความดี ละเว้นความชั่ว และพัฒนาจิตใจให้บริสุทธิ์ ฝึกสมาธิ ความ

อดทน มคี วามเข้มแข็งทั้งทางจติ ใจ และร่างกาย รู้จักวิธบี ริหารจติ มีสมาธใิ นการเรียน ใช้ชีวิต

แน่วแน่ จดจ่อกับสิ่งท่เี ปน็ ประโยชน์ ส่งผลให้ชวี ิตประสบความสำเร็จ

๕ อทู่ อง อ่อู ารยธรรม ฐานการเรียนรู้ที่รองรับการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรท้องถิ่น และรายวิชาเลือกตาม

: ศาสตร์ท้องถิน่ ความถนัด อาทิ ท้องถิ่นเมืองโบราณอู่ทอง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่น

ภูมิปัญญา นิทานท้องถิ่น ประชากรกับสิ่งแวดล้อม ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ การปกครองท้องถิ่น ศิลปะกับ

ภูมสิ งั คม ภูมิปัญญาท้องถิน่ พื้นฐานเครื่องเคลือบดินเผา ทัศนศิลป์พื้นฐาน บรรจุภัณฑ์พื้นบ้าน ศิลปะ
พื้นบ้าน เพลงพื้นบ้านภาคกลาง นาฏศิลป์พื้นฐาน ภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์ เป็นต้น

รวมทง้ั การจดั การเรยี นการสอนกิจกรรมชุมนุม บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ เข้าใจความเป็นมาของท้องถิ่นที่อาศัย ปฏิบัติตนเพื่อส่วนรวมและ

สาธารณประโยชน์ มีวินัยในตนเอง เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ แบ่งปนั ยดึ มนั่ ในศาสนา เหน็ คุณคา่ วฒั นธรรม

ไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ชาติพันธ์ุ และความเป็นมา

ของท้องถิ่น รู้จักใช้ จัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มได้อย่างสมดุล และดำรงชีวิต

ในยุคปจั จบุ นั อยา่ งมีคุณภาพและมีความสุข

๔ โรงเรยี นธนาคารอู่ทอง เป็นฐานการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักบริหารจัดการการใช้เงิน มีทักษะและเป้าหมาย

: ศาสตรส์ รา้ งตน ที่ชัดเจนในการออม เห็นคุณค่าของการออม มีทักษะในการบริหารงบประมาณ รู้จักคุณค่า

ออมไว้ใช้ ของเงินและสง่ิ ของ มีวิธคี ดิ ทจ่ี ะพจิ ารณาในการใชเ้ งิน รจู้ ักการออม รู้จกั กระบวนการออมเงิน

ในธนาคาร สามารถนํากระบวนการตา่ ง ๆ ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันอยา่ งเหมาะสมกับวยั รู้จักการ
ใช้เงินให้เป็นประโยชน์มากท่ีสุด อันจะส่งผลให้การดำเนินชีวิตในอนาคตเปน็ คนที่มีคุณภาพ

โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน

รายวิชาต่าง ๆ ในแต่ละกลุ่มสาระ อาทิ การเงินการธนาคาร เศรษฐศาสตร์ การขายเบ้อื งตน้

การเป็นผูป้ ระกอบการ การจัดการผลติ ภัณฑ์ท้องถนิ่ การบญั ชเี ชา่ ซ้อื และฝากขาย ภาษเี งินได้

บุคคลธรรมดากับการบัญชี ภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี การบัญชีเบื้องต้น การใช้

คอมพวิ เตอรใ์ นงานบญั ชี การบัญชีภาษอี ากร การบญั ชีสำหรบั ธรุ กิจโรงแรม การบญั ชสี ำหรับ

ธุรกิจอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียว เปน็ ต้น

๕ ส่งเสรมิ อาชีพ เป็นฐานการเรียนรู้เพื่อใชใ้ นการจัดโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถ

: ศาสตรอ์ าชีพ นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ได้จริง มีแหล่งเรียนรู้ อาทิ “ตลาดนัด
สร้างภูมิรู้ อาชีพ” โดยผู้เรียนจัดตั้งบริษัทจำลองในรูปแบบ “ธุรกิจพอเพียง” เรียนรู้ฝึกประสบการณ์
สู่ธรุ กิจ จริง ผลิตและจำหน่ายสินค้า สร้างอาชีพสุจริต เสริมรายได้ระหว่างเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้
ที่นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติได้จริง ทำให้นักเรียนเกิดทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ศาสตรช์ วี ติ “ศูนย์แสดงสินค้า : UT Souvenir” เป็นแหล่งแสดงผลงานของนักเรียนด้านคหกรรม

ความพอเพียง งานฝีมือที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถสร้างได้รายระหว่างเรียนให้ตนเอง และ

เป็นพนื้ ฐาน ครอบครัว มีทักษะอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต “กาแฟอู่ทอง :

UT Coffee Café” เป็นแหล่งเรียนรู้ฝึกทักษะการขาย และการบริการให้ครูและบุคลากร

และนักเรยี น เป็นต้น

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.02) 8

๓. แนวทางในการดำเนินการในด้านต่าง ๆ ซึ่งสมควรได้รับการประเมินผ่านเป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

โรงเรียนอู่ทองบริหารงานอย่างมีคุณภาพ โดยใช้รูปแบบการบริหาร UT-SMILE Model และขับเคลื่อน
การดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วย SMILE Model : มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ
ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่าง
พอประมาณ สทู่ ุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง ดังแผนภาพ

แผนภาพท่ี 2 แสดงรูปแบบการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง SMILE Model
๓.๑ การบริหารจัดการ โรงเรียนอู่ทองบริหารงานอย่างมีคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการบริหารจัดการ
เชงิ กลยุทธ์ ดงั นี้

1) การสำรวจสภาพแวดล้อม (Environmental Scanning) ดำเนินการรวบรวมข้อมูลโดย
การสำรวจสภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ บริบทสถานศึกษา ความเป็นมา และข้อมูลการพัฒนาในด้านต่าง ๆ
และสภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ บริบทชุมชนโดยรอบ ภูมิสังคม วัฒนธรรมดั้งเดิม และความเป็นไปของ
สังคมในปัจจุบันอย่างเป็นระบบ และรอบด้าน เพื่อนำข้อมูลมาเป็นแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนนิ งานตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างมีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ

2) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy Formulation) ดำเนินการวิเคราะห์ และวางแผนการ
ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเชิงกลยุทธ์ โดยนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ
สภาพแวดล้อมมาวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis/TOWS Matrix)
ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า โรงเรียนอู่ทองมีจุดแข็งด้านวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และมี
โอกาสในการพัฒนาการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างยั่งยืน

โรงเรยี นอ่ทู อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) 9

เนื่องจากมีเครือข่ายความร่วมมือที่หลากหลาย และรอบด้าน (SO) จึงกำหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรุก และกำหนด
เป็นวิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่ดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดเป้าหมายหลัก
นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อน จัดทำแผนระยะยาวเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน จัดทำแผนปฏิบัติ การ
เพื่อกำหนดเป็นทิศทางการดำเนินงานอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง รวมถึงจัดทำแผนฉุกเฉิน เพื่อพร้อมรับการ
เปล่ยี นแปลงที่อาจจะเกดิ ขน้ึ ได้ มกี ารกำหนดตวั ชวี้ ัดทว่ี ัดได้จริงและนา่ เชื่อถือ

3) การดำเนนิ การ (Strategy Implementation) ผบู้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา และ
คณะกรรมการสถานศึกษา รว่ มกนั ดำเนนิ การตามแผนงานทว่ี างไว้ โดยใช้ SMILE Model ท่มี ุ่งเน้นการสง่ เสริม
ศักยภาพสู่ความเป็นเลิศ ควบคู่กับการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กระตุ้น ปลูกฝังให้ทุกคนเกิดความพอเพียง
ทั้งด้านการจัดการเรียนรู้ การดำรงชีวิต และการอยู่ร่วมกันในสังคม พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรพอเพียง
อย่างยั่งยืน เริ่มจากประชุมให้ความรู้แก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา ครูทุกคนจัดการเรียนรู้บูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจดั การเรียนรู้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหแ้ ก่นักเรียน ปรับภูมิทศั น์
สร้างฐานการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้อื่นให้เพียงพอ ปลอดภัยและเอื้อต่อการเรียนรู้ ปลูกฝังความพอเพียงให้
เกิดกับนักเรียนในทุกด้าน โดยผู้บริหาร และครูเป็นแบบอย่างที่ดี ประสานความร่วมมือกับชุมชน และ
ภาคีเครือข่ายทุกฝ่าย เพื่อถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการติดตามผลการดำเนินงานเป็นระยะอย่าง
ต่อเนอื่ ง เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมายของการขบั เคลอ่ื นอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

4) การประเมินผล (Evaluation and control) มีการควบคุมการดำเนินงานด้วย
วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) และประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วดั ประชุมประเมินผลการดำเนินงาน
ให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการดำเนินงานตามสถานการณ์ปัจจุบันได้อย่างเหมาะสม
และสมดุลในทุกมิติ ทง้ั เศรษฐกจิ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม

3.2 บุคลากร ผู้บริหาร ครู นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความสำคัญต่อการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาและการขับเคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้

1) จดั ทำแผนพัฒนาบุคลากร ดว้ ยกระบวนการมีส่วนรว่ มของบุคลากรทุกฝ่าย วิเคราะห์บริบท
ของโรงเรียน ชุมชน พัฒนาบุคลากรให้มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้วย SMILE Model : มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน เรียนรู้
สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ สู่ทุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง โดยจัดทำแผน
โครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมและสร้างโอกาสให้บุคลากรได้แสวงหาความรู้และเพิ่มเติมประสบการณ์
ด้วยรูปแบบและวิธกี ารต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักใน
คณุ คา่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และน้อมนำมาใช้ในการดำเนนิ ชีวติ และการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอยา่ งเห็นผล

2) ดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนงาน โครงการที่วางไว้ด้วยความประหยัดและ
มีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้บุคลากร มีความรู้ ความสามารถ ทั้งทางด้าน
วิชาการ กระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดทำหน่วยการเรียนรู้ ออกแบบและ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั หา จัดทำและใชส้ ือ่ จดั ทำเครอ่ื งมือวัดและประเมินผลตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และพฒั นาบุคลากรให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประพฤติปฏิบัติตน
บนความพอประมาณ มีเหตุมีผล มีภูมิคุ้มกันพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
จากกระแสโลกาภิวัตน์ โดยการประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ตามแผนงานโครงการ
กิจกรรมที่วางไว้ อาทิ การประชุมผู้บริหาร ครู นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและน้อมนำมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตและการ
ปฏิบัติหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ ดำเนินการโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น มุ่งเน้นผู้เรียนรักและภาคภูมิใจ
ท้องถิ่นของตนเอง มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีจิตสาธารณะ มุ่งมั่นทำประโยชน์
และสิ่งที่ดีงามให้กับท้องถิ่นและสังคม โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา “หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยง
การศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา (Advance placement Curriculum on Aptitude)” ร่วมกับ

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา (ศรร.02) 10

เครอื ข่ายความร่วมมือสถาบันอาชวี ศึกษาและ 9 สถาบนั อุดมศกึ ษาในจังหวัดสุพรรณบุรี ดว้ ยการเปิดรายวิชาที่
ส่งเสริมอาชีพตามความถนัดของผู้เรียน โครงการอบรมสัมมนาจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริมนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน โครงการโรงเรียนธนาคารอู่ทอง
โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โครงการต้นกล้าคุณธรรม โครงการคนดีศรีสุพรรณ โครงการ TO BE
NUMBER ONE โครงการสานฝันปันสุขให้น้อง โครงการพัฒนาศูนย์ศาสตร์พระราชา โครงการศึกษาดูงาน
หน่วยงานภายนอก โรงเรยี นต้นแบบเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือเปน็ แบบอย่างในการปฏิบัติตนและพัฒนางาน เป็นต้น

3) การติดตาม ประเมินผลการพัฒนาบุคลากร โดยการนิเทศ ติดตาม ประเมินการออกแบบ
หน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำส่ือ
นวัตกรรมการเรียนรู้ ประเมินด้านวินัยและคุณธรรม การปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตให้กับศิษย์
มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีนิสัย
เอื้อเฟ้อื เผ่อื แผแ่ บ่งปนั ช่วยเหลอื ผู้อ่ืน ยึดม่ันในหลกั ธรรมทางศาสนาและมสี ว่ นรว่ มในการทำประโยชน์ต่อสังคม
อย่างสม่ำเสมอ ตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ
อนุรกั ษ์วัฒนธรรมประเพณอี นั ดีงามของท้องถ่ิน เป็นแบบอย่างท่ดี ใี หก้ ับนกั เรยี นและชุมชน

4) รว่ มเรียนรูแ้ ลกเปล่ียนและขยายผลสูภ่ ายนอกสถานศึกษา มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
บุคลากรในโรงเรียน นำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับจาการประชุม อบรม ศึกษาดูงานมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีครูแกนนำ นิเทศ ดูแลช่วยเหลือ ออกแบบจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ติดตามและประเมินผล จัดกิจกรรมส่งเสริมการดำเนิน
ชีวิตและการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไปสู่
แนวทางปฏิบัติในชีวิตประจำวัน อาทิ การประหยัด การออม การมีวินัย การลด ละ เลิกอบายมุข ใช้ชีวิตโดย
ไมป่ ระมาท เหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวมและพฒั นาทักษะอาชีพในชุมชน เป็นต้น

นอกจากนี้ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงแก่บุคลากร ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรจัดทำสื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มีการประกวดสื่อ นวัตกรรม และงานวิจัย ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรจัดกิจกรรมบูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งกิจกรรมในหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น กิจกรรมตลาดนัด
อาชีพ กิจกรรมออมกับโรงเรียนธนาคารอู่ทอง ส่งเสริมให้ครูและบคุ ลากรมกี ารเผยแพร่ผลงาน สื่อ นวัตกรรม
สู่ภายนอกสถานศึกษา โดยการจัดนิทรรศการหรือเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ เช่น นำเสนอการจัด“หลักสูตร
ตอ่ เน่ืองเช่ือมโยงฯ (Advance placement Curriculum on Aptitude)” รว่ มกับสำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ สำนกั งานศึกษาธิการภาค 3 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบรุ ี รว่ มแลกเปล่ียนเรียนรู้
กับโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรีอย่างต่อเนื่อง เผยแพร่ ขยายผล นวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดเศรษฐกจิ จัดการผลผลิตสู่นวัตกรรม
เห็ดมือถือ” สู่ชุมชนและโรงเรียนอื่น ๆ ส่งผลให้ได้รับรางวัล หน่ึงโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม “เหรียญเงิน
ระดับชาติ” จากคุรุสภา ปีการศึกษา 2563 มีครูแกนนำเปน็ วิทยากรโครงการประชารฐั และเปน็ วทิ ยากรพิเศษ
ให้กับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 สุพรรณบุรี ฝึกสอนการแปรรูปอาหาร งานฝีมือ การจักสาน ให้กับชุนชน
และผู้ปกครองนักเรยี นในพืน้ ท่ีอำเภออู่ทองและใกลเ้ คยี ง เป็นต้น

๓.๓ งบประมาณ
โรงเรียนอู่ทองได้จัดทำแผนงาน แผนปฏิบัติการ ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ และ

นโยบาย ม่นุ เน้นความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ จงึ ให้ความสำคญั กับการบรหิ ารจัดการงบประมาณของสถานศึกษา
ทเ่ี น้นความพอเพียง พอประมาณ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีการวางแผนการดำเนินงานบริหาร
จัดการงบประมาณในการดำเนินงาน โครงการ กิจกรรมโดยใช้หลักเหตุและผล คำนึงถึงประโยชน์ที่จะ
เกิดขึ้นกับนักเรียน สถานศึกษาและชุมชนอย่างคุ้มค่า ผู้เรียนสามารถนำไปใช้เป็นทักษะในการดำรงชีวิตได้
มีการประชมุ ช้ีแจงการจัดสรรและการเบิกจ่ายงบประมาณ ทำความเข้าใจในการจดั สรร จดั ซอื้ ส่ือ วัสดุอุปกรณ์

โรงเรยี นอทู่ อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา (ศรร.02) 11

อย่างคุม้ คา่ และเหมาะสม ด้วยความซ่ือสัตย์สจุ ริต สามารถตรวจสอบไดท้ ุกงาน ทุกโครงการ และทกุ กจิ กรรม มีระบบ
ประกันคุณภาพภายใน เพื่อติดตาม ควบคุม ตรวจสอบและประเมินผล เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นตามแผนงาน มีการ
ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงบประมาณ ตรวจสอบการจัดซื้อสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ติดตามการใช้ประโยชน์
จากสอ่ื วัสดทุ ี่จัดซ้อื อย่างต่อเนื่อง เพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดแก่ผเู้ รยี น สถานศกึ ษาและชมุ ชน โรงเรยี นนำข้อมูล
มาวางแผน ปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาการบริหารจัดการงบประมาณให้เหมาะสม โดยคำนึงถึงความก้าวหน้า
และการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรมในอนาคต

๓.๔ แหล่งเรยี นรู้
โรงเรียนอู่ทอง น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบริหารจดั การแหล่งเรียนรู้ โดยการประชมุ

ชี้แจง แต่งตั้งผู้รับผิดชอบการใช้ ดูแล รักษา ปรับปรุงอาคารสถานที่และจัดการแหล่งเรียนรู้อย่างเหมาะสม
ผเู้ รียน บคุ ลากร ผ้ทู เี่ ก่ยี วขอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการใช้ ดูแลรักษา ปรับปรงุ อาคารสถานท่ี และจดั แหล่งเรียนรเู้ พื่อใช้
ประโยชน์อย่างคุ้มค่าต่อการเรียนรู้ ส่งเสริมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง บำรุงรักษาอาคารสถานท่ี
สภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรม และนำ
ผลการประเมินมาพัฒนาปรบั ปรุงแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มุ่งสง่ เสรมิ ให้ผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา
นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน และชุมชนได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษาเรียนรู้ เพื่อประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการ
จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลาย รวมทั้งประสานสัมพันธ์กับผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและ
เอกชนให้มีส่วนร่วมในการสนับสนุน จัดทำแหล่งเรียนรู้ ร่วมดูแลรักษาปรับปรุงซ่อมแซมและร่วมใช้แหล่งเรียนรู้
สง่ ผลให้โรงเรยี นมแี หล่งการเรยี นรู้ทสี่ ามารถรองรบั การจดั กจิ กรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี น ตอบสนองความต้องการ
ของผู้ปกครอง ชุมชน และเป็นแบบอย่างให้กับสถานศึกษาอื่น หน่วยงานภายนอกมาศึกษาดูงานและใช้ประโยชน์
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

๓.๕ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงดา้ นการศกึ ษา

โรงเรียนพฒั นาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษา ด้วย SMILE Model ภายใต้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) (เอกสารแนบในภาคผนวก ก)
๔. ข้อมลู ดา้ นบุคลากร

๔.๑ ผ้บู รหิ าร
๔.๑.๑ ผบู้ รหิ ารไดน้ ำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันและส่งผลต่อการ

ดำเนินชวี ติ ดังน้ี
ผู้บริหารโรงเรียนอู่ทอง มีความมุ่งมั่นศึกษาจนมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงเป็นอย่างดี สามารถถ่ายทอดความรู้แนวทางการนำมาใช้ในชีวิตประจำวันและการทำงาน ได้ จาก
ครอบครัวที่มีอาชีพเกษตรพอเพียง จึงถือปฏิบัติเป็นหลักการใช้ชีวิตและปฏบิ ัติตนเสมอมา มีการวางแผนการ
ใช้จ่ายเงินอย่างเหมาะสม ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ใช้ชีวิตด้วยการพึ่งพาตนเอง และให้ความสำคัญต่อการดูแลบุคคล
ในครอบครัวเป็นอย่างดี มีความเมตตาต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ดำเนินชีวิตด้วยความพอเพียง ปลูกพืช ผัก ผลไม้
ทำไร่อ้อย แบ่งปันเพื่อน ๆ และผู้ใต้บังคับบัญชา นำพืชผลในไร่มาขายเป็นรายได้เสริม นำผลผลิตในบ้านมา
ประกอบอาหารเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ให้การดูแลความเป็นอยู่บิดา-มารดา พี่ ๆ และ
เครือญาติ รวมท้ังใหก้ ารสนบั สนนุ หลาน ๆ ดูแลค่าใช้จ่ายดา้ นการศึกษาและดา้ นอื่น ๆ ด้วยความรักและเมตตา
อย่างเสมอภาค แบ่งเก็บออมเพื่อความพร้อมในอนาคต อีกทั้งเป็นแบบอย่างของการออมให้กับครู บุคลากร
และนกั เรยี น ดว้ ยการเปิดบัญชีเงนิ ฝากและออมเงนิ กบั โรงเรยี นธนาคารอทู่ องอย่างสม่ำเสมอ

ด้านการปฏบิ ัตติ น ยดึ หลักความถูกต้อง เหมาะสม ตามกฎ ระเบียบ เพ่อื เป็นแบบอยา่ งท่ดี ี แต่งกาย
ตามระเบียบของข้าราชการ และตามกิจกรรมที่โรงเรียนกำหนด ยึดหลักความสุภาพ ประณีต และประหยัด

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบรุ ี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 12

ตรงต่อเวลา ดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความเท่าเทียม ให้การส่งเสริม สนับสนุนด้านการทำงาน ให้คำปรึกษา
และช่วยเหลอื ด้านต่าง ๆ ดว้ ยความเต็มใจ ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรม ประเพณีไทยอันดีงาม ยึดมั่นใน
หลกั ธรรมคำสอนตามพระพุทธศาสนา ร่วมสืบสานและอนุรกั ษ์ความเป็นไทย

ด้านการปฏิบัติงาน มอบหมายนโยบายโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหาร
จัดการภายในสถานศึกษา เป็นผู้มีความรู้ประสบการณ์ในการบริหารจัดการศึกษา ให้ความสำคัญในการดูแล
นักเรียน ส่งเสริมด้านวิชาการและด้านวิชาชีพ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้ความห่วงใย สร้างระบบความ
ปลอดภัยในสถานศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงอบรมให้ความรู้ สอดแทรกหลักคิดให้กับนักเรียน
อย่างสมำ่ เสมอ ปลกู ฝงั คา่ นยิ มการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ ใชน้ ้ำ ใชไ้ ฟอยา่ งประหยดั ร่วมกัน
ดูแลรักษาสภาพแวดล้อม พัฒนาอาคารสถานศึกษา จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ที่สร้างโอกาสในการเรียนรู้ ประสาน
ความร่วมมอื กับครู บคุ ลากร คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง และชมุ ชนในการจัดกจิ กรรมทางการศึกษา
นักเรียนได้รับความรู้ ประสบการณ์อย่างเต็มที่ บุคลากร นักเรียนเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ ปฏิบัติตนและดำเนิน
ชวี ติ อย่อู ย่างพอเพียง

4.1.2 ผู้บรหิ ารนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการบรหิ ารจดั การด้านการศึกษาท้ัง
4 ด้าน ได้แก่ การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ การบริหารงานวิชาการและงานบริหารทั่วไป
ส่งผลตอ่ สถานศกึ ษาและบุคลากรของสถานศึกษา (Best Practice) ดงั น้ี

ผู้บริหารโรงเรียนอู่ทอง มีนโยบายน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อนใน
สถานศึกษา มีความสนใจและเห็นความสำคัญของการนำมาสู่การปฏิบัติอยา่ งจริงจัง โดยบริหารจัดการภายใต้
วิสัยทัศน์ “โรงเรียนอู่ทอง เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย ยึดมั่นคุณธรรม โดยใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ด้วยนวตั กรรม SMILE Model ภายใต้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle)
โดยมุ่งเนน้ การส่งเสรมิ ศกั ยภาพสู่ความเป็นเลิศทางวชิ าการและวชิ าชีพควบคู่กับการส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม
เพื่อการดำเนินชีวิตด้วยความพอเพียงของผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนได้อย่างยั่งยืน
โดยการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ดังต่อไปน้ี

การบริหารงานบุคคล การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาเป็นภารกิจสำคัญ บริหารงานบุคคล
ให้เกิดความคล่องตัวอิสระภายใต้ กฎหมาย ระเบียบ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา มีแผนงาน โครงการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนัก
ในคุณค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประชุม อมรม สัมมนา ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่าง
สม่ำเสมอ จัดกิจกรรมส่งเสริมการดำเนินชีวิตและการปฏิบัติภารกิจหน้าที่ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงแก่บุคลากรของสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมพัฒนาบุคลากร นำมา
ปรับปรุง พัฒนา พร้อมขยายผลและเผยแพร่ผลการดำเนินชีวิตและการปฏิบัติภารกิจหน้าที่ของบุคลากร
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การบริหารงานงบประมาณ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อน
ในสถานศกึ ษา เน้นความถกู ตอ้ ง โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และคมุ้ ค่า มกี ารวางแผนการบริหารจดั การงบประมาณ
ของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดตั้งงบประมาณ จัดทำ
แผนปฏิบัติการประจำปี จัดสรรค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม กำหนดขนั้ ตอนการจัดทำแผนการ
ใช้เงินอย่างเป็นระบบ มีคณะกรรมการงานนโยบายและแผนงานรับผิดชอบ ดูแล ตรวจสอบความถูกต้อง
นำเสนอต่อคณะกรรมการพจิ ารณางบประมาณ จงึ จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีเสนอเพ่ือขออนมุ ตั ิแผนการใช้
จ่ายเงินต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ดำเนินการตามแผนงบประมาณ อนุมัติการบริหารการเงินและพัสดุ
รวมถึงการตรวจสอบดูแลการใช้งบประมาณ ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงบประมาณ นำผลมาพัฒนา
ปรบั ปรุงการบริหารจดั การงบประมาณตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การบริหารงานวิชาการ งานวิชาการเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษา โดยจัดทำแผนงาน
โครงการ กิจกรรมด้านวิชาการที่ส่งเสริมบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้

โรงเรยี นอทู่ อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 13

นำมาใช้ในการออกแบบและจัดทำหน่วยการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีแผนการจัดการเรียนรู้
จัดกิจกรรมที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดหาสื่อ ผลิต และ
ใช้สื่อการเรียนรู้ จัดทำและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา ใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
ทเี่ สรมิ สร้างการพัฒนาคุณลักษณะอยู่อยา่ งพอเพียงของนักเรียน จดั ทำเคร่อื งมือและวิธีการวัดและประเมินผล
ทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานผลการประเมิน นำมาปรับปรุง พัฒนา จัดแสดง เผยแพร่ ประกวด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานของ
นกั เรียนที่เกิดจากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้

ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในการแนะแนวและระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีแผนงานแนะแนว จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้รู้จักการวางแผนชีวิตของตนเอง มีระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน ให้สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองได้อย่างสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ติดตามการจัดกิจกรรมแนะแนว ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นำผลการติดตามมาใช้พัฒนาการจัด
กิจกรรมแนะแนวและระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กิจกรรมนักเรียน มีแผนงาน โครงการ ส่งเสริมกิจกรรมนักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนอยู่อย่างพอเพียง
จัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งชุมนุม ชมรม มีการ
ประยกุ ตใ์ ชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถิน่ วฒั นธรรม หลักคำสอนทางศาสนา สง่ เสริมสนับสนุนใหผ้ ้เู รียนมีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา
มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ร่วมแก้ปัญหาพัฒนาสถานศึกษาและชุมชน มีการติดตาม
ผลการดำเนนิ กจิ กรรม นำมาวางแผน ปรับปรงุ พัฒนาให้เกดิ ประสิทธิภาพ

การบริหารงานทั่วไป เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบให้บริการการบริหารงานอื่น ๆ
บรรลุผลตามมาตรฐานคุณภาพและเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีบทบาทหลักในการประสานส่งเสริมสนับสนนุ
และการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการให้บริการการศึกษาทุกรูปแบบ มีสภาพแวดล้อม อาคาร สถานท่ี
สะอาด ร่มรื่น เน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา โดยการจัดวางผังอาคาร สถานที่ที่ดูแลได้อย่างทั่วถึง
มี 5 ฐานการเรียนรู้ โดยขบั เคล่ือนตามรูปแบบ SMILE Model : สรา้ งองคค์ วามรู้สูค่ วามเป็นเลศิ (S: Superb)
สร้างองค์กรให้ก่อเกิดคุณธรรม (M: Moral) สร้างความเข้าใจใช้เหตุผลหนุนนำ (I: Induce) สร้างภูมิคุ้มกัน
เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง (L: Learning) สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ (E: Employment) บริหาร
อาคารสถานที่และจัดแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประสานสัมพันธ์กับ
ชุมชนให้มสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างคณุ ลกั ษณะอยู่อย่างพอเพียงของผูเ้ รียน ส่งผล
ให้ผู้บริหารได้รับรางวัล “MOE AWARDS” ประเภทบุคคล สาขาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษาดเี ด่น” “คุรสุ ดดุ ”ี เป็นแบบอย่างทีด่ ีแกส่ งั คม “ด้านครุ ชุ น คนคุณธรรม” “กรรมการ
และเลขานกุ ารสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐานดีเดน่ ” เปน็ ตน้

จากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้โรงเรียนอ่ทู องมี Best Practice การขับเคลอื่ นหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่สถานศึกษา สามารถเป็นแบบอย่างให้กับสถานศึกษาอื่น ชุมชน และหน่วยงานภายนอก
ได้แก่ “ศูนย์ศาสตร์พระราชา” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนา “หลักสูตรต่อเนื่อง
เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา (Advance Placement Curriculum on
Aptitude)” ร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือสถาบันอาชีวศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี
เพอ่ื จดั การศึกษามุ่งเนน้ ให้ “ผู้เรยี นมคี วามรู้ส่คู วามเป็นเลศิ กอ่ เกิดคณุ ธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน
เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ” มองเห็นเส้นทางชีวิตในอนาคต วางแผน
การศึกษาต่อหรือเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัด ไม่ตั้งเป้าหมายในชีวิตที่สูงจนเกินไป หรือต่ำจนเกินไป โดยผู้เรียน
สามารถเลือกเรียนวิชาเพิ่มเติมตามความถนัด สะสมหน่วยกิต (Credit Bank) เตรียมศึกษาต่อสถาบันอาชีวศึกษา
หรอื อุดมศกึ ษา เพือ่ เทยี บโอนหน่วยกิต (Pre-VEd./ Pre-Ent./Pre-Degree) ชว่ ยลดเวลาเรียน ประหยัดค่าใช้จ่าย
หรือเลือกเรียนวิชาตามความถนัดและความสนใจ เพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่สาขาอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง และ
สามารถดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ส่งผลสำเรจ็ ให้นวัตกรรมการจดั การเรียนรูบ้ ูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) 14

พอเพียง “การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลิตสู่นวัตกรรมเห็ดมือถือ” ได้รับรางวัล หนึ่งโรงเรียน
หนง่ึ นวัตกรรม “เหรยี ญเงนิ ระดบั ชาติ” จากครุ สุ ภา (เอกสารแนบในภาคผนวก ง)

๔.๒ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ครูมีความรู้ความเข้าใจ อธิบาย ออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้และถอดบทเรียนของตนเอง

มาจดั ทำเปน็ สื่อบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ขยายผลสูภ่ ายนอกสถานศึกษาจนเห็นผลอย่างมี
คณุ ภาพตามบรบิ ทนน้ั ๆ ดงั นี้

4.2.1 ร้อยละ 95 ของจำนวนครู มีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ถูกต้อง
มีคุณลักษณะพอเพียง มีความรู้คู่คุณธรรม มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ดำเนินชีวิตได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปสู่การพัฒนางานในหน้าที่ ด้วยการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดหา จัดทำสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการวัดและประเมินผล
ทหี่ ลากหลาย ถอดบทเรียนและสามารถแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ถ่ายทอดประสบการณ์ใหเ้ พื่อนครูในโรงเรียนจนเหน็ ผล

ทั้งนี้ จากการประชุมครูและบุคลากรได้ชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าและน้อมนำ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการปฏบิ ัติหนา้ ที่และดำเนินชวี ติ อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม มกี ารพัฒนา
ครแู ละบคุ ลากร ด้วยรูปแบบวธิ ตี า่ ง ๆ เชน่ การศกึ ษาดงู านโรงเรียนตน้ แบบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การอบรมเชิงปฏิบัติการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2 เง่ือนไข 3 หลกั การ เพือ่ ผล 4 มติ ิ การจัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เป็นตน้ สง่ ผลใหค้ รแู ละบคุ ลากรของ
โรงเรียนอู่ทองเป็นแบบอย่างที่ดีในการวางแผนการใช้จ่ายอย่างพอประมาณ มีการออมเงินโดยเปิดบัญชี
เงนิ ฝากกับโรงเรียนธนาคารอู่ทอง ปฏิบตั ิตนเพอ่ื สว่ นรวมและสาธารณประโยชน์ มีวินยั ในตนเองเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่
แบ่งปัน ยึดมั่นในศาสนา เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ประวัติศาสตร์ ชาติพันธ์ุ
และความเป็นมาของท้องถิ่น “อู่ทอง อู่อารยธรรม” รู้จักใช้ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
อย่างสมดุล รวมทั้งมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ให้เป็น “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายรองรับการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ด้านการจัดการเรียนการสอน ครูทุกคนน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการ
ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สอดแทรกคุณธรรมในการดำเนินชีวติ ทุกระดับชั้น มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล เพื่อพัฒนาส่งเสริมผู้เรยี น
ให้เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และคุ้มค่า เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ สามารถพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จนเห็นผล นักเรียนสามารถถอดบทเรียนและ
นำความรู้จากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนของครูไปปฏบิ ัติได้ เพ่อื เสริมสรา้ งคณุ ลักษณะอย่อู ย่างพอเพียง

4.2.2 ตวั อย่างเร่ืองเล่าของครูทีป่ ระสบความสำเรจ็ ในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปใช้ในชีวิตหรือการพัฒนาตนเอง ได้แก่ ครูกัลยา อุ่นศิริ ครูทิวารัตน์ มาแสง ครูทิพภาณี คนึงคิด โดยถ่ายทอด
ประสบการณ์ ให้เพื่อนครูในโรงเรียนได้นำไปเป็นแนวทางการดำเนินวิถีชีวิตอย่างพอเพียงและปฏิบัติหน้าที่
ได้ถูกต้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งขยายผลสู่ภายนอก อาทิ ครูกัลยา อุ่นศิริ ได้น้อมนำ
หลกั ปรญั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาใช้เพือ่ สรา้ งความเข้มแข็งและย่ังยืนรว่ มกับชุมชนศรีสรรเพชร จดั กิจกรรม
“ถนนคนเดินหรรษา วินยานุโยค” เพื่อให้ชุมชนได้มีสถานที่ประกอบอาชีพค้าขายเปน็ การสร้างความเขม้ แขง็
ความสามัคคีของชุมชน เข้าร่วม “โครงการออมเงินวันละบาท” ของกลุ่มสมาชิกบ้านมั่นคง จัดทำ “ตู้ออมสุข”
เพื่อแบ่งปันช่วยเหลือผู้ที่มีผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 เป็นวิทยากรโครงการประชารัฐ และเป็น
วิทยากรพิเศษให้กับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒ สุพรรณบุรี ฝึกอาชีพ การแปรรูปอาหาร งานฝีมือ การ
จักสาน ให้กบั ชุนชนและผ้ปู กครองนักเรยี นในพืน้ ทีอ่ ำเภออู่ทองและใกลเ้ คียง เป็นต้น(เอกสารแนบในภาคผนวก ข)

โรงเรยี นอทู่ อง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) 15

4.2.3 ตัวอย่างเรอื่ งเล่าของครูทปี่ ระสบความสำเรจ็ ในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ได้แก่ ครูจารุวรรณ มนูญโย
ครูพิมพ์ธีรา อายุวัฒน์ เป็นต้น ซึ่งครูสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ให้เพื่อนครูในโรงเรียนได้นำไปเป็นแนวทางออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การจัดทำแผนการจดั การเรียนรบู้ รู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จัดทำส่ือและนวตั กรรม เผยแพร่
ขยายผลสู่ชุมชนอย่างต่อเน่ือง สง่ ผลให้เกิดนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลิตสู่นวัตกรรมเห็ดมือถือ” โดยครจู ารวุ รรณ มนญู โย รบั รางวลั หนึ่งโรงเรียน
หน่ึงนวัตกรรม “เหรยี ญเงิน ระดบั ชาติ” จากคุรสุ ภา ปีการศึกษา 2563 (เอกสารแนบในภาคผนวก ข)

๔.๒.๔ ครูแกนนำได้ขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ผู้ปกครอง สถานศึกษาอื่น ชุมชน
หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ด้วยการนำองค์ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลิต
สู่นวัตกรรมเห็ดมือถือ การฝึกสอนการแปรรูปอาหาร งานฝีมือ การจักสาน ขยายผลให้กับผู้ปกครองนักเรียน
และชุนชน ในพื้นที่อำเภออู่ทองและใกล้เคียง เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนมอี งค์ความรูแ้ ละมีรายได้ตามสภาพ
ของชุมชนนั้น ๆ และโรงเรียนธนาคารอู่ทอง เป็นโรงเรียนธนาคารต้นแบบให้กับสถานศึกษาในจังหวัด
สพุ รรณบรุ แี ละจังหวัดใกล้เคยี ง เปน็ ตน้ (เอกสารแนบในภาคผนวก ข)

๔.๓ นักเรียน นักเรียนโรงเรียนอู่ทองมคี วามรู้ความเขา้ ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามมาตรฐาน
การเรยี นร้ขู องแต่ละระดับชั้น และปฏบิ ตั ิตนใหด้ ำเนินชวี ติ ได้อย่างสมดุล พร้อมรบั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงในด้านวัตถุ
สังคม สิง่ แวดล้อม วฒั นธรรมและเทคโนโลยี ดังนี้

๔.๓.๑ จำนวนนักเรียนแกนนำ 272 คน คิดเป็นร้อยละ 9.56 ของนักเรียนทั้งหมด มีความ
เข้าใจสามารถเรียนรู้และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นผล เห็นคุณค่า เกิดศรัทธาใน
การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับใช้ในการดำเนินชวี ิต เช่น การปลกู ผกั การเพาะเห็ดอย่างง่าย
การเลยี้ งสัตว์ การแปรรปู อาหาร การออม การศกึ ษาเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ด้วยการทำกิจกรรมท่ีกล่าวมาน้ี
ทำให้นักเรียนมีทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตน สามารถจัดกิจกรรม
ขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มีวินัยในการใช้จ่าย
ออมเงินตามศักยภาพ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ประโยชน์จาก
สาธารณสมบัติ มีอุปนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่เบียดเบียนหรือสร้างความเดือดร้อนให้ผู้อื่น กระทำตนเป็น
ประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคมจนประสบความสำเร็จ และได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่สำคัญ
เช่น โรงเรียนธนาคารอู่ทอง บริษัทสร้างการดี เห็ดมือถือ ห้องเรียนสีขาว TO BE NUMBER ONE เยาวชนคนดี
ศรสี พุ รรณ โครงการส่งเสริมกิจกรรมนักเรียนประหยดั พลงั งาน โรงเรียนปลอดขยะ เปน็ ต้น

๔.๓.๒ ตัวอย่างเรื่องเล่านักเรียนในการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ได้แก่
นายฐิติศักดิ์ พักเสียงดี และนางสาวอรัญญา ไฝเพชร ได้เล่าถึงการนำความรู้จากวิชาการเพาะเห็ดมาพัฒนา
เปน็ “เหด็ มือถอื ” สรา้ งรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว เป็นแกนนำร่วมกับคุณครูและพัฒนากรชุมชน ขยายผล
ไปสู่ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนอื่น ในโครงการสานฝัน ปันน้ำใจให้น้อง รวมทั้งประชาสัมพันธ์ “เห็ดมือถือ”
ในรูปแบบ QR Code จึงมีหนังสือพิมพ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง ๗ สัมภาษณ์และเผยแพร่
ไปยังผู้ที่สนใจได้อย่างกว้างขวาง เรื่องเล่าของนางสาวกัญญารัตน์ ไทยงามศิลป์ เล่าถึงผลจากการเรียน
ในรายวชิ างานธรุ กิจ ได้มีสว่ นช่วยเหลอื งานโรงเรียนธนาคารอทู่ อง ส่งผลให้เกิดแรงบันดาลใจมนี สิ ยั รักการออม
มีเป้าหมายวางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคต นายธีรพล เชื้อดี นักเรียนแกนนำในโครงการฝึกทักษะอาชีพ
ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว และเป็นวิทยากรร่วมกับกลุ่มจักสานบ้านดอนคา เผยแพร่
ทักษะอาชีพสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง และเรื่องเล่าของนายศุภโชค รอดแก้ว เล่าถึงการศึกษาหลักสูตรท้องถิ่น
“อ่ทู อง ออู่ ารยธรรม” ทำให้มีความรู้ เขา้ ใจความเปน็ มาของท้องถ่ินท่ีอาศัย ประวัตศิ าสตร์ ชาติพันธุ์ เห็นคุณค่า
ทั้งด้านภาษา การแตง่ กาย ประเพณี วัฒนธรรม ส่งผลให้ตนเองได้เปน็ มคั คเุ ทศก์การทอ่ งเที่ยว “เมืองโบราณอ่ทู อง”
รว่ มกับชมุ ชนและองค์การบรหิ ารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพอ่ื การท่องเทย่ี วอย่างย่งั ยืน (อพท.7) เป็นต้น (เอกสารแนบใน

ภาคผนวก ค)

โรงเรยี นอูท่ อง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบรุ ี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา (ศรร.02) 16

๔.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
๔.๔.๑ ความรคู้ วามเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนอู่ทองมีความสนใจและเป็นผู้ที่มีความรู้ ประสบการณ์ในการ

ทำงาน มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ส่งผลให้เป็นที่ยอมรับนับถือและเป็นต้นแบบของการดำรงชีวิต ทั้งนี้ ยังศึกษา
หาความรู้ พัฒนาความรู้ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีส่วนช่วยในการสนับสนนุ การ
ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งภายในและขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษา ซึ่งโรงเรียนได้
ดำเนินการ ดังนี้ ๑) เลือกตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา ๒) ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อชี้แจงนโยบาย
มาตรการ การบริหารจัดการ ตลอดจนการวางแผนการดำเนินงานการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ๓) เชิญคณะกรรมการสถานศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ๔) ติดตาม ประเมินผลการ
ดำเนินงานต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ เพื่อให้ความสำคัญ สร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน และร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดข้นึ
แก่ผู้บริหาร ครู นักเรียนและบุคลากร ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นบุคคลที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคล
ตน้ แบบความพอเพยี งเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีในการใช้ชวี ติ อยา่ งพอเพียง

๔.๔.๒ บทบาทในการให้การสนับสนุน ส่งเสรมิ สถานศึกษาในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนอู่ทองมีบทบาทในการสนับสนุนการจัดการศึกษาด้าน
ตา่ ง ๆ ของโรงเรียน ดงั น้ี

๑) การสนับสนนุ ดา้ นองค์ความรู้ ด้วยการเป็นที่ปรึกษา กำกับการดำเนินการของสถานศึกษาให้
สอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนั กงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี และความต้องการ
ของผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น พร้อมกันนี้ยังให้ความเห็นชอบในการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

๒) การส่งเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมสำคัญที่โรงเรียนจัดข้ึน
เพื่อขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งภายในสถานศึกษาสู่ภายนอกสถานศึกษา ส่งผลให้
การดำเนนิ งานของโรงเรียนเปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและมปี ระสทิ ธิภาพตลอดมา

๓) การสนับสนุนด้านการประสานงานและสร้างเครือข่ายความรว่ มมือจากหน่วยงานภาครัฐและ
เอกชน ในการจัดหางบประมาณ วัสดุ หรือบุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง เพื่อให้โรงเรียน
ไดข้ บั เคลอื่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้สำเร็จลลุ ว่ งตามวตั ถปุ ระสงค์
๕. ข้อมลู ด้านอาคารสถานที่ / แหล่งเรียนรู้ / สง่ิ แวดล้อม

โรงเรียนอู่ทอง มีการบริหารจัดการ ปรับปรุงและพัฒนาอาคารสถานที่และแหล่งเรียนรู้ภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา โดยให้ความสำคัญกับการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีการประสานสัมพันธก์ ับชุมชน เผยแพร่ข่าวสารและหลกั การตามหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทำให้ชมุ ชน หน่วยงานราชการและหน่วยงานเอกชน ได้ประโยชน์จากความร่วมมือและ
การมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน การดูแลรักษาและพัฒนาอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อมของ
สถานศึกษาอย่างสมำ่ เสมอ

5.1 ความพร้อมของอาคารสถานที่ที่เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โรงเรียนอู่ทอง มีนโยบายและแผนบริหารจัดการสถานที่อย่างเป็นระบบ มีผู้รับผิดชอบการ
ใช้ประโยชน์ ดูแลรักษาและพัฒนาอาคารสถานที่อย่างชัดเจน มีแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้บูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในสถานศึกษา เพื่อใช้วางแผนบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและ
อำนวยความสะดวกแก่นักเรียน มีอาคารสถานที่ที่สะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย มีสื่อการสอน อุปกรณ์เทคโนโลยี
เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย อาคารเรียนจำนวน 7 หลัง เป็นที่ตั้งของห้องเรียน

โรงเรียนอู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 17

หอ้ งปฏิบัตกิ ารและแหล่งเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนร้ตู ่าง ๆ สำหรับจดั การเรียนการสอนบูรณาการหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มีอาคารฝึกงานคหกรรม อาคารฝึกงานเกษตรกรรม สำหรับจัดการเรียนการสอนและ
การฝึกปฏิบัติในรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มีห้องสมุดโรงเรียน ห้องเรียนคอมพิวเตอร์
สำหรับการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศของนักเรียน อาคารหอประชุมศิลปอาชา อาคารศูนย์บริการชุมชน
หอ้ งประชมุ สำหรบั จดั การประชมุ อบรม กิจกรรมของโรงเรียนและหน่วยงานต่าง ๆ ห้องสภานกั เรียน สำหรับ
จดั กิจกรรมส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ห้อง TO BE NUMBER ONE สำหรบั การทำกิจกรรม
สร้างสรรค์ของนักเรียน ห้องโรงเรียนธนาคารอู่ทอง เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตในการวางแผนทางการเงิน
เรือนพยาบาล อาคารโดม สนามกีฬา อาทิ สนามฟุตบอล เซปักตะกร้อ วอลเลย์บอล เทนนิส เปตอง
บาสเกตบอล สำหรับจัดการเรยี นการสอนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา เป็นตน้

แผนภาพที่ 3 แสดงแผนผังอาคารเรียน และอาคารประกอบภายในโรงเรยี นอทู่ อง
5.2 มีแหล่งเรียนรู้หลากหลายเพื่อสร้างเสริมอุปนิสยั อยู่อยา่ งพอเพียงอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
กบั จำนวนนักเรียน

โรงเรียนอู่ทอง มีแหล่งเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่หลากหลายและ
สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน สภาพเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่าง
พอเพียงตามรูปแบบ SMILE Model ประกอบด้วย 5 ฐานการเรียนรู้ ได้แก่ ศูนย์ศาสตร์พระราชา ลานธรรม
อู่ทอง อ่อู ารยธรรม โรงเรียนธนาคารอ่ทู อง และศูนยส์ ง่ เสริมอาชีพ (เอกสารแนบในภาคผนวก ก)

ทั้งนี้ แหล่งเรียนรู้ทุกแห่งมีครูและนักเรียนรับผิดชอบการใช้ประโยชน์ ดูแลรักษาและพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ มีวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี สื่อการเรียนรู้ สามารถถ่ายทอดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไดอ้ ยา่ งถูกต้องชดั เจนและมกี ารพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างต่อเน่ือง

๕.๓ สิ่งแวดลอ้ มท่ีเอือ้ อำนวยต่อการจดั การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โรงเรียนอู่ทอง มีแผนงาน โครงการ งบประมาณ มีผู้รับผิดชอบในการปรับใช้อาคารสถานที่

ให้เอื้ออำนวยต่อสภาพแวดล้อมในการจัดการสอนให้กับนักเรียนทุกคน คำนึงถึงการนำหลักปรั ชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด และได้รับการสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานภาครัฐและ
เอกชน ในด้านการมีส่วนร่วมส่งเสริมการจัดการศึกษาพัฒนาแหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา (ศรร.02) 18

ต่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งด้านวิทยากรและผู้เชี่ยวชาญ ในการจัดกิจกรรม
ให้ความรู้แก่นักเรียนเป็นประจำทุกปีการศึกษา จัดสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้และสถานที่ให้สอดคล้อง
กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีทักษะสามารถนำไปประกอบเป็นอาชีพท่ยี ั่งยืน สร้างรายได้
ใหก้ บั ตนเองและครอบครัว มัน่ คง มง่ั ค่ัง ย่งั ยนื อยอู่ ย่างพอเพยี ง มีความสุขกบั ชีวติ และครอบครวั ทอ่ี บอ่นุ
๖. ดา้ นความสัมพนั ธก์ ับชมุ ชนและหนว่ ยงานภายนอก

๖.๑ การวางแผนและดำเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของสถานศึกษา

ความเข้มแข็งของเครือข่าย ถือเป็นโอกาสที่ส่งเสริมการพัฒนาการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งของโรงเรยี นอทู่ อง โดยมกี ารสรา้ งเครอื ขา่ ยภายนอกอย่างเป็นระบบและครบทกุ มิติ เป็นการ
ประสานความร่วมมือเชิงรุก เพื่อให้การขับเคลื่อนบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ ธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาอู่ทอง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒ สุพรรณบุรี โรงพยาบาลอู่ทอง
สาธารณสุขอำเภออู่ทอง สถานีตำรวจภธู รอู่ทอง องคก์ ารบรหิ ารการพัฒนาพื้นท่ีพิเศษเพื่อการท่องเทยี่ วอย่างยั่งยืน
(อพท.7) บรษิ ัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลยี มอนิ เตอร์เนชัน่ แนล จำกดั โครงการสุพรรณบุรี สำนักงานขนส่ง
จังหวัดสุพรรณบุรี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนอู่ทอง เทศบาลตำบลอู่ทอง
เทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เครือข่ายผู้ประกอบการรถรับ-ส่ง
นักเรียน ผูป้ กครองนกั เรียน ครูเก่าโรงเรยี นอทู่ อง โรงเรยี นเครอื ขา่ ย ได้แก่ โรงเรยี นวัดกลางบา้ นดอน โรงเรียน
บ่อสุพรรณวิทยา โรงเรียนบ้านจรเข้สามพัน (ติณภาคพิทยา) โรงเรียนบ้านไผ่แปลกแม่ โรงเรียนวัดใหม่รัตน
เจดยี ์ สถาบันอาชวี ศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ 1) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตสุพรรณบุรี 2) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา 4) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี 5) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ศูนย์สุพรรณบุรี 6) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี 7) สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต
สพุ รรณบรุ ี 8) วทิ ยาลยั ช่างศลิ ปสุพรรณบรุ ี และ 9) วทิ ยาลัยนาฎศลิ ปสุพรรณบรุ ี เปน็ ตน้

ทั้งนี้ การประสานความร่วมมือเป็นไปในรูปแบบของการร่วมพัฒนาขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ถ่ายทอดประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่และขยายผลไปสู่ชุมชน และหน่วยงาน
ภายนอก โดยโรงเรียนสามารถเป็นแบบอย่างและมีความพร้อมในการเป็นสถานที่รองรับการศึกษาดูงานจาก
สถานศึกษาอืน่ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน

๖.๒ ชุมชนให้ความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่สถานศกึ ษา สรปุ โดยสังเขป ดงั นี้

ความสมั พนั ธอ์ ันดีระหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชนและหน่วยงานภายนอก ส่งผลให้โรงเรยี นได้รับความ
ไว้วางใจ และได้รับการสนับสนุนอาคารเรียน ๑ หลัง มูลค่า ๑๒ ล้านบาท จากสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนอู่ทอง
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และทันสมัยให้แก่นักเรียน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สาขาอ่ทู อง ร่วมสง่ เสริมสนบั สนนุ การดำเนินงานโรงเรียนธนาคารอู่ทอง เพ่ือใหน้ กั เรียนมีคุณลักษณะการออม
สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง ได้รับความร่วมมือจากสถาบันอาชีวศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัด
สพุ รรณบรุ ี พฒั นาหลกั สตู รต่อเนื่องเช่ือมโยงฯ เพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษาต่อและแนวทางการประกอบอาชีพ
ที่เหมาะสมกับตนเอง มีการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นเมืองโบราณอู่ทอง ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในอำเภออู่ทอง
มกี ารจดั ทำหลักสูตรพระเพทราชาร่วมกับจังหวัดสุพรรณบรุ ี ได้รับความอนุเคราะห์จากสถานีตำรวจภูธรอู่ทอง
ตามโครงการ ๑ ตำรวจ ๑ โรงเรียน เพื่อดูแลความปลอดภัยและความเรียบร้อยให้กับครู นักเรียน และ
บุคลากรทางการศึกษา มีเครือข่ายผู้ประกอบการรถรับ-ส่งนักเรียน คอยสอดส่องดูแลนักเรียนด้านความ
ปลอดภัยและพฤติกรรมในระหว่างการเดินทาง ได้รับความเมตตาจากวัดในพื้นที่ในการให้ความรู้ และอบรม
คุณธรรมจรยิ ธรรมใหแ้ ก่ผู้บรหิ าร ครู และนกั เรยี น

โรงเรียนอทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) 19

๖.๓ สถานศึกษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชุมชน และหน่วยงานอื่นในการขับเคลื่อน
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สรุปโดยสงั เขป ดังนี้

โรงเรียนอู่ทอง มีส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน ในการนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปถ่ายทอด นำความรู้สู่ชุมชน อาทิ สร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนร่วมกับชุมชนศรีสรรเพชร
จดั กิจกรรม “ถนนคนเดนิ หรรษา วินยานโุ ยค” เพอ่ื ให้ชุมชนได้มีสถานท่เี พอ่ื ประกอบอาชีพค้าขายเป็นการสร้าง
ความเข้มแข็ง ความสามัคคีของชุมชน ร่วมกับชุมชนคนอู่ทอง จัดทำ “ตู้ออมสุข” เพื่อแบ่งปันช่วยเหลือผู้ที่มี
ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 โรงเรียนร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒ สุพรรณบุรี จัดโครงการ
พัฒนาอาชีพสู่ชุนชน โครงการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการสู่ชุมชน โครงการ TO BE NUMBER ONE กิจกรรม
บริจาคโลหิตให้กับเหล่ากาชาดจังหวัดสุพรรณบุรี กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับภูมิทัศน์ ปลูกป่า เนื่องใน
วันเฉลมิ พระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ณ วดั เขาทำเทยี ม กิจกรรมจติ อาสาพัฒนาปรับภูมิทัศน์
ย่านการค้าตลาดและชุมชน เนื่องในโอกาสวันสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ ศาลเจ้าพ่อสระยายโสม โครงการ
จิตอาสาสาธารณประโยชน์ของแกนนำอาสายุวกาชาดพัฒนาวัดและโรงเรียนในเขตพื้นท่ี กิจกรรมปันน้ำใจ
ให้น้องเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดี รู้คุณค่าของการแบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อื่นและการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มีความสุข

๖.๔ สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษา และจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง จนสามารถเป็นแบบอย่างแกส่ ถานศกึ ษาและหน่วยงานอ่ืนได้ สรุปโดยสังเขป ดงั น้ี

โรงเรียนอู่ทอง มีนโยบาย มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ โครงการ บริหารงาน
แบบมีส่วนร่วม มีความพร้อมด้านอาคารสถานที่ สำหรับการศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายนอกอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ส่งผลใหโ้ รงเรยี นอูท่ อง สามารถเปน็ ตน้ แบบให้กับชุมชน สถานศึกษาและหน่วยงานอ่นื ดังนี้

โรงเรียนเป็นแบบอย่างการพัฒนา “หลักสูตรต่อเนือ่ งเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกบั อาชีวศึกษา
และอุดมศึกษา (Advance placement Curriculum on Aptitude)” ร่วมกบั เครอื ขา่ ยความร่วมมือสถาบัน
อาชีวศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นทยี่ อมรับของผู้ปกครอง ชมุ ชน สถาบันการศึกษา
หน่วยงานภายนอก และรองรับการศึกษาดูงานจากสถาบันการศึกษา อีกทั้งเป็น Best Practice เข้าประชุมนำเสนอ
การจัดหลักสูตร ร่วมกับสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานศึกษาธิการภาค 3
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี อย่างตอ่ เนือ่ ง

โรงเรียนปรับภูมิทัศน์ อาคารสถานท่ี และอนุรักษ์ฟื้นฟู สถาพแวดล้อมภายในให้เป็นฐานเรียนรู้
“ศูนย์ศาสตร์พระราชา” แหล่งเรียนรู้สำหรับฝึกปฏิบัติ ภาคเกษตร คหกรรม งานช่างอุตสาหกรรม ภายใต้
โครงการศาสตร์พระราชา เป็นแบบอย่างแก่สถานศึกษาและหน่วยงานภายนอกศึกษาดูงาน อาทิ โรงเรียนบ้านนา
จังหวัดนครนายก โรงเรยี นดอนตมู โรงเรียนพระปฐมวิทยาลยั 2 หลวงพ่อเงนิ อนุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียน
สงวนหญิง โรงเรียนบางปลาม้า “สูงสุมารผดุงวิทย์” โรงเรียนสวนแตงวิทยา จังหวัดสุพรรณบุรี คณะอาจารย์
และนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี คณะผู้รับการพัฒนาข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการโรงเรียน จังหวัดสุพรรณบุรี
คณะกรรมการจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
กรุงเทพมหานคร เป็นต้น และพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย อาทิ โรงเรียนวัดกลางบ้านดอน โรงเรียนบ่อสุพรรณวิทยา โรงเรียน
บ้านจรเขส้ ามพัน (ติณภาคพิทยา) โรงเรียนบ้านไผ่แปลกแม่ โรงเรยี นวัดใหม่รัตนเจดีย์ จงั หวดั สพุ รรณบุรี เปน็ ต้น
อีกทั้ง โรงเรียนอู่ทองสามารถบริหารจัดการสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ในด้านการสร้างคุณลักษณะการออม จากการดำเนินโครงการ “โรงเรียนธนาคารอู่ทอง”
ประสบความสำเร็จเปน็ แบบอย่างใหส้ ถานศึกษา หน่วยงานภายนอกเข้าศึกษาดูงาน อาทิ โรงเรียนบางลี่วิทยา
โรงเรียนวัดด่านช้าง โรงเรียนดอนคาวิทยา โรงเรียนทุ่งแฝกพิทยาคม โรงเรียนบ่อสุพรรณวิทยา โรงเรียน

โรงเรียนอทู่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา (ศรร.02) 20

วัดองครักษ์ จังหวัดสุพรรณบุรี โรงเรียนวัดลาดชะโด โรงเรียนวัดนาค โรงเรียนวัดลำตะเคียน (วิริยศึกษา)
โรงเรียนวัดผึ่งแดด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงเรียนท่าช้างวิทยาคาร จังหวัดสิงห์บุรี ธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร สาขาผักไห่ สาขาบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร สาขาบอ่ สพุ รรณ จังหวัดสพุ รรณบุรี เปน็ ตน้

นอกจากนี้ โรงเรียนอู่ทองได้ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ชุมชน โรงเรียน
และหนว่ ยงานภายนอก อาทิ “โครงการสานฝันปันอาชีพ” การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ ผลิตเห็ดมือถือ การแปรรูป
อาหาร งานฝีมอื การจักสาน ถ่ายทอดความรใู้ ห้ชุมชน โรงเรียนตา่ ง ๆ นำวสั ดทุ ่ีมีอยู่ในชมุ ชนมาใช้ เพือ่ เป็นการสร้าง
อาชีพและรายได้ให้กับชุมชนบนวิถีแห่งความพอเพียง เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และเห็นคุณค่าในตนเอง
“โครงการบริการความรทู้ างธุรกิจสูช่ มุ ชน” ร่วมกบั สถาบันพัฒนาฝมี อื แรงงาน ๒ สพุ รรณบรุ ี เปน็ ตน้

๖.๕ ผลความสำเร็จทเ่ี กิดจากความร่วมมือกันระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ชุมชนหรือหนว่ ยงานอืน่
โรงเรียนอู่ทอง ได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน

ห ล ั ก ป ร ั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ พ อ เ พ ี ย ง สู่ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ข ย า ย ผ ล สู่ ภ า ย น อ ก ส ถ า น ศ ึ ก ษ า อ ย ่ า ง มี
ประสิทธภิ าพ ส่งผลให้เกิดผลสำเร็จเชิงประจักษ์ ดงั นี้

๑) สถานศึกษา ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประจำปี ๒๕๕2
“สถานศึกษาพอเพียง ๒๕๕2”, เป็นแบบอย่างการจัดการศึกษา “ศูนย์ศาสตร์พระราชา”, การพัฒนา
“หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงฯ”, รางวัล“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม เหรียญเงิน” การจัดการเรียนรู้บูรณาการ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลติ สูน่ วัตกรรมเห็ดมือถือ”จากคุรุสภา,
โรงเรียนธนาคารดีเด่น ระดับประเทศ, สถานศึกษารางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน (OBECQA), โรงเรียนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระดับทอง จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้นื ฐาน, โรงเรยี นปลอดขยะต้นแบบ (Zero Waste School) ระดับดีเดน่ , โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธชนั้ นำ ร่นุ ท่ี 10,
รางวัลดีเด่น ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก, รางวัลระเบียบแถว
และสวนสนามลกู เสือ 9 ปีติดตอ่ กัน เป็นตน้ (เอกสารแนบในภาคผนวก ง)

๒) ผู้บริหาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติรับรางวัล “MOE AWARDS” ปีการศึกษา 2557
ประเภทบคุ คล สาขาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาดีเดน่ ” จากสมาคมผู้บริหาร
โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งประเทศ ได้รับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี” จากคุรุสภา ได้รับการยกย่อง
เชิดชูเกียรติให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม “ด้านคุรุชน คนคุณธรรม” ระดับดีเยี่ยม ได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติ
ในฐานะ “กรรมการและเลขานกุ ารสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานดเี ดน่ ” เปน็ ต้น (เอกสารแนบในภาคผนวก ง)

๓) ครูและบุคลากร รับรางวัลเหรียญเงิน ระดับชาติ “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” รางวัล
“ครูดีไม่มีอบายมุข” “ครูสอนดี” “ครูดีเด่น” “ด้านคุรุชน คนคุณธรรม” “หนึ่งแสนครูดี” และจากการน้อมนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาบูรณาการจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้ครูทกุ คนมีนวัตกรรม "หนึ่งครู
หน่ึงโครงงาน" (เอกสารแนบในภาคผนวก ง)

๔) นักเรียน รับรางวัลระดับชาติ ระดับภาค ระดับเขต อาทิ รางวัลระดับชาติ เหรียญทอง
สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น การทำอาหารคาวหวานเพื่อสุขภาพ ตอบปัญหาสุขศึกษา
นาฏศิลป์ไทยอนรุ ักษ์ การเขียนภาพไทยประเพณี หุ่นยนต์แบบผสม โครงงานสิง่ ประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ รางวัล
ชนะเลิศ สนุกเกอร์ (ชาย) จังหวัดสุพรรณบุรี รางวัลชนะเลิศ Smart Kids Season 4 ได้รับทุนโครงการ
แลกเปล่ียนด้านการศึกษาและวัฒนธรรมกบั ต่างประเทศทั้งในยุโรปและเอเชีย นกั เรยี นมผี ลคะแนนทดสอบ O-NET
คณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เตม็ 100 คะแนน ๒ ปีติดตอ่ กัน เป็นตน้ (เอกสารแนบในภาคผนวก ง)

๕) คณะกรรมการสถานศึกษา รบั รางวัล “ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาดเี ด่น จากสมาคม
กรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานแห่งประเทศไทย” (เอกสารแนบในภาคผนวก ง)

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา ช-1

ภาคผนวก ก

วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียง
ให้เป็นศนู ย์การเรียนรู้

ตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศกึ ษา

โรงเรียนอทู่ อง จังหวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศึกษา ช-1

ภาคผนวก ก

7.1 วิธีการพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพียงใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้
ตามหลกั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา

7.1.1 การบริหารจดั การในสถานศกึ ษา
7.1.2 การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา
7.1.3 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพอื่ พัฒนาผ้เู รยี น
7.1.4 การจัดสภาพแวดลอ้ มและแหล่งการเรียนรบู้ ูรณาการ

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7.1.5 ความสมั พันธช์ ุมชนกับหน่วยงานภายนอก

โรงเรียนอทู่ อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา ช-1

7.1 วิธกี ารพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพียงให้เป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้
ตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

การพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดา้ นการศึกษา โรงเรียนอทู่ องมีการบรหิ ารจดั การในดา้ นตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี (7.1.1 – 7.1.5)

7.1.1 การบริหารจดั การในสถานศกึ ษา

โรงเรียนอู่ทองใช้หลักการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ด้วยรูปแบบการบริหาร “UT–SMILE Model”
สู่การพัฒนาคุณภาพท่ีย่ังยืนตามวิสยั ทัศน์ “โรงเรียนอู่ทองเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลบนพ้ืนฐานความเป็นไทย
ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” กำหนดนโยบายในการพัฒนาโรงเรียนด้วยการใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งบรหิ ารจดั การโรงเรยี นทง้ั ระบบควบคู่กบั หลักธรรมาภิบาล ครอบคลมุ การดำเนินงานท้ัง 4 ฝ่าย
ได้แก่ ฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ ฝ่ายอำนวยการ ฝา่ ยกจิ การนกั เรยี น และฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป กำหนดวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ
จัดทำแผนปฏิบัติการของโรงเรียนเพื่อบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์และจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยหลักสูตรสถานศึกษา “หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพืน้ ฐานกับอาชีวศึกษา
และอดุ มศกึ ษา (Advance placement Curriculum on Aptitude)” ร่วมกับเครอื ข่ายความร่วมมือสถาบัน
อาชีวศึกษาและ 9 สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี มุ่งเน้นการศึกษาซึ่งยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ และ
ดำเนินการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล้องตามบริบทของโรงเรียน ชุมชน ภูมิสังคม
ด้วย SMILE Model : มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน เรียนรู้
สู้การเปลี่ยนแปลง สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ สู่ทุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง โดยน้อมนำหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดโครงการ กิจกรรม และบูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถ ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม ภาคภูมิใจในความเป็นไทย
มีคุณลักษณะที่ดีตามวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่น ในวัฒนธรรม ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล
เกื้อกูลและอาทรซึ่งกันและกัน ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม พึ่งตนเองได้ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และ
เปน็ กำลงั คนท่มี ีคณุ ภาพในการพฒั นาประเทศ

การบริหารจัดการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาของโรงเรียนอู่ทอง
มีรายละเอยี ดดังน้ี

โรงเรียนอ่ทู อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา ช-1

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นอู่ทอง

คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

สมาคม , ชมรม ผอู้ ำนวยการโรงเรียน เครอื ข่ายตา่ งๆ

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา

รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
ฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ ฝา่ ยอำนวยการ ฝ่ายกิจการนกั เรียน ฝา่ ยบริหารท่ัวไป

- สำนักงานฝา่ ยวชิ าการ - สำนักงานฝา่ ยบุคลากรและ - สำนกั งานฝา่ ยกจิ การนักเรียน - สำนักงานฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป
อำนวยการ - งานสง่ เสรมิ ระเบยี บวินัย - งานอาคารสถานที่
- งานหลกั สูตรและการสอน - งานนโยบายและแผน - งานประชาสัมพนั ธ์
- กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ - งานควบคมุ ภายใน นกั เรยี น - งานอนามยั
- งานกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน - งานตรวจสอบภายใน - งานพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม - งานสหกรณ์
- งานแนะแนว - งานสารบรรณ นักเรียน - งานโภชนาการ
- งานทะเบียน - งานการเงินและบัญชี - งานส่งเสริมกจิ กรรมนกั เรยี น - งานโสตทศั นศกึ ษา
- งานวัดและประเมนิ ผล - งานบริหารพสั ดแุ ละสนิ ทรัพย์ - งานระบบการดแู ลและ - งานสวัสดิการ
- งานสง่ เสรมิ นกั เรียนใหม้ ีรายได้ - งานบคุ ลากร ชว่ ยเหลือนกั เรยี น - งานสง่ิ แวดลอ้ ม
ระหว่างเรียน - งานยานพาหนะ - งานรักษาความปลอดภัย - งานสมั พันธช์ มุ ชน
- งานแหลง่ เรียนรูแ้ ละผลิตส่ือเอกสาร - งานระดมทรพั ยากรและจัดหา - งานสารวตั รนักเรียน - งานลูกจา้ งประจำ
- งานห้องสมดุ รายได้ - งานป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา - งานสมาคมศิษย์เกา่
- งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและระบบ - งานอน่ื ๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย ยาเสพติด - งานร้านค้าสวสั ดกิ ารครู
- งานเยาวชนคนดีศรสี ุพรรณ - งานจดั นทิ รรศการ
เครือข่าย - TO BE NUMBER ONE - งานอน่ื ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
- งานพฒั นาสอื่ นวตั กรรมและ - งานกจิ กรรมหนา้ เสาธง
- งานศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้
เทคโนโลยกี ารศกึ ษา - งานอนื่ ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย
- งานวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพ

การศึกษา
- งานนเิ ทศการศกึ ษาและพัฒนา
คุณภาพครู
- งานสง่ เสริมความสามารถและ
ยกระดบั คณุ ภาพผู้เรยี น
- งานประกันคุณภาพการศกึ ษา
- งานโรงเรียนธนาคารอูท่ อง
- งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
- งานการศึกษาพิเศษ (เรียนรวม)
- งานห้องเรียนพเิ ศษ Smart Class)
- งานหอ้ งเรียนพิเศษ MEP
- งานหอ้ งเรียนพิเศษ SMTE
- งานสะเตม็ ศึกษา
- งานอืน่ ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

แผนภาพท่ี 4 แสดงโครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นอู่ทอง

โรงเรียนอทู่ อง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา ช-1

รูปแบบการบริหารโรงเรียนอู่ทอง “UT–SMILE Model”
ส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพทีย่ ่ังยืนตามวิสัยทศั น์

“โรงเรียนอทู่ องเป็นโรงเรยี นมาตรฐานสากลบนพ้ืนฐานความเป็นไทย
ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

แผนภาพท่ี 5 แสดงรูปแบบการบรหิ ารโรงเรียนอู่ทอง UT-SMILE Model

โรงเรียนอู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา ช-1

ข้ันตอนการบริหารโรงเรียนอู่ทอง
ส่กู ารพฒั นาสถานศกึ ษาพอเพยี งตามหลักของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนภาพที่ 6 แสดงขั้นตอนการบรหิ ารสถานศึกษาพอเพยี งตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สงั คมเมือง . สังคมชนบท .

โรงเรียนอทู่ อง

สงั คมชนบท . สงั คมชนบท .

บริบทของโรงเรียน ลักษณะชุมชน : โรงเรียนอู่ทอง มีเนื้อที่ 45 ไร่เศษ สภาพชุมชนโดยรอบโรงเรยี นเป็นลักษณะสังคม
กึ่งเมืองกึ่งชนบท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตร มีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย และข้าวโพด
อาชีพรองลงมา คือ ค้าขาย รับจ้างและการหัตถกรรม ตามลำดับ อำเภออู่ทอง ได้ชื่อว่า "อู่อารยธรรมสุวรรณภูมิ"
มีชาตพิ ันธุ์ 5 ชนเผ่า ไดแ้ ก่ ไทยพืน้ ถ่นิ ไทยจีน ลาวเวยี ง ลาวครั่ง และไทยทรงดำ ปจั จุบนั อำเภออู่ทองส่วนหน่ึงถกู ยกใหเ้ ปน็
พน้ื ทพ่ี เิ ศษเพือ่ การทอ่ งเท่ยี วอย่างยง่ั ยนื เมอื งโบราณอูท่ อง เพื่อพฒั นาฟนื้ ฟู “เมืองโบราณอทู่ อง” ให้กลับมาสู่ความรุง่ เรือง
สมบรู ณไ์ ปด้วยทรัพยากร และเป็นแหลง่ ท่องเท่ยี วเชงิ อนุรกั ษ์ทสี่ ำคัญของจงั หวัดสุพรรณบุรี

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา ช-1

รปู แบบการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “SMILE Model”
“มีความรู้ สูค่ วามเป็นเลิศ กอ่ เกิดคณุ ธรรม ใชเ้ หตผุ ลหนุนนำ มภี มู คิ มุ้ กนั เรยี นรู้ สกู้ ารเปลยี่ นแปลง

สร้างอาชีพ รู้จักใชอ้ ยา่ งพอประมาณ สทู่ กุ งาน ทกุ มิติ อย่างพอเพียง”

โรงเรียนอู่ทองใช้หลักการบรหิ ารจัดการแบบมีส่วนร่วม ด้วยรปู แบบการบรหิ าร UT-SMILE Model และ
การดำเนินงานขับเคล่ือนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วย SMILE Model : มคี วามรู้ สคู่ วามเป็นเลิศ
ก่อเกดิ คณุ ธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มภี มู คิ ุ้มกัน เรยี นรู้ สู้การเปล่ียนแปลง สร้างอาชีพ รู้จกั ใชอ้ ย่างพอประมาณ
สู่ทุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง

แผนภาพแสดงรปู แบบการขบั เคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง SMILE Model

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา ช-1

7.1.2 การพฒั นาบุคลากรของสถานศกึ ษา

การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหาร ครู นักเรยี นและคณะกรรมการสถานศึกษา
โรงเรียนอู่ทองมีแผนงาน โครงการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนัก
ในคุณค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
เพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตและปฏิบั ติภารกิจหน้าท่ี
ส่งเสริมให้บุคลากรแสวงหาความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างสม่ำเสมอ จัดกิจกรรมส่งเสริม
การดำเนินชีวิต และการปฏบิ ัติภารกจิ หนา้ ที่ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้

ผ้บู รหิ ารโรงเรียนอ่ทู อง

ผู้บริหารเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงานสถานศึกษาพอเพียง และ
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อแสวงหาความรู้ความเข้าใจในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างถูกต้องชัดเจน ตลอดจนเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้คุณธรรมนำความรู้ในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง
และนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วย SMILE Model ภายใต้
วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) โดยถ่ายทอดประสบการณ์ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงและขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษา ได้แก่ ชุมชน สถานศึกษาอื่น หนว่ ยงานภาครัฐและ
เอกชน ส่งผลใหช้ มุ ชนหรอื หนว่ ยงานภายนอก เหน็ คณุ คา่ ยอมรับและให้ความรว่ มมือในการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ
เพอื่ ขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงให้เปน็ ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ดงั นี้

โรงเรยี นอทู่ อง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา ช-1

ความร้คู วามเขา้ ใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผู้บริหารโรงเรียนอู่ทอง มีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางการ
ขับเคลื่อนสู่สถานศึกษาอย่างถูกต้อง โดยการศึกษาด้วยตนเองจากเอกสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เน็ต
และเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงานจากหน่วยงานและสถานศึกษาที่ประสบความสำเร็จ ส่งผลให้
ผูบ้ รหิ ารมคี วามรู้ความเขา้ ใจหลักการและนโยบายการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างถูกต้อง
สามารถให้คำปรึกษา แนะนำ และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบอย่างที่ดี
นำหลักคิดมากำกับใช้ในการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้มีความพร้อมในการดำเนินการตามระบบบริหาร
จัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้ครู บุคลากร นักเรียน
ผปู้ กครอง ชมุ ชน และสถานศกึ ษาอื่น ๆ ให้มีความร้คู วามเขา้ ใจในการขบั เคล่ือนหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งภายในโรงเรียนได้อยา่ งถูกต้อง

โรงเรียนอทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุพรรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา ช-1

การปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งทีเ่ ป็นแบบอย่างท่ดี ี

ผบู้ ริหารโรงเรียนอู่ทอง มีความรู้ ความเข้าใจ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มคี วามศรัทราและ
น้อมนำมาประยุกต์ใช้ได้ในทุกมิติของการดำเนินชีวิต ยึดหลักทางสายกลาง ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือยมากเกิน
ความจำเป็น ทำหน้าที่ของตนเองอย่างถูกต้อง ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ครูและนักเรียน มาโรงเรียนตรงเวลา
แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน เช่น การใช้หลักความโปร่งใส
หลักความคุ้มค่าตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการมีส่วนร่วม มีความรักความเมตตากับ
ครู บุคลากร นกั เรยี น ผปู้ กครอง และบคุ คลท่ัวไป

โรงเรียนอ่ทู อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ช-1

ความสามารถในการบรหิ ารจัดการการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผู้บริหารโรงเรียนอู่ทองดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
“โรงเรยี นอทู่ องเปน็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล บนพน้ื ฐานความเป็นไทยยดึ มัน่ คณุ ธรรม โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยใช้รูปแบบการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง SMILE Model
“มีความรู้ สู่ความเป็นเลิศ ก่อเกิดคุณธรรม ใช้เหตุผลหนุนนำ มีภูมิคุ้มกัน เรียนรู้ สู้การเปลี่ยนแปลง
สร้างอาชีพ รู้จักใช้อย่างพอประมาณ สู่ทุกงาน ทุกมิติ อย่างพอเพียง” มุ่งเน้นการส่งเสริมศักยภาพ
สู่ความเป็นเลิศ ควบคู่กับการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม กระตุ้น ปลูกฝังให้ทุกคน เกิดความพอเพียงทั้งด้าน
การจัดการเรียนรู้ การดำรงชีวิต และการอยู่ร่วมกันในสังคม พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรพอเพียง
อย่างย่ังยืน เร่ิมจากประชุมใหค้ วามรู้แกค่ รู และบุคลากรทางการศึกษา ปรบั เปลี่ยนใหค้ รูทุกคนจัดการเรียนรู้
บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่นักเรียน
ปรับภูมิทัศน์ พัฒนาฐานการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนบูรณาการตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เชน่ ศูนย์ศาสตรพ์ ระราชา, ลานธรรม, อูท่ อง ออู่ ารยธรรม, โรงเรียนธนาคาร
อู่ทอง, ศูนย์ส่งเสริมอาชีพ และแหล่งเรียนรู้อื่นให้เพียงพอ ปลอดภัยและเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างพอเพียง
ประสานความร่วมมือกับชุมชน และภาคีเครือข่ายทุกฝ่าย เพื่อถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการติดตามผล
การดำเนินงานเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายของการขับเคลื่อนอย่างมี
ประสิทธภิ าพ

โรงเรียนอ่ทู อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา ช-1

การสร้างความสัมพนั ธก์ ับครู บุคลากรทางการศกึ ษา นักเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน และหนว่ ยงานภายนอก

ผู้บริหารโรงเรียนอู่ทอง มีการบริหารจัดการตามระเบียบ ยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
มีการนิเทศติดตามงานอย่างกัลยาณมิตร มอบหมายงานตามความถนัดความสามารถของบุคคล มีการชี้แนะ
ให้คำปรึกษาท้ังเรื่องงาน เรื่องส่วนตัว สร้างขวัญและกำลงั ใจให้บุคลากรทุกคนมพี ลงั ในการพัฒนาตนเองเพอื่
พัฒนาองคก์ รตอ่ ไป มกี ารทำกจิ กรรมรว่ มกัน เช่น รบั ประทานอาหารร่วมกนั การศึกษาดงู าน การสงั สรรค์กัน
ตามโอกาส ด้านความสัมพันธ์กับนักเรียน มีการพบปะนักเรียนอยู่เสมอ เช่น หน้าเสาธง ห้องเรียน ห้องประชุม
พูดคุยกับนักเรียนอย่างเป็นกันเองตามความเหมาะสม จัดสรรทุนการศึกษาให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส เป็นที่ปรึกษา
ดูแลนักเรียนให้นักเรียนใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน มีการประชุม
ผปู้ กครองทุกภาคเรียน รบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้ปกครอง สรา้ งเครือข่ายภายนอกอย่างเป็นระบบ และครบทุกมิติ
เป็นการประสานความรว่ มมอื เชิงรุก เพื่อให้การขับเคลื่อนบรรลุเปา้ หมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ อาทิ ธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ๒ สุพรรณบุรี สถาบันอาชีวศึกษา และ 9
สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี โรงพยาบาลอู่ทอง สาธารณสุขอำเภออู่ทอง สถานีตำรวจภูธรอู่ทอง
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.7) บริษัท ปตท.สำรวจและผลิต
ปโิ ตรเลยี มอินเตอร์เนช่ันแนล สุพรรณบุรี สำนกั งานขนส่งจังหวัดสุพรรณบุรี คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนอู่ทอง เทศบาลตำบลอู่ทอง เทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง สถานประกอบการ หน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชน เครือข่ายผู้ประกอบการรถรับ-ส่งนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ครูเก่าโรงเรียนอู่ทอง
โรงเรียนเครือข่าย อาทิ โรงเรียนบ่อสุพรรณวิทยา โรงเรียนวัดกลางบ้านดอน โรงเรียนบ้านจรเข้สามพัน
(ติณภาคพิทยา) โรงเรยี นบ้านไผแ่ ปลกแม่ โรงเรียนวัดใหม่รัตนเจดีย์ เป็นต้น ดำเนนิ การประสานความร่วมมือ
เป็นไปในรูปแบบของการร่วมพัฒนาขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ถ่ายทอดประสบการณ์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่และขยายผลไปสู่ชุมชนและหน่วยงานภายนอก อีกทั้งโรงเรียนสามารถเป็น
แบบอย่างและมีความพร้อมในการเป็นสถานที่รองรับการศึกษาดูงานจากสถานศึกษาอื่น หน่วยงานภาครัฐ
และเอกชน

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา ช-1

การสรา้ งความสัมพนั ธก์ บั ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และหนว่ ยงานภายนอก

โรงเรยี นอ่ทู อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา ช-1

บคุ ลากรครูโรงเรยี นอูท่ อง
โรงเรยี นอทู่ องดำเนนิ การพัฒนาบคุ ลากรครู ดว้ ยรูปแบบวิธีต่าง ๆ เชน่ การประชุม ชีแ้ จง สร้างความรู้
ความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและน้อมนำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่และ
ดำเนินชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม การศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การอบรม
เชิงปฏิบัติการออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรียนรู้บูรณาการกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข
3 ห่วง เพื่อผล 4 มิติ การจัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น ส่งผลใหค้ รแู ละบุคลากรของโรงเรียนอู่ทอง
เป็นแบบอย่างที่ดีในการวางแผนการใช้จ่ายอย่างพอประมาณ มีการออมเงินในบัญชีโรงเรียนธนาคาร ปฏิบัติตน
เพื่อส่วนรวมและสาธารณประโยชน์ มีวินัยในตนเอง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปัน ยึดมั่นในศาสนา เห็นคุณค่า
วัฒนธรรมไทย ทั้งด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ประวัติศาสตร์ ชาติพันธ์ุ และความเป็นมาของท้องถ่ิน
“เมืองโบราณอู่ทอง” รู้จักใช้ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุล รวมท้ังมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็น “ศูนย์ศาสตร์พระราชา”
ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายรองรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวดั สุพรรณบรุ ี สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา ช-1

ความรคู้ วามเขา้ ใจหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ครูและบุคลากรของโรงเรียนอู่ทองทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาอย่างถูกต้อง
โดยได้รับการสนับสนุน ส่งเสริม ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รับการถ่ายทอดความรู้จากผู้บริหารโรงเรียน
เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ครูและบุคลากร
มีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหลกั สูตร ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ส่ือ
การเรียนรูแ้ ละปฏิบัติตนพร้อมจัดกิจกรรมต่าง ๆ จากการถอดบทเรียนของตนเองมาจัดทำเป็นส่ือเก่ียวกบั
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัฒนาผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพตามธรรมชาติวิชา และขยายผล
สภู่ ายนอกสถานศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง

โรงเรยี นอทู่ อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศกึ ษา ช-1

การพฒั นาและปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งที่ดี

ครูและบุคลากรของโรงเรียนอู่ทอง นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ
ดำเนินชีวิต รู้จักบทบาทหน้าท่ีของตนเอง เป็นแบบอย่างที่ดีในการดำรงชีวิตแบบพอพียงแก่นักเรียน
ผู้ปกครอง ชุมชนและบุคคลทั่วไป เช่น มีระเบียบวินัย มาปฏิบัติงานและเข้าสอนตรงเวลา พูดจาสุภาพ
ให้เกียรติและเคารพระบบอาวุโส การแต่งกายสุภาพ สะอาด เรียบร้อยและถูกกาลเทศะ มีการวางแผน
การใช้จ่ายอยา่ งพอประมาณ ไมท่ ำให้ตนเองเดือดร้อน ครูและบคุ ลากรของโรงเรียนอูท่ องมีการออมทรัพย์
ตามศักยภาพของตนเองในบัญชีโรงเรียนธนาคาร ช่วยเหลือสังคมและชุมชน ให้ความร่วมมือในการร่วมงาน
ของชุมชน และหน่วยงานราชการอย่างสม่ำเสมอ เป็นต้น ส่งผลให้มีคุณลักษณะพอเพียง ดำเนินชีวิต
ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปสู่การพฒั นางานในหนา้ ท่ีอยา่ งมีคุณภาพ

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา ช-1

การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการบริหารจัดการ

การนำไปใช้ในการบริหารจัดการ ครูได้ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดหา จัดทำสื่อ
นวตั กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพร้อมแลกเปลยี่ นเรยี นร้ถู า่ ยทอดประสบการณ์
การจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้เพื่อนครใู นโรงเรียนจนเหน็ ผลเชิงประจกั ษ์

โรงเรยี นอ่ทู อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ช-1

การถา่ ยทอดประสบการณ์ความมงุ่ มั่นในการขับเคลอื่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ไปใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ

ครูสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้เพื่อนครูในโรงเรียนได้นำไปเป็น
แนวทางออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ไดต้ ามศักยภาพของครแู ละธรรมชาตวิ ิชา

โรงเรียนอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมลู ประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา ช-1

การขยายผลการขับเคลอื่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

จากการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำสื่อและ
นวัตกรรม เผยแพร่ ขยายผลสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้บูรณาการหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลิตสู่นวัตกรรมเห็ดมือถือ” โดย
คุณครูจารวุ รรณ มนูญโย ไดร้ ับรางวัล หนึ่งโรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม “เหรยี ญเงิน ระดบั ชาติ ” จากคุรุสภา
ปกี ารศกึ ษา 2563

โรงเรยี นอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา ช-1

นกั เรยี นโรงเรยี นอูท่ อง
นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเหมาะสมกับวัยในแต่ละ
ระดับชั้น ส่งผลให้มีนักเรียนแกนนำ ได้แก่ หัวหน้าและรองหัวหน้าห้องทุกห้อง สภานักเรียน ชมรม TO BE
NUMBER ONE ชมรมกล้าตะวัน แกนนำโรงเรียนธนาคาร มัคคุเทศก์น้อย แกนนำโรงเรยี นปลอดขยะ แกนนำ
“การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ จัดการผลผลิตสู่นวัตกรรมเห็ดมือถือ” เป็นต้น สามารถนำความรู้ความเข้าใจ มาอธิบาย
ถ่ายทอดและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนเห็นผล เห็นคุณค่าและเกิดศรัทธา สามารถ
ถอดบทเรียนของตนเองและนำไปใช้ในการมีส่วนร่วมเพื่อขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา ส่งผลให้มีนักเรียนที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงคิดเป็นร้อยละ
98.77 ของนักเรียนทงั้ หมด

โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี

ข้อมูลประกอบการคดั กรองศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา ช-1

ความร้คู วามเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละ
ระดับชั้นและปฏิบัติตนให้ดำเนนิ ชีวิตได้อยา่ งสมดุล พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้าน เศรษฐกิจ สังคม
ส่ิงแวดลอ้ ม วัฒนธรรมและเทคโนโลยี

โรงเรยี นอูท่ อง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสพุ รรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา ช-1

การพฒั นาและปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีเป็นแบบอย่างที่ดี

นักเรียนสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนเห็นผล เห็นคุณค่าและเกิดศรัทธา
ในการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับ ใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตตามศักยภาพของนักเรียนอย่างมี
คณุ ภาพ

โรงเรียนอูท่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลประกอบการคดั กรองศนู ย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา ช-1

การนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการบรหิ ารจดั การ

นักเรียนมสี ่วนร่วมในการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา จนสามารถเปน็ แกนนำ
ในการจัดกิจกรรมการขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในและภายนอกสถานศึกษา
และพร้อมพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง

โรงเรยี นอู่ทอง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสุพรรณบุรี


Click to View FlipBook Version